แผนบริหารความเสี่ยง...

26
แผนบริหารความเสี่ยง ประจำปีงบประมาณ .. 2561 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี

Upload: others

Post on 22-Jul-2020

3 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: แผนบริหารความเสี่ยง ประจำปีงบประมาณ พศ. 2561fst.kru.ac.th/fst/wp-content/uploads/2017/12/Risk... · การระบุความเสี่ยง

แผนบริหารความเสี่ยง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561

คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี

Page 2: แผนบริหารความเสี่ยง ประจำปีงบประมาณ พศ. 2561fst.kru.ac.th/fst/wp-content/uploads/2017/12/Risk... · การระบุความเสี่ยง

คำนำ

คณะวิทยาศาสตร/และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี มีความตระหนักและ

เห็นความสำคัญของการบริหารความเสีย่ง จึงไดIจัดทำแผนบริหารความเสี่ยงข้ึน เพื่อใชIเปPนแนวทางในการ

ดำเนินงาน โดยมีเปQาหมายเพื่อลดโอกาสและผลกระทบที่อาจไดIรับจากปRจจัยเสี่ยงทั้งหลาย ใหIมีระดับ

ความเสี่ยงและขนาดความเสียหายที่อาจเกิดข้ึนจากการบริหารงาน ใหIอยูTในระดับที่ยอมรับไดI

คณะกรรมการบรหิารความเสี่ยง

คณะวิทยาศาสตร/และเทคโนโลยี

Page 3: แผนบริหารความเสี่ยง ประจำปีงบประมาณ พศ. 2561fst.kru.ac.th/fst/wp-content/uploads/2017/12/Risk... · การระบุความเสี่ยง

สารบัญ

หน,า คำนำ ก

สารบัญ ข

แนวทางการบรหิารความเสี่ยง 1

หลักการและเหตุผล 1

วิสัยทัศน/ 1

พันธกิจ 1

ประเด็นยุทธศาสตร/ 1

นิยามศัพท/เกี่ยวกบัความเสี่ยง 2

แนวทางการบรหิารความเสี่ยง 2

ระบบบริหารความเสี่ยง 3

การระบุความเสี่ยง ปRจจัยเสี่ยง การประเมินโอกาสและผลกระทบความเสี่ยง 13

แผนบรหิารความเสี่ยง ประจำปYงบประมาณ พ.ศ. 2561 17

ภาคผนวก

คำสั่งคณะวิทยาศาสตร/และเทคโนโลยี เรื่อง แตTงต้ังคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง

Page 4: แผนบริหารความเสี่ยง ประจำปีงบประมาณ พศ. 2561fst.kru.ac.th/fst/wp-content/uploads/2017/12/Risk... · การระบุความเสี่ยง

แนวทางการบริหารความเสีย่ง

คณะวิทยาศาสตร8และเทคโนโลยี ประจำป>งบประมาณ พ.ศ. 2561

หลักการและเหตุผล

คณะวิทยาศาสตร-และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุร ี ไดBกำหนดนโยบายและ

วางแนวทางการพัฒนาคณะใหBเปIนแหลJงเรียนรูBตลอดชีวิตดBานวิทยาศาสตร-และเทคโนโลยีที่มีความเปIน

สากลเพื่อการพัฒนาทBองถ่ิน จึงจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพและแผนกลยุทธ-คณะวิทยาศาสตร-และ

เทคโนโลยี พ.ศ. 2561 ซึ่งในแผนกำหนดพันธกิจเกี่ยวกับการสรBางระบบบริหารจัดการศึกษา

ระดับอุดมศึกษา ที่มีประสิทธิภาพและไดBมาตรฐาน โดยยึดหลักการบริหารจัดการบBานเมืองที่ ดี

ตามพระราชกฤษฎีกา วJาดBวยหลักเกณฑ-และวิธีการบริหารกิจการบBานเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 หมวด 3

มาตรา 9(1) กำหนดใหB สJวนราชการตBองจัดทำแผนปฏิบัติราชการไวBเปIนการลJวงหนBา กJอนจะดำเนินการ

ตามภารกิจ

เพื่อใหBการดำเนินการมีสัมฤทธิผล คณะวิทยาศาสตร-และเทคโนโลยี จึงจัดทำแนวทางการ

บริหารความเสี่ยงและแผนบริหารความเสี่ยงข้ึน สำหรับใชBเปIนแนวทางในการดำเนินงาน ใหBการปฏิบัติ

เปIนไปตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผJนดิน วJาดBวยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน

พ.ศ. 2544 ที่กำหนดใหBทุกสJวนราชการจัดทำระบบควบคุมภายใน และมีการติดตามประเมินผล

แลBวจัดทำรายงานเสนอตJอสำนักงานการตรวจเงินแผJนดิน และสำหรับใชBเปIนแนวทางในการดำเนินงาน

ใหBสอดคลBองกับแนวทางการประกันคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุร ี

วิสัยทัศน8

มุJงผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ มีคุณธรรม เปIนศูนย-กลางแหJงการเรียนรูB เพื่อพัฒนาทBองถ่ิน

พันธกิจ

1. ผลิตบัณฑิตใหBมีความรูBความเช่ียวชาญดBานวิทยาศาสตร-และเทคโนโลยี ที่มีคุณธรรม

2. สรBางองค-ความรูBเพื่อสJงเสริมความเขBมแข็งแกJทBองถ่ิน

3. บริการวิชาการเพือ่เสรมิสรBางความเขBมแข็งของทBองถ่ิน

4. ทำนุบำรงุศิลปวัฒนธรรม สืบสานภูมปิfญญาทBองถ่ิน

ประเด็นยุทธศาสตร8

1. ผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ

2. พัฒนางานวิจัยเพื่อสรBางองค-ความรูB

3. เสริมสรBางความพรBอมเขBาสูJประชาคมอาเซียน

4. พัฒนาคณะเพื่อเปIนศูนย-กลางแหJงการเรียนรูB

5. อนุรักษ-ศิลปวัฒนธรรม และสJงเสริมคุณธรรม จริยธรรม

6. การพัฒนาระบบบรหิารจัดการที่มีคุณภาพ

Page 5: แผนบริหารความเสี่ยง ประจำปีงบประมาณ พศ. 2561fst.kru.ac.th/fst/wp-content/uploads/2017/12/Risk... · การระบุความเสี่ยง

2 นิยามศัพท8เก่ียวกับความเสี่ยง

1. ความเสี่ยง หมายถึง เหตุการณ-ที่มีโอกาสเกิดข้ึนไดBในอนาคต และอาจสJงผลในดBานลบ

ที่ไมJตBองการ ดังน้ัน การตัดสินใจกระทำการใด ๆ โดยไมJมีขBอมูล หรือไมJมีการวางแผนใด ๆ จึงสามารถ

กลJาวไดBวJา เปIนการตัดสินใจในสภาวะของความเสี่ยง (สำนักงาน กพร., ม.ป.ท.)

2. การเสี่ยง หมายถึง การตัดสินใจที่จะดำเนินการ (หรือไมJดำเนินการ) สิ่งใดสิ่งหน่ึง บน

พื้นฐานของการขาดขBอมูลที่ชัดเจน ไมJครบถBวน เปIนเพียงการประมาณการ การคาดเดา การต้ังความหวัง

ซึง่ผลการตัดสินใจน้ันอาจเปIนไปตามความคาดหมาย หรือตรงกันขBามก็ไดB (สำนักงาน กพร., ม.ป.ท.)

