docu3000029045

32
แบบเสนอรายงานการวิจัย ปการศึกษา 2551 ประเภทที5 ประเภท ลดมลภาวะโลกรอน อุปกรณดักไขมันสําหรับอางลางจาน วิทยาลัยการอาชีพบึงกาฬ อาชีวศึกษาจังหวัดหนองคาย สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

Upload: chutikarn-sothanapaisan

Post on 12-Nov-2014

409 views

Category:

Documents


2 download

DESCRIPTION

 

TRANSCRIPT

Page 1: Docu3000029045

แบบเสนอรายงานการวิจัย ปการศึกษา 2551 ประเภทที่ 5

ประเภท ลดมลภาวะโลกรอน

อุปกรณดกัไขมนัสําหรับอางลางจาน

วิทยาลัยการอาชีพบึงกาฬ อาชีวศึกษาจังหวัดหนองคาย

สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

Page 2: Docu3000029045

ช่ือเร่ือง อุปกรณดกัไขมันสําหรับอางลางจาน ผูวิจัย นายอุทิศ ผลาชิต และคณะ สถานศึกษา วิทยาลัยการอาชีพบึงกาฬ ปงบประมาณ 2551

บทคัดยอ ในการจดัทําอุปกรณดกัไขมนัสําหรับอางลางจานในครัวเรือน มีวัตถุประสงคเพื่อออกแบบสราง

อุปกรณดกัไขมันสําหรับอางลางจาน ทําการทดสอบประสิทธิภาพและคุณภาพ ประกอบดวย ตะแกรงในการดักเศษอาหาร ตัวแยกไขมัน ทอระบายไขมัน ทําการทดสบการแยกไขมันออกจากเศษอาหาร ณ วิทยาลัยการอาชีพบึงกาฬและทดสอบภายนอกสถานท่ี โดยใชอุปกรณดักไขมันสําหรับอางลางจานจากผลการทดสอบ พบวา การแยกเศษอาหารและไขมันดวยอุปกรณดกัไขมัน สามารถทํางานไดจริง ดังนั้นส่ิงประดิษฐอุปกรณดกัไขมันสําหรับอางลางจานในครัวเรือน จึงเปนอุปกรณในการชวยลดมลภาวะทางอากาศ โดยชวยลดกล่ินเหม็นจากการทิ้งเศษอาหารและไขมันในน้ําท้ิง ซ่ึงอุปกรณดักไขมันไดออกแบบใหใชไดกับการปฏิบัติงานจริงในครัวเรือน

Page 3: Docu3000029045

กิตติกรรมประกาศ

รายงานผลการดําเนินงานส่ิงประดิษฐของคนรุนใหมฉบับนี้สําเร็จลงไดดวยความกรุณาและชวยเหลืออยางดีจากครู ธีระพล บุญธรรม ครูสุรชัย โกมาลยและครูเสกสรรค ไมเศรา ครูท่ีปรึกษาส่ิงประดิษฐท่ีไดกรุณาใหคําแนะนํา ขอเสนอแนะและการแกไขขอขัดของดวยความเอาใจใสตลอดมา คณะผูประดิษฐขอขอบพระคุณไวอยางสูง ขอขอบคุณผูบริหารวิทยาลัย ครู เจาหนาท่ีและนักศึกษาแผนกวิชายานยนตทุกคนของวิทยาลัยการอาชีพบึงกาฬท่ีคอยสนับสนุนใหความชวยเหลือทุกอยางตลอดจนใหกาํลังใจคณะผูประดิษฐดวยดปีระโยชนและคุณคาอันพึงไดจากส่ิงประดิษฐนี้ คณะผูประดิษฐขอมอบแดผูมีพระคุณทุกทาน อุทิศ ผลาชิตและคณะ

Page 4: Docu3000029045

สารบัญ เร่ือง หนา บทคัดยอ........................................................................................................................... ก กิตติกรรมประกาศ........................................................................................................... ข สารบัญ............................................................................................................................. ค สารบัญตาราง................................................................................................................... ง สารบัญภาพ...................................................................................................................... จ บทท่ี 1 บทนํา................................................................................................................. 1 บทท่ี 2 เอกสารท่ีเกี่ยวของ............................................................................................. 2

บทท่ี 3 การสราง การพัฒนา และการใชส่ิงประดิษฐ………………………………… 10 บทท่ี 4 ผลการวิจัย…...................................................................................................... 14 บทท่ี 5 สรุปผล อภิปราบผลและขอเสนอแนะ............................................................. 15

บรรณานุกรม................................................................................................................... 16 ภาคผนวก

ภาคผนวก ก ข้ันตอนการใชเคร่ืองยอยกระดาษรีไซเคิล……………………... 18 ภาคผนวก ข ประวัติผูจัดทํา………………………………………………….. 21

Page 5: Docu3000029045

สารบัญตาราง

ตาราง หนา ตาราง 4.1 ผลการทดสอบประสิทธิภาพของอุปกรณดกัไขมันสําหรับอางลางจาน…………… 14

Page 6: Docu3000029045

สารบัญภาพ

ภาพ หนา รูปท่ี 3.1 ภาพอางลางจาน………………………………………………………………………. 10 รูปท่ี 3.2 ชุดอุปกรณดกัไขมัน………………………………………………………………….. 11 รูปท่ี 3.3 ภาพทอน้ําเขาและทอน้ําออก…………………………………………………………. 11 รูปท่ี 3.4 ตะแกรงคัดแยกเศษอาหารและสวนท่ีดักไขมัน……………………………………… 11 รูปท่ี 3.5 จัดเตรียมอุปกรณดักไขมันสําหรับอางลางจาน……………………………………… 12 รูปท่ี 3.6 ทดลองการใชอุปกรณดกัไขมันในอางลางจานและปลอยน้าํลงในอุปกรณดักไขมัน… 12 รูปท่ี 3.7 ภาพการแยกเศษอาหารและการแยกไขมันของอุปกรณดักไขมัน…………………….. 12 รูปท่ี 3.8 ตรวจสอบอุปกรณดักไขมันสําหรับอางลางจานใหพรอมใชงานและนําไปทดลอง การใชกับรานทําอาหาร…………………………………………………………………………… 13 รูปท่ี 3.9 ทดลองการใชอุปกรณดกัไขมันสําหรับอางลางจาน…………………………………… 13 รูปท่ี 3.10 ภาพการติดต้ังของอุปกรณขณะใชงานจริงและการปลอยน้ําออกหลังจากดกัไขมันแลว 13

Page 7: Docu3000029045

บทท่ี 1 บทนํา

1.1 ความเปนมาของการสรางส่ิงประดิษฐ

ในปจจุบันโลกเรากําลังไดรับปญหาทางภาวะโลกรอนหรือภาวะอุณหภูมิอากาศ เปล่ียนแปลงของโลกเรา สังเกตไดจากอุณหภูมิของโลกท่ีสูงข้ึนเร่ือย ๆ โดยเกดิปรากฎการณเรือนกระจกซ่ึงมลภาวะทางอากาศมีสาเหตุท่ีสําคัญไดแก ยานพาหนะท่ีใชเคร่ืองยนต ควันไฟและกาซพิษจากโรงงานอุตสาหกรรม เชน โรงงานทําเบียร โรงงานสุรา โรงงานไฟฟา แหลงฝุนละออง แหลงหมักหมมของส่ิงปฏิกูล ไดแก เศษอาหารและขยะมูลฝอยและอากาศเสียจากปรากฎการณทางธรรมชาติ เชน ภูเขาไฟระเบิด ไฟปาเปนตน ปญหาท่ีทําใหเกิดมลภาวะทางอากาศท่ีสําคัญอยางยิ่งคือ การปลอยน้ําท้ิงและส่ิงปฏิกูลจากแหลงชุมชน จากอาหาร บานเรือน หองอาหาร เนื่องจากน้ําเสียดังกลาวจะมีน้ํามันปะปนอยูมาก ทําใหทอระบายน้ําอุดตันและยังสงกล่ินเหม็นรบกวนซ่ึงไมมีตะแกรงกรองและคัดแยกไขมันออกกอน

