บทที่11 แผนพัฒนาเศรษฐก ิจและส ังคมแห...

21
บทที11 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ กับการพัฒนาชนบท แมวาประเทศไทยจะมีการเปลี่ยนแปลงการปกครอง . . 2475 และคณะราษฎร ไดมอบหมายใหนายปรีดี พนมยงค ดํ าเนินการรางเคาโครงเศรษฐกิจของประเทศ โดยมีสาระ ที่สํ าคัญสวนหนึ่งคือ การรวมแรงงานและที่ดินเพื่อการผลิตในรูปสหกรณตามความสมัครใจ แตในเวลานั้น (.. 2475) มีแตประเทศสังคมนิยมเทานั้นที่ใชแผนพัฒนาเศรษฐกิจ นายปรีดี จึงตกเปนเหยื่อของศัตรูทางการเมืองซึ่งโจมตีวานายปรีดี ตองการใหประเทศไทยเปนประเทศ คอมมิวนิสต เคาโครงเศรษฐกิจในสมุดปกเหลืองซึ่งเปนแนวทางที่ถูกตองและเปนการ มองการณไกล (เชน การจัดตั้งธนาคารกลาง การตั้งสหกรณ และการวางแผนเศรษฐกิจ เปนตน) จึงไดถูกระงับไปในป . . 2504 เริ่มใชแผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับแรกในสมัยจอมพล สฤษดิธนะรัชต เปนนายกรัฐมนตรี การนําแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมที่นายปรีดี เสนอไว มาใช มีการประกาศใชแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ นับแต .. 2504 จนถึงปจจุบันนีรวม 9 ฉบับ (สํ านักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ, 2545) พอสรุป สาระสํ าคัญที่เกี่ยวของกับการพัฒนาชนบท ไดดังนีสรุปสาระสําคัญของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที1 9 1. แผนพัฒนาเศรษฐกิจแหงชาติ ฉบับที1 (2504 2509) แผนพัฒนาฉบับที1 มีระยะเวลา 6 แบงเปน 2 ระยะ คือระหวาง .. 2504 2506 และ .. 2507 2509 เนื่องจากเปนแผนพัฒนาฉบับแรก การวางแผนยังไมพรอมมากนัก จึงมีการปรับปรุงแผนในระยะที่สอง แนวทางการพัฒนาเนนเฉพาะดานเศรษฐกิจเปนสํ าคัญ โดยมีการลงทุนในโครงสรางพื้นฐานตางๆ (Infrastructure) ในรูปของการคมนาคมขนสง เขื่อนเพื่อการชลประทานและผลิตไฟฟา และสาธารณูปการตางๆ เนนการเพิ่มผลผลิตการเกษตร ศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการเกษตร การสงเสริมสหกรณ โครงการที่สําคัญ ไดแก การกอสรางถนน หรือทางหลวงสูภูมิภาคตางๆ การจัดตั้งนิคมสรางตนเอง ปรับปรุงโรงพยาบาลจังหวัด ขจัดไขมาเลเรียในชนบท การจัดตั้งมหาวิทยาลัยเชียงใหมและมหาวิทยาลัยขอนแกน

Upload: others

Post on 18-Aug-2020

0 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: บทที่11 แผนพัฒนาเศรษฐก ิจและส ังคมแห งชาต ิกับการพ ัฒนาชนบทagecon-extens.agri.cmu.ac.th/Course_online/Course/352721/11.pdf ·

บทท่ี 11แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ กับการพัฒนาชนบท

แมวาประเทศไทยจะมีการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 และคณะราษฎร ไดมอบหมายใหนายปรีดี พนมยงค ดํ าเนินการรางเคาโครงเศรษฐกิจของประเทศ โดยมีสาระ ท่ีสํ าคัญสวนหน่ึงคือ การรวมแรงงานและท่ีดินเพื่อการผลิตในรูปสหกรณตามความสมัครใจ แตในเวลาน้ัน (พ.ศ. 2475) มีแตประเทศสังคมนิยมเทาน้ันท่ีใชแผนพัฒนาเศรษฐกิจ นายปรีดี จึงตกเปนเหย่ือของศัตรูทางการเมืองซึ่งโจมตีวานายปรีดี ตองการใหประเทศไทยเปนประเทศคอมมิวนิสต เค าโครงเศรษฐกิจในสมุดปกเหลืองซึ่งเป นแนวทางท่ีถูกตองและเปนการ มองการณไกล (เชน การจัดต้ังธนาคารกลาง การต้ังสหกรณ และการวางแผนเศรษฐกิจ เปนตน) จึงไดถูกระงับไปในป พ.ศ. 2504 เ ร่ิมใชแผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับแรกในสมัยจอมพล สฤษด์ิ ธนะรัชต เปนนายกรัฐมนตรี การนํ าแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมท่ีนายปรีดี เสนอไว มาใช มีการประกาศใชแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ นับแต พ.ศ. 2504 จนถึงปจจุบันน้ี รวม 9 ฉบับ (สํ านักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ, 2545) พอสรุป สาระสํ าคัญท่ีเก่ียวของกับการพัฒนาชนบท ไดดังน้ี

สรุปสาระสํ าคัญของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 1 � 9

1. แผนพัฒนาเศรษฐกิจแหงชาติ ฉบับท่ี 1 (2504 � 2509)แผนพัฒนาฉบับท่ี 1 มีระยะเวลา 6 ป แบงเปน 2 ระยะ คือระหวาง พ.ศ. 2504 � 2506

และ พ.ศ. 2507 � 2509 เน่ืองจากเปนแผนพัฒนาฉบับแรก การวางแผนยังไมพรอมมากนัก จึงมีการปรับปรุงแผนในระยะท่ีสอง แนวทางการพัฒนาเนนเฉพาะดานเศรษฐกิจเปนสํ าคัญ โดยมีการลงทุนในโครงสรางพื้นฐานตางๆ (Infrastructure) ในรูปของการคมนาคมขนสง เข่ือนเพื่อการชลประทานและผลิตไฟฟา และสาธารณูปการตางๆ เนนการเพิ่มผลผลิตการเกษตร ศึกษาวิจัยเก่ียวกับการเกษตร การสงเสริมสหกรณ โครงการท่ีสํ าคัญ ไดแก การกอสรางถนน หรือทางหลวงสู ภูมิภาคตางๆ การจัดต้ังนิคมสรางตนเอง ปรับปรุงโรงพยาบาลจังหวัด ขจัดไขมาเลเรียในชนบท การจัดต้ังมหาวิทยาลัยเชียงใหมและมหาวิทยาลัยขอนแกน

Page 2: บทที่11 แผนพัฒนาเศรษฐก ิจและส ังคมแห งชาต ิกับการพ ัฒนาชนบทagecon-extens.agri.cmu.ac.th/Course_online/Course/352721/11.pdf ·

174

2. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 2 (2510 � 2514)แผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 2 เร่ิมเนนการพัฒนาสังคมโดยระบุ �และสังคม� ไวในชื่อแผน

อยางชัดเจน การพัฒนาชนบทจะเนนการพัฒนาภูมิภาคมากขึ้น โดยเนนการพัฒนาตามสาขา กิจกรรม (Sectoral) เชน การเกษตร การพัฒนาชุมชน การสาธารณสุข และการศึกษา จัดทํ าแผนพัฒนาภาคตางๆ เชน แผนพัฒนาภาคเหนือ แผนพัฒนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เปนตน จัดต้ังสํ านักงานเรงรัดพัฒนาชนบท (รพช.) เพื่อปองกันการแทรกซึมและการกอการรายของผูนิยมลัทธิคอมมิวนิสต โดยเฉพาะในจังหวัดชายแดน มีโครงการอาทิเชน สรางถนนไปสูท่ีทุรกันดาร พัฒนาแหลงน้ํ าขนาดเล็กเพื่อการบริโภคและการเกษตร จัดหนวยเคลื่อนท่ีรักษาพยาบาล และอนามัย เปนตน

3. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 3 (2515 � 2519)แผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 3 ใหความสํ าคัญเปนพิเศษกับการพัฒนาในภูมิภาคและทองถ่ิน

มีการจัดทํ าแผนพัฒนาระดับภาค และยังคงเนนการเรงรัดพัฒนาชนบทอยูและมีการพัฒนาชุมชนโดยกรมการพัฒนาชุมชน (ต้ังข้ึนป พ.ศ. 2505) ไดเปดเขตพัฒนาชุมชนมากขึ้น ริเร่ิมโครงการปฏิรูปท่ีดินเพื่อการเกษตร มีการวางแผนครอบครัวเปนคร้ังแรก และเร่ิมโครงการผันเงินสูชนบท (ยุครัฐบาล ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช) จุดหลักของแผนพัฒนาฯ ฉบับน้ีก็เพื่อลดความแตกตาง ของรายไดระหวางเมืองและชนบท และแกไขปญหาการอพยพแรงงานจากชนบทเขาสูตัวเมือง โดยเฉพาะกรุงเทพมหานคร

4. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 4 (2520 � 2524)แผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 4 ยังคงเนนการกระจายรายได ลดความแตกตางระหวางเมือง

