การบริหารจัดการยุคใหม่...

8
1 การบริหารจัดการยุคใหม่สําหรับองค์กร ส่งเสริมการเกษตรและพัฒนาชนบท (ภาคเอกชน) ทฤษฎีองค์การสมัยใหม่ เป็ นการนําเอาทฤษฎีมนุษยสัมพันธ์ประยุกต์กับการจัดการ องค์การ นันคือ การให้ความสําคัญกับปัญหาด้านจิตวิทยา และ ปัญหาด้านสังคมทีเกียวข้องกับบุคคลในองค์การและ กล ุ ่มคนงานในองค์การ องค์การ คือ กลุ ่มคนกล ุ ่มหนึงทีร่วมกันทํากิจกรรม เพือบรรลุเป้ าหมายร่วมกัน ถือว่าบุคคลแตกต่างกัน และยอมรับความสําคัญ ของกล ุ ่มงานและ ปัจจัยอืนๆ ทางสังคม ทุกคนในองค์การ เท่ากับ บุคคลทางเศรษฐกิจ ความแตกต่างระหว่างทฤษฎีดังเดิมและทฤษฎีสมัยใหม่ องค์การ ดังเดิม สมัยใหม่ ทฤษฎีหมุดเชือมโยง (Linking Pin Function Theory) ประมาณ ค.ศ.1967 เรนซิส ไลเคิร์ต ผู ้อํานวยการสถาบันวิจัยทาง สังคมศาสตร์ แห่งมหาวิทยาลัยมิชิแกน ได้ตังทฤษฎีการจัดองค์กรเชิงมนุษยสัมพันธ์ขึ ซึงสามารถสรุปได้ ดังนี 1) การทํางานเป็ นกลุ ่ม จะช่วยให้งานมีประสิทธิภาพมากขึ น และทําให้มีสิงจูงใจในการปฏิบัติงานมาก ขึ นด้วย โดยหลักแล้วองค์การจะได้ผลงานทีดีทีสุด เมือทุกคนในองค์การร่วมกัน ปฏิบัติงาน มิใช่ ต่างคนต่างแยกกันทํา

Upload: others

Post on 16-Feb-2020

4 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: การบริหารจัดการยุคใหม่ ...agecon-extens.agri.cmu.ac.th/Course_online/Course/352821...1 การบร หารจ ดการย คใหม

1

การบรหิารจดัการยคุใหม่สําหรบัองคก์รสง่เสรมิการเกษตรและพฒันาชนบท

(ภาคเอกชน)

ทฤษฎีองคก์ารสมยัใหม่เป็นการนําเอาทฤษฎีมนษุยสมัพันธ์ประยกุต์กบัการจดัการ

องคก์าร นั�นคือ

การใหค้วามสําคญักบัปัญหาดา้นจิตวิทยา และปัญหาดา้นสงัคมที�เกี�ยวขอ้งกบับคุคลในองคก์ารและ

กล ุ่มคนงานในองคก์าร

องคก์าร คือ กล ุ่มคนกล ุ่มหนึ�งที�ร่วมกนัทํากิจกรรม เพื�อบรรลเุป้าหมายรว่มกนั

ถือว่าบคุคลแตกต่างกนัและยอมรบัความสําคญั

ของกล ุ่มงานและปัจจยัอื�นๆ ทางสงัคม

ทกุคนในองคก์ารเท่ากบั

บคุคลทางเศรษฐกิจ

ความแตกต่างระหว่างทฤษฎีดั�งเดิมและทฤษฎีสมยัใหม่

องคก์าร

ดั�งเดิม สมยัใหม่

ทฤษฎีหมดุเชื�อมโยง (Linking Pin Function Theory)ประมาณ ค.ศ.1967 เรนซิส ไลเคิรต์ ผ ูอํ้านวยการสถาบันวิจัยทาง

สงัคมศาสตร ์แห่งมหาวิทยาลยัมิชิแกน ไดต้ั�งทฤษฎีการจดัองคก์รเชิงมนษุยสมัพนัธ์ขึ�น ซึ�งสามารถสรปุได ้ดงันี�

