e-commerce415).pdf · 10 บทที่ 2...

35
บทที2 ทฤษฎีและวรรณกรรมที่เกี่ยวของ 2.1 ความรูทั่วไปเกี่ยวกับพาณิชยอิเล็กทรอนิกส ( E-commerce) เมื ่อระบบการสื ่อสารขอมูลแบบสองทิศทางการติดตอทําการคาก็สะดวกขึ ้นเริ ่มจากการมี โทรทัศนการเจรจาธุรกิจตางๆก็ทําไดงายแตเมื่อมีอินเตอรเน็ตที่ใหการติดตอสื่อสารในลักษณะ มัลติมีเดียไดดีมีการแสดงขอความเปนรูปภาพและขอความบนเว็บเพ็จการโอนยายรายการธุรกรรม ตางๆบนเครือขายดวยคอมพิวเตอรทําใหการดําเนินธุรกิจเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและรวดเร็ว พาณิชยอิเล็กทรอนิกสเปนเรื่องราวเกี่ยวกับการใชเทคโนโลยีเครือขายคอมพิวเตอรและ การประมวลผลเพื่อสรางการทํางานและความสัมพันธของการดําเนินธุรกิจรวมกันระหวางธุรกิจ เพื่อการดําเนินการเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและตนทุนต่ําสิ่งที่เปนโครงสรางของพาณิชย อิเล็กทรอนิกสคือการโอนยายรายการ(transaction)ที่เกี่ยวกับการทําการคาทั้งที่เปนสินคาและ บริการ คนจํานวนไมนอยมักคิดวาพาณิชยอิเล็กทรอนิกสคือการโฆษณาหรือการขายสินคา อินเตอรเน็ตเทานั้นจุดเริ่มตนของพาณิชยอิเล็กทรอนิกสเริ่มในตนศตวรรษ 1970ใชในการโอนเงิน ซึ่งอยูในกลุมที่จํากัดตอมามีการขยายสูธุรกิจการเงินและในกลุมธุรกิจขนาดเล็กมากขึ้นมีรูปแบบ หลากหลายมากขึ้นเชนการแลกเปลี่ยนขอมูลในกลุมธุรกิจ(EDI)จนกระทั้งขยายไปเปนบริการ หลายๆรูปแบบของบริษัทตางๆ หากจะนิยามแลวพาณิชยเล็กทรอนิกสหมายถึงรูปแบบหรือแนวทางในการซื้อขายสินคา ขอมูลและบริการผานระบบเครือขายคอมพิวเตอรรูปแบบบริการของพาณิชยอิเล็กทรอนิกสมี หลากหลาย ไมใชเพียงเรื ่องของการโฆษณาเทานั ้น ยังมีระบบธนาคารบนไซเบอร การซื ้อขายสินคา การหางาน การประมูล การรวมมือในการทํางานและอื ่นๆอีกมากมาย

Upload: others

Post on 21-Jul-2020

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: E-commerce415).pdf · 10 บทที่ 2 ทฤษฎีและวรรณกรรมที่เกี่ยวข อง. 2.1 ความรู ทั่วไปเกี่ยวกับพาณิชย

10

บทที่ 2

ทฤษฎีและวรรณกรรมที่เกี่ยวของ

2.1 ความรูทั่วไปเกี่ยวกับพาณิชยอิเล็กทรอนิกส (E-commerce)

เม่ือระบบการส่ือสารขอมูลแบบสองทิศทางการตดิตอทําการคากส็ะดวกขึน้เริม่จากการมี

โทรทัศนการเจรจาธุรกิจตางๆก็ทําไดงายแตเม่ือมีอินเตอรเน็ตท่ีใหการติดตอส่ือสารในลักษณะ

มัลติมีเดียไดดีมีการแสดงขอความเปนรูปภาพและขอความบนเว็บเพ็จการโอนยายรายการธุรกรรม

ตางๆบนเครือขายดวยคอมพิวเตอรทําใหการดําเนินธุรกิจเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและรวดเร็ว

พาณิชยอิเล็กทรอนิกสเปนเรื่องราวเกี่ยวกับการใชเทคโนโลยีเครือขายคอมพิวเตอรและ

การประมวลผลเพ่ือสรางการทํางานและความสัมพันธของการดําเนินธุรกิจรวมกันระหวางธุรกิจ

เพ่ือการดําเนินการเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและตนทุนต่ําส่ิงท่ีเปนโครงสรางของพาณิชย

อิเล็กทรอนิกสคือการโอนยายรายการ(transaction)ท่ีเกี่ยวกับการทําการคาท้ังท่ีเปนสินคาและ

บรกิาร

คนจํานวนไมนอยมักคิดวาพาณิชยอิเล็กทรอนิกสคือการโฆษณาหรือการขายสินคา

อินเตอรเน็ตเทานั้นจุดเริ่มตนของพาณิชยอิเล็กทรอนิกสเริ่มในตนศตวรรษ1970ใชในการโอนเงิน

ซ่ึงอยูในกลุมท่ีจํากัดตอมามีการขยายสูธุรกิจการเงินและในกลุมธุรกิจขนาดเล็กมากขึ้นมีรูปแบบ

หลากหลายมากขึ้นเชนการแลกเปล่ียนขอมูลในกลุมธุรกิจ(EDI)จนกระท้ังขยายไปเปนบริการ

หลายๆรปูแบบของบรษิทัตางๆ

หากจะนิยามแลวพาณิชยเล็กทรอนิกสหมายถึงรูปแบบหรือแนวทางในการซ้ือขายสินคา

ขอมูลและบริการผานระบบเครือขายคอมพิวเตอรรูปแบบบริการของพาณิชยอิเล็กทรอนิกสมี

หลากหลาย ไมใชเพียงเรือ่งของการโฆษณาเทานัน้ ยงัมีระบบธนาคารบนไซเบอร การซ้ือขายสินคา

การหางาน การประมูล การรวมมือในการทํางานและอ่ืนๆอีกมากมาย

Page 2: E-commerce415).pdf · 10 บทที่ 2 ทฤษฎีและวรรณกรรมที่เกี่ยวข อง. 2.1 ความรู ทั่วไปเกี่ยวกับพาณิชย

10

2.2 รูปแบบความสัมพันธในระบบพาณิชยอิเล็กทรอนิกส

การดาํเนนิการในระบบพาณชิยอิเล็กทรอนกิสมีความหมายท่ีกวางอาจเปนการดาํเนนิการ

ระหวางธุรกิจกับธุรกิจ (b-b=business to business) ระหวางธุรกิจกับลูกคา

(b-c=business to customer) และระหวางลูกคากับลูกคา (c-c=customer to customer)

ระหวางธุรกิจกับธุรกิจ (b-b) เปนการดําเนินธุรกรรมระหวางองคกร เริ่มตั้งแตการรับสง

อีเมลการโอนยายแฟมหรือรับสงขอมูลระหวางกันการแลกเปล่ียนขอมูลทางอิเล็กทรอนิกสหรือท่ี

เรียกวา EDI การดําเนินการในรูปแบบนี้เปนคล่ืนลูกใหมในการทําธุรกิจในปจจุบัน หรืออยางนอย

เปนการสรางพันธมิตรทางดานธุรกิจกอใหเกิดประโยชนรวมกันการบริหารและการจัดการแนวนี้

เรียกวา Supply Chain Management

ระหวางธุรกิจกับลูกคา (b-c) เปนรูปแบบการดําเนินการระหวางองคกรกับลูกคา เปน

รูปแบบท่ีสรางรายรับใหกับองคกรไดมาก เพราะการคาในรูปแบบนี้เปนการขยายฐานการคาใหกาว

ไกลออกไปมาก ประชากรท่ัวโลกเขาถึงวธีิการคานี ้

ระหวางลูกคากับลูกคา (c-c) เปนรูปแบบการดําเนินการระหวางผูซ้ือกับผูขายโดยตรง

อยางไรก็ตามยังมีบทบาทและความสําคัญนอยกวา 2 รปูแบบแรก

การประกอบการพาณิชยอิเล็กทรอนิกสหากมีการดําเนินกิจกรรมในรูปแบบของการส่ัง

สินคาวัตถุดิบ การดําเนินการในลักษณะนี้จะเรียกกลุมกิจกรรมวาซัพพลายเชน (Supply Chain) ถา

เกี่ยวกับการขายก็เรียกวาดีมานดเชน (Demand Chain)

2.3 รูปแบบของพาณิชยอิเล็กทรอนิกส

รูปแบบของการดําเนินการในระบบพาณิชยอิเล็กทรอนิกสสามารถแบงออกเปนระบบ

สารสนเทศระหวางองคกร (Interorganizational information system หรอื IOS) และตลาด

อิเล็กทรอนิกส(Electronic Market หรอื EM)

ระบบสารสนเทศระหวางองคกร (IOS) เกี่ยวของกับการไหลของขอมูลลระหวางองคกร

โดยวัตถุประสงคหลักคือ การทําใหการดําเนินธุรกรรมตางๆ เปนไปอยางมีประสิทธิภาพ อยางเชน

ระบบการส่ังซ้ือ ระบบใบเสร็จ และระบบการแลกเปล่ียนขอมูลโดยระบบนี้มีรูปแบบความสัมพันธ

เปนแบบระบบธุรกิจกับธุรกิจ อยางเชน ระบบแลกเปล่ียนขอมูล (Electronic Data interchange หรอื

EDI)การโอนเงิน (Electronic fund transfer หรอื EFT) ฟอรมอิเล็กทรอนิกส(Electronic forms) และ

ระบบฐานขอมูลรวม(Shared Database)

Page 3: E-commerce415).pdf · 10 บทที่ 2 ทฤษฎีและวรรณกรรมที่เกี่ยวข อง. 2.1 ความรู ทั่วไปเกี่ยวกับพาณิชย

11

ตลาดอิเล็กทรอนิกส (Electronic Market หรือ EM)

เปนระบบท่ีมีรูปแบบของความสัมพันธเปนท้ังแบบระบบธุรกิจกับธุรกิจ (b-b) และระบบ

ธุรกิจกับลูกคา (b-c) ในระบบนี้ตลาดอิเล็กทรอนิกสคือระบบเครือขายและความสัมพันธการซ้ือขาย

ขอมูลสินคาและบริการ ตัวอยางของรูปแบบบริการในระบบนี้ เชน ธุรกิจการโฆษณา ส่ิงพิมพ

อิเล็กทรอนิกส ท้ังหนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ ขาว และขอมูลอ่ืนๆ ระบบธนาคารบนเนตการ

ประมูลการสมัครงานการทองเท่ียวการทําธุรกิจอสังหาริมทรัพยระบบการคาปลีกในธุรกิจขนาดเล็ก

พาณิชยอิเล็กทรอนิกส… (ยังเปน) ธุรกิจคนกลาง

ท่ีมีการกลาววา การประกอบธุรกิจผานเครือขายนั้นทําใหผูผลิตสามารถติดตอกับ

ผูบริโภคไดโดยตรง และสวนของระบบคนกลางจะหายไป ประเด็นท่ีกลาวมาเปนเรื่องท่ีนาพิจารณา

บทบาทของคนกลางจะเปล่ียนไป เพราะในปจจุบันธุรกิจในระบบเครือขายสวนใหญยังเปนลักษณะ

ของคนกลางอยูในรปูแบบตาง ๆ

เหตุผลท่ีผูผลิตไมสามารถทําการคาหรือธุรกรรมกับผูบริโภคไดโดยตรงนั้นมีอยูหลาย

ประการ เชน ศักยภาพหรือมีกําลังไมเพียงพอในการดําเนินการ และท่ีสําคัญคือ ปริมาณขอมูลท่ีอยู

ในเครือขายมีเปนจํานวนมากและกระจายกันอยูจึงไมสะดวกสําหรับผูบริโภค จึงเปนการเปดโอกาส

ใหคนกลางทําหนาท่ีในการนําขอมูลตางๆ มาจัดกลุมรวมกันใหมีความสามารถเพียงพอในการ

บริการ โดยรูปแบบของระบบคนกลางมีท้ังในรูปแบบธุรกิจกับธุรกิจ และรูปแบบธุรกิจกับผูบริโภค

นอกจากนี้ยังมีคนกลางในรูปแบบอ่ืนท่ีอาจคิดไมถึง ตัวอยางเชน การซ้ือขายผานอินเตอรเน็ตนั้น

เจาของเว็บก็ถือวาเปนคนกลางคนหนึ่งท่ีทําหนาท่ีนําสินคามารวบรวมและจัดหมวดหมูในการ

นําเสนอแบบครบวงจรท่ีเรียกวา One Stop Service หากพิจารณาลงไปผูประกอบการทุกราย

จําเปนตองมีท่ีวางเว็บไซท ซ่ึงหมายความวาจะตองเสียคาใชจายใหกับเจาของเครื่องซ่ึงอาจเปนผู

ใหบริการเว็บท่ีเรียกวาเว็บโฮสตริง (Web Hosting) หรือผูใหบริการอินเตอรเน็ต ISP นอกจากนี้การ

เขาถึงสินคาอาจผานการเช่ือมตอมาจากเว็บไซทอ่ืนซ่ึงผูขายสินคาจะตองเสียคาบริการใหกับเว็บท่ี

เช่ือมตอเขามาดวย อาจเปนเปอรเซ็นตของราคาขายหรืออัตราบริการคงท่ีตอครั้งแลวแตการตกลง

กัน และผูใหบริการยังจําเปนตองใชเอเจนซ่ีในการประชาสัมพันธ ใชผูเช่ียมชาญทางดานเทคนิค

และการตลาดใหคําปรึกษาในการดําเนินการดวย นอกจากนี้ยังมีคนกลางในรูปแบบของผูใหบริการ

ขนสงสินคาท่ีไดรับประโยชนรวมกันจากท่ีกลาวมาจะเห็นไดวามีผูท่ีไดรับประโยชนจากระบบ

พาณิชยอิเล็กทรอนิกสท่ีเปนคนกลางอยูเปนจํานวนมาก

Page 4: E-commerce415).pdf · 10 บทที่ 2 ทฤษฎีและวรรณกรรมที่เกี่ยวข อง. 2.1 ความรู ทั่วไปเกี่ยวกับพาณิชย

12

พาณิชยอิเล็กทรอนิกส…ธุรกิจยุค 2000

แนวโนมและอนาคตของการทําธุรกิจผานเครือขายไดมีการพยากรณกันอยางแพรหลาย

ดังจะเห็นไดจากเริ่มมีหลักสูตรตางๆ มาสนับสนุนการประกอบการท้ังหลักสูตรระยะส้ัน หลักสูตร

ในระดับปริญญาตรี โท หรือเอก ในเรื่องท่ีเกี่ยวกับการนําเทคโนโลยีอินเตอรเน็ตมาใชในการ

