book กิจการ นศ 001 - human...

12
จัดทำโดย ฝายกิจการนักศึกษา คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม สื่อสารสนเทศ เพื่อใหความรูศิษยเกา คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม

Upload: others

Post on 05-Jul-2020

2 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: book กิจการ นศ 001 - human rmuhuman.rmu.ac.th/student/book_enterprise-human_student.pdfเอาจร งๆแล ว ถ าเราด นไปสม ครงานท

จัดทำโดย ฝายกิจการนักศึกษา คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม

สื่อสารสนเทศเพื่อใหความรูศิษยเกาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตรมหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม

Page 2: book กิจการ นศ 001 - human rmuhuman.rmu.ac.th/student/book_enterprise-human_student.pdfเอาจร งๆแล ว ถ าเราด นไปสม ครงานท

การเตรียมตัวสูโลกการทำงาน

1.การฝากประวัติสมัครงาน 2.การนัดสัมภาษณ

ปจจุบันนี้อินเตอรเน็ตถือเปนหนึ่งในชองทางหลัก

ของการสมัครงานผูหางานหันมาใชอินเตอรเน็ตเปน

เคร ื ่ อ งม ื อ ในการค นหาและสม ัครงานอย า ง

แพรหลายมากขึ้น เนื่องจากความสะดวก รวดเร็ว

และหลากหลายกวาหากเปรียบเทียบกับการหางาน

จากชองทางอื่นๆโดยผูสมัครงานทางอินเตอรเน็ต

สามารถคนหางานไดจากแหลงขอมูลขนาดใหญ

และใชเวลานอยในการสมัครงานแตละครั้ง

ขั ้นตอนการสมัครงานผานเว็บไซตจัดหางานมี

ขั้นตอนงายเพียงแค ลงทะเบียนและสมัครสมาชิก

ในสวนของเว็ปจัดหางานตางๆ เชน Job Seeker

หรือ Jobdb.โดยจะได User Name และ Password

เพื่อเขาสูระบบเพื่อฝากขอมูลสำคัญของผูหางานไว

ใชในการพิจารณาของนายจาง

1. สรางความมั่นใจใหตนเองกอน เตรียม resume ใบสมัครงาน ใบประกาศ เ ก ี ย ร ต ิ บ ั ต ร ร า ง ว ั ล ต า ง ๆ เ ช ็ ค ใ ห ล ะ เ อ ี ย ด จากน ั ้ นจ ึ ง เร ิ ่ มฝ กซ อมการส ัมภาษณ งานโดยการเตรียมพรอมกับคำถามตางๆและวิธีการตอบที่เหมาะสมและเปนตัวเรามากที่สุด

2. ตองรูลักษณะการสัมภาษณงาน ผ ู ส ัมภาษณม ักด ูม ุมมองความคิดของเรามากกวาท ี ่จะให ตอบตามตำราเป ะๆนอกจากน ี ้ควรเตร ียมต ัวพร อม ร ั บก า รส ั มภาษณ ท ุ ก ร ู ปแบบบางท ี ่ ก ็ ม ี คนสัมภาษณถึง 5 คน บางที่ก็สัมภาษณงานแบบตัวตอตัว แตกินเวลาเปนครึ่งชั่วโมงก็มี

3. หาขอมูลที่จำเปนใหหมด การหาขอมูลทางอินเตอรเน็ต นับเปนแหลงขอมูลชั้นเยี่ยมที่รวบรวมรายละเอียดเกี่ยวกับแผน หรือแนวปฏิบัติของบริษัทที่เราสมัคร เราควรเก็บขอมูลของบริษัทใหหมด ในหลายๆดาน เชนฐานเงินเดือนของตำแหนงที่เราสมัครงาน สินคาบริการของบริษัท ว ัฒนธรรมองค กร เป นย ั ง ไ งจะ ได เห ็ นภาพคร าวๆวาบรืษัทเปนอยางไร