คณะผูประดิษฐไดมองเหน็ความสําคัญของปญหาทางมลภาวะดังกลาวจึงไดสรางอุปกรณดกัไขมันสําหรับอางลางจานในครัวเรือนข้ึน เพื่อชวยการคัดแยกไขมันออกจากนํ้าท้ิงท่ีเหลือใชในครัวเรือนกอนปลอยใหลงสูทอพักน้ําและทอระบายน้ํา เปนการชวยลดมลภาวะทางอากาศใหลดลงอีกดวย

1.2 วัตถุประสงค

1. เพื่อสรางอุปกรณดกัไขมนัสําหรับอางลางจานในครัวเรือนท่ีมีคุณสมบัติในการลด มลภาวะทางอากาศ 2. เพื่อสงเสริมใหนกัศึกษาใชเวลาวางใหเกิดประโยชน และรูจักการทํางานเปนทีม

1.3 ขอบเขตของการสรางส่ิงประดิษฐ

ในการสรางอุปกรณดกัไขมนัสําหรับอางลางจาน เปนส่ิงประดิษฐท่ีจัดสรางข้ึนใชในครัวเรือนและรานคาท่ัวไปทีเ่กี่ยวกับของกบัการประกอบอาชีพทําอาหารจําหนาย 1.4 ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ

ไดผลงานส่ิงประดิษฐอุปกรณดักไขมันท่ีมีคุณภาพดีและประสิทธิภาพสูง เหมาะสมที่จะใชประโยชนสําหรับครัวเรือนของประชาชนผูสนใจ

Page 8: Docu3000029045

บทท่ี 2 เอกสารท่ีเก่ียวของ

2.1 ภาวะโลกรอน ภาวะโลกรอน (Global Warming) หรือ ภาวะ ภูมิอากาศเปล่ียนแปลง (Climate Change) เปนปญหาใหญของโลกเราในปจจุบัน สังเกตไดจากอุณหภูมิของโลกท่ีสูงข้ึนเร่ือยๆ สาเหตุหลักของปญหานี ้มาจาก กาซเรือนกระจก ครับ (Greenhouse gases) ปรากฏการณเรือนกระจก มีความสําคัญกับโลก เพราะกาซจําพวก คารบอนไดออกไซด หรือ มีเทน จะกักเกบ็ความรอนบางสวนไวในในโลก ไมใหสะทอนกลับสูบรรยากาศท้ังหมด มิฉะนั้น โลกจะกลายเปนแบบดวงจันทร ท่ีตอนกลางคืนหนาวจัด (และตอนกลางวันรอนจดั เพราะไมมีบรรยากาศกรองพลังงานจากดวงอาทิตย) ซ่ึงการทําใหโลกอุนข้ึนเชนนี้ คลายกับหลักการของเรือนกระจก (ท่ีใชปลูกพืช) จึงเรียกวา ปรากฏการณเรือนกระจก (Greenhouse Effect) แตการเพิ่มข้ึนอยางตอเนื่องของ CO2 ท่ีออกมาจากโรงงานอุตสาหกรรม รถยนต หรือการกระทําใด ๆท่ีเผาเช้ือเพลิงฟอสซิล (เชนถานหิน น้ํามัน กาซธรรมชาติ หรือสารประกอบไฮโดรคารบอน ) สงผลใหระดับปริมาณ CO2 ในปจจุบันสูงเกิน 300 ppm (300 สวน ใน ลานสวน) เปนคร้ังแรกในรอบกวา 6 แสนป ซ่ึงคารบอนไดออกไซดท่ีมากข้ึนนี ้ไดเพิ่มการกักเก็บความรอนไวในโลกของเรามากข้ึนเร่ือยๆ จนเกดิเปน ภาวะโลกรอน ดังเชนปจจุบัน กาซคารบอนไดออกไซด และกาซเรือนกระจกอ่ืนๆ เปนตัวการกักเก็บความรอนจากแสงอาทิตยไวไมใหคายออกไปสูบรรยากาศซ่ึงเปนส่ิงท่ีดี เพราะทําใหโลกของเรามีอุณหภูมิอบอุน สามารถดํารงชีวิตอยูไดแตปจจุบัน การเผาผลาญเช้ือเพลงฟอสซิลตางๆ เชน ถานหิน น้ํามันเช้ือเพลิง และการตัดไมทําลายปาซ่ึงการกระทําเหลานี้สงผลใหปริมาณ คารบอนไดออกไซดในบรรยากาศ เพิ่มข้ึนอยางมหาศาล อันสงผลกระทบตางๆมากมายไมวาจะเปนอุณหภูมิของโลกท่ีเพิ่มข้ึนอยางตอเนื่อง ภัยธรรมชาติตางๆเกิดบอยข้ึน และน่ีคือส่ิงท่ีเกิดข้ึน

- จํานวนพาย ุHurricane Category 4 และ 5 เพิ่มข้ึนสองเทา ในสามสิบปท่ีผานมา - เช้ือมาลาเรียไดแพรกระจายไปในท่ีสูงข้ึน แมแตใน Columbian, Andes ท่ีสูง 7000 ฟุตเหนือ

ระดับน้ําทะเล - น้ําแข็ง ใน ธารน้ําแข็ง เขตกรีนแลนด ละลายเพ่ิมมากข้ึนเปนสองเทาในชวงทศวรรษท่ีผานมา - สัตวตางๆ อยางนอย 279 สปช่ีสกําลังตอบสนองตอ ภาวะโลกรอน โดยพยายามยายถ่ินท่ีอยู

Page 9: Docu3000029045

หากเรายังเพิกเฉยตอส่ิงท่ีเกิดข้ึน รับรองไดเลยวาจะเกดิเร่ืองอยางนี้แน - อัตรา ผูเสียชีวิต จาก โลกรอน จะพุงไปอยูท่ี 300000 คนตอป ใน 25 ปตอจากนี ้ - ระดับน้าํทะเลสูงข้ึน 20 ฟุต - คล่ืนความรอน จะมาบอยข้ึนและรุนแรงข้ึน - ภาวะฝนแลง และไฟปาจะเกิดบอยข้ึน - มหาสมุทรอารกติกจะไมเหลือน้ําแข็ง ภายในฤดูรอน 2050 - ส่ิงมีชีวิตกวาลานสปช่ีสเส่ียงท่ีจะสูญพันธุ

