การผลิตไฟฟ้าจากกังหันลม...1.2 ก งห...

Post on 26-Feb-2020

2 Views

Category:

Documents

0 Downloads

Preview:

Click to see full reader

TRANSCRIPT

-1- http://www.teacher.ssru.ac.th/ratchasak/

การผลิตไฟฟ้าจากกังหันลม

รชัศักดิ์ สารนอก คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม

มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

พลังงานลมเป็นพลังงานจากธรรมชาติที่มีอยู่ทั่วไปซึ่งสามารถน ามาใช้ประโยชน์ได้หลายอย่าง โดยมีการประดิษฐ์เครื่องมือเครื่องใช้ที่อาศัยพลังงานลมเป็นแหล่งต้นก าลัง เพ่ือใช้ในการเสริมสร้างการประกอบอาชีพหรืออ านวยความสะดวกสบาย เช่น การแล่นเรือใบ การใช้กังหันวิดน า เป็นต้น ในปัจจุบันมีการพัฒนาเทคโนโลยีที่มีความก้าวหน้าทันสมัยประกอบกับการให้ความส าคัญในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและความต้องการในการใช้พลังงานในปริมาณที่เพ่ิมมากขึ น โดยเฉพาะการผลิตพลังงานไฟฟ้าในปัจจุบันที่มีความต้องการเพ่ิมสูงขึ นตลอด แต่มักจะผลิตจากแหล่งพลังงานที่ส่งผลในการท าลายสภาพแวดล้อม ดังนั น การน าพลังงานลมมาใช้งานจึงมีความส าคัญและน ามาใช้ประโยชน์มากขึ น ซึ่งนอกจากการน ามาใช้ผลิตกระแสไฟฟ้าจะเป้นพลังงานสะอาดไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อสภาพแวดล้อมแล้ว พลังงานลมยังมีอยู่โดยทั่วไปไม่มีต้นทุนในการซื อขายและสามารถน ามาใช้ประโยชน์ได้อย่างต่อเนื่องไมห่มดสิ น

“กังหันลม” เป็นอุปกรณ์ที่เป็นส่วนประกอบที่ส าคัญในการจะแปลสภาพของพลังงานที่เกิดขึ นจากกระแสลมเพ่ือเปลี่ยนให้เป็นให้เป็นพลังงานกล และจากนั นจะมีเครื่องก าเนิดไฟฟ้าที่แปลงจากพลังงานกลมาเป็นพลังงานไฟฟ้าเพ่ือน าไปใช้ประโยชน์ต่อไป กล่าวคือ เมื่อกระแสลมพัดผ่านใบกังหัน จะเกิดการถ่ายทอดพลังงานจลน์ไปสู่ใบกังหัน ท าให้กังหันหมุนรอบแกน สามารถน าพลังงานจากการหมุนนี ไปใช้งานได้ กังหันลมที่ใช้กันมากในประเทศไทยตั งแต่อดีตถึงปัจจุบัน ได้แก่ กังหันลมแบบใบกังหันไม้ ใช้ส าหรับฉุดระหัดวิดน าเข้านาข้าวบริเวณจังหวัดฉะเชิงเทรา กังหันลมใบเสื่อล าแพน ใช้ฉุดระหัดวิดน าเค็มเข้านาเกลือบริเวณ จังหวัดสมุทรสงคราม และกังหันลมแบบใบกังหันหลายใบ ท าด้วยแผ่นเหล็กใช้ส าหรับสูบน าจากบ่อน าบาดาลขึ นไปเก็บในถังกักเก็บ ส่วนการใช้กังหันลมเพ่ือผลิตกระแสไฟฟ้ายังอยู่ในระหว่างการทดสอบและพัฒนาอยู่ (การไฟฟ้าฝ่ายผลิต, 2557) 1. ชนิดของกังหันลม

ปัจจุบันการพัฒนาเทคโนโลยีกังหันลมเพ่ือใช้ส าหรับผลิตไฟฟ้าได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง

หลายประเทศทั่วโลกได้ให้ความสนใจ โดยเฉพาะในทวีปยุโรป เช่น ประเทศเดนมาร์ก กังหันลมที่ได้มีการพัฒนากันขึ นมานั นจะมีลักษณะและรูปร่างแตกต่างกันออกไป แต่ถ้าจ าแนกตามลักษณะแนวแกนหมุนของกังหันจะได้ 2 แบบ คือ