4. มีความกระตือรือรน เอาจริงๆแลว ถาเราดันไปสมัครงานที่ “ไมใช” ขึ้นมา การจะสรางความตื่นเตนความอินจัดกับการสัมภาษณงานที่กำลังจะเขามาถึงนั้นแทบจะไมมีโอกาสเลยเพราะเราไมไดตองการมัน ดังนั้นขอแนะนำเลยวาถามีโอกาส ก็ใหเลือกงานที่เราสนใจใหมากที่สุด แลวความกระตือรือรนมันก็จะมาเอง

5. ลองสวมรอยเปนผูสัมภาษณซะเอง เวลาเตร ียมตัวส ัมภาษณงานคงจะดีไม น อยถาเราลองคิดจากมุมมองของผูสัมภาษณดูบาง วาถาเปนเราเนี่ย เราอยากไดผูรวมงานแบบไหน เคามีความมั่นใจรึเปลา?

Page 3: book กิจการ นศ 001 - human rmuhuman.rmu.ac.th/student/book_enterprise-human_student.pdfเอาจร งๆแล ว ถ าเราด นไปสม ครงานท

การเตรียมตัวสูโลกการทำงาน

1.การฝากประวัติสมัครงาน 2.การนัดสัมภาษณ

ปจจุบันนี้อินเตอรเน็ตถือเปนหนึ่งในชองทางหลัก

ของการสมัครงานผูหางานหันมาใชอินเตอรเน็ตเปน

เคร ื ่ อ งม ื อ ในการค นหาและสม ัครงานอย า ง

แพรหลายมากขึ้น เนื่องจากความสะดวก รวดเร็ว

และหลากหลายกวาหากเปรียบเทียบกับการหางาน

จากชองทางอื่นๆโดยผูสมัครงานทางอินเตอรเน็ต

สามารถคนหางานไดจากแหลงขอมูลขนาดใหญ

และใชเวลานอยในการสมัครงานแตละครั้ง

ขั ้นตอนการสมัครงานผานเว็บไซตจัดหางานมี

ขั้นตอนงายเพียงแค ลงทะเบียนและสมัครสมาชิก

ในสวนของเว็ปจัดหางานตางๆ เชน Job Seeker

หรือ Jobdb.โดยจะได User Name และ Password

เพื่อเขาสูระบบเพื่อฝากขอมูลสำคัญของผูหางานไว

ใชในการพิจารณาของนายจาง

1. สรางความมั่นใจใหตนเองกอน เตรียม resume ใบสมัครงาน ใบประกาศ เ ก ี ย ร ต ิ บ ั ต ร ร า ง ว ั ล ต า ง ๆ เ ช ็ ค ใ ห ล ะ เ อ ี ย ด จากน ั ้ นจ ึ ง เร ิ ่ มฝ กซ อมการส ัมภาษณ งานโดยการเตรียมพรอมกับคำถามตางๆและวิธีการตอบที่เหมาะสมและเปนตัวเรามากที่สุด

2. ตองรูลักษณะการสัมภาษณงาน ผ ู ส ัมภาษณม ักด ูม ุมมองความคิดของเรามากกวาท ี ่จะให ตอบตามตำราเป ะๆนอกจากน ี ้ควรเตร ียมต ัวพร อม ร ั บก า รส ั มภาษณ ท ุ ก ร ู ปแบบบางท ี ่ ก ็ ม ี คนสัมภาษณถึง 5 คน บางที่ก็สัมภาษณงานแบบตัวตอตัว แตกินเวลาเปนครึ่งชั่วโมงก็มี

3. หาขอมูลที่จำเปนใหหมด การหาขอมูลทางอินเตอรเน็ต นับเปนแหลงขอมูลชั้นเยี่ยมที่รวบรวมรายละเอียดเกี่ยวกับแผน หรือแนวปฏิบัติของบริษัทที่เราสมัคร เราควรเก็บขอมูลของบริษัทใหหมด ในหลายๆดาน เชนฐานเงินเดือนของตำแหนงที่เราสมัครงาน สินคาบริการของบริษัท ว ัฒนธรรมองค กร เป นย ั ง ไ งจะ ได เห ็ นภาพคร าวๆวาบรืษัทเปนอยางไร

