การผลิตไฟฟ้าจากกังหันลม...1.2 ก งห...

14
-1- http://www.teacher.ssru.ac.th/ratchasak/ การผลิตไฟฟ้าจากกังหันลม รัชศักดิ์ สารนอก คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา พลังงานลมเป็นพลังงานจากธรรมชาติที่มีอยู่ทั่วไปซึ่งสามารถนามาใช้ประโยชน์ได้หลายอย่าง โดยมีการประดิษฐ์เครื่องมือเครื่องใช้ที่อาศัยพลังงานลมเป็นแหล่งต้นกาลัง เพื่อใช้ในการเสริมสร้าง การประกอบอาชีพหรืออานวยความสะดวกสบาย เช่น การแล่นเรือใบ การใช้กังหันวิดนา เป็นต้น ใน ปัจจุบันมีการพัฒนาเทคโนโลยีที่มีความก้าวหน้าทันสมัยประกอบกับการให้ความสาคัญในการอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อมและความต้องการในการใช้พลังงานในปริมาณที่เพิ่มมากขึน โดยเฉพาะการผลิตพลังงาน ไฟฟ้าในปัจจุบันที่มีความต้องการเพิ่มสูงขึนตลอด แต่มักจะผลิตจากแหล่งพลังงานที่ส่งผลในการ ทาลายสภาพแวดล้อม ดังนัน การนาพลังงานลมมาใช้งานจึงมีความสาคัญและนามาใช้ประโยชน์มาก ขึน ซึ่งนอกจากการนามาใช้ผลิตกระแสไฟฟ้าจะเป้นพลังงานสะอาดไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อ สภาพแวดล้อมแล้ว พลังงานลมยังมีอยู่โดยทั่วไปไม่มีต้นทุนในการซือขายและสามารถนามาใช้ ประโยชน์ได้อย่างต่อเนื่องไม่หมดสิกังหันลม เป็นอุปกรณ์ที่เป็นส่วนประกอบที่สาคัญในการจะแปลสภาพของพลังงานทีเกิดขึนจากกระแสลมเพื่อเปลี่ยนให้เป็นให้เป็นพลังงานกล และจากนันจะมีเครื่องกาเนิดไฟฟ้าที่แปลง จากพลังงานกลมาเป็นพลังงานไฟฟ้าเพื่อนาไปใช้ประโยชน์ต่อไป กล่าวคือ เมื่อกระแสลมพัดผ่านใบ กังหัน จะเกิดการถ่ายทอดพลังงานจลน์ไปสู่ใบกังหัน ทาให้กังหันหมุนรอบแกน สามารถนาพลังงาน จากการหมุนนีไปใช้งานได้ กังหันลมที่ใช้กันมากในประเทศไทยตังแต่อดีตถึงปัจจุบัน ได้แก่ กังหันลม แบบใบกังหันไม้ ใช้สาหรับฉุดระหัดวิดนาเข้านาข้าวบริเวณจังหวัดฉะเชิงเทรา กังหันลมใบเสื่อลาแพน ใช้ฉุดระหัดวิดนาเค็มเข้านาเกลือบริเวณ จังหวัดสมุทรสงคราม และกังหันลมแบบใบกังหันหลายใบ ทา ด้วยแผ่นเหล็กใช้สาหรับสูบนาจากบ่อนาบาดาลขึนไปเก็บในถังกักเก็บ ส่วนการใช้กังหันลมเพื่อผลิต กระแสไฟฟ้ายังอยู่ในระหว่างการทดสอบและพัฒนาอยู(การไฟฟ้าฝ่ายผลิต, 2557) 1. ชนิดของกังหันลม ปัจจุบันการพัฒนาเทคโนโลยีกังหันลมเพื่อใช้สาหรับผลิตไฟฟ้าได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง หลายประเทศทั่วโลกได้ให้ความสนใจ โดยเฉพาะในทวีปยุโรป เช่น ประเทศเดนมาร์ก กังหันลมที่ได้มี การพัฒนากันขึนมานันจะมีลักษณะและรูปร่างแตกต่างกันออกไป แต่ถ้าจาแนกตามลักษณะแนวแกน หมุนของกังหันจะได้ 2 แบบ คือ

Upload: others

Post on 26-Feb-2020

2 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: การผลิตไฟฟ้าจากกังหันลม...1.2 ก งห นลมแนวแกนต ง (Vertical Axis Wind Turbine) เป นก งห นลมท

