ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับท่านปรีดีและกรณีสวรรคต...

Post on 27-Jul-2015

3.163 Views

Category:

Documents

1 Downloads

Preview:

Click to see full reader

DESCRIPTION

จากความขัดแย้งระหว่างพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 7) กับรัฐบาลพระยาพหลพลพยุหเสนา อันเป็นเหตุให้รัชกาลที่ 7 ทรงสละราชสมบัติเมื่อวันที่ 2 มีนาคม 2477 และโดยที่รัชกาลที่ 7 ไม่ได้ทรงแต่งตั้งผู้ใดเป็นองค์รัชทายาท รัฐบาลพระพหลพลพยุหเสนาจึงประชุมปรึกษาหารือกันในระหว่างเวลา 5 วัน ตั้งแต่วันที่ 2 - 7 มีนาคม 2477 เพื่อพิจารณาหาเจ้านายในพระราชวงศ์จักรีขึ้นเป็นองค์พระมหากษัตริย์สืบต่อไปตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญพุทธศักราช 2475 และโดยนัยแห่งกฎมณเฑียรบาลพุทธศักราช 2476

TRANSCRIPT

สารบัญ

อัญเชิญข้ึนครองราชย 1 ปกปองราชบัลลังก 6 ปกปองพระเกียรติ 9 ถวายความจงรักภักดี 12 โปรดเกลาปรีดีเปนนายกรัฐมนตรี 18 เสด็จสวรรคต 23 รัฐประหารวันที่ 8 พฤศจิกายน 2490 29 คดีประวัติศาสตร 31 ปจฉิมวาจาของ 3 นักโทษประหาร 36

อัญเชิญขึ้นครองราชย จากความขัดแยงระหวางพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลท่ี 7) กับรัฐบาลพระยาพหลพลพยุหเสนา อันเปนเหตุใหรัชกาลท่ี 7 ทรงสละราชสมบัติเม่ือวันท่ี 2 มีนาคม 2477 และโดยที่รัชกาลท่ี 7 ไมไดทรงแตงต้ังผูใดเปนองครัชทายาท รัฐบาลพระพหลพลพยุหเสนาจึงประชุมปรึกษาหารือกันในระหวางเวลา 5 วัน ตั้งแตวันท่ี 2 - 7 มีนาคม 2477 เพื่อพิจารณาหาเจานายในพระราชวงศจักรีข้ึนเปนองคพระมหากษัตริยสืบตอไปตามบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญพุทธศักราช 2475 และโดยนัยแหงกฎมณเฑียรบาลพุทธศักราช 2476 กฎมณเฑียรบาลวาดวยการสืบราชสันตติวงศมีดวยกัน 8 หมวด 21 มาตรา หมวดท่ีสําคัญคือ หมวดที่ 4 วาดวยลําดับข้ันผูสืบราชสันตติวงศ และหมวดท่ี 5 วาดวยผูท่ีตองยกเวนจากการสืบราชสันตติวงศ หมวดท่ี 4 มาตรา 9 บัญญัติไววา

คร้ันแลวทานก็ลําดับพระญาติวงศผูมีสิทธ์ิสืบราชสันตติวงศนับแตสมเด็จหนอพุทธเจาเปนปฐมลงไป สรุปเปนภาษาไทยใหเขาใจงายๆดังนี้ ลําดับท่ี 1 : พระราชโอรสหรือพระราชนัดดา ลําดับท่ี 2 : กรณีสมเด็จพระเจาอยูหัวไรพระราชโอรสและพระราชนัดดา แตทรงมีสมเด็จอนุชาท่ีรวมพระราชชนนี หรือพระราชโอรสของสมเด็จพระอนุชา ลําดับท่ี 3 : กรณีสมเด็จพระเจาอยูหัวไรพระราชโอรสและพระราชนัดดา กับไรท้ังสมเด็จพระอนุชารวมพระราชชนนี แตทรงมีสมเด็จพระเชษฐา หรือสมเด็จพระอนุชาตางพระราชชนนี หรือพระโอรสของสมเด็จพระเชษฐาหรือพระอนุชา ลําดับท่ี 4 : กรณีสมเด็จพระเจาอยูหัวไรพระราชโอรสและพระราชนัดดา กับท้ังไรสมเด็จพระอนุชารวมพระราชชนนี และไรสมเด็จพระเชษฐา หรือพระอนุชาตางพระราชชนนี แตทรงมีพระเจาพี่ยาเธอหรือพระเจานองยาเธอ หรือพระโอรสของพระเจาพี่ยาเธอหรือพระเจานองยาเธอ ลําดับท่ี 5 : กรณีสมเด็จพระเจาอยูหัวไรพระราชโอรสและไรพระราชนัดดา พระอนุชารวมพระราชชนนีและพระอนุชาตางพระราชชนนี พระเจาพี่ยาเธอ นองยาเธอ แตทรงมีสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ และพระเจาบรมวงศเธอหรือพระโอรส

“ลําดับข้ันเช้ือพระบรมราชวงศซ่ึงจะควรสืบราชสันตติวงศนั้นทานวาใหเลือกตามสายตรงกอนเสมอ ตอไมสามารถเลือกทางก็ตรงไดแลวจึงใหเลือกตามเกณฑท่ีสนิทมากและนอย เพื่อใหส้ินสงสัย ทานวาใหวางลําดับสืบราชสันตติวงศไวดังตอไปนี้”

1

ดังกลาวนี้คือ ลําดับพระองคผูมีสิทธ์ิสืบราชสันตติวงศตามกฎมณเฑียรบาลมาตรา 9 แตมีขอบังคับวาดวยผูท่ีตองยกเวนจากการสืบราชสมบัติไวในหมวด 5 มาตรา 11 วา 1. มีพระสัญญาวิปลาศ 2. ตองราชทัณฑ เพราะประพฤติผิดพระราชกําหนดกฎหมายในคณบดีมหันตโทษ 3. ไมสามารถทรงเปนอัครพุทธศาสนูปถัมภก 4. มีพระชายาเปนนางตางดาว กลาวคือ นางท่ีมีสัญชาติเดิมเปนชาวประเทศอ่ืน นอกจากชาวไทยโดยแท 5. เปนผูท่ีไดถูกถอดถอนออกแลวจากตําแหนงพระรัชทายาท ไมวาการถูกถอดถอนจะไดเปนไปในรัชกาลใดๆ 6. เปนผูท่ีไดถูกประกาศยกเวนออกเสียจากลําดับสืบราชสัตติวงศ กฎมณเฑียรบาลวาดวยการสืบราชสัตติวงศดังกลาวนี้ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลท่ี 6) ไดทรงตราข้ึนกอนท่ีพระองคจะเสด็จสวรรคตเพียง 1 ป (ตราข้ึนในเดือนพฤศจิกายน 2467 และพระองคสวรรคตในวันท่ี 25 พฤศจิกายน 2468) และกอนท่ีพระองคจะสวรรคต 2 เดือน พระองคไดทรงมีพระบรมราชโองการลงวันท่ี 2 กันยายน 2468 ถึงเสนาบดีวังเกี่ยวกับองครัชทายาทที่จะสืบสัตติวงศตอจากพระองคทาน (ขณะน้ันสมเด็จพระนางเจาสุวัฒนาพระวรราชเทวีกําลังทรงพระครรภยังไมแนวาจะเปนพระราชโอรสหรือพระราชธิดา) พระบรมราชโองการมีความตอนหนึ่งวา

ตอมาในวันท่ี 24 พฤศจิกายน 2468 กอนสวรรคตเพียงวันเดียวสมเด็จพระนางเจาสุวัทนาพระวรราชเทวีไดประสูติพระราชธิดา (เจาฟาเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี) จึงเปนอันวารัชกาลท่ี 6 ไมมีพระราชโอรสท่ีจะสืบราชสัตติวงศ การสืบราชสันตติวงศจึงตองเปนไปตามเง่ือนไขขอ 2 แหงกฎมณเฑียรบาล เง่ือนไขขอ 2 ไดบัญญัติไววา

รัชกาลท่ี 6 ทรงมีพระเชษฐภคินีและพระอนุชารวมพระราชชนนีดวยกัน 9 พระองคคือ 1. สมเด็จเจาฟาหญิงพาหุรัดมณีมัย (ประสูติเม่ือ 14 ธันวาคม 2421 ส้ินพระชนมเม่ือ 26 สิงหาคม 2430) 2. พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลท่ี 6) 3. สมเด็จเจาฟาตรีเพชรุตมธํารง 4. สมเด็จเจาฟาจักรพงษภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ (ตนสกุลจักรพงษ ณ อยุธยา)

“...ใหขามหมอมเจาวรานนทธวัชในสมเด็จเจาฟากรมขุนเพชรบูรณอินทราไชยน้ันเสียเถิด เพราะ ม.จ. วรานนทธวัช จุฑาธุช มีแมท่ีไมมีชาติสกุลเกรงวาจะไมเปนท่ีเคารพแหงพระบรมวงศานุวงศ...”

“กรณีซ่ึงสมเด็จพระเจาอยูหัวไรพระราชชนนีหรือพระโอรสของสมเด็จพระอนุชา”

2

5. สมเด็จเจาฟาศิริราชกกุธภัณฑ 6. สมเด็จเจาฟาหญิง (ประสูติและส้ินพระชนมในวันเดียวกัน) 7. สมเด็จเจาฟาอัษฎาวงศเดชาวุธ กรมหลวงนครราชสีมา (ตนสกุลอัษฎางค ณ อยุธยา) 8. สมเด็จเจาฟาจุฑาธุช กรมขุมเพชรบูรณอินทราไชย (ตนสกุลจุฑาธุช) 9. สมเด็จเจาฟาประชาธิปก กรมขุนสุโขทัยธรรมราชา (รัชกาลท่ี 7) ในขณะท่ีรัชกาลที่ 6 สวรรคตน้ัน พี่นองรวมพระราชชนนีกับพระองคท่ียังทรงมีพระชนชีพอยูก็แตสมเด็จเจาฟาประชาธิปก กรมขุนสุโขทัยธรรมราชาพระองคเดียวซ่ึงเปนพระอนุชาองคสุดทอง และมีนัดดา 2 พระองคคือ พระองคเจาจุลจักรพงษ (โอรสของกรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ กับหมอมเจาวรานนทธวัช โอรสของกรมขุนเพชรบูรณอินทราไชย) สมเด็จเจาฟาจักรพงษภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถขณะยังมีพระชนมชีพอยูนั้น ดํารงฐานะเปนรัชทายาทของรัชกาลท่ี 6 ดวยเปนพระอนุชาถัดจากพระองค และขณะนั้นสมเด็จเจาฟาจักรพงษภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถมีหมอมคัทรินเปนพระชายาซ่ึงพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลท่ี 5) พระราชบิดาทรงรับเปนสะใภหลวง ม.ร.ว. นริศรา จักรพงษ พระธิดาพระองคเจาจุลจักรพงษเลาไวในหนังสือ “แคทยาและเจาฟาสยาม” วา ช่ือ จุลจักรพงษ เปนช่ือท่ีรัชกาลท่ี 6 ทรงประทานต้ังให โดยเปล่ียนจากช่ือ พงษจักร ท่ีสมเด็จพระบรมราชินีนาถเสาวภาผองศรีประทานต้ังใหแตแรก ดังนั้นตามเงื่อนไขขอ 2 แหงกฎมณเฑียรบาลวาดวยการสืบราชสัตติวงศ พระองคเจาจุลจักรพงษจึงอยูในฐานะท่ีจะไดรับการสถาปนาข้ึนเปนพระมหากษัตริยสืบตอจากรัชกาลท่ี 6 เพราะเปนพระโอรสของสมเด็จพระอนุชา องครัชทายาท (สมเด็จเจาฟาจักรพงษภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ) สวน ม.จ. วรานนทธวัช จุฑาธุช (พระโอรสของกรมขุนเพชรบูรณอินทราไชย) นั้นซ่ึงตามกฎมณเฑียรบาลก็มีสิทธ์ิสืบราชสัตติวงศเปนพระองคถัดไปจากพระองคเจาจุลจักรพงษ แตรัชกาลท่ี 6 ทรงมีพระบรมราชโองการใหขามไปเสียดังท่ียกมาขางตน จากพระบรมราชโองการฉบับวันท่ี 21 กันยายน 2468 เปนเคร่ืองช้ีใหเห็นวา รัชกาลท่ี 6 ทรงรับในสิทธ์ิสืบราชสันตติวงศของพระองคเจาจุลจักรพงษ เพราะถาพระองคไมทรงรับในสิทธ์ิดังกลาวนี้ พระองคจะตองระบุไวในพระบรมราชโองการฉบับเดียวกันนี้วา ใหขามไปเสีย (เพราะมีแมเปนนางตางดาว) เชนเดียวกับท่ีทรงระบุใหขาม ม.จ. วรานนทธวัช (เพราะมีแมท่ีไมมีชาติสกุล) นั้นแลว แตมีแมเปนนางตางดาวไมอยูในขอหามตามมาตรา 11 (4) หามแตมีชายาเปนนางตางดาวเทานั้น ในท่ีประชุมของพระบรมวงศานุวงศช้ันผูใหญในคืนวันท่ี 2 พฤศจิกายน 2468 ซ่ึงมีสมเด็จเจาฟาพระยาภาณุพันธวงศวราเปนประธานของท่ีประชุมอันประกอบดวย เจาฟากรมพระนครสวรรควรพินิต ผูเปยมไปดวยพระบารมีไดมีความเห็นไหอัญเชิญสมเด็จเจาฟาประชาธิปก กรมขุนสุโขทัยธรรมราชาข้ึนครองราชยเปนพระมหากษัตริยองคท่ี 7 แหงราชวงศจักรี ดังนั้นเม่ือรัชกาลท่ี 7 ทรงสละราชสมบัติ โดยกฎมณเฑียรบาลพระองคผูสืบราชสัตติวงศคือ พระองคเจาจุลจักรพงษซ่ึงเปนสายตรงคือ โอรสของพระเชษฐา (สมเด็จเจาฟาจักรพงษภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชา

3

นาถ) ท่ีมีสิทธ์ิในการสืบราชสันตติวงศกอนรัชกาลท่ี 7 แตดวยบารมีของสมเด็จพระพี่ยาเธอ เจาฟากรมพระนครสวรรควรพินิตไดชวยสงใหรัชกาลท่ี 7 ข้ึนสูราชบัลลังกขามพระองคเจาจุลจักรพงษไป สวนสมเด็จเจาฟามหิดลอดุยเดช กรมหลวงสงขลานครินทรนั้น เปนอนุชาของสมเด็จเจาฟามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมารในรัชกาลท่ี 5 กับสมเด็จพระนางเจาสวางวัฒนา พระบรมราชเทวี (สมเด็จพระศรีสวรินทรบรมราชเทวี พระพันวัสสอัยยิกาเจา) แตสมเด็จเจาฟามหาวชิรุณหิศ สยามมงกุฎราชกุมารส้ินพระชนมเสียกอนท่ีจะไดข้ึนครองราชย ตอมาสมเด็จพระราชบิดา รัชกาลท่ี 5 ไดสถาปนาสมเด็จเจาฟา กรมขุนเทพทวาราวดี ในสมเด็จพระบรมราชินีนาถเสาวภาผองศรีเปนสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชสยามมกุฎราชกุมาร (แทนท่ีจะเปนสมเด็จเจาฟามหิดลอดุยเดช กรมหลวงสงขลานครินทร พระอนุชาของสมเด็จเจาฟามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชมารพระองคกอน) และถานับโดยศักดิ์ทางพระมารดาแลว สมเด็จพระบรมราชินีนาถเสาวภาผองศรี (พระมารดาของกรมขุนเทพทวาราวดี) เปนพระนองนาง (ประสูติวันท่ี 1 มกราคม 2406) ของสมเด็จพระนางเจาสวางวัฒนา (ประสูติวันท่ี 10 กันยายน 2405 นับตามปปฏิทินเกา) ในสมเด็จพระมารดาสมเด็จพระปยมาวดีท่ีมีพระพี่นางองคโตรวมครรภพระมารดาเดียวกันคือ พระองคเจาหญิงสุนันทากุมารีรัตน (ประสูติวันท่ี 10 พฤศจิกายน 2403) หรือพระนางเรือลม ท่ีผมอุตสาหลําดับความการสืบราชสัตติวงศมานั้นก็เพ่ือเปนหลักฐานแสดงใหเห็นวา ปรีดี พนมยงค มีสวนสําคัญอยางไรบางในการสนับสนุนเช้ือสายของสมเด็จเจาฟามหิดลอดุยเดช กรมหลวงสงขลานครินทรข้ึนนั่งบัลลังกพระมหากษัตริยแหงราชจักรีวงศ ท้ังๆท่ีถูกขามมาแลว ในการประชุมคณะรัฐมนตรีระหวางวันท่ี 2 - 7 มีนาคม 2477 นั้น ปรีดีไดบันทึกไวในหนังสือ “บางเร่ืองเกี่ยวกับพระบรมวงศานุวงศในระหวางสงครามโลกคร้ังท่ี 2” มีความตอนหนึ่งวา

“(1) พระองคเจาจุลจักรพงษซ่ึงเปนพระโอรสของสมเด็จเจาฟาจักรพงษภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกท่ีทรงเปนรัชทายาทในรัชกาลท่ี 6 คร้ันแลวจึงพิจารณาคําวา “โดยนัย” แหงกฎมณเฑียรบาล 2467 นั้น พระองคเจาจุลจักรพงษจะตองยกเวนตามมาตรา 11 (4) แหงกฎมณเฑียรบาลหรือไม เพราะมารดามีสัญ ชาติเดิมเปนตางประเทศซ่ึงตามตัวยากโดยเครงครัดกลาวไวแตเพียงยกเวนผูสืบราชสัตติวงศท่ีมีพระชายาเปนคนตางดาว (ขณะน้ันพระองคเจาจุลจักรพงษยังไมมีพระชายาเปนนางตางดาว) รัฐมนตรีบางทานเห็นวา ขอยกเวนนั้นใชสําหรับรัชทายาทองคอ่ืน แตไมใชกรณีสมเด็จเจาฟาจักรพงษภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกซ่ึงขณะท่ีรัชกาลท่ี 6 สถาปนาเปนรัชทายาทนั้นก็ทรงมีพระชายาเปนนางตางดาวอยูแลว และทรงรับรองเปนสะใภหลวงโดยถูกตอง แตสวนมากของคณะรัฐมนตรีตีความคําวา “โดยนัย” นั้น ยอมนํามาใชในกรณีท่ีผูซ่ึงจะสืบราชสัตติวงศมีพระมารดาเปนนางตางดาวดวย”