4. มีความกระตือรือรน เอาจริงๆแลว ถาเราดันไปสมัครงานที่ “ไมใช” ขึ้นมา การจะสรางความตื่นเตนความอินจัดกับการสัมภาษณงานที่กำลังจะเขามาถึงนั้นแทบจะไมมีโอกาสเลยเพราะเราไมไดตองการมัน ดังนั้นขอแนะนำเลยวาถามีโอกาส ก็ใหเลือกงานที่เราสนใจใหมากที่สุด แลวความกระตือรือรนมันก็จะมาเอง

5. ลองสวมรอยเปนผูสัมภาษณซะเอง เวลาเตร ียมตัวส ัมภาษณงานคงจะดีไม น อยถาเราลองคิดจากมุมมองของผูสัมภาษณดูบาง วาถาเปนเราเนี่ย เราอยากไดผูรวมงานแบบไหน เคามีความมั่นใจรึเปลา?

การเตรียมตัวสูโลกการทำงาน

3.การเปลี่ยนงาน

เปลี่ยนงานใหมเมื่อถึงเวลา แทจริงแลวเวลาใดที่เราควรเปลี่ยน อาจจะไมมีใครบอกเราไดนอกจากตัวเรา ใหดูจากบริบทแวดลอมรอบตัวเราเปนหลัก เชน จุดอิ่มตัวในการทำงานเราตองดูวาเราสามารถกาวหนาตอไปในสายงานของเราอีกหรือไม หากเรามาถึงที่สุด เราก็อาจจะตองบอกตัวเองวาใหลองหาอะไรที่ทาทาย และสามารถพัฒนาศักยภาพตัวเองใหมากกวานี้ เชี่ยวชาญงานแลวคอยเปลี่ยนงานใหม เม ื ่อค ิดจะเปล ี ่ยนงานเราต องม ั ่นใจว าเราเข าใจในงานที่เราทำอยางทะลุปรุโปรงและเชี่ยวชาญเปนอยางดีเสียกอน ไมใชรูเพียงผิวเผินก็คิดจะเปลี่ยนงานใหมเสียแลว การเปล ี ่ ยนงานใหม ของคนท ี ่ ม ีความเช ี ่ ยวชาญส ูง หรือทำงานมาในระดับหนึ่งแลวนั้น จะเกิดขึ้นไดเมื่อยังไมมีการเลื่อนตำแหนงในระดับที่สูงขึ้น ดังนั้น เมื่อคิดจะเปลี่ยนงานใหม เราตองแนใจวาเราเชี่ยวชาญและมีประสบการณมากพอเราจึงจะเติบโตในหนาที่การงานและประสบความสำเร็จในตำแหนงงานใหมประเมินตนเองกอนแลวคอยเปลี ่ยนงานใหมกอนที่จะตัดสินใจเปลี ่ยนงานใหมทุกครั ้ง ใหลองสำรวจและประเมินตัวเองดูกอนวาเราพรอมมากแคไหนอยาเปลี่ยนงานดวยความรูสึกวามีบางสิ่งบางอยางเปนตัวเรงเรา ทั้งที่ในความเปนจริงแลวเราอาจยังไมพรอมที่จะมองหางานใหม อยาเพิ่งตัดสินใจเปลี่ยนงานทั้ง ๆ ที่ยังไมพรอม เราตองมั่นใจวางานที่เราทำอยูนั้น เราทำไดดีขนาดไหน แลวคอยเปลี่ยนงานไปสูตำแหนงที่มีความรับผิดชอบ มากขึ้นจึงจะทำใหการเปลี่ยนงานใหมประสบความสำเร็จมากขึ้น

1. สรางความมั่นใจใหตนเองกอน เตรียม resume ใบสมัครงาน ใบประกาศ เ ก ี ย ร ต ิ บ ั ต ร ร า ง ว ั ล ต า ง ๆ เ ช ็ ค ใ ห ล ะ เ อ ี ย ด จากน ั ้ นจ ึ ง เร ิ ่ มฝ กซ อมการส ัมภาษณ งานโดยการเตรียมพรอมกับคำถามตางๆและวิธีการตอบที่เหมาะสมและเปนตัวเรามากที่สุด