บริหารหรือประกอบการ

ระบบพาณิชยอิเล็กทรอนิกสทําใหรูปแบบการดําเนินธุรกิจและบทบาทของ

ผูประกอบการและลูกคาเปล่ียนไป ท้ังรูปแบบของรานคาและบทบาทระหวางผูซ้ือกับผูขาย เชน ผู

ซ้ือจะไมเปนเพียงแคผูบริโภคตามรูปแบบท่ีกําหนดโดยผูผลิตอีกตอไป ผูบริโภคสามารถกําหนด

หรือเลือกคุณสมบัติและราคาสินคาตลอดจนรูปแบบการจัดสงท่ีตองการไดจากเว็บของผูผลิตหรือ

คนกลางได ทําใหผูบริโภคเปล่ียนบทบาทจาก passive customer กลายเปนผูกําหนดสินคา (product

taker)หรือผูกําหนดราคา (price taker) ในรูปแบบท่ีเรียกวา choiceboard2 แทน ซ่ึงในสวนนี้ไดมี

ผูประกอบการบางรายไดดําเนินการและจะเปนท่ีใชกันอยางแพรหลายในอนาคตอันใกล

2.4 ขอเดนและขอจํากัดของพาณิชยอิเล็กทรอนิกส

ในโลกของเทคโนโลยีท่ีมีการพัฒนาอยางรวดเร็วไดชวยสรางงานและโอกาสท่ีดีใหผูคน

จํานวนมาก หากลองเปดแฟมประวัติของบรรดามหาเศรษฐีท่ัวโลกอยางบิลล เกตต หรือมหาเศรษฐี

ของเมืองไทยท่ีสรางฐานะและเตบิโตมาจากการดาํเนนิธุรกจิทางดานเทคโนโลย ีโดยเฉพาะ

เทคโนโลยีอินเตอรเน็ตในขณะนี้ดวยแลวเปนอีกส่ิงหนึ่งท่ีสรางความหวังใหกับผูท่ีคิดจะสรางธุรกิจ

ของตนเอง ขอเดนในการประกอบธุรกิจโดยใชเทคโนโลยีเปนเครื่องมือนั้น โดยเฉพาะอยางยิ่ง

ระบบพาณิชยอิเล็กทรอนิกสมีขอเดนมากมายท้ังในเรื่องความสะดวก รวดเร็ว การเขาถึง

กลุมเปาหมาย ขนาดของตลาดผูบรโิภค การลงทุน และอ่ืนๆ อีกมากมาย

ระบบพาณิชยอิเล็กทรอนิกสใชวามีเพียงแตขอดีอยางเดียวเทานั้น เพราะยังมีขอจํากัด

บางอยางดงัท่ีสามารถแบงออกไดเปน 2 สวนใหญๆ คือ ขอจํากัดทางดานเทคนิค และขอจํากัดท่ีไม

เกี่ยวของกับเทคนิค ในเรื่องขอจํากัดทางดานเทคนิค เชน เรื่องของระบบความปลอดภัย ความเช่ือถือ

มาตรฐาน รปูแบบการส่ือสาร ชองสัญญาณในการส่ือสาร ตลอดจนเรือ่งของฮารดแวรและ

ซอฟตแวรท่ีสนับสนุนระบบพาณิชยอิเล็กทรอนิกส ยังมีการเปล่ียนแปลงอยูเสมอ ซ่ึงปญหาในสวน

นี้เช่ือวาเม่ือเวลาผานชวงหนึ่งจะสามารถแกไขได

Page 5: E-commerce415).pdf · 10 บทที่ 2 ทฤษฎีและวรรณกรรมที่เกี่ยวข อง. 2.1 ความรู ทั่วไปเกี่ยวกับพาณิชย

13

สถานะอินเทอรเน็ตของประเทศไทย

จากการรายงานการประเมินสาถานะอินเทอรเนต็ของประเทศไทยพบวา มีจาํนวนผูใช

อินเทอรเน็ตในประเทศไทยประมาณหนึ่งลานคนในตนป พ.ศ. 2543 เม่ือเปรียบเทียบกับจํานวนของ

ประชากรท้ังประเทศคิดเปนเพียง 1.6เปอรเซ็นตของประชากรซ่ึงหากเทียบกับประเทศพัฒนาแลว

อยางเชนสหรัฐอเมริกา มีผูใชงานอินเทอรเน็ตถึงกวาหาสิบเปอรเซ็นต

2.5 พาณิชยอิเล็กทรอนิกสในประเทศไทย

ระบบพาณิชยอิเล็กทรอนิกสของประเทศไทยมีกิจการหลายรูปแบบ ตั้งแตการสรางเว็บ

ไซทเพ่ือโฆษณาประชาสัมพันธสินคาและบริการ โดยประเภทของธุรกิจของไทยท่ีใชระบบพาณิชย

อิเล็กทรอนิกสนี้ไดแก ธุรกิจโรงแรม การทองเท่ียว การซ้ือขายผลิตภัณฑท่ีเกี่ยวของกับเทคโนโลยี

สถาบันการเงิน หนังสือ ส่ิงพิมพ ของท่ีระลึก และสินคาหัตถกรรม

รานคาอิเล็กทรอนิกสของไทยยังเปนลักษณะของการอยูรวมกันในชอปปงมอลล

เนื่องจากมีการลงทุนท่ีไมสูงนักและมีผูท่ีคอยใหบริการอีกขั้นหนึ่งจึงสามารถดําเนินการไดงาย มี

เพียงจํานวนนอยท่ีแยกเปนเพียงรานคาอิสระ รานคาสวนใหญท่ีเขาสูระบบพาณิชยอิเล็กทรอนิกสนี้

มักมุงเนนไปท่ีการขยายการคาสูกลุมลูกคาตางประเทศมากกวา และรูปแบบของผูประกอบการนั้น

ยังคงเช่ือมตอผานระบบโทรศัพทมากกวาการใชสายเชา สําหรับการตรวจเช็ครายการส่ังซ้ือใน

รานคาอิเล็กทรอนิกสของตนเอง เพ่ือทําการปรับเปล่ียนขอมูลรานคา

ระบบพาณิชยอิเล็กทรอนิกสของไทยยังอยูในชวงเริ่มตน หากมีการพัฒนาจะชวยให

โอกาสทางการคาของไทยมีการขยายตวักวางมากขึน้ สามารถทําการคาและบรกิารในตลอดโลกได

อยางไรก็ตามโอกาสดังกลาวตองมีความพรอมและตองพัฒนาระบบโดยรวมเพ่ือใหเขาสูระบบ

พาณิชยอิเล็กทรอนิกสไดเร็วท่ีสุด ดังจะเห็นไดวามีหลายหนวยงานไดชวยสงเสริมและสนับสนุน

การดําเนินการในระบบพาณิชยอิเล็กทรอนิกส เชน กระทรวงพาณิชย ศูนยเทคโนโลยีและ

คอมพิวเตอรแหงชาติโดยเฉพาะอยางยิ่งศูนยพัฒนาพาณิชยอิเล็กทรอนิกส

2.6 คนไทยกับพาณิชยอิเล็กทรอนิกส

จากการศึกษาเกี่ยวกับความตองการของคนไทยเกี่ยวกับการทําพาณิชยอิเล็กทรอนิกส จาก

รายงานท่ีหนวยงานตางๆ ในประเทศไทย เชน ศูนยพัฒนาพาณิชยอิเล็กทรอนิกสของประเทศไทย

จัดทําขึ้นพบวา คนไทยสวนใหญยังมีขอจํากัดในการเขามามีสวนรวมกับการคาลักษณะนี้ โดย

ขอจํากัดท่ีสําคัญในการทําพาณิชยอิเล็กทรอนิกสในความคิดเห็นของกลุมตัวอยางดังกลาวมีหลาย

ประการดวยกัน ปญหาท่ีสําคัญประการแรกคือคนไทยสวนใหญยังขาดความรูความเขาใจเกี่ยวกับ

การพาณิชยอิเล็กทรอนิกสท่ีดีเพียงพอ ยังขาดความม่ันใจในระบบความปลอดภัยในการซ้ือขายผาน

ระบบพาณิชยอิเล็กทรอนิกส ขาดกฎหมายรองรับไมม่ันใจระบบการชําระเงิน โครงสรางพ้ืนฐานท่ี

Page 6: E-commerce415).pdf · 10 บทที่ 2 ทฤษฎีและวรรณกรรมที่เกี่ยวข อง. 2.1 ความรู ทั่วไปเกี่ยวกับพาณิชย

14

ใชในการส่ือสารไมดีพอ ระบบภายในบริษัทยังไมพรอมมีอุปสรรคและขอจํากัดทางดานเทคโนโลยี

อีกท้ังธนาคารพาณิชยท่ีสนับสนุนการทําธุรกรรมพาณิชยอิเล็กทรอนิกสยังมีนอยและคิดคาใชจาย

สูงอีกดวย

ความเช่ือม่ันในผูประกอบการของไทยนั้นต่ํา โดยเฉพาะอยางยิ่งการประกอบการระหวาง

คนไทยดวยกันเองท่ีผูบริโภคเปนฝายท่ีเสียเปรียบอยูตลอด ไมวาจะเปนการบริการหรือการซ้ือขาย

หรืออะไรก็ตาม ซ่ึงประเด็นนี้สวนหนึ่งอาจมาจากนิสัยคนไทยท่ีวาอะไรก็ได ไมเปนไร หรือคนอ่ืน

ยังแยกวานี้ ทําใหนอยคนนักท่ีจะเรียกรองผลการชดเชยความเสียหายของตนเอง เพ่ือเปนการ

หลีกเล่ียงปญหาดังกลาวจึงอาจหลีกเล่ียงความเส่ียงนี้โดยการใชบริการรานคาท่ัวไปท่ีรูจักใน

รูปแบบของลูกคาประจํากับรานใดรานหนึ่ง และหากความเช่ือถือของผูประกอบการยังไมสามารถ

เปล่ียนแปลงไปในทางท่ีดีในสายตาของผูบริโภค โอกาสท่ีพาณิชยอิเล็กทรอนิกสจะขยายตัว

ครอบคลุมคนทุกระดับนั้นเปนเรื่องท่ียาก ขนาดสินคาท่ีซ้ือจากรานท่ีเห็นยังไมไดดั่งใจ จะหวังอะไร

ไดจากการซ้ือโดยเห็นแครูปภาพ

2.7 นโยบายของรัฐ

รัฐตองมีมาตรการและนําเสนอความชัดเจนในการกําหนดนโยบายเกี่ยวกับระบบพาณิชย

อิเล็กทรอนิกส ท้ังในเรื่องของก็หมาย ภาษี และการสนับสนุน เพ่ือใหผูตองการประกอบการพาณิชย

อิเล็กทรอนิกสมีความม่ันใจในธุรกิจท่ีจะใชพาณิชยอิเล็กทรอนิกสเปนแนวทาง

รัฐตองชวยสงเสริมใหการใชเทคโนโลยีแบบนี้มีคาใชจายต่ํา เชน อัตราคาโทรศัพท

ยกเลิกระบบผูกขาดในสัมปทานการส่ือสาร นอกจากนี้ยังตองกําหนดกฎหมายและการควบคุมการ

ทําธุรกรรมท่ีรัดกุม เพราะอาจมีการทําธุรกรรมบางประเภทท่ีไมเหมาะสมเกิดขึ้นได ตองคํานึงถึง

วิธีการท่ีจะชวยเหลือผูประกอบการไทยหากเกิดการแขงขันอยางเสรีกับผูประกอบการพาณิชย

อิเล็กทรอนิกสท่ัวโลก เนื่องจากศักยภาพในการแขงขันของผูประกอบการไทยยังอยูในระดับท่ีต่ํา

มากเม่ือเทียบกับอีกหลายประเทศ ซ่ึงความเสียเปรียบนี้จะกอใหเกิดความเสียหายจํานวนมาก

2.8 ปญหาและอุปสรรคของพาณิชยอิเล็กทรอนิกสของไทย

ปญหาและอุปสรรคตางๆ ในการดําเนินการของระบบพาณิชยอิเล็กทรอนิกสของประเทศ

ไทยมีอยูหลายประการ ดังสวนหนึ่งท่ีเขียนไวในบทความพิเศษเรื่องพาณิชยอิเล็กทรอนิกสกับการ

กาวสูเศรษฐกิจใหมของประเทศไทย วา แมวาเราจะเริ่มใชอินเทอรเน็ตมาพรอมกับมาเลยและ

สิงคโปร แตเม่ือเวลาผานไปจํานวนผูใชอินเทอรเน็ตของไทยโดนรวมโตชากวา 2 ประเทศดงักลาว

หรือสังเกตไดจากโฮสจํานวนมากของไทยจะจดทะเบียนเปน .com แทนท่ีจะเปน .co.th ซ่ึงจะ

สะทอนใหเห็นปญหา บางประการท่ีมีอยู และจะเปนอุปสรรคในการพัฒนาระบบพาณิชย

อิเล็กทรอนิกสของไทย

Page 7: E-commerce415).pdf · 10 บทที่ 2 ทฤษฎีและวรรณกรรมที่เกี่ยวข อง. 2.1 ความรู ทั่วไปเกี่ยวกับพาณิชย

15

2.8.1 ปญหาในเรื่องของความพรอมของผูประกออบการ ผูประกอบการยังขาดความรู ความ

เขาใจในระบบ และไมมีแนวความคิดในการดําเนินธุรกิจในรูแบบนี ้

2.8.2 ปญหาในเรื่องของบุคลากรยังไมความพรอม

2.8.3 ปญหาในเรื่องของการตลาด เนื่องจากส่ือไมสามารถเขาถึงผูซ้ือโดยตรงไดตองมีกลยุทธ

ทางการตลาดท่ีด ี

2.8.4 ขาดความเช่ือม่ันในผลตอบแทนท่ีจะไดรับ

2.8.5 ปญหาในเรื่องของความเช่ือม่ันในระบบรักษาความปลอดภัย

2.8.6 ความเช่ือถือของผูบริโภคท่ีมีตอเจาของธุรกิจวาจะไดสินคาท่ีมีคุณภาพตามความ

ตองการ

2.8.7 คาบริการใชอินเทอรเน็ตและคาบริการส่ือสารยังมีราคาแพง ท่ังในสวนของผูใหบริการ

ผูประกอบการ รวมท้ังผูใชดวย

2.8.8 กลุมเปาหมายทางการคา หรือประชาชนนั้นยังขาดทักษะในการใชคอมพิวเตอรและ

อินเทอรเน็ต

2.8.9 ผูประกอบการยังกังวลกับกฎหมายท่ีรองรับการประกอบการ

2.8.10 ปญหาอ่ืนๆ เชน การกล่ันแกลงในทางธุรกิจ เชนการตอตานสินคาไทย โดยอางการคา

ประเวณีเด็กรัฐบาลมีมาตรการดําเนินการพาณิชยอิเล็กทรอนิกสอยางรีบเรง เพ่ือใหผู

ตองการทําการคาดวยระบบพาณิชยอิเล็กทรอนิกสมีความม่ันใจโดยจะตองชวยสงแสริม

ในการลดตนทุนใหมีคาใชจายต่ําและสรางความม่ันใจในระบบความปลอดภัยและการ

ชําระเงินนอกจากนี้ตองมีกฎหมายท่ีมีความรัดกุมและตองสงเสริมศักยภาพในการ

แขงขนัของไทยกบัตางประเทศรวมท้ังการสงเสรมิศักยภาพความรูทางดานสารสนเทศ

ในดานการสงเสริมและสนับสนุนการดําเนินการระบบพาณิชยอิเล็กทรอนิกสนั้นรัฐควร

นําเสนอในลักษณะท่ีจับตองได เขาใจงาย มากกวาเปนลักษณะของขอมูลท่ัวไป สําหรับผูใชงาน

ท่ัวไป มีการจัดตั้งองคกรกลางของระบบพาณิชยอิเล็กทรอนิกสท่ีถูกตองตามกฎหมาย นอกจากนี้