4

รัฐมนตรีสวนขางมากท่ีตีความคําวา “โดยนัย” ดังกลาวนี้มีปรีดีรวมอยูดวย และเปนคนสําคัญในการอภิปรายชักจูงใหรัฐมนตรีสวนขางมากมีความเห็นรวมกับทาน ท่ีประชุมจึงไดพิจารณาถึงพระองคอ่ืนๆตามกฎเกณฑของกฎมณเฑียรบาลท่ีระบุไววา “...ตอไมสามารถเลือกทางสายตรงไดแลวจึงใหเลือกตามเกณฑท่ีมีสนิทมากและนอย” ในบรรดาพระองคท่ีสนิทมากและนอยนี้มีอาทิ เจาฟากรมพระนครสวรรควรพินิตและพระโอรส พระโอรสของสมเด็จเจาฟายุคลตามการช้ีนําของปรีดีท่ีเห็นสมควรสถาปนาพระโอรสของสมเด็จเจาฟามหิดลอดุยเดช กรมหลวงสงขลานครินทรคือ พระวรวงศเธอพระองคเจาอานันทมหิดลข้ึนเปนกษัตริยรัชกาลท่ี 8 สืบตอจากรัชกาลท่ี 7 อันเปนการกลับคืนเขาสูสายเดิมคือ สายสมเด็จเจาฟามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร การสถาปนาพระวรวงศเธอพระองคเจาอานันทมหิดลข้ึนเปนพระมหากษัตริย นอกจากจะเปนการกลับสูสายเดิมโดยชอบธรรมแลวยังเปนไปตามพระดําริของรัชกาลท่ี 7 อีกดวย บันทึกลับท่ีจดโดยพระยามหิธร เสนาบดีกระทรวงมุรธาธรวา

ดังกลาวนี้จะเห็นไดวา ปรีดีเปนผูมีบทบาทสําคัญยิ่งในการอัญเชิญพระวรวงศเธอพระองคเจาอานันทมหิดลข้ึนครองราชยเม่ือวันท่ี 2 มีนาคม 2477

“วันท่ี 30 มิถุนายน พ.ศ. 2475 เวลา 17.15 น. โปรดเกลาใหพระยามโนปกรณนิติธาดา, พระยาศรีสารวาจา, พระยาปรีชาชลยุทธ, พระยาพหลพลพยุหเสนา กับหลวงประดิษฐมนูธรรมมาเขาเฝาท่ีวังสุโขทัย มีพระราชดํารัสวา อยากจะสอบถามความบางขอและบอกความจริงใจ ฯลฯ อีกอยางหน่ีง อยากจะแนะนําเร่ืองสืบสัตติวงศ พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลท่ี 4) และพระพุทธเจาหลวงไดเคยทรงพระราชดําริท่ีจะออกจากราชสมบัติเม่ือทรงพระชราเชนเดียวกัน ในสวนพระองคพระเนตรก็ไมปกติ คงทนงานไปไดไมนาน เม่ือการณปกติแลวจึงอยากจะลาออกเสีย ทรงพระราชดําริเห็นวา พระโอรสสมเด็จเจาฟาจุฑาธุช กรมขุมเพชรบูรณอินทราไชยก็ถูกขามมาแลว ผูท่ีจะสืบสัตติวงศตอไปควรจะเปนพระโอรสของสมเด็จเจาฟามหิดลอดุยเดช กรมหลวงสงขลานครินทร ฯลฯ”

5

ปกปองราชบัลลังก ในคดีคําท่ี 4226/2521 ปรีดีเปนโจทกยื่นฟอง รอง ศยามานนท ศาสตราจารยทางประวัติศาสตร เปนจําเลย กรณีท่ีศาสตราจารยผูนั้นบิดเบือนประวัติศาสตร หม่ินประมาทใสความซ่ึงในท่ีสุดจําเลยรับผิดตามฟองนั้น คําบรรยายฟองตอนหนึ่งวา

“เม่ือวันท่ี 12 พฤศจิกายน 2484 ไดมีพระราชกฤษฎีกาแตงต้ังใหจอมพล ป. พิบูลสงคราม เปนผูบัญชาการทหารสูงสุด และพลโท มังกร พรหมโยธี เปนรองผูบัญชาการทหารสูงสุด ตอมาอีก 6 วันคือ วันท่ี 18 เดือนเดียวกันนี้ไดมีกฤษฎีกาเพ่ิมเติมอีกฉบับหนึ่งวา ใหจอมพล ป. มีอํานาจสิทธ์ิขาดผูเดียวในการส่ังทหาร 3 เหลาทัพ อันเปนอํานาจพิเศษยิ่งกวาผูบัญชาการทหารสูงสุดอ่ืนๆ คร้ันตอมาในปลายเดือนพฤศจิกายนน้ันเองคือ กอนท่ีญ่ีปุนจะรุกรานประเทศไทยในวันท่ี 8 ธันวาคม 2484 จอมพล ป. ไดเสนอท่ีประชุมคณะรัฐมนตรีใหบัญญัติกฎหมายยกเลิกบรรดาศักดิ์ไทยเดิม โดยสถาปนา “ฐานันดรศักดิ์ (Lordshin)” ตามแบบฝร่ังข้ึนใหมคือ ดยุค, มาควิส, เคานท, ไวสเคานท, บารอน ฯลฯ โดยต้ังศัพทใหมข้ึนเพื่อใชสําหรับฐานันดรศักดิ์เจาศักดินาใหมคือ สมเด็จเจาพญา, ทานเจาพญา, เจาพญา, ทานพญา ฯลฯ สวนภรรยาของฐานันดรศักดินาใหญนั้นใหเติมคําวา “หญิง” ไวขางทาย เชน “สมเด็จเจาพญาหญิง” แตหลวงวิจิตรวาทการเสนอใหเรียกวา “สมเด็จหญิง” และฐานันดรศักดินาใหมีคําวา “แหง (of)” ตอ ทายดวยช่ือแควนหรือบริเวณทองท่ี เชน สมเด็จเจาพญาแหงแควน..., พญาแหงเมือง... ฯลฯ ทํานองฐานันดรเจาศักดินายุโรป เชน ดยุค ออฟ เบดฟอรด ฯลฯ ฐานันดรเจาศักดินาใหมนี้ใหแกรัฐมนตรี และขาราชการไทยตามลําดับตําแหนงเคร่ืองราชอิสริยาภรณสายสะพาย เชน จอมพล ป. ไดรับพระราชทางสายสะพายนพรัตนก็จะไดดํารงฐานันดรเจาศักดินาเปน “สมเด็จเจาพญาแหง...” ฐานันดรเจาศักดินาใหมนั้น ทายาทสืบสันตติวงศไดเหมือนในยุโรปและญ่ีปุน อันเปนวิธีการซ่ึงนักเรียนท่ีศึกษาประวัตินายพล นโปเลียน โบนาปารด ทราบกันอยูวา นายพลผูนั้นไดขยับข้ึนทีละกาวทีละกาวจากเปนผูบัญชาการกองทัพแลวเปนกงสุลคนหนึ่งในคณะกงสุล 3 คนท่ีมีอํานาจสิทธ์ิขาดปกครองประเทศฝร่ังเศส คร้ันแลวนายพล นโปเลียน โบนาปารด ก็เปนกงสุลผูเดียวตลอดกาลซ่ึงมีสิทธ์ิตั้งทายาทสืบตําแหนง รัฐมนตรีท่ีเปนผูกอการปฏิวัติจํานวนหน่ึงรวมท้ังโจทกดวยนั้นโตคัดคานจอมพล ป. วาขัดตออุดมคติของคณะราษฎร อันเปนเหตุใหจอมพล ป. ไมพอใจ ทานจึงเสนอใหท่ีประชุมเลือกเอา 2 ทางคือ ทางหนึ่งตกลงตามแผนสถาปนาฐานันดรนครเจาศักดินาอยางใหม ทางท่ี 2 เวนคืนบรรดาศักดิ์เดิมทุกคน รัฐมนตรีสวนขางมากจึงลงมติในทางเวนคืนบรรดาศักดิ์เดิม เม่ือจอมพล ป. แพเสียงขางมากในท่ีประชุมคณะรัฐมนตรีแลว ทานจึงเสนอวา เม่ือเวนคืนบรรดาศักดิ์เกาแลว ผูใดจะใชช่ือและนามสกุลเดิม หรือเปล่ียนนามสกุลตามช่ือบรรดาศักดิ์เดิมก็ได”

6

ตอกรณีดังกลาวนี้ พระวรวงศเธอพระองคเจาอาทิตยทิพอาภา อดีตประธานคณะผูสําเร็จราชการแทนพระองคไดใหการเปนพยานในคดีอาชญากรสงครามท่ีมีจอมพล ป. เปนจําเลย มีความตอนหน่ึงรับกันกับคําฟองของปรีดีขางตนวา

ในคําส่ังกระทรวงมหาดไทยลงวันท่ี 29 กรกฎาคม 2489 ถึงคณะกรรมการจังหวัดช้ีแจงการโฆษณาหลอก ลวงของพรรคประชาธิปตย (ในขณะนั้น) ท่ีใสรายปรีดีในกรณีสวรรคตของรัชกาลท่ี 8 คําส่ังกระทรวงมหาด ไทยไดยกขอเท็จจริงในการแสดงความจงรักภักดีของปรีดีตอรัชกาลท่ี 8 มีความตอนหนึ่งวา

“โจทกกับรัฐมนตรีสวนหน่ึงกลับใชช่ือและนามสกุลเดิม แตจอมพล ป. เปล่ียนนามสกุลเดิมของทานมาใชตามราชทินนามวา “พิบูลสงคราม” และรัฐมนตรีบางทานก็ใชช่ือเดิม โดยเอาสกุลเดิมเปนช่ือรอง และใชราชทินนามเปนนามสกุลซ่ึงเปนตนเหตุแหงช่ือและนามสกุลยาวๆแพรหลายจนทุกวันนี้”

“ตอนท่ีจอมพล ป. นําใหมีการลาออกหรือใหพนจากบรรดาศักดิ์กันนั้น ขุนนิรันดรชัยไดมาทาบทามขาพเจาวา จะไดมีการแตงตั้งบรรดาศักดิ์กันใหม เปนสมเด็จเจาพญาชายบาง สมเด็จเจาพญาหญิงบาง และขุนนิรันดรชัยถูกแตงต้ังใหเปนกรรมการ โดยยึดหลักเกณฑวา ผูท่ีไดสายสะพายนพรัตนจะไดเปนสมเด็จเจาพญาชายซ่ึงมีจอมพล ป. คนเดียวท่ีไดสายสะพายนั้น เม่ือต้ังสมเด็จเจาพญาชายแลว เมียของผูนั้นก็ไดเปนสมเด็จเจาพญาหญิงตามไปดวย ขาพเจารูสึกวา จอมพล ป. นั้นกระทําการเพ่ือจะเปนพระเจาแผนดินเสียเอง แลวภรรยาจอมพล ป. ก็มีความมักใหญใฝสูงทํานองเดียวกัน เอารูปไปฉายในโรงหนังใหคนทําความเคารพโดยมีการบังคับ ในการทําบุญวันเกิดก็ทําเทียมวันเฉลิมพระชนมพรรษาของพระเจาแผนดิน เชน มีตราไกกางปกประดับธงทิวทํานองเดียวกับตราครุฑหรือตราพระบรมนามาภิไธยยอ และไดสรางเกาอ้ีข้ึนทํานองเดียวกับเกาอ้ีโทรนของพระเจาแผนดิน เวนแตใชตราไกกางปกแทนตราครุฑเทานั้น...”

“เม่ือสมเด็จพระเจาอยูหัวในพระบรมโกษฐทรงบรรลุนิติภาวะแลว นายกรัฐมนตรีปจจุบันนี้ เม่ือคร้ังเปนผูสําเร็จราชการแทนพระองคก็ไดอัญเชิญทูลสมเด็จพระเจาอยูหัวใหเสด็จกลับมาครองราชย มิไดปรารถนาท่ีจะกุมอํานาจท่ีจะทําหนาท่ีเปนประมุขของรัฐ และไมไดกระทําการขัดขวางอยางใด แตตรงกันขามกลับอันเชิญเสด็จกลับมามอบถวายราชสมบัติแดพระองค”

7

“ในระหวางท่ีพระองคประทับอยูในตางประเทศ เม่ือมีผูปองรายตอราชบัลลังกนายกรัฐมนตรีคนปจจุบันนี้ เม่ือคร้ังเปนผูสําเร็จราชการแทนพระองคก็ไดเสียสละและเส่ียงภัยเพ่ือปองกันราชบัลลังกใหปลอดภัยตลอดมา เวลานั้นหามีผูใดเส่ียงภัยเชนนั้นไม แตตรงกันขามกลับประจบสอพลอผูมีอํานาจ รัฐบาลนี้มีความเสียใจท่ีพรรคประชาธิปตยบางคนไดฉวยโอกาสเอาพระมหากษัตริยอันเปนท่ีเคารพสักการะมาใชเปนเคร่ืองมือทางการเมือง”

8

ปกปองพระเกยีรติ ในขณะท่ีดํารงตําแหนงเปนผูสําเร็จราชการแทนพระองค ปรีดีไดปกปองพระเกียรติของพระมหากษัตริยไวอยางดียิ่งชีวิต ดังเชนในกรณีท่ีจอมพล ป. นายกรัฐมนตรีในสมัยนั้น เม่ือนําพระราชบัญญัติหรือพระบรมราชโองการใดก็แลวแตเสนอผูสําเร็จราชการแทนพระองคเพื่อลงพระนามและลงนามในพระปรมาภิไธยสมเด็จพระเจาอยูหัว จอมพล ป. จะลงนามในฐานะนายกรัฐมนตรีผูรับสนองพระบรมราชโองการไปเปนการลวงหนา เปนการบีบบังคับใหผูสําเร็จราชการแทนพระองคตองลงนามในพระราชบัญญัติหรือพระบรมราชโองการนั้นๆเสมือนกับตรายาง อันเปนการหม่ินพระบรมเดชานุภาพ ทวี บุณยเกตุ ในฐานะเลขาธิการคณะรัฐมนตรีซ่ึงมีหนาท่ีเปนผูนําพระราชบัญญัติขึ้นทูลเกลาเพื่อทรงลงพระปรมาภิไธยไดบันทึกไวในหนังสือความทรงจําของทานวา

แตในสมัยท่ีปรีดีเปนผูสําเร็จราชการแทนพระองค ทานไมยอมใหจอมพล ป. ทําเชนนั้น โดยทานอางวา การกระทําของจอมพล ป. เชนนั้นเปนการละเมิดรัฐธรรมนูญ ในคราวท่ีจอมพล ป. ขัดใจกับคณะผูสําเร็จราชการแทนพระองค (เวลานั้นมีอยู 2 ทานคือ พระวรวงศเธอ พระองคเจาอาทิตยทิพอาภากับปรีดี) ปรีดีไดบันทึกไวในหนังสือ “บางเร่ืองเกี่ยวกับพระบรมวงศานุวงศ” วา

“...ตามระเบียบนั้น จะเปนพระราชบัญญัติก็ตามหรือพระบรมราชโองการใดๆก็ตาม พระมหากษัตริยหรือผูสําเร็จราชการแทนพระองคจะตองทรงลงพระปรมาภิไธยหรือลงนามกอน แลวนายกรัฐมนตรีจึงจะเปนผูลงนามรับสนองพระบรมราชโองการในภายหลัง แตในสมัยท่ีจอมพล ป. เปนนายกรัฐมนตรี และมีคณะผูสําเร็จราชการแทนพระองคนั้น จอมพล ป. มักจะลงนามรับสนองพระบรมราชโองการกอน แลวจึงไดใหคณะผูสําเร็จราชการแทนพระองคลงนาม...”