2. ตองรูลักษณะการสัมภาษณงาน ผ ู ส ัมภาษณม ักด ูม ุมมองความคิดของเรามากกวาท ี ่จะให ตอบตามตำราเป ะๆนอกจากน ี ้ควรเตร ียมต ัวพร อม ร ั บก า รส ั มภาษณ ท ุ ก ร ู ปแบบบางท ี ่ ก ็ ม ี คนสัมภาษณถึง 5 คน บางที่ก็สัมภาษณงานแบบตัวตอตัว แตกินเวลาเปนครึ่งชั่วโมงก็มี

3. หาขอมูลที่จำเปนใหหมด การหาขอมูลทางอินเตอรเน็ต นับเปนแหลงขอมูลชั้นเยี่ยมที่รวบรวมรายละเอียดเกี่ยวกับแผน หรือแนวปฏิบัติของบริษัทที่เราสมัคร เราควรเก็บขอมูลของบริษัทใหหมด ในหลายๆดาน เชนฐานเงินเดือนของตำแหนงที่เราสมัครงาน สินคาบริการของบริษัท ว ัฒนธรรมองค กร เป นย ั ง ไ งจะ ได เห ็ นภาพคร าวๆวาบรืษัทเปนอยางไร

4. มีความกระตือรือรน เอาจริงๆแลว ถาเราดันไปสมัครงานที่ “ไมใช” ขึ้นมา การจะสรางความตื่นเตนความอินจัดกับการสัมภาษณงานที่กำลังจะเขามาถึงนั้นแทบจะไมมีโอกาสเลยเพราะเราไมไดตองการมัน ดังนั้นขอแนะนำเลยวาถามีโอกาส ก็ใหเลือกงานที่เราสนใจใหมากที่สุด แลวความกระตือรือรนมันก็จะมาเอง

5. ลองสวมรอยเปนผูสัมภาษณซะเอง เวลาเตร ียมตัวส ัมภาษณงานคงจะดีไม น อยถาเราลองคิดจากมุมมองของผูสัมภาษณดูบาง วาถาเปนเราเนี่ย เราอยากไดผูรวมงานแบบไหน เคามีความมั่นใจรึเปลา?

Page 4: book กิจการ นศ 001 - human rmuhuman.rmu.ac.th/student/book_enterprise-human_student.pdfเอาจร งๆแล ว ถ าเราด นไปสม ครงานท

การเขียนประวัติสมัครงาน (Resume) ภาษาอังกฤษ การเขียนเรซูเมทั่วไปมีหลักการเชนเดียวกับการเขียนออไลนเรซูเม แตออนไลนเรซูเมมีความพิเศษกวา เพราะสามารถใสลิ้ง (Link) เพื่อที่จะโชวความสามารถพิเศษหรือ port-folio ของเราใหนายจางดูได และยังสามารถใสวีดีโอเรซูเม (VDO Resume) เพื่อแนะนำหรือพรีเซนตประวัติยอของเราไดดวยซึ่งนายจางที่เห็นวีดีโอเรซูเมก็จะสามารถเห็นบุคลิกภาพของเรากอนเรียกเขาสัมภาษณงาน ความพิเศษของออนไลนเรซูเมเปนสิ่งที่เพิ่มขึ้นมาเพื่อใหเรซูเมของเรานาสนใจและเพิ่มโอกาสในการเรียกเขาสัมภาษณงานใหกับเราอีกดวย ในบทความนี้เราจะแบง resume ออกเปน 7 สวนหลักๆ คือ 1. รูปแบบเรียบงาย อานงาย 2. มีลิงคเชื่อมโยงไปยังขอมูลสวนตัว 3. เปาหมายในการสมัครงานที่ชัดเจน 4. แสดงจุดขายของผูสมัคร 5. แสดงหลักฐานการศึกษา 6. แสดงความสามารถในการทำงานรวมกับผูอื่น 7. ไมตองใสแหลงอางอิง