2.2 มลภาวะทางนํ้า

2.2.1 สาเหตุของมลพิษทางน้ํา 1.ธรรมชาติ แหลงน้ําตางๆ อาจเกิดจากการเนาเสียไดเองเม่ืออยูในภาวะท่ีขาดออกซิเจน สวนใหญมี สาเหตุเกิดจากการเพ่ิมจํานวนอยางรวดเร็วของแพลงคตอน แลวตายลงพรอม ๆ กันเม่ือ จุลินทรียทําการยอยสลายซากแพลงคตอนทําใหออกซิเจนในนํ้าถูกนําไปใชมาก จนเกิดการขาดแคลนได นอกจากนี้การเนาเสียอาจเกิดไดอีกประการหนึ่งคือ เม่ือน้ําอยูในสภาพนิ่งไมมีการหมุนเวียนถายเท 2. น้ําท้ิง และส่ิงปฏิกูลจากแหลงชุมชน ไดแก อาคาร บานเรือน สํานักงาน อาคารพาณิชย โรงแรม เปนตน ส่ิงปะปนมากับน้ําท้ิงประกอบดวยสารอินทรียซ่ึงจะถูกยอยสลายโดยผูยอยสลายสาร อินทรียท่ีสําคัญคือ แบคทีเรีย ซ่ึงมีท้ังแบคทีเรียแอโรบิก (aerobic bacteria) เปนแบคท่ีเรียท่ีตองใชออกซิเจนอิสระในการยอยสลายสารอินทรีย กับแบคทีเรียแอนาโรบิก (anaerobic bacteria) เปนแบคทีเรียท่ียอยสลายสารอินทรียไดโดยไมตองอาศัยออกซิเจนอิสระ อีกชนิดหนึ่งคือ แบคทีเรียแฟคัลเตตีฟ (facultativebacteria)เปนแบคทีเรียพวกท่ีสามารถดํารง ชีวิตอยูไดท้ังอาศัยและตองอาศัยออกซิเจนอิสระ ท้ังนี้ข้ึนอยูกับปริมาณออกซิเจนในสภาวะ แวดลอมนัน้ บทบาทในการยอยสลายสารเหลานี้ของแบคทีเรียแอโรบิกตองใชออกซิเจน ในปริมาณมาก ทําใหปริมาณออกซิเจนท่ีละลายนํ้า(ดีโอ DO = dissolved oxygen) ลดลงตํ่ามาก ตามปกติน้ําในธรรมชาติจะมีออกซิเจนละลายปนอยูประมาณ 8 มิลลิกรัมตอลิตร หรือ 8 สวนในลานสวน (ppm) โดยท่ัวไปคา DO ตํ่ากวา 3 มิลลิกรัม/ลิตรจัดเปนน้ําเสีย การหาปริมาณของออกซิเจนที่จุลินทรียตองการใชในการยอยสลายอินทรียสารใน น้ํา (biochemical oxygen demand) เรียกยอวา BOD เปนการบอกคุณภาพน้ําได ถาคา BOD สูง แสดงวาในน้ํานั้นมีอินทรียสารอยูมาก การยอยสลายอินทรียสารของจุลินทรียตองใชออกซิเจน ทําใหออกซิเจนในนํ้าเหลืออยูนอย โดยท่ัวไปถาในแหลงน้ําใดมีคา BODสูงกวา 100มิลลิกรัม/ลิตร จัดวาน้าํนั้นเปนน้ําเสียถาในแหลงน้ํานัน้มีคา BODสูงหรือมีอินทรียสาร มาก ปริมาณออกซิเจนในนํ้าจะลดนอยลงแบคทีเรียแอโรบิกจะลดนอยลงดวย อินทรียสาร จะถูกสลายดวยแบคทีเรียแอนาโรบิกและแบคทีเรียแฟคัลเตตีฟตอไป ซ่ึงจะทําใหกาซตาง ๆ เชน มีเทน ไฮโดรเจนซัลไฟด แอมโมเนีย กาซเหลานี้เองท่ีทําใหเกิดกล่ินเหม็นและสีของน้ํา เปล่ียนไปนอกจากสารอนิทรียแลว ตามแหลงชุมชนยังมีผงซักฟอกซ่ึงเปนตัวลดความตึงผิว ของนํ้า ซ่ึงหมุนเวียนไปสู.คนได.ทางโซ.อาหาร

Page 10: Docu3000029045

3. การเกษตร เปนสาเหตุหนึง่ท่ีทําใหน้ําเสีย เชน การเล้ียงสัตว เศษอาหารและนํ้าท้ิงจากการ ชําระคอกสัตว ท้ิงลงสูแมน้ํา ลําคลอง ซ่ึงกอใหเกิดโรคระบาด การใชปุยไนเตรตของเกษตรกร เม่ือปุยลงสูแหลงน้ําจะทําใหน้ํามีปริมาณเกลือไนเตรตสูงถาดื่มเขาไปจะทําใหเปนโรคพิษไนเตรต ไนเตรตจะเปล่ียนเปนไนไตรตแลวรวมตัวกบัฮีโมโกลบินอาจทําใหเกิดอันตรายถึงแกชีวิตได นอกจากนี้เกษตรกรนิยมใชสารกําจัดศัตรูพืชมากข้ึน สารท่ีตกคางตามตนพืช และตามผิวดิน จะถูกชะลางไปกับน้ําฝนและไหลลงสูแหลงน้ํา สารท่ีสลายตัวชาจะสะสมในแหลงน้ํา นัน้มากข้ึนจนเปนอันตรายได 4. โรงงานอุตสาหกรรม ของเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม เชน โรงงานปลาปน โรงงาน ผลิตภัณฑนม โรงโมแปง โรงงานทําอาหารกระปอง สวนใหญมีสารอินทรียพวกโปรตีน คารโบไฮเดรตปนอยูมากสารอินทรียท่ีถูกปลอยออกมากับน้ําท้ิงนีก้จ็ะถูกยอยสลายทํา

2.2.2 ผลกระทบของมลพิษทางนํ้า 1. การประมง น้ําเสียทําใหสัตวน้ําลดปริมาณลง น้ําเสียท่ีเกิดจากสารพิษอาจทําใหปลาตายทันที สวนน้ําเสียท่ีเกิดจากการลดต่ําของออกซิเจนละลายในน้าํถึงแมจะไมทําใหปลาตายทันที แตอาจทําลายพืชและสัตวน้ําเล็ก ๆ ท่ีเปนอาหารของปลาและตัวออน ทําใหปลาขาดอาหาร กอใหเกดิผลเสียหายตอการประมงและเศรษฐกิจ ปริมาณออกซิเจนละลายในน้ําถาหารลด จํานวนลงมาก ๆ ในทันทีก็อาจทําใหปลาตายไดนอกจากนี้น้ําเสียยังทําลายแหลงเพาะวางไข ของปลาเน่ืองจากการตกตะกอนของสารแขวนลอยในนํ้าเสียปกคลุมพื้นท่ีวางไขของปลา ซ่ึงเปนการหยุดยั้งการแพรพันธุ ทําใหปลาสูญพันธุได 2. การสาธารณสุขน้ําเสียเปนแหลงแพรเช้ือโรค ทําใหเกดิโรคระบาด เชน โรคอหิวาตกโรค ไทฟอยด บิด เปนแหลงเพาะเช้ือยงุซ่ึงเปนพาหะของโรคบางชนิด เชน มาเลเรีย ไขเลือดออก และสารมลพิษท่ีปะปนในแหลงน้ํา ถาเราบริโภคทําใหเกิดโรคตาง ๆ เชน โรค มินามาตะ เกดิจากการรับประทานปลาท่ีมีสารปรอทสูง โรคอิไต-อิไต เกิดจากการไดรับสาร แคดเมียม 3. การผลิตน้ําเพื่อบริโภคและอุปโภค น้ําเสียกระทบกระเทือนตอการผลิตน้ําดื่ม น้ําใชอยาง ยิ่ง แหลงน้ําสําหรับผลิตประปาไดจากแมน้ํา ลําคลอง เม่ือแหลงน้ําเนาเสียเปนผลให คุณภาพน้ํา ลดลง คาใชจายในกระบวนการผลิตเพื่อใหน้ํามีคุณภาพเขาเกณฑมาตรฐานน้ําดื่มจะเพิ่มข้ึน 4. การเกษตร น้ําเสียมีผลตอการเพาะปลูก และสัตวน้ํา น้าํเสียท่ีกอใหเกดิความเสียหายตอ การเกษตร สวนใหญเปนน้ําเสียท่ีมีความเปนกรดเปนดางสูง น้ําท่ีมีปริมาณเกลืออนินทรีย หรือ สารพิษสูง ฯลฯ ซ่ึงเกิดจากโรงงานอุตสาหกรรมปลอยน้ําเสียและเกดิจากผลของการทํา เกษตรกรรมนั่นเอง เชน การชลประทาน สรางเข่ือนกักเกบ็น้ําไวใชเพือ่การเกษตร ท้ังนี้เนื่องจากคุณสมบัติน้ําในธรรมชาติประกอบดวยเกลืออนินทรียเจือปนอยูโดยเฉพาะ เกลือคลอไรด ขณะท่ีใชน้ําเพื่อการเกษตร น้ําจะระเหยเปนไอโดยธรรมชาติ ปริมาณเกลือ อนินทรียซ่ึงไดระเหยจะตกคางในดิน เม่ือมีการสะสมมากเขา ปริมาณเกลือในดินสูงข้ึน ทําใหดินเค็มไมเหมาะแกการเพาะปลูก ปริมาณเกลืออนินทรียท่ีตกคางอาจถูกชะลาง ภายหลังฝนตก หรือโดยระบายนํ้าจากการชลประทาน เกลืออนินทรียจะถูกถายทอดลงสู แมน้ําในท่ีสุด

