รวมสรุปสาระส าคัญ ของ กฎหมาย...

387
รวมสรุปสาระสาคัญ ของ กฎหมายที่ผ่านการพิจารณาของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ประจาปี พ.ศ. ๒๕๕8 จัดทำโดย คณะกรรมกำรวิชำกำรของสภำนิติบัญญัติแห่งชำติ ฝ่ำยเลขำนุกำร สำนักวิชำกำร สำนักงำนเลขำธิกำรวุฒิสภำ ปฏิบัติหน้ำที่สำนักงำนเลขำธิกำรสภำนิติบัญญัติแห่งชำติ

Upload: others

Post on 18-Jan-2020

2 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

  • รวมสรุปสาระส าคัญ ของ

    กฎหมายที่ผ่านการพิจารณาของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ประจ าปี พ.ศ. ๒๕๕8

    จัดท ำโดย คณะกรรมกำรวิชำกำรของสภำนิติบัญญัติแห่งชำติ

    ฝ่ำยเลขำนุกำร ส ำนักวิชำกำร

    ส ำนักงำนเลขำธิกำรวุฒิสภำ ปฏิบัติหน้ำที่ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำนิติบัญญัติแห่งชำติ

  • นายพีระศักดิ์ พอจิตประธานกรรมการวิชาการ

    นายชาญวิทย วสยางกูร ศ. ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศศักดิ์รองประธานกรรมการวิชาการ รองประธานกรรมการวิชาการ

    คนที่หนึ่ง คนที่สอง

    นายตวง อันทะไชย รศ.ทวีศักศ สูทกวาทิน พล.อ.อ. ธงชัย แฉลมเขตรกรรมการ กรรมการ กรรมการ

    นายธานี ออนละเอียด นายพรศักดิ์ เจียรณัย พลเอก สมเจตน บุญถนอมกรรมการ กรรมการ กรรมการ

    ดร.โฆสิต ลอศิริรัตน ดร.ชมพูนุช บัวบังศร ศ. ดร.ปาริชาต สถาปตานนทกรรมการ กรรมการ กรรมการ

    คณะกรรมการวิชาการของสภานิติบัญญัติแหงชาติ

  • รศ. ดร.พีรเดช ทองอําไพ นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล รศ. ดร.สมบัติ นพรักกรรมการ กรรมการ กรรมการ

    ศ. ดร.อัมพร ธํารงลักษณ รศ.วุฒิสาร ตันไชย นางสาววราภรณ  มีเปรมปรีดิ์กรรมการ เลขาธิการสถาบันพระปกเกลา ที่ปรึกษาดานระบบงานนิติบัญญัติ

    กรรมการ กรรมการ

    นายทศพร แยมวงษ นางสาวชลธิชา มีแสง นายณัฐกร อวมบํารุง

    ผูอํานวยการสํานักกฎหมาย ผูอํานวยการสํานักวิชาการ ผูบังคับบัญชากลุมงานติดตาม

    กรรมการ กรรมการและเลขานุการ และประมวลผลงานของวุฒิสภากรรมการและผูชวยเลขานุการ

    นางสาวจุฑาลักษณ จําปาทอง

    กรรมการและผูชวยเลขานุการ

  • คํานํา

    ตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗ กําหนดให สภานิติบัญญัติแหงชาติทําหนาท่ีสภาผูแทนราษฎร วุฒิสภา และรัฐสภา ซึ่งในรอบป พุทธศักราช 2558 สภานิติบัญญัติแหงชาติพิจารณาใหความเห็นชอบในการแกไขเพ่ิมเติมรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 และใหความเห็นชอบพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ และพระราชบัญญัติตางๆ และพระราชกําหนด ซึ่งมีการประกาศในราชกิจจานุเบกษาและมีผลบังคับใชเปนกฎหมายแลว รวมจํานวนท้ังส้ิน 112 ฉบับ

    คณะกรรมการวิชาการของสภานิติบัญญัติแหงชาติ มีอํานาจหนาท่ีใหการสนับสนุนดานวิชาการแกสมาชิกสภานิติบัญญัติแหงชาติเพ่ือใหสมาชิกสภานิติบัญญัติแหงชาติสามารถปฏิบัติหนาที่ตามกระบวนการดานนิติบัญญัติไดอยางมีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล คณะกรรมการฯ จึงดําเนนิการประมวลและรวบรวมกฎหมายทุกฉบับที่ผานความเห็นชอบของสภานิติบัญญัติแหงชาติและลงประกาศในราชกิจจานุเบกษาและมีผลบงัคับใชเปนกฎหมายแลวในรอบป พุทธศักราช 2558 พรอมท้ังจัดทําสรุปสาระสําคัญของพระราชบัญญัติแตละฉบับไวดวย โดยจัดพิมพเปนหนังสือชื่อ “รวมสรุปสาระสําคัญของกฎหมายท่ีผานการพิจารณาของสภานิติบัญญัติแหงชาติ ประจําป พ.ศ. 2558”

    หนังสือฯ มีการจัดทําสารบัญเพ่ืออํานวยความสะดวกในการสืบคนเพ่ือใชงานใน 2 ลักษณะ ดังตอไปนี้

    (1) การเรียงลําดับชื่อพระราชบัญญัติตามตัวอักษรเริ่มตนจาก ก (ไก) ถึง ฮ (นกฮูก) (2) การจัดกลุมพระราชบัญญัติตามเนื้อหาของกฎหมายท่ีสอดคลองกับบทบาทหนาท่ีของ

    คณะกรรมาธิการของสภานิติบัญญัติแหงชาติแตละคณะ ซึ่งมีอยูทั้งหมด 16 คณะ

    การจัดทําสารบัญเพ่ืออํานวยความสะดวกในท้ังสองลักษณะดังกลาว จะชวยใหการสืบคนพระราชบัญญัติเพ่ือใชประโยชนในการศึกษา คนควา และใชเปนขอมูลสนับสนุนงานดานนิติบัญญัติของสภานิติบัญญัติแหงชาติ เปนไปอยางมีประสิทธิภาพ

    คณะกรรมการวิชาการหวังเปนอยางย่ิงวา หนังสือเลมนี้จะเปนประโยชนอยางย่ิงตอสมาชิกสภานิติบัญญัติแหงชาติ คณะกรรมาธิการ และผูมีหนาท่ีเกี่ยวของในวงงานนิติบัญญัติ รวมท้ังประชาชนทั่วไปที่สนใจกิจการของสภาฯ

    คณะกรรมการวิชาการของสภานิตบิัญญตัแิหงชาต ิ

    มีนาคม 2560

    ฝายเลขานุการ สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธกิารวฒุิสภา ปฏิบัตหินาที่สํานักงานเลขาธิการสภานติิบัญญตัิแหงชาต ิ

  • ( ๑ )

    สารบัญ หน้า

    รวมสรุปสาระส าคัญของกฎหมายที่ผ่านการพิจารณาของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ประจ าปี พ.ศ. 2558

    รัฐธรรมนูญแหง่ราชอาณาจกัรไทย (ฉบับชัว่คราว) พุทธศักราช 2557 แก้ไขเพ่ิมเตมิ (ฉบับที ่๑) พุทธศกัราช 2558

    พระราชบัญญัตปิระกอบรัฐธรรมนญูว่าดว้ยการป้องกันและปราบปรามการทุจรติ (ฉบับที ่๓) พ.ศ. 2558

    พระราชบัญญัติและพระราชก าหนดที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ในปี พ.ศ. ๒๕๕๘ (เรยีงตามตัวอักษร)