-1- http://www.teacher.ssru.ac.th/ratchasak/

การผลิตไฟฟ้าจากกังหันลม

รชัศักดิ์ สารนอก คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม

มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

พลังงานลมเป็นพลังงานจากธรรมชาติที่มีอยู่ทั่วไปซึ่งสามารถน ามาใช้ประโยชน์ได้หลายอย่าง โดยมีการประดิษฐ์เครื่องมือเครื่องใช้ที่อาศัยพลังงานลมเป็นแหล่งต้นก าลัง เพ่ือใช้ในการเสริมสร้างการประกอบอาชีพหรืออ านวยความสะดวกสบาย เช่น การแล่นเรือใบ การใช้กังหันวิดน า เป็นต้น ในปัจจุบันมีการพัฒนาเทคโนโลยีที่มีความก้าวหน้าทันสมัยประกอบกับการให้ความส าคัญในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและความต้องการในการใช้พลังงานในปริมาณที่เพ่ิมมากขึ น โดยเฉพาะการผลิตพลังงานไฟฟ้าในปัจจุบันที่มีความต้องการเพ่ิมสูงขึ นตลอด แต่มักจะผลิตจากแหล่งพลังงานที่ส่งผลในการท าลายสภาพแวดล้อม ดังนั น การน าพลังงานลมมาใช้งานจึงมีความส าคัญและน ามาใช้ประโยชน์มากขึ น ซึ่งนอกจากการน ามาใช้ผลิตกระแสไฟฟ้าจะเป้นพลังงานสะอาดไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อสภาพแวดล้อมแล้ว พลังงานลมยังมีอยู่โดยทั่วไปไม่มีต้นทุนในการซื อขายและสามารถน ามาใช้ประโยชน์ได้อย่างต่อเนื่องไมห่มดสิ น

“กังหันลม” เป็นอุปกรณ์ที่เป็นส่วนประกอบที่ส าคัญในการจะแปลสภาพของพลังงานที่เกิดขึ นจากกระแสลมเพ่ือเปลี่ยนให้เป็นให้เป็นพลังงานกล และจากนั นจะมีเครื่องก าเนิดไฟฟ้าที่แปลงจากพลังงานกลมาเป็นพลังงานไฟฟ้าเพ่ือน าไปใช้ประโยชน์ต่อไป กล่าวคือ เมื่อกระแสลมพัดผ่านใบกังหัน จะเกิดการถ่ายทอดพลังงานจลน์ไปสู่ใบกังหัน ท าให้กังหันหมุนรอบแกน สามารถน าพลังงานจากการหมุนนี ไปใช้งานได้ กังหันลมที่ใช้กันมากในประเทศไทยตั งแต่อดีตถึงปัจจุบัน ได้แก่ กังหันลมแบบใบกังหันไม้ ใช้ส าหรับฉุดระหัดวิดน าเข้านาข้าวบริเวณจังหวัดฉะเชิงเทรา กังหันลมใบเสื่อล าแพน ใช้ฉุดระหัดวิดน าเค็มเข้านาเกลือบริเวณ จังหวัดสมุทรสงคราม และกังหันลมแบบใบกังหันหลายใบ ท าด้วยแผ่นเหล็กใช้ส าหรับสูบน าจากบ่อน าบาดาลขึ นไปเก็บในถังกักเก็บ ส่วนการใช้กังหันลมเพ่ือผลิตกระแสไฟฟ้ายังอยู่ในระหว่างการทดสอบและพัฒนาอยู่ (การไฟฟ้าฝ่ายผลิต, 2557) 1. ชนิดของกังหันลม

ปัจจุบันการพัฒนาเทคโนโลยีกังหันลมเพ่ือใช้ส าหรับผลิตไฟฟ้าได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง

หลายประเทศทั่วโลกได้ให้ความสนใจ โดยเฉพาะในทวีปยุโรป เช่น ประเทศเดนมาร์ก กังหันลมที่ได้มีการพัฒนากันขึ นมานั นจะมีลักษณะและรูปร่างแตกต่างกันออกไป แต่ถ้าจ าแนกตามลักษณะแนวแกนหมุนของกังหันจะได้ 2 แบบ คือ

Page 2: การผลิตไฟฟ้าจากกังหันลม...1.2 ก งห นลมแนวแกนต ง (Vertical Axis Wind Turbine) เป นก งห นลมท

-2- http://www.teacher.ssru.ac.th/ratchasak/

1.1 กังหันลมแนวแกนนอน (Horizontal Axis Wind Turbine) เป็นกังหันลมที่มีแกนหมุนขนานกับทิศทางของลมโดยมีใบพัดเป็นตัวตั งฉากรับแรงลม มี