Page 5: book กิจการ นศ 001 - human rmuhuman.rmu.ac.th/student/book_enterprise-human_student.pdfเอาจร งๆแล ว ถ าเราด นไปสม ครงานท

การเขียนประวัติสมัครงาน (Resume) ภาษาอังกฤษ การเขียนเรซูเมทั่วไปมีหลักการเชนเดียวกับการเขียนออไลนเรซูเม แตออนไลนเรซูเมมีความพิเศษกวา เพราะสามารถใสลิ้ง (Link) เพื่อที่จะโชวความสามารถพิเศษหรือ port-folio ของเราใหนายจางดูได และยังสามารถใสวีดีโอเรซูเม (VDO Resume) เพื่อแนะนำหรือพรีเซนตประวัติยอของเราไดดวยซึ่งนายจางที่เห็นวีดีโอเรซูเมก็จะสามารถเห็นบุคลิกภาพของเรากอนเรียกเขาสัมภาษณงาน ความพิเศษของออนไลนเรซูเมเปนสิ่งที่เพิ่มขึ้นมาเพื่อใหเรซูเมของเรานาสนใจและเพิ่มโอกาสในการเรียกเขาสัมภาษณงานใหกับเราอีกดวย ในบทความนี้เราจะแบง resume ออกเปน 7 สวนหลักๆ คือ 1. รูปแบบเรียบงาย อานงาย 2. มีลิงคเชื่อมโยงไปยังขอมูลสวนตัว 3. เปาหมายในการสมัครงานที่ชัดเจน 4. แสดงจุดขายของผูสมัคร 5. แสดงหลักฐานการศึกษา 6. แสดงความสามารถในการทำงานรวมกับผูอื่น 7. ไมตองใสแหลงอางอิง

ชำระผาน ATM/ADMของธนาคารกรุงไทย

ชำระที่เคานเตอรธนาคารกรุงไทย

กรอกหนังสือแสดงตน

ที่ธนาคารกรุงไทย

ทุกสาขา

ชำระในงวดแรก

(ชำระหนี้ผาน

6 ชองทางของ

ธนาคารกรุงไทย)

แจงความประสงค

หากตองการชำระ

เปนรายเดือน

(ในงวดถัดไป)

ติดตอชำระหนี้ครั้งแรก

ชำระโดยหักบัญชีเงินฝากออมทรัพยอัตโนมัติ

วิธีชำระหน้ีคร้ังตอไป

สามารถเลือกชำระหน้ีได 6 วิธี ดังน้ี

ชำระผานทางKTB.CO.TH

ชำระผานทางกรุงไทย เทเลแบงค

ชำระผานทางโทรศัพทมือถือ

2 ขั้นตอนการชำระหนี้ กยศ

Page 6: book กิจการ นศ 001 - human rmuhuman.rmu.ac.th/student/book_enterprise-human_student.pdfเอาจร งๆแล ว ถ าเราด นไปสม ครงานท

1. คนหาหลักสูตร 2.เตรียมเอกสาร 3.เช็ควันเวลา

ตามความสนใจ

ตามความตองการของหนวยงาน

นักศึกษาลงทะเบียนเรียนพรอมเตรียมตัวเขาศึกษาตอ

ในระดับบัณฑิตศึกษา

เตรียมเอกสารที่จำเปน

ในการสมัครเรียนเชน ผลการเรียนระดับปริญญาตรี

ผูสมัครสอบขอเขียน

และทดสอบความรูภาษาอังกฤษ

ตรวจสอบวันเวลาสำคัญ

เชน วันสอบ หองสอบ วันเวลาสัมภาษณ

4. กรอกใบสมัคร 5. สอบขอเขียน 6. สอบสัมภาษณ

7. ตรวจสอบผล การสอบสัมภาษณ

8. ตรวจสอบหลักสูตร เพื่อลงทะเบียน

9. ลงทะเบียนเรียน

ผูสมัครอาจกรอกสมัคร

ที่มหาวิทยาลัย หรือกรอกในระบบออนไลน

ตามที่มหาวิทยาลัยไดจัดสรรให

มหาวิทยาลัยสวนใหญจะมี

กิจกรรม การแนะแนวการลงทะเบียนในวันปฐมนิเทศ

Page 7: book กิจการ นศ 001 - human rmuhuman.rmu.ac.th/student/book_enterprise-human_student.pdfเอาจร งๆแล ว ถ าเราด นไปสม ครงานท