ควรจะมีการสงเสริมพาณิชยอิเล็กทรอนิกสใหไปสูภูมิภาคดวย

2.9 เทคโนโลยีพาณิชยอิเล็กทรอนิกส

เม่ือเทคโนโลยีทางไมโครโปรเซสเซอรมีการพัฒนาอยางกาวกระโดดตามกฎของมัวร

(Moore’s Law)ท่ีกลาววา ความกาวหนาของเทคโนโลยีและความซับซอนของเทคโนโลยี

อิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอร ทําใหสามารถผลิตไอซีท่ีมีความหนาแนนไดเปนสองเทาทุกๆ

ชวงเวลาความกาวหนาทางดานไมโครโปรเซสเซอรสงผลใหเทคโนโลยีอ่ืนกาวหนา และยัง

สอดคลองกับกฎของมัวรดวย โดยเฉพาะอยางยิ่งเทคโนโลยีคอมพิวเตอรและเครือขาย

Page 8: E-commerce415).pdf · 10 บทที่ 2 ทฤษฎีและวรรณกรรมที่เกี่ยวข อง. 2.1 ความรู ทั่วไปเกี่ยวกับพาณิชย

16

เทคโนโลยีคอมพิวเตอร

เทคโนโลยีคอมพิวเตอรมีดารพัฒนาตามกระแสของไมโครโปรเซสเซอร ขีด

ความสามารถของเครือ่งเพ่ิมขึน้มาก ไมโครคอมพิวเตอรในปจจบัุนมีความสามารถสูงกวาซูเปอร

คอมพิวเตอรในสมัยกอนมาก คอมพิวเตอรทุกระดับไมวาจะเปนซูเปอรคอมพิวเตอรเมนเฟรม

มินิคอมพิวเตอร ไมโครคอมพิวเตอร คอมพิวเตอรโนตบุค หรือแมแตปาลมทอป ก็สามารถเช่ือมเขา

กับเครือขายอินเทอรเน็ตได

ระบบเครือขาย

ระบบเครือขายเปนการเช่ือมตอคอมพิวเตอรท่ัวโลกถึงกันและสามารถแลกเปล่ียน ขอมูล

ขาวสารตางๆ ได แตการเช่ือมตอนัน้จาํเปนจะตองมีมาตรฐานตางๆ เขามาเกีย่วของ ซ่ึงมาตรฐาน

เหลานี้จะทําใหอุปกรณหรือผลิตภัณฑท่ีผลิตจากตางบริษัทกันสามารถใชงานรวมกันได อยางไรก็

ตาม การเช่ือมโยงเครือขายในบางครั้งมีมาตรฐานท่ีตางกัน จึงจําเปนตองมีตัวแปลงมาตรฐานหรือมี

ระบบปรับเปล่ียนบางอยางเพ่ือใหการเช่ือมตอท้ังสวนของฮารดแวรและซอฟตแวรสามารถทํางาน

ไดอยางสมบูรณ

เทคโนโลยีซอฟตแวร

เทคโนโลยีในสวนของฮารดแวรนั้นลํ้าหนาสวนอ่ืนไปมาก การท่ีจะนําความสามารถของ

ระบบฮารดแวรมาใชใหไดอยางเต็มท่ีนั้นตองพัฒนาสวนตางๆ ใหมีประสิทธิภาพสูงขึ้นตามไปดวย

โดยเฉพาะอยางยิ่งสวนของซอฟตแวรท้ังระบบปฏิบัติการและโปรแกรมประยุกต

โปรแกรมประยกุต

โปรแกรมประยุกตคือโปรแกรมท่ีสรางขึ้นมาเพ่ือตอบสนองความตองการใชงานในงาน

ตางๆ ของผูใช เชน เวิรดโปรเซสเซอร สเปรดซีต โปรแกรมนําเสนอขอมูล และอ่ืนๆ โปรแกรม

ประยุกตสําหรับพาณิชยอิเล็กทรอนิกสมีอยูหลายรูปแบบ อาทิ เชน โปรแกรมเว็บเซิรฟเวอร

โปรแกรมออกแบบเวบ็ โปรแกรมสวนตดิตอผูใช และโปรแกรมเบราเซอรนอกจากนีโ้ปรแกรมท่ีใช

งานท่ัวไปก็มีการปรับปรุงใหสามารถใชงานผานระบบเว็บไดแลวท้ังใชงานโดยตรงและใชงานโดย

การติดตั้งโปรแกรมเพ่ิมเติม (plug in)

โปรแกรมเว็บเซิรฟเวอร

คือโปรแกรมท่ีทําหนาท่ีในการใหบริการขอมูลเอกสารกับระบบเว็บ จะคอยรับการรอง

ขอเอกสารจาดเว็บเบราเซอร การติดตอระหวางเว็บเซิรฟเวอรและเว็บเบราเซอรจะตองใช

โปรโตคอล Hypertext transfer protocol (HTTP) ในการขนยายขอมูลเอกสาร โปรโตคอลนี้จะ

สามารถใชงานไดเฉพาะบนระบบเครือขายท่ีใชโปรโตคอลทีซีพี/ไอพี (TCP/IP)เปนพื้นฐานในการ

ทํางานเทานั้น เอกสารท่ีจะใชในการบริการของเว็บเซิรฟเวอรสามารถจัดเก็บไดในหลายๆรูปแบบ

Page 9: E-commerce415).pdf · 10 บทที่ 2 ทฤษฎีและวรรณกรรมที่เกี่ยวข อง. 2.1 ความรู ทั่วไปเกี่ยวกับพาณิชย

17

เชน รปูแบบของ Hypertext Markup Language (HTML)เปนรปูแบบท่ีสามารถนาํเสนอขอมูล

ขาวสารไดหลากหลาย เชน ภาพ เสียง ภาพยนตร รปูแบบอักษรท่ีหลากหลายและสามารถโตตอบ

กับผูใช(Interactive) ก็มีดวยกันหลายรุน เชน Hypertext Markup Language (HTML) Standard

Markup Language(SGML) Extended Markup Language (XML) ตัวอยางของโปรแกรมเว็บ

เซิรฟเวอร เชน อาปาเช (APACHE)

โปรแกรมออกแบบเว็บ

เปนโปรแกรมท่ีชวยใหสามารถออกแบบและสรางเว็บไดงายโดยไมจําเปนตองมีความรู

ในเรือ่งของโครงสรางภาษา HTML โดยโปรแกรมประเภทนี้สวนใหญออกแบบใหใชงานงายและ

ยังชวยอํานวยความสะดวกในการอัพเดทขอมูลใหทันสมัยไดงายดวย ตัวอยางโปรแกรมในประเภท

นี้เชน NetObject Fusion

โปรแกรมสวนติดตอผูใช

เปนโปรแกรมหรือภาษาท่ีใชสําหรับการติดตอกับผูใช การเขียนโปรแกรมเพ่ิมเติมนี้มัก

เรียกวา CGI (Common Gateway interface) การเพ่ิมเติมสวนของโปรแกรมหรือการติดตอนี้สามารถ

ทําไดโดยแทรกสวนท่ีเพ่ิมเติมเขาไปในรหัสท่ีเปนภาษา HTML ตวัอยางของโปรแกรมและภาษาท่ี

ใชเขียนติดตอกับผูใช เชน เพิรล (perl) พีเฮชพี (PHP) สครปิตจาวา (Java Script)

2.10 ผูใหบริการในโครงสรางเทคโนโลยีพาณิชยอิเล็กทรอนิกสผูใหบริการจดทะเบียน

ผูใหบริการระบบส่ือสาร

การส่ือสารแหงประเทศไทย เปนผูผูกขาดบริการส่ือสารระหวางประเทศและเปนผูให

สัมปทานการใหบริการอินเทอรเน็ตภายในประเทศ ดังนั้นการส่ือสารแหงประเทศไทยจึงเปนสวน

สําคัญและมีบทบาทในการเปล่ียนแปลงอินเทอรเน็ตของประเทศไทยอยางมาก

องคการโทรศัพทและเอกชนผูใหบริการส่ือสารเช่ือมตอภายในประเทศ เปนผูใหบริการ

เช่ือมตอระหวางผูใชหรือองคกรกับผูใหบริการอินเทอรเน็ต ผูใหบริการส่ือภายในประเทศเปนอีก

สวนหนึ่งท่ีมีผลตออัตราการเติมโดของอินเทอรเน็ตของประเทศไทย

ผูใหบริการอินเทอรเน็ต

ผูใหบริการอินเทอรเน็ต (Internet Service Provider หรอื ISP) มีท้ังท่ีเปนผูใหบริการ

อินเทอรเน็ตสําหรับสถาบันการศึกษาและวิจัย อยางเชน UNINET กบั Thaisarn-internet และผูท่ี

ใหบริการอินเทอรเน็ตเอกชนท่ีไดรับสัมปทานจากการส่ือสารแหงประเทศไทยใหเปนผูบริการ

อินเทอรเน็ตกับบริษัท หางราน บุคคลท่ัวไป อยางเชน Internet Thailand, KSC, Samart CyberNet,

Loxinfo และอ่ืนๆ

Page 10: E-commerce415).pdf · 10 บทที่ 2 ทฤษฎีและวรรณกรรมที่เกี่ยวข อง. 2.1 ความรู ทั่วไปเกี่ยวกับพาณิชย

18

ผูใหบริการเว็บ(Web Hosting)

ผูใหบริการเว็บ เปนผูท่ีใหบริการเนื้อท่ีสําหรับเก็บขอมูลในการนําเสนอเว็บของ

ผูประกอบการรายยอยท่ียังไมมีระบบเครือขายของตนและยังไมตองการท่ีจะลงทุนในเรื่องของ

ระบบส่ือสาร และระบบคอมพิวเตอรโดยสวนใหญแลวผูใหบริการเว็บมักเปนผูเชาบริการจากผู

ใหบริการอินเทอรเน็ตหรือไอเอชพีอีกขั้นหนึ่ง ผูใหบริการเว็บในปจจุบันมักใหบริการรับเปน

นายหนาในการจดทะเบียนชื่อโดเมนดวย

การซ้ือขายสินคาในยุคอินเทอรเน็ต

เม่ืออินเทอรเน็ตแพรหลาย การใชอินเทอรเน็ตเพ่ือการส่ือสารก็แพรหลายขึ้นบริษัทตางๆ

ใชอินเทอรเน็ตโฆษณาขายสินคาของตนเอง ผูซ้ือสินคาสามารถส่ังซ้ือสินคาผานทางเครือขายทาง

อินเทอรเน็ตได ปญหามีอยูวาการส่ังซ้ือทางเครือขายไมสามารถยื่นบัตรจริงได การซ้ือโดยไมใช

บัตรเครดิตจริงแตใชหมายเลขเบอรบนบัตรเครดิต จึงเปนขอท่ีเส่ียงสําหรับผูขายสินคา เพราะอาจ

เรียกเก็บเงินไมได หรือมีปญหาการปฏิเสธการจายภายหลังตามกฎหมายอาจสรางปญหาในเรื่องการ

พิสูจนวาใครเปนผูส่ังซ้ือสินคา เพราะอาจมีผูแอบอางส่ังซ้ือสินคาได

เพ่ือใหการดําเนินธุรกิจบนเครือขายอินเทอรเน็ตประสบผลสําเร็จได เทคโนโลยีในเรื่อง

การเขารหัสและการถอดรหัสเปนเรื่องท่ีสําคัญ การพัฒนาระบบการเขารหัสจึงไดสรางกลไกลขึ้นมา

เปนพิเศษท่ีเรียกวา ดิจิตอลซิกเนเจอร หรือลายเซ็นอิเล็กทรอนิกส (e-Signature)

ลายเซ็นอิเล็กทรอนิกสเปนเครื่องมือในการพิสูจนและปองกันการแอบใชหรือปลอม

แปลงเอกสาร และการขนสงขอมูลผานไปบนอินเทอรเน็ตมีอัตราเส่ียงสูง สามารถรั่วไหลหรือถูกดัก

ดูขอมูลระหวางทางท่ีใดท่ีหนึ่งในเครือขายได

การเขารหัสระหวางผูรับกับผูท่ีสงตองมีการใชวิธีการเพ่ือไมใหผูดักดูขอมูลถอดรหัสได

งาย ระบบท่ีใชคือ DES (Data Encryption Standard) โดยผูใชท่ีเปนผูสงจะเขารหัสสงใหกับผูรับ

ผูรับจะถอดรหัสได การเขารหัสจะมีการกําหนดกุญแจหรือคียไวอันหนึ่งเม่ือผูรับขอมูลรับไดก็จะใช

อัลกอริธึมการถอดรหัส แตตองมีคียซ่ึงรูกันดวย โดยมีขอสมมติฐานท่ีคียนั้นรูกันเพียงผูสงกับผูรับ

เทานั้น

กรณีของการใชคียเดียวมีขอยุงยากในสวนท่ีจะกําหนดคีย เพราะคียท้ังสองจะตองเปนคีย

เดียวกัน หากสงคียในเครือขายก็จะเส่ียง วิธีการท่ีใชคียเดียวจึงไมเหมาะสมกับการใชงานในทาง

ปฏิบัติ เพ่ือใหการทํางานมีความเช่ือถือไดมากขึ้น จึงมีการใชคียสองชุดชุดหนึ่งเรียกวาคียสาธารณะ

ท่ีสงใหทางเครือขายได อีกคียหนึ่งเปนคียท่ีเก็บไวเรียกวา คียสวนตัว (Private Key)

Page 11: E-commerce415).pdf · 10 บทที่ 2 ทฤษฎีและวรรณกรรมที่เกี่ยวข อง. 2.1 ความรู ทั่วไปเกี่ยวกับพาณิชย