-2- http://www.teacher.ssru.ac.th/ratchasak/

1.1 กังหันลมแนวแกนนอน (Horizontal Axis Wind Turbine) เป็นกังหันลมที่มีแกนหมุนขนานกับทิศทางของลมโดยมีใบพัดเป็นตัวตั งฉากรับแรงลม มี

อุปกรณ์ควบคุมกังหันให้หันไปตามทิศทางของกระแสลม เรียกว่า หางเสือ และมีอุปกรณ์ป้องกันกังหันช ารุดเสียหายขณะเกิดลมพัดแรง เช่น ลมพายุและตั งอยู่บนเสาที่แข็งแรง กังหันลมแบบแกนนอน ได้แก่ กังหันลมวินด์มิลล์ ( Windmills) กังหันลมใบเสื่อล าแพน นิยมใช้กับเครื่องฉุดน า กังหันลมแบบกงล้อจักรยาน กังหันลมส าหรับผลิตไฟฟ้าแบบพรอบเพลเลอร์ (Propeller)

รูปที่ 1 กังหันลมแบบแนวแกนนอน (Horizontal Axis Wind Turbine) ที่มา http://www3.egat.co.th/re/egat_wind/wind_technology.htm 1.2 กังหันลมแนวแกนตั ง (Vertical Axis Wind Turbine) เป็นกังหันลมที่มีแกนหมุนและใบพัดตั งฉากกับการเคลื่อนที่ของลมในแนวราบ ซึ่งท าให้

สามารถรับลมในแนวราบได้ทุกทิศทาง

-3- http://www.teacher.ssru.ac.th/ratchasak/

รูปที่ 2 กังหันลมแบบแนวแกนตั ง (Vertical Axis Wind Turbine) ที่มา http://www3.egat.co.th/re/egat_wind/wind_technology.htm กังหันลมแบบแนวแกนนอนเป็นแบบที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย ส่วนมากออกแบบให้เป็น

ชนิดที่ขับใบกังหันด้วยแรงยก แต่อย่างไรก็ตาม กังหันลมแบบแนวแกนตั ง ซึ่งได้รับการพัฒนามากในระยะหลังก็ได้รับความสนใจมากขึ นเช่นกัน ทั งนี เนื่องจากข้อดีกว่าแบบแนวแกนนอนคือ ในแบบแนวแกนตั งนั นไม่ว่าลมจะเข้ามาทิศไหนก็ยังหมุนได้ โดยไม่ต้องมีอุปกรณ์ควบคุมให้กังหันหันหน้าเข้าหาลม นอกจากนี แล้วแบบแนวแกนตั งนั น เครื่องก าเนิดไฟฟ้าและระบบการส่งก าลังวางไว้ใกล้พื นดินมากกว่าแบบแกนนอน เวลาเกิดปัญหาแก้ไขง่ายกว่าแบบแกนนอนที่ติดอยู่บนหอคอยสูง (การไฟฟ้าฝ่ายผลิต, 2557)

2. ส่วนประกอบของระบบกังหันลมขนาดใหญ่ส าหรับผลิตไฟฟ้า

ส่วนประกอบส าคัญๆ ของระบบกังหันลมทั่วๆ ไปอาจแบ่งได้ดังนี 1. ใบพัด เป็นตัวรับพลังลมและเปลี่ยนให้เป็นพลังงานกล ซึ่งยึดติดกับชุดแกนหมุนและส่งแรง

จากแกนหมุนไปยังเพลาแกนหมุน 2. เพลาแกนหมุน ซึ่งรับแรงจากแกนหมุนใบพัด และส่งผ่านระบบก าลัง เพ่ือหมุนและปั่น

เครื่องก าเนิดไฟฟ้า 3. ห้องส่งก าลัง ซึ่งเป็นระบบปรับเปลี่ยนและควบคุมความเร็วในการหมุน ระหว่างเพลาแกน