    1. พระราชบัญญัติกองทนุพัฒนาระบบสถาบนัการเงนิเฉพาะกิจ พ.ศ. 2558 5 2. พระราชบัญญัติกองทนุพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ พ.ศ. ๒๕๕๘ ๘ 3. พระราชบัญญัติกองทนุยุตธิรรม พ.ศ. ๒๕๕๘ 12 4. พระราชบัญญัติกองทนุส ารองเลี้ยงชีพ (ฉบบัที่ 4) พ.ศ. ๒๕๕๘ ๑7 5. พระราชบัญญัติการกีฬาแหง่ประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๘ ๑9 6. พระราชบัญญัติการจดัสรรที่ดิน พ.ศ. ๒๕๕๘ ๒4 7. พระราชบัญญัติการจ านองเรือและบุรมิสิทธิทางทะเล (ฉบับที ่๒) พ.ศ. ๒๕๕๘ ๒6 8. พระราชบัญญัติการชมุนุมสาธารณะ พ.ศ. ๒๕๕๘ ๒7 9. พระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. ๒๕๕๘ 32 10. พระราชบัญญัติการบริหารทุนหมนุเวียน พ.ศ. ๒๕๕๘ 36 11. พระราชบัญญัติการปฏบิัตหิน้าที่ของคณะกรรมการทีแ่ตง่ตั้งตามประกาศและค าสั่ง

    ของคณะรักษาความสงบแหง่ชาตบิางฉบบั พ.ศ. ๒๕๕๘40

    12. พระราชบัญญัติการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ 44 13. พระราชบัญญัติการผังเมือง (ฉบับที ่4) พ.ศ. ๒๕๕๘ 51 14. พระราชบัญญัติการยางแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๘ 53 15. พระราชบัญญัติการรบัขนทางอากาศระหว่างประเทศ พ.ศ. ๒๕๕๘ 58 16. พระราชบัญญัติการส่งออกไปนอกและการน าเข้ามาในราชอาณาจักรซึง่สินค้า

    (ฉบบัที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๘70

    17. พระราชบัญญัติการให้สิทธแิก่ผู้สมัครเป็นสมาชกิของกองทุนการออมแห่งชาติบางกรณีและการโอนเงนิจากกองทุนประกันสงัคมในกรณีชราภาพไปยังกองทุนการออมแห่งชาติพ.ศ. ๒๕๕๘

    72

    18. พระราชบัญญัติการอ านวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการพ.ศ. ๒๕๕๘

    73

    19. พระราชบัญญัติก าลังพลส ารอง พ.ศ. ๒๕๕๘ 77

  • ( ๒ )

    20. พระราชบัญญัตแิก้ไขเพ่ิมเตมิประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบบัที่ 21) พ.ศ. ๒๕๕๘

    84

    21. พระราชบัญญัตแิก้ไขเพ่ิมเตมิประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบบัที่ 22) พ.ศ. ๒๕๕๘

    85

    22. พระราชบัญญัติแก้ไขเพ่ิมเตมิประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๕๘

    86

    23. พระราชบัญญตัิแก้ไขเพ่ิมเตมิประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง (ฉบับที่ 27) พ.ศ. ๒๕๕๘

    94

    24. พระราชบัญญตัิแก้ไขเพ่ิมเตมิประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง (ฉบับที่ 28) พ.ศ. ๒๕๕๘

    96

    25. พระราชบัญญัติแก้ไขเพ่ิมเตมิประมวลกฎหมายวธิีพิจารณาความแพ่ง (ฉบับที ่29) พ.ศ. ๒๕๕๘

    98

    26. พระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง (ฉบับที ่3) พ.ศ. ๒๕๕๘ 100 27. พระราชบัญญัติแก้ไขเพ่ิมเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ฉบับที่ ๓๐)

    พ.ศ. ๒๕๕๘ 101

    28. พระราชบัญญัตแิก้ไขเพ่ิมเตมิประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที ่22) พ.ศ. 2558 103 29. พระราชบัญญัตแิก้ไขเพ่ิมเตมิประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที ่23) พ.ศ. 2558 107 30. พระราชบัญญัตแิก้ไขเพ่ิมเตมิประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที ่24) พ.ศ. 2558 109 31. พระราชบัญญัตแิก้ไขเพ่ิมเตมิประมวลรัษฎากร (ฉบับที ่40) พ.ศ. 2558 111 32. พระราชบัญญัตแิก้ไขเพ่ิมเตมิพระธรรมนูญศาลยุตธิรรม (ฉบบัที่ 5) พ.ศ. 2558 113 33. พระราชบัญญัตแิก้ไขเพ่ิมเตมิพระราชก าหนดนติิบคุคลเฉพาะกิจเพื่อการแปลง

    สินทรัพย์เปน็หลักทรัพย์ พ.ศ. ๒๕๔๐ พ.ศ. 2558 114

    34. พระราชบัญญัติก าหนดวิทยฐานะผู้ส าเร็จวิชาการทหาร (ฉบับที ่6) พ.ศ. 2558 117 35. พระราชบัญญัติคลงัสินค้า ไซโล และห้องเย็น พ.ศ. 2558 119 36. พระราชบัญญัติความเท่าเทยีมระหว่างเพศ พ.ศ. ๒๕๕๘ 125 37. พระราชบัญญัติความลับทางการค้า (ฉบบัที่ 2) พ.ศ. 2558 129 38. พระราชบัญญัติคณุสมบตัิมาตรฐานส าหรบักรรมการและพนักงานรฐัวิสาหกิจ

    (ฉบับที ่7) พ.ศ. 2558 130

    39. พระราชบัญญัติคุม้ครองการด าเนินงานของส านักวิจัยและเศรษฐกิจมหภาค ของภูมิภาคอาเซียน+3 พ.ศ. 2558

    131

    40. พระราชบัญญัติคุม้ครองการด าเนินงานของสมาคมประชาชาตแิหง่เอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558

    132

    41. พระราชบัญญัติคุม้ครองเด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีชว่ยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ พ.ศ. ๒๕๕๘

    133

    42. พระราชบัญญัติเครื่องส าอาง พ.ศ. 2558 137

  • ( ๓ )

    43. พระราชบัญญัติควบคุมคุณภาพอาหารสตัว์ พ.ศ. ๒๕๕๘ 143 44. พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร (ฉบับที ่5) พ.ศ. 2558 150 45. พระราชบัญญัตงิาช้าง พ.ศ. ๒๕๕๘ 153 46. พระราชบัญญัติเงินเดือน เงนิวิทยฐานะ และเงินประจ าต าแหนง่ข้าราชการครูและ

    บุคลากรทางการศึกษา (ฉบบัที่ 3) พ.ศ. 2558 155

    47. พระราชบัญญัตงิบประมาณรายจ่ายประจ าปงีบประมาณ พ.ศ. 2559 157 48. พระราชบัญญัติจดทะเบียนเครื่องจกัร (ฉบบัที่ 3) พ.ศ. 2558 158 49. พระราชบัญญัติจดัตัง้ศาลแขวงและวิธีพิจารณาความอาญาในศาลแขวง

    (ฉบับที ่7) พ.ศ. 2558 161

    50. พระราชบัญญัติจดัตัง้ศาลทรพัย์สินทางปญัญาและการคา้ระหว่างประเทศ และวธิีพิจารณาคดีทรัพย์สินทางปญัญาและการค้าระหวา่งประเทศ (ฉบบัที่ 2) พ.ศ. 2558

    162

    51. พระราชบัญญัติจดัตัง้ศาลภาษีอากรและวิธีพิจารณาคดภีาษีอากร (ฉบบัที่ 2) พ.ศ. 2558

    163

    52. พระราชบัญญัติจดัตัง้ศาลแรงงานและวธิีพิจารณาคดแีรงงาน (ฉบบัที่ ๓) พ.ศ. 2558 164 53. พระราชบัญญัติจดัตัง้ศาลลม้ละลายและวธิีพิจารณาคดลี้มละลาย (ฉบบัที่ 4)