Page 11: Docu3000029045

5. ความสวยงามและการพักผอนหยอนใจ แมน้ํา ลําธาร แหลงน้ําอ่ืน ๆ ท่ีสะอาดเปนความ สวยงามตามธรรมชาติ ใชเปนท่ีพกัผอนหยอนใจ เชน ใชเลนเรือ ตกปลา วายน้ํา เปน 2.3 สาเหตุและผลกระทบของมลพิษทางดนิ 2.3.1 สาเหตุของมลพิษทางดิน ปญหาท่ีเกิดข้ึนบนดิน แยกไดเปนสองประเภทคือ 1. สภาพธรรมชาติ ไดแก สภาพท่ีเกดิตามธรรมชาติของบริเวณนั้น ๆ เชน บริเวณท่ีมีเกลือใน ดนิมาก หรือบริเวณท่ีดินมีความหนาแนนนอย เปนตนทําใหดินบริเวณนั้นไมเหมาะ แกการเจริญเติบโตของพืช ปรากฏการณธรรมชาติบางอยาง เชนพายุน้าํทวมก็ทําให ดินทรายถูกพดัพาไปไดส่ิงปฏิกูลท่ีมีชีวิต ซ่ึงไดแก ส่ิงมีชีวิตท่ีอยูในดินหรือถูก ใสในดินทําใหดินเสียไดโดยอาจเปนตัวกอโรคหรือกอความกระทบกระเทือนตอ ความเปนอยูของส่ิงมีชีวิต 2. การกระทําของมนุษย สวนมากมักเกิดเนื่องจากความรูเทาไมถึงการณ มุงแตจะดัดแปลง ธรรมชาติเพื่อหวังผลประโยชนอยางใดอยางหนึ่งโดยไมคํานึงถึงผลเสียท่ีเกิดข้ึนภายหลัง ดังตัวอยางตอไปนี ้ 2.1 การใชสารเคมีและสารกมัมันตรังสี สารเคมี ไดแก ยาฆาแมลง ยาปราบศัตรูพืช สารเคมีเหลานี้บางชนดิไมสะสมในดินเพราะแบคทีเรียในดินทําลายไดแตพวกคลอริเนทเตด ไฮโดรคารบอน (chlorinated hydrocarbon) และสารประกอบ คลอริเนทเตด ฟนอกซี (chlorinated phenoxy) บางชนิดคงทนในดินเพราะแทรกในตะกอนหรือดินเหนยีวไดดีทําใหแบคทีเรียทําลายได ยาก ยาปราบวัชพืชบางชนดิ เชน ยาฆาแมลงประเภทดีดีที และดีลดริน ทนทานตอการถูก ทําลายในดินมาก จงึสะสมเพ่ิมปริมาณในหวงโซอาหารตามลําดับข้ันตาง ๆ โดยถายทอด ผานกันเปนข้ัน ๆ สวนสารเคมีจากโรงงานหรือสถานวิจยัตาง ๆ ไมวาจะเปนน้ํายาเคมี หรือโลหะท่ีเปนเศษท่ีเหลือท้ิงหลังจากแยกเอาส่ิงท่ีตองการออกแลว เชน โรงงานถลุง โลหะตาง ๆ หรือโรงงานแยกแร รวมท้ังสารกัมมันตังรังสีตาง ๆ เชน พวกท่ีมากับฝุน กัมมันตรังสีจากการทดลองระเบิดปรมาณู จากของเสียท่ีท้ิงจากโรงงาน และสถานวิจัยท่ี ใชกัมมันตรังสี สารเคมีเหลานี้บางชนิดเปนอันตรายตอส่ิงมีชีวิตโดยตรงบางชนิดเปล่ียน สภาวะของดินทําใหดนิเปนกรดหรือดาง พืชจึงไมเจริญเติบโต