หมุนกับเพลาของเคริ่องก าเนิดไฟฟ้า

-4- http://www.teacher.ssru.ac.th/ratchasak/

รูปที่ 3 ส่วนประกอบของระบบกังหันลมขนาดใหญ่ส าหรับผลิตไฟฟ้า ที่มา http://www3.egat.co.th/re/egat_wind/wind_technology.htm 4. ห้องเครื่อง ซึ่งมีขนาดใหญ่และมีความส าคัญต่อกังหันลม ใช้บรรจุระบบต่างๆ ของกังหัน

ลม เช่น ระบบเกียร์ เครื่องก าเนิดไฟฟ้า เบรก และระบบควบคุม 5. เครื่องก าเนิดไฟฟ้า ท าหน้าที่เปลี่ยนพลังงานกลเป็นพลังงานไฟฟ้า 6. ระบบควบคุมไฟฟ้า ซึ่งใช้ระบบคอมพิวเตอร์เป็นตัวควบคุมการท างาน และจ่าย

กระแสไฟฟ้าเข้าสู่ระบบ 7 . ระบบเบรค เป็นระบบกลไกเพ่ือใช้ควบคุมการหยุดหมุนของใบพัดและเพลาแกนหมุนของ

กังหัน เมื่อได้รับความเร็วลม เกินความสามารถของกังหัน ที่จะรับได้ และในระหว่างการซ่อมบ ารุงรักษา

8 . แกนคอหมุนรับทิศทางลม เป็นตัวควบคุมการหมุนห้องเครื่อง เพ่ือให้ใบพัดรับทิศทางลมโดยระบบอิเลคทรอนิคส์ ที่เชื่อมต่อให้มีความสัมพันธ์ กับหางเสือรับทิศทางลมที่อยู่ด้านบนของเครื่อง

9 . เครื่องวัดความเร็วลมและทิศทางลม ซึ่งเชื่อมต่อสายสัญญาณเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ เพ่ือเป็นตัวชี ขนาดของความเร็วและทิศทางของลม เพ่ือที่คอมพิวเตอร์จะได้ควบคุมกลไกอ่ืนๆ ได้ถูกต้อง

10 . เสากังหันลม เป็นตัวแบกรับส่วนที่เป็นตัวเครื่องที่อยู่ข้างบน

-5- http://www.teacher.ssru.ac.th/ratchasak/

4. กังหันลมกับการผลิตไฟฟ้า

หลักการท างานของกังหันลมผลิตไฟฟ้านั น เมื่อมีลมพัดผ่านใบกังหัน พลังงานจลน์ที่เกิดจาก

ลมจะ ท าให้ใบพัดของกังหันเกิดการหมุน และได้เป็นพลังงานกลออกมา พลังงานกลจากแกนหมุนของกังหันลมจะถูกเปลี่ยนรูปไปเป็นพลังงานไฟฟ้า โดยเครื่องก าเนิดไฟฟ้าที่เชื่อมต่ออยู่กับแกนหมุนของกังหันลม จ่ายกระแสไฟฟ้าผ่านระบบควบคุมไฟฟ้า และจ่ายกระแสไฟฟ้าเข้าสู่ระบบต่อไป โดยปริมาณไฟฟ้าที่ผลิตได้จะขึ นอยู่กับความเร็วของลม ความยาวของใบพัด และสถานที่ติดตั งกังหันลม

กังหันลมกับการใช้งาน เนื่องจากความไม่สม่ าเสมอของความเร็วลมที่แปรผันตามธรรมชาติ และความต้องการ

พลังงานที่สม่ าเสมอเพ่ือให้เหมาะสมกับการใช้งานแล้ว จะต้องมีตัวกักเก็บพลังงานและใช้แหล่งพลังงานอื่นที่เชื่อถือได้เป็นแหล่งส ารอง หรือใช้ร่วมกับแหล่งพลังงานอื่น

1) ตัวกักเก็บพลังงานมีอยู่หลายชนิด ส่วนมากขึ นอยู่กับงานที่จะใช้ เช่น ถ้าเป็นกังหันเพ่ือ

ผลิตไฟฟ้าขนาดเล็กมักนิยมใช้แบตเตอรี่เป็นตัวกักเก็บพลังงาน 2) การใช้แหล่งพลังงานอ่ืนที่เป็นตัวหมุน ระบบนี ปกติกังหันลมจะท าหน้าที่จ่ายพลังงานให้