    พ.ศ. 2558 165

    54. พระราชบัญญัติจดัตัง้ศาลอทุธรณ์คดีช านัญพิเศษ พ.ศ. 2558 166 55. พระราชบัญญัติจดัรปูที่ดนิเพ่ือเกษตรกรรม พ.ศ. ๒๕๕๘ 167 56. พระราชบัญญัติเชื้อโรคและพิษจากสัตว ์พ.ศ. ๒๕๕๘ 177 57. พระราชบัญญัตติ ารวจแห่งชาติ (ฉบบัที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๘ 184 58. พระราชบัญญัตธิรรมนญูศาลทหาร (ฉบับที่ ๘) พ.ศ. ๒๕๕๘ 185 59. พระราชบัญญัตธิุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ. ๒๕๕๘ 187 60. พระราชบัญญัตธิุรกิจสถาบนัการเงนิ (ฉบับที ่๒) พ.ศ. ๒๕๕๘ 195 61. พระราชบัญญัตปิระกันชวีิต (ฉบบัที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๘ 196 62. พระราชบัญญัตปิระกันวินาศภัย (ฉบบัที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๘ 198 63. พระราชบัญญัตปิระกันสงัคม (ฉบับที ่๔) พ.ศ. ๒๕๕๘ 200 64. พระราชบัญญัตปิรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม (ฉบบัที่ ๑๒) พ.ศ. ๒๕๕๘ 202 65. พระราชบัญญัตปิรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม (ฉบบัที่ ๑๓) พ.ศ. ๒๕๕๘ 203 66. พระราชบัญญัตปิรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม (ฉบบัที่ ๑๔) พ.ศ. ๒๕๕๘ 204 67. พระราชบัญญัตปิรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม (ฉบบัที่ ๑๕) พ.ศ. ๒๕๕๘ 205 68. พระราชบัญญัตปิ้องกนัและปราบปรามการค้ามนุษย์ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๘ 206 69. พระราชบัญญัตปิ้องกนัและปราบปรามการฟอกเงนิ (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๕๘ 207 70. พระราชบัญญัตปิ้องกนัและปราบปรามการสนับสนุนทางการเงินแกก่ารก่อการร้าย

    (ฉบับที ่๒) พ.ศ. ๒๕๕๘ 210

  • ( ๔ )

    71. พระราชบัญญัติภาษีการรบัมรดก พ.ศ. ๒๕๕๘ 212 72. พระราชบัญญัติมหาวิทยาลยักาฬสินธุ ์พ.ศ. ๒๕๕๘ 218 73. พระราชบัญญัติมหาวิทยาลยัเกษตรศาสตร์ พ.ศ. ๒๕๕๘ 223 74. พระราชบัญญัติมหาวิทยาลยัขอนแก่น พ.ศ. ๒๕๕๘ 227 75. พระราชบัญญัติมหาวิทยาลยัธรรมศาสตร์ พ.ศ. ๒๕๕๘ 231 76. พระราชบัญญัติมหาวิทยาลยัสวนดุสิต พ.ศ. ๒๕๕๘ 235 77. พระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๕๘ 240 78. พระราชบัญญัติยกเลิกกฎหมายบางฉบบัที่หมดความจ าเป็นหรือซ้ าซ้อนกับกฎหมายอื่น

    พ.ศ. ๒๕๕๘ 243

    79. พระราชบัญญัติยกเลิกพระราชบัญญัตกิารชลประทานราษฎร์ พุทธศกัราช ๒๔๘๒ พ.ศ. ๒๕๕๘

    244

    80. พระราชบัญญัติยกเลิกพระราชบัญญัตกิารซื้อขายสินคา้เกษตรลว่งหน้า พ.ศ. ๒๕๔๒ พ.ศ. ๒๕๕๘

    245

    81. พระราชบัญญัตริะเบียบข้าราชการทหาร (ฉบับที ่๑๐) พ.ศ. ๒๕๕๘ 246 82. พระราชบัญญัตริะเบียบข้าราชการรัฐสภา (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๘ 247 83. พระราชบัญญัตริะเบียบข้าราชการพลเรือน (ฉบับที ่2) พ.ศ. 2558 248 84. พระราชบัญญัตริะเบียบบรหิารราชการศาลยตุิธรรม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2558 249 85. พระราชบัญญัตริาชบัณฑติยสภา พ.ศ. 2558 251 86. พระราชบัญญัตแิรงงานทางทะเล พ.ศ. ๒๕๕๘ 255 87. พระราชบัญญัตโิรคติดต่อ พ.ศ. 2558 262 88. พระราชบัญญัตโิรคระบาดสตัว ์พ.ศ. 2558 269 89. พระราชบัญญัตโิรงเรียนนายร้อยต ารวจ (ฉบบัที่ 2) พ.ศ. 2558 274 90. พระราชบัญญัติลม้ละลาย (ฉบับที ่8) พ.ศ. 2558 275 91. พระราชบัญญัติลขิสิทธิ ์(ฉบบัที่ 2) พ.ศ. 2558 277 92. พระราชบัญญัติลขิสิทธิ ์(ฉบบัที่ 3) พ.ศ. 2558 280 93. พระราชบัญญัตวิ่าด้วยความผิดบางประการต่อการเดนิอากาศ พ.ศ. 2558 281 94. พระราชบัญญัตวิิชาชีพเภสชักรรม (ฉบับที ่2) พ.ศ. 2558 284 95. พระราชบัญญัตวิิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2558 285 96. พระราชบัญญัติเวนคืนอสงัหาริมทรัพย์เพื่อสร้างกิจการรถไฟฟ้า โครงการรถไฟฟ้าสาย

    สีเขียว ช่วงแบริ่ง - สุมทรปราการ ในท้องที่อ าเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวดัสมุทรปราการ พ.ศ. 2558

    286

    97. พระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครวัและวธิีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครวั (ฉบับที ่2) พ.ศ. 2558

    287

  • ( ๕ )

    98. พระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครวัและวธิีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครวั (ฉบับที ่3) พ.ศ. 2558

    288

    99. พระราชบัญญัติสง่เสริมการบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง พ.ศ. ๒๕๕๘ 289 100. พระราชบัญญัติสถาบนัวิทยาลัยชุมชน พ.ศ. ๒๕๕๘ 293 101. พระราชบัญญัติสวนป่า (ฉบบัที่ 2) พ.ศ. 2558 296 102. พระราชบัญญัติสตัวเ์พื่องานทางวิทยาศาสตร์ พ.ศ. 2558 299 103. พระราชบัญญัตหิลักประกนัทางธรุกิจ พ.ศ. ๒๕๕๘ 305 104. พระราชบัญญัตหิอพัก พ.ศ. ๒๕๕๘ 323 105. พระราชบัญญัติเหรียญพิทักษ์เสรีชน (ฉบับที ่2) พ.ศ. 2558 328 106. พระราชบัญญัตโิอนงบประมาณรายจ่าย พ.ศ. 2558 329 107. พระราชก าหนดการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2558 331 108. พระราชก าหนดการประมง พ.ศ. 2558 334 109. พระราชก าหนดแกไ้ขเพิ่มเตมิพระราชบัญญัตกิารเดินอากาศ พ.ศ. 2497

    พ.ศ. 2558 356

    110. พระราชก าหนดแกไ้ขเพิ่มเตมิพระราชบัญญัตปิรบัปรงุกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 พ.ศ. 2558

    361

    ภาคผนวก

    ค าสั่งสภานติิบญัญตัแิห่งชาติ ที่ 74/2557 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการวิชาการ ของสภานิติบญัญตัแิห่งชาติ ลงวนัที่ 3 ธันวาคม 2557

    ค าสั่งสภานติิบญัญตัแิห่งชาติ ที่ 83/2558 เรื่อง แกไ้ขค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการวิชาการของสภานติิบญัญตัแิห่งชาติ ลงวันที ่21 เมษายน 2558