อุปกรณ์ควบคุมกังหันให้หันไปตามทิศทางของกระแสลม เรียกว่า หางเสือ และมีอุปกรณ์ป้องกันกังหันช ารุดเสียหายขณะเกิดลมพัดแรง เช่น ลมพายุและตั งอยู่บนเสาที่แข็งแรง กังหันลมแบบแกนนอน ได้แก่ กังหันลมวินด์มิลล์ ( Windmills) กังหันลมใบเสื่อล าแพน นิยมใช้กับเครื่องฉุดน า กังหันลมแบบกงล้อจักรยาน กังหันลมส าหรับผลิตไฟฟ้าแบบพรอบเพลเลอร์ (Propeller)

รูปที่ 1 กังหันลมแบบแนวแกนนอน (Horizontal Axis Wind Turbine) ที่มา http://www3.egat.co.th/re/egat_wind/wind_technology.htm 1.2 กังหันลมแนวแกนตั ง (Vertical Axis Wind Turbine) เป็นกังหันลมที่มีแกนหมุนและใบพัดตั งฉากกับการเคลื่อนที่ของลมในแนวราบ ซึ่งท าให้

สามารถรับลมในแนวราบได้ทุกทิศทาง

Page 3: การผลิตไฟฟ้าจากกังหันลม...1.2 ก งห นลมแนวแกนต ง (Vertical Axis Wind Turbine) เป นก งห นลมท

-3- http://www.teacher.ssru.ac.th/ratchasak/

รูปที่ 2 กังหันลมแบบแนวแกนตั ง (Vertical Axis Wind Turbine) ที่มา http://www3.egat.co.th/re/egat_wind/wind_technology.htm กังหันลมแบบแนวแกนนอนเป็นแบบที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย ส่วนมากออกแบบให้เป็น

ชนิดที่ขับใบกังหันด้วยแรงยก แต่อย่างไรก็ตาม กังหันลมแบบแนวแกนตั ง ซึ่งได้รับการพัฒนามากในระยะหลังก็ได้รับความสนใจมากขึ นเช่นกัน ทั งนี เนื่องจากข้อดีกว่าแบบแนวแกนนอนคือ ในแบบแนวแกนตั งนั นไม่ว่าลมจะเข้ามาทิศไหนก็ยังหมุนได้ โดยไม่ต้องมีอุปกรณ์ควบคุมให้กังหันหันหน้าเข้าหาลม นอกจากนี แล้วแบบแนวแกนตั งนั น เครื่องก าเนิดไฟฟ้าและระบบการส่งก าลังวางไว้ใกล้พื นดินมากกว่าแบบแกนนอน เวลาเกิดปัญหาแก้ไขง่ายกว่าแบบแกนนอนที่ติดอยู่บนหอคอยสูง (การไฟฟ้าฝ่ายผลิต, 2557)

2. ส่วนประกอบของระบบกังหันลมขนาดใหญ่ส าหรับผลิตไฟฟ้า

ส่วนประกอบส าคัญๆ ของระบบกังหันลมทั่วๆ ไปอาจแบ่งได้ดังนี 1. ใบพัด เป็นตัวรับพลังลมและเปลี่ยนให้เป็นพลังงานกล ซึ่งยึดติดกับชุดแกนหมุนและส่งแรง

จากแกนหมุนไปยังเพลาแกนหมุน 2. เพลาแกนหมุน ซึ่งรับแรงจากแกนหมุนใบพัด และส่งผ่านระบบก าลัง เพ่ือหมุนและปั่น

เครื่องก าเนิดไฟฟ้า 3. ห้องส่งก าลัง ซึ่งเป็นระบบปรับเปลี่ยนและควบคุมความเร็วในการหมุน ระหว่างเพลาแกน

หมุนกับเพลาของเคริ่องก าเนิดไฟฟ้า

Page 4: การผลิตไฟฟ้าจากกังหันลม...1.2 ก งห นลมแนวแกนต ง (Vertical Axis Wind Turbine) เป นก งห นลมท

-4- http://www.teacher.ssru.ac.th/ratchasak/

รูปที่ 3 ส่วนประกอบของระบบกังหันลมขนาดใหญ่ส าหรับผลิตไฟฟ้า ที่มา http://www3.egat.co.th/re/egat_wind/wind_technology.htm 4. ห้องเครื่อง ซึ่งมีขนาดใหญ่และมีความส าคัญต่อกังหันลม ใช้บรรจุระบบต่างๆ ของกังหัน