ตลอดเวลาที่มีความเร็วลมเพียงพอ หากความเร็วลมต่ าหรือลมสงบ แหล่งพลังงานชนิดอ่ืนจะท าหน้าที่จ่ายพลังงานทดแทน (ระบบนี กังหันลมจ่ายพลังงานเป็นตัวหลักและแหล่งพลังงานส่วนอ่ืนเป็นแหล่งส ารอง )

3) การใช้ร่วมกับแหล่งพลังงานอ่ืน อาจเป็นเครื่องจักรดีเซล หรือพลังงานน าจากเขื่อน ฯลฯ

ระบบนี ปกติจะมีแหล่งพลังงานชนิดอ่ืนจ่ายพลังงานอยู่ก่อนแล้ว กังหันลมจะช่วยจ่ายพลังงานเมื่อมีความเร็วลมเพียงพอ ซึ่งในขณะเดียวกันก็จะลดการจ่ายพลังงานจากแหล่งพลังงานอ่ืน เช่น ลดการใช้น ามันดีเซลของเครื่องยนต์ดีเซล

(ระบบนี แหล่งพลังงานอ่ืนจ่ายพลังงานเป็นหลัก ส่วนกังหันลมท าหน้าที่คอยเสริมพลังงานจากต้นพลังงานหลัก) (การไฟฟ้าฝ่ายผลิต, 2557)

-6- http://www.teacher.ssru.ac.th/ratchasak/

5. ศักยภาพพลังงานลมในประเทศไทย

การไฟฟ้าฝ่ายผลิตได้กล่าวถึงศักยภาพพลังงานลมในประเทศไทย ดังรูปที ่4 แผนที่แสดงพลังงานลมในประเทศไทย (หน่วย : วัตต์/ตารางเมตร) (การไฟฟ้าฝ่ายผลิต, 2557)

รูปที่ 4 แผนที่แสดงพลังงานลมในประเทศไทย (หน่วย : วัตต์/ตารางเมตร) ทีม่า: http://www3.egat.co.th/re/egat_wind/wind_thailand.htm

-7- http://www.teacher.ssru.ac.th/ratchasak/

6. ตัวอย่างโครงการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานลม 6.1 โครงการกังหันลมผลิตไฟฟ้าที่ล าตะคอง อ.สีคิ ว จ.นครราชสีมา จากการเก็บสถิติความเร็วลมที่ระดับความสูง 45 เมตร ของ กฟผ. เพ่ือตรวจวัดศักยภาพ

พลังงานลมส าหรับผลิตไฟฟ้าทั่วประเทศมาตั งแต่ปี พ.ศ. 2547 พบว่า ที่บริเวณอ่างพักน าตอนบนโรงไฟฟ้าล าตะคองชลภาวัฒนา ต าบลคลองไผ่ อ าเภอสีคิ ว จังหวัดนครราชสีมาแห่งนี มีศักยภาพพลั ง ง านลมดีที่ สุ ด แห่ งหนึ่ ง ของประ เทศไทย มี ลม พัดถึ ง 2 ช่ ว ง คื อช่ ว งฤดู ลมมรสุ มตะวันออกเฉียงเหนือ (ระหว่างเดือนพฤศจิกายนถึงปลายเดือนมีนาคม) และลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ (ระหว่างเดือนพฤษภาคม ถึงกลางเดือนตุลาคม) มีความเร็วลมเฉลี่ยทั งปีประมาณ 5-6 เมตรต่อวินาที ซึ่งสามารถน ามาผลิตไฟฟ้าได้

การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) จึงได้ด าเนินโครงการติดตั งกังหันลม

ขนาดก าลังผลิต 1,250 กิโลวัตต์ จ านวน 2 ชุด รวมก าลังผลิต 2,500 กิโลวัตต์ ที่บริเวณอ่างพักน าตอนบนโรงไฟฟ้าล าตะคองชลภาวัฒนา ต าบลคลองไผ่ อ าเภอสีคิ ว จังหวัดนครราชสีมา ติดตั งแล้วเสร็จพร้อมทั งเชื่อมโยงเข้าสู่ระบบการจ าหน่ายของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.) ตั งแต่วันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2552 เป็นต้นมา

รูปที่ 5 สถานที่ติดตั งกังหันลม อยู่ห่างจากอ่างพักน าตอนบนไปทางทิศใต้ ประมาณ 100 เมตร ทีม่า: http://www3.egat.co.th/re/egat_wind/egat_windlamtakhong/ wind_lamtakhong.htm