    ค าสั่งสภานติิบญัญตัแิห่งชาติ ที่ 48/2559 เรื่อง แต่งตั้งกรรมการวิชาการ ของสภานิติบญัญตัแิห่งชาติ (เพิ่มเติม) ลงวนัที่ 31 มีนาคม 2559

  • ( ๖ )

    กฎหมายที่ผ่านการพิจารณาของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ประจ าปี พ.ศ. 2558 จ าแนกประเภทตามคณะกรรมาธิการ

    ด้านการเมือง จ านวน 2 ฉบับ 1. รัฐธรรมนูญแหง่ราชอาณาจกัรไทย (ฉบับชัว่คราว) พุทธศักราช 2557 แก้ไขเพ่ิมเตมิ

    (ฉบับที ่๑) พุทธศกัราช 2558 ๑

    2. พระราชบัญญัตปิระกอบรัฐธรรมนญูว่าดว้ยการป้องกันและปราบปรามการทุจรติ (ฉบับที ่๓) พ.ศ. 2558

    ด้านการบริหารราชการแผน่ดิน จ านวน 23 ฉบับ 1. พระราชบัญญัติการชมุนุมสาธารณะ พ.ศ. ๒๕๕๘ ๒7 2. พระราชบัญญัติการปฏบิัตหิน้าที่ของคณะกรรมการทีแ่ตง่ตั้งตามประกาศและค าสั่ง

    ของคณะรักษาความสงบแหง่ชาตบิางฉบบั พ.ศ. ๒๕๕๘ 40

    3. พระราชบัญญัติการผังเมือง (ฉบับที ่4) พ.ศ. ๒๕๕๘ 51 4. พระราชบัญญัติการอ านวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ

    พ.ศ. ๒๕๕๘ 73

    5. พระราชบัญญัติก าลังพลส ารอง พ.ศ. ๒๕๕๘ 77 6. พระราชบัญญัติก าหนดวิทยฐานะผู้ส าเร็จวิชาการทหาร (ฉบับที ่6) พ.ศ. 2558 117 7. พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร (ฉบับที ่5) พ.ศ. 2558 150 8. พระราชบัญญัติเงินเดือน เงนิวิทยฐานะ และเงินประจ าต าแหนง่ข้าราชการครูและ

    บุคลากรทางการศึกษา (ฉบบัที่ 3) พ.ศ. 2558 155

    9. พระราชบัญญัตติ ารวจแห่งชาติ (ฉบบัที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๘ 184 10. พระราชบัญญัตปิรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม (ฉบบัที่ ๑๒) พ.ศ. ๒๕๕๘ 202 11. พระราชบัญญัตปิรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม (ฉบบัที่ ๑๓) พ.ศ. ๒๕๕๘ 203 12. พระราชบัญญัตปิรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม (ฉบบัที่ ๑๔) พ.ศ. ๒๕๕๘ 204 13. พระราชบัญญัตปิรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม (ฉบบัที่ ๑๕) พ.ศ. ๒๕๕๘ 205 14. พระราชบัญญัตปิ้องกนัและปราบปรามการค้ามนุษย์ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๘ 206 15. พระราชบัญญัตปิ้องกนัและปราบปรามการฟอกเงนิ (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๕๘ 207 16. พระราชบัญญัตปิ้องกนัและปราบปรามการสนับสนุนทางการเงินแกก่ารก่อการร้าย

    (ฉบับที ่๒) พ.ศ. ๒๕๕๘ 210

    17. พระราชบัญญัตริะเบียบข้าราชการทหาร (ฉบับที ่๑๐) พ.ศ. ๒๕๕๘ 246 18. พระราชบัญญัตริะเบียบข้าราชการรัฐสภา (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๘ 247 19. พระราชบัญญัตริะเบียบข้าราชการพลเรือน (ฉบับที ่2) พ.ศ. 2558 248 20. พระราชบัญญัตโิรงเรียนนายร้อยต ารวจ (ฉบบัที่ 2) พ.ศ. 2558 274

  • ( ๗ )

    21. พระราชบัญญัตหิอพัก พ.ศ. ๒๕๕๘ 323 22. พระราชบัญญัติเหรียญพิทักษ์เสรีชน (ฉบับที ่2) พ.ศ. 2558 328 23. พระราชก าหนดแกไ้ขเพิ่มเตมิพระราชบัญญัตปิรบัปรงุกระทรวง ทบวง กรม

    พ.ศ. 2545 พ.ศ. 2558 361

    ด้านกฎหมาย กระบวนการยุติธรรมและกิจการต ารวจ จ านวน 23 ฉบับ 1. พระราชบัญญตัิกองทนุยุตธิรรม พ.ศ. ๒๕๕๘ 12 2. พระราชบัญญัติแก้ไขเพ่ิมเตมิประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง (ฉบับที่ ๒๖)

    พ.ศ. ๒๕๕๘ 86

    3. พระราชบัญญตัิแก้ไขเพ่ิมเตมิประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง (ฉบับที่ 27) พ.ศ. ๒๕๕๘

    94

    4. พระราชบัญญตัิแก้ไขเพ่ิมเตมิประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง (ฉบับที่ 28) พ.ศ. ๒๕๕๘

    96

    5. พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเตมิประมวลกฎหมายวธิีพิจารณาความแพ่ง (ฉบับที ่29) พ.ศ. ๒๕๕๘

    98

    6. พระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง (ฉบับที ่3) พ.ศ. ๒๕๕๘ 100 7. พระราชบัญญัติแก้ไขเพ่ิมเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ฉบับที่ ๓๐)

    พ.ศ. ๒๕๕๘ 101

    8. พระราชบัญญัตแิก้ไขเพ่ิมเตมิประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที ่22) พ.ศ. 2558 103 9. พระราชบัญญัตแิก้ไขเพ่ิมเตมิประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที ่23) พ.ศ. 2558 107 10. พระราชบัญญัตแิก้ไขเพ่ิมเตมิประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที ่24) พ.ศ. 2558 109 11. พระราชบัญญัตแิก้ไขเพ่ิมเตมิพระธรรมนูญศาลยุตธิรรม (ฉบบัที่ 5) พ.ศ. 2558 113 12. พระราชบัญญัติจดัตัง้ศาลแขวงและวิธีพิจารณาความอาญาในศาลแขวง

    (ฉบับที ่7) พ.ศ. 2558 161

    13. พระราชบัญญัติจดัตัง้ศาลทรพัย์สินทางปญัญาและการคา้ระหว่างประเทศ และวธิีพิจารณาคดีทรัพย์สินทางปญัญาและการค้าระหวา่งประเทศ (ฉบบัที่ 2) พ.ศ. 2558

    162

    14. พระราชบัญญัติจดัตัง้ศาลภาษีอากรและวิธีพิจารณาคดภีาษีอากร (ฉบบัที่ 2) พ.ศ. 2558

    163

    15. พระราชบัญญัติจดัตัง้ศาลแรงงานและวธิีพิจารณาคดแีรงงาน (ฉบบัที่ ๓) พ.ศ. 2558 164 16. พระราชบัญญัติจดัตัง้ศาลลม้ละลายและวธิีพิจารณาคดลี้มละลาย (ฉบบัที่ 4)

    พ.ศ. 2558 165

    17. พระราชบัญญัติจดัตัง้ศาลอทุธรณ์คดีช านัญพิเศษ พ.ศ. 2558 166 18. พระราชบัญญัตธิรรมนญูศาลทหาร (ฉบับที่ ๘) พ.ศ. ๒๕๕๘ 185 19. พระราชบัญญัตริะเบียบบรหิารราชการศาลยตุิธรรม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2558 249 20. พระราชบัญญัตลิม้ละลาย (ฉบับที ่8) พ.ศ. 2558 275

  • ( ๘ )

    21. พระราชบัญญัตวิิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2558 285 22. พระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครวัและวธิีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครวั

    (ฉบับที ่2) พ.ศ. 2558 287

    23. พระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครวัและวธิีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครวั (ฉบับที ่3) พ.ศ. 2558

    288

    ด้านการศึกษาและการกีฬา จ านวน 8 ฉบับ 1. พระราชบัญญัติการกีฬาแหง่ประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๘ ๑9 2. พระราชบัญญัติมหาวิทยาลยักาฬสินธุ ์พ.ศ. ๒๕๕๘ 218 3. พระราชบัญญัติมหาวิทยาลยัเกษตรศาสตร์ พ.ศ. ๒๕๕๘ 223 4. พระราชบัญญัติมหาวิทยาลยัขอนแก่น พ.ศ. ๒๕๕๘ 227 5. พระราชบัญญัติมหาวิทยาลยัธรรมศาสตร์ พ.ศ. ๒๕๕๘ 231 6. พระราชบัญญัติมหาวิทยาลยัสวนดุสิต พ.ศ. ๒๕๕๘ 235 7. พระราชบัญญัตริาชบัณฑติยสภา พ.ศ. 2558 251 8. พระราชบัญญัติสถาบนัวิทยาลัยชุมชน พ.ศ. ๒๕๕๘ 293 ด้านการเศรษฐกิจ การเงินและการคลัง จ านวน 10 ฉบับ 1. พระราชบัญญัติกองทนุพัฒนาระบบสถาบนัการเงนิเฉพาะกิจ พ.ศ. 2558 5 2. พระราชบัญญัติการบริหารทุนหมนุเวียน พ.ศ. ๒๕๕๘ 36 3. พระราชบัญญัตแิก้ไขเพ่ิมเตมิประมวลรัษฎากร (ฉบับที ่40) พ.ศ. 2558 111 4. พระราชบัญญัตแิก้ไขเพ่ิมเตมิพระราชก าหนดนติิบคุคลเฉพาะกิจเพื่อการแปลงสินทรัพย์

    เป็นหลักทรัพย์ พ.ศ. ๒๕๔๐ พ.ศ. 2558 114

    5. พระราชบัญญัตงิบประมาณรายจ่ายประจ าปงีบประมาณ พ.ศ. 2559 157 6. พระราชบัญญัตธิุรกิจสถาบนัการเงนิ (ฉบับที ่๒) พ.ศ. ๒๕๕๘ 195 7. พระราชบัญญัตปิระกันชวีิต (ฉบบัที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๘ 196 8. พระราชบัญญัตปิระกันวินาศภัย (ฉบบัที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๘ 198 9. พระราชบัญญัติภาษีการรบัมรดก พ.ศ. ๒๕๕๘ 212 10. พระราชบัญญัตโิอนงบประมาณรายจ่าย พ.ศ. 2558 329 ด้านการสาธารณสุข จ านวน 5 ฉบับ 1. พระราชบัญญัติคุม้ครองเด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีชว่ยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์

    พ.ศ. ๒๕๕๘ 133

    2. พระราชบัญญัติเครื่องส าอาง พ.ศ. 2558 137

  • ( ๙ )

    3. พระราชบัญญัติเชื้อโรคและพิษจากสัตว ์พ.ศ. ๒๕๕๘ 177 4. พระราชบัญญัตโิรคติดต่อ พ.ศ. 2558 262 5. พระราชบัญญัตวิิชาชีพเภสชักรรม (ฉบับที ่2) พ.ศ. 2558 284 ด้านการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สารสนเทศ และการสื่อสารมวลชน จ านวน 1 ฉบับ - พระราชบัญญัติสตัวเ์พื่องานทางวิทยาศาสตร์ พ.ศ. 2558 299 ด้านสังคม กิจการเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส จ านวน 1 ฉบับ - พระราชบัญญัติความเท่าเทยีมระหว่างเพศ พ.ศ. ๒๕๕๘ 125 ด้านการเกษตรและสหกรณ์ จ านวน 7 ฉบับ 1. พระราชบัญญัติการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ 44 2. พระราชบัญญัติการยางแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๘ 53 3. พระราชบัญญัติควบคุมคุณภาพอาหารสตัว์ พ.ศ. ๒๕๕๘ 143 4. พระราชบัญญัติจดัรปูที่ดนิเพ่ือเกษตรกรรม พ.ศ. ๒๕๕๘ 167 5. พระราชบัญญัตโิรคระบาดสตัว ์พ.ศ. 2558 269 6. พระราชบัญญัติสวนป่า (ฉบบัที่ 2) พ.ศ. 2558 296 7. พระราชก าหนดการประมง พ.ศ. 2558 334 ด้านการคมนาคม จ านวน 5 ฉบับ 1. พระราชบัญญัติการรบัขนทางอากาศระหว่างประเทศ พ.ศ. ๒๕๕๘ 58 2. พระราชบัญญัตวิ่าด้วยความผิดบางประการต่อการเดนิอากาศ พ.ศ. 2558 281 3. พระราชบัญญัติเวนคืนอสงัหาริมทรัพย์เพื่อสร้างกิจการรถไฟฟ้า โครงการรถไฟฟ้า

    สายสีเขียว ช่วงแบริ่ง - สุมทรปราการ ในท้องที่อ าเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวดัสมุทรปราการ พ.ศ. 2558

    286

    4. พระราชก าหนดการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2558 331 5. พระราชก าหนดแกไ้ขเพิ่มเตมิพระราชบัญญัตกิารเดนิอากาศ พ.ศ. 2497 พ.ศ. 2558 356 ด้านการต่างประเทศ จ านวน 2 ฉบับ 1. พระราชบัญญัติคุม้ครองการด าเนินงานของส านักวิจัยและเศรษฐกิจมหภาค

    ของภูมิภาคอาเซียน+3 พ.ศ. 2558 131

    2. พระราชบัญญัติคุม้ครองการด าเนินงานของสมาคมประชาชาตแิหง่เอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558

    132

  • ( ๑๐ )

    ด้านการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จ านวน 2 ฉบับ 1. พระราชบัญญัตงิาช้าง พ.ศ. ๒๕๕๘ 153 2. พระราชบัญญัติสง่เสริมการบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง พ.ศ. ๒๕๕๘ 289 ด้านการพาณิชย์ การอุตสาหกรรม และการแรงงาน จ านวน 19 ฉบับ 1. พระราชบัญญัติกองทนุส ารองเลี้ยงชีพ (ฉบบัที่ 4) พ.ศ. ๒๕๕๘ ๑7 2. พระราชบัญญัติการจดัสรรที่ดิน พ.ศ. ๒๕๕๘ ๒4 3. พระราชบัญญัติการจ านองเรือและบุรมิสิทธิทางทะเล (ฉบับที ่๒) พ.ศ. ๒๕๕๘ ๒6 4. พระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. ๒๕๕๘ 32 5. พระราชบัญญัติการส่งออกไปนอกและการน าเข้ามาในราชอาณาจักรซึง่สินค้า

    (ฉบับที ่๒) พ.ศ. ๒๕๕๘ 70

    6. พระราชบัญญัติการให้สิทธแิก่ผู้สมัครเป็นสมาชกิของกองทุนการออมแห่งชาติบางกรณี และการโอนเงินจากกองทุนประกนัสังคมในกรณีชราภาพไปยังกองทุนการออมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘

    72

    7. พระราชบัญญัตแิก้ไขเพ่ิมเตมิประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบบัที่ 21) พ.ศ. ๒๕๕๘

    84

    8. พระราชบัญญัตแิก้ไขเพ่ิมเตมิประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบบัที่ 22) พ.ศ. ๒๕๕๘

