นโยบายยุทธศาสตร์ “the belt and the road” จีน...

3
ลายปีมาน้ โลกาภิวัตน์ทางเศรษฐกิจและกระบวนการ เป็นหนึ่งเดียวกันของโลกและของภูมิภาคได้เชื่อมโยง พัฒนาอย่างรวดเร็ว โดยมีความร่วมมือทั้งทวิภาคีและพหุภาคี ในการพัฒนาในระดับภูมิภาคเป็นกลไกในการส่งเสริม ความร่วมมือระหว่างกัน ภายหลังนายสี จิ้นผิง ก้าวขึ้นรับ ต�าแหน่งประธานาธิบดีของประเทศจีน ได้มีนโยบายการด�าเนิน ยุทธศาสตร์ที่ส�าคัญด้านต่างประเทศและด้านเศรษฐกิจ คือ การรื้อฟื ้นเส้นทางสายไหม (Silk Road) และพัฒนายุทธศาสตร์ “หนึ่งแถบหนึ่งเส้นทาง The Belt and the Road” หรือ เส้นทางเศรษฐกิจสายใหม่หรือเส้นทางสายไหม ในศตวรรษ ที่ 21 แบ่งเป็นสองเส้นทาง เส้นทางแรก คือ เส้นทางบก ซึ่งเป็น เส้นทางสายไหมเดิมที่เริ่มตั้งแต่เมืองซีอานจนไปถึงเปอร์เซีย สิ้นสุดที่ยุโรป ส่วนเส้นทางที่สอง คือ เส้นทางทะเลหรือเส้นทาง สายไหมทางทะเล (Maritime Silk Road) เริ่มจากประเทศจีน ผ่านมาทางเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ช่องแคบมะละกา และ ไปแอฟริกา ในระหว่างการเดินทางเยือนประเทศอาเซียนช่วง ปลายปี พ.ศ. 2556 นายสี จิ้นผิง ได้กล่าวว่า “เอเชียตะวันออก เฉียงใต้คือหนึ่งในเขตส�าคัญของเส้นทางสายไหมทางทะเล จีนพร้อมที่จะเพิ่มความร่วมมือทางทะเลกับอาเซียน” นโยบาย ดังกล่าวนี้ มีความเชื่อมโยงกันกับยุทธศาสตร์การพัฒนา โครงสร้างพื้นฐานของประเทศอาเซียนและการสร ้าง ประชาคมอาเซียนที่มีความสัมพันธ์ส่งเสริมซึ่งกันและกัน โดยรัฐบาลให้การสนับสนุนกับปริมณฑลต่าง ๆ ของจีน โดยเฉพาะมณฑลตามแนวชายแดนที่เชื่อมต่อกับประเทศ ในอาเซียน ท�าให้ประเทศอาเซียนร่วมแบ่งปันโอกาสทางการค้า ที่เป็นตลาดใหญ่ของประเทศจีน ซึ่งหน่วยงานทุกภาคส่วน ของจีนร่วมกันประกาศวิสัยทัศน์และปฏิบัติการในการฟื ้นฟู เส้นทางสายไหมใหม่ตามนโยบายรัฐบาลกลาง ซึ่งอยู ่ภายใต้ กรอบความร่วมมือ 2+7 โดยสองประเด็นหลัก ประกอบด้วย หลักการเป็นเพื่อนบ้านที่ดี และความร่วมมือทางเศรษฐกิจ บนพื้นฐานผลประโยชน์ระหว่างกัน ส่วนอีก 7 ประเด็น ประกอบด้วย 1. การลงนามหนังสือสนธิสัญญาต่าง ๆ เพื่อแสดง ความเป็นเพื่อนบ้านที่ดีของอาเซียน 2. เร่งรัดให้การเจรจาต่าง ๆ บรรลุผลส�าเร็จมากขึ้น เช่น ข้อตกลงการค้าเสรีอาเซียน - จีน ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ อนุภูมิภาคแม่น�้าโขง (GMS) การค้าเสรีอาเซป (RCEP) เป็นต้น 3. การเร่งพัฒนาสาธารณูปโภคร่วมกัน 4. การเสริมความแข็งแกร่งด้านการเงินภูมิภาคและ ความร่วมมือป้องกันความเสี่ยง 5. ความร่วมมือทางทะเลอย่างใกล้ชิด 6. กระชับความร่วมมือด้านความมั่นคง 7. เพิ่มพูนและส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างประชาชน ต่อประชาชน ทั้งด้านวัฒนธรรม วิทยาศาสตร์ และความร่วมมือ ในการป้องกันภัยธรรมชาติ ดังนั้น ความพยายามในการสร้างเส้นทางสายไหม ทางทะเลแห่งศตวรรษที่ 21 จึงเป็นยุทธศาสตร์ส�าคัญ ในการเอื้อประโยชน์ระหว่างจีนกับประเทศเพื่อนบ้าน โดยความร่วมมือดังกล่าวได้สร้างโอกาสการพัฒนาหลายด้าน ให้กับอาเซียน ดังนี- การผลักดันเชื่อมต ่อระบบโครงสร้างพื้นฐาน เนื่องจากโครงสร้างพื้นฐานที่ยังไม ่สมบูรณ์ของอาเซียน ถือเป็นอุปสรรคในการพัฒนาเศรษฐกิจ เช่น การขนส่งสินค้า จากอินโดนีเซียมายังกรุงจาการ์ตา มีต้นทุนสูงกว่าการขนส่ง นโยบายยุทธศาสตร์ “The Belt and the Road” จีนสู่อาเซียน ความเคลื่อนไหวภาพรวมอาเซียนในด้านต่าง ๆ รอบรู้อาเซียนกับ ส�านักภาษาต่างประเทศ