3. การบริหารความเสี่ยง หมายถึง กระบวนการที่ทุกคนในองค-การ มีสJวนรJวมใน

กระบวนการหาและใหBขBอมูลที่เปIนประโยชน-ในการคาดการณ- เพื่อตัดสินใจในการเลือกกลยุทธ- กำหนด

เปiาหมาย จัดทำแผนงาน และจัดสรรงบประมาณในการปฏิบัติงาน โดยมุJงเปiาหมายใหBการปฏิบัติงาน

สามารถบรรลุวัตถุประสงค-ที่ต้ังไวB หรือลดผลของความเสียหายหรือผลกระทบที่อาจเกิดข้ึน อันมีผลตJอ

ความสูญเสียขององค-การ

4. ปKจจัยเสี่ยง หมายถึง ตBนเหตุหรือสาเหตุที่ มาของความเสี่ยงที่จะทำใหBไมJบรรลุ

วัตถุประสงค-ที่กำหนดไวB

5. การประเมินความเสี่ยง หมายถึง การคาดคะเน หรือคำนวณโอกาสที่จะเปIนเหตุใหBเกิด

ความเสียหาย และหรือความเสียหายที่จะสJงผลกระทบตJอการทำงานที่ไมJบรรลุเปiาหมายที่วางไวB เพื่อใหB

ทราบความสำคัญของความเสี่ยงที่แตกตJางกัน และใชBการพิจารณาในการกำหนดจุดควบคุมความเสี่ยง

ที่มีนัยสำคัญ

6. ระบบบริหารความเสี่ยง หมายถึง ระบบการบริหารปfจจัยและระบบการควบคุมกิจกรรม

รวมทั้งกระบวนการดำเนินงานตJาง ๆ ที่คณะวิทยาศาสตร-และเทคโนโลยีจัดต้ังข้ึน เพื่อลดมูลเหตุและ

โอกาสทีจ่ะเกิดความเสี่ยง

7. กิจกรรมควบคุม หมายถึง กระบวนการปฏิบัติที่ทุกคนในองค-กรรJวมกันพิจารณากำหนด

ข้ึนเพื่อสรBางความมั่นใจในระดับที่สมเหตุสมผล ในการบรรลุวัตถุประสงค-ของหนJวยงาน

แนวทางการบริหารความเสี่ยง

คณะวิทยาศาสตร-และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี ใชBแนวทางการบริหาร

ความเสี่ยงของ The Committee of Sponsoring Organization (COSO) ซึ่งเปIนแนวทางที่เปIนสากล

คณะกรรมการตรวจเงินแผJนดินกำหนดใหBหนJวยงานตJาง ๆ นำแนวทางดังกลJาวไปใชBในการจัดทำแผน

ควบคุมภายใน ประกอบดBวยหลักเกณฑ-ในการบริหารความเสี่ยงดังน้ี

1. สภาพแวดลBอมภายใน (Internal Environment) สภาพแวดลBอมภายในขององค-กร

มีอิทธิพลตJอความตระหนัก ในเรื่องความเสี่ยงของคนภายในองค-การ และเปIนพื้นฐานขององค-ประกอบ

อื่น ๆ ทั้งหมด ของการบริหารความเสี่ยงขององค-การ ซึ่งจะกJอใหBเกิดระเบียบ วินัย และโครงสรBางของ

องค-การ

Page 6: แผนบริหารความเสี่ยง ประจำปีงบประมาณ พศ. 2561fst.kru.ac.th/fst/wp-content/uploads/2017/12/Risk... · การระบุความเสี่ยง

3

2. การกำหนดวัตถุประสงค- (Objective Setting) เปIนการกำหนดสิ่งที่ตBองการทำใหBสำเร็จ

หรือไดBผลลัพธ-ตามที่ตBองการ

3. การบJงช้ีเหตุการณ- (Event Identification) ผูBบริหารและผูBปฏิบั ติงาน รJวมกันระบุ

เหตุการณ-ที่อาจกJอใหBเกิดความเสี่ยง ที่เกี่ยวขBองกับองค-การ และกิจกรรมการดำเนินงานขององค-การ

ซึ่งมีผลกระทบตJอการบรรลุผลสำเร็จตามวัตถุประสงค-ที่กำหนด

4. การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) เปIนการประเมินนัยสำคัญหรือผลกระทบ

(Impact) ของความเสี่ยง และความถ่ีหรือโอกาสที่จะเกิดความเสี่ยงตJอการบรรลุวัตถุประสงค-

5. การตอบสนองความเสี่ยง (Risk Response) เปIนการกำหนดวิธีการจัดการความเสี่ยง

ที่สามารถนำไปปฏิบัติไดB ซึ่งควรคำนึงถึงความเสี่ยงที่ยอมรับไดB และตBนทุนที่เกิดข้ึน เปรียบเทียบกับ

ผลประโยชน-ที่จะไดBรับ เพื่อลดโอกาสและผลกระทบของเหตุการณ-ใหBอยูJในระดับที่ยอมรับไดB

6. กิจกรรมการควบคุม (Control Activity) นโยบาย มาตรการ และวิธีการตJาง ๆ ที่ฝäาย

บริหารกำหนด หรือนำมาใชB เพื่อลดความเสี่ยงที่จะเกิดข้ึน ชJวยเพิ่มความมั่นใจในความสำเร็จตาม

วัตถุประสงค-

7. สารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication)

7.1. สารสนเทศ หมายถึงขBอมูลขJาวสารที่ใชBในการบริหาร ซึ่งเปIนขBอมูลที่เกี่ยวกับการเงิน

และไมJเกี่ยวกับการเงิน รวมทั้งขBอมลูขJาวสารอื่น ๆ ทั้งภายในและภายนอกคณะฯ

7.2. การสื่อสาร หมายถึงการรับสJงขBอมูลระหวJางกัน เพื่อใหBเกิดความเขBาใจอันดีระหวJาง

บุคคล ซึ่งมีหนBาที่ความรบัผดิชอบ ในงานที่สัมพันธ-กัน การสื่อสารเกิดข้ึนไดBทั้งภายในและภายนอกคณะฯ

8. การติดตามและประเมินผล (Monitoring)

8.1. การติดตามผล หมายถึง การสอดสJองดูแลกิจกรรมที่อยูJระหวJางการดำเนินการ

เพื่อใหBเกิดความมั่นใจวJา การดำเนินงานเปIนไปตามแผนบริหารความเสี่ยงหรือไมJ

8.2. การประเมินผล หมายถึงการเปรียบเทียบผลการปฏิบัติงาน กับแผนการบริหาร

ความเสี่ยงที่กำหนดไวB วJามีความสอดคลBองกันหรือไมJ เพียงใด และประเมินวJายังเหมาะสมกับ

สภาพแวดลBอมในปfจจุบันหรือไมJ

ระบบบริหารความเสี่ยง

ระบบบริหารความเสี่ยงของคณะวิทยาศาสตร-และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี

มีองค-ประกอบ 5 ประการ คือ ประการที่ 1 โครงสรBางการบริหารความเสี่ยง ประการที่ 2 นโยบาย

วัตถุประสงค- และผูBรับผิดชอบการบริหารความเสี่ยง ประการที่ 3 การประเมินผลการบริหารความเสี่ยง

ประการที่ 4 กระบวนการบริหารความเสี่ยง และประการที ่5 การจัดทำแผนบริหารความเสี่ยง

1. โครงสรLางการบริหารความเสี่ยง

โครงสรBางการบริหารความเสี่ยงของคณะวิทยาศาสตร-และเทคโนโลยี เปIนสJวนยJอยใน

โครงสรBางการบริหารความเสี่ยงของมหาวิทยาลัย ดังแสดงในภาพที่ 1 ซึ่งมี 2 ระดับ คือ ระดับมหาวิทยาลัย

และระดับคณะและหนJวยงานเทียบเทJาคณะ

Page 7: แผนบริหารความเสี่ยง ประจำปีงบประมาณ พศ. 2561fst.kru.ac.th/fst/wp-content/uploads/2017/12/Risk... · การระบุความเสี่ยง