    85

    9. พระราชบัญญัติคลงัสินค้า ไซโล และห้องเย็น พ.ศ. 2558 119 10. พระราชบัญญัติความลับทางการค้า (ฉบบัที่ 2) พ.ศ. 2558 129 11. พระราชบัญญัติคณุสมบตัิมาตรฐานส าหรบักรรมการและพนักงานรฐัวิสาหกิจ

    (ฉบับที ่7) พ.ศ. 2558 130

    12. พระราชบัญญัติจดทะเบียนเครื่องจกัร (ฉบบัที่ 3) พ.ศ. 2558 158 13. พระราชบัญญัตธิุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ. ๒๕๕๘ 187 14. พระราชบัญญัตปิระกันสงัคม (ฉบับที ่๔) พ.ศ. ๒๕๕๘ 200 15. พระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๕๘ 240 16. พระราชบัญญัตแิรงงานทางทะเล พ.ศ. ๒๕๕๘ 255 17. พระราชบัญญัติลขิสิทธิ ์(ฉบบัที่ 2) พ.ศ. 2558 277 18. พระราชบัญญัติลขิสิทธิ ์(ฉบบัที่ 3) พ.ศ. 2558 280 19. พระราชบัญญัตหิลักประกนัทางธรุกิจ พ.ศ. ๒๕๕๘ 305 ด้านการศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรมและการท่องเที่ยว จ านวน 1 ฉบับ - พระราชบัญญัติกองทนุพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ พ.ศ. ๒๕๕๘ ๘

  • ( ๑๑ )

    การยกเลิกกฎหมาย จ านวน 3 ฉบับ 1. พระราชบัญญัติยกเลิกกฎหมายบางฉบบัที่หมดความจ าเป็นหรือซ้ าซ้อนกับกฎหมายอื่น

    พ.ศ. ๒๕๕๘ 243

    2. พระราชบัญญัติยกเลิกพระราชบัญญัตกิารชลประทานราษฎร์ พุทธศกัราช ๒๔๘๒ พ.ศ. ๒๕๕๘

    244

    3. พระราชบัญญัติยกเลิกพระราชบัญญัตกิารซื้อขายสินคา้เกษตรลว่งหน้า พ.ศ. ๒๕๔๒ พ.ศ. ๒๕๕๘

    245

  • - ๑ -

    รวมสรุปสาระส าคัญของกฎหมายที่ผ่านการพิจารณาของสภานิติบัญญัติแห่งชาติประจ าปี พ.ศ. 2558

    ........................................................... รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชัว่คราว) พุทธศักราช 2557 แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี ๑) พุทธศักราช 2558

    วันใช้บังคับ รัฐธรรมนูญนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป (ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม ๒๕๕๘ จึงเริ่มมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 16 กรกฎาคม 2558 เป็นต้นไป)

    เหตุผลและความจ าเป็นในการตรารัฐธรรมนูญ โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช

    2557 เพ่ือก าหนดวิธีการจัดท าประชามติร่างรัฐธรรมนูญและบทบัญญัติอื่นให้เหมาะสมยิ่งขึ้น จึงจ าเป็นต้องตรารัฐธรรมนูญนี้

    สาระส าคัญของรัฐธรรมนูญ ๑. แก้ไขลักษณะต้องห้ามของสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) ในมาตรา ๘ (๔) โดยปรับปรุงว่า

    สมาชิก สนช. ต้องไม่อยู่ระหว่างถูกเพิกถอนสิทธิเลือกตั้ง เนื่องจากเมื่อพ้นระยะเวลาถูกเพิกถอนสิทธิเลือกตั้งแล้ว บุคคลย่อมกลับมามีสิทธิเลือกตั้งเช่นเดิม จึงไม่มีเหตุที่จะห้ามผู้เคยถูกเพิกถอนสิทธิเลือกตั้งทุกกรณีเป็นสมาชิก สนช.

    ๒. เพ่ิมวรรคหกของมาตรา 19 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 โดยก าหนดให้การถวายสัตย์ปฏิญาณต่อพระมหากษัตริย์ตามรัฐธรรมนูญหรือกฎหมาย พระมหากษัตริย์จะโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้กระท าต่อพระรัชทายาทซึ่ งบรรลุนิติภาวะแล้ว หรือต่อผู้แทนพระองค์ได้ตามพระราชอัธยาศัย

    ๓. แก้ไขเพ่ิมเติมให้ร่างรัฐธรรมนูญที่คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ (กมธ.) จัดท าขึ้นต้องน าไปให้ออกเสียงประชามติ รวมทั้งก าหนดกลไกรองรับในกรณีทีร่่างรัฐธรรมนูญที่ กมธ. จัดท าขึ้นไม่ผ่านการออกเสียงประชามติ โดยให้สภาปฏิรูปแห่งชาติ (สปช.) และคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ (กมธ.) เป็นอันสิ้นสุดลง เนื่องจากเสร็จสิ้นภารกิจและให้แยกภารกิจปฏิรูปกับภารกิจยกร่างรัฐธรรมนูญ ออกจากกัน โดยให้มีสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศขึ้นใหม่เพ่ือท าหน้าที่ด้านการปฏิรูปประเทศ เพียงด้านเดียว และให้มีคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนญูท าหนา้ที่ยกรา่งรฐัธรรมนูญ ในการร่างรัฐธรรมนูญครั้งใหม่นี้ เมื่อท าเสร็จก็จะต้องน าไปท าประชามติด้วย (แก้ไขมาตรา 37 มาตรา 38 มาตรา 39 และมาตรา 46 และเพิ่มเติมมาตรา 37/1 มาตรา 39/1 มาตรา 39/2 และมาตรา 39/3)

    --------------------------------------------

  • พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. 2558

    วันใช้บังคับ พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศ ในราชกิจจานุเบกษาเปน็ตน้ไป (ประกาศในราชกจิจานุเบกษา เมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม ๒๕๕๘ จึงเริ่มมีผล ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 10 กรกฎาคม 2558 เป็นต้นไป)

    เหตุผลและความจ าเป็นในการตราพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ ด้วยประเทศไทยได้ให้สัตยาบันเข้าร่วมเป็นภาคีอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการต่อต้านการ

    ทุจริต ค.ศ. 2003 (United Nations Convention Against Corruption : UNCAC) เมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2554 และมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 31 มีนาคม 2554 อันก่อให้เกิดหน้าที่ในการปฏิบัติตามพันธกรณีอนุสัญญาดังกล่าวหลายประการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการด าเนินการแก้ไขเพ่ิมเติมกฎหมายภายในของประเทศไทยเพื่ออนุวัติการตามอนุสัญญาซึ่งเป็นมาตรฐานสากล อีกทั้งในขณะนี้ประเทศไทยอยู่ระหว่างการเป็นผู้ถูกประเมินและติดตามผลการปฏิบัติตามอนุสัญญา การที่ประเทศไทยยังไม่มีกฎหมายเพื่ออนุวัติการตามพันธกรณีอนุสัญญาดังกล่าวก่อให้เกิดผลเสียต่อภาพลักษณ์ของประเทศไทยในเรื่องความพยายามและความจริงจังในการปรับปรุงแก้ไขกฎหมายภายในเพ่ือให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล นอกจากนี้ยังก่อให้เกิดอุปสรรคต่อการประสานความร่วมมือระหว่างประเทศในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตรวมถึงการแก้ไขปัญหาการทุจริตภายในประเทศ จึงมีความจ าเป็นต้องแก้ไขกฎหมายเพ่ืออนุวัติการตามพันธกรณีอนุสัญญาดังกล่าว โดยเฉพาะในเรื่องการก าหนดความผิดการให้หรือรับสินบนที่เกี่ยวกับเจ้าหน้าที่ของรัฐต่างประเทศและเจ้าหน้าที่ขององค์การระหว่างประเทศ การก าหนดอายุความในกรณีหลบหนแีละอายุความล่วงเลยการลงโทษ การก าหนดการริบทรัพย์สินในคดีทุจริตให้เป็นไปตามหลักการริบทรัพย์ตามมูลค่า อีกทั้งยังเป็นการสอดคล้องกับเจตนารมณ์ของการปฏิรูปประเทศตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 ในการแก้ไขกฎหมายเพ่ือให้การป้องกันและปราบปรามการทุจริตมีกลไกในการขจัดการทุจริตและประพฤติมิชอบ ทั้งในภาครัฐและเอกชนที่มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น และเนื่องจากการปรับปรุงแก้ไขกฎหมายเพ่ืออนุวัติการตามพันธกรณีอนุสัญญาดังกล่าวถือเป็นอาชญากรรมที่มีลักษณะพิเศษ จึงควรบัญญัติไว้ในกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตเป็นการเฉพาะ เพ่ือเป็นหลักประกันความเป็นอิสระและความเชี่ยวชาญของหน่วยงานที่บังคับใช้กฎหมายเพ่ือให้เกิดประสิทธิภาพในการท างาน และเป็นหลักประกันมิให้เกิดการกระทบต่อสิทธิเสรีภาพของบุคคลมากเกินความจ าเป็น นอกจากนี้ สมควรแก้ไขเพ่ิมเติมบทบัญญัติเกี่ยวกับการตรวจสอบความถูกต้องและความมีอยู่จริง ของทรัพย์สินและหนี้สินให้ถูกต้อง จึงจ าเป็นต้องตราพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้