Upload: others

Post on 19-Jan-2020

4 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: นโยบายยุทธศาสตร์ “The Belt and the Road” จีน ...web.senate.go.th/w3c/senate/pictures/content/file... · 2015-08-03 · ถนนและขยายเส้นทางหลวงใหม่

ลายปีมาน้ี โลกาภวิตัน์ทางเศรษฐกจิและกระบวนการ เป็นหนึ่งเดียวกันของโลกและของภูมิภาคได้เชื่อมโยง พัฒนาอย่างรวดเรว็ โดยมคีวามร่วมมอืทัง้ทวภิาคีและพหภุาค ีในการพัฒนาในระดับภูมิภาคเป็นกลไกในการส่งเสริม ความร่วมมือระหว่างกัน ภายหลังนายสี จิ้นผิง ก้าวข้ึนรับ ต�าแหน่งประธานาธบิดขีองประเทศจนี ได้มนีโยบายการด�าเนนิ ยุทธศาสตร์ที่ส�าคัญด้านต่างประเทศและด้านเศรษฐกิจ คือ การรือ้ฟ้ืนเส้นทางสายไหม (Silk Road) และพฒันายทุธศาสตร์ “หนึ่งแถบหนึ่งเส้นทาง The Belt and the Road” หรือ เส้นทางเศรษฐกจิสายใหม่หรอืเส้นทางสายไหม ในศตวรรษท่ี 21 แบ่งเป็นสองเส้นทาง เส้นทางแรก คือ เส้นทางบก ซึง่เป็น เส้นทางสายไหมเดิมทีเ่ริม่ตัง้แต่เมอืงซอีานจนไปถงึเปอร์เซยี สิน้สดุทีย่โุรป ส่วนเส้นทางทีส่อง คอื เส้นทางทะเลหรอืเส้นทาง สายไหมทางทะเล (Maritime Silk Road) เริม่จากประเทศจีน ผ่านมาทางเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ช่องแคบมะละกา และ ไปแอฟรกิา ในระหว่างการเดินทางเยือนประเทศอาเซยีนช่วง ปลายปี พ.ศ. 2556 นายส ีจิน้ผงิ ได้กล่าวว่า “เอเชยีตะวนัออก เฉียงใต้คือหนึ่งในเขตส�าคัญของเส้นทางสายไหมทางทะเล จนีพร้อมทีจ่ะเพิม่ความร่วมมอืทางทะเลกบัอาเซยีน” นโยบาย ดังกล่าวนี้ มีความเชื่อมโยงกันกับยุทธศาสตร์การพัฒนา โครงสร้างพื้นฐานของประเทศอาเซียนและการสร้างประชาคมอาเซียนที่มีความสัมพันธ์ส่งเสริมซึ่งกันและกัน โดยรัฐบาลให้การสนับสนุนกับปริมณฑลต่าง ๆ ของจีน โดยเฉพาะมณฑลตามแนวชายแดนที่เชื่อมต่อกับประเทศ ในอาเซยีน ท�าให้ประเทศอาเซยีนร่วมแบ่งปันโอกาสทางการค้า ที่เป็นตลาดใหญ่ของประเทศจีน ซึ่งหน่วยงานทุกภาคส่วน ของจนีร่วมกนัประกาศวสิยัทศัน์และปฏบิตักิารในการฟ้ืนฟู เส้นทางสายไหมใหม่ตามนโยบายรฐับาลกลาง ซึง่อยูภ่ายใต้ กรอบความร่วมมือ 2+7 โดยสองประเดน็หลกั ประกอบด้วย หลกัการเป็นเพ่ือนบ้านทีดี่ และความร่วมมอืทางเศรษฐกจิ บนพื้นฐานผลประโยชน์ระหว่างกัน ส่วนอีก 7 ประเด็น ประกอบด้วย