-8- http://www.teacher.ssru.ac.th/ratchasak/

รายละเอียดกังหันลมที่ล าตะคอง จ.นครราชสีมา กังหันลมที่น ามาติดตั งเป็นกังหันลมรุ่น D6-1250 ผลิตในประเทศจีน มีขนาดก าลังผลิต

1,250 กิโลวัตต ์ เป็นกังหันลมชนิดแกนนอน ประกอบด้วย ใบกังหันลม 3 ใบ ใบกังหันลมท าด้วยวัสดุสังเคราะห์เสริมใยแก้ว เส้นผ่าศูนย์กลางการหมุนของใบกังหันลม 64 เมตร ความสูงของเสากังหันลม 68 เมตร การท างานของกังหันลมจะเป็นแบบอัตโนมัติ เริ่มผลิตไฟฟ้าที่ความเร็วลม 2.8 เมตรต่อวินาที และสูงสุดที่ความเร็วลม 12.5 เมตรต่อวินาที และกังหันลมจะหยุดผลิตไฟฟ้าเมื่อความเร็วลม 23 เมตรต่อวินาที ส่วนความเร็วลมสูงสุดที่กังหันลมสามารถต้านทานได้อยู่ที่ 50.5 เมตรต่อวินาที กังหันลมรุ่นนี มีความเร็วรอบสูงสุดของใบกังหันลม 22 รอบต่อนาที ความเร็วรอบของเครื่องก าเนิดไฟฟ้า 1,100 รอบต่อนาที มีแรงดันไฟฟ้า 690 โวลต์ 3 เฟส ส่วนการหมุนของกังหันลมจะใช้มอเตอร์ไฮโดรลิกส์ขับชุดเกียร์ ระบบเบรคจะมีทั งแบบเบรคด้วยอากาศพลศาสตร์ คือ เบรคแบบปรับมุมใบกังหันลม และเบรกโดยใช้จานเบรก

ส่วนประกอบของกังหันลมรุ่น.. D6-1250

รูปที่ 6 ภาพจ าลองแสดงอุปกรณ์ภายในตัวกังหัน ทีม่า: http://www3.egat.co.th/re/egat_wind/egat_windlamtakhong/wind_lamtakhong. htm

-9- http://www.teacher.ssru.ac.th/ratchasak/

รูปที่ 7 กังหันลมขนาด 1,250 กิโลวัตต์ ทีม่า: http://www3.egat.co.th/re/egat_wind/egat_windlamtakhong/wind_lamtakhong. htm

รูปที่ 8 ระบบผลิตไฟฟ้าจากกังหันลม โรงไฟฟ้าล าตะคองชลภาวัฒนา อ.สีคิ ว จ.นครราชสีมา ทีม่า: http://www3.egat.co.th/re/egat_wind/egat_windlamtakhong/wind_lamtakhong. Htm

-10- http://www.teacher.ssru.ac.th/ratchasak/

ตารางที่ 1 แสดงรายละเอียดกังหันลมที่ติดตั งทีโ่รงไฟฟ้าล าตะคองชลภาวัฒนา อ.สีคิ ว จ.นครราชสีมา

โครงการนี กฟผ.ได้ใช้งบด าเนินการประมาณ 145 ล้านบาท เป็นกังหันลมที่ใหญ่ที่สุดของ กฟผ. (การไฟฟ้าฝ่ายผลิต, 2557)

สามารถผลิตไฟฟ้าได้ประมาณปีละ 4.60 ล้านหน่วย ทดแทนการใช้น ามันเชื อเพลิงได้ 1.1 ล้านลิตรต่อปี ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่เป็นสาเหตุภาวะโลกร้อนได้ถึง 2,300 ตันต่อป ี