1. คนหาหลักสูตร 2.เตรียมเอกสาร 3.เช็ควันเวลา

ตามความสนใจ

ตามความตองการของหนวยงาน

นักศึกษาลงทะเบียนเรียนพรอมเตรียมตัวเขาศึกษาตอ

ในระดับบัณฑิตศึกษา

เตรียมเอกสารที่จำเปน

ในการสมัครเรียนเชน ผลการเรียนระดับปริญญาตรี

ผูสมัครสอบขอเขียน

และทดสอบความรูภาษาอังกฤษ

ตรวจสอบวันเวลาสำคัญ

เชน วันสอบ หองสอบ วันเวลาสัมภาษณ

4. กรอกใบสมัคร 5. สอบขอเขียน 6. สอบสัมภาษณ

7. ตรวจสอบผล การสอบสัมภาษณ

8. ตรวจสอบหลักสูตร เพื่อลงทะเบียน

9. ลงทะเบียนเรียน

ผูสมัครอาจกรอกสมัคร

ที่มหาวิทยาลัย หรือกรอกในระบบออนไลน

ตามที่มหาวิทยาลัยไดจัดสรรให

มหาวิทยาลัยสวนใหญจะมี

กิจกรรม การแนะแนวการลงทะเบียนในวันปฐมนิเทศ

ดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่ http://human.rmu.ac.th/branch.php

Page 8: book กิจการ นศ 001 - human rmuhuman.rmu.ac.th/student/book_enterprise-human_student.pdfเอาจร งๆแล ว ถ าเราด นไปสม ครงานท

สิทธิประกันสังคมนารู

ความคุมครอง

เจ็บปวย/ประสบอันตราย 3 เดือน ใน 15 เดือน

ทุพพลภาพ 3 เดือน ใน 15 เดือน

ตาย 1 เดือน ใน 6 เดือน

คลอดบุตร 7 เดือน ใน 15 เดือน

สงเคราะหบุตร 12 เดือน ใน 36 เดือน

วางงาน 6 เดือน ใน 15 เดือน

ออกจากงานแลว อยากสงประกันสังคมตอแบบสมัครใจ(มาตรา39)

*ผูประกันตนที่ออกจากงาน จะไดรับความคุมครองใน 4 กรณี คือ เจ็บปวย ทุพพลภาพตาย และคลอดบุตร ตอไปอีก 6 เดือน หลังจากที่ออกจากงาน

ตองยื่นสมัคร ภายใน 6 เดือนนับจากวันที่ออกจากงาน

ตองขึ้นทะเบียนผูวางงาน ที่สำนักงานจัดหางานของรัฐ ภายใน 30 วัน

นับตั้งแตวันที่วางงาน

ตองยื่นเรื่องขอรับเงิน

ภายใน 1 ปนับจากวันที่มีสิทธิ

ชราภาพ < 180 เดือน มีสิทธิรับบำเหน็จ > 180 เดือน มีสิทธิรับบำนาญ

ระยะเวลาการสมทบที่ทำใหเกิดสิทธิ ระยะเวลาที่ตองยื่นเรื่องขอรับเงิน

เงื่อนเวลาที่ไมควรพลาด

Page 9: book กิจการ นศ 001 - human rmuhuman.rmu.ac.th/student/book_enterprise-human_student.pdfเอาจร งๆแล ว ถ าเราด นไปสม ครงานท