1. การลงนามหนังสือสนธิสัญญาต่าง ๆ เพื่อแสดงความเป็นเพื่อนบ้านที่ดีของอาเซียน 2. เร่งรดัให้การเจรจาต่าง ๆ บรรลผุลส�าเรจ็มากขึน้ เช่น ข้อตกลงการค้าเสรีอาเซียน - จีน ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ อนภุมูภิาคแม่น�า้โขง (GMS) การค้าเสรอีาเซป (RCEP) เป็นต้น 3. การเร่งพัฒนาสาธารณูปโภคร่วมกัน 4. การเสริมความแข็งแกร่งด้านการเงินภูมิภาคและความร่วมมือป้องกันความเสี่ยง 5. ความร่วมมือทางทะเลอย่างใกล้ชิด 6. กระชับความร่วมมือด้านความมั่นคง 7. เพ่ิมพนูและส่งเสริมความสมัพนัธ์ระหว่างประชาชน ต่อประชาชน ทัง้ด้านวฒันธรรม วทิยาศาสตร์ และความร่วมมอื ในการป้องกันภัยธรรมชาติ ดังน้ัน ความพยายามในการสร้างเส้นทางสายไหม ทางทะเลแห่งศตวรรษที่ 21 จึงเป็นยุทธศาสตร์ส�าคัญ ในการเอื้อประโยชน์ระหว่างจีนกับประเทศเพื่อนบ้าน โดยความร่วมมือดงักล่าวได้สร้างโอกาสการพัฒนาหลายด้าน ให้กับอาเซียน ดังนี้ - การผลักดันเชื่อมต่อระบบโครงสร้างพื้นฐาน เนื่องจากโครงสร้างพื้นฐานท่ียังไม่สมบูรณ์ของอาเซียน ถอืเป็นอปุสรรคในการพฒันาเศรษฐกจิ เช่น การขนส่งสนิค้า จากอินโดนเีซยีมายงักรุงจาการ์ตา มต้ีนทุนสงูกว่าการขนส่ง

นโยบายยุทธศาสตร์ “The Belt and the Road”

จีนสู่อาเซียน

ความเคลื่อนไหวภาพรวมอาเซียนในด้านต่าง ๆรอบรู้อาเซียนกับส�านักภาษาต่างประเทศ

Page 2: นโยบายยุทธศาสตร์ “The Belt and the Road” จีน ...web.senate.go.th/w3c/senate/pictures/content/file... · 2015-08-03 · ถนนและขยายเส้นทางหลวงใหม่

ความเคลื่อนไหวภาพรวมอาเซียนในด้านต่าง ๆรอบรู้อาเซียนกับส�านักภาษาต่างประเทศ

สนิค้าจากเซีย่งไฮ้ไปจาการ์ตา ขาดการเชือ่มโยงกนัทางอากาศ เนือ่งจากจนีมีเทีย่วบนิตรงจากจีนเข้าสูล่าว พม่า และกมัพูชา จ�านวนจ�ากัด ซ่ึงจีนหวังว่าจะสามารถช่วยเหลือโดยใช ้เทคโนโลยแีละประสบการณ์ของจีนในการพัฒนาโครงสร้าง พื้นฐานของประเทศอาเซียนเหล่านี้ได้

- การกระชับสมัพนัธ์จีนอาเซยีนด้านการค้า - การลงทนุ เขตการค้าจีน-อาเซียน ถือเป็นเขตการค้าเสรีท่ีใหญ่ที่สุด ในโลก โดยจีนมีเป้าหมายจะมีมูลค่าการค้าระหว่างกันราว หนึ่งล้านล้านเหรียญสหรัฐและมีการลงทุนระหว่างกัน หนึ่งแสนล้านเหรียญสหรัฐ ซึ่งในทางปฏิบัติจริงยังต้องม ีความร่วมมือกันอีกหลายด้านเพื่อไปให้ถึงเป้าหมาย เช่น ความร่วมมอืกับไทย หรอืการร่วมลงทนุในโครงการขนาดใหญ่ กบัอาเซียน เพือ่กระตุน้การค้าการลงทนุระหว่างจนีและอาเซยีน