19

การชําระเงินในระบบอิเล็กทรอนิกสของไทย

ในประเทศไมไดมีเพียงการชําระเงินดวยบัตรเครดิตเทานั้น ยังมีรูปแบบของการ

ผสมผสานรูปแบบการชําระเงินหลายรูปแบบเขาดวยกัน ดังนั้นในระบบพาณิชยอิเล็กทรอนิกสของ

ไทยมีรูปแบบการชําระเงินอยางหลากหลาย เชน การชําระดวยเงินสด ชําระโดยโอนเงินผาน

ธนาคาร ชําระดวยเช็ค ชําระดวยดราฟท ชําระดวยบัตรเครดิต หรือชําระดวยพัสดุเก็บเงินปลายทาง

2.11 ระบบรานคา

เขาใจขั้นตอนการประกอบการ

กอนท่ีจะสามารถประกอบการอิเล็กทรอนิกสไดนั้นจําเปนอยางยิ่งท่ีตองเขาใจถึงขั้นตอน

ของการดาํเนนิการและองคประกอบตางๆในการประกอบการเสียกอน ซ่ึงสามารถอธิบายคราวๆ ได

ดังนี ้

2.11.1 ขั้นตอนท่ี1, 2 และ 3 ลูกคาเขาถึงรานคาโดยผานอินเทอรเน็ตและมีการโตตอบระหวาง

กันในลักษณะแบบทันทีทันใด

2.11.2 ขั้นตอนท่ี 4 ลูกคาส่ังซ้ือสินคาระบบตะกราสินคา

2.11.3 ขั้นตอนท่ี 5 การส่ังซ้ือสินคาทุกครั้งอยูภายใตการรักษาความปลอดภัยท่ีเช่ือถือได ใน

ตัวอยางเปนระบบ SSL

2.11.4 ขั้นท่ี 6, 7 และ 8 จะเกิดขึ้นเม่ือมีการชําระเงินคาสินคาผานบัตรเครดิตโดยมีสถาบัน

การเงินเปนผูตรวจสอบความถูกตอง

2.11.5 ขั้นท่ี 9 เปนการยืนยันการส่ังซ้ือจากรานคาไปยังลูกคา

2.11.6 ขั้นท่ี 10 ระบบสนับสนุนหลังสํานักงานจะทําหนาท่ีชวยสนับสนุนการขาย เชน

ปรับปรุงฐานขอมูลสินคาใหถูกตองเสมอ และแจงขาวสารหรือขอมูลใหมๆใหลูกคา

2.11.7 ขั้นท่ี 11 และ 12 รานคาดําเนินการจัดสงสินคาใหแกลูกคา

2.11.8 ขั้นท่ี 13 และ 14 รานคาเรียกเก็บเงินกับสถาบันการเงิน และสถาบันการเงินสงใบแจง

หนี้เพ่ือเรียกเก็บจากลูกคา

จดทะเบียนชื่อโดเมน

การจดทะเบียนช่ือโดเมนสําหรับการประกอบการเปนเสมือนการจดทะเบียนช่ือบริษัทใน

ระบบปกติ การจดช่ือโดเมนจะไมมีการซํ้ากันเนื่องจากมีหนวยงานกลางในการดูแล การเลือกช่ือ

โดเมนเปนเรื่องท่ียากในปจจุบัน เนื่องจากช่ือท่ีส้ัน กระชับ จํางาย และส่ือความหมายสินคาและ

บริการนั้นสวนใหญมักมีผูจดทะเบียนไปกอนหนานี้แลว ท้ังผูท่ีจดทะเบียนช่ือโดเมนเพ่ือ

ประกอบการจริงและผูท่ีจดทะเบียนช่ือโดเมนเพ่ือเก็งกําไรในการขายช่ือโดเมนตอใหกับผูท่ีตองการ

อีกทอดหนึ่ง อยางไรก็ตาม ช่ือของเว็บไซทเปนส่ิงจําเปนท่ีไมสามารถหลีกเล่ียงได ช่ือของเว็บไซท

Page 12: E-commerce415).pdf · 10 บทที่ 2 ทฤษฎีและวรรณกรรมที่เกี่ยวข อง. 2.1 ความรู ทั่วไปเกี่ยวกับพาณิชย

20

ควรบงบอกหรือใหความหมายเปนนัย ท่ีสอดคลองกับสินคาหรือบริการ จะเห็นไดจากช่ือเว็บมัก

เปนผลิตภัณฑแลวลงทายดวย Dotcom และหากตองการแสดงทองถ่ินหรือลักษณะเฉพาะก็มักใชคํา

ท่ีบงลักษณะพิเศษประกอบได อาจเปนสวนหนาหรือสวนหลังของช่ือโดเมนก็ได เชน การแสดง

ความเปนไทยอาจใช Th , Thai ,Thailand ปรกอบดวย ตัวอยางเชน www.thaiamason.com แตกไ็ม

ควรท่ีจะนําช่ือท่ีจะทําใหเกิดการเขาใจผิดมาเปนช่ือของเว็บไซทเพราะจะทําใหความนาเช่ือถือลดลง

ดังตัวอยางเชนเว็บไซทหลายแหงไดใชช่ือของดารานัดรองมาใชช่ือโดเมนในการขายสินคาตนเอง

การจดทะเบียนโดเมน dotcom นั้นนอกจากสามารถจดทะเบียนไดท่ี Networks Solution

ท่ีคนไทยสวนใหญนิยมจดทะเบียนช่ือโดเมนเนมกันมาก ยังมีผูใหบริการท่ีเปนเอกชนในการจด

ทะเบียนช่ือโดเมนในสวนของ .com, .net และ .org อีกจํานวนมากท่ีไดรับการรับรองโดยICANN

(The Internet Corporation for Assigned Names and Names)

2.12 การออกแบบพัฒนาระบบ

2.12.1 ระบบหนาราน เปนรูปแบบท่ีเหมือนกับการจัดวางสินคาในรานคาท่ัวไป การออกแบบ

ระบบหนารานตองใหสอดคลองกับความตองการของกลุมเปาหมายและลักษณะของ

สินคาหรือบริการ ระบบหนารานเปนส่ิงแรกของผูประกอบการท่ีนําเสนอ จําเปนตองมี

ความนาสนใจและสามารถดึงดูดเชิญชวนใหผูท่ีพบเห็นเขามาซ้ือสินคาหรือบริการ

ระบบหนารานจึงเปนส่ิงสําคัญสําหรับการประกอบการอยางยิ่ง

2.12.2 สวนของรายการสินคา/บริการ หรือท่ีเรียกวาระบบแคตตาล็อก เปนการจัดหมวดหมูของ

สินคา เพ่ืออํานวยความสะดวกแกลูกคา สวนรายการสินคาท่ีดีนั้นตองมีขอมูลและ

รายละเอียดของผูซ้ือสามารถใชตัดสินใจไดโดยไมตองหาขอมูลเพ่ิมเติมประกอบอีก ใน

สวนของระบบแคตตาล็อกอาจอํานวยความสะดวกเพ่ิมขึ้นโดยการเพ่ิมสวนชวยในการ

คนหาสินคา/บรกิารในรานลงไป

2.12.3 ระบบส่ังซ้ือหรือระบบตะกราสินคา หลังจากท่ีผูซ้ือสินคาเลือกจํานวนตามท่ีตองการ

แลว ระบบตะกราสินคาจะเปนระบบท่ีรองรับรายการท่ีลูกคาเลือกซ้ือและชวยคํานวณ

ราคารวมของสินคาเพ่ือชวยใหผูใชไดพิจารณาและตัดสินใจไดงายยิ่งขึ้น ระบบตะกรา

สินคามักมีการรวมคาขนสงไว

2.12.4 ระบบกาชําระเงิน ตองสามารถใหผูท่ีจะใชบริการมีความเช่ือถือได และม่ันใจไดวาการ

ชํานะเงินในแตละครั้งไมมีความเส่ียงและขอมูลการเงินเปนความลับ อีกท้ังตนทุน

สําหรับการชําระเงินของผูประกอบการมีอัตราท่ีต่ําดวย รูปแบบของการชําระเงินนั้นมี

อยูหลายรูปแบบขึ้นอยูกับปจจัยหลายประการ ดังท่ีเห็นในปจจุบันท่ีมีท้ังการชําระผาน

Page 13: E-commerce415).pdf · 10 บทที่ 2 ทฤษฎีและวรรณกรรมที่เกี่ยวข อง. 2.1 ความรู ทั่วไปเกี่ยวกับพาณิชย

21

เงินอิเล็กทรอนิกส บัตรเครดิต บัตรเดบิต โอนเงินผานบัญชีธนาคารหรือคนกลาง โอน

เงินทางไปรษณยี ใชพนกังานเกบ็เงินปลายทาง และอ่ืนๆ อีกมากมาย

ระบบการชําระเงินจะมีรูปแบบอยางใดไมสําคัญ ประเด็นหลักอยูท่ีผูประกอบการไดรับ

เงินและผูซ้ือพอใจและจายโดยปราศจากความกังวล

2.12.5 ระบบหลังราน เปนระบบท่ีเช่ือตอกับสวนสํานักงาน เชน สวนระบบบัญชี ระบบสินคา

คงคลัง ระบบการเงิน หากระบบหลังรานมีประสิทธิภาพแลว สามารถเช่ือมตอกับระบบ

อ่ืนไดอีก เชน เช่ือมตอเขากับระบบของผูผลิตและผูจัดสงสินคาหรือองคกรท่ีมีความ

เกี่ยวของ

2.12.6 ระบบขนสง เปนการจัดสงสินคาและบริการใหกับผูซ้ือ รูปแบบของการขนสงขึ้นอยูกับ

ปจจัยหลายประการ เชน ลักษณะของสินคา ขนาด น้ําหนัก ระยะทาง ระยะเวลาในการ

ขนสง คาใชจายและอ่ืนๆ การขนสงไมจําเปนตองจํากัดเพียงวาตองใชบริการของ UPS

หรอื DHL ขอใหพึงระลึกเสมอวาหัวใจของการขนสงนั้นคือสินคา/บริการนั้นถึงผูรับ

โดยท่ีผูรับมีความพึงพอใจ ไมวาเปนเรื่องของชวงเวลาหรือคาบริการ ดังจะเห็นไดวา

ผูประกอบการจํานวนมากของไทยไดใชบริการของมอเตอรไซดรับจางในการขนสง

สินคาท่ีขายผานระบบเว็บเปนจํานวนมาก

ผูใหบริการเว็บ

เปนผูท่ีใหบริการเนื้อท่ีสําหรับเก็บขอมูลในการนําเสนอเว็บของผูประกอบการรายยอยท่ี

ยังไมมีระบบเครือขายของตนเองและยังไมตองการท่ีจะลงทุนในเรื่องของระบบส่ือสารและระบบ

คอมพิวเตอร โดยสวนใหญแลวผูใหบริการเว็บนั้นมักเปนผูเชาบริการอินเทอรเน็ตหรือไอเอสพีอีก

ขั้นหนึ่ง

บริการหลักของผูใหบริการเว็บคือ การใหบริการเชาพ้ืนท่ีสําหรับประกอบการบน

เซิรฟเวอร โดยเว็บเซิรฟเวอรมีหมายเลขไอพีหมายเลขเดียวเทานั้น สามารถรองรับระบบรานคาของ

ผูใชบริการในช่ือโดเมนตางๆ ไดหลายช่ือในรูปแบบของเวอรชัวโฮสต(Virtual Host) ดังท่ีใชกันอยู

ในปจจุบัน

Page 14: E-commerce415).pdf · 10 บทที่ 2 ทฤษฎีและวรรณกรรมที่เกี่ยวข อง. 2.1 ความรู ทั่วไปเกี่ยวกับพาณิชย

22

โครงสรางของผูใหบริการเว็บ

โครงสรางของผูใหบริการเว็บตองมีระบบเซิรฟเวอรสําหรับใหบริการและระบบสํารองท่ี

สามารถทดแทนกันไดเพ่ือใชในกรณีท่ีมีปญหาเกิดขึ้น ในสวนของเครื่องและระบบท่ีใชเปนเว็บ

เซิรฟเวอรนั้นตองมีความเสถียร เช่ือถือได นอกจากนี้โครงสรางภายในของผูใหบริการเว็บคงตองมี

ระบบอินทราเน็ตภายในเพ่ือความสะดวกในการดําเนินการบริหารงาน และเช่ือมเขาสูอินเทอรเน็ต

โดยผานทางผูใหบริการอินเทอรเน็ตทางวงจรเชาหรือสายเชา ผูใหบริการเว็บตองมีเครื่องสําหรับ

พัฒนาระบบสําหรับการประกอบการรานคาอิเล็กทรอนิกสเพ่ือสนับสนุนการประกอบการของผูเชา

ท่ียังไมพรอมดวย

พาณิชยอิเล็กทรอนิกสแบบธุรกิจกับธุรกิจ

ธุรกิจท่ัวไปมีท่ังหนาท่ีหลักและหนาท่ีรองมากมายท่ีจะตองนํามาประกอบเขาดวยกันเพ่ือ

ทําใหการดําเนินธุรกิจเปนไปอยางราบรื่น ตัวอยางเชนองคการท่ีทําธุรกิจเกี่ยวกับการบริการอาจมี

หนวยงานหนึ่งท่ีทําหนาท่ีใหบริการลูกคา และอีกหนวยงานหนึ่งทําหนาท่ีเก็บขอมูลขาวสารโดยท่ี

องคกรนี้ยังมีหนวยงานอ่ืนๆ ซ่ึงจําทํางานในสวนท่ีเกี่ยวของกับทรัพยากรมนุษย ระบบสารสนเทศ

และการเงินซ่ึงจะเปนสวนท่ีชวยสนับสนุนการทํางานหลักขององคการ หนวยงานท้ังหมดใน

องคการนีจ้ะตองทํางานรวมกนัเพ่ือสามารถตอบสนองความตองการ และสรางความพอใจสูงสุด

ใหกับลูกคา เพ่ือท่ีจะสรางความพอใจสูงสุดใหกับลูกคา บริษัทจะตองมี

การปฏิสัมพันธกับผูขายอยางใกลชิด ดวยเหตุนี้หลายๆ ธุรกิจไดเริ่มกาวเขาไปสูการทําพาณิชย

อิเล็กทรอนิกสนั้นหมายถึงความสะดวกท่ีจําไดรับจากธุรกรรมระหวางธุรกิจกับธุรกิจ

แนะนําใหรูจักกับพาณิชยอิเล็กทรอนิกสแบบธุรกิจกับธุรกิจ

พาณิชยอิเล็กทรอนิกสแบบธุรกิจกับธุรกิจ

พาณิชยอิเล็กทรอนิกสแบบธุรกิจกับธุรกิจจะเกี่ยวของกับกระบวนการท่ีเกิดขึ้นจากผู

ซ้ือและผูขายโดยอัตโนมัติ กระบวนการเหลานี้มักจะเกี่ยวของกับการขายสินคาและบริการแบบ