“...ตอมาประมาณเดือนกุมภาพันธ 2486 จอมพล ป. ไดยื่นใบลาออกตรงมายังประธานคณะผูสําเร็จราชการแทนพระองค แลวจอมพล ป. ก็ไดออกจากทําเนียบสามัคคีชัย ไมรูวาไปไหน ชะรอยพระองคเจาอาทิตยทิพอาภาจะทรงทราบวาจอมพล ป. ตองการลาออกจริงเพื่อปรับปรุงคณะรัฐมนตรีใหม พระองคจึงสงใบลาจอมพล ป. มาใหขาพเจาพิจารณา ขาพเจาจึงเขียนความเห็นในบันทึกหนาปกใบลาน้ันวา “ใบลานั้นถูกตองตามรัฐธรรมนูญแลว อนุมัติใหลาออกได” ขาพเจาลงนามไวตอนลาง ท้ิงท่ีวางตอนบนไวเพื่อใหพระองคเจาอาทิตยทิพอาภาทรงลงพระนามซ่ึงพระองคก็ทรงลงพระนาม”

9

จากการท่ีพระองคเจาอาทิตยทิพอาภาและปรีดีไดลงพระนามและลงนามอนุมัติใหจอมพล ป. ลาออกจากตําแหนงนายกรัฐมนตรี และวิทยุกระจายเสียงของกรมโฆษณาการก็ไดออกอากาศใหรูกันท่ัวไป อันเปนการปฏิบัติราชการท่ีถูกตองตามแบบแผนทุกประการ แตไมถูกใจจอมพล ป. เพราะเจตนาการลาออกของจอมพล ป. ก็เพื่อหยั่งเชิงการเขากุมอํานาจเบ็ดเสร็จแบบนโปเลียน ดวยคาดคิดวา คณะผูสําเร็จราชการแทนพระองค คงไมกลาลงพระนามและลงนามอนุมัติใหทานลาออก และถาเปนเชนนั้นก็เทากับยอมรับในอํานาจเบ็ดเสร็จของทาน แตเหตุการณไมไดเปนไปเชนนั้น อันเปนสัญญาณบอกใหทานรูวา การเขากุมอํานาจเบ็ดเสร็จยังมีปญหาซ่ึงหมายถึงยังมีคนตอตานขัดขวาง เพ่ือแกปญหาการตอตานขัดขวาง การข้ึนสูอํานาจเบ็ดเสร็จจอมพล ป. จึงอาศัยอํานาจตําแหนงผูบัญชาการทหารสูงสุดตามกฤษฎีกาลงวันท่ี 18 พฤศจิกายน 2484 ออกคําส่ังใหพระองคเจาอาทิตยทิพอาภาและปรีดี เขาประจํากองบัญชาการทหารสูงสุด (อันอยูภายใตบังคับบัญชาของผูบัญชาการทหารสูงสุดคือ จอมพล ป.) และใหไปรายงานตัวตอผูบัญชาการทหารสูงสุดภายใน 24 ช่ัวโมง ตอคําส่ังดังกลาว พระองคเจาอาทิตยทิพอาภารีบไปรายงานตัวทันที สวนปรีดีไมยอมไป ทานใหเหตุท่ีไมยอมไปรายงานตัววา

“ขาพเจาเชิญทวีซ่ึงขณะนั้นดํารงตําแหนงรัฐมนตรีและเลขาธิการคณะรัฐมนตรีมาถามวา จอมพล ป. จะจัดการปรับปรุงรัฐบาลหรืออยางไร ? ก็ไดรับคําตอบวา คงจะปรับปรุงรัฐบาลและตามหาตัวจอมพล ป. ก็ยังไมพบ แตเม่ือคณะผูสําเร็จราชการสงคําอนุมัติใบลาออกของจอมพล ป. แลว สํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีซ่ึงบังคับบัญชากรมโฆษณาการอยูดวยก็ใหวิทยุของกรมนั้นประกาศการลาออกของจอมพล ป. ฝายจอมพล ป. ขณะน้ันจะอยูท่ีแหงใดก็ตาม เม่ือไดฟงวิทยุกรมโฆษณาการประกาศการลาออกเชนนั้นแลวก็แสดงอาการโกรธมาก คร้ันแลวไดมีนายทหารจํานวนหนึ่งไปเฝาพระองคเจาอาทิตยทิพอาภา ณ พระท่ีนั่งอัมพรสถานซ่ึงทานผูนี้ประทับอยูขณะนั้น ขอใหจัดการเอาใบลาคืนใหจอมพล ป. เปนธรรมดาเม่ือพระองคเจาอาทิตยทิพอาภาเห็นอาการของนายทหารเหลานั้นจึง.....พระทัย เพราะไมสามารถเอาใบลาคืนใหจอมพล ป. ได ฉะนั้นพระองคพรอมดวยหมอม กอบแกว ชายาไดมาท่ีทําเนียบท่ีขาพเจาอาศัยอยูซ่ึงต้ังอยูริมแมน้ําใกลทาชางวังหนาขออาศัยคางคืนท่ีทําเนียบ ขาพเจาจึงขอใหเพื่อนทหารเรือชวยอารักขาขาพเจาดวย เพื่อนทหารเรือไดสงเรือยามฝงในบังคับบัญชาของ ร.อ. วัชรชัย ชัยสิทธิเวช ร.น. มาจอดท่ีหนาทําเนียบของขาพเจา ฝาย พ.ต. หลวงราชเดชา ราชองครักษประจําตัวขาพเจา และ พ.ต.ประพันธ กุลวิจิตร ราชองครักษประจําองคพระองคเจาอาทิตยทิพอาภาก็มารวมใหความอารักขาดวย เราสังเกตดูจนกระท่ังเวลาบายของวันรุงข้ึนก็ไมเห็นทหารบกหรืออากาศมาคุกคามประการใด ดังนั้น พระองคเจาอาทิตยทิพอาภากับหมอม กอบแกว จึงกลับไปพระท่ีนั่งอัมพรสถาน”

10

“ขาพเจามีตําแหนงเปนผูแทนพระองคพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวซ่ึงทรงเปนจอมทัพตามรัฐธรรมนูญ ถาขาพเจาไปรายงานตัวยอมอยูภายใตผูบัญชาการทหารสูงสุดก็เทากับขาพเจาลดพระราชอํานาจของพระมหากษัตริยลงอยูภายใตผูบัญชาการทหารสูงสุด มีรัฐมนตรีบางนายไดชี้แจงขอรองใหจอมพล ป. ถอนคําส่ังท่ีวานั้นซ่ึงจอมพล ป. ก็ไดยอมถอนคําส่ัง เปนอันวาพระองคเจาอาทิตยทิพอาภา และขาพเจาคงสามารถปฏิบัติภารกิจแทนพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวท่ีทรงเปนจอมทัพตามรัฐธรรมนูญไดตอไป”

11

ถวายความจงรักภกัดี ตอมาเม่ือพระองคเจาอาทิตยทิพอาภาลาออกจากผูสําเร็จราชการแทนพระองค สภาผูแทนราษฎรจึงไดมีมติและประกาศลงวันท่ี 1 สิงหาคม 2487 ใหปรีดีเปนผูสําเร็จราชการแทนพระองคแตผูเดียว และในวันนั้นเองทานไดลงนามในพระปรมาภิไธยแตงต้ังให ควง อภัยวงศ เปนนายกรัฐมนตรีสืบตอจากจอมพล ป. ท่ีลาออกไป เพราะแพมติในสภาเร่ืองพระราชกําหนดระเบียบบริหารนครบาลเพชรบูรณ และพระราชกําหนดจัดสรางพุทธบุรีมณฑล เพื่อสรางความปรองดองทางการเมืองระหวางฝายคณะราษฎรกับฝายเจาศักดินา ปรีดีในฐานะหัวหนาขบวนการเสรีไทยไดมอบหมายใหทวีซ่ึงรวมงานเสรีภาพอยูกับทานและมีตําแหนงเปนรัฐมนตรีอยูในรัฐบาลควงดําเนินการปลดปลอยนักโทษการเมืองซ่ึงมีเจานายช้ันผูใหญ และขาราชบริพารในระบอบเกาหลายคน ปรีดีไดบันทึกเร่ืองนี้ไวในหนังสือ “บางเร่ืองเกี่ยวกับพระบรมวงศานุวงศ” มีความตอนหนึ่งวา

“ควงไดจัดต้ังคณะรัฐมนตรี โดยมีรัฐมนตรีหลายนาย และโดยเฉพาะทวีเขารวมดวยตามท่ีควงไดตกลงกับขาพเจาไวคือ นอกจากทวีเปนรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการแลวก็เปนรัฐมนตรีส่ังราชการในสํานักนายกรัฐมนตรีดวย โดยมีหนาท่ีดําเนินงานของคณะรัฐมนตรีอยูเบ้ืองหลังควง กิจการใดอันเกี่ยวกับขบวนการเสรีไทยซ่ึงทวีเปนผูบัญชาการพลพรรคในประเทศไทยน้ัน ถาจะตองเกี่ยวของกับรัฐบาลอยางใดแลวควงก็อนุญาตตามที่ตกลงกันไวกอนวา ใหทวีปรึกษาตกลงกับขาพเจาโดยตรง โดยควงไมขอรับรูดวย นอกจากท่ีจะตองทําเปนกฎหมาย หรือแถลงตอสภาผูแทนราษฎร ดังนั้นมีหลายเร่ืองท่ีทวีไดปรึกษาขาพเจาจัดทําข้ึนกอนแลวจึงแจงใหควงรับไปปฏิบัติการ อาทิ การประกาศพระบรมราชโองการวาการประกาศสงครามกับบริเตนใหญและสหรัฐอเมริกาเปนโมฆะน้ัน ทวี เปนผูลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ ดังปรากฏขอเท็จจริงในราชกิจจานุเบกษา ไมใชควงเปนผูลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ (ตามท่ีควงกลาวอาง) การอภัยโทษและนิรโทษกรรมผูตองหาทางการเมืองนั้น ทวีก็เปนหัวแรงสําคัญในการรางกฎหมายอภัยโทษและนิรโทษกรรม เพราะแมขาพเจาแจงแกสัมพันธมิตรไวกอนวา เพื่อความสามัคคีของคนไทยท่ีมีอุดมคติตรงกันในการตอสูกับญ่ีปุนใหไดรับอภัยโทษและนิรโทษกรรมตามท่ี ม.จ. ศุภสวัสดิ์วงศสนิท สวัสดิวัตน ไดทรงปรารภมานั้น เวลาปฏิบัติเขาจริงก็ยังไมอาจทําไดงายๆเหมือนดังท่ีควงพูดท่ีคุรุสภาวา พอควงเปนนายกรัฐมนตรีแลวก็ส่ังปลอยนักโทษการเมือง” (ควงไปแสดงปาฐกถาท่ีคุรุสภาเม่ือวันท่ี 23 พฤศจิกายน 2506 เร่ือง “ชีวิตของทาน” ปรากฏขอเท็จจริงท่ีพิสูจนไดวา ควงพูดมุสาหลายเร่ืองหรือเกินความเปนจริง รวมท้ังเร่ืองปลดปลอยนักโทษการเมืองซ่ึงทานอวดอางวา พอทานข้ึนเปนนายกรัฐมนตรีก็ส่ังปลดปลอยนักโทษการเมืองทันที)”

12

ปวย อ๊ึงภากรณ ไดพูดถึงเร่ืองนี้ไวในบทความของทานเร่ือง “พระบรมวงศานุวงศและขบวนการเสรีไทย” มีความตอนหนึ่งวา

และในท่ีสุดบรรดานักโทษการเมืองเหลานั้นก็ไดรับการนิรโทษกรรมตามคําม่ันสัญญาท่ีปรีดีใหไวกับทานนั้น และดวยความสํานึกในบุญคุณปรีดี พระยาอุดมุพงษเพ็ญสวัสดิ์ (ม.ร.ว. ประยูร อิศรศักดิ์) นักโทษการเมืองผูหนึ่งท่ีไดรับนิรโทษกรรมคร้ังนั้นจึงไดเขียนสักระวามอบแกปรีดีในนามของนักโทษการเมืองท่ีไดรับนิรโทษกรรมความวา

ทันทีท่ีสงครามโลกครั้งท่ี 2 ยุติลงเม่ือวันท่ี 16 สิงหาคม 2488 ปรีดีในฐานะผูสําเร็จราชการแทนพระองคไดสงโทรเลขลงวันท่ี 6 กันยายน 2488 อัญเชิญเสด็จรัชกาลท่ี 8 เสด็จนิวัติพระนครดังสําเนาโทรเลขตอไปนี้

“จริงอยูควงเปนผูลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ แตในการรางกฎหมายดังกลาวแลวตองทําความเขากับ พล.ต.อ. อดุล อดุลเดชจรัส อธิบดีกรมตํารวจซ่ึงเปนผูส่ังจับผูตองหาการเมืองใหเขาเห็นความสมควรท่ีจะอภัยโทษและนิรโทษกรรม...”

“ตอมาทานข้ึน (ม.จ. ศุภสวัสดิ์วงศสนิท สวัสดิวัตน) ไดสงโทรเลขของทานเองมาอีกฉบับหนึ่งตรงถึงปรีดีขอบใจท่ีหัวหนาเสรีไทยยินดีตอนรับ และทรงแสดงเจตนาวา จะรวมงานดวยความจริงใจ แตใครจะขอถามวาเพื่อนฝูงของทานช้ินหลายทานตองโทษการเมืองอยูท่ีเกาะตารุเตาบาง บางขวางบาง ท่ีอ่ืนๆบางนั้นปรีดีจะกระทําอยางไร หัวหนาเสรีไทยตอบโทรเลขไปโดยฉับพลันวา พระเจาบรมวงศเธอ กรมขุนชัยนาทนเรนทร และผูอ่ืนซ่ึงตองโทษทางการเมืองอยูท่ีเกาะตะรุเตา และมิใชจะปลดปลอยอยางเดียว จะออกกฎหมายนิรโทษกรรมดวย...”

“สักระวารีเยนตเห็นเปนธรรม นิรกรรมผูตองโทษโจทกเท็จหา ใหไนทุกขทรมานกายวิญญา หลุดออกมาจากคุกขุมอเวจีฯ”

13

ตอโทรเลขกราบบังคมทูลอัญเชิญเสด็จนิวัติมหานครรัชกาลท่ี 8 ทรงพระกรุณาโปรดเกลาตอบใหผูสําเร็จราชการแทนพระองคไดทราบในสัปดาหตอมาวา

วันท่ี 6 กนัยายน พ.ศ. 2488 สมเด็จพระเจาอยูหัวอานันทมหิดล โลซานน ขอเดชะใตฝาละอองธุลีพระบาทปกเกลาปกกระหมอม ตามท่ีสภาผูแทนราษฎรไดลงมติแตงต้ังขาพระพุทธเจาเปนผูสําเร็จราชการแทนพระองคตามประกาศลงวันท่ี 1 สิงหาคม พ.ศ. 2487 นั้น บัดนี้ถึงวาระอันสมควรท่ีใตฝาละอองธุลีพระบาทจะทรงปฏิบัติพระราชภารกิจในฐานะทรงเปนพระประมุขของชาติ เพราะใตฝาละอองธุลีพระบาทจะทรงบรรลุนิติภาวะในวันท่ี 20 กันยายนศกนี้แลว ฉะนั้นขาพระพุทธเจาจึงขอพระราชทานบรมราชานุญาตอัญเชิญเสด็จใตฝาละอองธุลีพระบาทเสด็จนิวัติสูกรุงเทพมหานครเพ่ือจะไดทรงปกครองแผนดินตามวิถีทางแหงรัฐธรรมนูญ และโดยท่ีตําแหนงผูสําเร็จราชการแทนพระองคของขาพระพุทธเจาจะส้ินสุดลงในวันท่ี 20 กันยายนศกนี้ ขาพระพุทธเจาจึงขอนอมเกลานอมกระหมอมกราบบังคมทูลใหทรงทราบ ณ โอกาสนี้ ควรมิควรแลวแตจะโปรด ขอเดชะ

ขาพระพุทธเจา ปรีดี พนมยงค

วันท่ี 14 กนัยายน 2487 ผูสําเร็จราชการแทนพระองค กรุงเทพ ขาพเจาไดรับโทรเลขของทานซ่ึงไดขอรองขาพเจาใหกลับมาปฏิบัติหนาท่ีของขาพเจา ถึงแมวาขาพเจาจะเปนหวงเปนใยตอประเทศชาติ แตขาพเจาก็รูสึกวาจะเปนการเหมาะสมย่ิงข้ึน ถาขาพเจาจะไดมีโอกาสศึกษาใหจบเสียกอน ขาพเจาสอบไลวิชากฎหมายปท่ี 1 เม่ือเดือนกรกฎาคมที่แลว แตขาพเจายังจะตองสอบในช้ันอ่ืนๆท่ียากยิ่งข้ึน และจะตองใชเวลาประมาณปคร่ึง และหลังจากนั้นขาพเจาจะตองใชเวลาอีกอยางนอย 1 ป เพื่อเตรียมเขียนวิทยานิพนธตามหลักสูตรช้ันปริญญาเอก ขาพเจาหวังวาทานคงเขาใจในความปรารถนาของขาพเจาท่ีจะศึกษาใหจบ ถาทานและรัฐบาลเห็นชอบดวยขาพเจาก็ใครท่ีจะ

14

ตอพระราชโทรเลขขางตนปรีดีไดโทรเลขกราบบังคมทูลเพื่อทรงทราบวา

หลังจากท่ีรัชกาลท่ี 8 ทรงรับโทรเลขกราบบังคมทูลตอบพระราชโทรเลขฉบับลงวันท่ี 14 กันยายนของปรีดีแลว พระองคไดทรงมีโทรเลขถึงปรีดีมีขอความส้ันๆวา พระองคทรงเช่ือม่ันวาปรีดีและรัฐบาลจะดําเนินการแกไขรัฐธรรมนูญอยางยุติธรรมและเปนผลดียิ่ง พระองคทรงมีพระราชดํารัสวา การที่พระองคประทับอยูในประเทศไทยก็คงไมมีประโยชนเทาใดนัก เพราะพระองคทรงไมมีประสบการณ พระองคทรงมีพระราชดํารัสในท่ีสุดวา “ถาทานเห็นวาขาพเจาควรจะกลับไปเยี่ยมประเทศไทยช่ัวคราว ขาพเจาก็ยินดีรับคําเชิญของทาน” ในท่ีสุดรัชกาลท่ี 8 พรอมดวยสมเด็จเจาฟาภูมิพลอดุลยเดช (พระอนุชา) และสมเด็จพระราชชนนีศรีสังวาลย (พระนามขณะนั้น) ก็ไดเสด็จนิวัติสูกรุงเทพมหานคร โดยเคร่ืองบินพระท่ีนั่งท่ีรัฐบาลอังกฤษจัดถวายมาถึงสนามบินดอนเมืองในวันท่ี 5 ธันวาคม 2488 และ ณ ท่ีนั้นนายกรัฐมนตรี ม.ร.ว. เสนีย ปราโมช, คณะรัฐมนตรี และประชาชนไปเฝารับเสด็จอยางลนหลาม จากสนามบินดอนเมืองไดประทับรถไฟพระท่ีนั่งมาถึงสถานีรถไฟสวนจิตรลดา และ ณ ท่ีนั้นปรีดีผูสําเร็จราชการแทนพระองค พรอมดวยพระบรมวงศานุ

กลับไปเยี่ยมบานสักคร้ังหนึ่งกอนที่ขาพเจาจะสําเร็จการศึกษา ขาพเจาขอขอบใจทานอยางจริงใจ ขาพเจาซาบซ้ึงในผลงานท่ีทานไดกระทําดวยความยากลําบาก และท่ีทานกําลังกระทําอยูในนามของขาพเจา อานันทมหดิล