สิทธิประกันสังคมนารู

ความคุมครอง

เจ็บปวย/ประสบอันตราย 3 เดือน ใน 15 เดือน

ทุพพลภาพ 3 เดือน ใน 15 เดือน

ตาย 1 เดือน ใน 6 เดือน

คลอดบุตร 7 เดือน ใน 15 เดือน

สงเคราะหบุตร 12 เดือน ใน 36 เดือน

วางงาน 6 เดือน ใน 15 เดือน

ออกจากงานแลว อยากสงประกันสังคมตอแบบสมัครใจ(มาตรา39)

*ผูประกันตนที่ออกจากงาน จะไดรับความคุมครองใน 4 กรณี คือ เจ็บปวย ทุพพลภาพตาย และคลอดบุตร ตอไปอีก 6 เดือน หลังจากที่ออกจากงาน

ตองยื่นสมัคร ภายใน 6 เดือนนับจากวันที่ออกจากงาน

ตองขึ้นทะเบียนผูวางงาน ที่สำนักงานจัดหางานของรัฐ ภายใน 30 วัน

นับตั้งแตวันที่วางงาน

ตองยื่นเรื่องขอรับเงิน

ภายใน 1 ปนับจากวันที่มีสิทธิ

ชราภาพ < 180 เดือน มีสิทธิรับบำเหน็จ > 180 เดือน มีสิทธิรับบำนาญ

ระยะเวลาการสมทบที่ทำใหเกิดสิทธิ ระยะเวลาที่ตองยื่นเรื่องขอรับเงิน

เงื่อนเวลาที่ไมควรพลาด

*

*

*

*

*

*

*

*

**

ถาผูประกันตนลาปวยโดยไดรับคาจางจากนายจางครบ 30 วัน ตามกฎหมายของกรมสวัสดิการและคุ มครองแรงานแลวตองหยุดงานตามคำสั่งแพทยตอไปอีก จะมีสิทธิรับ เงินทดแทนการขาดรายได ในอัตรา 50%ของคาจางเฉลี่ย ครั้งละไมเกิน 90 วัน และรวมกัน ปละไมเกิน 180 วัน ยกเวนกรณีเจ็บปวยดวยโรคเร้ือรัง มีสิทธิรับ ปละไมเกิน365 วันโรคเรื้อรัง ไดแก1. โรคมะเร็ง2. โรคไตวาย3. โรคเอดส4. โรคหรือการบาดเจ็บทางสมอง เสนเลือด สมองหรือกระดูกสันหลัง อันเปนเหตุให อัมพาต5. ความผิดปกติของกระดูกหักที่มีภาวะ แทรกซอน6. โรคหรืออาการเจ็บปวยอื่นๆ ที่ตองรักษา ตัวนานติดตอกันเกินกวา 180 วัน ระหวางการรักษาทำงานไมได ใหยื่นเรื่องขอมติคณะกรรมการ การแพทย

ผูประกันตนที่ทุพพลภาพ มีสิทธิรับ เงินทดแทนการขาดรายได ในอัตรา 50% ของคาเฉลี่ยโดยไดรับทุกเดือนตลอดชีวิต

สิทธิประกันสังคมนารู

เงินทดแทนการขาดรายไดกรณีเจ็บปวย กรณทุพพลภาพ

กรณีถูกเลิกจาง มีสิทธิไดรับ เงินทดแทนการขาดรายได ในอัตรา 50% ของคาจางเฉลี่ยครั้งละไมเกิน 180 วันกรณีลาออกจากงาน/ส้ินสุดสัญญาจาง มีสิทธิไดรับ เงินทดแทนการขาดรายได ในอัตรา 30% ของคาจางเฉลี่ยครั้งละไมเกิน 90 วัน

ฐานคาจางที่นำมาคำนวณเงินทดแทนการขาดรายไดผูประกันตนภาคบังคับ (มาตรา 33) ไมต่ำกวา 1,650 บาท และไมเกิน 15,000 บาท/เดือนผูประกันตนภาคสมัครใจ (มาตรา 39) คือ 4,800 บาทตอเดือน