Page 12: Docu3000029045

2.2 การใสปุย เม่ือใสปุยลงในดิน ส่ิงท่ีคาดวาจะเกดิข้ึนกคื็อ การสะสมของสารเคมีโดย เฉพาะอยางยิ่งไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม การสะสมนี้อาจถึงข้ันเปนพษิได ปุยบางชนิดท่ีนยิมใชกันมาก เชน แอมโมเนยีมซัลเฟต จะถูกแบคทีเรียในดินยอยสลาย ในปฏิกิริยารีดกัชันไดกาซไฮโดรเจนซัลไฟด ซ่ึงเปนอันตรายตอระบบการหายใจ ของรากพืช ทําใหดูดแรธาตุตาง ๆ ไดนอยลง 2.3 น้ําชลประทาน ดินเปนพษิจากน้ําชลประทานไดเนื่องจากนํ้าท่ีมีตะกอนเกลือ และสาร เคมีอ่ืน ๆ รวมท้ังยาฆาแมลงปะปนมาดวย เพราะนํ้าไหลผานบริเวณตาง ๆ ยิ่งถาไหลผาน บริเวณท่ีดินอยูในสภาพท่ีถูกกัดกรอนไดงาย บริเวณท่ีมีเกลือมาก ๆ และมีการใชยาปราบ ศัตรูพืชกันอยางกวางขวางแลว น้ําก็จะยิ่งทําใหดนิท่ีไดรับการทดน้ํานั้นมีโอกาสไดรับ สารพิษมากข้ึน นอกจากนี้น้ําชลประทานทําใหดินเปนพิษอีกได โดยเม่ือทดน้ําชลประทานเขา ไปในไรนาหรือบริเวณใดก็ตาม น้ําจะไหลซึมลงสูเบ้ืองลางละลายเอาเกลือซ่ึงสะสมในดิน ช้ันลาง ๆ ข้ึนมาปะปนในดินช้ันบน เม่ือหยุดการทดน้ํา น้ําท่ีขังท่ีผิวดินบนระเหยแหงไป น้ําท่ีเต็มไปดวยเกลือก็จะเคล่ือนข้ึนสูดินบนแทน และเม่ือน้ําแหงไปกจ็ะเหลือสวนท่ีเปนเกลือ สะสมอยูท่ีสวนของผิวดิน 2.4 การใชยาปราบศัตรูพืชและสัตว ดินบริเวณท่ีมีการเพาะปลูกสะสมสารพิษจากยาปราบ ศัตรูพืชมากกวาบริเวณอ่ืน ๆ ยาปราบศัตรูพืชบางชนิดเม่ือคลุกเคลาลงในดนิแลวจะเกิด ปฏิกิริยาเคมีข้ึนและสูญหายไปจากดิน แตบางชนิดคงทนตอการสลายตัวและสะสมอยู ในดินเปนเวลานาน ๆ เชนประเภทท่ีมีตะกัว่อาเซนิก ทองแดง หรือปรอทผสมอยู สาร เหลานี้มีคร่ึงชีวิต (half life = เวลาท่ีฤทธ์ิของยาปราบศัตรูพืชจะหมดไปคร่ึงหนึ่งเม่ือผสม คลุกเคลากับดิน) สูงถึง 10-30 ป. รองลงไปไดแกพวกดีลดริน บีเอชซี เปนตน 2.5 การทิ้งขยะมูลฝอยและของเสียตาง ๆ ลงในดนิ ขยะสวนใหญจะสลายตัวใหสารประกอบ อินทรีย และอนินทรียมากมายหลายชนิดดวยกันแตก็มีขยะบางชนิดท่ีสลายตัวยาก เชน วัสดุท่ีทําดวยผาฝาย หนัง พลาสติก โลหะ ขยะประเภทนี้ถาทําลายโดยการ เผาจะเหลือเกลือ โดยเฉพาะเกลือไนเตรตสะสมอยูเปนจํานวนมาก แลวละลายไปตาม น้ํา สะสมอยูในบริเวณใกลเคียงการทิ้งของเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม โรงงานอุตสาหกรรมตาง ๆ เปนแหลงผลิตของเสียท่ีสําคัญยิ่ง โดยเฉพาะของเสียจาก โรงงานท่ีมีโลหะหนักปะปน ทําใหดนิบริเวณน้ันมีโลหะหนกัสะสมอยูมาก โลหะหนักท่ีสําคัญไดแก ตะกัว่ ปรอท และแคดเม่ียม สําหรับในประเทศไทยเทานั้นท่ีมี รายงานพบวาการเส่ือมคุณภาพของดินเนื่องจากตะก่ัว คือโรงงานถลุงตะก่ัวจาก ซากแบตเตอร่ีเกาท่ีตําบลครุใน อําเภอพระประแดง จังหวดัสมุทรปราการ ไดนําเอากาก ตะกัว่หรือเศษตะกัว่ท่ีไมใชประโยชนมาถมทําถนน ทําใหดินบริเวณนัน้เกิดสภาพ เปนพิษ เปนอันตรายตอพืชและผูบริโภค(สุมาลี พิตรากุล 2532:257) ของเสียจากสัตว การเส่ือมคุณภาพของดินเนื่องจากของเสียจากสัตวนัน้พบมากในบริเวณท่ี เล้ียงสัตวเปนจํานวนมาก เพราะส่ิงขับถายของสัตวท่ีนํามากองทับถมไวทําใหจุลินทรีย ยอยสลายไดเปนอนุมูลไนเตรต และอนุมูลไนไตรต ถาอนุมูลดังกลาวนี้สะสมอยูมาก ในดินบริเวณน้ันจะเกิดเปนพิษได 2.6 การเพาะปลูก ดินท่ีใชในการเพาะปลูกเปนเวลานาน ๆ โดยมิไดคํานึงถึงการบํารุงรักษา อยางถูกวิธีจะทําใหแรธาตุในดินถูกใชหมดไป จนในท่ีสุดไมอาจปลูกพืชไดอีก

Page 13: Docu3000029045

2.7 การหักรางถางปา เปนผลทําใหเกดิความเสียหายกับดินไดทําใหดนิปราศจากพืชปกคลุม หรือไมมีรากของพืชยึดเหน่ียว เกิดการสูญเสียหนาดนิและเกดิการพังทลายไดงาย ในท่ีสุดบริเวณนัน้จะกลายเปนท่ีแหงแลง เม่ือมีฝนตกก็จะเกดิพายุอยางรุนแรงและมี น้ําทวมฉับพลันได ดังตัวอยางความเสียหายในจังหวดันครศรีธรรมราช เม่ือเดือน ธันวาคม พ.ศ. 2531 ความเสียหายในจังหวดัชุมพรและประจวบคีรีขันธ เม่ือเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2532 (สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 2535:77-78)

2.3.2 ผลกระทบจากมลพิษทางดิน 1. อันตรายตอมนุษย ดินทําใหเกิดพิษตอมนุษยโดยทางออม เชน พิษจากไนเตรต ไนไตรต หรือยาปราบศัตรูพืช โดยไดรับเขาไปในรูปของน้าํดื่มท่ีมีสารพิษปะปน โดยการรับประทาน พืชผักท่ีปลูกในดินท่ีมีการสะสมตัวของสารท่ีมีพิษ 2. อันตรายตอสัตว ดินท่ีเปนพิษทําใหเกดิอันตรายตอสัตวคลายคลึงกับของมนุษย แตสัตวมี โอกาสไดัรับพิษมากกวา เพราะกินนอน ขุดคุย หาอาหารจากดนิโดยตรง นอกจากนี้การ ใชยาฆาแมลงท่ีไมถูกหลักวิชาการยังเปนการทําลายแมลงท่ีเปนประโยชน เชน ตัวห้าํ ทําใหผลผลิตทางการเกษตรลดลงได 2.4 สาเหตุและผลกระทบของมลพิษทางอากาศ 2.4.1 สาเหตุของมลพิษทางอากาศ สาเหตุของการเกิดมลพิษทางอากาศท่ีสําคัญมีดังนี ้ 1. ยานพาหนะท่ีใชเคร่ืองยนต รถยนตเปนแหลงกอปญหาอากาศเสียมากท่ีสุด สารท่ีออกจาก รถยนตท่ีสําคัญไดแก คารบอนมอนอกไซด ไฮโดรคารบอน ออกไซดของไนโตรเจน และของกํามะถัน สารพวกไฮโดรคารบอนนั้น ประมาณ 55 % ออกมาจากทอไอเสีย 25 % ออกมาจากหองเพลา ขอเหวี่ยง และอีก 20 % เกิดจากการระเหยในคารบูเรเตอร และถังเช้ือเพลิง ออกไซดของไนโตรเจนคือ ไนตริกออกไซด (NO) ไนโตรเจนไดออกไซด (NO2) และไน ตรัสออกไซด (N2O) เกือบท้ังหมดออกมาจากทอไอเสีย เปนพิษตอมนุษยโดยตรง นอกจากนี้สารตะก่ัวในน้ํามันเบนซินชนดิซุปเปอรยังเพิม่ปริมาณตะกัว่ในอากาศอีกดวย 2. ควันไฟ และกาซพิษจากโรงงานอุตสาหกรรม - จากโรงงานผลิตสารเคมี ไดแก โรงกล่ันน้ํามัน โรงผลิตไฟฟา โรงงานทําเบียร โรงงาน สุรา โรงงานน้ําตาล โรงงานกระดาษ โรงงานถลุงแร โรงงานยอมผา โรงงานทําแกว โรงงานผลิตหลอดไฟ โรงงานผลิตปุย และโรงงานผลิตกรด - พลังงานท่ีเกดิจากสารเผาไหมเช้ือเพลิง เชน ถานหิน น้าํมัน กาซธรรมชาติ ทําใหเพิม่สาร ตาง ๆ ในอากาศ อาทิ สารไฮโดรคารบอนตาง ๆ ออกไซดของไนโตรเจน และ กํามะถันในบรรยากาศ 3. แหลงกําเนดิฝุนละอองตาง ๆ ไดแก บริเวณท่ีกําลังกอสราง โรงงานทําปูนซีเมนต โรงงาน โมหิน โรงงานทอผา โรงงานผลิตโซดาไฟ เหมืองแร เตาเผาถาน โรงคาถาน เมรุเผาศพ 4. แหลงหมักหมมของส่ิงปฏิกูล ไดแก เศษอาหาร และขยะมูลฝอย 5. ควันไฟจากการเผาปา เผาไรนา และจากบุหร่ี