“ขาพระพุทธเจาไดรับพระราชโทรเลขลงวันท่ี 14 กันยายนของใตฝาละอองธุลีพระบาทดวยความสํานึกในพระมหากรุณาธิคุณเปนลนพนของขาพระพุทธเจา และรัฐบาลของใตฝาละอองธุลีพระบาท รัฐบาลและขาพระพุทธเจามีความปล้ืมปติเปนอยางมากท่ีไดทราบวา ใตฝาละอองธุลีพระบาททรงมีพระราชประสงคท่ีจะเสด็จนิวัติพระนครสักคร้ังหนึ่งกอนท่ีจะทรงจบการศึกษา บัดนี้ขาพระพุทธเจาขอพระราชทานพระบรมราชวโรกาสกราบบังคมทูลใหทรงทราบเหตุการณตางๆ (เกี่ยวกับการแกไขรัฐธรรมนูญ) ขาพระพุทธเจาเห็นวา การเสด็จนิวัติของใตฝาละอองธุลีพระบาทจะเปนคุณประโยชนแกประเทศชาติเปนอเนกประการ ถึงแมวาพระองคจะประทับอยูในประเทศไทยเปนเพียงระยะเวลาอันส้ันก็ตาม ท้ังนี้เพื่อวา ใตฝาละอองธุลีพระบาทจะไดทรงมีสวนรวมไดตัดสินพระทัยในเร่ืองตางๆอันสําคัญยิ่งดังไดกราบถวายบังคมทูลใหทรงทราบขางตนแลว”

15

วงศช้ันผูใหญไดเฝาคอยรับเสด็จทันทีท่ีพระองคเสด็จลงจากรถไฟพระท่ีนั่งสูสถานีจิตรลดาแลว ปรีดีไดเฝากราบถวายบังคมทูลพระกรุณาวา

แลวทรงพระราชดํารัสตอบจากนํ้าพระทัยอันเปยมลนดวยพระเมตตาและช่ืนชมโสมนัสวา

เพื่อเชิดชูยกยองคุณงามความดีของปรีดีใหปรากฏแกโลก ตอมาอีก 3 วันคือ ในวันท่ี 8 ธันวาคมพระองคไดทรงมีพระบรมราชโองการโปรดเกลาใหประกาศยกยองปรีดีไวในฐานะรัฐบุรุษอาวุโส ดังคําประกาศพระบรมราชโองการตอไปนี้

“ขอเดชะฝาละอองธุลีพระบาทปกเกลาปกกระหมอม บัดนี้เปนศุภวาระดิถีมงคลท่ีใตฝาละอองธุลีพระบาทไดเสด็จพระราชดําเนินนิวัติสูมหานครโดยสวัสดิภาพ ขาพระพุทธเจาของพระราชทานพระบรมราชวโรกาสกราบบังคมทูลพระกรุณา โดยอาศัยประกาศประธานสภาผูแทนราษฎรลงวันท่ี 20 กันยายน 2488 วา ความเปนผูสําเร็จราชการแทนพระองคของขาพระพุทธเจาไดส้ินสุดลงต้ังแตขณะน้ีเปนตนไป ขาพระพุทธเจาขอถวายพระพรชัยใหใตฝาละอองธุลีพระบาทเสด็จอยูในราชสมบัติวัฒนาสถาพร เปนม่ิงขวัญของประชาชน และประเทศชาติในระบอบประชาธิปไตยตามรัฐธรรมนูญช่ัวกัลปาวสาน ดวยเกลาดวยกระหมอมขอเดชะ”

“ทานปรีดี ขาพเจามีความยินดีท่ีไดกลับมาสูพระนครเพ่ือบําเพ็ญพระกรณียกิจตามหนาท่ีของขาพเจาตอประชาชนและประเทศชาติ ขาพเจาขอขอบใจทานเปนอันมากท่ีไดปฏิบัติกรณียกิจแทนขาพเจาดวยความซ่ือสัตยสุจริตตอขาพเจาและประเทศชาติ ขาพเจาขอถือโอกาสนี้แสดงไมตรีจิตในคุณงามความดีของทานท่ีสงเสริมความเจริญรุงเรืองใหแกประเทศชาติ และชวยบํารุงรักษาความเปนเอกราชของชาติไว”

ประกาศ อานันทมหิดล สมเด็จพระเจาอยูหัวอานันทมหิดลมีพระบรมราชโองการโปรดเกลาโปรดกระหมอมใหประกาศวา โดยท่ีทรงพระราชดําริเห็นวา ปรีดี พนมยงค ไดเคยรับหนาท่ีบริหารราชการแผนดินในตําแหนงสําคัญๆมาแลวหลายตําแหนง จนในท่ีสุดไดรับความเห็นชอบจากสภาผูแทนราษฎรใหดํารงตําแหนงผูสําเร็จราชการแทนพระองค และปรากฏวาตลอดเวลาท่ี ปรีดี พนมยงค ดํารงตําแหนงเหลานี้ไดปฏิบัติหนาท่ี 

16

ดวยความซ่ือสัตยสุจริต และดวยความจงรักภักดีตอชาติ, ศาสนา, พระมหากษัตริย และรัฐธรรมนูญ ท้ังไดแสดงใหเห็นเปนท่ีประจักษในความปรีชาสามารถบําเพ็ญคุณประโยชนแกประเทศชาติเปนอเนกประการ จึงมีพระบรมราชโองการโปรดเกลาโปรดกระหมอมยกยอง ปรีดี พนมยงค ไวในฐานะรัฐบุรุษอาวุโส และใหมีหนาท่ีรับปรึกษากิจราชการแผนดินเพื่อความวัฒนาถาวรของชาติสืบไป ท้ังนี้ ตั้งแตบัดนี้เปนตนไป

ประกาศมา ณ วันท่ี 8 ธันวาคม พุทธศักราช 2488 เปนปท่ี 12 ในรัชกาลปจจุบัน ผูรับสนองพระบรมราชโองการ

ม.ร.ว. เสนีย ปราโมช นายกรัฐมนตรี

17

โปรดเกลาปรีดีเปนนายกรัฐมนตรี ในการประชุมซาวเสียงของสภาผูแทนราษฎรเม่ือวันท่ี 30 มกราคม 2489 เพื่อเลือกผูมาดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรี ภายหลังการเลือกต้ังท่ัวไปเม่ือวันท่ี 6 มกราคม 2489 ซ่ึงเปนการเลือกต้ังคร้ังแรกภายหลังสงครามโลกคร้ังท่ี 2 บันทึกรายงานการประชุมสภาผูแทนราษฎรในวันนั้นไดบันทึกวา

ควงจึงไดข้ึนเปนนายกรัฐมนตรีและอยูในตําแหนงนั้นจนถึงวันท่ี 18 มีนาคม 2489 แลวไดลาออกไป เพราะแพมติของสภา (เร่ืองพระราชบัญญัติคุมครองคาใชจายของประชาชนหรือตามภาษาชาวบานเรียก วา พระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค แตพรรคประชาธิปตยเรียกวา พระราชบัญญัติปกปายขาวเหนียวในเชิงดูถูก เพราะผูเสนอรางพระราชบัญญัตินี้เปน ส.ส. ภาคอีสาน) สภาผูแทนราษฎรจึงไดประชุมปรึกษาหารือเพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีกันอีกคร้ังหนึ่งในวันท่ี 19 มีนาคม 2489 รายงานการประชุมสภาผูแทนราษฎรไดบันทึกวา

“ประธานสภาผูแทนราษฎรไดนัดประชุมสมาชิกสภาเพื่อหารือเปนการภายในสอบถามความเห็นวาผูใดสมควรจะไดรับตําแหนงนายกรัฐมนตรี สมาชิกสวนมากเห็นควรใหปรีดีดํารงตําแหนงนายกรัฐมน ตรี ประธานสภาผูแทนราษฎรจึงไดไปแจงความเห็นของสมาชิกสวนขางมากใหปรีดีทราบ แตปรีดีปฏิเสธไมขอรับตําแหนง โดยแจงวามีภารกิจตางๆอยูมาก ดังนั้นประธานสภาผูแทนราษฎรจึงไดหารือสมาชิกอีกคร้ังหนึ่งแจงใหท่ีประชุมทราบวา ปรีดีปฏิเสธไมขอรับตําแหนง ท่ีประชุมจึงไดหารือตอไป ในท่ีสุดเห็นควรใหควงดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรี ประธานสภาผูแทนราษฎรจึงนําความกราบบังคมทูลตามความเห็นของสมาชิก”

“วันท่ี 19 มีนาคม 2489 ประธานสภาผูแทนราษฎรไดนัดประชุมสมาชิกเปนการภายในเพ่ือหารือวา เม่ือนายกรัฐมนตรี (ควง อภัยวงศ) กราบถวายบังคับลาออกแลวเชนนี้ผูดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรีตอไปควรจะเปนผูใด สมาชิกในที่ประชุมไดมีความเห็นวาควรเปนปรีดี มีสมาชิกบางทานไดใหความเห็นวา ปรีดีไมอาจรับตําแหนง เพราะแมแตตําแหนงสมาชิกประเภทที่ 2 ก็ยังแจงวา ไมสามารถมาประชุมไดสม่ําเสมอ ควรจะสอบถามผูถูกเสนอเสียกอน ดังนั้นจึงพักการหารือไวช่ัวระยะหนึ่งเพื่อรอฟงการทาบทามตัว”

18

และปรีดีก็ไมไดทําใหสภาผูแทนราษฎรผิดหวังท่ีหวังใหทานเจรจากับพันธมิตรในปญหาตางๆ โดยเฉพาะปญหาการใหขาวสารโดยไมคิดมูลคาแกอังกฤษ 1,500,000 ตัน (คิดเปนเงินตามราคาขาวสารขณะน้ันประมาณ 2,500 ลานบาท) ตามขอเสนอของ ม.ร.ว. เสนีย ปราโมช ตอรัฐบาลอังกฤษ โดยอางวา เพื่ออัธยาศัยไมตรี และตอมาขอเสนอใหขาวสารฟรีนี้ไดถูกระบุไวในสัญญาสมบูรณแบบขอท่ี 14 ซ่ึงรัฐบาลปรีดีไดเจรจากับอังกฤษจากการใหฟรีเปนการขายดังปรากฏในรายงานการประชุมสภาผูแทนราษฎร (สามัญ) คร้ังท่ี 33 วันท่ี 2 พฤษภาคม 2489 วา

ขอเท็จจริงดังกลาวนี้ประธานสภาผูแทนราษฎรพระยามานวราชเสวีไดกลาวยืนยันอีกคร้ังหนึ่งเม่ือวันปดสมัยประชุมสภาผูแทนราษฎรวันท่ี 1 พฤษภาคม 2489 มีความตอนหนึ่งวา

“ประธานสภาผูแทนราษฎรจึงไดไปพบปรีดีท่ีทําเนียบทาชาง วังหนา ไดมีสมาชิกอีกหลายคนไปดวย ประธานสภาไดแจงใหทราบวา ไดหารือกันระหวางสมาชิกสภาผูแทนราษฎรพิจารณาหาผูท่ีสมควรจะดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรีคนตอไป สมาชิกสวนมากเห็นวา ปรีดีควรจะดํารงตําแหนงนี้จึงมาเรียนใหทราบกอนท่ีจะนําความข้ึนกราบบังคมทูล ในการนี้ไดมีสมาชิกท่ีรวมไปดวยไดกลาวขอรองเปนทํานองวา ในภาวะคับขันและสถานการณเชนนี้ซ่ึงจะตองมีเจรจากับพันธมิตรในปญหาตางๆอยูตอไปดวย ผูดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรีควรจะเปนปรีดี ในท่ีสุดปรีดีจึงยอมรับตําแหนง ประธานสภาผูแทนราษฎรจึงกลับมาแจงใหท่ีประชุมสมาชิกสภา ผูแทนราษฎรทราบ”

“...รัฐบาลมีเร่ืองท่ีจะแจงใหสมาชิกทราบ 2 เร่ืองคือ เรืองตนเปนเร่ืองท่ีเม่ือวานนี้ทางรัฐบาลไดทําขอตกลงกับทางฝายอังกฤษในเรื่องการที่แกไขสัญญาสมบูรณแบบอันวาดวยการที่เราจะตองสงขาวใหแกอังกฤษเปลาๆนั้น บัดนี้ไดทําความตกลงกันวา แทนท่ีฝายไทยจะสงขาวใหแกอังกฤษเปลาๆนั้น แตนี้ตอไปทางฝายอังกฤษเปนฝายท่ีจะไดมาซ้ือขาวไทยจากรัฐบาลไทย...”

“...ขาพเจาขอเปนพยานในที่นี้วา ทานไดดํารงตําแหนงของทานมาอยูในความสัตย, ในความจริง, ในความบริสุทธ์ิ สมควรที่เราจะเคารพนับถือ และแมในคราวสุดทายท่ีหานายกรัฐมนตรีไมได ขาพเจาก็ไดรับความเดือดรอนเปนอยางยิ่ง แตเม่ือไปหาทานดวยไดรับมอบหมายจากทานผูมีเกียรติท้ังหลายน้ี ทานยินดีรับทําใหขาพเจาผูมีหนาท่ีในฐานะเปนประธานสภาผูแทนราษฎรหมดความหวงใย และยังมีหวังวาทานจะแกไขอุปสรรคตางๆของการกระทําท่ีไดเปนมาแลวใหตลอดรอดฝง และทานก็แกไขสัญญาใหขาวเปลาไดเปนการซ้ือขาย...”

19

ปรีดีดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรีจนถึงวันท่ี 9 พฤษภาคม 2489 ก็ไดกราบถวายบังคมลาออกจากตําแหนง อันเนื่องมาจากการประกาศใชรัฐธรรมนูญฉบับใหม (ฉบับวันท่ี 9 พฤษภาคม 2489 ท่ีแกไขเพิ่มเติมจากฉบับวันท่ี 10 ธันวาคม 2475 ตามวิถีทางประชาธิปไตย สาระสําคัญของรัฐธรรมนูญฉบับใหมคือ ยกเลิกสมาชิกประเภท 2 ที่มาจากการแตงต้ังและใหมี 2 สภาคือ สภาผูแทนราษฎรและพฤฒสภาซ่ึงมาจากการเลือกตั้ง) ตอมาในวันท่ี 7 มิถุนายน 2489 สภาท้ังสองไดประชุมรวมกันเพื่อซาวเสียงเลือกหาตัวผูจะมาดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรีสืบตอจากปรีดีท่ีลาออก ท่ีประชุมรวมกันมีความเห็นเปนเอกฉันทใหปรีดีดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรีสืบตอไป หลังจากท่ีรัฐสภา (ประกอบดวยสภาทั้งสอง) ไดมีมติเปนเอกฉันทใหปรีดีดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรีแลว คณะประธานและรองประธานรัฐสภา รวมท้ังเลขาธิการของท้ังสองสภาไดเขาเฝาเพื่อกราบบังคมทูลใหทรงทราบถึงมติของรัฐสภานั้น รายงานการประชุมรัฐสภาคร้ังท่ี 3 วันท่ี 10 มิถุนายน 2489 ไดบันทึกวา

และในคืนวันท่ี 7 มิถุนายนนั้น เวลาประมาณ 2 ทุมคร่ึง ปรีดีไดถูกเรียกใหเขาเฝาทูลละอองธุลีพระบาทเพื่อทรงซักถามความสมัครใจท่ีจะรับตําแหนงนายกรัฐมนตรี ปรีดีเขาเฝาอยูประมาณคร่ึงช่ัวโมงกวาแลวถวายบังคมทูลลากลับ ปรีดีไดพูดถึงขอเท็จจริงของเร่ืองนี้ในท่ีประชุมรัฐสภาคร้ังท่ี 2 วันท่ี 13 มิถุนายน 2489 (ภายหลังสวรรคต 4 วัน) รายงานการประชุมรัฐสภาไดบันทึกวา

“ประธานรัฐสภา (วิลาศ โอสภานนท) เร่ืองนี้ขาพเจายินดีจะช้ีแจง ถาหากทานตองการทราบ เพราะวาในการที่วันนั้นสภาไดใหมติในการแตงต้ังนายกรัฐมนตรีซ่ึงทานยังคงจําไดในการประชุมรัฐสภาวันแรก พวกเราไดเขาไปเฝาสมเด็จพระเจาอยูหัว 6 คนดวยกันคือ ตัวขาพเจา รองประธานเดี๋ยวนี้ (เกษม บุญศรี) และรองประธานอีก 2 สภา (ไต ปาณิกบุตร, มงคล รัตนวิจิตร รองประธานพฤฒสภาและสภาผูแทน ราษฎรตามลําดับ) รวมท้ังเลขาธิการ 2 สภาดวย (ไพโรจน ชัยนาม, เจริญ ปณทโร เลขาธิการพฤฒสภาและสภาผูแทนราษฎรตามลําดับ) รวมเปน 6 คนดวยกัน การเขาไปนั้นก็เพื่อทูลเกลาถวายใหพระองคทรงทราบวา บัดนี้รัฐสภาไดมีมติในการแตงตั้งใหปรีดี เปนนายกรัฐมนตรี พระองคก็ไดรับส่ังวา “ออ หลวงประดิษฐดีมากแลวจะทําอยางไรตอไป ?” ก็ไดทูลพระองควา ตามระเบียบและตามประเพณีท่ีปฏิบัติมาก็นาจะทรงพระกรุณาโปรดเกลาเชิญปรีดี มาสอบถามดูวาจะรับตําแหนงนายกรัฐมนตรีนี้ไดหรือไม อยางไร ท้ังนี้ก็สุดแตจะทรงพระกรุณาโปรดเกลา พระองคก็มิไดรับส่ังประการใด ไดแตพยักพระพักตรซ่ึงหมายความวา พระองคจะไดเชิญปรีดีมา...”