ภายใน 1 ปปฏิทิน ใหนับระยะเวลาการรับเงินทดแทนฯ ทุกครั้งไมเกิน 180 วัน

กรณทุพพลภาพ

ดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่ www.sso.go.th หรือสายดวน 1506 บริการ 24 ชั่วโมง

Page 10: book กิจการ นศ 001 - human rmuhuman.rmu.ac.th/student/book_enterprise-human_student.pdfเอาจร งๆแล ว ถ าเราด นไปสม ครงานท

กิจกรรมศิษยเกา โดย สมาคมศิษยเกา มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม “สมาคมศิษยเกามหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ไดเริ่มกอตั้งขึ้น เมื่อวันที่ ๔ เดือน พฤษภาคมพุทธศักราช ๒๕๐๕ เดิมใชชื่อวาสมาคมศิษยเกาวิทยาลัยครูมหาสารคามสำนักงานสมาคมตั้งอยูที่ วิทยาลัยครูมหาสารคาม อำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม และตอมาวิทยาลัยครูมหาสารคามไดยกฐานะเปน สถาบันราชภัฏมหาสารคาม ตาม พ.ร.บ. สถาบันราชภัฏ พ.ศ.๒๕๓๘ และตอมาไดยกฐานะเปนมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ตาม พ.ร.บ. มหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. ๒๕๔๗ สมาคมศิษยเกาวิทยาลัยครูมหาสารคามก็ไดดำเนินการเกี่ยวกับกิจการสมาคมมาอยางตอเนื่องภายใตชื่อสมาคมเดิมโดยเปนการสมควร ใหมีขอบังคับสมาคมศิษยเกามหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามเพ่ือใชในการบริหารงานสมาคม ซึ่งไดรับความเห็นชอบจากมติที่ประชุมใหญจึงออก “ ขอบังคับสมาคมศิษยเกามหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม”

ดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่ http://alumni.rmu.ac.th/detail/25

Page 11: book กิจการ นศ 001 - human rmuhuman.rmu.ac.th/student/book_enterprise-human_student.pdfเอาจร งๆแล ว ถ าเราด นไปสม ครงานท

กิจกรรมศิษยเกา โดย สมาคมศิษยเกา มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม “สมาคมศิษยเกามหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ไดเริ่มกอตั้งขึ้น เมื่อวันที่ ๔ เดือน พฤษภาคมพุทธศักราช ๒๕๐๕ เดิมใชชื่อวาสมาคมศิษยเกาวิทยาลัยครูมหาสารคามสำนักงานสมาคมตั้งอยูที่ วิทยาลัยครูมหาสารคาม อำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม และตอมาวิทยาลัยครูมหาสารคามไดยกฐานะเปน สถาบันราชภัฏมหาสารคาม ตาม พ.ร.บ. สถาบันราชภัฏ พ.ศ.๒๕๓๘ และตอมาไดยกฐานะเปนมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ตาม พ.ร.บ. มหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. ๒๕๔๗ สมาคมศิษยเกาวิทยาลัยครูมหาสารคามก็ไดดำเนินการเกี่ยวกับกิจการสมาคมมาอยางตอเนื่องภายใตชื่อสมาคมเดิมโดยเปนการสมควร ใหมีขอบังคับสมาคมศิษยเกามหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามเพ่ือใชในการบริหารงานสมาคม ซึ่งไดรับความเห็นชอบจากมติที่ประชุมใหญจึงออก “ ขอบังคับสมาคมศิษยเกามหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม”

ดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่ http://alumni.rmu.ac.th/detail/25

บันทึกช่วยจำ�

Page 12: book กิจการ นศ 001 - human rmuhuman.rmu.ac.th/student/book_enterprise-human_student.pdfเอาจร งๆแล ว ถ าเราด นไปสม ครงานท

จัดทำ�โดย ฝ่�ยกิจก�รนักศึกษ� คณะมนุษยศ�สตร์และสังคมศ�สตร์ มห�วิทย�ลัยร�ชภัฏมห�ส�รค�ม