และชนบทเหมือนเดิม การพัฒนาชนบทจะเปนไปในรูปแบบการพัฒนาสาขาตางๆ เฉพาะสาขา และดํ าเนินโครงการตามแผนพัฒนาฯ ฉบับกอนๆ นโยบายท่ีเร่ิมในชวงแผนพัฒนาฉบับน้ี ไดแก โครงการพัฒนาระดับหมูบาน และโครงการสรางงานในชนบท ภายใตคณะกรรมการสรางงานชนบท (กสช.) พัฒนามาจากโครงการผันเงินสูชนบท มีการจัดทํ าแผนพัฒนาจังหวัดโดยใหจังหวัด เปนผูจัดทํ าโครงการ และสงตอใหสวนกลางพิจารณา นับเปนจุดเร่ิมตนของแนวคิดการวางแผนจากลางข้ึนบน (Bottom � up)

Page 3: บทที่11 แผนพัฒนาเศรษฐก ิจและส ังคมแห งชาต ิกับการพ ัฒนาชนบทagecon-extens.agri.cmu.ac.th/Course_online/Course/352721/11.pdf ·

175

5. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 5 (2525 � 2529)แผนพัฒนาฯ ฉบับน้ี เนนแนวคิดการพัฒนาชนบทแนวใหม คือ แผนพัฒนาชนบทในพื้นท่ี

ยากจน (Poverty Stricken Area) โดยกํ าหนดพื้นท่ีเปาหมายเฉพาะพื้นท่ียากจนหนาแนน 3 ภาค ไดแก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 17 จังหวัด 172 อํ าเภอ/ก่ิงอํ าเภอ 7,857 หมูบาน ประชากร 4,476,635 คน ภาคเหนือ 16 จังหวัด 82 อํ าเภอ/ก่ิงอํ าเภอ 3,369 หมูบาน ประชากร 2,296,976คน ภาคใต 5 จังหวัด 32 อํ าเภอ/ก่ิงอํ าเภอ 1,329 หมูบาน ประชากร 1,025,351 คน รวม 38 จังหวัด 286 อํ าเภอ/ก่ิงอํ าเภอ 1,329 หมูบาน ประชากรรวมท้ังสิ้น 7,798,962 คน แผนงานหลักในการแกไขปญหาความยากจน ไดแก 1) แผนงานสรางงานในชนบท 2) แผนงาน กิจกรรมระดับหมูบาน เชน โครงการประมงหมูบาน (กรมประมง) โครงการพัฒนาชนบทยากจนระดับหมูบาน (กรมการพัฒนาชุมชน) โครงการธนาคารโคกระบือ (กรมปศุสัตว) ฯลฯ 3) แผนงานบริการข้ันพื้นฐาน เนนไปที่กระทรวงสาธารณสุข (เชน โครงการโภชนาการ โครงการสาธารณสุข มูลฐาน โครงการวางแผนครอบครัว ฯลฯ) กระทรวงศึกษาธิการ (เชน โครงการผลิตหนังสือ เพื่อสงเสริมคุณภาพชีวิต) กระทรวงมหาดไทย (เชน โครงการหนวยบริการอํ าเภอเคลื่อนท่ี (กรมการปกครอง)) และ 4) แผนการผลิต เนนกระทรวงเกษตรและสหกรณ (เชน โครงการพัฒนา ดินเค็ม โครงการสงเสริมการปลูกไมผลยืนตน) จุดสํ าคัญท่ีเนนในแผนพัฒนาฯ ฉบับน้ีคือ การมีระบบการบริหารงานพัฒนาชนบทแหงชาติ (กชช.) เปนคร้ังแรก เนนการทํ างานรวมกัน ของขาราชการโดยเฉพาะ 4 กระทรวงหลัก ไดแก กระทรวงมหาดไทย เกษตรและสหกรณ ศึกษาธิการ และสาธารณสุข

6. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 6 (2530 � 2534)แผนพัฒนาฯ ฉบับน้ี ใหความสํ าคัญกับการแกไขปญหาความยากจนในชนบท

และการปรับปรุงคุณภาพชีวิตท้ังทางเศรษฐกิจและสังคม กระจายความเจริญใหครอบคลุมพื้นท่ี ท้ังประเทศ ประชาชนจะไดรับการพัฒนาโดยเทาเทียมกันและเร่ิมใหประชาชนพึ่งตนเองได เพิ่มจํ านวนกระทรวงหลัก (โดยเพิ่มกระทรวงอุตสาหกรรมและกระทรวงพาณิชย) เพื่อให การพัฒนาชนบทครบวงจรการผลิตการตลาด เนนหลักการมีสวนรวมของประชาชนในรูป องคกรประชาชน และภาคเอกชนในการพัฒนาชนบทเพิ่มมากขึ้น แผนงานท่ีดํ าเนินงานโดยเอกชนซึ่งรัฐบาลเปนผูสนับสนุน ไดแก โครงการสรางงานในชนบท (กสช.) โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิต ของประชาชนในชนบทตามเกณฑความจํ าเปนพื้นฐาน (จปฐ.) โครงการกองทุนพัฒนาชนบท ไดแก กองทุนดํ าเนินงานโดยหนวยราชการ เชน เงินทุนหมุนเวียนพัฒนาชุมชน เงินทุนสนับสนุนกลุ มอาชีพ เงินทุนโครงการธนาคารขาว (โดยกรมการพัฒนาชุมชน) กองทุนยุวเกษตรกร

Page 4: บทที่11 แผนพัฒนาเศรษฐก ิจและส ังคมแห งชาต ิกับการพ ัฒนาชนบทagecon-extens.agri.cmu.ac.th/Course_online/Course/352721/11.pdf ·

176

(โดยกรมสงเสริมการเกษตร) กองทุนยาและเวชภัณฑประจํ าหมูบาน (สํ านักงานปลัดกระทรวง สาธารณสุข) หรืออาจจัดต้ังงบโดยไดรับการระดมทุนจากสมาชิกกลุม เชน เงินทุนกลุมออมทรัพยเพื่อการผลิต (โดยกรมการพัฒนาชุมชน) หรือจัดต้ังโดยไดรับเงินชวยเหลือจากตางประเทศ ไดแก กองทุนเพื่อพัฒนาเด็ก โดยการชวยเหลือจากมูลนิธิสงเคราะหเด็กยากจน ซี.ซี.เอฟ. (Christian Children Fund) ผานกรมการพัฒนาชุมชน เงินทุนหมุนเวียนสํ าหรับสตรีและเยาวชนในโครงการพัฒนาสตรีและเด็ก โดย UNICEF ผานกรมการพัฒนาชุมชน นอกจากน้ียังมีโครงการของจังหวัด (เปนโครงการนํ ารอง หรือ Pilot Project) คือ โครงการศูนยสาธิตกองทุนพัฒนาหมูบาน จังหวัดรอยเอ็ด (เปนการรวมทุน : กาย ใจ ความคิด เวลา และทุนทรัพย เพื่อจัดต้ังรานคา ของหมูบาน จัดทํ าบอเลี้ยงปลาเพื่อขายโดยแบงกํ าไรออกเปน 4 สวน : สาธารณูประโยชน ศูนยสาธิต ทุนสํ ารอง เงินปนผลแกสมาชิก) แผนพัฒนาฉบับน้ีกํ าหนดแนวทางใหประชาชน องคกรประชาชนและองคกรพัฒนาเอกชน เขามามีสวนรวมในการวางแผนจัดการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อใหเกิดการพัฒนาแบบยั่งยืน (Sustainable Development) หมายถึง การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมควบคูกับการคํ านึงถึงสิ่งแวดลอม

7. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 7 (2535 � 2539)แผนพัฒนาฯ ฉบับน้ี หมายถึงการพัฒนาชนบท เพื่อปรับปรุงระบบการบริหารการพัฒนา

ชนบท โดยการกระจายอํ านาจการบริหารงานและการตัดสินใจจากสวนกลางไปสูทองถ่ินมากข้ึน แกไขปญหาความยากจนในชนบท โดยการพัฒนาครัวเรือนท่ีมีรายไดนอยในชนบท ยกระดับ คุณภาพชีวิตของครัวเรือนในชนบท พัฒนาทรัพยากรมนุษยเพื่อรองรับการปรับโครงสรางการผลิต ในชนบท รวมท้ังการพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม และการพัฒนาเพื่อเสริม ความมั่นคงของชาติ

หากพิจารณาลักษณะเดนท่ีใชในการพัฒนาชนบทของแตละแผนพัฒนาฯ แลว จะพบวา แผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 1 � 3 เนนความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ สงเสริมการลงทุนและการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานตางๆ เปนสํ าคัญ แผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 4 เร่ิมใหความสํ าคัญตอวิธีการแกไขปญหาความยากจนและเห็นเดนชัดขึ้นในแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 5 ซึ่งเนนรูปแบบการพัฒนาชนบทแนวใหม คือ พัฒนาพื้นท่ีชนบทยากจนและประสานความรวมมือของหนวยราชการ 4 กระทรวงหลัก สวนแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 6 � 7 เนนใหความสํ าคัญกับการพัฒนาสังคม การพัฒนาองคกรประชาชนและการร วมมือระหว างหน วยงานของรัฐและองค กรพัฒนาเอกชนมากขึ้น โดยมีหนวยงานราชการเพิ่มจาก 4 เปน 6 กระทรวงหลัก และเร่ิมใหความสํ าคัญกับการพัฒนา