ลม เช่น ระบบเกียร์ เครื่องก าเนิดไฟฟ้า เบรก และระบบควบคุม 5. เครื่องก าเนิดไฟฟ้า ท าหน้าที่เปลี่ยนพลังงานกลเป็นพลังงานไฟฟ้า 6. ระบบควบคุมไฟฟ้า ซึ่งใช้ระบบคอมพิวเตอร์เป็นตัวควบคุมการท างาน และจ่าย

กระแสไฟฟ้าเข้าสู่ระบบ 7 . ระบบเบรค เป็นระบบกลไกเพ่ือใช้ควบคุมการหยุดหมุนของใบพัดและเพลาแกนหมุนของ

กังหัน เมื่อได้รับความเร็วลม เกินความสามารถของกังหัน ที่จะรับได้ และในระหว่างการซ่อมบ ารุงรักษา

8 . แกนคอหมุนรับทิศทางลม เป็นตัวควบคุมการหมุนห้องเครื่อง เพ่ือให้ใบพัดรับทิศทางลมโดยระบบอิเลคทรอนิคส์ ที่เชื่อมต่อให้มีความสัมพันธ์ กับหางเสือรับทิศทางลมที่อยู่ด้านบนของเครื่อง

9 . เครื่องวัดความเร็วลมและทิศทางลม ซึ่งเชื่อมต่อสายสัญญาณเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ เพ่ือเป็นตัวชี ขนาดของความเร็วและทิศทางของลม เพ่ือที่คอมพิวเตอร์จะได้ควบคุมกลไกอ่ืนๆ ได้ถูกต้อง

10 . เสากังหันลม เป็นตัวแบกรับส่วนที่เป็นตัวเครื่องที่อยู่ข้างบน

Page 5: การผลิตไฟฟ้าจากกังหันลม...1.2 ก งห นลมแนวแกนต ง (Vertical Axis Wind Turbine) เป นก งห นลมท

-5- http://www.teacher.ssru.ac.th/ratchasak/

4. กังหันลมกับการผลิตไฟฟ้า

หลักการท างานของกังหันลมผลิตไฟฟ้านั น เมื่อมีลมพัดผ่านใบกังหัน พลังงานจลน์ที่เกิดจาก

ลมจะ ท าให้ใบพัดของกังหันเกิดการหมุน และได้เป็นพลังงานกลออกมา พลังงานกลจากแกนหมุนของกังหันลมจะถูกเปลี่ยนรูปไปเป็นพลังงานไฟฟ้า โดยเครื่องก าเนิดไฟฟ้าที่เชื่อมต่ออยู่กับแกนหมุนของกังหันลม จ่ายกระแสไฟฟ้าผ่านระบบควบคุมไฟฟ้า และจ่ายกระแสไฟฟ้าเข้าสู่ระบบต่อไป โดยปริมาณไฟฟ้าที่ผลิตได้จะขึ นอยู่กับความเร็วของลม ความยาวของใบพัด และสถานที่ติดตั งกังหันลม

กังหันลมกับการใช้งาน เนื่องจากความไม่สม่ าเสมอของความเร็วลมที่แปรผันตามธรรมชาติ และความต้องการ

พลังงานที่สม่ าเสมอเพ่ือให้เหมาะสมกับการใช้งานแล้ว จะต้องมีตัวกักเก็บพลังงานและใช้แหล่งพลังงานอื่นที่เชื่อถือได้เป็นแหล่งส ารอง หรือใช้ร่วมกับแหล่งพลังงานอื่น

1) ตัวกักเก็บพลังงานมีอยู่หลายชนิด ส่วนมากขึ นอยู่กับงานที่จะใช้ เช่น ถ้าเป็นกังหันเพ่ือ

ผลิตไฟฟ้าขนาดเล็กมักนิยมใช้แบตเตอรี่เป็นตัวกักเก็บพลังงาน 2) การใช้แหล่งพลังงานอ่ืนที่เป็นตัวหมุน ระบบนี ปกติกังหันลมจะท าหน้าที่จ่ายพลังงานให้

ตลอดเวลาที่มีความเร็วลมเพียงพอ หากความเร็วลมต่ าหรือลมสงบ แหล่งพลังงานชนิดอ่ืนจะท าหน้าที่จ่ายพลังงานทดแทน (ระบบนี กังหันลมจ่ายพลังงานเป็นตัวหลักและแหล่งพลังงานส่วนอ่ืนเป็นแหล่งส ารอง )

3) การใช้ร่วมกับแหล่งพลังงานอ่ืน อาจเป็นเครื่องจักรดีเซล หรือพลังงานน าจากเขื่อน ฯลฯ