กังหันลมรุ่น D6-1250 ผลิตในประเทศจีน ขนาดก าลังผลิต 1,250 กิโลวัตต์

ขนาดก าลังผลิต 1,250 กิโลวัตต์

ชนิดของกังหัน แกนนอน

จ านวนใบกังหัน 3 ใบ

ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางใบกังหัน 64 เมตร

ความเร็วลมที่เริ่มผลิตไฟฟ้า 2.8 เมตรต่อวินาที

ความเร็วลมที่ผลิตไฟฟ้าได้สูงสุด 12.5 เมตรต่อวินาที

ความเร็วลมที่หยุดผลิตไฟฟ้า 23 เมตรต่อวินาที

ความเร็วรอบสูงสุดของใบกังหันลม 22 รอบต่อนาที

ความเร็วลมสูงสุดที่กังหันลมสามารถต้านทานได้ 50.5 เมตรต่อวินาที

ความสูงของเสากังหันลม 68 เมตร

ติดตั งใช้งานเมื่อ ปี พ.ศ. 2552

-11- http://www.teacher.ssru.ac.th/ratchasak/

6.2 กังหันลมผลิตไฟฟ้าที่สถานีพลังงานทดแทนแหลมพรหมเทพ จ.ภูเก็ต

ในปี พ.ศ. 2526 การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ได้เลือกบริเวณแหลมพรหมเทพ จังหวัดภูเก็ต ซึ่งเป็นจุดที่มีข้อมูลบ่งชี ว่า มีความเร็วลมเฉลี่ยตลอดปี ประมาณ 5 เมตรต่อวินาที เป็นสถานที่ตั งของสถานีทดลองการผลิตไฟฟ้าจากกังหันลม ใช้ชื่อว่า สถานีพลังงานทดแทนพรหมเทพ โดยตั งอยู่ทางทิศเหนือของแหลมพรหมเทพ ประมาณ 1 กิโลเมตร เหตุผลในการเลือกสถานที่แห่งนี คือ

อยู่ติดกับทะเลได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ และลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ นับว่าเป็นต าแหน่งที่รับลมได้เกือบทั งปี

ได้รับความอนุเคราะห์อย่างดียิ่งจากส่วนราชการ จ.ภูเก็ต ให้ใช้พื นที่ตลอดมา

รูปที่ 9 กังหันลมผลิตไฟฟ้าที่สถานีพลังงานทดแทนแหลมพรหมเทพ จ.ภูเก็ต ทีม่า: http://www3.egat.co.th/re/egat_wind/egat_windpuket/wind_phuket.htm

ตั งแต่ปี พ.ศ. 2526-2535 การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ได้เริ่มติดตั งกังหันลมขนาดเล็กเพ่ือทดสอบการใช้งานที่สถานีแห่งนี จ านวน 6 ชุด พร้อมทั งติดตั งอุปกรณ์บันทึกข้อมูลคือ Digital Data Logger และ Strip Chart Recorder ไว้อย่างครบถ้วน ส าหรับไฟฟ้าที่ผลิตได้ก็น ามาใช้ให้แสงสว่างในบริเวณสถานีทดลองฯ โดยใช้กับอุปกรณ์ไฟฟ้าต่าง ๆ จากผลการวิเคราะห์ข้อมูลเบื องต้นสรุปได้ว่า การใช้กังหันลมผลิตกระแสไฟฟ้าที่บริเวณสถานีพลังงานทดแทนพรหมเทพนี มีผลเป็นที่น่าพอใจ แต่ยังคงมีปัญหาเรื่องชิ นส่วนบางชนิด เช่น ใบกังหัน และตลับลูกปืนช ารุด นอกจากนี ในบางกรณียังมีปัญหาเรื่องการจัดซื ออะไหล่จากต่างประเทศอีกด้วย

ในปี พ.ศ. 2531 การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) จึงได้ก าหนดแผนงานเชื่อมโยงระบบกังหันลมมาผลิตไฟฟ้า เข้าสู่ระบบจ าหน่ายของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.) ในลักษณะของการใช้งานจริง และเพ่ือศึกษาหาประสบการณ์ในการเชื่อมต่อเข้าระบบไปพร้อม ๆ กัน โครงการดังกล่าว ด าเนินไปด้วยดีตามแผนงาน โดยได้รับความร่วมมือจากการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.) และสามารถจ่ายไฟเข้าสู่ระบบได้เมื่อต้นเดือนสิงหาคม พ.ศ.2533 นับเป็นครั งแรกในประเทศไทย ที่สามารถน าไฟฟ้าจากพลังงานลมมาใช้งานได้โดยเชื่อมโยงเข้ากับระบบจ าหน่ายไฟฟ้า จากความส าเร็จ