Page 14: Docu3000029045

6. การทดลองอาวุธนิวเคลียร กอใหเกิดละอองกัมมันตรังสี 7. การตรวจและรักษาทางรังสีวิทยา การใชเรดิโอไอโซโทป ท่ีขาดมาตรการท่ีถูกตองในการ ปองกนัสภาวะอากาศเสีย 8. อากาศเสียท่ีเกิดจากปรากฏการณทางธรรมชาติ เชน ภูเขาไฟระเบิด แผนดินไหว ไฟปา กัมมันตรังสีท่ีเกิดตามธรรมชาติ กาซธรรมชาติ เปนตน ความเปนพษิเนือ่งจากสาเหตุขอนี้คอนขาง นอยมาก เนื่องจากตนกาํเนดิอยูไกล จึงเขาสูสภาวะแวดลอมของมนุษยและสัตวไดนอย 2.4.2 ผลกระทบของมลพิษทางอากาศ 1. ทําลายสุขภาพ อากาศเสียทําใหเกิดโรค แพอากาศ โรคเก่ียวกับทางเดนิหายใจ โรค เกี่ยวกับการไหลเวยีนของโลหิต ผลท่ีเกิดในระยะยาวอาจทําใหถึงตายได 2.ทําลายส่ิงกอสราง และเคร่ืองใชโดยเฉพาะส่ิงกอสรางท่ีทําดวยโลหะทําใหเกิดการสึกกรอน ทําใหหนังสือและศิลปกรรมตาง ๆ เสียหาย 3. ทําใหทัศนวสัิยเลวลง และมีผลทําใหอุณหภูมิอากาศลดตํ่าลงกวาปกติได ทัศนวิสัยเลวลง กอใหเกิดอุบัติเหตุท้ังในอากาศ ทองถนน และทองน้าํ 2.5 สาเหตุและผลกระทบของมลพิษทางขยะ 2.5.1 สาเหตุของมลพิษทางขยะ ขยะเปนปญหาสําคัญของหลาย ๆ ทองถ่ินเกือบท่ัวโลก ขยะสวนใหญมักจะถูกท้ิงลงในดิน ขยะบางชนิดสลายตัวใหสารประกอบอินทรียและสารประกอบอนินทรียแตขยะบางชนิดสลายตัวยากเชน หนัง พลาสติก โลหะ ฯลฯ ขยะประเภทนี้ถาทําลายโดยการเผาจะไดสารประกอบ ประเภทเกลือเชน เกลือไนเตรตสะสมอยูในดนิเปนจํานวนมากขยะท่ีไดเกิดกระบวนการ ผลิตทางอุตสาหกรรม โดยเฉพาะขยะจากเทคโนโลยีอุตสาหกรรมกําลังเพิ่มข้ึนอยาง รวดเร็ว มีความเปนพษิสูงและยอยสลายยากเชน ขยะจากโรงงานอุตสาหกรรมท่ีมี โลหะหนกั เชน ตะกัว่ ปรอท แคดเมียม เม่ือท้ิงลงดินทําใหดินบริเวณนั้นมีโลหะหนัก สะสมอยูมาก สําหรับในประเทศไทยเทาท่ีมีรายงานพบวา มีการเส่ือมคุณภาพ ของดนิจากตะกัว่เนือ่งจากโรงงานถลุงตะก่ัวจากซากแบตเตอร่ีเกาท่ีจังหวัดสมุทรปราการ นําเอากากตะก่ัวท่ีไมไดใชประโยชนมาถมทําถนน ทําใหดนิบริเวณนั้นเกิดสภาพเปนพษิ เปนอันตรายตอพืชและ ผูบริโภคนอกจากนี้ประเทศไทยยังประสบปญหาขยะอุตสาหกรรมท่ีนําเขามาจากตางประเทศ ในรูปของสินคาเคร่ืองใชไฟฟา อะไหลอุตสาหกรรม เชน ยางรถยนตเกา แบตเตอร่ีเกา ถุงมือยางใชแลว ถูกนําเขามาท้ิงในประเทศไทยอีกเปนจํานวนมากมาย

Page 15: Docu3000029045

2.5.2 ผลกระทบจากมลพิษทางขยะ 1. อากาศเสีย เกิดจากการเผาขยะกลางแจงกอใหเกิดควันและสารพิษทางอากาศ ทําให คุณภาพอากาศเส่ือมโทรม 2.น้ําเสีย เกิดจากการกองขยะบนพ้ืน เม่ือฝนตกลงมาบนกองขยะ จะเกดิน้ําเสียมีความ สกปรกมากไหลลงสูแมน้าํ 3. แหลงพาหะนําโรค เกิดจากการกองขยะบนพ้ืน ทําใหเกิดแหลงเพาะพันธุของหนูและ แมลงวัน เปนตน ซ่ึงเปนพาหะนําโรคติดตอ ทําใหมีผลกระทบตอสุขภาพ อนามัยของ ประชาชน 4. เหตุรําคาญและความไมนาดู เกิดจากการเก็บขนขยะไมหมด รวมท้ังการกองขยะบนพ้ืน สงกล่ินเหม็นรบกวนประชาชนและเกิดภาพไมสวยงาม ไมเปนสุนทรียภาพ นอกจากปญหาส่ิงแวดลอมขางตนแลว ขยะยังเปนตัวการเปนตัวการสําคัญสําหรับปญหาการ จัดการขยะของหนวยงานท่ีรับผิดชอบ ซ่ึงจะตองเพ่ิมปริมาณบุคลากร อุปกรณการจัดการขยะรวมท้ัง การใหความรูทางวิชาการและเทคโนโลยีแกเจาหนาท่ีเพิ่มข้ึนตามการเพ่ิมข้ึนของปริมาณขยะ

Page 16: Docu3000029045

บทท่ี 3 การสราง การพัฒนา และการใชส่ิงประดษิฐ

ในการสรางส่ิงประดิษฐอุปกรณดกัไขมันสําหรับอางลางจาน โดยคณะผูประดิษฐไดวางแผนดําเนินงานดังตอไปนี ้

1. ศึกษาหาขอมูลจากตําราและเอกสาร 2. ศึกษาสภาพปญหาของการปฏิบัติงานเพ่ือหาจุดออนท่ีควรจะนํามาสรางส่ิงประดิษฐอุปกรณดกั

ไขมันสําหรับอางลางจาน 3. เม่ือไดแนวทางท่ีจะสรางส่ิงประดิษฐจึงออกแบบช้ินงาน 4. ดาํเนินการจัดสรางตามแบบ 5. ทดลองการใชงาน 6. พัฒนาส่ิงประดิษฐ 7. นําไปใชงานจริง