ออนไลนใหกับบริษัทอ่ืนๆ โดยผานทางเว็บไซต

เม่ือผูซ้ือและผูขายมีปฏิสัมพันธกันโดยผานทางระบบอิเล็กทรอนิกส เวลาท่ีใชใน

การโตตอบนั้นจะลดลง และทําใหสามารถทํางานไดรวดเร็วกวาการติดตอส่ือสารกันในระบบ

มาตรฐาน ตัวอยางเชน ถาบริษัทผูผลิตหนึ่งมีรูปแบบของใบส่ังสินคาเปนแบบมาตรฐาน

กระบวนการรับใบส่ังซ้ือและกระบวนการทําใบส่ังสินคานั้นก็จะมีมาตรฐานไปดวย วิธีการหนึ่งท่ี

จะทําใหพาณิชยอิเล็กทรอนิกสมีมาตรฐานของการทําธุรกรรมขึ้นมา ก็คือการนําเอา Electronic Data

Interchange (EDI) เขามาใชงานมาตรฐาน EDI นั้นจะมีการโตตอบกันท้ังระหวางองคการและ

ภายในองคการ ดังนั้นจึงเปนการเพ่ิมการผลิตและเปนการลดคาใชชจายในการดําเนินการ

Page 15: E-commerce415).pdf · 10 บทที่ 2 ทฤษฎีและวรรณกรรมที่เกี่ยวข อง. 2.1 ความรู ทั่วไปเกี่ยวกับพาณิชย

23

ตัวอยางของเว็บไซทพาณิชยอิเล็กทรอนิกสแบบธุรกิจกับธุรกิจ

ตัวอยางเว็บไซทคือ Microsoft Market (MS Market) เปนเว็บไซทพาณิชยอิเล็กทรอนิกส

แบบธุรกิจกับธุรกิจ ท่ีมีเปาหมายเพ่ือใชในการซ้ือขายและติดตอกันภายในบริษัทไมโครซอฟท

เทานั้น ในเว็บไซทนี้พนักงานสามารถส่ังสินคา และบริษัทก็จะสามารถจัดสงสินคาไปยังตัวแทน

จําหนายท่ีอยูในทุกมุมโลกไดโดยใชเว็บเบราเซอรท่ีอยูบนเดสกท็อป ซ่ึงเว็บไซทนี้จะชวยให

ประหยัดเวลาของลูกจางโดยการจัดเตรียมลิงก โดยตรงสูแคตาล็อกสินคาของผูขาย ตรวจสอบราย

เซ็น ตรวจสอบบัญชีท่ีถูกตอง และเปนศูนยรวมการใชจาย รวมท้ังการจัดหาขอมูลท่ีอัตโนมัติในการ

ส่ังซ้ือสินคาไมวาจะเปนท่ีไหนก็สามารถท่ีจะทําได

ประโยชนของพาณิชยอิเล็กทรอนิกสแบบธุรกิจกับธุรกิจ

ประโยชนของพาณิชยอิเล็กทรอนิกสคือการรวมกระบวนการทางธุรกิจเขาดวยกัน

ตัวอยางเชนแผนกจัดซ้ือจะไดแคตตาล็อกจากผูขาย และนําแคตตาล็อกสินคานี้มานําเสนอกับผูใชท่ี

อยูในอินทราเน็ต แลวผูใชก็สามารถเรียกดูสินคาและส่ังซ้ือสินคาไดเลย กระบวนการของการส่ังซ้ือ

สินคาและการออกใบเสร็จรับเงินจะเปนไปอยางอัตโนมัติ จํานวนสินคาท่ีผูใชสามารส่ังซ้ือสินคาได

นั้นถูกกําหนดไวแลวซ่ึงจะเปนสวนหนึ่งของกระบวนการอัตโนมัติเชนกัน

ลดคาใชจายในการจัดหาวัตถุดิบ

การพัฒนาความสัมพันธระหวางบริษัทกับผูจัดหาวัตถุดิบรายใหญของบริษัทเพ่ือ

ประโยชนในการลดราคาสินคา ซ่ึงจะนําไปสูการลดคาใชจายท่ีใชกับการจัดหาวัสดุ ปจจุบัน

อินเทอรเน็ตทําใหส่ิงเหลานี้เปนไปได เพราะจากการดําเนินธุรกิจแบบพาณิชยอิเล็กทรอนิกสกับผู

จัดหารายใหมๆ ซ่ึงอาจจะเปนผูจัดหาขนาดกลางและผูจัดหาขนาดยอย อาจจะมีการนําเสนอราคา

วัตถุดิบท่ีถูกลง โดยอินเทอรเน็ตยังชวยลดกระบวนการในการใชจาย และเปดโอกาสทางการขาย

ดวยวิธีการใหมๆ เชนจัดใหมีการประมูลในกลุมผูซ้ือท่ีมีความตองการสินคาโดยผานทางระบบ

ออนไลน

ประหยัดเวลา

ธุรกิจสามารถท่ีจะรับและสงการส่ังซ้ือสินคา ใบแจงหนี้ และใบสงของภายในระยะเวลา

อันส้ัน ถามีการกําหนดการเช่ือมโยงในแบบอิเล็กทรอนิกสกับผูจัดหาและลุกคาเอาไวแลว

การเช่ือมตอแบบอิเล็กทรอนิกสกับผูจัดหา ผูขาย และลูกคาสามารถชวยใหธุรกิจรักษาระดับของ

สินคาคงคลังอยูในระดับต่ําสุด และจะเปนการชวยลดคาใชจายอีกดวย

Page 16: E-commerce415).pdf · 10 บทที่ 2 ทฤษฎีและวรรณกรรมที่เกี่ยวข อง. 2.1 ความรู ทั่วไปเกี่ยวกับพาณิชย

24

การบริการลูกคาใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น

บริษัทท่ีดําเนินธุรกิจในแบบพาณิชยอิเล็กทรอนิกสนั้น จะมีการจัดทําขอมูลท่ีเกี่ยวของกับ

สินคา เทคนิคท่ีนํามาสนับสนุนในการทํางาน และการส่ังซ้ือสินคาใหเปนแบบออนไลน เพ่ือเปน

การประหยัดคาใชจายท่ีจะตองจายใหกับเจาหนาท่ีแผนกลูกคาสัมพันธ ซ่ึงตองคอยตอบคําถามท่ี

ยุงยากและสรางความสัมพันธอันดีกับลูกคา การมีขอมูลขาวสารในแบบออนไลนนั้นจะนําไปสู

ความพอใจสูงสุดท่ีลูกคามีใหกับบริษัทเพราะประทับใจกับความสามารถเขาถึงขอมูลท่ีตองการได

โดยงาย

การลดคาใชจายในการขายและการตลาด

การนําเนินธุรกิจบนอินเตอรเน็ตนั้นสามารถท่ีจะติดตอกับลูกคารายใหมๆ ไดโดยตรงโดย

ไมตองมีการเพ่ิมคาใชจายใดๆ เพราะหนาท่ีขายนั้นไดโอนไปใหกับเครื่องเซิรฟเวอรแลว แทนท่ีจะ

เปนหนาท่ีของรานคาท่ัวไปหรือใชพนักงานขาย การบรรลุผลสําเร็จจากการทําพาณิชย

อิเล็กทรอนิกสนั้นขึ้นกับความสามารถของเซิรฟเวอรท่ีใชในการสอบถามและส่ังซ้ือสินคาเทานั้น

โอกาสใหมๆในการขายสินคา

เราสามารถใชงานระบบเครือขายอินเตอรเน็ตไดทุกๆมุมโลก และสามารถใชไดตลอด 24

ช่ัวโมง ดังนั้นธุรกิจท่ีเปนธุรกิจแบบออนไลนสามารถเขาไปยังตลาดใหมๆ ซ่ึงการคาแบบเกานั้นทํา

ไมไดแมกระท่ังการโฆษณาแคมเปญก็ไมสามารถทําได ดวยการนําเสนอออกมาในรูปแบบ

ออนไลนและการสรางการบรกิารท่ีดสํีาหรบัตลาดของธุรกจิ ผูขายสามารถไดกาํไรจากตลาดใหมๆ

ท้ังท่ีอยูในประเทศตัวเองและจากทุกมุมโลก

2.13 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับฐานขอมูล

ความหมายของระบบฐานขอมูล

ฐานขอมูล คอื ชุดของสารสนเทศท่ีมโีครงสรางสมํ่าเสมอชุดของสารสนเทศใด ๆ

ก็อาจเรียกวาเปนฐานขอมูลได ถึงกระนั้นคําวาฐานขอมูลนี้มักใชอางถึงขอมูลท่ีประมวลผลดวย

คอมพิวเตอร และถูกใชสวนใหญเฉพาะในวิชาการคอมพิวเตอร บางครั้งคํานี้ก็ถูกใชเพ่ืออางถึง

ขอมูลท่ียังมิไดประมวลผลดวยคอมพิวเตอรเชนกัน ในแงของการวางแผนใหขอมูลดังกลาวสามารถ

ประมวลผลดวยคอมพิวเตอรได

อางอิงจาก : (http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%90%E0%B8%B2%E0%B8%99%

E0%B8%82% E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%B9%E0%B8%A5 : 2550)

Page 17: E-commerce415).pdf · 10 บทที่ 2 ทฤษฎีและวรรณกรรมที่เกี่ยวข อง. 2.1 ความรู ทั่วไปเกี่ยวกับพาณิชย

25

ฐานขอมูล ( Database) หมายถึง ชุดของขอมูลท่ีรวมเอาขอมูลท่ีเกี่ยวของกันเปนเรื่องราว

เดียวกันรวมกันเปนกลุมหรือเปนชุดขอมูลเชนฐานขอมูลนิสิต ฐานขอมูลคาและฐานขอมูลวิชาเรียน

เปนตน ซ่ึงขอมูลเหลานี้ไดมาจากการบันทึกขอมูลโดยผูใช หรอืบางขอมูลอาจจะไดมาจากการ

ประมวลผลขอมูลแลวบันทึกขอมูลกลับไปเก็บท่ีตําแหนงท่ีตองการ

ระบบฐานขอมูล ( Database System) ความหมาย คอื ท่ีรวมของฐานขอมูลตาง ๆ หรือท่ี

รวมของขอมูลท้ังหมด ซ่ึงอาจจะไดจากการคาํนวณ หรอืประมวลผลตางๆหรอือาจจะไดจากการ

บันทึกขอมูลโดยผูใช เชน ระบบฐานขอมูลงานทะเบียนนิสิตมหาวิทยาลัยทักษิณ ก็จะรวมเอา

ฐานขอมูลตาง ๆ เชน ฐานขอมูลวิชาเรียน ฐานขอมูลนิสิต ฐานขอมูลอาจารยผูสอน และ ฐานขอมูล

หลักสูตร เปนตน ซ่ึงรวมกันเปนระบบฐานขอมูลของงานทะเบียนนิสิต หรือฐานขอมูลหางรา นตาง

ๆ ก็จะประกอบดวย ฐานขอมูลสินคา ฐานขอมูลลูกคา ฐานขอมูลระบบบัญชี ฐานขอมูลลูกหนี้ และ

ฐานขอมูลตัวแทนจําหนาย เปนตน ดังภาพประกอบตอไปนี้

ภาพที่ 2-1 ตัวอยางระบบฐานขอมูล และฐานขอมูลยอย

จากท่ีกลาวมาขางตน ระบบฐานขอมูลตาง ๆ ตามตวัอยางนัน้ ถาเปนระบบฐานขอมูลท่ีมี

ขนาดใหญมาก ระบบฐานขอมูลขององคกรก็ควรจะประกอบดวยระบบฐานขอมูลยอย ๆ หลาย ๆ

ระบบฐานขอมูล เพ่ือความสะดวกในการปฏิบัติงานและการจัดการ

Page 18: E-commerce415).pdf · 10 บทที่ 2 ทฤษฎีและวรรณกรรมที่เกี่ยวข อง. 2.1 ความรู ทั่วไปเกี่ยวกับพาณิชย

26

ภาพที่ 2-2 ระบบฐานขอมูลงานลงทะเบียน ท่ีประกอบดวยระบบฐานขอมูลยอย ๆ

อางอิงจาก : (http://tsl.tsu.ac.th/file.php/1/courseware/database/lesson1/lesson1_1.htm : 2550)

ความสําคัญของระบบฐานขอมูล

การจัดขอมูลใหเปนระบบฐานขอมูลทําใหขอมูลมีสวนดีกวาการเก็บขอมูลในรูปของ

แฟม ขอมูล เพราะการจัดเก็บขอมูลในระบบฐานขอมูล จะมีสวนท่ีสําคัญกวาการจัดเก็บขอมูลในรูป

ของแฟมขอมูลดังนี ้

2.13.1 ลดการเก็บขอมูลท่ีซํ้าซอน ขอมูลบางชุดท่ีอยูในรูปของแฟมขอมูลอาจมี

ปรากฏอยูหลาย ๆ แหง เพราะมีผูใชขอมูลชุดนี้หลายคน เม่ือใชระบบฐานขอมูลแลวจะชวยใหความ

ซํ้าซอนของขอมูลลดนอยลง เชน ขอมูลอยูในแฟมขอมูลของผูใชหลายคน ผูใชแตละคนจะมี

แฟมขอมูลเปนของตนเอง ระบบฐานขอมูลจะลดการซํ้าซอนของขอมูลเหลานี้ใหมากท่ีสุด โดย

จัดเก็บในฐานขอมูลไวท่ีเดียวกัน ผูใชทุกคนท่ีตองการใชขอมูลชุดนี้จะใชโดยผานระบบฐานขอมูล

ทําใหไมเปลืองเนื้อท่ีในการเก็บขอมูลและลดความซํ้าซอนลงได

2.13.2 รักษาความถูกตองของขอมูล เนื่องจากฐานขอมูลมีเพียงฐานขอมูลเดียว ใน

กรณีท่ีมีขอมูลชุดเดียวกันปรากฏอยูหลายแหงในฐานขอมูล ขอมูลเหลานี้จะตองตรงกัน ถามีการ

แกไขขอมูลนี้ทุก ๆแหงท่ีขอมูลปรากฏอยูจะแกไขใหถูกตองตามกันหมดโดยอัตโนมัติดวยระบบ

จัดการฐานขอมูล

2.13.3 การปองกันและรักษาความปลอดภัยใหกับขอมูลทําไดอยางสะดวก การ

ปองกันและรักษาความปลอดภัยกับขอมูลระบบฐานขอมูลจะใหเฉพาะผูท่ีเกี่ยวของเทานั้นจึงจะมี

สิทธ์ิเขาไปใชฐานขอมูลไดเรียกวามีสิทธิสวนบุคคล (privacy) ซ่ึงกอใหเกิดความปลอดภัย ของ

ขอมูลดวย ฉะนั้นผูใดจะมีสิทธ์ิท่ีจะเขาถึงขอมูลไดจะตองมีการกําหนดสิทธ์ิกันไวกอนและเมื่อเขา