1) การทํางานเป็นกล ุ่ม

จะช่วยใหง้านมีประสิทธิภาพมากขึ�น และทําใหม้ีสิ�งจงูใจในการปฏิบติังานมากขึ� นด้วย โดยหลักแล้วองค์การจะได้ผลงานที� ดีที�สดุ เมื�อทกุคนในองค์การร่วมกันปฏิบติังาน มิใช่ ต่างคนต่างแยกกนัทํา

Page 2: การบริหารจัดการยุคใหม่ ...agecon-extens.agri.cmu.ac.th/Course_online/Course/352821...1 การบร หารจ ดการย คใหม

2

2) การทํางานกล ุ่มสามารถใชไ้ดท้กุระดบั

ทั�งนี�จะขึ�นอย ู่กบั หมุดเชื�อมโยง หมายถึง ผ ูบ้ังคับบัญชาชั�นเหนือขึ�นไปเป็น

ผ ูน้ํากล ุ่มหรือตวัแทนของกล ุม่เพื�อเชื�อมโยงกบักล ุ่มในระดบัที�สงูขึ�นไป

3) การวางแผนและการแกปั้ญหาเป็นเรื�องของกล ุ่ม

กล ุ่มตดัสินใจโดยสมาชิกทกุคนมีส่วนร่วมดว้ย ทกุคนในกล ุ่มจึงจะพอใจ ผกูพนั และยอมรบันบัถือซึ�งกนัและกนั

ทฤษฎีหมดุเชื�อมโยง (Linking Pin Function Theory)

องคป์ระกอบสําคญัของทฤษฎีองคก์ารสมยัใหม่

องคป์ระกอบที� 1 บคุคล (Individual)

ทฤษฎีสมัยดั�งเดิมเชื�อว่า “คนจะถูกจูงใจด้วยปัจจัยทางเศรษฐกิจ (เงิน) แต่เพียงอย่างเดียว” แต่ทฤษฎีใหม่พบว่า คนมีความแตกต่างกนัออกไป เช่น บางคนเบื�อหน่าย บางคนอาจจงูใจได้ด้วยไม่ใช่ เงิน และบางคนสนกุสนานกับการทํางาน ดังนั�น การจูงใจย่อมต้องพิจารณาความแตกต่างระหว่างบุคคลเป็นสําคัญ

องคป์ระกอบสําคญัของทฤษฎีองคก์ารสมยัใหม่

องคป์ระกอบที� 2 กล ุ่มงาน (Work Group)

เนื�องจากคนในองค์การไม่ต้องการอย ู่ลําพังแต่ต้องการมีความสัมพันธ์หรือรวมกล ุ่มกับเพื�อนๆ เสมอ ความเขา้ใจหรือการรบัร ูข้องบคุคลใดที�เกี�ยวกบัตนเองและสิ�งแวดลอ้มรอบตวัจะขึ�นอย ูก่บักล ุ่มของตน ดงันั�น ค่านิยม ความคิดเห็น ความตอ้งการ และแรงดลใจย่อมถูกกําหนดโดยกลุ่มงาน กล ุ่มงานจึงมีอิทธิพลอย่างสงูต่อการจงูใจและผลผลิต

Page 3: การบริหารจัดการยุคใหม่ ...agecon-extens.agri.cmu.ac.th/Course_online/Course/352821...1 การบร หารจ ดการย คใหม

3

องคป์ระกอบสําคญัของทฤษฎีองคก์ารสมยัใหม่

องคป์ระกอบที� 3 การบริหารโดยการใหเ้ขา้มามีส่วนรว่ม (Participation management)

การเปิดโอกาสใหค้นในองคก์ารเขา้มามีส่วนร่วมในการตัดสินใจหรือการบริหารด้วยการแสดงความคิดเห็นต่างๆ จะเป็นสิ�งจงูใจใหท้กุคนปรบัปรงุงานของตนใหดี้ขึ�น ซึ�งสําคญัต่อบคุคลและกล ุ่มคน

องคป์ระกอบสําคญัของทฤษฎีองคก์ารสมยัใหม่

องคป์ระกอบที� 4 ขวญัหรือกําลงัใจ (Morale)

จากงานวิจัยหลายชิ� น พบว่า คนในองค์การมีความพอใจมากเท่าใดก็จะยิ�งเพิ�มผลผลิตมากขึ�นเท่านั�น ดงันั�นกลยทุธ์ในการปรบัปรงุประสิทธิภาพในการทํางานจึงอย ู่ที�การสร้างขวัญและกําลังใจให้เกิดขึ� นกับคนในองคก์ารทกุคน