20

คําอางของปรีดีในตอนตนท่ีวา “เจานายฝายในยอมจะรูเร่ืองนี้เปนอยางดี” ซ่ึงเปนการสอดรับกับคําของ ม.จ. อัปภัศราภา เทวกุล ผูรับใชใกลชิดสมเด็จพระพันวัสสาอัยยิกาเจาท่ีไดประทานเลาแก สมภพ จันทรประภา ผูเขียนชีวประวัติของสมเด็จพระพันวัสสาอัยยิกาเจาเกี่ยวกับปรีดีไดถวายความปลอดภัยในระหวางสงครามมีความตอนหนึ่งวา

“...ขาพเจารูวา มีพวกท่ีแกลงทานตางๆนานา โดยใหมหาชนเขาใจผิด และสําหรับในหลวงพระองคนี้ ทุกคนที่ใจเปนธรรมก็จะรูวา ขาพเจาไดเสียสละและทําทุกอยางท่ีจะโปรเต็คทราชบัลลังกใหแกพระ องคในยามคริติกอลโมเมนทตลอดมา ตลอดจนพระราชวงศขาพเจาก็ไดทํามาเปนอยางดี ขาพเจาเคารพพระมหากษัตริยไมใชวาแตปากแลวใจไมเคารพ ขาพเจาไมทําใหเด็ดซตอรยด ขาพเจาไมทํา และไมเปนนิสัยของขาพเจาท่ีจะทําเชนนี้ เจานายฝายในยอมจะรูเร่ืองนี้เปนอยางดี เพราะฉะน้ันขาวลือตางๆเปนเร่ืองท่ีจงใจจะปดแขงปดขาตางหาก ขาพเจาไดยินถึงกับวา ขาพเจาไปทําเพรสเซอรพระมหากษัตริยวา ขาพเจาเฝาถึง 2 ยามท่ีจริงขาพเจาเฝาทานในวันศุกรท่ี 7 ภายหลังท่ีสภาไดฟงเสียง และวันอาทิตยก็มีการสะไตรคท่ีมักกะสันซ่ึงเจากรทานนัดขาพเจาไปเฝา 2 ทุมคร่ึง กอนไปวังยังไดโทรศัพทเชิญรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย และเชิญอธิบดีกรมรถไพมาดวย ขาพเจารูสึกวาจะอยูอยางชาไมถึงช่ัวโมง ขาพเจาเฝาคร่ึงช่ัวโมง รับส่ังถึงเร่ืองท่ีทานจะต้ังขาพเจาเปนนายกรัฐมนตรี ขาพเจาอยูราวคร่ึงช่ัวโมงแลวก็กราบทูลวา มีเร่ืองสะไตรคเกิดข้ึน ขาพเจาผิดรัฐมนตรีวาการกระทรวง มหาดไทยและอธิบดีกรมรถไฟมาเพ่ือจะตองทราบรายละเอียด และถาอยากจะทราบรายละเอียดในการท่ีวา ประธานและรองประธานและเลขาธิการไดไปเฝาทานในการตั้งขาพเจาก็มีหลักฐานพยานอยูเสร็จ ทานรับส่ังอยางไร มีขาวลือหลายอยางในทางอกุศลท้ังส้ิน เอาไปลือเปนทํานองท่ีวา ทานไมพอพระทัยท่ีจะต้ังขาพเจาเปนนายกรัฐมนตรีอะไรบาง ลวนแลวแตขาวซ่ึงเปนอกุศลลอยๆ ไมมีเหตุผล นอกจากทําการปดแขงปดขา ซ่ึงขาพเจาถือวา ขาพเจาเปนซ่ือสัตยตอพระมหากษัตริยพระองคนี้ดวยใจจริงต้ังแตไหนๆ ขาพเจาไดฝาอันตรายมาอยางไรทุกอยางนี้ ถาหากวาใครไมลืมคงจะรู ตลอดเวลาท่ีเปนผูสําเร็จราชการแทนพระองค เม่ือคร้ังขาพเจาเปนผูสําเร็จราชการแทนพระองคไดทําอยางไร เพราะฉะน้ันขาวลืออะไรตางๆเปนขาวท่ีปลุกปนท้ังส้ิน ขอใหผูท่ีใจเปนธรรมระลึกถึงขอนี้...”

“ท่ีอยุธยา ดร. ปรีดี และภรรยาไดเขาเฝาแหนกราบทูลซักถามถึงความสะดวกสบายอยูเปนเนืองนิจจนคนท่ีคลางแคลงอยูบางคนชักจะไมแนใจ เพราะกิริยาพาที่ในเวลาเขาเฝานั้นเรียบรอยนัก นุมนวลนักนัยนตาก็ไมมีวี่แววอันควรจะระแวง... เวลาเย็นผูสําเร็จราชการแทนพระองคก็เชิญเสด็จประทับรถยนตประพาสรอบๆเกาะ หลานฉันยังเด็ก ฝากดวยนะ”

21

เปนกระแสพระดํารัสคร้ังหนึ่ง ผูสําเร็จราชการแทนพระองคก็กราบทูลสนองพระราชประสงคเปนอยางดีดวยความเคารพทําใหผูท่ีช่ืนชมก็ทวีความช่ืนชมยิ่งข้ึน ผูท่ีคลางแคลงก็เร่ิมไมแนใจตนเอง วันหนึ่งท่ีวัดมงคลบพิตร จ.อยุธยา สมเด็จพระพันวัสสาอัยยิกาเจาตรัสวา

ตรัสแลวเสด็จไปทรงซ้ือทองท่ีวางขายอยูบริเวณนั้น เม่ือเสด็จไปถึงองคพระปรากฏวา ทรงปดไมถึง ผูสําเร็จราชการแทนพระองคจึงกราบทูลวา

สมเด็จพระพันวัสสาอัยยิกาเจาจึงประทานทองใหไปพรอมตรัสวา

เลาลือกันวา กระแสพระดํารัสนั้นทําใหผูสําเร็จราชการแทนพระองคซาบซ้ึงมาก ปวย อ๊ึงภากรณ ไดพูดถึงเจานายฝายในกับปรีดีไวในบันทึกของทานเร่ือง “พระบรมวงศานุวงศและขบวนการเสรีไทย” มีความตอนหนึ่งวา

“ฉันจะไปปดทอง”

“ขาพระพุทธเจาจะไปปดถวาย”

“เอาไปปดเถอะ คนท่ีทําบุญดวยกันชาติหนาก็เปนญาติกัน”

“การท่ีเสรีไทย โดยเฉพาะหัวหนาเสรีไทยไดถวายความจงรักภักดีตอพระมหากษัตริยและพระบรม วงศานุวงศ ถวายความอารักขาใหพนภัยสงครามครั้งนั้น สมเด็จพระพันวัสสาอัยยิกาเจาไดทรงซาบซ้ึงพระทัยดี และเม่ือส้ินสงครามไดรับส่ังเรียกปรีดีไปท่ีประทับและขอบใจซ่ึงคณะเสรีไทยถือวาเปนพระมหากรุณาธิคุณเปนอยางยิ่ง”

22

เสด็จสวรรคต หลังจากที่ปรีดีเขาเฝาละอองธุลีพระบาทตามรับส่ังเม่ือคืนวันท่ี 7 มิถุนายน 2489 แลว รุงข้ึนเชาวันท่ี 8 มิถุนายนก็ไดทรงพระกรุณาประกาศพระบรมราชโองการโปรดเกลาแตงต้ังใหปรีดีเปนนายกรัฐมนตรี โดย พ.ต. วิลาศ โอสถานนท ประธานพฤฒสภาและ เกษม บุญศรี ประธานสภาผูแทนราษฎรเปนผูลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ แตยังไมทันท่ีปรีดีจะไดแตงตั้งคณะรัฐมนตรีชุดใหม เหตุการณอันเศราสลดอันยังความเศราโศกใหกับคนไทยท้ังชาติก็เกิดข้ึนในตอนเชาเวลาโดยประมาณ 09.25 นาฬิกาของวันท่ี 9 มิถุนายน 2489 เม่ือเยาวกษัตริยอันเปนท่ีเคารพรักของคนไทยท้ังชาติถูกพระแสงปนสวรรคตบนพระแทนบรรทม ณ พระท่ีนั่งบรมพิมาน ในพระบรมมหาราชวัง ปรีดีในฐานะนายกรัฐมนตรีไดส่ังเรียกประชุมรัฐสภาเปนการดวนและไดเปดประชุมเม่ือเวลา 21.10 นาฬิกาของวันท่ี 9 มิถุนายนนั่นเอง มีสมาชิกพฤฒสภาเขารวมประชุม 64 นาย สมาชิกสภาผูแทนราษฎร 63 นาย รวมเปน 127 นาย ปรีดีไดรายงานใหท่ีประชุมทราบถึงเหตุการณสวรรคตท่ีเกิดข้ึน เม่ือรายงานจบแลวสมาชิกแหงรัฐสภาไดลุกข้ึนยืนไวอาลัยแกพระองคผูจากไป และไดมีการซักถามถึงเหตุการณท่ีเกิดขึ้น สอ เศรษฐบุตร สมาชิกสภาผูแทนราษฎร (จ.ธนบุรี) สังกัดพรรคประชาธิปตยซักถามวา

พล.ต.ท. พระรามอินทรา อธิบดีกรมตํารวจตอบกลับวา

พอมาถึงตอนนี้ ม.ร.ว. คึกฤทธ์ิ ปราโมช ผูแทนราษฎร (จ.พระนคร) สังกัดพรรคประชาธิปตยขอใหยุติการซักถามกันไวกอนเพื่อคอยฟงแถลงการณของรัฐบาล การถามตอบจึงยุติลง รัฐบาลจึงไดเสนอพระนามผูสืบราชสันตติวงศคือ สมเด็จพระเจานองยาเธอเจาฟาภูมิพลอดุลยเดชข้ึนครองราชยเปนรัชกาลท่ี 9 แหงราชจักรีวงศตามกฎมณเฑียรบาลวาดวยการสืบราชสันตติวงศ หมวด 4 มาตรา 9 ขอ 8 และดวยความเห็นชอบเปนเอกฉันทของรัฐสภาตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย มาตรา 9 ฉบับวันท่ี 9 พฤษภาคม 2489 เปนท่ีนา

“ขาพเจาอยากจะขอเรียนถามทานอธิบดีกรมตํารวจในขอท่ีสําคัญคือวา นอกจากพระญาติวงศซ่ึงเขาออกหองพระบรรทมแลว มีใครบางท่ีเขาไดบาง...”

“เทาท่ีไดฟงมาแลวมีพระราชชนนี, พระอนุชา และพวกมหาดเล็กหองบรรทม (ชิต สิงหเสนี, บุศย ปท มศริน) พระพ่ีเล้ียง (เนื่อง จินตะดุลยน) สวนคนอ่ืนใดนั้นขาพเจายังไมทราบ...”

23

สังเกตวา การข้ึนเสวยราชยของสมเด็จพระเจานองยาเธอเจาฟาภูมิพลอดุลยเดชคร้ังนั้นมีเลข 9 เปนกําลังสําคัญคือ

- เปนรัชกาลท่ี 9 แหงราชจักรีวงศ - ข้ึนเสวยราชย วันท่ี 9 มิถุนายน - ปข้ึนเสวยราชย พ.ศ. 2489 - ตามกฎมณเฑียรบาล หมวด 4 มาตรา 9 (8) - และดวยความเห็นชอบของรัฐสภาตามมาตรา 9 - แหงรัฐธรรมนูญฉบับวันท่ี 9 พฤษภาคม 2489

หลังจากรัฐสภาไดมีมติเปนเอกฉันทแลว นายกรัฐมนตรีปรีดีไดกลาวตอท่ีประชุมวา

ท่ีประชุมไดยืนข้ึนและเปลงเสียงไชโย 3 คร้ัง ตอจากนั้นประธานพฤฒสภา, ประธานสภาผูแทนราษฎร, รองประธานพฤฒสภา, รองประธานสภาผูแทนราษฎรไดเขาไปถวายพระพรในพระบรมมหาราชวัง และกราบบังคมทูลอัญเชิญเจาฟาภูมิพลอดุลยเดชนใหข้ึนครองราชยสมบัติตามมติของรัฐสภา มีประกาศอัญเชิญสมเด็จพระเจานองยาเธอเจาฟาภูมิพลอดุลยเดชขึ้นครองราชยดังนี้

“สมเด็จพระเจาอยูหัวไดสวรรคตแลว และบัดนี้สมเด็จพระเจานองยาเธอเจาฟาภูมิพลอดุลยเดชไดสืบราชสันตติวงศเปนสมเด็จพระเจาอยูหัวของประชาชนชาวไทยแลว เพราะฉะน้ันขอใหสภาถวายพระพรชัย ขอใหสมเด็จพระเจาอยูหัวจงทรงพระเจริญ”

ประกาศ โดยท่ีสมเด็จพระเจาอยูหัวอานันทมหิดลไดเสด็จสวรรคตเม่ือวันท่ี 9 มิถุนายน พุทธศักราช 2489 โดยที่ตามความในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยมาตรา 9 การสืบราชสมบัติใหเปนไปตามนัยแหงกฎหมายมณเฑียรบาลวาดวยการสืบราชสันตติวงศ พระพุทธศักราช 2467 และประกอบดวยความเห็นชอบของรัฐสภา โดยท่ีสมเด็จพระเจานองยาเธอเจาฟาภูมิพลอดุลยเดชทรงเปนเจานายเช้ือพระบรมวงศท่ีรวมพระราชชนนีตามความในมาตรา 9 (8) แหงกฎมณเฑียรบาลวาดวยการสืบราชสันตติวงศ พุทธศักราช 2467 โดยท่ีรัฐสภาไดลงมติ ณ วันท่ี 9 มิถุนายน พุทธศักราช 2489 แสดงความเห็นชอบเปนเอกฉันทในการท่ีจะอัญเชิญสมเด็จพระเจานองยาเธอเจาฟาภูมิพลอดุลยเดชข้ึนครองราชยสืบราชสันตติวงศตอไป ตามความในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยมาตรา 9 

24

ตอกรณีสวรรคตของรัชกาลท่ี 8 ปฏิปกษทางการเมืองของปรีดีท้ังท่ีปฏิปกษทางชนช้ันคือ พวกเศษเดนศักดินากับปฏิปกษทางทรรศนะคือ พวกเผด็จการ ตางไดฉวยใชกรณีสวรรคตของพระองคมาเปนเครื่องมือทําลายปรีดี กลาวหาปรีดีดวยวิธีการปลอยขาวลือและโฆษณาชวนเช่ืออยางลับๆวา ปรีดีเปนผูวางแผน ปรีดีไดช้ีแจงในท่ีประชุมรัฐสภาในวันประชุมท่ีอางแลวขางตนตอขาวลือใสรายปายสีมีความตอนหนึ่งวา

จึงขอประกาศใหทราบโดยท่ัวกันวา สมเด็จพระเจานองยาเธอเจาฟาภูมิพลอดุลยเดชไดข้ึนครองราชยสืบราชสันตติวงศเปนสมเด็จพระเจาอยูหัวตั้งแตวันท่ี 9 มิถุนายน พุทธศักราช 2489 เปนตนไป ประกาศ ณ วนัท่ี 9 มิถุนายน พุทธศักราช 2489

ปรีดี พนมยงค นายกรัฐมนตรี

“...เสียงลืออกุศลวาคนน้ันคนนี้ออกมาแลวไปทําอยางนั้นอยางนี้ นี่ก็เปนเร่ืองลือสืบเนื่องมาจากความอิจฉาริษยาเปนมูลหรือมีบาวขางยุเปนตน เปนมูลเหตุสืบเนื่องอยางนั้น ... และอีกอยางหน่ึง สําหรับเร่ืองพระองคนี้ขาพเจารูสึกวา ขาพเจาเปนผูซ่ึงจงรักภักดีทานมากท่ีสุดกวาหลายๆคน ในขณะท่ีพระองคประจําอยูในตางประเทศหรือท่ีพระองคไดกลับมาแลวก็ดี ส่ิงใดอันเปนส่ิงท่ีพระองคพึงปรารถนาในสวนพระองค ขาพเจาจัดถวาย หรือบางส่ิงบางอยางเม่ือพระองคทรงรับส่ังถามขอความอยางหน่ึงอยางใดอันเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญ ขาพเจาก็ไดช้ีแจงตามระเบียบแบบแผนของแนวรัฐธรรมนูญตามนิสัยของขาพเจาซ่ึงขาพเจาถือวา ซ่ือสัตยตอพระมหากษัตริย ขาพเจาไมอางพระนามหรือเอาพระนามของพระองคไปอางในท่ีชุมนุมชนใดๆซ่ึงบางแหงทํากัน หรือในกรณีท่ีทานสวรรคตแลว ขาพเจาก็พยายามท่ีสุดท่ีจะพยายามทําในเร่ืองน้ีใหขาวกระจาง เพราะเปนพระมหากษัตริย เราจะทําใหเร่ืองเงียบอยูเฉยๆไมได ขาพเจาไมปรารถนาทําอยางคนบางคนทําโดยฉวยโอกาสเอาเร่ืองสวรรคตของพระองคไปโพทะนากลาวราย และวันนั้นจะตองกลาวเสียดวย ขาวท่ีขาพเจาไดทราบเกี่ยวแกสมเด็จพระเจาอยูหัวสวรรคตนั้น ขาพเจาไดทราบราวประมาณเกือบ 10 นาฬิกา เวลานั้นรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทยกับอธิบดีกรมตํารวจไดมาท่ีบาน เนื่องจากกรรมกรมักกะสันสะไตรค ขาพเจาจึงโทรศัพทเชิญราชเลขาไปดวย เม่ือไปถึงแลวเราอยูขางลาง ไมไดข้ึนไปขางบน เพราะเหตุวา เกี่ยวแกพระมหากษัตริยจึงไดเชิญเจานายผูใหญมาพรอมแลวจึงข้ึนไปชั้นบน สวนในทางช้ันบนของทานเปนเร่ืองท่ีทานทําปฐมพยาบาลในช้ันบน”