ไปใชขอมูลนั้น ๆ ผูใชจะเห็นขอมูลท่ีถูกเก็บไวในฐานขอมูลในรูปแบบท่ีผูใชออกแบบไว

Page 19: E-commerce415).pdf · 10 บทที่ 2 ทฤษฎีและวรรณกรรมที่เกี่ยวข อง. 2.1 ความรู ทั่วไปเกี่ยวกับพาณิชย

27

ตัวอยางเชน ผูใชสรางตารางขอมูลขึ้นมาและเก็บลงในระบบฐานขอมูล ระบบจดัการ

ฐานขอมูลจะเก็บขอมูลเหลานี้ลงในอุปกรณเก็บขอมูลในรูปแบบของระบบจัดการฐานขอมูลซ่ึงอาจ

เก็บขอมูลเหลานี้ลงในแผนจานบันทึกแมเหล็กเปนระเบียน บล็อกหรืออ่ืน ๆ ผูใชไมจําเปนตองรับรู

วาโครงสรางของแฟมขอมูลนั้นเปนอยางไร ปลอยใหเปนหนาท่ีของระบบจัดการฐานขอมูล

ดังนั้นถาผูใชเปล่ียนแปลงลักษณะการเก็บขอมูล เชน เปล่ียนแปลงรปูแบบของตารางเสียใหม ผูใชก็

ไมตองกังวลวาขอมูลของเขาจะถูกเก็บลงในแผนจานบันทึกแมเหล็กในลักษณะใด ระบบการจดัการ

ฐานขอมูลจะจัดการใหท้ังหมด ในทํานองเดียวกันถาผูออกแบบระบบฐานขอมูลเปล่ียนวิธีการเก็บ

ขอมูลลงบนอุปกรณจัดเก็บขอมูล ผูใชก็ไมตองแกไขฐานขอมูลท่ีเขาออกแบบไวแลว ระบบการ

จัดการฐานขอมูลจะจัดการให ลักษณะเชนนี้เรียกวา ความไมเกี่ยวของกันของขอมูล

2.13.4 สามารถใชขอมูลรวมกันได เนื่องจากในระบบฐานขอมูลจะเปนท่ีเก็บ

รวบรวมขอมูลทุกอยางไว ผูใชแตละคนจึงสามารถท่ีจะใชขอมูลในระบบไดทุกขอมูล ซ่ึงถาขอมูล

ไมไดถูกจัดใหเปนระบบฐานขอมูลแลว ผูใชก็จะใชไดเพียงขอมูลของตนเองเทานั้น เชน ขอมูลของ

ระบบเงินเดือน ขอมูลของระบบงานบุคคลถูกจัดไวในระบบแฟมขอมูลผูใชท่ีใชขอมูลระบบ

เงินเดอืน จะใชขอมูลไดระบบเดียว แตถาขอมูลท้ัง 2 ถูกเก็บไวเปนฐานขอมูลซ่ึงถูกเก็บไวในท่ีท่ี

เดียวกัน ผูใชท้ัง 2 ระบบก็จะสามารถเรียกใชฐานขอมูลเดียวกันได ไมเพียงแตขอมูลเทานั้นสําหรับ

โปรแกรมตาง ๆ ถาเก็บไวในฐานขอมูลก็จะสามารถใชรวมกันได

2.13.5 มีความเปนอิสระของขอมูล เม่ือผูใชตองการเปล่ียนแปลงขอมูลหรือนําขอมูล

มาประยุกตใชใหเหมาะสมกับโปรแกรมท่ีเขียนขึ้นมา จะสามารถสรางขอมูลนั้นขึ้นมาใชใหมได

โดยไมมีผลกระทบตอระบบฐานขอมูล เพราะขอมูลท่ีผูใชนํามาประยุกตใชใหมนั้นจะไมกระทบตอ

โครงสรางท่ีแทจริงของการจัดเก็บขอมูล นั่นคือ การใชระบบฐานขอมูลจะทําใหเกิดความเปนอิสระ

ระหวางการจัดเก็บขอมูลและการประยุกตใช

2.13.6 สามารถขยายงานไดงาย เม่ือตองการจัดเพ่ิมเติมขอมูลท่ีเกี่ยวของจะสามารถ

เพ่ิมไดอยางงายไมซับซอนเนื่องจากมีความเปนอิสระของขอมูลจึงไมมีผลกระทบตอขอมูลเดิม

2.13.7 ทําใหขอมูลบูรณะกลับสูสภาพปกติไดเร็วและมีมาตรฐาน เนือ่งจากการ

จัดพิมพขอมูลในระบบท่ีไมไดใชฐานขอมูล ผูเขียนโปรแกรมแตละคนมีแฟมขอมูลของตนเอง

เฉพาะ ฉะนั้นแตละคนจึงตางก็สรางระบบการบูรณะขอมูลใหกลับสูสภาพปกติในกรณีท่ีขอมูล

เสียหายดวยตนเองและดวยวิธีการของตนเอง จึงขาดประสิทธิภาพและมาตรฐาน แตเม่ือมาเปน

ระบบฐานขอมูลแลว การบูรณะขอมูลใหกลับคืนสูสภาพปกติจะมีโปรแกรมชุดเดียวและมีผูดูแล

เพียงคนเดียวท่ีดูแลท้ังระบบ ซ่ึงยอมตองมีประสิทธิภาพและเปนมาตรฐานเดียวกันแนนอน

Page 20: E-commerce415).pdf · 10 บทที่ 2 ทฤษฎีและวรรณกรรมที่เกี่ยวข อง. 2.1 ความรู ทั่วไปเกี่ยวกับพาณิชย

28

2.14 ฐานขอมูลเชิงสัมพันธ (Relational Database)

เปนการเกบ็ขอมูลในรปูแบบท่ีเปนตาราง (Table) หรือเรียกวา รีเลช่ัน (Relation) มี

ลักษณะเปน 2 มิติ คือเปนแถว (row) และเปนคอลัมน (column) การเช่ือมโยงขอมูลระหวางตาราง

จะเช่ือมโยงโดยใชแอททริบิวต (attribute) หรือคอลัมนท่ีเหมือนกันท้ังสองตารางเปนตัวเช่ือมโยง

ขอมูล ฐานขอมูลเชิงสัมพันธนี้จะเปนรูปแบบของฐานขอมูลท่ีนิยมใชในปจจุบัน ดังตัวอยาง

ภาพที่ 2-3 แสดงการใชศัพทท่ีใชเรียกในตารางฐานขอมูล

ID Name LastName Address City Gender Age Year

1 Supap Wanawan 69/34 M.4 Soi.3 Samutprakran Male 18 1990

2 Sumalee Muangjan 69/34 M.4 Soi.3 Samutprakran Female 40 1968

3 Jame Osbon 40/8 Regard Rd., Banglumpoo Male 20 1992

4 Ola Hansen Timoteivn 10 Sandnes Male 20 1992

5 Kari Pettersen Storgt 20 Stavanger Female 30 1978

6 Naomi Seea 446 Bunland StellSon Female 19 1989

7 Hatari Mee O Street Sandnes Male 24 1984

อางอิงจาก : (http://www.chandra.ac.th/office/ict/document/it/it04/page01.html : 2550)

ตารางที่ 2-4 แสดงฐานขอมูลตัวอยาง

Page 21: E-commerce415).pdf · 10 บทที่ 2 ทฤษฎีและวรรณกรรมที่เกี่ยวข อง. 2.1 ความรู ทั่วไปเกี่ยวกับพาณิชย

29

2.14.1 แถว (Row) ของขอมูล ( body) แถวขอมูล 1 แถว (body) หมายถึงขอมูล 1 รายการ ซ่ึงแต

ละแถวของ Relation เรียกวา “Tuple” Tuple คือ แถวขอมูลในตาราง โดยแตละแถวของ

ขอมูลจะประกอบไปดวยหลาย Attribute หรือคอลัมนของขอมูล จํานวนแถวขอมูลใน

ตารางเราเรยีกวา Cardinality และจํานวน attributes ท้ังหมดในตารางเราเรยีกวา Degree

2.14.2 สดมภ (Column) แตละสดมภของ Relation ไดแกคุณลักษณะของขอมูลในแตละแถวซ่ึง

เราเรียกวา “Attribute” เชน ตัวอยาง relation S สําหรับเก็บรายละเอียดของ suppliers

ประกอบดวย รหัส ช่ือ สถานะ และเมือง ซ่ึง relation ดังกลาวจะประกอบไปดวย 5 tuples

โดยแตละ tuples ประกอบไปดวย 4 attribute โดยภายในคอลัมนจะประกอบดวย

คียหลัก (Primary key) เปน attribute หรือกลุมของ attribute ท่ีบงบอกวาขอมูลจะตองไมซํ้ากัน

ในแตละแถวขอมูลของตาราง

2.15 ลักษณะเดนและขอจํากัดของการจัดการฐานขอมูลแบบสัมพันธ

2.15.1 ลักษณะเดน

2.15.1.1 เหมาะกับงานท่ีเลือกดูขอมูลแบบมีเง่ือนไขหลายคียฟลดขอมูล

2.15.1.2 ปองกันขอมูลถูกทําลายหรือแกไขไดด ีเนื่องจากโครงสรางแบบสัมพันธนี้ผูใช

จะไมทราบวาการเก็บขอมูลในฐานขอมูลอยางแทจริงเปนอยางไร จงึสามารถ

ปองกันขอมูลถูกทําลายหรือถูกแกไขไดด ี

2.15.1.3 การเลือกดูขอมูลทําไดงาย มีความซับซอนของขอมูลระหวางแฟมตาง ๆ นอย

มาก อาจมีการฝกฝนเพียงเล็กนอยกส็ามารถใชทํางานได

2.15.2 ขอจํากัด

2.15.2.1 มีการแกไขปรับปรุงแฟมขอมูลไดยากเพราะผูใชจะไมทราบการเก็บขอมูลใน

ฐานขอมูลอยางแทจริงเปนอยางไร

2.15.2.2 มีคาใชจายของระบบสูงมากเพราะเม่ือมีการประมวลผลคือ การอาน เพ่ิมเติม

ปรับปรุงหรือยกเลิกระบบจะตองทําการสรางตารางขึ้นมาใหม ท้ังท่ีใน

แฟมขอมูลท่ีแทจริงอาจจะมีการเปล่ียนแปลงเพียงเล็กนอย แตตองมาปรับแตง

ตารางใหมใหผูใชแฟมขอมูลนั้นถูกใชในรูปของตารางท่ีดูงายสําหรับผูใช

อางอิงจาก :(http://www.thaicyberu.go.th/OfficialTCU/main/ 2543_09_

DatabaseSystem/public_html/ lesson01/ms4t3.htm)

Page 22: E-commerce415).pdf · 10 บทที่ 2 ทฤษฎีและวรรณกรรมที่เกี่ยวข อง. 2.1 ความรู ทั่วไปเกี่ยวกับพาณิชย

30

2.16 องคประกอบฐานขอมูล ประกอบดวย 5 สวนดังนี ้

2.16.1 ฮารดแวร (Hardware) ในระบบฐานขอมูลท่ีมีประสิทธิภาพควรมีฮารดแวรตาง ๆ ท่ี

พรอมจะอํานวยความสะดวกในการบริหารฐานขอมูลไดอยางมีประสิทธิภาพ

2.16.2 โปรแกรม (Program) ในการประมวลผลฐานขอมูลนั้น ตองใชงานหลายรูปแบบ จึง

จําเปนจะตองมีโปรแกรมท่ีทําหนาท่ีตาง ๆ ได เชน ควบคุมดูแลฐานขอมูล สราง

ฐานขอมูล สรางรายงาน จดัการรายงาน เปนตน เรยีกวา ระบบจดัการฐานขอมูล

(Database Management : DBMS) โดยโปรแกรมเหลานี้ทําหนาท่ีจัดการฐานขอมูลและ

เปนส่ือกลางระหวางผูใชและโปรแกรมประยุกตตาง ๆ ฉะนั้น ระบบจัดการฐานขอมูล

จึงมีหนาท่ีดังนี ้

2.16.2.1 กาํหนด และเกบ็โครงสรางฐานขอมูล (Define and Store Database Structure)

2.16.2.2 การบรรจุขอมูลจากฐานขอมูล (Load Database)

2.16.2.3 เก็บและดูแลขอมูล (Store and Maintain Data)

2.16.2.4 ประสานงานกบัระบบปฏิบตักิาร (Operating System)

2.16.2.5 ชวยควบคมุความปลอดภยั (Security Control)

2.16.2.6 การจัดทําขอมูลสํารองและการกู (Backup and Recovery)

2.16.2.7 ควบคุมการใชขอมูลพรอมกันของผูใชในระบบ (Concurrency Control)

2.16.2.8 ควบคมุความบูรณภาพของขอมูล (Integrity Control)

2.16.2.9 ทําหนาท่ีจัดทําพจนานุกรมขอมูล (data Dictionary)

2.16.3 ขอมูล (Data) ฐานขอมูลเปนการเก็บรวบรวมขอมูลใหเปนศูนยกลางขอมูลอยางมีระบบ

ซ่ึงขอมูลเหลานี้สามารถเรียกใชรวมกันได

2.16.4 บุคลากร (People) มีดังนี ้

2.16.4.1 ผูใชท่ัวไป (User)

2.16.4.2 พนกังานปฏิบัตกิาร (Operator)

2.16.4.3 นักวิเคราะหและออกแบบระบบ (System Analyst)

2.16.4.4 ผูเขียนโปรแกรมประยุกตใชงาน (Programmer)

2.16.4.5 ผูบริหารฐานขอมูล (Database Administrator : DBA)

2.16.5 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน (Procedures) ควรมีการจัดทําเอกสารท่ีระบุขั้นตอนการทํางาน

ของหนาท่ีงานตาง ๆ ไว ซ่ึงจะชวยในการทํางานและแกปญหา

อางอิงจาก : (http://wanchai.hi.ac.th/3204-2116/DBPR1.htm : 2550)

Page 23: E-commerce415).pdf · 10 บทที่ 2 ทฤษฎีและวรรณกรรมที่เกี่ยวข อง. 2.1 ความรู ทั่วไปเกี่ยวกับพาณิชย

31

2.17 Entity-Relationship Model (E-R Model)

เปนแบบจําลองขอมูลท่ีไดรับการประยุกตมาจาก แนวคิดของ Semantic โมเดล และไดรับ

ความนิยมอยางมากสําหรับนํามาใชเพ่ือการออกแบบฐานขอมูลในระดับแนวคิด โดย E-R Model

เปนผลงานการพัฒนาของ Peter Pin Shan Chen จาก Massachusetts Institute of Technology ในป

ค.ศ.1976 E-R Model เปนแบบจําลองขอมูลซ่ึงแสดงถึงโครงสรางของฐานขอมูลท่ีเปนอิสระจาก

ซอฟตแวรท่ีจะใชในการพัฒนาฐานขอมูล รวมท้ังรายละเอียดและความสัมพันธระหวางขอมูลใน

ระบบในลักษณะท่ีเปนภาพรวม ทําใหเปนประโยชนอยางมากตอการรวบรวม และวิเคราะหราย

ละเอียด ตลอดจนความสัมพันธของขอมูลตาง ๆ โดย E-R Model มีการใชสัญลักษณตาง ๆท่ีเรียกวา