- ความร่วมมอืด้านทุนทรพัย์ จีนได้ต้ังงบลงทุนเส้นทาง สายไหมทั้งทางบกและทางทะเลรวมกันกว่าส่ีหมื่นล้าน เหรียญสหรัฐ เพราะเป็นโครงการเชื่อมโยงแต่ละภูมิภาค เข้าหากัน โดยได้จัดตั้งกองทุน China - ASEAN Maritime Cooperation Fund วงเงินสามพันล้านหยวน เพ่ือสร้าง ความร่วมมือทางทะเลระหว่างจีนกับเพ่ือนอาเซียน เช่น

การวิจัยทางทะเลและปกป้องสิ่งแวดล้อม การเดินเรือเพ่ือ ความปลอดภัย การเชื่อมโยงเส้นทางเดินเรือ การค้นหาและ การให้ความช่วยเหลือ ตลอดจนการต่อสู้กับภัยคุกคาม ข้ามชาต ิเป็นต้น ซึง่คาดว่าทกุโครงการจะก่อให้เกิดการจ้าง คนงานมากกว่าเจ็ดแสนคน ซ่ึงเงินทุนดังกล่าวเพื่อใช้ในการ พฒันาอาเซียนโดยตรง

รัฐบาลจีนให้ความส�าคัญอย่างยิ่งในการกระชับ ความสัมพันธ์กับอาเซียนในด้านต่าง ๆ และ การใช้โครงการ เส้นทางสายไหมเป็น Soft Power ในการเชือ่มโยงความสมัพนัธ์ กบัประเทศเพือ่นบ้าน และช่วยเสรมิสร้างภาพลกัษณ์ด้านบวก ของจนี จนีแม้เป็นประเทศใหญ่แต่ไม่เคยเอาเปรยีบหรอืเป็น ภัยคุกคามต่อประเทศอ่ืนใด อีกท้ังยังช่วยเหลือสนับสนุน ทัง้ด้านเศรษฐกจิ การค้าการลงทนุ ตลอดจนการแลกเปลีย่น ความร่วมมือในด้านสังคมและวัฒนธรรม ทั้งภาครัฐบาล และภาคประชาชน ซึ่งจะน�าไปสู่การพัฒนาความร่วมมือ อีกหลายมิติ ซึ่งถือเป็นความท้าทายและการปรับตัวของ อาเซยีนในการพฒันาโครงสร้างพืน้ฐานไปพร้อมกนัเพือ่ให้มี ศักยภาพและเพื่อรองรับจุดเช่ือมต่อกันได้ท้ังระบบ ซ่ึงจะ เพิ่มประสิทธิภาพในการคมนาคมให้กับอาเซียน ในส่วน ประเทศไทยได ้มีบทบาทส�าคัญและถือเป ็นศูนย ์กลาง ในอาเซียน ซึ่งมีข้อได้เปรียบมากกว่าประเทศอื่นในอาเซียน เนื่องจากประเทศไทยเป็นประตูที่เช่ือมต่อจากจีนไปสู ่ตลาดใหญ่ในอาเซียนโดยมีประชากรกว่าหกร้อยล้านคน

ประเทศไทยมีการเตรียมความพร้อมโดยมีโครงการ เร่งรัดพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อรองรับนโยบายดังกล่าว อาท ิการพฒันาทางบก ทัง้ระบบรางเครอืข่ายรถไฟ การปรับปรุง ถนนและขยายเส้นทางหลวงใหม่ การขยายท่าเรือ การเพิ่ม เที่ยวบินเพื่อเชื่อมต่อไปยังนานาชาติ เพื่อยกฐานะของตน เป็นศูนย์กลางการคมนาคมของภูมิภาค ถึงแม้ว่าโครงการ เส้นทางสายไหมใหม่อาเซียน จะเป็นเพียงเส้นทางหนึ่งใน

Page 3: นโยบายยุทธศาสตร์ “The Belt and the Road” จีน ...web.senate.go.th/w3c/senate/pictures/content/file... · 2015-08-03 · ถนนและขยายเส้นทางหลวงใหม่

อาเซยีนต่างเห็นความส�าคญัและผลประโยชน์ในการร่วมมอื กับจีนเพื่อพัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐาน ซึ่งเป็นปัจจัยที ่ส�าคัญในการส่งเสริมด ้านพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ให้กับอาเซียนอย่างยั่งยืน