4

1.1. ระดับมหาวิทยาลัย รับผิดชอบโดยคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงมหาวิทยาลัย

ราชภัฏกาญจนบุรี

1.2. ระดับคณะ รับผิดชอบโดยคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงระดับคณะ ภายใตBการ

กำกับดูแลของคณบดี

ภาพที่ 1 โครงสรBางการบริหารความเสี่ยงมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรีและโครงสรBางบริหารความเสี่ยง

คณะวิทยาศาสตร-และเทคโนโลยี

การบริหารความเสีย่งของคณะวิทยาศาสตร-และเทคโนโลยี มคีณะกรรมการบริหารความเสีย่ง

คณะวิทยาศาสตร-และเทคโนโลยีเปIนผูBรบัผิดชอบ ภายใตBการกำกับดูแลของคณบดี สJวนการบริหารความ

เสี่ยงของหลักสูตร มีคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงระดับหลักสูตร ภายใตBการกำกับดูแลของประธาน

หลักสูตรน้ัน

สภามหาวิทยาลัย

อธิการบดี

คณะกรรมการบริหารความเส่ียง

มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี

คณบดีคณะวิทยาศาสตร-และเทคโนโลยี

คณะกรรมการบริหารความเส่ียง

คณะวิทยาศาสตร-และเทคโนโลยี

หนJวยตรวจสอบภายใน

คณะกรรมการตรวจเงิน

แผJนดิน (ค.ต.ง. คณะกรรมการพัฒนา

ระบบราชการ (ก.พ.ร.)

ประธานหลักสูตร

คณะกรรมการบริหารความเส่ียง

ระดับหลักสูตร

โครงสรBางบริหารความเส่ียงคณะวิทยาศาสตร-และเทคโนโลยี

Page 8: แผนบริหารความเสี่ยง ประจำปีงบประมาณ พศ. 2561fst.kru.ac.th/fst/wp-content/uploads/2017/12/Risk... · การระบุความเสี่ยง

5

2. นโยบาย วัตถุประสงค8 และผูLรับผิดชอบการบริหารความเสี่ยง

2.1. นโยบายการบริหารความเสี่ยง

คณะวิทยาศาสตร-และเทคโนโลยี จะปฏิบัติตามนโยบายการบริหารความเสี่ยงของ

มหาวิทยาลัย ซึ่งมีนโยบายดังน้ี

(1) ใหBมีการบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งองค-กรแบบบูรณาการ โดยมีการจัดการอยJาง

เปIนระบบและตJอเน่ือง

(2) ใหBกำหนดกระบวนการบริหารความเสี่ยงที่เปIนมาตรฐานเดียวกันทั่วทั้งองค-กร

(3) ใหBติดตามประเมินผลการบริหารความเสี่ยง ที่มีการทบทวนและปรับปรุงอยJาง

สม่ำเสมอ

(4) ใหBนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชBเพื่อการจัดการที่ดี

(5) ใหBการบรหิารความเสี่ยงเปIนสJวนหน่ึงของการดำเนินการตามปรกติ

(6) ใหBนำผลการดำเนินงานตามภารกิจหลัก และโครงการหรือกิจกรรมตามแผน

งบประมาณรายจJายประจำปèมาวิเคราะห-ปfจจัยเสี่ยง

2.2. วัตถุประสงค-บรหิารความเสี่ยง

(1) เพื่อลดความเสี่ยงในการดำเนินงาน การบริหารงาน และปiองปรามการทุจริต

ในข้ันตอนการดำเนินงาน

(2) เพื่อลดโอกาสเกิดความเสียหายและขนาดความเสียหายที่อาจเกิดข้ึนในอนาคต

ใหBอยูJในระดับที่ยอมรับไดB ควบคุมไดB และตรวจสอบไดB

(3) เพื่อทบทวนและเสนอแนะมาตรการแนวทางแกBไขปรับปรุง และปiองกันความ

เสี่ยงที่เกิดข้ึน

(4) เพื่อใหBคณะวิทยาศาสตร-และเทคโนโลยีมีผลการดำเนินงาน บรรลุเปiาหมาย

ตามยุทธศาสตร-

2.3. บทบาทหนBาที่ความรับผดิชอบของผูBเกี่ยวขBองกับการบริหารความเสี่ยง ตามโครงสรBาง

การบริหารความเสี่ยงมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรีและโครงสรBางบริหารความเสี่ยงคณะวิทยาศาสตร-

และเทคโนโลยีมีดังน้ี

2.3.1. สภามหาวิทยาลัย หนBาที่ความรบัผิดชอบ

(1) สJงเสริมใหBมีการบรหิารความเสี่ยง

(2) กำกับนโยบายและใหBขBอเสนอแนะแผนบริหารความเสี่ยง

2.3.2 คณบดีคณะวิทยาศาสตร-และเทคโนโลยี หนBาที่ความรับผิดชอบ

(1) สJ งเส ริม ใหB มี การบริห ารความ เสี่ ยงและการควบคุมภายในคณ ะ

วิทยาศาสตร-และเทคโนโลยี

(2) กำหนดแนวทางการบริหารความเสี่ยงของคณะวิทยาศาสตร-และ

เทคโนโลยี

Page 9: แผนบริหารความเสี่ยง ประจำปีงบประมาณ พศ. 2561fst.kru.ac.th/fst/wp-content/uploads/2017/12/Risk... · การระบุความเสี่ยง

6

(3) ใหBความเห็นชอบแผนการบริหารความเสี่ยงของคณะวิทยาศาสตร-และ

เทคโนโลยี

(4) เสนอรายงานการบริหารความเสี่ยงของคณะวิทยาศาสตร-และเทคโนโลยี

ตJอคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงของมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรีทุกสิ้นปèงบประมาณ

2.3.3 คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงของคณะวิทยาศาสตร-และเทคโนโลยี ซึ่งมี

คณบดีเปIนประธานกรรมการ หนBาที่ความรับผิดชอบ

(1) นำนโยบายการบริหารความเสี่ยงสูJการปฏิบัติ

(2) รวบรวมและระบุความเสี่ยงวิเคราะห-ความเสี่ยงของการประเมินความ

เสี่ยง

(3) จัดทำแผนการปiองกัน และลดความเสี่ยงของหนJวยงาน

(4) เสนอมาตรการจัดการความเสี่ยง

(5) จัดทำรายงานการบริหารความเสี่ยงตJอคณบดี

2.3.4 สำนักตรวจสอบภายใน หนBาที่ความรับผิดชอบ

(1) สอบทานและประเมินประสิทธิผลของกระบวนการบริหารความเสี่ยง

(2) จัดทำรายงานผลการสอบทางการประเมินผลเสนอตJออธิการบดี

3. การประเมินและการบริหารความเสี่ยง

ความเสี่ยงในการบริหารสถาบันอุดมศึกษา เปIนเหตุการณ-หรือภาวะคุกคามที่ไมJพึง

ประสงค- หรือปfญหา อุปสรรค และสถานการณ-ที่อาจสJงผลกระทบตJอวัตถุประสงค-หรือเปiาหมาย

เบี่ยงเบนไป คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงจึงกำหนดเกณฑ-การประเมินและการบริหารความเสี่ยง

ในคณะวิทยาศาสตร-และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี ตามที่คณะกรรมการการอุดมศึกษา

ไดBกำหนดแนวทางการดำเนินการของสถาบันอุดมศึกษาในการประเมินบริหารความเสี่ยงดBานกลยุทธ-

ดBานการเงิน ดBานการดำเนินงานและดBานกฎระเบียบหรือกฎหมายที่เกี่ยวขBอง ซึ่งสามารถแยกลักษณะ