Entity Relationship Diagram หรอื E-R Diagram แทนรปูแบบของขอมูลเชิงตรรกะขององคกร จึง

ทําใหบุคลากรท่ีเกี่ยวของกับระบบฐานขอมูลสามารถเขาใจลักษณะของขอมูลและความสัมพันธ

ระหวางขอมูลไดงายและถูกตองตรงกบัระบบท่ีไดรับ การออกแบบจึงมีความถูกตองและสอด คลอง

กับวัตถุประสงคขององคกร อางอิงจาก: (http://www.srisangworn.go.th/home/databaselearnx

/ms1t2-1.htm : 2550)

2.17.1 คําศัพทพ้ืนฐานแบบจําลองความสัมพันธระหวางขอมูล (Model)

2.17.1.1 Entity Set คือ กลุมของความสัมพันธภายในกลุมของ Entity เดียวกัน เชน

Entity Set ของนักเรียน นอกจากนั้นยังประกอบดวย Entity อาจารย ,

Entity วิชา ประกอบในระบบดวย ซ่ึงมี 2 ประเภทคอื

2.17.1.1.1 Strong Entity Set คอื Entity Set ใด ๆ ท่ีม ีAttribute ภายใน

เพียงพอท่ีจะสามารถทําหนาท่ีเปน Primary Key ได

2.17.1.1.2 Weak Entity Set คอื Entity Set ท่ีมีลักษณะตรงกันขามกับ

Strong Entity Set คอื กลุมของ Entity Set ใด ๆ ท่ี Attribute

ภายในท้ังหมด แมจะรวมกันแลวยังไมสามารถทําหนาท่ีเปน

Primary Key ใหกับ Entity Set

2.17.1.2 Relationship Set คอื กลุมของ Relationship ท่ีมีความสัมพันธและอยูใน

ประเภทเดียวกันมารวมเขาดวยกัน

2.17.1.3 Primary Key มีคุณสมบัติดังนี ้

2.17.1.3.1 ขอมูลของคอลัมนทุก ๆแถวของตารางจะตองไมมีขอมูลซํ้ากันเลย

2.17.1.3.2 ตองประกอบไปดวย Attribute ท่ีนอยท่ีสด ท่ีสามารถในการ

อางอิงถึงขอมูลใน Tuple ใด Tuple หนึง่ได

Page 24: E-commerce415).pdf · 10 บทที่ 2 ทฤษฎีและวรรณกรรมที่เกี่ยวข อง. 2.1 ความรู ทั่วไปเกี่ยวกับพาณิชย

32

2.17.1.4 Existence Dependency คอื เหตกุารณท่ี Entity จะเกิดขึ้นไดและคงอยูได

ตองขึ้นอยูกับการมีหรือเกิดขึ้นของอีก Entity เชน Entity รายการฝาก-ถอน

จะเกิดขึ้นไดก็ตอเม่ือมี Entity ลูกคา

สัญลักษณที่ใชแสดงแผนภาพ E-R Diagram (Symbols in E-R Diagram)

Strong Entity Set

Weak Entity Set

Relationship Set

Attribute

Key Attribute

Connection

ภาพที่ 2-5 แสดงสัญลักษณท่ีใชแสดงแผนภาพ E-R Diagram (Symbols in E-R Diagram)

อางอิงจาก : (http://wanchai.hi.ac.th/3204-2116/DBPR3.htm : 2550)

ลักษณะความสัมพันธของแบบจําลอง E-R Diagram

ความสัมพันธแบบหนึ่งตอหนึ่ง หมายถึง ความสัมพันธท่ีแตละสมาชิกในเอนทิตี้หนึ่งมี

ความสัมพันธกับสมาชิกในอีกหนึ่งเอนทิตี้เพียงสมาชิกเดียว หรือกลาวไดวา ความสัมพันธ

ดังกลาวเปนแบบหนึ่งตอหนึ่ง เชน เอนทิตี้อาจารยและเอนทิตี้คณะ มีความสัมพันธกันแบบหนึ่งตอ

หนึ่ง กลาวคือ แตละคณะมีคณบดีเพียงหนึ่งคนเทานั้น และมีอาจารยเพียงหนึ่งคนเทานั้นท่ีเปน

คณบดี เปนตน

Page 25: E-commerce415).pdf · 10 บทที่ 2 ทฤษฎีและวรรณกรรมที่เกี่ยวข อง. 2.1 ความรู ทั่วไปเกี่ยวกับพาณิชย

33

ภาพที่ 2-6 ความสัมพันธแบบหนึ่งตอหนึ่ง

ความสัมพันธแบบหนึ่งตอกลุม หมายถึง ความสัมพันธท่ีแตละสมาชิกในเอนทิตี้หนึ่งมี

ความสัมพันธกับสมาชิกในอีกหนึ่งเอนทิตี้มากกวาหนึ่งสมาชิก หรือกลาวไดวา ความสัมพันธ

ดังกลาวเปนแบบหนึ่งตอกลุม เชน เอนทิตี้คณะและเอนทิตี้นักศึกษามีความสัมพันธกันแบบหนึ่งตอ

กลุม กลาวคือ นักศึกษาแตละคนมีสังกัดเพียงคณะเดียว และหนึ่งคณะอาจมีนักศึกษาในสังกัดได

หลายคน

ภาพที่ 2-24 ความสัมพันธแบบหนึ่งตอกลุม

ความสัมพันธแบบกลุมตอกลุม หมายถึง ความสัมพันธท่ีสมาชิกมากกวาหนึ่งสมาชิกใน

เอนทิตี้หนึ่งมีความสัมพันธกับสมาชิกในอีกหนึ่งเอนทิตี้มากกวาหนึ่งสมาชิก หรือกลาวไดวา

ความสัมพันธ ดังกลาวเปนแบบกลุมตอกลุม เชน เอนทิตี้นักศึกษาและเอนทิตี้ชุดวิชามีความสัมพันธ

กันแบบกลุมตอกลุม กลาวคือ นักศึกษาแตละคนสามารถลงทะเบียนเรียนไดหลายชุดวิชา และแตละ

ชุดวิชาสามารถมีนักศึกษาลงทะเบียนเรียนไดหลายคน

ภาพที่ 2-25 ความสัมพันธแบบกลุมตอกลุม

2.18 พจนานุกรมขอมูล (Data Dictionary)

พจนานุกรมขอมูลเปนเครื่องมือท่ีชวยในการจัดเก็บรายละเอียดตาง ๆเกี่ยวกับขอมูลให

เปนหมวดหมู ทําใหสามารถคนหารายละเอียดท่ีตองการไดโดยสะดวก ตัวอยางเชน ผูใชอาจเก็บ

ขอมูลเกี่ยวกับรายงานตาง ๆ ไวภายในหมวดรายการช่ือ “Report” เปนตน ท้ังนี ้วัตถุประสงคของ

การจัดเก็บรายละเอียดเกี่ยวกับขอมูลใหเปนหมวดหมูในพจนานุกรมขอมูล คอื เพ่ือใหสามารถ

อธิบายความหมายของขอมูลตาง ๆ แกผูใชงานไดอยางถูกตองและเปนมาตรฐานเดียวกันท้ัง

หนวยงาน

Page 26: E-commerce415).pdf · 10 บทที่ 2 ทฤษฎีและวรรณกรรมที่เกี่ยวข อง. 2.1 ความรู ทั่วไปเกี่ยวกับพาณิชย

34

พจนานุกรมขอมูล หมายถึง แฟมท่ีเก็บบันทึกรายละเอียดตาง ๆเกี่ยวกับขอมูลท่ีจัดเก็บอยู

ภายในฐานขอมูล ตัวอยางเชน โครงสรางขอมูล โครงสรางตาราง โครงสรางดชัน ีกฎท่ีใชเพ่ือ

ควบคมุความบูรณภาพของขอมูล ( integrity rule) กฎท่ีใชเพ่ือรักษาความปลอดภัยของขอมูล

(security rule) และ รายละเอียดอ่ืน ๆ ท่ีเกี่ยวของกับการบริหารฐานขอมูล เปนตน ซ่ึงขอมูลดังกลาว

เปนขอมูลท่ีมีความสําคัญสําหรับระบบจัดการฐานขอมูลในการตัดสินใจเพ่ือดําเนินการเรื่องตาง ๆ

ในฐานขอมูล ตัวอยางเชน ขอมูลเกี่ยวกับกฎท่ีใชเพ่ือรักษาความปลอดภัยของขอมูลจะถูกนํามาใช

ในการพิจารณากําหนดสิทธิของผูใชในระบบฐานขอมูล เปนตน

พจนานุกรมขอมูลเปนเอกสารอางอิงลักษณะหนึ่งท่ีมีความสําคัญยิ่งตอการจัดการกับ

ขอมูลในระบบฐานขอมูล เนื่องจากพจนานุกรมขอมูลเปนการผสมผสานระหวางรูปแบบของ

พจนานกุรมโดยท่ัวไปกบัรปูแบบของขอมูลในระบบงานคอมพิวเตอร เพ่ือทําการอธิบายชนิดของ

ขอมูลแตละตัววา เปนตัวเลข ( number หรอื numeric) ตัวอักขระ ( character) ขอความ ( text) หรอื

วันท่ี (date หรอื date/time) เปนตน ท้ังนี้เพ่ือตอบสนองตอความตองการในการอางอิงหรือคนหา

รายละเอียดเกี่ยวกับขอมูลท้ังหมด ตลอดจน ความหมายของแตละช่ือท่ีใชในระบบฐานขอมูล

รายละเอียดพ้ืนฐานท่ัวไปท่ีพจนานุกรมขอมูลควรมีประกอบดวย 5 สวน คือ ช่ือขอมูล

(name and aliases of the data item) คําอธิบายช่ือขอมูล (description of the data item) ชนิดของ

ขอมูล (data type) ขนาดของขอมูล (length of item) และรายละเอียดอ่ืน ๆ (other additional

information)

2.18.1 ช่ือขอมูล ในพจนานุกรมขอมูลจะประกอบดวยช่ือขอมูล ซ่ึงโดยท่ัวไปจะถูกเรียกใชดวย

ซอฟตแวรในสวนตาง ๆ ของระบบจดัการฐานขอมูล หากขอมูลเดียวกันมีช่ือแตกตาง

กันไปในแตละโปรแกรม พจนานุกรมขอมูลก็จะตองระบุช่ือท่ีตางกันของขอมูลนั้น ๆ

ไวดวย เพ่ือใหสามารถอางอิงไดวาหมายถึงขอมูลเดียวกัน

2.18.2 คําอธิบายช่ือขอมูล ในแตละช่ือขอมูลควรมีคําอธิบายแสดงความหมายเพ่ือขยายความ

ช่ือขอมูลนั้น ๆ เพ่ือใหผูใชสามารถทําความเขาใจไดงายและสะดวก เนือ่งจากในบาง

ซอฟตแวรอาจมีขอจํากัดในเรื่องจํานวนตัวอักขระท่ีใชในการกําหนดช่ือขอมูล ดังนั้น

การอธิบายขยายความช่ือขอมูลจึงเปนส่ิงสําคัญยิ่งสําหรับนักวิเคราะหระบบท่ีจะตอง

ดําเนินการจัดทําใหชัดเจน

2.18.3 ชนิดของขอมูล ในพจนานุกรมขอมูล แตละช่ือขอมูลควรมีการกําหนดอยางชัดเจนวา

ขอมูลนั้น ๆ มีรูปแบบชนิดใด ตัวอยางเชน เปนตัวอักขระ ขอความ ตัวเลข หรือตรรกะ

(logic หรอื boolean)

Page 27: E-commerce415).pdf · 10 บทที่ 2 ทฤษฎีและวรรณกรรมที่เกี่ยวข อง. 2.1 ความรู ทั่วไปเกี่ยวกับพาณิชย

35

2.18.4 ขนาดของขอมูล หมายถึง ขนาดหรอืความยาวสูงสุด (maximum length) ท่ีช่ือขอมูลนั้น

จะสามารถจัดเก็บได

2.18.5 รายละเอียดอ่ืน ๆ ในพจนานุกรมขอมูลอาจมีรูปแบบและรายละเอียดอ่ืน ๆท่ีเพ่ิมเติม

แตกตางกันออกไปตามความเหมาะสมและความเห็นของนักวิเคราะหระบบ

ตัวอยางเชน รายละเอียดของรีเลชันหรือตาราง อาจประกอบดวยช่ือตาราง

ช่ือแอททริบิวตหรือเขตขอมูลช่ือแอททริบิวตท่ีเปนคียหลัก คียสํารอง และคียนอก

ตลอดจนขอจํากัดตาง ๆ เปนตน

อางอิง(http://www.thaicyberu.go.th/OfficialTCU/main/2543_09_DatabaseSystem/public_

html / lesson05/ms1t1.htm: 2550)

2.19รูปแบบบรรทัดฐานของรีเลชั่น (Normalization)

เปนกระบวนการท่ีนําเอาเคารางของรีเลช่ันท่ีมีอยูแลวมาทําใหอยูในรปูแบบท่ีเป นบรรทัด

ฐาน(Normal Form) เพ่ือใหแนใจวา การออกแบบเคารางของรีเลช่ันท่ีทําอยู นั้น เป นการออกแบบท่ี

เหมาะเทาท่ีจะทําได วัตถุประสงคของการทํารีเลช่ันใหอยูในรปูแบบท่ีเปนบรรทัดฐาน คือ

2.19.1 เพ่ือลดเนื้อท่ีท่ีใชในการจัดเก็บขอมูลในฐานขอมูล ดวยการลดความซํ้าซ อน ของข อมูล

ในแตละรีเลช่ันซ่ึงจะชวยลดเนื้อท่ีในการจัดเก็บขอมูลและยังลดความซํ้าซอนของขอมูล

2.19.2 เพ่ือลดปญหาท่ีขอมูลไมถูกตอง (Inconsistency) ขอมูลท่ีมีอยูในรีเลช่ันหนึ่งจะเก็บขอ-

มูลไมซํ้ากัน และเม่ือมีการแกไขขอมูลก็จะทําการแกไขขอมูลของทูเพิลนั้น ๆ เพียงครั้ง

เดียว ทําใหโอกาสท่ีจะเกดิความผิดพลาดในการแกไขขอมูลไมครบถวนทุก ๆ ทูเพิลก็

จะไมเกิดขึ้นดวย

2.19.3 เพ่ือลดปญหาท่ีอาจจะเกิดขึ้นจากการเพ่ิม แกไข และลบขอมูล ในการทํารีเลช่ันใหอยูใน