25

เพื่อทําความจริงใหปรากฏตอมาในวันท่ี 18 มิถุนายน 2489 ปรีดีนายกรัฐมนตรีจึงไดมีคําส่ังแตงต้ังคณะกรรมการขึ้นชุดหนึ่งเพื่อสอบหาขอเท็จจริง คณะกรรมการชุดนี้ประกอบดวยตัวแทนสถาบันหลักของชาติคือ ประธานศาลฎีกา, อธิบดีศาลอุทธรณ, อธิบดีศาลอาญา, อธิบดีกรมอัยการ, ประธานพฤฒสภา, ประธานสภาผูแทนราษฎร, เจานายช้ันผูใหญ 3 พระองค, ผูแทนกองทัพบก, ผูแทนกองทัพเรือ, ผูแทนกองทัพอากาศ โดยมี สัญญา ธรรมศักดิ์ เปนเลขานุการ และ สอาด นาวีเจริญ เปนผูชวยเลขานุการ คณะกรรมการชุดนี้เรียกช่ืออยางเปนทางการวา “คณะกรรมการสอบสวนพฤติกรรมในการที่สมเด็จพระเจาอยูหัวอานันทมหิดลเสด็จสวรรคต” และในระหวางท่ีคณะกรรมการชุดดังกลาวกําลังสอบสวนหาความจริงนั้นไดมีการเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรเพ่ิมเติมตามรัฐธรรมนูญฉบับวันท่ี 9 พฤษภาคม 2489 ซ่ึงไดกําหนดใหมีการเลือกต้ังในวันท่ี 5 สิงหาคม 2489 ในระหวางหาเสียงเลือกต้ังคร้ังนั้นพรรคการเมืองบางพรรคไดฉวยโอกาสเอากรณีสวรรคตไปโฆษณาโจมตีรัฐบาล กระทรวงมหาดไทยจึงไดออกคําส่ังไปถึงกํานัน - ผูใหญบานประกาศอยาใหราษฎรหลงเช่ือคําโฆษณาอันเปนเท็จนั้น คําส่ังกระทรวงมหาดไทยที่ 207/2489 ลงวันท่ี 29 กรกฎาคม 2489 มีขอความบางตอนวา

“ขาพเจาและรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทยพรอมดวยเจานาย อันมีพระเจาบรมวงศเธอ กรมขุนชัยนาทนเรนทรเปนผูนําข้ึนไป ไดข้ึนไปเปนเวลาเท่ียงเศษๆแลว ข้ึนไปดูพระบรมศพ และความจริงในการตรวจ เราจะไปถือกรณีพระมหากษัตริยเหมือนเอกชนไมได ขาพเจาเปนนักเรียนกฎหมาย ขาพเจารูเร่ืองวิธีพิจารณาความอาญาวาเปนอยางไรและจะตองทําอยางไร ? ก็ไดบอกกับอธิบดีกรมตํารวจวา เราจะตองทําใหแนชัด เชน เหมือนอยางวาบอกใหหมอเอาโพลกไปใสพระกะโหลก ขาพเจาก็ไมรูราชาศัพทดี ไดปรึกษาเจานาย บอกทาน ทานส่ันพระเศียร ขาพเจาโดนท้ังข้ึนท้ังลอง ถาจะตองผาพระกะโหลกก็เปนเร่ืองพระศพของพระมหากษัตริยจะทําใหเสียพระราชประเพณี และวิธีพิจารณาทางอื่นก็มี เม่ือเปนเชนนี้จึงตัดสินวา เราจะตองสอบถามผูท่ีอยูใกลชิดและแพทยประจําพระองคคือ คุณหลวงนิตยเวชชวิศิษฏเปนผูปฐมพยาบาล...”

“ดวยในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนคราวน้ีไดมีผูสมัครรับเลือกตั้งและผูสนับสนุนผูสมัครซ่ึงใชสมญาวา พรรคประชาธิปตยบางคนไดฉวยโอกาสการเลือกตั้งเปนเคร่ืองมือโฆษณาชวนเช่ือ หลอกลวงราษฎรใหเกิดการเขาใจผิดเพื่อกอใหเกิดความดูหม่ินและกระดางกระเดื่องตอรัฐบาล...เพ่ือใหราษฎรลง คะแนนใหแกตนหรือพรรคของตน ตามทางสืบสวนไดความวา พรรคประชาธิปตยบางคนไดหลอกลวงใหราษฎรเขาใจผิดในหัวขอตอไปนี้ ฯลฯ 4. กลาวหารัฐบาลวา ปดขาวเรื่องสวรรคต และใสรายรัฐบาลในเร่ืองนี้ดวยประการตางๆ ความจริงนั้นรัฐบาลไมไดปดบัง และตองการที่จะใหกรรมการไดสอบสวนเร่ืองนี้โดยยุติธรรมและเปดเผย ดังจะเห็นไดจากการแตงต้ังกรรมการสอบสวน และวิธีปฏิบัติซ่ึงมีตุลาการ, อัยการ, ประธานสภาทั้งสอง, นายพลทหารบก, ทหารเรือ, ทหารอากาศ, เจานายช้ันสูง และการสอบสวนก็ใหประชาชนไปฟงได นับเปนประ

26

เหตุผลสําคัญประการหนึ่งท่ีฝายปฏิปกษยกข้ึนมาโฆษณาชวนเชื่อวา ปรีดีเปนผูวางแผน เพราะวาปรีดีเปนผูนิยมระบอบมหาชนรัฐตอโฆษณาชวนเช่ือนี้ในเวลาตอมา แถลงการณปดคดีของจําเลยในคดีสวรรคตไดช้ีใหเห็นตอนหนึ่งวา

วัติการณคร้ังแรกของประเทศไทยท่ีการสอบสวนเชนนี้ไดกระทําตอหนาประชาชน จะหาวารัฐบาลปดบังประการใด รัชกาลท่ี 9 และสมเด็จพระราชชนนีก็ไดพระราชทานพระราชกระแสตอกรรมการแลววา รัชกาลท่ี 9 ในพระบรมโกศมิไดมีขอขัดแยงหรือไมพอพระทัยในรัฐบาลแตอยางใด ฝายรัฐบาลก็ไดถวายความจงรักภักดี และกระทําตามทุกส่ิงทุกอยางตามพระราชประสงค เม่ือสมเด็จพระเจาอยูหัวในพระบรมโกศทรงบรรลุนิติภาวะแลว นายกรัฐมนตรีปจจุบันนี้ เม่ือคร้ังเปนผูสําเร็จราชการแทนพระองคก็ไดอัญเชิญทูลเสด็จพระเจาอยูหัวไดเสด็จกลับมาครองราชย มิไดปรารถนาท่ีจะกุมอํานาจท่ีจะทําหนาท่ีเปนประมุขของรัฐ และไมไดกระทําการขัดขวางอยางใด แตตรงกันขามกลับอัญเชิญเสด็จกลับมามอบถวายราชสมบัติแดพระองค ในระหวางท่ีพระองคเสด็จประทับอยู ณ ตางประเทศ เม่ือมีผูปองรายตอราชบัลลังก นายกรัฐมนตรีคนปจจุบันนี้ เม่ือคร้ังเปนผูสําเร็จราชการแทนพระองคก็ไดเสียสละและเส่ียงภัยเพ่ือปองกันราชบัลลังกใหปลอดภัยตลอดมา เวลานั้นหามีผูใดเส่ียงภัยเชนนั้นไม แตตรงกับขามกลับประจบสอพลอผูมีอํานาจ รัฐบาลน้ีมีความเสียใจท่ีพรรคประชาธิปตยบางคนไดฉวยโอกาสเอาพระมหากษัตริยอันเปนท่ีเคารพสักการะมาใชเปนเคร่ืองมือทางการเมือง ในระหวางท่ีพระองคมีพระชนมอยูในการประชุมพรรคประชาธิปตยบางคร้ังไดแอบอางวา ในหลวงรับส่ังอยางนั้นอยางนี้ จะขอยกตัวอยางวา ในการประชุมพรรคประชาธิปตยในวันท่ี 23 พฤษภาคมศกนี้มีผูสมัครรับเลือกต้ังเปนสมาชิกพฤฒสภาท่ีพรรคประชาธิปตยลองไปรวมประชุมก็คงจะจําไดวา วันนั้นใครอางพระนามในหลวงไปพูดในท่ีประชุมวาอยางไรบางซ่ึงพระองคเองไมทรงทราบเร่ืองอะไรเลย พระองคทรงบําเพ็ญพระองคเปนกลางและเปนท่ีสักการะโดยแทจริง คร้ันพระองคสวรรคตแลวก็เอาการสวรรคตของพระองคเปนเคร่ืองมือทางการเมืองตอไปอีก ไดพยายามปนขาวเท็จต้ังแตวันแรกสวรรคตใหประชาชนหลงเขาใจผิด ท้ังในทางพูดทางโทรศัพท, ทางโทรเลข และทางเอกสารหนังสือพิมพ พวกเหลานี้ไมใชเปนพวกท่ีจงรักภักดีตอพระมหากษัตริย เปนพวกท่ีแสวงหาผลประโยชนจากพระมหากษัตริยเพื่อความเปนใหญของตน และเพื่อการเลือกต้ังท่ีจะไดผูแทนซ่ึงเปนพวกของตน ดังจะเห็นไดอยางแนชัดวา ถาพวกนี้จงรักภักดีตอพระมหากษัตริยแลว ในระหวางท่ีพระองคทรงประทับอยูตางประเทศ และในระหวางท่ีราชบัลลังกถูกกระทบกระเทือนในบางคร้ัง และพระราชวงศถูกผลปฏิบัติบางประการน้ันพวกประชาธิปตยบางคนซ่ึงอางวา จงรักภักดีตอสมเด็จพระเจาอยูหัวยิ่งกวา ใครๆนั้นทําไมไมเขาเส่ียงภัยคิดแกไขอยางใดเลย แตอาจมีบางคนกลาวแกวา เวลานั้นทําอยางนั้นอยางนี้อยู แตก็เปนเร่ืองเท็จท้ังส้ิน ขอราษฎรอยาไดเช่ือฟง...”

27

และจดหมายของ เลียง ไชยกาล อดีตรัฐมนตรีหลายกระทรวงที่มีไปถึงปรีดีท่ีปารีสเม่ือเดือนพฤศจิกายน 2513 ไดปรารภเร่ืองเดียวกันนี้ มีความตอนหนึ่งวา

“ ...การเปล่ียนแปลงการปกครองเปนมหาชนรัฐนั้น เปนเ ร่ืองของการเปล่ียนสถาบันอันมีพระมหากษัตริยเปนประมุข เปนเร่ืองของการลมเลิกสถาบันเสีย ไมใชเปนเร่ืองของการเปล่ียนตัวบุคคลดังทัศนะของนักนิยมอํานาจ การฆากษัตริยจึงไมใชวิธีการหรือธรรมนิยมของนักมหาชนรัฐ...”

“ ...ผมเห็นวาทานอาจารยมีกรรมเกามากกวา เพราะถาพิจารณาถึงเหตุผลในเร่ืองฆาในหลวงแลว ผมพูดเสมอวา เม่ือมาถึงข้ันนั้นแลวทําไมปรีดีจึงยุติ (ไมประกาศเลิกลมสถาบันกษัตริยเสียแลวสถาปนามหาชนรัฐข้ึนแทน แตนี่ทานกลับอัญเชิญสมเด็จพระเจานองยาเธอข้ึนนั่งราชบัลลังกเปนรัชกาลท่ี 9 สืบตอมาจนถึงวันนี้) ท้ังๆที่สภาท้ัง 2 อยูในกํามือ...”

28

รัฐประหารวันที่ 8 พฤศจิกายน 2490 ตอมาในวันท่ี 21 สิงหาคม 2489 ปรีดีไดลาออกจากตําแหนงนายกรัฐมนตรี และ พล.ร.ต. ถวัลย ธํารงนาวาสวัสดิ์ หรือท่ีเรียกกันโดยท่ัวไปวา “หลวงธํารง” ไดรับแตงต้ังใหเปนนายกรัฐมนตรีสืบตอมาและไดพิจารณารายงานของคณะกรรมการศาลกลางเมือง (ตั้งข้ึนในสมัยรัฐบาลปรีดี) ท่ีเสนอตอรัฐบาลเม่ือปลายเดือนตุลาคม 2489 ซ่ึงมีสาระสรุปไวตอนปลายของรายงานฉบับนั้นวา

ตอความเห็นของคณะกรรมการศาลกลางเมืองท่ีวา กรณีสวรรคตเกิดจากกรณีหนึ่งกรณีใดใน 2 กรณีคือ ยิงพระองคเองและถูกลอบปลงพระชนมนั้นสอดคลองกับความเห็นของนายแพทย สุด แสงวิเชียร ศาสตรา จารย หัวหนาแผนกวิชากายวิภาคศาสตร คณะแพทยศาสตรและศิริราชพยาบาลท่ีไดใหรายละเอียดในกรณีนี้ไวกับคณะกรรมการแพทยวา

“...คณะกรรมการไดประมวลสอบสวนเขาท้ังหมด ท้ังท่ีเจาหนาท่ีตํารวจไดสอบสวนไวเดิมและที่สอบสวนโดยเปดเผยตอหนาประชาชน และเม่ือไดพิจารณาถึงคําพยานบุคคล, วัตถุพยาน และเหตุผลแวดลอมกรณีตางๆทุกแงทุกมุมโดยรอบดานดังกลาวมาแตตนแลว คณะกรรมการเห็นวา ในกรณีอันจะพึงเปนเหตุใหรัชกาลท่ี 8 เสด็จสวรรคตไดนั้น สําหรับกรณีอุบัติเหตุคณะกรรมการมองไมเห็นทางวาจะเปนไปไดเลย สวนอีก 2 กรณีคือ ถูกลอบปลงพระชนมและทรงยิงพระองคเองนั้น การถูกลอบปลงพระชนมไมมีหลักฐานและเหตุผลท่ีแนนอนแสดงวาจะเปนไปได แตไมสามารถที่จะตัดออกเสียโดยส้ินเชิง เพราะวายังมีทาทางของพระบรมศพคานอยู สวนในกรณียิงพระองคเองนั้น ลักษณะของบาดแผลแสดงวา เปนไปได แตไมปรากฏเหตุผลหรือหลักฐานอยางใดวาไดเปนไปเชนนั้นโดยแนชัด คณะกรรมการจึงไมสามารถท่ีจะช้ีขาดวา เปนกรณีหนึ่งกรณีใดในสองกรณี ท้ังนี้เปนเร่ืองท่ีอยูในอํานาจหนาท่ีของเจาพนักงานที่จะดําเนินการสืบสวน และปฏิบัติตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาตอไป”

“ขาพเจาไดหนังบาดแผลมาช้ินหนึ่งซ่ึงขาพเจาไดตัดออกจากพระนลาฏของสมเด็จพระเจาอยูหัวในพระบรมโกศขณะท่ีทําการชันสูตรพลิกพระบรมศพ บาดแผลเปนเสมือนกากบาด มีหนังแยกเปนส่ีแฉก แฉกบน แฉกลาง แฉกขวา และซาย เม่ือไดใชกลองจุลทัศนชนิด 2 ตาสองดูบนหนังนั้นมีรอยกดเปนรอยโคง เห็นไดชิดบนแฉกขวาและซาย แฉกบนไมเห็นถนัดนัก และแฉกลางไมเห็นเลย ถาเอาสวนโคงเหลานั้นมาตอกันเขาก็จะเปนรูปวงกลม มีเสนผาศูนยกลางประมาณ 11 ม.ม. เปนท่ีนาสังเกตดวยวาปลายแฉกเหลานั้นเปนรอยโคง และเสนโคงบนผิวหนังไมตอกันเปนรูปวงกลม นอกจากนั้นยังมีเนื้อท่ีเล็กๆไหมอยูท่ีแฉกลาง และมีสีแสดงวา เปนดินปนติดอยูดานในของหนังช้ันนั้นดวย”

29

แลวหมอสุดก็สันนิษฐานจากลักษณะบาดแผลดังกลาวขางตนนั้นวา

ตอลักษณะบาดแผลเปนรอยกดปากกระบอกปนวงกลมเสนผาศูนยกลาง 11 ม.ม. ตามคําของหมอสุดนั้น คณะกรรมการศาลกลางเมืองไดมีความเห็นไวในรายงานดังกลาวขางตนอีกตอนหน่ึงวา

ตอรายงานของคณะกรรมการศาลกลางเมือง รัฐบาลหลวงธํารงไดตั้งอนุกรรมการรัฐมนตรีข้ึนหลายทาน เม่ือวันท่ี 1 พฤศจิกายน 2489 เม่ืออนุกรรมการรัฐมนตรีพิจารณาเสด็จแลวไดสงกลับเขาสูการพิจารณาในคณะรัฐมนตรีอีกคร้ังหนึ่งซ่ึงคณะรัฐมนตรีไดมีมติเปนเอกฉันทใหสงเร่ืองใหกรมตํารวจสืบสวนเอาตัวคน รายท่ีแทจริงในการปลงพระชนมรัชกาลท่ี 8 มาดําเนินคดีตอไป ในขณะท่ีตํารวจท่ีทําการสืบสวนคืบหนาใกลชิดตัวมือปนเขาไปทุกที รวมท้ังไดสอบถามปากคําของคนบางคนไว แตไมสามารถเปดเผยในขณะนั้นได เม่ือขาวนี้ไดแพรออกไปก็ไดเกิดรัฐประหารวันท่ี 8 พฤศจิกายน 2490 ซ่ึงพรรคประชาธิปตยกับคณะรัฐประหารทําข้ึน พรรคประชาธิปตยก็ไดเปนรัฐบาลเม่ือวันท่ี 10 พฤศจิ กายน 2490 คร้ันแลวรัฐบาลนี้ก็ไดแตงตั้งให พล.ต.ต. พระพินิจชนคดี (ยศขณะน้ัน) พี่เขยของ 2 ม.ร.ว. สํา คัญแหงพรรคประชาธิปตยคือ เสนีย และ คึกฤทธ์ิ ปราโมช ซ่ึงออกจากราชการรับบํานาญไปแลวนั้นกลับเขารับราชการทําหนาท่ีสืบสวนกรณีสวรรคตเสียใหม อันนําไปสูการจับกุม เฉลียว ปทุมรส อดีตราชเลขานุ การในพระองค, ชิต สิงหเสนี และ บุศย ปทมศริน 2 มหาดเล็กหองพระบรรทมในวันท่ี 20 พฤศจิกายน 2490 หลังจากวันทํารัฐประหาร 12 วัน โดยท่ี พล ต.ต. พระพินิจชนคดี และคณะไมอาจสรางพยานหลักฐานเท็จไดทันในระยะเวลาสอบสวนตามท่ีกฎหมายกําหนดคือ 90 วัน รัฐบาลพรรคประชาธิปตยท่ีมีควงเปนนายกรัฐมนตรีจึงไดเสนอกฎหมายตอสภาผูแทนราษฎรเม่ือวันท่ี 23 มกราคม 2491 ขยายกําหนดเวลาขังผูตองหาในกรณีสวรรคตไดเปนพิเศษใหศาลอนุญาตใหขังผูตองหาไดหลายคร้ัง รวมเวลาไมเกิน 180 วัน