3.1 การสรางส่ิงประดิษฐคนรุนใหมอุปกรณดักไขมันสําหรับอางลางจาน

3.1.1 สรางสวนท่ีเปนชุดอางลางจานซ่ึงไดตามแบบท่ีออกไว

รูปท่ี 3.1 ภาพอางลางจาน

Page 17: Docu3000029045

3.1.2 สรางสวนท่ีเปนชุดอุปกรณดกัไขมัน

รูปท่ี 3.2 ชุดอุปกรณดกัไขมัน

3.1.3 สรางสวนท่ีเปนทอน้ําเขาและทอน้ําออก

รูปท่ี 3.3 ภาพทอน้ําเขาและทอน้ําออก

3.1.4 สรางสวนท่ีเปนตะแกรงคัดแยกเศษอาหารและสวนท่ีดักไขมนั

รูปท่ี 3.4 ตะแกรงคัดแยกเศษอาหารและสวนท่ีดักไขมัน

Page 18: Docu3000029045

3.1.5 ทดลองการทํางานของอุปกรณดกัไขมันโดยตรงที่ละข้ันตอน

รูปท่ี 3.5 จัดเตรียมอุปกรณดักไขมันสําหรับอางลางจาน

รูปท่ี 3.6 ทดลองการใชอุปกรณดกัไขมันในอางลางจานและปลอยน้าํลงในอุปกรณดักไขมัน

รูปท่ี 3.7 ภาพการแยกเศษอาหารและการแยกไขมันของอุปกรณดักไขมัน

Page 19: Docu3000029045

3.2 ทดลองใชการทํางานของอุปกรณดักไขมันสําหรับอางลางจาน พรอมกับปรับตั้งอุปกรณอ่ืนๆ ใหเหมาะสมกับการทํางานจริง

รูปท่ี 3.8 ตรวจสอบอุปกรณดักไขมันสําหรับอางลางจานใหพรอมใชงานและนําไปทดลอง การใชกับรานทําอาหาร

รูปท่ี 3.9 ทดลองการใชอุปกรณดกัไขมันสําหรับอางลางจาน

รูปท่ี 3.10 ภาพการติดต้ังของอุปกรณขณะใชงานจริงและการปลอยน้ําออกหลังจากดกัไขมันแลว

Page 20: Docu3000029045

บทท่ี 4 ผลการวิจัย

4.1 ผลการทดสอบการดักไขมัน จากการทดสอบการดักไขมนั สามารถแสดงผลความสามารถในการทํางานดังตาราง 4.1 เพื่อนําขอมูลการทดสอบอุปกรณดกัไขมันสําหรับอางลางจานแสดงผลดังตอไปนี ้ ตาราง 4.1 ผลการทดสอบประสิทธิภาพของอุปกรณดกัไขมันสําหรับอางลางจาน

คร้ังท่ี ประสิทธิภาพในการทํางาน

การดักไขมัน ส่ิงเจือปนในน้าํ 1 2 3 4 5

ไดด ีไดดีมาก ไดดีมาก ไดดีมาก ไดดีมาก

มี ไมมี ไมมี ไมมี ไมมี

รวม ไดดีมาก ไมมี

จากผลการทดสอบประสิทธิภาพการดกัไขมันสําหรับอางลางจาน พบวา อุปกรณดักไขมันในอาง

ลางจาน สามารถดักไขมันไดดีมากและไมมีส่ิงเจือปน เชน เศษอาหารปะปนออกมากับน้ําท้ิง

Page 21: Docu3000029045

บทท่ี 5 สรุปผล อภปิราบผลและขอเสนอแนะ

รายงานผลการสรางอุปกรณดักไขมันในอางลางจาน จดัทําคร้ังนี้โดยมีวัตถุประสงคเพื่อประเมินผลการดําเนนิงานการสราง การพัฒนาและการใชอุปกรณดักไขมันในอางลางจาน โดยการทดสอบการทํางานจริงปรากฏผลดังนี ้ 5.1 สรุปผล

ส่ิงประดิษฐของคนรุนใหม อุปกรณดกัไขมันสําหรับอางลางจานท่ีสรางข้ึนมีคุณภาพ ประสิทธิภาพ เหมาะสมท่ีจะใชประโยชนในการดักไขมันในอางลางจานในครัวเรือนไดจริง 5.2 อภิปรายผล

จากการประเมินผลการสรางส่ิงประดิษฐของคนรุนใหม พบวาอุปกรณดักไขมันนี้ พบวา มีคุณภาพดีและประสิทธิภาพสูง ซ่ึงเม่ือนําไปใชงานจริง ผูใชสวนใหญเห็นวา รูปแบบมีความเหมาะสม มีความปลอดภัยในการใชงาน การติดต้ังอุปกรณงาย มีขนาดและแข็งแรง ทนทาน สะดวกตอการใชงานในครัวเรือนไดจริง 5.3 ขอเสนอแนะ ควรนะนําแนววิธีการนีไ้ปสรางผลงานส่ิงประดิษฐในสถานศึกษาอ่ืนและบุคคลท่ัวไปท่ีสนใจ

Page 22: Docu3000029045

บรรณานุกรม

Page 23: Docu3000029045

ภาคผนวก

Page 24: Docu3000029045

ภาคผนวก ก ข้ันตอนการใชอุปกรณดักไขมันสําหรับอาลางจาน

Page 25: Docu3000029045

ขั้นตอนการใชอุปกรณดักไขมันสําหรับอางลางจาน 1. ตรวจสอบอุปกรณดกัไขมันสําหรับอางลางจานใหพรอมใชงานและนําไปทดลองการใชกับรานทําอาหาร

2. การติดต้ังของอุปกรณขณะใชงานจริงและการปลอยน้าํลงในอุปกรณดักไขมัน

3. ทดลองการใชอุปกรณดกัไขมันสําหรับอางลางจาน

Page 26: Docu3000029045

4. การแยกเศษอาหาร แยกไขมันออกจากนํ้าและการปลอยน้ําท้ิงออกจากอุปกรณดกัไขมัน

ภาพการแยกเศษอาหารและแยกไขมันออกจากน้ํา

ภาพการปลอยน้ําท้ิงหลังจากการดักไขมนัเสร็จแลวของอุปกรณ

Page 27: Docu3000029045

ภาคผนวก ข ประวัติผูจัดทํา

Page 28: Docu3000029045

ประวัติคณะผูจัดทํา

1. นายอุทิศ ผลาชิต แผนกวิชายานยนต ระดับช้ัน ปวส.2 สถานศึกษา วิทยาลัยการอาชีพบึงกาฬ

2. นายสกล สมศรี แผนกวิชายานยนต ระดับช้ัน ปวส.2 สถานศึกษา วิทยาลัยการอาชีพบึงกาฬ

3. นายศักดิ์ดา บุญสงค แผนกวิชายานยนต ระดับช้ัน ปวส.2 สถานศึกษา วิทยาลัยการอาชีพบึงกาฬ

4. นายยงยุทธ ปตะสายะ แผนกวิชายานยนต ระดับช้ัน ปวส.2 สถานศึกษา วิทยาลัยการอาชีพบึงกาฬ

5. นายประยทุธ สมี แผนกวิชายานยนต ระดับช้ัน ปวส.1 สถานศึกษา วิทยาลัยการอาชีพบึงกาฬ

6. นายสมภพ บุตรทน แผนกวิชายานยนต ระดับช้ัน ปวช.3 สถานศึกษา วิทยาลัยการอาชีพบึงกาฬ

7. นายวนิัย พลอามาตย แผนกวิชายานยนต ระดับช้ัน ปวช. 3 สถานศึกษา วิทยาลัยการอาชีพบึงกาฬ

8. นายอํานาจ บุญลําไพ แผนกวิชายานยนต ระดับช้ัน ปวช. 3 สถานศึกษา วิทยาลัยการอาชีพบึงกาฬ