-12- http://www.teacher.ssru.ac.th/ratchasak/

ในการจ่ายกระแสไฟฟ้าที่กังหันลมผลิตได้ดังกล่าว ในปี พ.ศ. 2535 กฟผ. ได้ติดตั งกังหันลมขนาดก าลังผลิต 10 กิโลวัตต์ เพิ่มอีก 2 ชุด และเชื่อมโยงเข้ากับระบบจ าหน่ายไฟฟ้าเช่นกัน

จากประสบการณ์ที่ได้รับจากการติดตั งกังหันลมผลิตไฟฟ้าขนาดเล็กมากว่า 13 ปี ตลอดจนผลจากการติดตามเทคโนโลยีด้านกังหันลมมาโดยตลอดท าให้ กฟผ. มีความพร้อมที่จะติดตั งกังหันลมในขนาดที่ใหญ่ขึ น ดังนั นในปี พ.ศ. 2539 กฟผ. จึงติดตั งกังหันลม ขนาดก าลังผลิต 150 กิโลวัตต์ ซึ่งเป็นกังหันลมที่มีขนาดใหญ่ที่สุดที่เคยติดตั งมาในประเทศไทย รวมทั งกังหันลมชนิดนี มีเทคโนโลยีที่เชื่อถือได้ส าหรับการผลิตไฟฟ้าในเชิงพาณิชย์ ขณะเดียวกันก็ยกเลิกการใช้งานกังหันลมขนาดเล็กที่ต้องซ่อมบ ารุงบ่อยและช ารุดเสียหาย ท าให้มีก าลังผลิตไฟฟ้าจากกังหันลมรวม 170 กิโลวัตต์ (การไฟฟ้าฝ่ายผลิต, 2557)

รูปที่ 10 แผนภาพการผลิตไฟฟ้าจากกังหันลมที่สถานีพลังงานทดแทนพรหมเทพ จ.ภูเก็ต ทีม่า: http://www3.egat.co.th/re/egat_wind/egat_windpuket/wind_phuket.htm

-13- http://www.teacher.ssru.ac.th/ratchasak/

รุ่น WINDANE 12 รุ่น WINDANE 12 รุ่น SVIAB 065-28

รุ่น DUNLITE 2000 รุ่น BWC EXCEL-

R/240 รุ่ น NORDTANK NTK150XLR

รูปที่ 11 รูปกังหันลมผลิตไฟฟ้ารุ่นต่าง ๆ ทีต่ิดตั งทีส่ถานีพลังงานทดแทนแหลมพรหมเทพ จ.ภูเก็ต ทีม่า: http://www3.egat.co.th/re/egat_wind/egat_windpuket/spec_aerowatt.htm

-14- http://www.teacher.ssru.ac.th/ratchasak/

อ้างอิง

การไฟฟ้าฝ่ายผลิต. (2557). กังหันลมผลิตไฟฟ้าที่ล าตะคอง อ.สีคิ ว จ.นครราชสีมา. สืบคน้เมื่อ 20 กันยายน 2557 จาก http://www3.egat.co.th/re/egat_wind/egat_windlamtakhong/ wind_lamtakhong.htm

การไฟฟ้าฝ่ายผลิต. (2557). กังหันลมผลิตไฟฟ้าที่แหลมพรหมเทพ จ.ภูเก็ต. สืบค้นเมื่อ 20 กันยายน 2557 จาก http://www3.egat.co.th/re/egat_wind/egat_windlamtakhong/ wind_lamtakhong.htm

การไฟฟ้าฝ่ายผลิต. (2557). เทคโนโลยีกังหันลม. สืบค้นเมื่อ 15 กันยายน 2557 จาก http://www3.egat.co.th/re/egat_wind/wind_technology.htm

การไฟฟ้าฝ่ายผลิต. (2557). ศักยภาพพลังงานลมในประเทศไทย. สืบค้นเมื่อ 20 กันยายน 2557 จาก http://www3.egat.co.th/re/egat_wind/wind_thailand.htm

กองพัฒนาพลังงานทดแทน ฝ่ายพัฒนาและแผนงานโรงไฟฟ้า (2557) พลังงานลม. สืบค้นเมื่อ 20 กันยายน 2557 จาก http://www3.egat.co.th/re/egat_wind/pdf_wind/ wind_energy.pdf

top related