“รอยกดในหนังนั้นอาจเปนไปโดยกดปากกระบอกปนกระชับแนนลงท่ีพระนลาฏกอนยิง ถาหากเปนการอุบัติเหตุแลวปากกระบอกปนคงไมกดลงไปท่ีพระนลาฏกระชับแนนตามความเห็นของขาพเจามีทางอธิบายท่ีเปนไปได 2 ประการเทานั้นคือ ยิงพระองคเองหรือถูกปลงพระชนมท้ัง 2 ประการเทาๆกัน”

“...แผลน้ีเกิดจากการยิงในระยะติดผิวหนังหรือหางไมเกิน 5 ซ.ม. ลักษณะของบาดแผลเปนดังนี้ คณะกรรมการเห็นฟองดวยความเห็นของแพทยสวนมากในขอท่ีวา โดยลักษณะของบาดแผลนั้นเอง แสดงใหเห็นวา บาดแผลเกิดจากความต้ังใจของผูกระทํา แตความต้ังใจน้ีมิไดหมายความเฉพาะต้ังใจกระทําใหตาย ยอมหมายความรวมถึงความต้ังใจที่ยกปนนี้ข้ึนไปจอติดหนาผากซ่ึงปนอาจล่ันข้ึนโดยอุบัติเหตุก็ไดดวย”

30

คดีประวัติศาสตร ในท่ีสุดพนักงานสอบสวนกรมตํารวจไดสงสํานวนใหอัยการ หลังจากท่ีไดพยายามสรางพยานหลักฐานเท็จ อยูถึง 180 วัน และอัยการก็รับสํานวนอันเปนเท็จนั้นไปประติดประตอเพื่อสรุปเขียนคําฟองอยูอีก 34 วันจึงไดยื่นฟองตอศาลอาญาเม่ือวันท่ี 7 สิงหาคม 2491 โดย เฉลียว ปทุมรส เปนจําเลยท่ี 1, ชิต สิงหเสนี เปนจําเลยท่ี 2 และบุศย ปทมศริน เปนจําเลยท่ี 3 ฐานความผิดสมคบกันประทุษรายตอรัชกาลท่ี 8 และเพทุบายเท็จเพื่อปกปดการกระทําผิด คําฟองมีท้ังหมด 5 ขอลงนามโดยหลวงอรรถปรีชาธนูปการ (โจทก) ในจํานวน 5 ขอนี้ ขอ 3 ระบุความผิดไววา

โจทกไดนําสืบในเวลาตอมาวา สถานท่ีท่ีจําเลยและพวกไปประชุมวางแผนการปลงพระชนมนั้นคือ บานของ พล.ร.ต. พรรยา ศรยุทธเสนี ซ่ึงต้ังอยูท่ี ต.ชนะสงคราม อ.พระนคร จ.พระนคร และพยานโจทกปากเอกท่ีรูเห็นเหตุการณดังกลาวนี้คือ ตี๋ ศรีสุวรรณ ซ่ึงอางวาไดอาศัยอยูในบานพระยาศรยุทธเสนีกอนเกิดกรณีสวรรคต ตอคําเบิกความของ ตี๋ ศรีสุวรรณ พยานปากเอกของโจทกซ่ึงเปนความเท็จท่ีเสกสรรปนแตงข้ึนโดย พล.ต.ต. พินิจชนคดี และคณะซ่ึงศาลอาญาและศาลอุทธรณไมรับฟงคําเบิกความนั้น แมศาลฎีกาถึงแมวาจะไมปฏิเสธคําเบิกความของ ตี๋ ศรีสุวรรณ อยางส้ินเชิงอยางเชนศาลอาญาและศาลอุทธรณ แตศาลฎีกาก็ไมยืนยันวา คําเบิกความของ ตี๋ ศรีสุวรรณ เปนความจริง ดังขอสรุปคําวินิจฉัยของ 3 ศาลตอคําเบิกความของต๋ี คําพิพากษาของศาลอาญาในคดีคําท่ี 1898/2491 คดีแดงท่ี 1266/2494 วันท่ี 27 กันยายน 2494 วา

“(ก) เม่ือระหวางวันท่ี 9 เมษายน 2489 เวลาใดไมปรากฏถึงวันท่ี 9 มิถุนายน 2489 เวลากลางวัน จําเลยท้ัง 3 นี้กับพรรคพวกดังกลาว (ปรีดี และ ร.อ. วัชรชัย) ไดทนงองอาจสมคบกันคิดการตระเตรียมจะกระทําการปลงพระชนมรัชกาลท่ี 8 โดยพรรคพวกดังกลาวกับจําเลยไดประชุมกันปรึกษาวางแผนการ และตกลงกันในอันท่ีจะกระทําการปลงพระชนมเม่ือใด และใหผูใดเปนผูรับหนาท่ีรวมกันไปกระทําการปลงพระชนมรัชกาลท่ี 8 และจําเลยที่ 3 นี้ไดบังอาจชวยกันปกปดการสมคบกันจะประทุษฐรายตอพระองคสมเด็จพระเจาอยูหัวดังกลาว และจําเลยหาไดเอาความนั้นไปรองเรียนไม เหตุเกิดท่ี ต.ชนะสงคราม อ.พระนคร จ.พระนคร”

“ใครเลยจะเช่ือฟงคํา ตี๋ ศรีสุวรรณ เปนความจริงไปได กลับจะยิ่งเห็นนิสัยของ ตี๋ ศรีสุวรรณ ถนัดข้ึนไปอีกวาเขาลักษณะท่ีเรียกกันวา คุยโมเสียแนแลว”

31

ศาลอุทธรณไดวินิจฉัยคําเบิกความของต๋ีไวในคําพิพากษาคดีหมายเลขดําท่ี 3056/2494 คดีหมายเลขแดงท่ี 2636/2494 วันท่ี 28 ตุลาคม 2496 วา

ศาลฎีกาไดมีความเห็นในคําเบิกความของต๋ีไวในคําพิพากษาลงวันท่ี 12 ตุลาคม 2497 โดยสรุปวา

จากคําวินิจฉัยของ 3 ศาลในประเด็นตามฟองของโจทกขอ 3 (ก) ท่ีวา “จําเลยท้ังสามกับพวกไดทนงองอาจสมคบกันคิดการตระเตรียมจะกระทําการปลงพระชนมรัชกาลท่ี 8 โดยพรรคพวกดังกลาวกับจําเลยไดประชุมกันปรึกษาวางแผนการ” และผูท่ีโจทกอางวา เปนผูรูเห็นการวางแผนการนี้คือ ตี๋ซ่ึงศาลอาญาและศาลอุทธรณไดปฏิเสธไมรับฟงคําใหการของต๋ีในประเด็นนี้อยางส้ินเชิง ดังท่ียกมาขางตนนั้น สวนศาลฎีกาถึงแมวาจะไมปฏิเสธอยางส้ินเชิงตอคําใหการของต๋ีอยางท่ีศาลอาญาและศาลอุทธรณปฏิเสธมาแลว แตศาลฎีกาก็ไมไดรับวา คําใหการของต๋ีอันเปนโครงสรางของคดีนี้วา เปนความจริง ศาลฎีกาความเห็นแตเพียงวา “ศาลเห็นวา จะฟงความหรือถอยคําท่ีพูกันใหเปนอยางหน่ึงอยางใดยังไมถนัด” เม่ือฟงไมถนัด ตามหลักนิติธรรมก็ตองยกผลประโยชนใหแกจําเลย นั่นคือจําเลยกับพวกไมไดมีการวางแผนการปลงพระชนมกันท่ี (บานของพระยาศรยุทธเสนี) ต.ชนะสงคราม อ.พระนคร จ.พระนคร ตามฟองของโจทก 3 (ก) และโจทกก็ไมไดนําสืบวา ไดมีการวางแผนการปลงพระชนมกันท่ีอ่ืนอีก นอกจากนี้มือปนที่ลอบปลงพระชนม โจทกพยายามนําสืบใหเห็นเปนวา มือปนผูนั้นคือ ร.อ. วัชรชัย 1 ใน 5 คนท่ีรวมวางแผนการปลงพระชนม ณ บานของพระยาศรยุทธเสนีนั้นซ่ึงโจทกมีพยานนําสืบ 2 ชุด แตศาลฎีกาไดพิพากษาฟนธงลงไปวา “พยาน 2 ชุดนี้ยังไมเปนหลักฐานพอท่ีจะไดช้ีวา ใครเปนผูลงมือลอบปลงพระชนม” จากคําวินิจฉัยของศาลฎีกาดังกลาวนี้เปนเคร่ืองช้ีใหเห็นอีกคร้ังหนึ่งวา ไมไดมีการวางแผนปลงพระชนมกันท่ีบานของพระยาศรยุทธเสนีตามฟองของโจทกขอ 3 (ก) และตามการนําสืบพยานของโจทก อยางไรก็ดีคําพิพากษาของศาลอาญาและศาลอุทธรณในกรณีไมยอมรับคําใหการของตี๋พยานปากเอกของโจทกวา เปนความจริงนั้น นอกจากจะไดรับการยืนยันจากบันทึก (ลับ) ของพระยาศรียุทธเสนีซ่ึงไดเปดเผยตอสาธารชนไปแลว

“ยิ่งคิดไปก็ไมมีทางท่ีศาลอุทธรณจะรับฟงคําใหการของ ตี๋ ศรีสุวรรณ ตอนนี้ได”

“ในเหตุตางๆท่ีกลาวมาน้ี (คําของต๋ีท่ีอางวาไดยินจําเลยกับพวกพูดจาวางแผนปลงพระชนมกันวาอยางนั้นอยางนี้) ศาลเห็นวา จะฟงความหรือถอยคําท่ีพูดกันใหเปนแนอยางใดอยางหนึ่งยังไมถนัด”

32

ตัวตี๋ยังไดไปสารภาพบาปกับทานปญญานันทภิกขุ แหงวัดชลประทาน อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี เม่ือป พ.ศ. 2522 ขณะท่ีตัวต๋ีเองอายุได 102 ปวา ไปเปนพยานเท็จในคดีสวรรคตทําใหผูบริสุทธ์ิ 3 คนตองถูกประหารชีวิต และต๋ียังไดใหบุตรเขยเขียนจดหมายไปขอขมาปรีดีท่ีปารีส ขอความรายละเอียดในจดหมายวา

แตท้ังๆท่ีศาลอาญาไมเช่ือคําใหการของต๋ีพยานปากเอกของโจทกวา ไดมีการวางแผนปลงพระชนมกันท่ีบานของพระยาศรยุทธเสนีตามฟองของโจทกขอ 3 (ก) แตศาลอาญาก็ไดพิพากษาใหประหารชีวิตชิต จําเลย

บานเลขท่ี 2386 ถ.พหลโยธิน กรุงเทพ

25 มกราคม 2522

เรียน ปรีดี ท่ีนับถือ ตี๋ ศรีสุวรรณ เปนพอตาของผม ขอใหผมเขียนจดหมายถึงทาน ตี๋เขียนจดหมายไมได เม่ือคร้ังไปใหการที่ศาลก็ไดแคเซ็นช่ือตัว ต. และพิมพมือเทานั้น ตี๋จึงใหผมซ่ึงเปนบุตรเขยเขียนตามคําบอกเลาของต๋ีเพื่อขอขมาลาโทษตอทาน ตี๋ใหการตอศาลวาปรีดี, ร.อ. วัชรชัย, เฉลียว, ชิด, บุศย ไปท่ีบานของพระยาศรยุทธขางวัดชนะสงครามเพ่ือปรึกษาลอบปลงพระชนมรัชกาลท่ี 8 ไมเปนความจริง ตี๋เอาความไมจริงมาใหการตอศาล เพราะ พล.ต.ต. พระพินิจชนคดี ใหเงินตี๋ 500 - 600 บาท และใหตี๋กินอยูหลับนอนอยูท่ีสันติบาลประมาณ 2 ปเศษ เดิม พล.ต.ต. พระพินิจชนคดี บอกวาจะให 20,000 บาท เม่ือเสร็จคดีแลว พล.ต.ต. พระพินิจชนคดี ก็ไมจายใหอีกตามท่ีรับปากไว เวลานี้ตี๋รูสึกเสียใจมากท่ีทําให 3 คนตาย และปรีดีกับ ร.อ. วัชรชัย ท่ีบริสุทธ์ิตองถูกกลาวหาดวย ตี๋ไดทําบุญกรวดน้ําใหกับผูตายเสมอมา แตก็ยังเสียใจไมหาย เดี๋ยวนี้ก็มีอายุมากแลว (102 ป) อีกไมชาก็ตายจึงขอขมาลาโทษปรีดี, ร.อ. วัชรชัย, ชิต และบุศย ท่ีตี๋เอาความเท็จมาใหการปรักปรํา ขอไดโปรดใหขมาตอต๋ีดวย ขอความทั้งหมดนี้ ผมไดอานใหตี๋ฟงตอหนาคนหลายคนในวันนี้ เวลาประมาณ 11.00 น.เศษ และไดใหตี๋พิมพลายมือต๋ีตอหนาผมและคนฟงดวย ขอแสดงความนับถืออยางสูง

เล่ือน ศิริอัมพร ต. (พิมพมือต๋ี)

 

33

ท่ี 2 ดวยความผิดตองดวยกฎหมายลักษณะอาญามาตรา 97 ตอน 2 และปลอยตัวเฉลียว จําเลยท่ี 1 กับบุศย จําเลยท่ี 3 พนขอหาไป ตอมาศาลอุทธรณท้ังๆท่ีในคําพิพากษาน้ันไดระบุไวอยางชัดเจน ไมเช่ือคําใหการของต๋ีเชนเดียวกัน แตศาลอุทธรณก็ไดแกคําพิพากษาศาลอาญาใหประหารชีวิตบุศย จําเลยท่ี 3 รวมเขาไปดวย ดวยความผิดตองดวยกฎหมายลักษณะอาญามาตรา 97 ตอน 2 คงปลอยพนขอหาไปแตเฉลียว จําเลยท่ี 1 กอนท่ีศาลอุทธรณจะอางกฎหมายลักษณะอาญามาตรา 97 ตอน 2 มาลงโทษบุศย จําเลยท่ี 3 นั้น ศาลอุทธรณไดอางคําใหการของชิต จําเลยท่ี 1 ท่ีไดใหการไวเม่ือวันท่ี 25 ธันวาคม 2490 มีความวา

สวนศาลฎีกาพิพากษาฟนธงลงไปเลยใหประหารชีวิตจําเลยท้ังสามคนในความผิดตามกฎหมายลักษณะอาญามาตรา 97 ตอน 2 กฎหมายลักษณะอาญา มาตรา 97 ตอน 2 วา

แตคําฟองของโจทกขอ 3 (ก) และการนําสืบพยานของโจทกวาจําเลยท้ังสามกับพวก (ปรีดีและ ร.อ. วัชรชัย) ไดไปประชุมวางแผนการปลงพระชนมกันท่ีบานของพระยาศรยุทธเสนี ทองท่ี ต.ชนะสงคราม อ.พระนคร จ.พระนคร ระหวางวันท่ี 9 เมษายน - 9 มิถุนายน 2489 แตศาลอาญาและศาลอุทธรณก็ไดวินิจฉัยไวในคําพิพากษาดังท่ีอางมาแลวขางตนนั้นวา ไมเช่ือถือคําเบิกความของพยานโจทก และศาลฎีกาแมวาจะไมปฏิเสธคําเบิกความของพยานโจทกอยางส้ินเชิงอยางเชน 2 ศาลที่ผานมาก็จริง แตศาลฎีกาก็ไดช้ีออกมาอยางชัดเจน

“ในการลอบปลงพระชนมรัชกาลท่ี 8 นี้ ถาเปนบุคคลภายนอกเขามาลอบปลงพระชนมจะตองมีมหาดเล็กหรือบุคคลภายในเปนสายชักจูงนําเขามาจึงจะทําการไดสําเร็จ ถาเปนคนภายในลอบปลงพระชนมแลวยอมทําไดสะดวกกวาบุคคลภายนอก สําหรับบุคคลภายในท่ีใกลชิดกับเหตุการณดังกลาวขางตนนี้ก็มีแตขากับบุศย 2 คนเทานั้น หากวาจะมีความผิดในกรณีสวรรคตนี้แลวก็มีขากับบุศย 2 คนนี้เทานั้นท่ีจะตองรับผิดอยูดวย...”