ระบบนี ปกติจะมีแหล่งพลังงานชนิดอ่ืนจ่ายพลังงานอยู่ก่อนแล้ว กังหันลมจะช่วยจ่ายพลังงานเมื่อมีความเร็วลมเพียงพอ ซึ่งในขณะเดียวกันก็จะลดการจ่ายพลังงานจากแหล่งพลังงานอ่ืน เช่น ลดการใช้น ามันดีเซลของเครื่องยนต์ดีเซล

(ระบบนี แหล่งพลังงานอ่ืนจ่ายพลังงานเป็นหลัก ส่วนกังหันลมท าหน้าที่คอยเสริมพลังงานจากต้นพลังงานหลัก) (การไฟฟ้าฝ่ายผลิต, 2557)

Page 6: การผลิตไฟฟ้าจากกังหันลม...1.2 ก งห นลมแนวแกนต ง (Vertical Axis Wind Turbine) เป นก งห นลมท

-6- http://www.teacher.ssru.ac.th/ratchasak/

5. ศักยภาพพลังงานลมในประเทศไทย

การไฟฟ้าฝ่ายผลิตได้กล่าวถึงศักยภาพพลังงานลมในประเทศไทย ดังรูปที ่4 แผนที่แสดงพลังงานลมในประเทศไทย (หน่วย : วัตต์/ตารางเมตร) (การไฟฟ้าฝ่ายผลิต, 2557)

รูปที่ 4 แผนที่แสดงพลังงานลมในประเทศไทย (หน่วย : วัตต์/ตารางเมตร) ทีม่า: http://www3.egat.co.th/re/egat_wind/wind_thailand.htm

Page 7: การผลิตไฟฟ้าจากกังหันลม...1.2 ก งห นลมแนวแกนต ง (Vertical Axis Wind Turbine) เป นก งห นลมท

-7- http://www.teacher.ssru.ac.th/ratchasak/

6. ตัวอย่างโครงการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานลม 6.1 โครงการกังหันลมผลิตไฟฟ้าที่ล าตะคอง อ.สีคิ ว จ.นครราชสีมา จากการเก็บสถิติความเร็วลมที่ระดับความสูง 45 เมตร ของ กฟผ. เพ่ือตรวจวัดศักยภาพ

พลังงานลมส าหรับผลิตไฟฟ้าทั่วประเทศมาตั งแต่ปี พ.ศ. 2547 พบว่า ที่บริเวณอ่างพักน าตอนบนโรงไฟฟ้าล าตะคองชลภาวัฒนา ต าบลคลองไผ่ อ าเภอสีคิ ว จังหวัดนครราชสีมาแห่งนี มีศักยภาพพลั ง ง านลมดีที่ สุ ด แห่ งหนึ่ ง ของประ เทศไทย มี ลม พัดถึ ง 2 ช่ ว ง คื อช่ ว งฤดู ลมมรสุ มตะวันออกเฉียงเหนือ (ระหว่างเดือนพฤศจิกายนถึงปลายเดือนมีนาคม) และลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ (ระหว่างเดือนพฤษภาคม ถึงกลางเดือนตุลาคม) มีความเร็วลมเฉลี่ยทั งปีประมาณ 5-6 เมตรต่อวินาที ซึ่งสามารถน ามาผลิตไฟฟ้าได้

การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) จึงได้ด าเนินโครงการติดตั งกังหันลม

ขนาดก าลังผลิต 1,250 กิโลวัตต์ จ านวน 2 ชุด รวมก าลังผลิต 2,500 กิโลวัตต์ ที่บริเวณอ่างพักน าตอนบนโรงไฟฟ้าล าตะคองชลภาวัฒนา ต าบลคลองไผ่ อ าเภอสีคิ ว จังหวัดนครราชสีมา ติดตั งแล้วเสร็จพร้อมทั งเชื่อมโยงเข้าสู่ระบบการจ าหน่ายของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.) ตั งแต่วันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2552 เป็นต้นมา

รูปที่ 5 สถานที่ติดตั งกังหันลม อยู่ห่างจากอ่างพักน าตอนบนไปทางทิศใต้ ประมาณ 100 เมตร ทีม่า: http://www3.egat.co.th/re/egat_wind/egat_windlamtakhong/ wind_lamtakhong.htm

Page 8: การผลิตไฟฟ้าจากกังหันลม...1.2 ก งห นลมแนวแกนต ง (Vertical Axis Wind Turbine) เป นก งห นลมท