9. นายพรชัย ประเคน แผนกวิชายานยนต ระดับช้ัน ปวช. 3 สถานศึกษา วิทยาลัยการอาชีพบึงกาฬ

10. นายศักดิสิ์ทธ์ิ พันส้ิว แผนกวิชายานยนต ระดับช้ัน ปวช. 3 สถานศึกษา วิทยาลัยการอาชีพบึงกาฬ

Page 29: Docu3000029045

ประวัติครูท่ีปรึกษา

ชื่อ นายธีระพล บุญธรรม

สถานท่ีอยูปจจุบัน 44/1 ต. โพธ์ิตาก กิ่งอําเภอ โพธ์ิตาก จังหวดัหนองคาย 43130 ตําแหนงหนาท่ีการงาน ครู คศ. 2 สถานท่ีทํางานปจจุบัน วิทยาลัยการอาชีพบึงกาฬ ตําบลวิศิษฐ อําเภอบึงกาฬ จังหวดัหนองคาย 43140 ประวัติการศึกษา พ.ศ. 2540 ประกาศนยีบัตรครูเทคนิคช้ันสูง ( ปทส. ) วิชาเอกเทคนิคยานยนต วิทยาลัยชางกลปทุมวันกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2545 ปริญญาการศึกษามหาบัณฑติ ( กศ.ม ) ภาคการวจิัยการศึกษา มหาวิทยาลัยสารคาม

พ.ศ. 2546 ปริญญาบัตร (คอบ.เคร่ืองกล)สาขาวิชา วิศวกรรมเคร่ืองกล สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน

ประสบการณ พ.ศ. 2541 เคร่ืองพลังงานแสงอาทิตยประยุกต รางวัลรองชนะเลิศ อันดับ 1

ระดับภาค พ.ศ. 2543 เคร่ืองไลลมเบรกรถจักรยานยนต รางวัลชนะเลิศระดับภาค

รางวัลชมเชยอันดับ 3 ระดับชาติ พ.ศ. 2544 เคร่ืองค่ัวถ่ัวลิสง รางวัลชนะเลิศระดับภาค รางวัลชนะเลิศระดับชาติ

(เผยแพรแกเกษตรกรจํานวน 5 เคร่ือง) พ.ศ. 2545 เคร่ืองค่ัวถ่ัวลิสง รางวัลชนะเลิศงานอาชีววิวัฒน เคร่ืองค่ัวตมพัฒนา รางวัลรอง

ชนะเลิศอันดบั 1 สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรเทคโนโลยี แหงชาติ (สวทช.)

พ.ศ. 2546 เคร่ืองอัดวัสดสํุาหรับการเพาะเห็ด (เผยแพรแกเกษตรกรจํานวน 1 เคร่ือง)

พ.ศ. 2546 เคร่ืองอัดวัสดสํุาหรับการเพาะเห็ด รางวัลชนะเลิศระดับภาค รางวัลชนะเลิศระดับชาติ

พ.ศ. 2547 เคร่ืองบดถัวลิสง รางวัลชนะเลิศระดับภาคและรางวัลชมเชยระดับชาติ พ.ศ. 2548 อุปกรณกดวาลวรถยนต รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 และรางวัลชมเชยระดับชาติ

Page 30: Docu3000029045

พ.ศ. 2549 เคร่ืองค่ัวถ่ัวลิสง ไดรับรางวัลชนะเลิศ ประเภทท่ี 1 ระดับภาคและรางวัลชนะเลิศระดับชาติ คร้ังท่ี 18 ประจําปการศึกษา 2549

พ.ศ. 2550 อุปกรณกวนน้าํยางพารา รางวัลชมเชยระดับสถาบัน ปการศึกษา 2550 พ.ศ. 2550 พิณจากวัสดเุหล่ือใช รางวัลชมเชยระดบัสถาบัน ปการศึกษา 2550 พ.ศ. 2550 เทียนไขมหัศจรรย รางวัลชมเชยระดับสถาบัน ปการศึกษา 2550 พ.ศ. 2550 เคร่ืองเจาะลูกมะพราวออน รางวัลชมเชยระดับสถาบัน ปการศึกษา 2550 พ.ศ. 2550 เคร่ืองหั่นกลวย รางวัลชมเชยระดับสถาบัน ปการศึกษา 2550

Page 31: Docu3000029045

ประวัติครูท่ีปรึกษา

ชื่อ นายสุรชยั โกมาลย

สถานท่ีอยูปจจุบัน 101 ถนนแสนประเสิรฐ-นาปาน ต.วิศิษฐ อ. บึงกาฬ จ.หนองคาย 43140 ตําแหนงหนาท่ีการงาน อาจารยพิเศษสอน สถานท่ีทํางานปจจุบัน วิทยาลัยการอาชีพบึงกาฬ ตําบลวิศิษฐ อําเภอบึงกาฬ จังหวดัหนองคาย 43140 ประวัติการศึกษา

พ.ศ. 2544 ประกาศนยีบัตรครูเทคนิคช้ันสูง (ปทส.) วิชาเอกเทคนคิยานยนต วิทยาลัยเทคนิคหนองคาย

พ.ศ. 2546 ปริญญาบัตร (คอบ.เคร่ืองกล)สาขาวิชา วิศวกรรมเคร่ืองกล สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน

ประสบการณ พ.ศ. 2546 เคร่ืองอัดวัสดสํุาหรับการเพาะเห็ด (เผยแพรแกเกษตรกรจํานวน

1 เคร่ือง) พ.ศ. 2546 เคร่ืองอัดวัสดสํุาหรับการเพาะเห็ด รางวัลชนะเลิศระดับภาค รางวัลชนะเลิศ

ระดับชาติ พ.ศ. 2547 เคร่ืองบดถัวลิสง รางวัลชนะเลิศระดับภาคและรางวัลชมเชยระดับชาติ พ.ศ. 2548 อุปกรณกดวาลวรถยนต รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 และรางวัลชมเชยระดับชาติ พ.ศ. 2549 เคร่ืองค่ัวถ่ัวลิสง ไดรับรางวัลชนะเลิศ ประเภทท่ี 1 ระดับภาคและรางวัลชนะเลิศ

ระดับชาติ คร้ังท่ี 18 ประจําปการศึกษา 2549 พ.ศ. 2550 อุปกรณกวนน้าํยางพารา รางวัลชมเชยระดับสถาบัน ปการศึกษา 2550 พ.ศ. 2550 พิณจากวัสดเุหล่ือใช รางวัลชมเชยระดบัสถาบัน ปการศึกษา 2550 พ.ศ. 2550 เทียนไขมหัศจรรย รางวัลชมเชยระดับสถาบัน ปการศึกษา 2550 พ.ศ. 2550 เคร่ืองเจาะลูกมะพราวออน รางวัลชมเชยระดับสถาบัน ปการศึกษา 2550 พ.ศ. 2550 เคร่ืองหั่นกลวย รางวัลชมเชยระดับสถาบัน ปการศึกษา 2550

Page 32: Docu3000029045

ประวัติครูท่ีปรึกษา

ชื่อ นายเสกสรร ไมเศรา

สถานท่ีอยูปจจุบัน 101 ถนนแสนประเสิรฐ-นาปาน ต.วิศิษฐ อ. บึงกาฬ จ.หนองคาย 43140 ตําแหนงหนาท่ีการงาน ครูผูชวย สถานท่ีทํางานปจจุบัน วิทยาลัยการอาชีพบึงกาฬ ตําบลวิศิษฐ อําเภอบึงกาฬ จังหวดัหนองคาย 43140