และประเภทของความเสี่ยงดังน้ี

3.1. ความเสี่ยงดBานกลยุทธ- (Strategic Risk; S) คือ ความเสี่ยงที่เกิดจากการกำหนดกลยุทธ-

และนโยบายในการบริหารงานที่เหมาะสมชัดเจนหรือไมJเพียงใด

3.2. ความเสี่ยงดBานการปฏิบัติงาน (Operational Risk; O) คือ ความเสี่ยงที่เกิดจากการ

ปฏิบัติงานทุกๆ ข้ันตอน โดยครอบคลมุถึงปfจจัยที่เกี่ยวขBองกับ กระบวนการ อุปกรณ-เทคโนโลยีสารสนเทศ

บุคลากรในการปฏิบัติงาน วJามีระบบการควบคุมตรวจสอบดีเพียงใด

3.3. ความเสี่ยงดBานการเงิน (Financial Risk; F) คือ ความเสี่ยงที่เกิดจากความไมJพรBอม

ในเรื่องงบประมาณการ และการควบคุมรายจJายตJาง ๆ ที่เกินความจำเปIน

3.4. ความเสี่ยงดBานการปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ ( Compliance Risk; C) คือ ความเสี่ยง

ที่ เกิดจากการไมJสามารถปฏิบัติตามกฎระเบียบหรือกฎหมายที่เกี่ยวขBองไดB หรือกฎระเบียบที่มีอยูJ

Page 10: แผนบริหารความเสี่ยง ประจำปีงบประมาณ พศ. 2561fst.kru.ac.th/fst/wp-content/uploads/2017/12/Risk... · การระบุความเสี่ยง

7 ไมJเหมาะสม หรือเปIนอุปสรรคตJอการปฏิบัติ หรือปฏิบติัไดBทันตามเวลาที่กำหนด และอาจมีผลการลงโทษ

ตามกฎหมายที่เกี่ยวขBอง

4. กระบวนการบริหารความเสีย่ง

กระบวนการบริหารความเสี่ยง เปIนกระบวนการที่ใชBในการระบุ วิเคราะห- ประเมิน และ

จัดระดับความเสี่ยงที่มีผลกระทบตJอการบรรลุจัดวัตถุประสงค- โดยกำหนดแนวทางควบคุมเพื่อปiองกัน

หรือลดความเสี่ยงใหBอยูJในระดับที่ยอมรับไดB

กระบวนการในการบริหารความเสี่ยงไมJใชJกระบวนการที่สรBางข้ึนและเปIนอิสระ แตJเปIน

กระบวนการที่สรBางข้ึนโดยมีข้ันตอนที่ชJวยเสริมการทำงานรJวมกับโครงการหรือภาระงานที่หนJวยงาน

ปฏิบัติงานอยูJใหBเปIนไปโดยราบรื่น ปiองกันโอกาสและปfญหาที่อาจเกิดความเสี่ยงข้ึนในอนาคต

การบริหารความเสี่ยงน้ีจะเปIนการทำนายอนาคตอยJางมีเหตุผล มีหลักการและหาทางลดปiองกัน

ความเสียหายในการทำงานของโครงการเดิมแตJละข้ันตอนไวBกJอนลJวงหนBา (การวิเคราะห-และการบริหาร

ความเสี่ยง ก.พ.ร.)

ขั้นตอนการบริหารความเสี่ยง ประกอบดBวย 7 ข้ันตอนดังน้ี

4.1 การกำหนดวัตถุประสงค8 เปIนการกำหนดวัตถุประสงค-และกลยุทธ-ที่ชัดเจนของ

แผนงาน งาน โครงการ และกิจกรรม ตามแผนการปฏิบัติราชการประจำปèและแผนปฏิบัติราชการ 4 ปè

ของคณะวิทยาศาสตร-และเทคโนโลยี วัตถุประสงค-และเปiาหมายมีหลายระดับ ต้ังแตJระดับองค-กรจนถึง

ระดับกิจกรรม การกำหนดวัตถุประสงค-คำนึงถึงหลัก SMART

Specific มีการกำหนดเปiาหมายที่ชัดเจน

Measurable สามารถวัดผลหรือประเมินผลไดB

Achievable สามารถปฏิบัติใหBบรรลผุลไดB

Reasonable สมเหตุผล มีความเปIนไปไดB

Time constrained มีกรอบเวลาที่ชัดเจนและเหมาะสม

4.2 การระบุความเสี่ยง เปIนการระบุเหตุการณ-ใด ๆ ทั้งที่มีผลดี และผลเสียตJอ

การบรรลุวัตถุประสงค- โดยตBองระบุไดBวJาเหตุการณ-น้ันเกิดที่ไหนเมื่อใด และเกิดข้ึนไดBอยJางไรและทำไม

จึงเกิดข้ึน โดยคำนึงถึง

4.2.1 สภาพแวดลBอมภายนอกหนJวยงานและมหาวิทยาลัย เชJน นโยบายภาครัฐ

กฎหมาย ระเบียบขBอบังคับ เปIนตBน

4.2.2 สภาพแวดลBอมภายในหนJวยงานและมหาวิทยาลัย เชJน รูปแบบการบริหาร

สั่งการ การมอบหมายอำนาจหนBาที่การรับผิดชอบ บุคลากร วัฒนธรรมองค-กร เปIนตBน

Page 11: แผนบริหารความเสี่ยง ประจำปีงบประมาณ พศ. 2561fst.kru.ac.th/fst/wp-content/uploads/2017/12/Risk... · การระบุความเสี่ยง

8

4.3 การประเมินความเสี่ยง เปIนการวิเคราะห- และจัดลำดับความเสี่ยง โดยพิจารณา

จากการประเมินโอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง (Likelihood) และความรุนแรงของผลกระทบจากเหตุการณ-

ความเสี่ยง (Impact) โดยอาศัยเกณฑ-ที่ไดBกำหนดไวB

4.3.1 ระดับโอกาสในการเกิดเหตุการณ-ตJาง ๆ (Likelihood) กำหนดไวB 5 ระดับ

ดังน้ี

ระดับ โอกาสที่จะเกิด คำอธิบาย

เชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ

5 สูงมาก >=12 ครั้ง/ปè มีโอกาสในการเกิดเกือบทุกครัง้

4 สูง >= 6 ครั้ง/ปè มีโอกาสในการเกิดคJอนขBางสูง

3 ปานกลาง >= 3 ครั้ง/ปè มีโอกาสเกิดบางครัง้

2 นBอย >= 2 ครั้ง/ปè มีโอกาสเกิดนานๆ ครั้ง

1 นBอยมาก >= 1 ครั้ง/ปè มีโอกาสเกิดในกรณียกเวBน

4.3.2 ระดับความรุนแรงของผลกระทบของความเสี่ยง(Impact) กำหนดไวB 5 ระดับ

ดังน้ี

ระดับ ผลกระทบ คำอธิบาย

เชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ

5 สูงมาก > 2 แสนบาท มีการสูญเสียทรัพย-สินอยJางมหันต-

มีการบาดเจบ็ถึงชีวิต

4 สูง > 5 หมื่นบาท - 2 แสนบาท มีการสูญเสียทรัพย-สินมากมีการ

บาดเจบ็สาหสัถึงข้ันพักงาน

3 ปานกลาง > 1 หมื่นบาท – 5 หมื่นบาท มีการสูญเสียทรัพย-สินมากมีการ

บาดเจบ็สาหสัถึงข้ันหยุดงาน

2 นBอย > 2 พันบาท – 1 หมื่นบาท มีการสูญเสียทรัพย-สินพอสมควรมีการ

บาดเจบ็รุนแรง

1 นBอยมาก ไมJเกิน 2 พันบาท มีการสูญเสียทรัพย-สินเล็กนBอยไมJมีการ

บาดเจบ็รุนแรง

Page 12: แผนบริหารความเสี่ยง ประจำปีงบประมาณ พศ. 2561fst.kru.ac.th/fst/wp-content/uploads/2017/12/Risk... · การระบุความเสี่ยง