“ผูใดทะนงองอาจกระทําการประทุษรายตอพระองคสมเด็จพระเจาอยูหัวก็ดี สมเด็จพระมเหสีก็ดี มกุฎราชกุมารก็ดี ตอผูสําเร็จราชการแผนดินในเวลารักษาราชการตางพระองคสมเด็จพระเจาอยูหัวก็ดี ทานวาโทษของมันถึงตองประหารชีวิต ผูใดพยายามจะกระทําการประทุษรายเชนวามาแลว แมเพียงตระเตรียมการก็ดี สมคบกันเพื่อการประทุษรายนั้นก็ดี หรือสมรูเปนใจดวยผูประทุษราย ผูพยายามจะประทุษรายก็ดี มันรูวาผูใดคิดประทุษรายเชนวามาน้ี มันชวยปกปดไมเอาความนั้นไปรองเรียนข้ึนก็ดี ทานวาโทษมันถึงตายดุจกัน”

34

วา “ศาลเห็นวาจะฟงความหรือถอยคําท่ีพูดกันใหเปนอยางหนึ่งใดยังไมถนัด” และโจทกก็ไมไดนําสืบวา ไดมีการวางแผนการปลงพระชนมกัน ณ ท่ีใดไดอีก เม่ือฟงไมถนัดก็ตองยกผลประโยชนใหแกจําเลย ตามสุภาษิตกฎหมายท่ีวา “ปลอยคนผิด 10 คน ดีกวาลงโทษคนบริสุทธ์ิคนเดียว” แตศาลฎีกาฟนธงลงไปใหประหารชีวิตจําเลยท้ังสามคน โดยอางความผิดของจําเลยตามกฎหมายลักษณะอาญามาตรา 97 ตอน 2 ความผิดตามกฎหมายลักษณะอาญา มาตรา 97 ตอน 2 วาไวประการใดขอใหยอนกลับไปอานอีกที ใชแลว ชิต จําเลยท่ี 2 ไดใหการไวอยางชัดเจนวา ขณะเกิดเหตุมีเขากับบุศย จําเลยที่ 3 2 คนเทานั้นท่ีนั่งอยูหนาประตูทางเขาออกหองพระบรรทม และไดใหความเห็นไววา “หากวาจะมีความผิดในกรณีสวรรคตน้ีแลวก็มีขากับบุศย 2 คนเทานั้นท่ีจะตองรับผิดอยูดวย” ใชแลว กรณีสวรรคตเกิดข้ึนจริงในวันท่ี 9 มิถุนายน 2489 เวลาประมาณ 09.25 น. เหตุเกิด ณ หองพระบรรทม บนพระที่นั่งบรมพิมานในพระบรมมหาราชวัง และแมวาขณะเกิดเหตุชิต - บุศย จําเลยนั่งอยูหนาประตูทางเขาหองพระบรรทมก็จริง แตก็ไมไดสมรูรวมคิดดวย (ดังคําวินิจฉัยของศาลที่ยกมาขางตน) สําหรับเฉลียว จําเลยท่ี 1 นั้น นอกจากจะไมไดสมรูรวมคิดเชนเดียวกับชิต - บุศย จําเลยท้ังสองนั้นแลว ในเชาวันเกิดเหตุ เฉลียว จําเลยที่ 1 อยูหางจากสถานท่ีเกิดเหตุนั้นนับสิบกิโลเมตร และลาออกจากราชการไปแลวก็ไมรูเหมือนกันวา ทําไมเฉลียวจึงถูกลากเขาไปเกี่ยวของกับกรณีสวรรคตดวย นอกเสียจากวา เฉลียวเปนผูกอการเปล่ียนแปลงการปกครองแผนดินเม่ือวันท่ี 24 มิถุนายน 2475 และเปนคน จ.อยุธยา เชนเดียวกับปรีดีก็เทานั้นเอง ดังนั้นเม่ือเฉลียวถูกจับในวันท่ี 10 พศฤจิกายน 2495 พ.ต.อ. เยื้อน ประภาวัตร ผูไปจับกุมไดคนพบบันทึกลับของพระยาศรยุทธเสนีที่ระบุวา ทานถูก พล.ต.ต. พระพินิจชนคดี บีบบังคับใหเปนพยานเท็จ (ถาไมยอมเปนพยานจะเอาเปนผูตองหาดวย) ปรักปรําผูบริสุทธ์ิ พ.ต.อ. เยื้อน จึงถามเฉลียววา ทําไมไมหนีไปเสีย (ศาลอาญาและศาลอุทธรณส่ังปลอยพนขอหาขณะนั้นคดีอยูระหวางศาลฎีกา) เฉลียวตอบอยางนักเลงอยุธยาวา “ผมจะหนีทําไมในเม่ือผมบริสุทธ์ิ” และเฉลียวก็ตองตายเพราะความบริสุทธ์ินั้นเอง

35

ปจฉิมวาจาของ 3 นักโทษประหาร หลังจากท่ีศาลฎีกาไดพิพากษาลงโทษใหประหารชีวิตจําเลยทั้งสามคนเม่ือวันท่ี 12 ตุลาคม 2497 แลวตอมาในวันท่ี 5 พฤศจิกายน 2497 จําเลยทั้งสามไดทําหนังสือทูลเกลาถวายฎีกาขอพระราชทานอภัยโทษ แตฎีกาดังกลาวไดตกไปในท่ีสุด เกี่ยวกับการยื่นถวายฎีกาขอพระราชทานอภัยโทษของจําเลยท้ังสามนั้น พล.ต. อนันต พิบูลสงคราม (บุตรชายของจอมพล ป.) ไดเขียนไวในหนังสือ “จอมพล ป. พิบูลสงคราม” พิมพท่ีโรงพิมพศูนยการพิมพเม่ือป พ.ศ. 2519 มีความตอนหนึ่งเปนบทสนทนาระหวาง พล.ต. อนันต กับจอมพล ป. ซ่ึงขณะน้ันล้ีภัยการเมืองอยูในประเทศญ่ีปุนวา

และก็สอดคลองกับหนังสือแจกงานศพของชิตท่ีบุตรสาวของทานไดบันทึกไวในหนังสือนั้นมีความวา

“...ขาพเจาจึงระงับใจไมไดท่ีตองเรียนถามจอมพล ป. วันหนึ่งท่ีประเทศญ่ีปุนวา ในฐานะท่ีเวลานั้นทานดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรีอยู เหตุใดทานจึงไมขอพระราชทานอภัยโทษใหจําเลย 3 คนท่ีถูกศาลฎีกาพิพากษาประหารชีวิต ทานตอบขาพเจาทันทีอยางหนักแนนวา พอไดขอพระราชทานอภัยโทษข้ึนไปถึง 3 คร้ัง ไดพยายามทําหนาท่ีของพอจนถึงท่ีสุดแลว ในอดีตท่ีผานมามีนอยคร้ังท่ีจอมพล ป. ตองเสียใจบางเม่ือทําอะไรไมสําเร็จ แตขาพเจาไมเคยเห็นคร้ังใดที่ทานจะเสียใจหนักยิ่งไปกวาท่ีขาพเจากําลังเห็นทานครั้งนั้น ขณะเม่ือไดตอบคําถามของขาพเจาจบดวยใบหนาท่ีเครงขรึมและสนเทหใจไมเปล่ียนแปลง”

จากหนังสือ “จอมพล ป. พิบูลสงคราม” หนา 687

“ภายหลังท่ีพอถูกประหารชีวิตแลว จอมพล ป. นายกรัฐมนตรีในขณะน้ันไดสง ฉาย วิโรจนศิริ เลขานุการสวนตัวของทานไปหาพวกเราแจงใหทราบวา รัฐบาลยินดีจะใหการอุปการะความเปนอยูการศึกษาแกพวกเราทุกประการ พวกเราปรึกษาหารือกัน และในท่ีสุดตกลงรับความชวยเหลือจากรัฐบาลเพ่ือเปนเครื่องยืนยันในความบริสุทธ์ิของพอ รัฐบาลจึงใหความชวยเหลือแกพวกเรา ความชวยเหลือนี้พึ่งมายกเลิกในสมัยรัฐบาลจอมพล สฤษด์ิ ธนรัชต”

36

นอกจากนี้ ชอุม ชัยสิทธิเวชา (ภรรยาของ ร.อ. วัชรชัย) ผูท่ีโจทกพยามเสกสรรปนแตงพยานเท็จใหเปนมือปนและตองล้ีภัยคณะรัฐประหารวันท่ี 8 พฤศจิกายน 2490 ไปอยูตางประเทศน้ันก็ยังไดรับเมตตาใหเขาทํางานเปนแมบานของโรงเรียน ภปร. ท่ีนครชัยศรี ในท่ีสุดวันจากไปของผูบริสุทธ์ิท้ังสามก็มาถึงคือ เชามืดวันท่ี 17 กุมภาพันธ 2498 และหลังจากวันเสด็จจากไปของพระองคผูทรงเปนท่ีรักของคนไทยท้ังชาติเม่ือวันท่ี 9 มิถุนายน 2489 เปนเวลา 8 ป 8 เดือน วันนั้น พล.ต.อ. เผา ศรียานนท รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทยซ่ึงครองตําแหนงอธิบดีกรมตํารวจดวย ไดไปเปนประธานควบคุมการประหารชีวิตผูบริสุทธ์ิท้ังสามดวยตนเอง และไดมีโอกาสพูดคุยกับท้ังสามคนนั้นตามลําพัง นัยวาไดมีการบันทึกเสียงการพูดคุยนั้นไวดวย สําหรับเฉลียวนั้น ขณะเกิดเหตุปลงพระชนมเขาอยูไกลจากจุดเกิดเหตุนับสิบกิโลเมตร และออกจากราชการไปแลวดวย คําสนทนาของเขาในเร่ืองนี้ก็คงเชนเดียวกับคนอ่ืนท่ีอยูนอกเหตุการณ รวมท้ังปรีดีดวยคือ ไมรูอะไรในเร่ืองนี้เลย นอกจากจะยืนยันในความบริสุทธ์ิของเขา และเขาก็คงจะนึกถึงโครงส่ีสุภาพของศรีปราชญท่ีจารึกไวบนพื้นทรายกอนถูกประหารชีวิตท่ี จ.นครศรีธรรมราช วา

สวนชิต - บุศยนั้น เนื่องจากขณะเกิดเหตุเขาท้ังสองน่ังอยูหนาประตูทางเขาหองพระบรรทม และเปนทางเดียวท่ีจะเขาสูหองพระบรรทมในเวลานั้น ดังนั้นถามีผูเขาไปปลงพระชนม ชิต - บุศย จะตองเห็นอยางแนนอน ฟก ณ สงขลา ทนายความของ 3 จําเลยเคยสอบถาม ชิต - บุศยวา ใครเขาไปปลงพระชนมในหลวง ชิต - บุศยไมยอมพูด แตกับ พล.ต.อ. เผา ชิต - บุศยจะยอมพูดความจริงกอนตายหรือไม ไมมีใครรู แตเปนท่ีรูกันในภายหลังวา พล.ต.อ. เผา ไดทําบันทึกคําสนทนากับผูตองประหารชีวิตท้ังสามคนในเชาวันนั้นเสนอจอมพล ป. นายกรัฐมนตรี จอมพล ป. อานแลวแทงกลับไปวา ใหเก็บไวในแฟมลับสุดยอด ตอมาจอมพล ป. ดําริจะร้ือฟนคดีสวรรคตข้ึนมาพิจารณาใหมเพื่อใหความเปนธรรมแกผูถูกประหารชีวิตท้ังสามคนและปรีดี แตตามกฎหมายไทยท่ีใชอยูเม่ือคดีถูกพิพากษาถึงท่ีสุดแลวเปนอันยุติ ดังนั้นถาจะร้ือฟนคดีสวรรคตขึ้นมาพิจารณาใหมก็ตองมีกฎหมายรองรับใหอํานาจ จอมพล ป. จึงเตรียมการท่ีจะออกกฎหมายดังกลาวนั้น และไดบอก สังข พัธโนทัย คนสนิทผูรับใชใกลชิดใหทราบเพ่ือแจงไปใหปรีดีซ่ึงขณะนั้นทานพํานักอยู ณ สาธารณรัฐประชาชนจีนไดรับทราบ

ธรณีนี่นี้ เปนพยาน เราก็ศิษยมีอาจารย หนึ่งบาง เราผิดทานประหาร เราชอบ เราบผิดทานมลาง ดาบนี้คืนสนอง

37

ตอจดหมายของสังขท่ีมีไปถึงปรีดีเลาถึงบันทึกของ พล.ต.อ. เผา และความดําริจอมพล ป. ดังกลาวขางตน ปรีดีไดมีจดหมายตอบสังข ลูกชายของสังขไดมอบใหหนังสือพิมพไทยโพสตนําไปเปดเผยในฉบับวันท่ี 24 มิถุนายน 2542 ท่ีผานมา ดังสําเนารายละเอียดตอไปนี้

แตความดําริของจอมพล ป. ตองลมเหลว เม่ือขาวจะออกกฎหมายใหร้ือฟนคดีท่ีศาลพิพากษาถึงท่ีสุดแลวใหนําข้ึนมาพิจารณาใหมได (ถาหากโจทกหรือจําเลยมีเอกสารหลักฐานท่ีพึ่งคนพบใหม) ไดแพรออกไปถึงบุคคลบางจําพวก และคนพวกน้ันไดสนับสนุนจอมพล สฤษด์ิ ธนะรัชต ทํารัฐประหารโคนจอมพล ป. เชนเดียวกับท่ีเคยสนับสนุนคณะรัฐประหารเมื่อวันท่ี 8 พฤศจิกายน 2490 ทํารัฐประหารลับรัฐบาลหลวงธํารง (ดวยเหตุผลอยางเดียวกันคือกลัววา มือปนตัวจริงจะถูกเปดเผย)

วันท่ี 23 ธันวาคม 2499

สังข พัธโนทัย ท่ีรักมากในไมตรีจิตและความเปนธรรมท่ีคุณมีตอผม ผมไดรับจดหมายของคุณฉบับลงวันท่ี 12 เดือนนี้กับหนังสือ “ความนึกในกรงขัง” แลวดวยความรูสึกขอบคุณ ผมมีความยินดีมากท่ีไดทราบจากคํายืนยันของคุณวา จอมพล ป. มิไดเปนศัตรูของผมเลย ทานมีความรําลึกถึงความหลังอยูเสมอและอยากจะเห็นผมกลับประเทศทุกเม่ือ แมวาเหตุการณทางการเมืองจะเปนดังท่ีคุณกลาววา เหตุการณไมชวยเราเสมอไปและจําเปนตองใชความอดทนอยูมากก็ตาม แตผมก็มีความหวังวา โดยความชวยเหลือของคุณผูซ่ึงมีใจเปนธรรม และมีอุดมคติท่ีจะรับใชชาติและราษฎรอยางบริสุทธ์ิผมคงจะมีโอกาสทําความเขาใจกับจอมพล ป. ถึงเจตนาดีของผมในสวนท่ีเกี่ยวแกจอมพล ป. และการงานของชาติและราษฎรท่ีเราท้ังหลายจะตองรวมมือกันเพื่อความเปนเอกราชสมบูรณของชาติ ผมจึงมีความปรารถนาเปนอยางมากท่ีจะไดมีโอกาสพบกับคุณในเวลาไมชานักเพ่ือปรึกษาหารือกับคุณถึงเร่ืองนี้และเพื่อช้ีแจงขอเท็จจริงอีกหลายประการซ่ึงบางทีคุณอาจตองการทราบ ผมเห็นวา คุณไดบําเพ็ญบุญกุศลอยางแรงในการท่ีคุณไดแจงใหผมทราบถึงบันทึกท่ี พล.ต.อ. เผา ไดสอบถามปากคําเฉลียว, ชิต, บุศย กอนถูกยิงเปาท่ียืนยันวา ผูบริสุทธ์ิท้ังสามรวมท้ังตัวผมมิไดมีสวนพัวพันในกรณีสวรรคต ดังนั้นนอกจากผมขอแสดงความขอบคุณเปนอยางยิ่งมายังคุณ ผมจึงไดตั้งจิตอธิษฐานขออํานาจคุณพระศรีรัตนตรัยโปรดดลบันดาลใหคุณมีความสุข ความเจริญยิ่งๆข้ึนไปและประสบทุกส่ิงท่ีคุณปรารถนาทุกประการ ผมขอสงความรักและนับถือมายังคุณ

38

ปรีดีไดพูดถึงเร่ืองนี้เม่ือหนังสือพิมพมหาราษฎร โดย วีระ โอสถานนท ไดไปสัมภาษณทานขณะท่ีพํานักอยู ณ ประเทศฝร่ังเศส มีความตอนหนึ่งวา วีระ โอสถานนท ถามวา

ปรีดี พนมยงค ตอบวา

“มีผูพูดกันวา จอมพล ป. และ พล.ต.อ. เผา ไดหลักฐานกรณีสวรรคตใหมนั้น ทานจะบอกไดหรือไมวาอะไร”

“แมศาลฎีกาซ่ึงมีผูพิพากษาคณะเดียว โดยมิไดมีการประชุมใหญของผูพิพากษาศาลฎีกาไดตัดสินประหารชีวิตเฉลียว, ชิต, บุศย ไปแลวก็ตาม แตรัฐบาลจอมพล ป. ไดสงตัวแทนไปพบผมในประเทศจีน (หลังจากท่ีสังขไดรับจดหมายขอบคุณจากปรีดีแลว) แจงวา ไดหลักฐานใหมท่ีแสดงวา ผูถูกประหารชีวิตท้ังสามคนและผมเปนผูบริสุทธ์ิ ฉะนั้นจอมพล ป. จึงจะเสนอสภาผูแทนราษฎรใหออกกฎหมายใหมีการพิจารณาคดีใหมดวยความเปนธรรม คร้ันแลวก็มีผูยุยงใหจอมพล สฤษด์ิ กับพวกทํารัฐประหารเม่ือวันท่ี 16 กันยายน 2500 โคนลมรัฐบาลจอมพล ป. ในระหวางท่ีจอมพล ป. ไปล้ีภัยอยูในสหรัฐอเมริกาช่ัวคราวก็ไดกลาวตอหนาคนไทยไมนอยกวา 2 คนถึงหลักฐานท่ีจอมพล ป. กับ พล.ต.อ. เผา ไดมานั้น อีกท้ังในระหวางท่ีจอมพล ป. ยายจากสหรัฐอเมริกามาอยูท่ีประเทศญ่ีปุนก็ไดแจงแกบุคคลไมนอยกวา 2 คนถึงหลักฐานใหมนั้น พรอมท้ังมีจดหมายถึงผม 2 ฉบับ ขอใหผมอโหสิกรรมแกการที่จอมพล ป. ไดทําผิดพลาดไปในหลายกรณี ผมไดถือคติของพระพุทธองควา เม่ือมีผูรูสึกตนผิดพลาดไดขออโหสิกรรม ผมก็ไดอโหสิกรรมและขออนุโมทนาในการท่ีจอมพล ป. ไดไปอุปสมบทท่ีวัดไทยพุทธคยา พวกฝร่ังก็สนใจกันมาก เพราะเปนเร่ืองประวัติศาสตรท่ีไมมีอายุความ ความจริงอาจปรากฏขึ้น แมจะลวงเลยมาหลายรอยปก็ตาม ทุกวันนี้ก็มีคนพูดซุบซิบกันถึงกับนักเรียนหลายคนถามผม ผมก็ขอตัววา เปนเร่ืองท่ีพูดไมออกบอกไมไดในขณะน้ีจึงขอฝากอนุชนรุนหลังและประวัติศาสตรตอบแทนดวย”

39

top related