-8- http://www.teacher.ssru.ac.th/ratchasak/

รายละเอียดกังหันลมที่ล าตะคอง จ.นครราชสีมา กังหันลมที่น ามาติดตั งเป็นกังหันลมรุ่น D6-1250 ผลิตในประเทศจีน มีขนาดก าลังผลิต

1,250 กิโลวัตต ์ เป็นกังหันลมชนิดแกนนอน ประกอบด้วย ใบกังหันลม 3 ใบ ใบกังหันลมท าด้วยวัสดุสังเคราะห์เสริมใยแก้ว เส้นผ่าศูนย์กลางการหมุนของใบกังหันลม 64 เมตร ความสูงของเสากังหันลม 68 เมตร การท างานของกังหันลมจะเป็นแบบอัตโนมัติ เริ่มผลิตไฟฟ้าที่ความเร็วลม 2.8 เมตรต่อวินาที และสูงสุดที่ความเร็วลม 12.5 เมตรต่อวินาที และกังหันลมจะหยุดผลิตไฟฟ้าเมื่อความเร็วลม 23 เมตรต่อวินาที ส่วนความเร็วลมสูงสุดที่กังหันลมสามารถต้านทานได้อยู่ที่ 50.5 เมตรต่อวินาที กังหันลมรุ่นนี มีความเร็วรอบสูงสุดของใบกังหันลม 22 รอบต่อนาที ความเร็วรอบของเครื่องก าเนิดไฟฟ้า 1,100 รอบต่อนาที มีแรงดันไฟฟ้า 690 โวลต์ 3 เฟส ส่วนการหมุนของกังหันลมจะใช้มอเตอร์ไฮโดรลิกส์ขับชุดเกียร์ ระบบเบรคจะมีทั งแบบเบรคด้วยอากาศพลศาสตร์ คือ เบรคแบบปรับมุมใบกังหันลม และเบรกโดยใช้จานเบรก

ส่วนประกอบของกังหันลมรุ่น.. D6-1250

รูปที่ 6 ภาพจ าลองแสดงอุปกรณ์ภายในตัวกังหัน ทีม่า: http://www3.egat.co.th/re/egat_wind/egat_windlamtakhong/wind_lamtakhong. htm

Page 9: การผลิตไฟฟ้าจากกังหันลม...1.2 ก งห นลมแนวแกนต ง (Vertical Axis Wind Turbine) เป นก งห นลมท

-9- http://www.teacher.ssru.ac.th/ratchasak/

รูปที่ 7 กังหันลมขนาด 1,250 กิโลวัตต์ ทีม่า: http://www3.egat.co.th/re/egat_wind/egat_windlamtakhong/wind_lamtakhong. htm

รูปที่ 8 ระบบผลิตไฟฟ้าจากกังหันลม โรงไฟฟ้าล าตะคองชลภาวัฒนา อ.สีคิ ว จ.นครราชสีมา ทีม่า: http://www3.egat.co.th/re/egat_wind/egat_windlamtakhong/wind_lamtakhong. Htm

Page 10: การผลิตไฟฟ้าจากกังหันลม...1.2 ก งห นลมแนวแกนต ง (Vertical Axis Wind Turbine) เป นก งห นลมท

-10- http://www.teacher.ssru.ac.th/ratchasak/

ตารางที่ 1 แสดงรายละเอียดกังหันลมที่ติดตั งทีโ่รงไฟฟ้าล าตะคองชลภาวัฒนา อ.สีคิ ว จ.นครราชสีมา

โครงการนี กฟผ.ได้ใช้งบด าเนินการประมาณ 145 ล้านบาท เป็นกังหันลมที่ใหญ่ที่สุดของ กฟผ. (การไฟฟ้าฝ่ายผลิต, 2557)

สามารถผลิตไฟฟ้าได้ประมาณปีละ 4.60 ล้านหน่วย ทดแทนการใช้น ามันเชื อเพลิงได้ 1.1 ล้านลิตรต่อปี ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่เป็นสาเหตุภาวะโลกร้อนได้ถึง 2,300 ตันต่อป ี

กังหันลมรุ่น D6-1250 ผลิตในประเทศจีน ขนาดก าลังผลิต 1,250 กิโลวัตต์

ขนาดก าลังผลิต 1,250 กิโลวัตต์

ชนิดของกังหัน แกนนอน

จ านวนใบกังหัน 3 ใบ

ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางใบกังหัน 64 เมตร

ความเร็วลมที่เริ่มผลิตไฟฟ้า 2.8 เมตรต่อวินาที

ความเร็วลมที่ผลิตไฟฟ้าได้สูงสุด 12.5 เมตรต่อวินาที

ความเร็วลมที่หยุดผลิตไฟฟ้า 23 เมตรต่อวินาที

ความเร็วรอบสูงสุดของใบกังหันลม 22 รอบต่อนาที

ความเร็วลมสูงสุดที่กังหันลมสามารถต้านทานได้ 50.5 เมตรต่อวินาที

ความสูงของเสากังหันลม 68 เมตร

ติดตั งใช้งานเมื่อ ปี พ.ศ. 2552

Page 11: การผลิตไฟฟ้าจากกังหันลม...1.2 ก งห นลมแนวแกนต ง (Vertical Axis Wind Turbine) เป นก งห นลมท