9

4.3.3 ระดับของความเสี่ยง (Degree of Risk) กำหนดเกณฑ-ไวB 4 ระดับ

5 สูง สูงมาก สูงมาก สูงมาก สูงมาก

4 สูง สูง สูง สูงมาก สูงมาก

3 ปานกลาง ปานกลาง สูง สูง สูงมาก

2 นBอย ปานกลาง ปานกลาง สูง สูง

1 นBอย นBอย ปานกลาง ปานกลาง สูง

1 2 3 4 5

โอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง

4.4 การประเมินมาตรการควบคุม เปIนการประเมินกิจกรรมการควบคุมทีค่วรจะมหีรอืที่

มีอยูJแลBววJาสามารถชJวยควบคุมความเสี่ยง หรือเปIนปfจจัยเสี่ยงไดBอยJางเพียงพอหรือไมJ หรือเกิด

ประสิทธิผลตามวัตถุประสงค-ของการควบคุมเพียงใด เพื่อใหBมั่นใจไดBวJาการควบคุมความเสี่ยงที่มี

ผลกระทบตJอการบรรลุวัตถุประสงค-ขององค-กรไดBอยJางมีประสิทธิภาพ การควบคุมมี 4 ประเภทคือ

4.1.1 การควบคุมเพื่อการปiองกัน (Preventive Control) เปIนวิธีการควบคุมที่

กำหนดข้ึนเพื่อปiองกันไมJใหBเกิดความเสี่ยงและขBอผิดพลาดต้ังแตJแรก เชJน การอนุมัติ การจัดโครงสรBาง

องค-กร การแบJงแยกหนBาที่ การควบคุมการเขBาถึงเอกสารขBอมูล ฯลฯ

4.1.2 การควบคุมเพื่อใหBตรวจสอบ (Detective Control) เปIนวิธีการควบคุมที่

กำหนดข้ึนเพื่อคBนพบขBอผิดพลาดที่เกิดข้ึนแลBว เชJน การสอบทาน การวิเคราะห- การตรวจนับ การ

รายงานขBอบกพรJอง ฯลฯ

4.1.3 การควบคุมโดยการช้ีแนะ (Directive Control) เปIนวิธีการควบคุมที่สJงเสริม

หรือกระตุBนใหBเกิดความสำเร็จตามวัตถุประสงค-ที่ตBองการ เชJน การใหBรางวัลแกJผูBมีผลงานดี เปIนตBน

4.1.4 การควบคุมเพื่อการแกBไข (Corrective Control) เปIนวิธีการควบคุมที่กำหนด

ข้ึนเพื่อแกBไขขBอผิดพลาดที่เกิดข้ึนใหBถูกตBอง หรือเพื่อแกBไขไมJใหBเกิดขBอผิดพลาดซ้ำอีกในอนาคต เชJน การ

จัดเตรียมเครื่องมือดับเพลิงเพื่อชJวยลดความรุนแรงของความเสียหายใหBนBอยลง เปIนตBน

4.5 การบริหาร/จัดการความเสี่ยง เปIนการนำกลยุทธ-มาตรการหรือลดความเสียหาย

ของผลกระทบในการดำเนินงานตามแผนงาน/งาน/โครงการ/กิจกรรมที่ยังไมJมีกิจกรรมควบคุมความเสี่ยง

หรือที่มีอยูJแตJยังไมJเพียงพอ และนำมาวางแผนจัดการความเสี่ยง โดยมีวิธีจัดการความเสี่ยงดังน้ี

ผลกร

ะทบข

องคว

ามเส

ี่ยง

Page 13: แผนบริหารความเสี่ยง ประจำปีงบประมาณ พศ. 2561fst.kru.ac.th/fst/wp-content/uploads/2017/12/Risk... · การระบุความเสี่ยง

10

4.5.1 การยอมรับความเสี่ยง (Risk Acceptance) เปIนการตกลงกันที่จะยอมรับ

ความเสี่ยงที่เกิดข้ึน

4.5.2 การลด/การควบคุมความเสี่ยง (Risk Reduction) เปIนการปรบัปรุงระบบการ

ทำงานหรือการออกแบบวิธีการทำงานใหมJ เพื่อลดโอกาสมารจะเกิดความเสียหาย หรือผลกระทบที่อาจ

เกิดข้ึนจากความเสี่ยง ใหBอยูJในระดับที่ยอมรับไดB

4.5.3 การกระจายความเสี่ยง/การโอนความเสี่ยง (Risk Sharing) เปIนการกระจาย

หรือถJายโอนความเสี่ยงใหBหนJวยงานอื่นชJวยแบJงความรับผิดชอบ

4.5.4 การหลีกเลี่ยงความเสี่ยง (Risk Avoidance) เปIนการจัดการกับความเสี่ยง

ที่อยูJในระดับสูงมาก และหนJวยงานไมJอาจจัดการความเสี่ยงไดB จึงตBองตัดสินใจยกเลิกโครงการ/กิจกรรม

4.6 การรายงาน เปIนการรายงานผลการวิเคราะห- ประเมิน และบริหารจัดการ

ความเสี่ยงวJามีการเสี่ยงที่ยังเหลืออยูJหรือไมJ ถBายังมีเหลืออยูJ มีอยูJในระดับความเสี่ยงสูงมากเพียงใด

และมีวิธีจัดการความเสี่ยงน้ันอยJางไร เสนอตJอผูBบริหารเพื่อใหBทราบและพิจารณาสั่งการ ทุก 6 เดือน

และสิ้นปèงบประมาณ

4.7 การติดตามและทบทวน เปIนการติดตามผลภายหลังจากไดBดำเนินการตามแผนการ

บริหารความเสี่ยงแลBว เพื่อใหBมั่นใจวJา แผนการบริหารความเสี่ยงน้ันมีประสิทธิภาพ ทั้งทราบสาเหตุของ

ความเสี่ยงที่มีผลตJอความสำเร็จ ความรุนแรงของผลกระทบ วีการบริหารจัดการกับความเสี่ยง รวมถึง

คJาใชBจJายของการควบคุม มีความเหมาะสมกับสถานการณ-การเปลี่ยนแปลง โดยมีเปiาหมายในการ

ติดตามผล คือ

4.7.1 เปIนการประเมินคุณภาพและความเหมาะสมของวิธีการจัดการความเสี่ยง

รวมทั้งติดตามผลการจัดการความเสี่ยงที่ไดBมีการดำเนินการไปแลBว วJาบรรลุวัตถุประสงค-ของการบริหาร

ความเสี่ยงหรือไมJ

4.7.2 เปIนการตรวจสอบความคืบหนBาของมาตรการควบคุมที่มีการทำเพิ่มเติมแลBว

เสร็จตามกำหนดหรือไมJ สามารถลดโอกาสหรอืผลกระทบของความเสี่ยงใหBอยูJในระดับที่ยอมรับไดBหรือไมJ

Page 14: แผนบริหารความเสี่ยง ประจำปีงบประมาณ พศ. 2561fst.kru.ac.th/fst/wp-content/uploads/2017/12/Risk... · การระบุความเสี่ยง

11

แผนผังภาพรวมของแนวทางการบริหารความเสี่ยง

5. การจัดทำแผนบริหารความเสีย่ง

จากการดำเนินงานของคณะกรรมการวางร ะ บ บ ก า ร บ ริห า ร ความ เสี ่ย งของ

มหาวิทยาลัย ซึ่งมีหนBาที่กำหนดแนวทางการบริหารความเสี่ยง รายงานผลการบริหารความเสี่ยง