หวัใจสําคญัในการบริหารจดัการยคุใหม่สําหรบัองคก์รส่งเสรมิการเกษตรและพฒันาชนบท

(ภาคเอกชน)

คลื�นลกูที� 1 “สงัคมเกษตรกรรม” 1) ปัจจยัแห่งยคุ คือ ดิน 2) ผ ูนํ้าแห่งยคุ คือ จอมพล ผ ูก้มุอํานาจทหาร เพื�อ ปกป้องปัจจยั และหาปัจจยัใหม่ใหส้งัคมของตนเอง3) เป็นยคุที�พ่อคา้วานิช จะหลบซ่อนอย ูห่ลงัทหาร

Page 4: การบริหารจัดการยุคใหม่ ...agecon-extens.agri.cmu.ac.th/Course_online/Course/352821...1 การบร หารจ ดการย คใหม

4

คลื�นลกูที� 2 “สงัคมอตุสาหกรรม” 1) ปัจจยัแห่งยคุ คือ ทนุ2) เครื�องมือแห่งยคุ คือ เครื�องจกัรกล (ไอนํ�า)3) มีการเดินทางไปมาหาส ู่กนัมากขึ�น (มีถนน สาธารณปูโภคต่างๆ)

4) เป็นยคุที�ทหารจะซ่อนอย ูห่ลงันายทนุ พ่อคา้

คลื�นลกูที� 3 “สงัคมแห่งขอ้มลู” 1) ปัจจยัแห่งยคุ คือ ขอ้มลู (มีการเปลี�ยนแปลงรวดเร็ว) 2) เครื�องมือแห่งยคุ คือ อปุกรณ ์IT ต่างๆ3) ผ ูนํ้าแห่งยคุ คือ ผ ูที้�เขา้ถึงขอ้มลูกอ่น ซึ�งจะไดเ้ปรียบ ในการแข่งขนั

คลื�นลกูที� 4 “สงัคมแห่งองคค์วามร ู”้ 1) ปัจจยัแห่งยคุ คือ ความร ู้2) เครื�องมือแห่งยคุ คือ ศาสตรแ์ขนงต่าง (Nanotechnology, Biotechnology, Pharmaceutical)3) ประชากร USA อย ูใ่นคลื�นลกูที� 4 (70%)

คลื�นลกูที� 5 “สงัคมแห่งปัญญา” หรือเรียกว่า “ปราชญส์งัคม”1) เป็นยคุของนกัคิด การบรูณาการความร ู ้และการใช ้ ปัญญา เพื�อการเปลี�ยนแปลงครั�งใหญ่ 2) สงัคมใดสามารถพาตนส ูก่ารเป็นปราชญส์งัคมได้ สําเร็จ สงัคมนั�นจะอย ูแ่ถวหนา้ของโลก

Page 5: การบริหารจัดการยุคใหม่ ...agecon-extens.agri.cmu.ac.th/Course_online/Course/352821...1 การบร หารจ ดการย คใหม

5

องคก์รอจัฉริยะ (Smart organization)หรือ องคก์รแห่งการเรียนร ู ้คือ องคก์รที�ม ุ่งเนน้ใหม้ีการถ่ายทอด

ความร ูร้ะหว่างบคุลากรภายในองคก์ร ผ่านการสื�อสารในรปูแบบต่างๆ ทั�งที�เป็นทางการและไม่เป็นทางการ ควบค ู่ไปกับการแสวงหาความร ู้จากภายนอกองคก์ร เพื�อใหเ้กิดการเชื�อมโยงความร ูท้ ั�งสองส่วน อนันําไปส ู่การสรา้งแนวปฏิบติัที�ดีที�สดุ

ความร ู ้คือ หวัใจสําคญัขององคก์ร ทําไม “ความร ู”้ จึงเป็นสิ�งสําคญั

1. ความร ูท้ั�วไป หรือ ความร ูช้ดัแจง้ (Explicit Knowledge)

เป็นความร ูที้�สามารถรวบรวมถ่ายทอดไดโ้ดยผ่านวิธีต่างๆ เช่น การบนัทึกเป็นลายลกัษณอ์กัษร (เช่น หนงัสือ ค ู่มือ เอกสาร และ