-11- http://www.teacher.ssru.ac.th/ratchasak/

6.2 กังหันลมผลิตไฟฟ้าที่สถานีพลังงานทดแทนแหลมพรหมเทพ จ.ภูเก็ต

ในปี พ.ศ. 2526 การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ได้เลือกบริเวณแหลมพรหมเทพ จังหวัดภูเก็ต ซึ่งเป็นจุดที่มีข้อมูลบ่งชี ว่า มีความเร็วลมเฉลี่ยตลอดปี ประมาณ 5 เมตรต่อวินาที เป็นสถานที่ตั งของสถานีทดลองการผลิตไฟฟ้าจากกังหันลม ใช้ชื่อว่า สถานีพลังงานทดแทนพรหมเทพ โดยตั งอยู่ทางทิศเหนือของแหลมพรหมเทพ ประมาณ 1 กิโลเมตร เหตุผลในการเลือกสถานที่แห่งนี คือ

อยู่ติดกับทะเลได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ และลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ นับว่าเป็นต าแหน่งที่รับลมได้เกือบทั งปี

ได้รับความอนุเคราะห์อย่างดียิ่งจากส่วนราชการ จ.ภูเก็ต ให้ใช้พื นที่ตลอดมา

รูปที่ 9 กังหันลมผลิตไฟฟ้าที่สถานีพลังงานทดแทนแหลมพรหมเทพ จ.ภูเก็ต ทีม่า: http://www3.egat.co.th/re/egat_wind/egat_windpuket/wind_phuket.htm

ตั งแต่ปี พ.ศ. 2526-2535 การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ได้เริ่มติดตั งกังหันลมขนาดเล็กเพ่ือทดสอบการใช้งานที่สถานีแห่งนี จ านวน 6 ชุด พร้อมทั งติดตั งอุปกรณ์บันทึกข้อมูลคือ Digital Data Logger และ Strip Chart Recorder ไว้อย่างครบถ้วน ส าหรับไฟฟ้าที่ผลิตได้ก็น ามาใช้ให้แสงสว่างในบริเวณสถานีทดลองฯ โดยใช้กับอุปกรณ์ไฟฟ้าต่าง ๆ จากผลการวิเคราะห์ข้อมูลเบื องต้นสรุปได้ว่า การใช้กังหันลมผลิตกระแสไฟฟ้าที่บริเวณสถานีพลังงานทดแทนพรหมเทพนี มีผลเป็นที่น่าพอใจ แต่ยังคงมีปัญหาเรื่องชิ นส่วนบางชนิด เช่น ใบกังหัน และตลับลูกปืนช ารุด นอกจากนี ในบางกรณียังมีปัญหาเรื่องการจัดซื ออะไหล่จากต่างประเทศอีกด้วย

ในปี พ.ศ. 2531 การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) จึงได้ก าหนดแผนงานเชื่อมโยงระบบกังหันลมมาผลิตไฟฟ้า เข้าสู่ระบบจ าหน่ายของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.) ในลักษณะของการใช้งานจริง และเพ่ือศึกษาหาประสบการณ์ในการเชื่อมต่อเข้าระบบไปพร้อม ๆ กัน โครงการดังกล่าว ด าเนินไปด้วยดีตามแผนงาน โดยได้รับความร่วมมือจากการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.) และสามารถจ่ายไฟเข้าสู่ระบบได้เมื่อต้นเดือนสิงหาคม พ.ศ.2533 นับเป็นครั งแรกในประเทศไทย ที่สามารถน าไฟฟ้าจากพลังงานลมมาใช้งานได้โดยเชื่อมโยงเข้ากับระบบจ าหน่ายไฟฟ้า จากความส าเร็จ

Page 12: การผลิตไฟฟ้าจากกังหันลม...1.2 ก งห นลมแนวแกนต ง (Vertical Axis Wind Turbine) เป นก งห นลมท