    สาระส าคัญของพระราชบญัญัติประกอบรัฐธรรมนูญ ๑. ก าหนดบทนิยามค าว่า “เจ้าหน้าที่ของรัฐต่างประเทศ” และ“เจ้าหน้าที่ขององค์การระหว่าง

    ประเทศ” และก าหนดความผิดในส่วนที่เกี่ยวกับเจ้าหน้าที่ของรัฐ เจ้าหน้าที่ของรัฐต่างประ เทศและเจ้าหน้าที่ขององค์การระหว่างประเทศที่รับสินบน และเอกชนที่ให้สินบน ซึ่งรวมถึงนิติบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการให้สินบนด้วย ทั้งนี้ เพ่ือให้สอดคล้องกับอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการต่อต้านการทุจริต ค.ศ. 2003 (United Nations Convention Against Corruption : UNCAC) ซึ่งประเทศไทยได้ให้

  • สัตยาบันร่วมเป็นรัฐภาคี โดยมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 31 มีนาคม 2554 ข้อ 16 และข้อ 26 และอนุสัญญาว่าด้วยการต่อต้านการให้สินบนเจ้าหน้าที่รัฐต่างประเทศในการท าธุรกรรมทางธุรกิจระหว่างประเทศ (OECD Anti-Bribery Convention) ซึ่งเป็นมาตรฐานสากล

    ๒. เพ่ิมเติมให้คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีอ านาจหน้าที่ในการไต่สวนและวินิจฉัยกรณีเจ้าหน้าที่ ของรัฐต่างประเทศ เจ้าหน้าที่ขององค์การระหว่างประเทศกระท าความผิดฐานรับสินบน และกรณีเอกชนกระท าความผิดฐานให้สินบนตามหมวด 8/1 การด าเนินคดีอาญาเจ้าหน้าที่ของรัฐต่างประเทศ เจ้าหน้าที่ขององค์การระหว่างประเทศ และภาคเอกชน ทั้งนี้ เพ่ือให้สอดคล้องกับการก าหนดฐานความผิดมาตรา 123/2 มาตรา 123/3 มาตรา 123/4 และมาตรา 123/5 และสอดคล้องกับอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการต่อต้านการทุจริต ค .ศ. 2003 (United Nations Convention against Corruption : UNCAC) ข้อ 36

    ๓. เพ่ิมเติมให้คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีอ านาจไต่สวนการกระท าความผิดที่อยู่ในอ านาจการไต่สวนของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ซึ่งได้กระท าลงนอกราชอาณาจักร โดยการประสานความร่วมมือเพ่ือประโยชน์แห่งการไต่สวนให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น ทั้งนี้ เพ่ือให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน ที่การทุจริตมักมีลักษณะข้ามชาติ และการก าหนดฐานความผิดใหม่ที่เกี่ยวเนื่องกับการให้/รับสินบนเจ้าหน้าที่ของรัฐต่างประเทศ/องค์การระหว่างประเทศ การก าหนดให้คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีอ านาจ ไต่สวนการกระท าความผิดฐานทุจริตซึ่งไดก้ระท าลงนอกราชอาณาจักรไทย จะเป็นการเพ่ิมประสิทธิภาพในการด าเนินคดีและสอดคล้องกับอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการต่อต้านการทุจริต ค.ศ. 2003 (United Nations Convention Against Corruption : UNCAC) ข้อ 36

    ๔. เพิ่มอ านาจหน้าที่ในการด าเนินการตามค าร้องขอความช่วยเหลือจากต่างประเทศในคดีทุจริต ทั้งนี้ เพื่อประโยชน์ในการประสานความรว่มมอืระหวา่งประเทศในคดีทุจริตให้มีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับหลักการตามอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการต่อต้านการทุจริต ค.ศ. 2003 (United Nations Convention Against Corruption : UNCAC) ข้อ 36 ข้อ 43 และข้อ 46

    ๕. เพิ่มอ านาจหน้าที่ในการท าข้อตกลงประสานความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ซึ่งเป็นหลักการที่สอดคล้องกับอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการต่อต้านการทุจริต ค .ศ. 2003 (United Nations Convention against Corruption: UNCAC) ข้อ 38 และอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการต่อต้านอาชญากรรมข้ามชาติ ที่ จัดตั้ งในลักษณะองค์กร ค.ศ . 2000 (United Nations Convention against Transnational Organized Crime : UNTOC) ข้อ 27

    ๖. แก้ไขเพ่ิมเติมให้น าบทบัญญัติในมาตรา 35 วรรคสี่ มาใช้บังคับการแสดงบัญชีรายการทรัพย์สินและหนี้สินของเจ้าหน้าที่ของรัฐในมาตรา 39 และมาตรา 40 ทั้งนี้ เนื่องจากพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. ๒๕๔๒ แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๔ มาตรา ๓๙ วรรคสาม บัญญัติให้น าบทบัญญัติมาตรา ๓๕ วรรคหนึ่งและวรรคสามมาใช้บังคับกับการแสดง การยื่น การรับบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สิน และการตรวจสอบความถูกต้องและความ มีอยู่จริงของทรัพย์สินและหนี้สินของบุคคลตามวรรคหนึ่งโดยอนุโลม แต่เนื่องจากมาตรา ๓๕ วรรคสาม เป็นบทบัญญัติเกี่ยวกับหลักเกณฑ์การเปิดเผยบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สิน จึงเห็นควรแก้ไข

  • ให้ถูกต้องเป็นมาตรา ๓๕ วรรคสี่ ซึ่งเป็นบทบัญญัติเกี่ยวกับการตรวจสอบความถูกต้องและความมีอยู่จริงของทรัพย์สินและหนี้สิน