Page 5: บทที่11 แผนพัฒนาเศรษฐก ิจและส ังคมแห งชาต ิกับการพ ัฒนาชนบทagecon-extens.agri.cmu.ac.th/Course_online/Course/352721/11.pdf ·

177

ท่ีไมทํ าลายสิ่งแวดลอม เพื่อใหเกิดการพัฒนาแบบย่ังยืน โดยเฉพาะแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 7 ไดเพิ่มการกระจายรายไดและการกระจายอํ านาจสู ทองถ่ินมากข้ึน ควบคูไปกับการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ

การจัดองคการบริหารการพัฒนาชนบท นับวาเปนจุดเดนท่ีสํ าคัญมากและชวยเชื่อมโยงทิศทางการพัฒนาชนบทไดเปนอยางดี โดยมีจุดกํ าเนิดในแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 5 การจัดองคการบริหารการพัฒนาชนบทน้ัน เปนไปตามระเบียบสํ านักนายกรัฐมนตรี วาดวยการบริหารการพัฒนาชนบท พ.ศ. 2524 เรียกยอๆ วา �ระบบ กชช.� เปนระบบที่มีวัตถุประสงคเพื่อสรางเอกภาพ ในองคกรท่ีเก่ียวของกับการพัฒนาชนบท ต้ังแตระดับชาติ ระดับจังหวัด ระดับอํ าเภอ ระดับตํ าบลและหมูบาน ใหมีการประสานงานกันทุกระดับ รวมดํ าเนินงานดวยกันภายใตระบบ กชช. ซึ่งจะไดกลาวในบทท่ี 12 ตอไป

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 1 � 7 น้ัน มีผลตอการพัฒนาชนบท ดังตอไปน้ี

ในยุคของแผนพัฒนาเศรษฐกิจ การพัฒนาชนบทไทย นับต้ังแตแผนพัฒนาเศรษฐกิจ ฉบับท่ี 1 � 6 อยูบนพื้นฐานของแนวทางท่ีแตกตางกัน 3 แนวทาง คือ แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 1 � 3 ยึดถือทฤษฎีความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ท่ีวัดความเจริญ เติบโตทางเศรษฐกิจดวยตัวเลขของผลิตภัณฑรวมของชาติวาเพิ่มขึ้นเทาใด ในดานการพัฒนา สวนใหญจะเนนหนักการพัฒนาดานโครงสรางพื้นฐาน และการพัฒนาอุตสาหกรรมเปนหลัก

ผลจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 1 � 3 กอใหเกิดปญหา ความเหลื่อมลํ้ าและความไมเปนธรรมในสังคม กอปรกับสถานการณทางการเมืองของการจัดทํ าแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 4 อยูในชวงของยุคประชาธิปไตย ความคิดในการสรางความเปนธรรม ในสังคมหรือแนวความคิดทางจริยธรรมไดปรากฏในแผนพัฒนา ฉบับท่ี 4 อยางมาก

การพัฒนาประเทศตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 1 � 4 แมจะสรางอัตราความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจใหอยูในระดับท่ีนาพอใจ แตกอใหเกิดปญหาความแตกตางระหวางเมืองกับชนบทอยางมาก ปญหาดังกลาวไมไดรับการแกไขอยางจริงจัง ในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 5 ผูนํ ารัฐบาลและกลุมขาราชการ นักวิชาการ มีเจตจํ านงคแนวแนท่ีจะแกปญหาที่เร้ือรังมานาน จึงมีการเปลี่ยนยุทธศาสตรการพัฒนาชนบทใหมในชวง แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 5 และตอเน่ืองมาถึงแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 6 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 7 ยังมุงเนน การพัฒนาสังคมและองคกรประชาชน ตลอดจนความรวมมือระหวางหนวยงานของรัฐและองคกร

Page 6: บทที่11 แผนพัฒนาเศรษฐก ิจและส ังคมแห งชาต ิกับการพ ัฒนาชนบทagecon-extens.agri.cmu.ac.th/Course_online/Course/352721/11.pdf ·

178

พัฒนาเอกชนมากข้ึน เพิ่มการกระจายรายไดและการกระจายอํ านาจสูทองถ่ินมากข้ึน ควบคูไปกับการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ เนนการพัฒนาแบบยั่งยืน ซึ่งเปนแนวทางในการพัฒนาที่ถูกตอง

สํ านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ไดสรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ท้ัง 7 แผน ไวดังน้ี

หลังจากรัฐบาลไดดํ าเนินการพัฒนาประเทศตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติท้ัง 7 แผน ในระยะเวลา 36 ปท่ีผานมา หากมองในแงความสํ าเร็จจะพบวารัฐบาลสามารถ ชวยยกระดับฐานะทางเศรษฐกิจของประเทศใหสูงข้ึน รายไดประชาชาติรวมไดเพิ่มขึ้น ถึง 26 เทาตัวคือจาก 58,900 ลานบาท ใน พ.ศ. 2504 เปน 1,574,649 ลานบาท ใน พ.ศ. 2533 และรายไดเฉลี่ยตอหัวของประชาชนเพิ่มขึ้นเกือบ 13 เทาตัว จาก 2,150 บาท ตอคนตอป ใน พ.ศ. 2504 เปน 27,949 บาท ตอคนตอป ใน พ.ศ. 2533 สวนการพัฒนาสังคมน้ัน ไดมีการพัฒนาดานการศึกษาและสาธารณสุขอยางกวางขวาง ซึ่งไดชวยสงเสริมใหประชาชน ชาวไทยไดมีคุณภาพชีวิตในทางดานน้ีดีข้ึนกวาเดิมเปนสวนใหญ และปจจุบันไทยสามารถขยาย โรงเรียนมัธยมศึกษาไดครบทุกอํ าเภอ และสามารถเปดโรงพยาบาลอํ าเภอ หรือเรียกวา โรงพยาบาลชุมชนไดไมต่ํ ากวา 86% ของจํ านวนอํ าเภอท้ังหมด และสถานีอนามัย 98% ของจํ านวนตํ าบลท้ังหมด รวมท้ังการใหบริการสาธารณสุขมูลฐานในระดับหมูบานไมต่ํ ากวา 90% ของจํ านวนหมูบานในเขตชนบทท่ัวประเทศ นอกจากน้ี ผลพวงของการพัฒนาอุตสาหกรรม มีการปูพื้นฐานโครงสรางทางเศรษฐกิจและสังคม เชน การสรางถนนหนทาง สะพาน ไฟฟา และชลประทาน เปนตน ขยายไปยังจังหวัด อํ าเภอ ตํ าบล และหมูบานท่ัวประเทศ ซึ่งกลาวไดวา ในปจจุบันน้ี ประเทศไทยมีเครือขายการคมนาคมในดานถนนหนทางและไฟฟาเพียงพอ กับความตองการหรือมากพอสมควรแลว

แตแมกระน้ัน ผลพวงของความสํ าเร็จในการพัฒนาดังกลาวขางตนน้ี ก็มิไดแกไข ความยากจนของเกษตรกรในชนบทสวนใหญ บุคคลเหลาน้ีเปนจํ านวนมากแทนท่ีจะมี ความเปนอยูดีข้ึน กลับมีความเปนอยูเลวลงกวาเดิม เพราะความยากจนและขาดแคลนท่ีทํ ากิน แมรายไดเฉลี่ยตอหัวจะเพิ่มขึ้น 13 เทา ในชวงระยะ 36 ปท่ีผานมา แตการกระจายรายได ท่ีไมเปนธรรม มีผลใหบุคคลสวนนอยในประเทศ ไดแก กลุมพอคาคนกลาง ไดรับประโยชน จากการเพิ่มขึ้นของรายไดประชาชาติ สวนครอบครัวเกษตรกรในชนบทซึ่งมีสมาชิกประมาณ 6 คน สวนใหญมิไดมีรายไดใกลเคียงกับรายไดเฉลี่ยตอบุคคลของประเทศ คือ 27,949 บาทตอคนตอป (พ.ศ. 2533) เพราะหากมีการกระจายรายไดท่ีเปนธรรมแลว ครอบครัวชาวชนบทแตละครอบครัว ท่ีมีสมาชิก 6 คน จะตองมีรายไดไมต่ํ ากวาครอบครัวละ 122,520 บาท ตอป

Page 7: บทที่11 แผนพัฒนาเศรษฐก ิจและส ังคมแห งชาต ิกับการพ ัฒนาชนบทagecon-extens.agri.cmu.ac.th/Course_online/Course/352721/11.pdf ·

179

นอกจากน้ี สิ่งท่ีชาวชนบทไดเผชิญอยูตลอดระยะเวลา 36 ปท่ีผานมา ก็คือความสูญสิ้น เสื่อมสภาพของทรัพยากรธรรมชาติ ไดแก ปาเขา ตนน้ํ า ลํ าธารท่ีถูกทํ าลาย แมน้ํ าลํ าธารท่ีต้ืนเขิน ท่ีดินเพาะปลูกท่ีเสื่อมคุณภาพ เพราะใชมากแตบํ ารุงนอยหรือเกือบไมมีการบํ ารุงเลย ประกอบกับการขยายตัวของประชากรท่ีเพิ่มขึ้น ซึ่งมีผลกระทบกระเทือนอยางใหญหลวงตอชีวิตความเปนอยูของครอบครัวชนบท ทํ าใหเกษตรกรชนบทสวนใหญประสบกับภาวะความยากจนขนแคน ในขณะท่ีประเทศชาติมีการพัฒนาเจริญกาวหนาหลายดาน ดังไดกลาวแลวขางตน