รายงานต่างๆ) บางครั�งเรียกว่าเป็น

“ความร ูแ้บบรปูธรรม”

การจดัการความร ูจ้ะทําไดเ้ด่นชดั โดยจะเนน้ไปที�การเขา้ถึงแหลง่ความร ู ้ตรวจสอบ และตีความได ้เมื�อนําไปใชแ้ลว้ เกิดความร ูใ้หมก่็

นํามาสรปุไว ้เพื�อใชอ้า้งอิงหรือใหผ้ ูอื้�นเขา้ถึงไดต้่อไป

ความร ูใ้นองคก์าร มี 3 ประเภท ดงันี� 2. ความร ูเ้ฉพาะตวั หรือ ความร ูท้ี�ฝังอย ูใ่นคน

(Tacit Knowledge)

เป็นความร ูที้�ไดจ้ากประสบการณ์ พรสวรรค ์หรือสญัชาตญาณของแต่ละบคุคลในการทําความเขา้ใจในสิ�งต่างๆ เป็นความร ูที้�ไมส่ามารถ

ถ่ายทอดออกมาเป็นคําพดู หรือลายลกัษณอ์กัษรไดโ้ดยง่าย

การจดัการความร ูจ้ะเนน้ไปที�การจดัเวที เพื�อใหม้ีการแบ่งปันความร ูที้�อย ูใ่นตวัผ ูป้ฏิบติั ทําใหเ้กิดการเรียนร ูร้ว่มกนัอนันําไปส ูก่ารสรา้งความร ูใ้หม่ที�แต่ละคนสามารถนําไปใชใ้นการปฏิบติังานไดต้อ่ไป

Page 6: การบริหารจัดการยุคใหม่ ...agecon-extens.agri.cmu.ac.th/Course_online/Course/352821...1 การบร หารจ ดการย คใหม

6

ที�มา : pharm.kku.ac.th/km/pdf/kmpr3.pdf [ 19 สิงหาคม 2557]

สามารถแสดงออกมาไดแ้ค่ 5%

ความร ู้ภายใน

มีอย ูใ่นตัวเรา 95%

ที�มา : http://58.181.223.131/km/tacit.html [19 สิงหาคม 2557]

ความร ูใ้นองคก์าร

3. ความร ูภ้ายในองคก์ร(Implicit Knowledge)

อย ูใ่นกระบวนการปฏิบติั กฎระเบียบ และขอ้บงัคบัตา่งๆ หวัใจสําคญัขององคก์รอจัฉริยะ

1. บคุคลที�รอบร ู ้ (Personal mastery)

2. รปูแบบความคิด (Mental model)

3. การมีวิสยัทศันร์่วม (Share vision)

4. การเรียนร ูเ้ป็นทีม (Team learning)

5. การคิดเชิงระบบ (System thinking)

Page 7: การบริหารจัดการยุคใหม่ ...agecon-extens.agri.cmu.ac.th/Course_online/Course/352821...1 การบร หารจ ดการย คใหม

7

รปูแบบการสรา้งองคก์รอจัฉริยะ

S-Socialization

E-Externalization

C-Combination

I-Internalization

การถ่ายโอนความร ูท้ั�งที�เป็นทางการและไม่เป็นทางการ

การเรียนร ูเ้พื�อหาสิ�งใหม่จากภายนอก

การเชื�อมโยงความร ูภ้ายในกบัภายนอก

การนําความร ูท้ี�เชื�อมโยงไปปฏิบัติ

ตวัอยา่งองคค์วามร ูที้�กอ่ใหเ้กิดการเปลี�ยนแปลงในการดําเนินกิจการต่างๆ

Technology

ใชไ้ดจ้ริง

ราคาถกู

ตอบสนองความตอ้งการ

ไม่ซบัซอ้น

Page 8: การบริหารจัดการยุคใหม่ ...agecon-extens.agri.cmu.ac.th/Course_online/Course/352821...1 การบร หารจ ดการย คใหม

8

1) การเรียนร ู ้(Learning)6) อื�นๆ (Other)

2) องคก์ร (Organization)

3) คน (People)

5) เทคโนโลยี (Technology)

4) ความร ู ้(Knowledge)

องคก์รยคุใหม่