ค�ำศัพท์น่ำรู้

แผนโครงการใหญ่ของจีนที่จะเชื่อมโยงจีนออกไปสู ่ประเทศอืน่ทัว่โลก การเปิดเส้นทางในแถบอาเซยีนท้ังทางบก หรือทางทะเล ยังมีหนทางอันคดเค้ียวและมีอุปสรรคมาก แต่อาเซียน คือ ประตูน�าพาจีนออกไปสู่ความส�าเร็จและ บรรลุเป้าหมายตามที่รัฐบาลจีนคาดหวังไว้ ส่วนประเทศใน

ความเคลื่อนไหวภาพรวมอาเซียนในด้านต่าง ๆรอบรู้อาเซียนกับส�านักภาษาต่างประเทศ

ข้อมูลอ้างอิง - “จีนเอาจริงเศรษฐกิจทางทะเล เส้นทางสายไหมผ่านอาเซียน” [อินเทอร์เน็ต]. http://www.marinerthai.net/forum/index.php?topic=4111.0 [สืบค้นเมื่อวันที่ 1 ก.ค 2558]. - เส้นทางสายไหมทางทะเล (Maritime Silk Road) ในยคุสจีิน้ผงิ กรุงเทพธรุกจิ [อินเทอร์เน็ต]. http://www.bangkokbiznews.com/blog/detail/574835

[สืบค้นเมื่อวันที่ 2 ก.ค. 2558].

1. strategic (adj.) ด้านยุทธศาสตร์ตัวอย่างประโยค : All of this indicates that the “21st Century Maritime Silk Road” is multi-pronged: it is intended to serve diplomatic, economic and strategic purposes.ค�าแปล : ส่ิงเหล่านี้บ่งชี้ว่า “เส้นทางสายไหมทางทะเลแห่งศตวรรษที่ 21” มีประโยชน์ที่หลากหลาย โดยมีเจตนาเพื่อสนองต่อ วัตถุประสงค์ในด้านการทูต เศรษฐกิจ และยุทธศาสตร์

2. Silk Road (n.) เส้นทางสายไหมตัวอย่างประโยค : Silk Road is a network of ancient trade routes between China and Mediterranean (4,000 miles). ค�าแปล : เส้นทางสายไหมเป็นเครอืข่ายเส้นทางการค้าในยุคโบราณระหว่างประเทศจีนและทะเลเมดเิตอร์เรเนยีน (ระยะทาง 4,000 ไมล์)

3. Policy (n.) นโยบายตัวอย่างประโยค : Ever since Xi Jinping announced the creation of a Maritime Silk Road in an October 2013 speech to the Indonesian parliament, China’ s vision for “one belt, one road” running through Southeast and South Asia has driven a significant portion of Chinese foreign policy in its periphery.ค�าแปล : นบัตัง้แต่ประธานาธบิดสีี จ้ินผิง ได้ประกาศการสร้างเส้นทางสายไหมทางทะเลในการกล่าวสนุทรพจน์เมือ่เดอืนตลุาคม 2556 ต่อรัฐสภาอินโดนีเซีย วิสัยทัศน์ของประเทศจีนส�าหรับเรื่อง “หนึ่งแถบและหนึ่งเส้นทาง” ที่ได้ด�าเนินการผ่านเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และเอเชียใต้ท�าให้เกิดการขับเคลื่อนนโยบายด้านต่างประเทศของจีนสู่ภายนอกเป็นอย่างมาก

4. challenge (v.) ท้าทายตัวอย่างประโยค : Modern-day Silk Road effort could challenge US influence in Asia, Africa, Mideast.ค�าแปล : ความพยายามในเรือ่งเส้นทางสายไหมในปัจจบุนัอาจท้าทายอทิธพิลของสหรฐัอเมรกิาในทวปีเอเชยีแอฟรกิาและตะวันออกกลาง

5. snake (v.) คดเคี้ยวตัวอย่างประโยค : Many experts question how China will establish security for these new routes, since many of them snake through potentially dangerous areas such as Africa’s coast (maritime piracy).ค�าแปล : ผู้เชี่ยวชาญหลายคนตั้งค�าถามว่าจีนจะสร้างระบบรักษาความปลอดภัยอย่างไรส�าหรับ เส้นทางใหม่ ๆ เหล่านี้ เนื่องจากหลายเส้นทางคดเคี้ยวผ่านพ้ืนที่ซึ่งมีแนวโน้มที่เป็นอันตราย เช่น ชายฝั่งทะเลของทวีปแอฟริกา (การปล้นสะดมในน่านน�้าทะเล)