ดวยเหตุน้ี รัฐบาลจึงไดมาเร่ิมต่ืนตัวใหความสนใจในเร่ืองน้ีเมื่อประมาณเกือบ 2 ทศวรรษท่ีผานมา ซึ่งไดมีโครงการเก่ียวกับการพัฒนาชนบทหลายโครงการ เชน โครงการเรงรัดพัฒนาชนบท โครงการพัฒนาชุมชน โครงการเงินผัน โครงการ กสช. โครงการของหนวยพัฒนาการ เคลื่อนท่ี และอ่ืนๆ นอกจากน้ี ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับท่ี 5 ยังไดกํ าหนดพื้นท่ีเปาหมายในชนบทท่ีเห็นวายังยากจนลาหลัง ท่ีจะใหมีการพัฒนาเนนหนักเปนพิเศษ แตแมกระนั้นการดํ าเนินงานท่ีผานมายังไมไดรับผลสํ าเร็จเทาท่ีควร ท้ังน้ีเพราะแนวทางการพัฒนาชนบทท่ีแลวมา มุ งท่ีจะขยายโครงสรางพื้นฐานทางเศรษฐกิจและสังคมซึ่งไมมีผลตอการ เพิ่มรายไดใหแกเกษตรกรท่ียากจนเพราะขาดแคลนท่ีทํ ากิน และมุงท่ีจะเพิ่มประสิทธิภาพ ในการผลิตทางการเกษตร โดยการนํ าเอาวิธีการผลิตสมัยใหม การใชพันธุพืชท่ีดี ปุยเคมี ยาปราบศัตรูพืช ตลอดจนเคร่ืองมือจักรกลทุนแรง ซึ่งเปนการพัฒนาประสิทธิภาพการผลิต แบบใชทุนเปนหลัก ในขณะท่ีเกษตรกรสวนใหญมีแรงงานแตไมมีเงินทุน

บางคร้ังทางราชการใหการสนับสนุนโดยใหสินเชื่อทางการเกษตรแกเกษตรกร ผลท่ีไดรับจากความพยายามในการเพิ่มประสิทธิภาพตามแนวทางน้ีก็คือ เกษตรกรจํ านวนนอยท่ีมีฐานะดี มีเงินทุนและมีความสามารถท่ีจะนํ าเทคโนโลยีใหมมาใช อาจจะสามารถเพิ่มผลผลิตของตนได แตแมกระน้ันก็ประสบกับปญหาการลงทุนสูง แตขายผลผลิตไดราคาต่ํ าดังไดกลาวแลวขางตน สํ าหรับเกษตรกรสวนใหญท่ียากจนท่ีขาดแคลนเงินทุนและมีท่ีนาไมก่ีไรน้ัน ไดรับประโยชน จากความพยายามของทางราชการดังกลาวนอยมาก

สรุปไดวาความพยายามในการพัฒนาชนบทก็วนเวียนอยูในแนวทางดังกลาวขางตนน้ี เทาน้ัน คือพยายามขยายโครงสรางพื้นฐานเศรษฐกิจและสังคม และพยายามนํ าเทคโนโลยี สมัยใหมมาใชเพื่อเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร ซึ่งแทบไมมีผลตอการแกปญหาความยากจน ของชาวไร ชาวนา และย่ิงนับวันเกษตรกรท่ียากจนในชนบทเหลาน้ีจะย่ิงจมลงในปลัก ของความยากจนลึกลงทุกที เพราะประชากรในชนบทขยายตัวเพิ่มอยางไมหยุดย้ังในขณะท่ีท่ีดินทํ ากินขยายไมออก

Page 8: บทที่11 แผนพัฒนาเศรษฐก ิจและส ังคมแห งชาต ิกับการพ ัฒนาชนบทagecon-extens.agri.cmu.ac.th/Course_online/Course/352721/11.pdf ·

180

ดัง น้ันหากเราพิจารณาถึงการพัฒนาชนบทตามยุทธศาสตรหรือแนวทางขางตน จึงเปนเร่ืองท่ีจะประสบความสํ าเร็จไดยาก ผูเรียบเรียงมีความเห็นวาแนวทางการพัฒนานาจะตองพิจารณาทบทวนหายุทธศาสตรและแนวทางใหมในการพัฒนาชนบทที่สอดคลองกับสภาพ ความเปนจริงของประเทศและสังคมชนบทของไทยและอยู ในวิสัยท่ีเกษตรกรในชนบท ท่ัวท้ังประเทศจะกระทํ าไดโดยท่ัวถึงทุกครัวเรือน

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 8 พ.ศ. 2540 � 2544สํ านักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ สํ านักนายกรัฐมนตรี

ไดกํ าหนดยุทธศาสตรการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ เพื่อใหสามารถบรรลุ วัตถุประสงคและเปาหมายการพัฒนาดังกลาว ท่ีสํ าคัญดังน้ี

1. การพัฒนาศักยภาพของคน ประกอบดวยแนวทางการพัฒนาคุณภาพคน รวมท้ัง ผูดอยโอกาสไดรับการพัฒนาใหมีสุขภาพและจิตใจดี พรอมท้ังมีสติปญญา กระบวนการเรียนรู และทักษะท่ีสามารถรับผิดชอบตนเองและเขารวมในกระบวนการพัฒนาประเทศได

2. การพัฒนาสภาพแวดลอมทางสังคม ประกอบดวยแนวทางการพัฒนา สภาพแวดลอมของตัวคน เชน ครอบครัว ชุมชน ศิลปและวัฒนธรรม การสรางความเขมแข็ง ของครอบครัวและชุมชน ระบบความมั่นคงทางสังคม ใหสงเสริมและสนับสนุนการพัฒนาคน ครอบครัวและชุมชน

3. การเสริมสรางศักยภาพการพัฒนาของภูมิภาคและชนบทเพ่ือยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนอยางท่ัวถึง ประกอบดวยแนวทางการกระจายโอกาสและความเจริญ ดวยการพัฒนาพื้นท่ีในภูมิภาค การพัฒนาการมีสวนรวมในการพัฒนาและการกระจายการพัฒนาดวยการเพิ่มศักยภาพขององคกรชุมชน การสนับสนุนกระบวนการเรียนรูและขยายเครือขาย การเรียนรูของชุมชน การเสริมสรางโอกาสการพัฒนาเพื่อสรางอาชีพและการมีงานทํ าดวยการ สงเสริมบทบาทของภาคธุรกิจเอกชนและองคการพัฒนาเอกชน การกระจายกิจกรรมทางเศรษฐกิจและบริการทางสังคม การแกไขปญหาและรักษาสภาพแวดลอมเมือง การบริหารจัดการงานพัฒนาในลักษณะพหุภาคี ท้ังในงานพัฒนาทั่วไปและในระดับพื้นท่ี

4. การพัฒนาสมรรถนะทางเศรษฐกิจ เพ่ือสนับสนุนการพัฒนาคน และคุณภาพชีวิต ประกอบดวย แนวทางการเสริมสรางระบบเศรษฐกิจใหเข มแข็งและเจริญเติบโต อยางมีเสถียรภาพ การปรับโครงสรางการผลิตใหเขมแข็งเพื่อใหพรอมรับการเปลี่ยนแปลง ของตลาดโลก และยกระดับคุณภาพชีวิตของคนไทย การพัฒนาวิทยาศาสตรเทคโนโลยี

Page 9: บทที่11 แผนพัฒนาเศรษฐก ิจและส ังคมแห งชาต ิกับการพ ัฒนาชนบทagecon-extens.agri.cmu.ac.th/Course_online/Course/352721/11.pdf ·

181

เพื่อเปนฐานของการพัฒนาที่ย่ังยืน ตลอดจนการพัฒนาพื้นท่ี ชุมชน และบริการโครงสรางพื้นฐาน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและยกระดับคุณภาพชีวิต

5. การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ประกอบดวยแนวทางการบริหารจัดการเพื่ออนุรักษฟ นฟูทรัพยากรธรรมชาติใหมีความสมบูรณ เกิดความสมดุลตอระบบ นิเวศวิทยา รวมท้ังการดูแลรักษาสภาวะแวดลอมเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน และเปนฐานการพัฒนาประเทศในระยะยาว การจัดระบบการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมใหเกิดการใชประโยชนและควบคุมดูแลอยางมีประสิทธิภาพ มีการจัดสรร อยางเปนธรรม เปนประโยชนตอสังคมและชุมชนอยางแทจริง รวมท้ังการบริหารจัดการเพื่อปองกันและบรรเทาภัยอันเกิดจากธรรมชาติ