-12- http://www.teacher.ssru.ac.th/ratchasak/

ในการจ่ายกระแสไฟฟ้าที่กังหันลมผลิตได้ดังกล่าว ในปี พ.ศ. 2535 กฟผ. ได้ติดตั งกังหันลมขนาดก าลังผลิต 10 กิโลวัตต์ เพิ่มอีก 2 ชุด และเชื่อมโยงเข้ากับระบบจ าหน่ายไฟฟ้าเช่นกัน

จากประสบการณ์ที่ได้รับจากการติดตั งกังหันลมผลิตไฟฟ้าขนาดเล็กมากว่า 13 ปี ตลอดจนผลจากการติดตามเทคโนโลยีด้านกังหันลมมาโดยตลอดท าให้ กฟผ. มีความพร้อมที่จะติดตั งกังหันลมในขนาดที่ใหญ่ขึ น ดังนั นในปี พ.ศ. 2539 กฟผ. จึงติดตั งกังหันลม ขนาดก าลังผลิต 150 กิโลวัตต์ ซึ่งเป็นกังหันลมที่มีขนาดใหญ่ที่สุดที่เคยติดตั งมาในประเทศไทย รวมทั งกังหันลมชนิดนี มีเทคโนโลยีที่เชื่อถือได้ส าหรับการผลิตไฟฟ้าในเชิงพาณิชย์ ขณะเดียวกันก็ยกเลิกการใช้งานกังหันลมขนาดเล็กที่ต้องซ่อมบ ารุงบ่อยและช ารุดเสียหาย ท าให้มีก าลังผลิตไฟฟ้าจากกังหันลมรวม 170 กิโลวัตต์ (การไฟฟ้าฝ่ายผลิต, 2557)

รูปที่ 10 แผนภาพการผลิตไฟฟ้าจากกังหันลมที่สถานีพลังงานทดแทนพรหมเทพ จ.ภูเก็ต ทีม่า: http://www3.egat.co.th/re/egat_wind/egat_windpuket/wind_phuket.htm

Page 13: การผลิตไฟฟ้าจากกังหันลม...1.2 ก งห นลมแนวแกนต ง (Vertical Axis Wind Turbine) เป นก งห นลมท

-13- http://www.teacher.ssru.ac.th/ratchasak/

รุ่น WINDANE 12 รุ่น WINDANE 12 รุ่น SVIAB 065-28

รุ่น DUNLITE 2000 รุ่น BWC EXCEL-

R/240 รุ่ น NORDTANK NTK150XLR

รูปที่ 11 รูปกังหันลมผลิตไฟฟ้ารุ่นต่าง ๆ ทีต่ิดตั งทีส่ถานีพลังงานทดแทนแหลมพรหมเทพ จ.ภูเก็ต ทีม่า: http://www3.egat.co.th/re/egat_wind/egat_windpuket/spec_aerowatt.htm

Page 14: การผลิตไฟฟ้าจากกังหันลม...1.2 ก งห นลมแนวแกนต ง (Vertical Axis Wind Turbine) เป นก งห นลมท

-14- http://www.teacher.ssru.ac.th/ratchasak/

อ้างอิง

การไฟฟ้าฝ่ายผลิต. (2557). กังหันลมผลิตไฟฟ้าที่ล าตะคอง อ.สีคิ ว จ.นครราชสีมา. สืบคน้เมื่อ 20 กันยายน 2557 จาก http://www3.egat.co.th/re/egat_wind/egat_windlamtakhong/ wind_lamtakhong.htm

การไฟฟ้าฝ่ายผลิต. (2557). กังหันลมผลิตไฟฟ้าที่แหลมพรหมเทพ จ.ภูเก็ต. สืบค้นเมื่อ 20 กันยายน 2557 จาก http://www3.egat.co.th/re/egat_wind/egat_windlamtakhong/ wind_lamtakhong.htm

การไฟฟ้าฝ่ายผลิต. (2557). เทคโนโลยีกังหันลม. สืบค้นเมื่อ 15 กันยายน 2557 จาก http://www3.egat.co.th/re/egat_wind/wind_technology.htm

การไฟฟ้าฝ่ายผลิต. (2557). ศักยภาพพลังงานลมในประเทศไทย. สืบค้นเมื่อ 20 กันยายน 2557 จาก http://www3.egat.co.th/re/egat_wind/wind_thailand.htm

กองพัฒนาพลังงานทดแทน ฝ่ายพัฒนาและแผนงานโรงไฟฟ้า (2557) พลังงานลม. สืบค้นเมื่อ 20 กันยายน 2557 จาก http://www3.egat.co.th/re/egat_wind/pdf_wind/ wind_energy.pdf