พรBอมทั้งใหBขBอเสนอแนะในการบริหารความเสี่ยงของมหาวิทยาลัย ในปèการศึกษา 2561 หรือ

ปèงบประมาณ 2561 คณะวิทยาศาสตร-และเทคโนโลยีจึงดำเนินการดังน้ี

5.1 ดำเนินการตามกระบวนการบริหารความเสี่ยงที่ เปIนมาตรฐานเดียวกันตามที่

มหาวิทยาลัยกำหนด

5.2 รายงานการบริหารความเสี่ยงของหนJวยงาน เพื่อใหBคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง

ของมหาวิทยาลัย สามารถติดตามและประเมินผลการจัดการบริหารความเสี่ยงของคณะไดB

5.3 วิเคราะห-ปfจจัยที่จะกJอใหBเกิดความเสี่ยงตามโครงการ/กิจกรรมตามแผนงบประมาณ

รายจJายประจำปèงบประมาณ พ.ศ. 2561

การสือ่สาร

1. กำหนดวัตถุประสงค-

3. การประเมินความเสี่ยง

4. การประเมินมาตรการควบคุม

2. การระบุความเสี่ยง

5. การบรหิาร/จัดการความเสี่ยง

ระบบสารสนเทศ

7. การ

ติดตาม

ผลและ

ทบทวน

6. การ

รายงาน

Page 15: แผนบริหารความเสี่ยง ประจำปีงบประมาณ พศ. 2561fst.kru.ac.th/fst/wp-content/uploads/2017/12/Risk... · การระบุความเสี่ยง

12

5.4 ดำเนินงานตามกรอบของการบริหารความเสี่ยงตามที่คณะกรรมการบรหิารความ

เสี่ยงของมหาวิทยาลัยกำหนด โดยครอบคลุม

คณะกรรมการจัดทำแผนบริหารความเสี่ยง ไดBรJวมกันดำเนินการทบทวนแผนบริหารความ

เสี่ยงของคณะวิทยาศาสตร-และเทคโนโลยี ประจำปèงบประมาณ พ.ศ. 2560 และนำผลการรายงานการ

ดำเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยง ประจำปèงบประมาณ พ.ศ. 2560 มาจัดทำแผนบริหารความเสี่ยง

ของคณะวิทยาศาสตร-และเทคโนโลยี ประจำปèงบประมาณ พ.ศ. 2561 โดยคณะกรรมการบริหารความ

เสี่ยงไดBมีมติในการวิเคราะห-ความเสี่ยงตามยุทธศาสตร-ของคณะวิทยาศาสตร-และเทคโนโลยี จำนวน 6

ประเด็นความเสี่ยง 12 ปfจจัยเสี่ยง ดังน้ี

Page 16: แผนบริหารความเสี่ยง ประจำปีงบประมาณ พศ. 2561fst.kru.ac.th/fst/wp-content/uploads/2017/12/Risk... · การระบุความเสี่ยง

13

การระบุความเสี่ยงและการประเมินความเสี่ยง

ประเด็นความเสีย่ง ประเภทความเสี่ยง

ปัจจัยเสี่ยง

การประเมินความเสี่ยง ลำดับความเสี่ยง

โอกาส ผลกระทบ ระดับความเสี่ยง

1.จำนวนนักศึกษาไม่เป็นไปตามเป้าหมาย

S 1.1 ภาพลักษณ์ ช่ือเสียง และค่านิยมของนักเรียนในการเลือกสถานที่เรียนหรือสถาบันอุดมศึกษาทีม่ีช่ือเสียงมากกว่า

5 5 สูงมาก 1

1.2 การประชาสัมพันธ์ยังไม่ครอบคลุมในบางเรื่องทำให้ชุมชนและ

สังคมยังขาดความเข้าใจ และความเช่ือมั่นที่จะศึกษาในหลกัสูตร

ของคณะ

5 4 สูงมาก 2

1.3 การแข่งขันของมหาวิทยาลัยต่างๆในด้านคุณภาพและบริการ 4 4 สูงมาก 3

2.งานวิจัยและงานสร้างสรรค์ที่ตีพิมพ์ เผยแพร่ในระดับชาติและ

นานาชาติ หรือพัฒนาต่อยอดเชิง

พาณิชย์มีจำนวนน้อยมาก

S 2.1 ผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพมิพ์เผยแพร่ยังมจีำนวนไม่มากและส่วนใหญ่ตีพมิพ์ในวารสารทีม่ี impact factor ต่ำ ทำให้ไม่เป็นที่

รู้จักชุมชนและสงัคม

3 3 สูง 4

2.2 ผลงานวิจัยที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์และต่อยอดองค์ความรู้

ในเชิงพาณิชย์ยังมีจำนวนน้อย

3 3 สูง 4

Page 17: แผนบริหารความเสี่ยง ประจำปีงบประมาณ พศ. 2561fst.kru.ac.th/fst/wp-content/uploads/2017/12/Risk... · การระบุความเสี่ยง

14

ประเด็นความเสีย่ง ประเภทความเสี่ยง

ปัจจัยเสี่ยง

การประเมินความเสี่ยง ลำดับความเสี่ยง

โอกาส ผลกระทบ ระดับความเสี่ยง

3. ความเข้าใจระหว่างผู้นำชุมชนกับ

ชาวบ้านในความสำคัญของการบริการวิชาการ

S 3.1 ความไม่ต่อเน่ืองหรือการต่อยอดของโครงการ เน่ืองจากมีพื้นที่

ในการจัดทำโครงการทีม่ากข้ึน

3 2 ปานกลาง 5

3.2 ช่วงเวลาทีเ่หมาะสมของชุมชนและผูร้ับผิดชอบโครงการ ไม่

สอดคล้องกัน เช่น ช่วงปิดเทอม-ช่วงฤดู เพาะปลกูหรือเก็บเกี่ยว

ของชาวบ้าน อาจต้องเลื่อน หรืองดจัดอบรม

2 2 ปานกลาง 7

4.การจัดเกบ็เอกสารทางราชการยังไม่มีระบบที่ชัดเจน

O 4.1 อุปกรณ์จัดเกบ็ข้อมูล (Hard Disk) มีอายุการใช้งาน จึงมีความเสี่ยงต่อการเสือ่มของอุปกรณ์

2 2 ปานกลาง 7

5.การเบิกจ่ายงบประมาณและงาน

บริการวิชาการแบบมีรายได้ล่าช้า

F 5.1 การเปลี่ยนแปลงนโยบายของภาครัฐ เช่น ระเบียบ

กระทรวงการคลงัว่าด้วยการจัดซือ้จัดจ้างและการบรหิารพสัดุ

ภาครัฐ พ.ศ. 2560

1 2 ปานกลาง 8

5.2 ข้ันตอนการเบิกจ่ายงบประมาณโดยเฉพาะส่วนงานบริการวิชาการของมหาวิทยาลัยขาดความชัดเจน ทำใหเ้กิดความลา่ช้า

1 2 ปานกลาง 8

Page 18: แผนบริหารความเสี่ยง ประจำปีงบประมาณ พศ. 2561fst.kru.ac.th/fst/wp-content/uploads/2017/12/Risk... · การระบุความเสี่ยง