6. การพัฒนาประชารัฐ การพัฒนาใหภาครัฐมีสมรรถนะและพันธกิจหลักในการ เสริมสรางศักยภาพและสมรรถนะของคน ทํ าใหคนในสังคมเปนพันธมิตรกับเจาหนาท่ีของรัฐ และมีส วนรวมในการพัฒนาประเทศ ซึ่งประกอบดวยแนวทางการพัฒนาเพื่อเสริมสราง หลักนิติธรรมในการบริหารรัฐกิจ การจัดการแกไขความขัดแยงในสังคมดวยสันติวิธี สนับสนุน ใหประชาชนทุกภาคสวนของสังคมมีส วนรวมในกิจกรรมสาธารณะของภาครัฐ เพิ่มพูน ประสิทธิผลและประสิทธิภาพภาครัฐดวยการปรับปรุงประสิทธิภาพของระบบราชการ ตลอดจนการสรางความตอเน่ืองในงานบริหารรัฐกิจ โดยการสรางความรูความเขาใจดานนโยบายสาธารณะและการกํ าหนดระเบียบวาระแหงชาติ

7. การบริหารจัดการเพ่ือใหมีการนํ าแผนพัฒนาฯ ไปดํ าเนินการใหเกิดผล ในทางปฏิบัติ ประกอบดวยแนวทางการแปลงแผนสูการปฏิบัติดวยระบบการจัดการในระดับ พื้นท่ีตามภารกิจของหนวยราชการและการมีสวนรวมจากทุกฝายในสังคม การพัฒนากลไกของรัฐ ในการปฏิบัติงาน การปรับบทบาทการมีสวนรวมของภาคีเพื่อการพัฒนา การเพิ่มประสิทธิภาพของหนวยงานกลางในการแปลงแผนไปสู การปฏิบัติ การพัฒนาสมรรถนะกลไกนอกภาครัฐ และการติดตามและประเมินผลโดยมีการจัดทํ าดัชนีชี้วัดผลของการพัฒนาแบบองครวม

แผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 8 เปนแผนชี้ทิศทางการพัฒนาประเทศในชวง พ.ศ. 2540 � 2544 ซึ่งแผนมีลักษณะเปนกลยุทธซึ่งกํ าหนดข้ึนตามกระบวนการและวิธีการวางแผนแนวองครวม คือ การพัฒนาแบบรวมสวนในลักษณะของการบูรณาการ มีความสัมพันธเชื่อมโยงซึ่งกันและกันอยางเปนระบบ อันจะทํ าใหการพัฒนามีประสิทธิภาพมีความย่ังยืนและคนไทยทั้งหมด ไดรับประโยชนจากการพัฒนามากกวาท่ีผานมา

Page 10: บทที่11 แผนพัฒนาเศรษฐก ิจและส ังคมแห งชาต ิกับการพ ัฒนาชนบทagecon-extens.agri.cmu.ac.th/Course_online/Course/352721/11.pdf ·

182

ยุทธศาสตรและแนวทางการพัฒนาซึ่งกํ าหนดไวในแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 8 เปนการ ชี้ทิศทางการพัฒนาตามวัตถุประสงคหลักของการพัฒนาประเทศในระยะยาว โดยไมเนน รายละเอียดของแนวทางการพัฒนาตามสาขาเศรษฐกิจและสังคม และมาตรการระยะส้ัน ซึ่งหนวยงานปฏิบัติตองดํ าเนินการตามปกติอยูแลว ดังน้ันแผนพัฒนาฯ สวนใหญจึงใชยุทธศาสตร และแนวทางท้ังหมดไปใชเปนกรอบกํ าหนดแผนงาน โครงการ และมาตรการ เพื่อใหมี การดํ าเนินการใหเกิดผลในทางปฏิบัติ รวมถึงการกํ าหนดใหมีเปาหมายและโครงการท่ีจะทํ า ใหเกิดผลตอประชาชน มิใชองคกรของรัฐ หรือเปนโครงการพัฒนาที่ประชาชนตัดสินใจ หรือมีสวนรวมในการตัดสินใจและขอรับการสนับสนุนจากภาครัฐ

แนวคิดทิศทางและกระบวนการใหมในการพัฒนาของแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 8

กระแสการเปล่ียนแปลงในสังคมโลก และผลการพัฒนาซึ่งขาดความสมดุล คือ �เศรษฐกิจดี สังคมมีปญหา การพัฒนาไมย่ังยืน� ทํ าใหตองยกระดับแนวคิด และกระบวนการพัฒนา ของแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 8 ใหม ดังน้ี

1. แนวคิดของการพัฒนาตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติท่ีผานมา เกิดจากความตองการเรงรัดการขยายตัวและสรางการเติบโตทางเศรษฐกิจยุทธศาสตรการพัฒนา ไดมุงเนนการพัฒนาอุตสาหกรรมและการผลิตเพื่อการสงออก โดยอาศัยความไดเปรียบทางดานทรัพยากรธรรมชาติและทรัพยากรมนุษย มาใชขยายฐานการผลิตเพื่อสรางรายไดและการมีงานทํ า ซึ่งเปนยุทธศาสตรท่ีเหมาะสมและสอดคลองกับสถานการณทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศในชวงเวลาน้ัน

2. การเปลี่ยนแปลงในระบบของสังคมโลก คือ กระแสโลกาวัฒน โดยความกาวหนา ดานสื่อสารโทรคมนาคม โดยเฉพาะอยางย่ิงเทคโนโลยีสารสนเทศเปนปจจัยผลักดันอันสํ าคัญ ท่ีทํ าใหโลกอยูในภาวะท่ีไรพรมแดน มีการติดตอสัมพันธกันอยางรวดเร็ว เปดโอกาสใหคนในสังคมทุกคนสามารถแสวงหาขาวสารความรูไดอยางหลากหลายจากทุกทิศทาง ทํ าใหมีการตระหนัก และเขาใจรวมกันวาการพัฒนาที่มุงเนนการพัฒนาเศรษฐกิจอยางเดียว และใชทรัพยากรโดยไมมีขอบเขตจํ ากัด จะกอใหเกิดปญหาการอยูรวมกันระหวางสังคมมนุษยและธรรมชาติอยางย่ังยืน ในระยะยาว

3. การพัฒนาที่ทาทายตอการอยูรอดของระบบเศรษฐกิจและความมั่นคงของสังคมไทย คือการพัฒนาศักยภาพของคน ซึ่งหมายถึงการพัฒนาคุณภาพและสมรรถนะของคน ใหสามารถ มีความคิดริเร่ิมสรางสรรค ท่ีจะเปนการเพิ่มขีดความสามารถของชุมชน สังคม และของชาติ

Page 11: บทที่11 แผนพัฒนาเศรษฐก ิจและส ังคมแห งชาต ิกับการพ ัฒนาชนบทagecon-extens.agri.cmu.ac.th/Course_online/Course/352721/11.pdf ·

183

ในท่ีสุด ดังน้ันในแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 8 จึงไดยกระดับความคิดการพัฒนาจากเดิม ท่ีเนนการพัฒนาเศรษฐกิจเปนจุดมุงหมายหลักของการพัฒนาแตเพียงอยางเดียว มาเปนการเนน คนเปนศูนยกลางหรือจุดมุงหมายหลักของการพัฒนา เพราะคนเปนปจจัยชี้ขาดความสํ าเร็จ ของการพัฒนาในทุกๆ เร่ือง โดยการพัฒนาเศรษฐกิจเปนเพียงเคร่ืองมืออยางหนึ่งท่ีจะชวยให คนมีความสุขและมีคุณภาพชีวิตท่ีดีข้ึนเทาน้ัน ไมใชเปนเปาหมายสุดทายของการพัฒนาอีกตอไป

4. โอกาสการพัฒนาสังคมไทยในอนาคตนั้น เกิดข้ึนท้ังจากกระแสโลกาภิวัฒนและ ความแข็งแรงของเศรษฐกิจจากรากฐานของการเจริญเติบโตที่มีเสถียรภาพและมั่นคงท่ีผานมา รวมท้ังความหลากหลายของกิจกรรมทางเศรษฐกิจและธุรกิจ ตลอดจนศักยภาพของภาคเอกชน พัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศจะเปดโอกาสการเสริมสรางความรูและศักยภาพใหคนไทย มากย่ิงข้ึน มีโอกาสในการกํ าหนดชีวิตของตนเอง รวมท้ังมีสวนรวมคิดสรางสรรคและไดรับประโยชนจากการพัฒนามากข้ึน

5. การพัฒนาเพื่อสรางขีดความสามารถของคนตองใชกระบวนการพัฒนาที่สรางโอกาส และทางเลือกมากขึ้น การวางแผนพัฒนาประเทศจึงตองปรับเปลี่ยนวิธีการ และกระบวนการ วางแผน จากการแยกเปนสวนๆ เปนรายสาขาเศรษฐกิจหรือสังคมท่ีขาดความเช่ือมโยงเก้ือกูล ตอกันมาเป นการพัฒนาตัวคนให เ ต็มศักยภาพควบคู ไปกับการพัฒนาสภาวะแวดลอม ท่ีอยูรอบตัวตน ซึ่งประกอบดวยการพัฒนาทางดานเศรษฐกิจ สภาวะทางสังคม ความเขมแข็ง ของชุมชนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ตลอดจนระบบการบริหารการจัดการใหสนับสนุนแนวทาง ท่ีจะก อให เ กิดการพัฒนาที่ จะ รักษาท้ังท รัพยากรธรรมชาติและสถานะภาพ ของความเปนคน สังคมมีความสุข มีความมั่นคง และมีความเปนธรรม โดยท่ัวถึงถวนหนา