    ๗. แก้ไขเพ่ิมเติมกรณีผู้กระท าความผิดหลบหนี มิให้นับระยะเวลาที่หลบหนีรวมเป็นส่วนหนึ่ง ของอายุความ โดยให้ครอบคลุมถึงการด าเนินคดีอาญาตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้ และก าหนดมิให้น าอายุความล่วงเลยการลงโทษตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 98 มาใช้บังคับ กับคดีอาญาตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้ ทั้งนี้ เนื่องจากคดีทุจริต เป็นอาชญากรรมระหว่างประเทศที่มีแนวโน้มที่จะจัดการกับอาชญากรรมประเภทนี้ได้ยากขึ้น เนื่องจากผู้กระท าความผิดส่วนใหญ่มักจะน าเงินที่ได้จากการทุจริตถ่ายเทไปต่างประเทศและหลบหนีเพื่อมิให้ถูกจับกุมจนกว่า พ้นก าหนดอายุความฟ้องคดีหรืออายุความการลงโทษ ซึ่งเมื่อชั่งน้ าหนักระหว่างผลประโยชน์ที่ได้จากการทุจริตกับโทษที่จะได้รับท าให้ผู้ต้องหาหรือจ าเลยไม่เกรงกลัวต่อโทษที่จะได้รับการกระท าความผิด จึงจ าเป็นต้องแก้ไขเรื่องอายุความในคดีทุจริตกรณีผู้กระท าความผิดหลบหนีให้ครอบคลุมทุกขั้นตอน ในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา เพ่ีอให้ผู้กระท าความผิดได้รับโทษตามกฎหมาย อีกทั้งยังเป็นการยับยั้งและป้องปรามมิให้ผู้กระท าความผิดตกลงใจกระท าความผิดในคดีทุจริตด้วย ซึ่งเป็นหลักการ ที่สอดคล้องกับอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการต่อต้านการทุจริต ค.ศ. 2003 (United Nations Convention Against Corruption : UNCAC) ข้อ 29

    ๘. เพ่ิมเติมหลักเกณฑ์การไต่สวนข้อเท็จจริง กรณีเจ้าหน้าที่ของรัฐต่างประเทศ เจ้าหน้าที่ขององค์การระหว่างประเทศกระท าความผิดฐานรับสินบน และกรณีเอกชนกระท าความผิดฐานให้สินบน ทั้งนี้ ให้สอดคล้องกับการแก้ไขเพ่ิมเติมมาตรา 123/2 มาตรา 123/3 มาตรา 123/4 และมาตรา 123/5 และเป็นไปตามหลักการตามอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการต่อต้านการทุจริต ค.ศ. 2003 (United Nations Convention Against Corruption : UNCAC) ข้อ 16 และข้อ 36

    ๙. ก าหนดให้การริบทรัพย์สินเนื่องจากการกระท าความผิดตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ครอบคลุมถึงประโยชน์อันอาจค านวณเป็นราคาเงินได้ ที่บุคคลได้มาจากการกระท าความผิด และทรัพย์สินหรือประโยชน์อันอาจค านวณเป็นราคาเงินได้ที่บุคคลได้มาแทนทรัพย์สินหรือประโยชน์ดังกล่าว รวมทั้งประโยชน์อื่นใดอันเกิดจากทรัพย์สินหรือประโยชน์นั้น และก าหนดหลักเกณฑ์ให้ศาลใช้ดุลพินิจในการริบทรัพย์สินตามหลักการริบทรัพย์ตามมูลค่า เพื่อให้การริบทรัพย์สินเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นและสอดคล้องกับอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการต่อต้านการทุจริต ค.ศ. 2003 (United Nations Convention Against Corruption : UNCAC) ข้อ 31

    -------------------------------------

  • พระราชบัญญัติและพระราชก าหนดที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาในปี พ.ศ. 2558 ......................................................

    ๑. พระราชบัญญัติกองทุนพัฒนาระบบสถาบันการเงินเฉพาะกิจ พ.ศ. 2558

    วันใช้บังคับ พระราชบัญญัตินี้ ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นต้นไป (ประกาศราชในกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 26 มีนาคม ๒๕๕๘ จึงเริ่มมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 27 มีนาคม 2558 เป็นต้นไป)

    เหตุผลและความจ าเป็นในการตราพระราชบัญญัติ โดยที่กฎหมายว่าด้วยสถาบันคุ้มครองเงินฝากและกฎหมายว่าด้วยการปรับปรุงการบริหารหนี้เงินกู้

    ที่กระทรวงการคลังกู้เพ่ือช่วยเหลือกองทุนเพ่ือการฟ้ืนฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน ก าหนดการเรียกเก็บเงินจากสถาบนัการเงินเอกชนเพ่ือเป็นการคุ้มครองเงินฝากของประชาชนและน าไปช่วยเหลือกองทุนเพ่ือการฟ้ืนฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงินในการช าระหนี้ เงินกู้ แต่ การเรียกเก็บเงินดังกล่าว ไม่ครอบคลุมถึงสถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐ ท าให้สถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐมีต้นทุนในการระดมทุนต่ ากว่าสถาบันการเงินเอกชนจนเป็นข้อได้เปรียบ จึงจ าเป็นต้องเรียกเก็บเงินจากสถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐในอัตราเดียวกันกับที่สถาบันคุ้มครองเงินฝากและธนาคารแห่งประเทศไทยเรียกเก็บจากสถาบันการเงินเอกชน เพ่ือให้ระบบสถาบันการเงินมีความเท่าเทียมกันและเพ่ิมประสิทธิภาพในการจัดสรรทรัพยากรทางการเงิน ทั้งนี้ เงินที่เรียกเก็บจากสถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐจะน ามาจัดตั้งเป็นกองทุนพัฒนาระบบสถาบันการเงินเฉพาะกิจเพ่ือช่วยแบ่งเบาภาระงบประมาณรายจ่าย ช่วยเหลือสถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐและกองทุนเพ่ือการฟ้ืนฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน สมควรมีกฎหมายจัดตั้งกองทุนพัฒนาระบบสถาบันการเงินเฉพาะกิจเพ่ือก าหนดหลักเกณฑ์การเรียกเก็บเงินจากสถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐและการใช้จ่ายเงินที่ได้มาจากการเรียกเก็บดังกล่าว รวมทั้งการน าไปช่วยเหลือสถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐ จึงจ าเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้

    สาระส าคัญของพระราชบญัญัติ พระราชบัญญัติกองทุนพัฒนาระบบสถาบันการเงินเฉพาะกิจ พ.ศ. 2558 มีสาระส าคัญ ดังนี้

    1. กองทุนพัฒนาระบบสถาบันการเงินเฉพาะกิจ 1.1 ก าหนดให้มีการจัดตั้งกองทุนพัฒนาระบบสถาบันการเงินเฉพาะกิจซึ่งไม่เป็นนิติบุคคลขึ้น

    ในส านักงานเศรษฐกิจการคลัง โดยมีวัตถุประสงค์ในการจัดตั้งเพ่ือการฟ้ืนฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน ให้มั่นคงและมีเสถียรภาพ ช่วยเหลือหรือสนับสนุนทางการเงินแก่สถาบันการเงินเฉพาะกิจ และเสริมสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจและทางการเงินของประเทศ โดยเงินของกองทุนจะใช้จ่ายตามวัตถุประสงค์ เพ่ือการต่าง ๆ ตามที่ก าหนดไว้เป็นแหล่งเงินในการเพ่ิมทุนให้แก่สถาบันการเงินเฉพาะกิจ ให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่สถาบันการเงินอื่นในการเพ่ิมทุน พัฒนาระบบสถาบันการเงินเฉพาะกิจ และให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่กองทุนเพ่ือการฟ้ืนฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงินในการกู้ยืม ตลอดจนเป็นค่าใช้จ่ายในการด าเนินกิจการของกองทุน

    1.2 ก าหนดให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่ง เรียกว่า “คณะกรรมการกองทุนพัฒนาระบบสถาบันการเงินเฉพาะกิจ” โดยมีองค์ประกอบของคณะกรรมการ คือ ปลัดกระทรวงการคลัง เป็นประธานกรรมการ

  • ผู้อ านวยการส านักงบประมาณ เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา อธิบดีกรมบัญชีกลาง ผู้อ านวยการส านักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ ผู้อ านวยการส านักงานบริหารหนี้สาธารณะ และผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย เป็นกรรมการ และก าหนด