15

ประเด็นความเสีย่ง ประเภทความเสี่ยง

ปัจจัยเสี่ยง

การประเมินความเสี่ยง ลำดับความเสี่ยง

โอกาส ผลกระทบ ระดับความเสี่ยง

6.ความปลอดภัยการมาเรียนและ

ปฏิบัติงานในอาคารคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของ

บุคลากร นักเรียน นักศึกษา

O 6.1 ระเบียงภายในอาคารคณะไม่มีราวกั้นอาจเกิดการพลัดตกของ

นักเรียนโรงเรียนสาธิตฯที่มาใช้ห้องปฏิบัติการของอาคารได้

1 4 ปานกลาง 7

6.2 อันตรายจากหม้อแปลงไฟฟ้าระเบิดบรเิวณด้านข้างของอาคาร 1 5 ปานกลาง 6

Page 19: แผนบริหารความเสี่ยง ประจำปีงบประมาณ พศ. 2561fst.kru.ac.th/fst/wp-content/uploads/2017/12/Risk... · การระบุความเสี่ยง

17

แผนบริหารความเสี่ยง คณะวิทยาศาสตร8และเทคโนโลยี ประจำป>งบประมาณ พ.ศ. 2561

ในระหว(างที่นำมาตรการลดความเสี่ยงในแต(ละป:จจัยเสี่ยงไปปฏิบัติน้ัน ในแต(ละช(วงเวลาตCอง

จัดทำรายงานผลการปฏิบัติงาน และจะตCองมีการควบคุม กำกับ ติดตามความกCาวหนCาของงาน หากพบ

ป:ญหา อุปสรรคต(าง ๆ เพื่อนำไปสู(การแกCไข ตลอดจนมีการประเมินผลสำเร็จของแผนบริหารความเสี่ยง

เพื่อเปNนขCอมูลยCอนกลับ (Feedback) ไปยังข้ันตอนการวางแผนการจัดการความเสี่ยง และการนำไป

ปฏิบัติในปXต(อไป

กระบวนการควบคุมและประเมินผลตามแผนบริหารความเสี่ยง จะประกอบดCวย 3

องคZประกอบที่สำคัญ ไดCแก(

1. การวัดและประเมินผล จะประกอบดCวยกระบวนงานย(อย 3 ข้ันตอน ไดCแก( 1) การเก็บ

รวบรวมขCอมูล 2) การวิเคราะหZและประเมินผลขCอมลู 3) การเสนอผลการประเมนิ การวัดและประเมินผล

จะเปNนการประเมินผลความสำเร็จของการปฏิบัติงานตามแผนแต(ละรอบเวลาที่กำหนด

2. การติดตามระหว(างการปฏิบัติงาน เปNนการติดตามจากผูCบริหารที่ตCองรับผิดชอบตามที่ไดC

กำหนดไวCในแผนบริหารความเสี่ยง

3. การติดตามเปNนรายครั้ง โดยคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง จะไดCมีการจัดทำแผนการ

ติดตามและจัดทำรายงานผลการติดตามทุก 6 เดือน ดังน้ี

ครั้งที่ 1 ติดตามและรายงานผล ระหว(างเดือน ตุลาคม 2560 – มีนาคม 2561

ครั้งที่ 2 ติดตามและรายงานผล ระหว(างเดือน เมษายน – กันยายน 2561

คณะกรรมการจัดทำแผนบริหารความเสี่ยง คณะวิทยาศาสตรZและเทคโนโลยี ไดCดำเนินการ

ตามกระบวนการบริหารความเสี่ยงต้ังแต(การระบุความเสี่ยง การระบุป:จจัยเสี่ยง การประเมินความเสี่ยง

การวิเคราะหZความเสี่ยง การจัดลำดับความเสี่ยง พรCอมทั้งไดCประเมินการควบคุมที่มอียู(แลCว แต(ยังไม(ไดCผล

นำมาจัดลำดับความเสี่ยงในระดับมาก และมากที่สุด สรปุไดCดังน้ี

ประเด็นความเสีย่ง/ปัจจัยเสี่ยง ระดับความเสี่ยง 1.จำนวนนักศึกษาไม่เป็นไปตามเป้าหมาย 1.1 ภาพลักษณ์ ช่ือเสียง และค่านิยมของนักเรียนในการเลือกสถานที่เรียนหรือสถาบันอุดมศึกษาที่มีช่ือเสียงมากกว่า

สูงมาก

1.2 การประชาสัมพันธ์ยังไม่ครอบคลุมในบางเรื่องทำให้ชุมชนและสังคมยังขาดความเข้าใจ และความเช่ือม่ันที่จะศึกษาในหลักสูตรของคณะ

สูงมาก

1.3 การแข่งขันของมหาวิทยาลัยต่างๆในด้านคุณภาพและบริการ สูงมาก 2.งานวิจัยและงานสร้างสรรค์ท่ีตีพิมพ์ เผยแพร่ในระดับชาติและนานาชาติ หรือพัฒนาต่อยอดเชิงพาณิชย์มีจำนวนน้อยมาก 2.1 ผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ยังมีจำนวนไม่มากและส่วนใหญ่ตีพิมพ์ในวารสารที่มี impact factor ต่ำ ทำให้ไม่เป็นที่รู้จักชุมชนและสังคม

สูง

Page 20: แผนบริหารความเสี่ยง ประจำปีงบประมาณ พศ. 2561fst.kru.ac.th/fst/wp-content/uploads/2017/12/Risk... · การระบุความเสี่ยง

18 2.2 ผลงานวิจัยที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์และต่อยอดองค์ความรู้ในเชิงพาณิชย์ยังมีจำนวนน้อย

สูง

จากตารางดังกล(าว คณะกรรมการจัดทำแผนบริหารความเสี่ยง คณะวิทยาศาสตรZและ

เทคโนโลยี จึงไดCนำความเสี่ยงและป:จจัยเสี่ยงจากการจัดลำดับ ที่มีค(าคะแนนความเสี่ยงในระดับสูง และ

สงูมาก มาดำเนินการจัดทำแผนบรหิารความเสี่ยง คณะวิทยาศาสตรZและเทคโนโลยี ประจำปXงบประมาณ

พ.ศ. 2561 รายละเอียดดังตารางต(อไปน้ี

Page 21: แผนบริหารความเสี่ยง ประจำปีงบประมาณ พศ. 2561fst.kru.ac.th/fst/wp-content/uploads/2017/12/Risk... · การระบุความเสี่ยง

19

แบบรายงานผลการบริหารความเส่ียง คณะวิทยาศาสตร:และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี

(ครั้งที่ 1 ระหวFางเดือนตุลาคม 2558 – พฤษภาคม 2561)

1.จำนวนนักศึกษาไมเ่ป็นไปตามเป้าหมาย ปTจจัยความเส่ียง การจัดการความเส่ียง กำหนดเสร็จ/

ผูYรับผิดชอบ การดำเนินงาน สถานการณ:ดำเนินงาน ผลการดำเนินงาน

1.1 ภาพลักษณ์ ช่ือเสียง และค่านิยมของนักเรียนในการเลือกสถานที่เรียนหรือสถาบันอุดมศึกษาที่ มี ช่ือเสียงมากกว่า

การจัดประชาสัมพันธ0

เชิงรุกของหลักสูตรและ

คณะ

กันยายน2561

รองวิชาการ/หลักสูตร

ดำเนินโครงการประชาสัมพันธ0เชิงรุกใน

รูปแบบที่หลากหลายทั้งกิจกรรมลดเวลา

เรียนเพิ่มเวลารูM คNายวิทยาศาสตร0

ตุลาคม 2560 - กันยายน2561 ระดับความเส่ียงไมFลดลง

1.2 ก า ร ป ร ะ ช า สั ม พั น ธ์ ยั ง ไ ม่ครอบคลุมในบางเรื่องทำให้ชุมชนและสังคมยังขาดความเข้าใจ และความเช่ือม่ันที่จะศึกษาในหลักสูตรของคณะ 1.3 การแข่งขันของมหาวิทยาลัยต่างๆในด้านคุณภาพและบริการ