6. แนวทางการพัฒนาเพื่อใหเกิดการยกระดับความคิดการพัฒนา คือ การเปดโอกาส ใหทุกๆ ฝายเขามามีสวนรวมในกระบวนการพัฒนาประเทศ ท้ังรวมคิด รวมทํ า และรวมติดตามประเมินผลการพัฒนาเพื่อใหการพัฒนาประเทศเปนกระบวนการพัฒนาที่มีการผนึกกํ าลัง อยางสมานฉันท การพัฒนาที่สรางความเขาใจและเอ้ืออาทรกัน เปนการพัฒนาของประชาชน โดยประชาชน และเพื่อประโยชนของประชาชนอยางแทจริง

Page 12: บทที่11 แผนพัฒนาเศรษฐก ิจและส ังคมแห งชาต ิกับการพ ัฒนาชนบทagecon-extens.agri.cmu.ac.th/Course_online/Course/352721/11.pdf ·

184

วิสัยทัศนการพัฒนาท่ีพึงปรารถนาในอนาคตการพัฒนาสังคมไทยท่ีพึงปรารถนาในอนาคตน้ัน จะเปนการพัฒนาที่มีวิสัยทัศน

ดังตอไปน้ี1. คนไทยทุกคนมีโอกาสและความเสมอภาคที่จะไดรับการพัฒนาใหเปนไปตามศักยภาพ

อยางเต็มท่ี ท้ังทางรางกาย จิตใจ สติปญญา และความสามารถ เพื่อเปนคนท่ีมีสุขภาพดี มีคุณภาพ มีความสุขและมีคุณธรรม ตลอดจนมีความรู รูจักตนเอง และรูเทาทันโลก สามารถ ท่ีจะปรับตัวอยูในสังคมไดอยางมีคุณคา ตลอดจนทุกชวงวัยของชีวิต

2. สังคมไทยมีสมรรถภาพ มีเสรีภาพ มีความยุติธรรม มีความเมตตากรุณา และเคารพ ในสิทธิมนุษยชน เปนสังคมท่ีคนมีความสุข ครอบครัวอบอุน ชุมชนเขมแข็ง

3. เศรษฐกิจมีความเขมแข็ง มีความมั่นคง เสริมสรางโอกาสในการกระจายรายไดและความเปนธรรมทั่วถึงทุกกลุมคนทุกพื้นท่ี และเปนระบบเศรษฐกิจท่ีมีการเจริญเติบโตโดยไมทํ าลายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

4. ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล อมได รับการดูแลรักษาและจัดการอยางมี ประสิทธิภาพ เพื่อผลประโยชนของคนไทยท้ังในปจจุบันและคนรุนหลังสืบตอไป

5. ระบบการบริหารจัดการพัฒนาประเทศเปนไปในลักษณะองครวม มีการกระจายอํ านาจและเสริมสรางสภาพแวดลอมท่ีสงเสริมและสนับสนุนการมีสวนรวมของประชาชนอยางแทจริง

วัตถุประสงคและเปาหมายของแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 8วัตถุประสงค

เพื่อกาวไปสูวิสัยทัศนการพัฒนาที่พึงปรารถนาในระยะยาว แผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 8 ไดกํ าหนดวัตถุประสงคและเปาหมายหลักของการพัฒนา ไวดังน้ี

1. เพื่อเสริมสรางศักยภาพของคนทุกคนท้ังในดานรางกายและสติปญญา มีสุขภาพพลานามัยแข็งแรง มีความรูความสามารถและทักษะในการประกอบอาชีพ และสามารถปรับตัว ใหทันตอกระแสการเปล่ียนแปลงท้ังในดานเศรษฐกิจ สังคมและการปกครอง

2. เพื่อพัฒนาสภาพแวดลอมของสังคมใหมีความมั่นคง และเสริมสรางความเขมแข็ง ของครอบครัวและชุมชน ให ส นับสนุนการพัฒนาศักยภาพและคุณภาพชี วิตของคน รวมท้ังใหชุมชนมีสวนรวมในการพัฒนาประเทศมากย่ิงข้ึน

3. เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศใหเจริญเติบโตอยางมีเสถียรภาพ มั่นคงและสมดุล เสริมสรางโอกาสการพัฒนาศักยภาพของคนในการมีสวนรวมในกระบวนการพัฒนาและไดรับผลจากการพัฒนาที่เปนธรรม

Page 13: บทที่11 แผนพัฒนาเศรษฐก ิจและส ังคมแห งชาต ิกับการพ ัฒนาชนบทagecon-extens.agri.cmu.ac.th/Course_online/Course/352721/11.pdf ·

185

4. เพื่อใหมีการใชประโยชนและดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดลอม ใหมีความสมบูรณ สามารถสนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตไดอยางย่ังยืน

5. เพื่อปรับระบบบริหารจัดการ เปดโอกาสใหองคกรพัฒนาเอกชน ภาคเอกชน ชุมชน และประชาชน เขามามีสวนรวมในกระบวนการพัฒนาประเทศมากขึ้นเปาหมาย

เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคการพัฒนาขางตน เห็นสมควรกํ าหนดเปาหมาย ซึ่งจะเปน เคร่ืองชี้ วัดผลการพัฒนาและการเปลี่ยนแปลงท่ีจะเกิดข้ึนตามวัตถุประสงคหลักในระยะ ของแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 8 ดังน้ี

1. เพิ่มปริมาณการเตรียมความพรอมทุกดานของเด็กปฐมวัย (0 � 5 ป) อยางมีคุณภาพ2. เพิ่มคุณภาพการจัดการศึกษาทุกระดับ โดยเฉพาะการขยายการศึกษาข้ันพื้นฐาน 9 ป

แกเด็กในวัยเรียนทุกคน การเตรียมการขยายการศึกษาเปน 12 ป และการฝกอบรมครู อาจารย ทุกคนอยางตอเน่ือง

3. ยกระดับทักษะฝ มือและความรู พื้นฐานใหแกแรงงานในสถานประกอบการ โดยใหความสํ าคัญเปนลํ าดับแรกตอกลุมแรงงานอายุ 25 � 45 ป

4. ใหผู ดอยโอกาสทุกประเภทไดรับโอกาสการพัฒนาเต็มศักยภาพ และไดรับบริการ พื้นฐานทางสังคมอยางมีคุณภาพและท่ัวถึง

5. ลดอัตราการประสบอันตรายจากการทํ างานใหอยูในระดับท่ีไมเกินมาตรฐานสากล และลดจํ านวนการเกิดอุบัติเหตุตางๆ โดยเฉพาะการจราจร การขนสงวัตถุเคมีอันตราย และอัคคีภัยในอาคารสูง

6. รักษาเสถียรภาพของระบบเศรษฐกิจไทย โดยลดการขาดดุลบัญชีเดินสะพัด ใหอยูในระดับรอยละ 3.4 ของผลผลิตรวมในปสุดทายของการวางแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 8 และรักษาอัตราเงินเฟอใหอยูในระดับท่ีไมกอใหเกิดความเดือดรอนแกผูบริโภค

7. ระดมการออมของภาคครัวเรือนใหเพิ่มขึ้นเปนอยางนอยรอยละ 10 ของผลผลิตรวม ในปสุดทายของแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 8

8. ขยายปริมาณและเพิ่มคุณภาพของบริการโครงสรางพื้นฐานสูภูมิภาคและชนบท9. ลดสัดสวนคนยากจนของประเทศใหนอยกวารอยละ 10 ในชวงของแผนพัฒนาฯ

ฉบับท่ี 8

Page 14: บทที่11 แผนพัฒนาเศรษฐก ิจและส ังคมแห งชาต ิกับการพ ัฒนาชนบทagecon-extens.agri.cmu.ac.th/Course_online/Course/352721/11.pdf ·

186

10. อนุรักษและฟนฟูบูรณะพื้นท่ีปาเพื่อการอนุรักษไวใหไดไมนอยกวารอยละ 25 ของพื้นท่ีของประเทศ รวมท้ังรักษาพื้นท่ีปาชายเลนใหคงไวไมต่ํ ากวา 1 ลานไรในปสุดทาย ของแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 8

11. สรางโอกาสและเพิ่มทางเลือกในการประกอบอาชีพเกษตรในรูปแบบของเกษตร ธรรมชาติ เกษตรอินทรีย เกษตรผสมผสาน และวนเกษตร

12. การลงทุนเพื่อการควบคุมและฟนฟูคุณภาพสิ่งแวดลอมเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต ของคนในเมือง ภูมิภาคและชนบท

ยุทธศาสตรการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศเพื่อใหสามารถบรรลุวัตถุประสงคและเปาหมายการพัฒนาดังกลาว เห็นควรกํ าหนด

ยุทธศาสตรการพัฒนาของแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 8 ท่ีสํ าคัญ ดังน้ี1. การพัฒนาศักยภาพของคน ประกอบดวยแนวทางการพัฒนาคุณภาพคน รวมท้ัง

ผูดอยโอกาสใหไดรับการพัฒนาใหมีสุขภาพและจิตใจดี พรอมท้ังมีสติปญญา กระบวนการเรียนรู และทักษะท่ีสามารถรับผิดชอบของตนเองและเขารวมในกระบวนการพัฒนาประเทศได