2. การประชุมรNวมรับฟTง

ค ว า ม ตM อ ง ก า ร ข อ ง

ทMองถิ่นและทำบันทึ ก

ค ว า ม รN ว ม มื อ ท า ง

วิชาการ (MOU) สรMาง

ค ว า ม เ ช่ื อ ม่ั น ใหM กั บ

ทMองถิ่นและสังคม

กันยายน2561

รองคณบดีฝ̂ายวิชาการ

รองคณบดี ฝ̂ายกิจการ

พิเศษ

-จัดประชุมโรงเรียน และองค0กรปกครอง

สNวนทMองถิ่น เพื่ อสรุปประเด็นความ

ตMองการ นำไปสูNแนวทางการวิจัยและ

บริการวิชาการเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต

ของชุมชน โดยมีการทำบันทึกขMอตกลง

ทางวิชาการ

-จัด กิจกรรมบริ ก าร วิชาการ ใหM กั บ

นัก เรีย น ใน จังห วัด กาญ จนบุ รี แล ะ

สุพรรณบุร ี

ตุลาคม 2560 - กันยายน2561 ระดับความเส่ียง

ลดลง

Page 22: แผนบริหารความเสี่ยง ประจำปีงบประมาณ พศ. 2561fst.kru.ac.th/fst/wp-content/uploads/2017/12/Risk... · การระบุความเสี่ยง

20

2.งานวิจัยและงานสร้างสรรค์ท่ีตีพิมพ์ เผยแพร่ในระดับชาติและนานาชาติ หรือพัฒนาต่อยอดเชิงพาณิชย์มีจำนวนน้อยมาก ปTจจัยความเส่ียง การจัดการความเส่ียง กำหนดเสร็จ/

ผูYรับผิดชอบ การดำเนินงาน สถานการณ:ดำเนินงาน ผลการดำเนินงาน

2.1 ผลงานวิจัยที่ ได้ รับการตีพิ มพ์เผยแพร่ยังมีจำนวนไม่มากและส่วนใหญ่ตีพิ มพ์ ในวารสารที่ มี impact factor ต่ำ ทำให้ไม่เป็นที่รู้จักชุมชนและสังคม 2.2 ผลงานวิจัยที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์และต่อยอดองค์ความรู้ในเชิงพาณิชย์ยังมีจำนวนน้อย

2 .1 .1 จั ด โ ค ร ง ก า ร

สนับสนุนงานวิจัยของ

นักศึกษาและอาจารย0

กันยายน2561

รองคณ บดี ฝ̂ าย กิ จการ

พิเศษ

1 . จัด สรรงบ ประมาณ สนับส นุน

งานวิจัยของนักศึกษา จำนวน 20,000

บาท

2 . จัด สรรงบ ประมาณ สนับส นุน

งานวิจัยของอาจารย0 จำนวน 10,000

บาท

ดำเนินการแลMว

1. นักศึกษาไดMรับทุนสนับสนุน

งานวิจัย จำนวน 5 เรื่อง คิดเปfน

เงิน 20,000 บาท

2. อาจารย0ไดMรับทุนสนับสนุน

งานวิจัย จำนวน 1 เรื่อง คิดเปfน

เงิน 10,000 บาท

ระดับความเส่ียง ลดลง

2 .2 .1 จั ด โ ค ร ง ก า ร

สนับสนุนทุนในการเขMา

รNวมการเผยแพรNงานวิจัย

กันยายน2561

คณะจัดสรรงบประมาณสนับสนุนทุน

ในการเขMารNวมการเผยแพรNงานวิจัยใน

ภาพรวมของการพัฒนาบุคลากร

ดำเนินการแลMว

อาจารย0ไดMรับงบประมาณพัฒนา

บุคลากร เฉ ล่ียคนละ 3,000

บาท

ระดับความเส่ียง ลดลง

Page 23: แผนบริหารความเสี่ยง ประจำปีงบประมาณ พศ. 2561fst.kru.ac.th/fst/wp-content/uploads/2017/12/Risk... · การระบุความเสี่ยง

ภาคผนวก

Page 24: แผนบริหารความเสี่ยง ประจำปีงบประมาณ พศ. 2561fst.kru.ac.th/fst/wp-content/uploads/2017/12/Risk... · การระบุความเสี่ยง

คำสั่งคณะวิทยาศาสตร2และเทคโนโลย ี

ท่ี ๐๐๙ / ๒๕๖๑

เร่ือง แตBงต้ังคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง

คณะวิทยาศาสตร2และเทคโนโลยี

-----------------------------------------------------

เพื่อให)การดำเนินงานบริหารความเสี่ยงของคณะวิทยาศาสตร<และเทคโนโลยีดำเนินไปอยCางมี

ประสิทธิภาพ คณะวิทยาศาสตร<และเทคโนโลยีจึงแตCงต้ังคณะกรรมการปฏิบัติหน)าทีดั่งตCอไปน้ี

๑. ดร.ธัญวภณ ย่ิงประเสริฐชัย ประธานกรรมการ

๒. ผศ.ดร.พงษ<ศักด์ิ รวมชมรัตน< กรรมการ ๓. ผศ.ดร.พจนีย< สุขชาวนา กรรมการ ๔. ผศ.ดร.นิตยา วานิกร กรรมการ

๕. ผศ.จุไรรัตน< ประเสริฐสนิท กรรมการ ๖. ดร.สมพงศ< มาเบ)า กรรมการ ๗. ดร.เฉลียว เพชรทอง กรรมการ

๘. นายกิตติพงษ< คงเอียด กรรมการ ๙. นายณรงค<ศักด์ิ พิทักษ<ตันสกุล กรรมการ

๑๐. นางสาวอุไรรัตน< แซCต้ัง กรรมการ

๑๑. นางมนต<สวรรค< พลอยมุกดา กรรมการ ๑๒. นางสาวกัญญา ภัทรกุลอมร กรรมการ ๑๓. ดร.ปกรณ< ประจวบวัน กรรมการ

๑๒. นางจุฑามาศ พรมแดง กรรมการและเลขานุการ ๑๓. นางสาวเอื้อมพร ศรีกรด กรรมการและผู)ชCวยเลขานุการ

หนIาท่ี

๑. จัดทำแผนบริหารความเสี่ยงโดยเน้นการมีส่วนร่วมของบุคลากรทุกฝ่ายในคณะ ๒. ดำเนินกิจกรรมจัดการความเสี่ยงตามแผนบริหารความเสี่ยงที่กำหนดไว้ ๓. กำกับ ติดตาม และประเมินผลการดำเนินงานตามแผนและรายงานต่อคณะกรรมการบริหารคณะ

Page 25: แผนบริหารความเสี่ยง ประจำปีงบประมาณ พศ. 2561fst.kru.ac.th/fst/wp-content/uploads/2017/12/Risk... · การระบุความเสี่ยง

๔. วิเคราะห ์และกำหนดแนวทางปรับปรุงแผนบริหารความเสี่ยง สั่ง ณ วันที่ ๖ เดือน กุมภาพันธ< พ.ศ. ๒๕๖๑

(ดร.ธัญวภณ ย่ิงประเสริฐชัย)

คณบดีคณะวิทยาศาสตร<และเทคโนโลยี

Page 26: แผนบริหารความเสี่ยง ประจำปีงบประมาณ พศ. 2561fst.kru.ac.th/fst/wp-content/uploads/2017/12/Risk... · การระบุความเสี่ยง

คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี 70 หมู่ที่ 4 ตำบลหนองบัว อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี 71190 Phone/ FAX   034-534092 เว็บไซต์ http://fst.kru.ac.th/ Email [email protected] Location 14° 3’32.68″N 99°25’40.94″E