2. การพัฒนาสภาพแวดลอมทางสังคม ประกอบดวยแนวทางการพัฒนาสภาพแวดลอมของคน เชน ครอบครัว ชุมชน ศิลปวัฒนธรรม การสรางความเขมแข็งของครอบครัวและชุมชน ระบบความมั่นคงทางสังคม ใหสงเสริมและสนับสนุนการพัฒนาคน ครอบครัว และชุมชน

3. การเสริมศักยภาพการพัฒนาของภูมิภาคและชนบทเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต ของประชาชนอยางท่ัวถึง ประกอบดวยแนวทางการกระจายโอกาสและความเจริญดวยการพัฒนา พื้นท่ีในภูมิภาค การพัฒนาการมีสวนรวมในการพัฒนาและการกระจายการพัฒนาดวยการ เพิ่มศักยภาพขององคกรชุมชน การสนับสนุนกระบวนการเรียนรูและขยายเครือขายการเรียนรู ของชุมชน การเสริมสรางโอกาสการพัฒนาเพื่อสรางอาชีพและการมีงานทํ าดวยการสงเสริม บทบาทของภาคธุรกิจเอกชนและองคกรพัฒนาเอกชน การกระจายกิจกรรมทางเศรษฐกิจ และบริการทางสังคม การแกไขปญหาและรักษาสภาพแวดลอมเมือง การบริหารจัดการงานพัฒนา ในลักษณะพหุภาคี ท้ังในงานพัฒนาทั่วไปและในระดับพื้นท่ี

4. การพัฒนาสมรรถนะทางเศรษฐกิจเพื่อสนับสนุนการพัฒนาคนและคุณภาพชีวิต ประกอบดวยแนวทางเสริมสรางระบบเศรษฐกิจใหเขมแข็งและเจริญเติบโตอยางมีเสถียรภาพ การปรับโครงสรางการผลิตใหเขมแข็งเพื่อใหพรอมรับการเปลี่ยนแปลงของตลาดโลก และยกระดับ

Page 15: บทที่11 แผนพัฒนาเศรษฐก ิจและส ังคมแห งชาต ิกับการพ ัฒนาชนบทagecon-extens.agri.cmu.ac.th/Course_online/Course/352721/11.pdf ·

187

คุณภาพชีวิตของคนไทย การพัฒนาวิทยาศาสตรเทคโนโลยีเพื่อเปนฐานการพัฒนาที่ย่ังยืน ตลอดจนการพัฒนาพื้นท่ีชุมชน และยกระดับคุณภาพชีวิต

5. การจัดทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม ประกอบดวยแนวทางการบริหารจัดการ เพื่ออนุรักษฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติใหมีความสมบูรณ เกิดความสมดุลตอระบบนิเวศวิทยา รวมท้ังการดูแลรักษาสภาวะแวดลอม เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชนและเปนฐาน การพัฒนาประเทศในระยะยาว การจัดระบบการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ใหเกิดประโยชนและควบคุมดูแลอยางมีประสิทธิภาพ มีการจัดสรรอยางเปนธรรม เปนประโยชนตอสังคมและชุมชนอยางแทจริง รวมท้ังการบริหารจัดการเพื่อปองกันและบรรเทาภัยอันเกิดจากธรรมชาติ

6. การพัฒนาประชารัฐ การพัฒนาใหภาครัฐมีสมรรถนะและพันธกิจหลักในการ เส ริมสร างศักยภาพและสมรรถนะของคน ทํ าใหคนเปนพันธมิตรกับเจ าหนาท่ีของรัฐ และมีส วนรวมในการพัฒนาประเทศ ซึ่งประกอบดวยแนวทางการพัฒนาเพื่อเสริมสราง หลักนิติธรรมในการบริหารรัฐกิจ การจัดการแกไขความขัดแยงในสังคมดวยสันติวิธี สนับสนุน ใหประชาชนทุกภาคสวนของสังคมมีส วนรวมในกิจกรรมสาธารณะของภาครัฐ เพิ่มพูน ประสิทธิภาพภาครัฐดวยการปรับปรุงประสิทธิภาพของระบบราชการ ตลอดจนการสราง ความตอเน่ืองในงานบริหารรัฐกิจ โดยการสรางความรูความเขาใจดานนโยบายสาธารณะ และการกํ าหนดระเบียบวาระแหงชาติ

7. การบริหารจัดการเพื่อใหมีการนํ าแผนพัฒนาฯ ไปดํ าเนินการใหเกิดผลในทางปฏิบัติประกอบดวยแนวทางการเปลี่ยนแปลงแผนสู การปฏิบัติดวยระบบการจัดการในระดับพื้นท่ี ตามภารกิจของหนวยราชการและการมีสวนรวมจากทุกฝายในสังคม การพัฒนากลไกของรัฐ ในการปฏิบัติงาน การปรับบทบาทการมีสวนรวมของภาคีเพื่อการพัฒนา การเพิ่มประสิทธิภาพของหนวยงานกลางในการแปลงแผนไปสู การปฏิบัติ การพัฒนาสมรรถนะกลไกนอกภาครัฐ และการติดตามและประเมินผล โดยมีการจัดทํ าดัชนีชี้วัดผลของการพัฒนาแบบองครวม

Page 16: บทที่11 แผนพัฒนาเศรษฐก ิจและส ังคมแห งชาต ิกับการพ ัฒนาชนบทagecon-extens.agri.cmu.ac.th/Course_online/Course/352721/11.pdf ·

188

ลักษณะและการใชแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 8แผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 8 เปนแผนชี้ทิศทางการพัฒนาประเทศท้ังในทศวรรษหนาและในชวง

พ.ศ. 2540 � 2544 แผนจะมีลักษณะเปนแผนกลยุทธ ซึ่งกํ าหนดขึ้นตามกระบวนการและวิธีการวางแผนใหม ปรับเปลี่ยนจากการชี้ทิศทางการพัฒนาแบบแยกสวนหรือสาขาเศรษฐกิจและสังคมมาเปนแบบองครวม คือการพัฒนาแบบรวมสวนในลักษณะของการบูรณาการ มีความสัมพันธเชื่อมโยงซึ่งกันและกันอยางเปนระบบ อันจะทํ าใหการพัฒนามีความย่ังยืนและคนไทยทั้งหมด ไดรับประโยชนจากการพัฒนามากกวาท่ีผานมา

ยุทธศาสตรและแนวทางการพัฒนาซึ่งกํ าหนดไวในแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 8 จะเปน ยุทธศาสตรท่ีชี้ทิศทางการพัฒนาตามวัตถุประสงคหลักของการพัฒนาประเทศในระยะยาว โดยไมรวมรายละเอียดของแนวทางการพัฒนาตามสาขาเศรษฐกิจและสังคม และมาตรการ ระยะสั้น ซึ่งหนวยงานปฏิบัติตองมีการดํ าเนินการตามปกติอยูแลว ดังน้ันผูเก่ียวของจะตองนํ า ยุทธศาสตรและแนวทางท้ังหมดไปกํ าหนดแผนงาน โครงการและมาตรการ เพื่อใหมี การดํ าเนินการใหเกิดผลในทางปฏิบัติ โดยใชยุทธศาสตรการพัฒนาเปนกรอบในการจัดทํ า โครงการพัฒนาของภาครัฐและโครงการพัฒนาตามแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 8 จะตองมีเปาหมาย ท่ีจะทํ าใหเกิดผลตอประชาชนมิใชองคกรของรัฐ หรือเปนโครงการท่ีประชาชนตัดสินใจ หรือมีสวนรวมในการตัดสินใจและขอรับการสนับสนุนจากภาครัฐ

การจัดทํ าแผนงานและโครงการพัฒนาตามยุทธศาสตรน้ัน ควรจะตองดํ าเนินการ แบบองครวม คือ หนวยงานท่ีเก่ียวของทุกองคกรจะตองรวมกันคิด รวมกันทํ า มีการประสาน การวิเคราะห โดยยึดหลักพื้นท่ีและบริการ รวมท้ังการมีสวนรวมของผูรับผิดชอบเปนกรอบ ในการจัดแผนงานและโครงการ แผนเงินและแผนคน โดยใชยุทธศาสตรและแนวทางของแผน ควบคูไปกับพื้นท่ี เปนเครื่องมือในการขอรับสนับสนุนดานงบประมาณ และมีการติดตาม ประเมินผลประจํ าป

การติดตามประเมินผลความสํ าเร็จหรือความลมเหลวของการดํ าเนินการตามยุทธศาสตรของแผนพัฒนาฯ น้ัน จะตองมีการสรางดัชนีชี้วัดการพัฒนาแบบองครวมและการมีสวนรวม ของประชาชน ใน 5 ระดับ คือ

1. วัดผลการพัฒนาในขั้นสุดทายโดยรวม โดยการเก็บขอมูลในระดับพื้นท่ีควบคูไปกับการสํ ารวจความคิดเห็นของประชาชนท่ีมีตอแผนงานและโครงการพัฒนาเปนระยะๆ

Page 17: บทที่11 แผนพัฒนาเศรษฐก ิจและส ังคมแห งชาต ิกับการพ ัฒนาชนบทagecon-extens.agri.cmu.ac.th/Course_online/Course/352721/11.pdf ·

189

2. วัดผลการพัฒนาตามยุทธศาสตรของแผนพัฒนาฯ โดยผูรับผิดชอบท้ังหมดท่ีมีสวนรวมในการดํ าเนินงาน และผูไดรับผลกระทบเปนผูกํ าหนดตัวชี้วัดรวมกันเพื่อประเมินความสํ าเร็จ หรือความลมเหลวของยุทธศาสตรการพัฒนา

1. วัดประสิทธิผลของภาคการผลิตของแตละสาขา4. วัดประสิทธิผล ประสิทธิภาพและศักยภาพขององคกรหรือกลุมองคกรภาครัฐและ

นอกภาครัฐ5. วัดประสิทธิผลในภาพรวมของการพัฒนาทั้งดานสังคม เศรษฐกิจ ทรัพยากรและอ่ืนๆ

โดยใชดัชนีพื้นฐาน เพื่อติดตามปรับปรุงยุทธศาสตรและแผนงานโครงการอยางตอเน่ือง (สํ านักคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ สํ านักนายกรัฐมนตรี, 2539)

ผู เรียบเรียงขอสรุปแนวทาง จุดเดน และการปฏิบัติงานตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติฉบับท่ี 1 � ฉบับท่ี 8 ใน ภาคผนวก ฉ.

จากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติกับการพัฒนาชนบทที่ผานมาน้ัน ผูเรียบเรียง มีความเห็นวา แผนพัฒนาทุกฉบับไดพยายามมุงเนนแกไขปญหาตางๆ ท่ีเผชิญอยูเฉพาะหนา และยังไดวางแนวใหยืดหยุนเพื่อใชรองรับสภาพปญหา ตลอดจนเหตุการณตางๆ ท่ีไมสามารถ คาดเดาไดในอนาคตไดอีกดวย

อยางไรก็ตาม จากการปฏิบัติงานตามแผนฯ ท่ีผานมา ไดพยายามแกไขปญหาที่สํ าคัญ ในชนบท ซึ่งไดแก ปญหาความไมรู ปญหาความขาดแคลนและปญหาโรคภัยไขเจ็บ หรือท่ีเรียกวา โง � จน � เจ็บ อยางตอเน่ืองอีกดวย

Page 18: บทที่11 แผนพัฒนาเศรษฐก ิจและส ังคมแห งชาต ิกับการพ ัฒนาชนบทagecon-extens.agri.cmu.ac.th/Course_online/Course/352721/11.pdf ·

190

3. โรคภัยไขเจ็บ- สุขภาพไมดี- ปวยเร้ือรัง- ขาดความรูดาน สาธารณสุขมูลฐาน- ขาดความรู การปองกันรักษาโรค

นอกจากน้ียังมีปญหาตางๆ ท่ีสํ าคัญๆ และรอการแกไขอยางเรงดวน คือ ปญหา การวางงาน ปญหาดานบริหารของรัฐ และปญหาการใชทรัพยากรธรรมชาติอยางรอบรู

1. ความไมรู- ไมรูหนังสือ- ขาดการศึกษาตอเน่ือง- ความรูพ้ืนฐานตางๆ- ขาดทักษะอาชีพ- ขาดแหลงขอมูล

2. ความขาดแคลน- ไมมีท่ีทํ ากิน- ขาดแหลงน้ํ า- ขาดปจจัยการผลิต- ขาดส่ิงอํ านวย ความสะดวก

Page 19: บทที่11 แผนพัฒนาเศรษฐก ิจและส ังคมแห งชาต ิกับการพ ัฒนาชนบทagecon-extens.agri.cmu.ac.th/Course_online/Course/352721/11.pdf ·

191

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 9 พ.ศ. 2545 � 2549

ลักษณะของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 91. เปนแผนท่ีมียุทธศาสตรการพัฒนาในระยะยาว 20 � 30 ป มีการจัดลํ าดับความสํ าคัญ

ของการพัฒนา มีความยืดหยุน สามารถปรับเปลี่ยนไดตามสถานการณ มีดัชนีชี้วัดท่ีสามารถ ติดตามประเมินผลไดอยางตอเน่ือง

2. เปนแผนท่ีมีความตอเน่ืองกันกับแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 8 โดยใหความสํ าคัญ กับกระบวนการมีสวนรวมของประชาชนในทุกระดับ

3. เปนแผนท่ีสามารถสรางความเชื่อมโยงกับการจัดทํ าแผนระดับสาขาและแผนระดับ พื้นท่ี ใหมีความสอดคลองตองกัน สนับสนุนการแปลงแผนไปสูการปฏิบัติ รวมท้ังมีการปรับระบบการจัดสรรงบประมาณใหสอดคลองกับแผนปฏิบัติการของหนวยงานปฏิบัติ (สภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ, 2545)

ปรัชญาและแนวคิดหลัก1. คนเปนจุดศูนยกลางการพัฒนา โดยยึดหลักใหคนไดรับประโยชนจากการพัฒนา

อยางแทจริง2. ยึดหลักปรัชญา �เศรษฐกิจพอเพียง� อันเปนแนวทางในการดํ าเนินชีวิตไทย

เปนพื้นฐานการพัฒนา 3. มุงหมายใหสังคมไทยพัฒนาไปสูสังคมท่ีเขมแข็งและมีดุลยภาพในอนาคต ดังน้ี

3.1 สังคมคุณภาพ3.2 สังคมแหงภูมิปญญาและการเรียนรู3.3 สังคมท่ีเอ้ืออาทรตอกันและอยูดีมีสุข

ทิศทางการพัฒนาท่ีสํ าคัญ1. การพัฒนาคุณภาพคน คุณภาพชีวิต และคุณคาวัฒนธรรมไทย2. การเสริมสรางเครือขายชุมชนเขมแข็ง3. การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม4. การพัฒนาสมรรถนะทางเศรษฐกิจและความสามารถในการแขงขัน5. การปรับระบบการบริหารจัดการประเทศ

Page 20: บทที่11 แผนพัฒนาเศรษฐก ิจและส ังคมแห งชาต ิกับการพ ัฒนาชนบทagecon-extens.agri.cmu.ac.th/Course_online/Course/352721/11.pdf ·

192

สรุปสาระสํ าคัญแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 9แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 9 (พ.ศ. 2545 � 2549) เปนแผนท่ีได

อัญเชิญแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง* ตามพระราชดํ ารัสของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯมาเปนปรัชญานํ าทางในการพัฒนาประเทศใหเปนไปในทางสายกลาง อันจะทํ าใหประเทศรอดพนจากวิกฤต สามารถดํ ารงอยูไดอยางมั่นคงและนํ าไปสูการพัฒนาที่สมดุลย การพัฒนาที่มีคุณภาพและการพัฒนาที่ย่ังยืน ภายใตกระแสโลกาภิวัฒนและสถานการณท่ีเปลี่ยนแปลงตางๆ ดังน้ี

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง เปนปรัชญาชี้ถึงแนวทางการดํ ารงอยูและปฏิบัติตนของประชาชน

ในทุกระดับ ต้ังแตระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ท้ังในการพัฒนาและบริหารประเทศใหดํ าเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อใหกาวทันโลกยุคโลกาภิวัฒน ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจํ าเปนท่ีจะตองมีระบบภูมิคุมกันในตัวท่ีดีพอ สมควรตอการมีผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงท้ังภายนอก และภายใน ท้ังน้ี จะตองอาศัยความรอบรู ความรอบคอบ และความระมัดระวังอยางย่ิงในการ นํ าวิชาการตางๆ มาใชในการวางแผนและการดํ าเนินการทุกข้ันตอน และขณะเดียวกัน จะตองเสริมสรางพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจาหนาท่ีของรัฐ นักทฤษฎีและนักธุรกิจ ในทุกระดับ ใหมีสํ านึกในคุณธรรม ความซื่อสัตยสุจริตและใหมีความรอบรูท่ีเหมาะสม ดํ าเนินชีวิตดวยความอดทน ความเพียร มีสติปญญาและความรอบคอบ เพื่อใหสมดุลและพรอมตอการรองรับการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วและกวางขวางท้ังดานวัตถุ สังคม สิ่งแวดลอม และวัฒนธรรม จากโลกภายนอกไดเปนอยางดี

* สํ านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ได เชิญผู ทรงคุณวุฒิ ในทางเศรษฐกิจและสาขาอื่นมารวมกันประมวลและกล่ันกรองจากพระราชดํ ารัสของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ เร่ืองเศรษฐกิจพอเพียง และขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตนํ าไปเผยแพร ซ่ึงทรงพระกรุณาปรับปรุงแกไขพระราชทาน และทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ พระราชทาน พระบรมราชานุญาตตามที่ขอพระมหากรุณา

Page 21: บทที่11 แผนพัฒนาเศรษฐก ิจและส ังคมแห งชาต ิกับการพ ัฒนาชนบทagecon-extens.agri.cmu.ac.th/Course_online/Course/352721/11.pdf ·

193

เอกสารอางอิง

สภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ. 2545. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับท่ี 8 � 9. กรุงเทพฯ: โรงพิมพชุมนุมสหกรณแหงประเทศไทย.

สํ านักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ, สํ านักนายกรัฐมนตรี. 2535.แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 1 � 7. กรุงเทพฯ: หางหุนสวนจํ ากัดโรงพิมพยูไนเต็ดโปรดักชั่น.