รปูแบบบรรทัดฐานจะชวยแกปญหาท่ีอาจจะเกิดขึ้นจากการแกไขขอมูลไมครบ หรอืมี

ขอมูลบางขอมูลหายไปจากฐานขอมูล หรือการเพ่ิมขอมูลท่ีไมถูกตองไมครบถวน

Page 28: E-commerce415).pdf · 10 บทที่ 2 ทฤษฎีและวรรณกรรมที่เกี่ยวข อง. 2.1 ความรู ทั่วไปเกี่ยวกับพาณิชย

36

2.20 รูปแบบบรรทดัฐาน ( NormalForm )

ในการทํา Normalization นี้ เป นหลักสําคญัของการออกแบบฐานข อมูล (Database

Design) หรือท่ีเรียกวา Logical Database Design นัน่เอง ซ่ึงการทํา Normalization ก็คือ วิธีการท่ีจะ

บอกใหทราบวา รีเลช่ันท่ีออกแบบนั้น ๆ จะมีปญหาเกิดขึ้นหรือไม และถามีปญหาเกิดขึ้นจะทําการ

แกไขท่ีเกิดขึ้นอยางไร ซ่ึง Normalization เองเป นเครื่องมือท่ีจะช วยใหการออกแบบฐานข อมูลใน

ลักษณะเปนConceptual Schema Design ไดโดยท่ีจะจัดกา รปญหาเกิดขึ้นน อยท่ีสุด หรืออาจจะไม

มีปญหาเลยก็ได การทํานอรมัลไลซแบงออกเปนระดับตางๆดังนี้

2.20.1 รูปแบบนอรมัลระดับท่ี 1 ( First Normal Form : 1 NF ) เปนรูปแบบท่ีไมมีกลุมขอมูล

ซํ้าๆกันอยูในตารางกลาวคือ ในแตละแถวของตารางจะตองไมซํ้ากัน

2.20.2 รูปแบบนอรมัลระดับท่ี 2 ( Second Normal Form : 2NF ) มีคุณสมบัติของ 1NF และ

แอตทริบิวท จะตองไมขึ้นกับเพียงสวนใดสวนหนึ่งของคียหลัก แตจะตองขึ้นกับคีย

หลักทุกตัว ในกรณีท่ีในตารางนั้นมีแอทริบิวทท่ีทําหนาท่ีเปนคียหลักมากกวา 1 แอ

ตทรบิวิท

2.20.3 รปูแบบนอรมลัของบอยซ -คอดด ( Boyce-Codd Normal Form : BCNF ) มีคณุสมบัติ

ของ 3NF และแอตทริบิวทท่ีทําหนาท่ีเปนตัวอางอิงไปยังแอตทริบิวตอ่ืนในตาราง

เดียวกันตองเปนคียหลักเทานั้น

2.20.4 รูปแบบนอรมัลระดับท่ี 3 ( Third Normal Form : 3NF ) มีคุณสมบัติของ 2NF และตอง

ไมมี แอตทริบิวทใดขึ้นกับแอตทริบิวทดวยกันเอง

2.20.5 รูปแบบนอรมัลระดับท่ี 4 ( Forth Normal Form : 4NF ) มีคุณสมบัติของ BCNF และ

ไมปรากฏความสัมพันธระหวางแอตทรบิวิทในแบบ Multi-value Dependency

กลาวคอื Determinant ตัวหนึ่งๆ จะตองไมแสดงคาของแอตทริบิวทท่ีทําหนาท่ีเปน

Dependency ไดมากกวา 1 คาในหลายๆแอตทริบิวต

2.20.6 รูปแบบนอรมัลระดับท่ี 5 ( Fifth Normal Form : 5NF ) มีคุณสมบัติของ 4NF และมี

คุณสมบัติของการนําตารางยอยท่ีเกิดจากการแตกตารางเดิมมารวมกันแลวไดขอมูล

เชนเดียวกับตารางเดิม

อางอิงจาก : (www.cvs.buu.ac.th/~cs474428/SE_DOC/document/chapter_2.doc : 2550)

Page 29: E-commerce415).pdf · 10 บทที่ 2 ทฤษฎีและวรรณกรรมที่เกี่ยวข อง. 2.1 ความรู ทั่วไปเกี่ยวกับพาณิชย

37

ภาษา PHP

PHP ยอ มาจากคาํ วา “ Personal Home Page Tool ” เปนภาษาคอมพิวเตอรในลักษณะ

Sever side script โดยลิขสิทธ์ิอยูในลักษณะโอเพนซอรส ภาษา PHPใชสําหรับจัดทําเว็บไซตและ

แสดงผลออกมาในรปูแบบ HTML โดยมีรากฐานโครงสรางคาํส่ังมาจากภาษา ภาษาซีภาษาจาวา

และ ภาษาเพิรล (Perl) ซ่ึง ภาษา PHP นั้นงายตอการเรียนรูซ่ึงเปาหมายหลักของภาษานั้นคือให

นักพัฒนาเว็บไซตสามารถเขียน web page ท่ีมีความตอบโตไดอยางรวดเร็ว

MySql (My Structured Query Language)

MySQL อานวา มาย-เอส-คิว-แอล หรอื MY-ESS-QUE-ELL MySQL เปนโปรแกรมบรหิาร

จัดการฐานขอ มูล หรือเรียกวา Database Management System ซ่ึงมักจะใชคํายอเปน DBMS

(ฐานขอมูล กค็อืการรวบรวมเอาขอมูลตางๆ เชน รายการสินคา ขอมูลสินคา เปนตน มาเกบ็เอาไว

สวนการบริหารจดัการฐานขอมูล ก็คือ การจัดเก็บ การเรียกคน การเพ่ิมเตมิ การแกไข หรอืการ

ทําลายขอมูล โดยในท่ีนี้ MySQL ก็คือโปรแกรมท่ีจะทําหนาท่ีบริหารจัดการฐานขอมูลนัน่เอง )

MySQL ทํางานในลักษณะฐานขอมูลเชิงสัมพันธ (Relational Database Management System :

DBMS) คาํวา ฐานขอมูลเชิงสัมพันธก็คือ ฐานขอมูลท่ีแยกเก็บขอมูลไปเก็บไวในหนวยยอยซ่ึง

เรียกวาตารางขอมูล (table) และขอมูลในตารางก็จะถูกแยกในเขตขอมูล (field) การท่ีเราจะเขาไป

จัดการกบัขอมูลตองอาศัยภาษาคอมพิวเตอรท่ีเรียกกนัวา SQL ซ่ึงยอมาจาก Structured Query

Language ช่ือ MySQL ก็ส่ือใหทราบวามีความเกีย่วของกับภาษา SQL อยูแลวดังนั้น MySQL จงึทํา

งานตามคาํส่ังภาษา SQL ไดอันเปนไปตามมาตรฐานของโปรแกรมทางดานฐานขอมูลในยคุ นี ้

ตองมีความสามารถรองรบัคาํส่ังท่ีเปนภาษา SQL

AppServ 2.5.7

คอืโปรแกรมท่ีรวบรวมเอา Open Source Software หลายๆอยางมารวมกันมี Package หลักคือ

Apache Web Server 2.2.3

Apache พัฒนามาจาก HTTPD Web Server ท่ีมีกลุมผูพัฒนาอยูแลวโดย ร็อบ แม็คคูล

(Rob McCool) ท่ี NCSA (National Center for Supercomputing Application) มหาวิทยาลัย

อิลลินอยสเออรแบนา-แชมเปญจน สหรฐัอเมรกิา แตหลังจากท่ีแม็คคลู ออกจาก NCSA และหันไป

ใหความสนใจกบัโครงการอ่ืนๆมากกวาทําให HTTPD Web Server ถูกปลอยท้ิงไมมีผูพัฒนาตอ แต

เนื่องจากเปนซอฟตแวรท่ีอยูภายใตลิขสิทธ์ิกัน คือ ทุกคนมีสิทธ์ิท่ีจะนาํ เอาซอรสโคด ไปพัฒนาตอ

ได ทําใหมีผูใชกลุมหนึ่งไดพัฒนาโปรแกรมขึ้นมาเพ่ืออุดชองโหวท่ีมีอยูเดมิ (หรอื แพช) และยังได

รวบรวมเอาขอมูลการพัฒนา และการแกไขตางๆ แตขอมูลเหลานีอ้ยูตามท่ีตางๆ ไมไดรวมอยูในท่ีท่ี

เดียวกนัจนในที่สุด ไบอัน บีเลนดอรฟ (Brian Behlendorf) ไดสรางจดหมายกลุม (mailing list)

Page 30: E-commerce415).pdf · 10 บทที่ 2 ทฤษฎีและวรรณกรรมที่เกี่ยวข อง. 2.1 ความรู ทั่วไปเกี่ยวกับพาณิชย

38

ขึ้นมาเพ่ือนาํ เอาขอมูลเหลานี้เขาไวเปนกลุมเดียวกนัเพ่ือใหสามารถเขาถึงขอมูลเหลานี้ไดงายขึ้น

และในท่ีสุด กลุมผูพัฒนาไดเรียกตัวเองวา กลุมอาปาเช (Apache Group) และไดปลอยซอฟตแวร

HTTPD เว็บเซิรฟเวอร ท่ีพัฒนาโดยการนําเอาแพชหลายๆ ตัวท่ีผูใชไดพัฒนาขึ้นเพ่ือปรบัปรงุการ

ทํางานของซอฟตแวรตัวเดิมใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

อางอิงจาก (http://dekcomnet.blogspot.com/2009/11/apache_26.html)

2.12 การขายสง

การขายสง มีความหมายครอบคลุมหลายประเดน็ ไดแก การจาํหนายผลิตภณัฑเพ่ือขาย

ตอ กิจกรรมเกี่ยวกับการจัดจําหนายท่ีซ้ือเพ่ือขายตอซ่ึงมีวัตถุประสงคเพ่ือการขายสงเทานั้น

(Reseller) ซ้ือเพ่ือนําไปใชในสถาบันธุรกิจหรือเพ่ือนําไปใชในอุตสาหกรรม เปนการซ้ือขายครั้งละ

ปรมิาณมากๆ (Large Quantities) ท้ังนี ้ ธุรกจิคาสงมีขนาดตางๆ ดงัตาราง

ตาราง 2 - 2 คาํจาํกดัความของขนาดกจิกรรม/ผูประกอบการ

ขนาดจิ๋ว ขนาดเล็ก ขนาดกลาง

ประเภท

กิจการ

การจาง

งาน

(คน)

สินทรัพย

ถาวร (ไม

รวมท่ีดิน) หรอื

การจาง

งาน

(คน)

สินทรัพย

ถาวร (ไม

รวมท่ีดิน) หรอื

การจาง

งาน

(คน)

สินทรัพย

ถาวร (ไม

รวมท่ีดิน) หรอื

การขายสง ไมเกิน 5

คน

ไมเกิน 10

ลานบาท

ไมเกิน 25

คน แตไม

ต่ํากวา 5

คน

ไมเกิน 50

ลานบาท

แตไมต่ํา

กวา 10 ลาน

บาท

26 - 50 คน เกินกวา 50

ลานบาท

แตไมต่ํา

กวา 100

ลานบาท

ท่ีมา : กรมสงเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม (2548)

บทบาทของการขายสงในปจจบัุน มีขอจาํกดัหลายประการ กลาวคอื โครงสรางการขาย

สง การคาปลีก เปล่ียนไปจากการขยายของธุรกจิคาปกขนาดใหญท่ีสามารถขายในราคาถูก และ

สะดวกในการเขาถึงจากจํานวนสาขาท่ีกระจายหลายสาขา ซ่ึงมีผลตอพฤติกรรมผูซ้ือปริมาณมาก

ในการเคล่ือนยายสินคาจากผูผลิตไปยังผูบริโภคคนสุดทาย พอคาสงนับวามีบทบาท

สําคัญในชองทางการจําหนาย ในระบบการผลิตการจัดจําหนายและการบริโภค ในปจจุบัน ผูผลิต

ยังตองอาศัยคนกลางท่ีทําหนาท่ีกระจายสินคาไปยังผูบริโภคไดอยางท่ัวถึง หรือหากผูผลิตไมมี

ความชํานาญมากพอในการจัดจําหนายสินคาประเภทนั้น ก็จะมีอุปสรรคอยางมากในการกระจาย

Page 31: E-commerce415).pdf · 10 บทที่ 2 ทฤษฎีและวรรณกรรมที่เกี่ยวข อง. 2.1 ความรู ทั่วไปเกี่ยวกับพาณิชย

39

สินคา กลายเปนสินคาขายอยากและไมทํากําไร แตหากคิดวาคนกลางคาสงเปนผูแบงกําไรท่ีผูผลิต

ควรจะไดท้ังหมดไปสวนหนึ่ง แทนท่ีจะเก็บเอากําไรท่ีควรไดเสียท้ังหมด ผูผลิตก็จะไมไดรบความ

สะดวกในการปฏิบัติ อีกท้ังจะมีคาใชจายในการดําเนินงานสูง เนื่องจากกิจการคาปลีกท่ีมีอยู

กระจัดกระจายท่ัวไป อีกประการหนึ่งรูปแบบของชองจัดทําหนายสินคามีความหลากหลายมากขึ้น

ความชํานาญในการเขาถึงชองทางจัดจําหนายเหลานี้อยางมีประสิทธิภาพ ไดแกการกระจายสินคา

อยางท่ัวถึง เจาะตลาดใหม เขาถึงกลุมลูกคาใหม เปนการเพ่ิมศักยภาพการแขงขันใหกับสมาชิก

ชองทางจดัจาํหนาย

2.21.1 ประเภทของกิจการขายสง

ในปจจบัุนธุรกจิการขายสงไดเจรญิรุงเรอืงและขยายตวัออกไปอยางกวางขวาง

เชน ในตลาดสหรฐัอเมรกิา มีกจิการขายสงอยูถึง 416,000 รายมียอดขายเกือบ 2,000 ลานดอลลาร

ผูคาสงเหลานี้ยังแตกตางกันไปตามสิทธการเปนเจาของสินคา ในท่ีนี้จะจําแนกประเภทของกิจการ

การขายสงตามสิทธความเปนเจาของสินคาและกจิการขายสงพิจารณาจากพ้ืนท่ี

2.21.1.1 พอคาสง

2.21.1.2 นายหนาและตัวแทน(Brokers and agent)

ผูคาสงกลุมนี้ไมมีกรรมสิทธในตัวสินคา มีลักษณะสําคัญโดยยอดังนี ้

2.21.1.3 นายหนา (Brokers)

2.21.1.4 ตัวแทนผูผลิต (Manufactures’ agent)

2.21.1.5 พอคาท่ีรับคานายหนา (Commission merchants)

2.21.1.6 สาขาสํานกังานขายสินคา (Sales branches offices and branches)

กิจการขายสงท่ีเปนสาขาของผูผลิต หรือนายหนา (Brokers) ขายสงของผูผลิตซ่ึงไมมีกรรม

สิทธในสินคาท่ีจัดการเพียงแตชวยเหลือเจรจาขายเพ่ือใหมีการโอนกรรมสิทธจากผูขายไปยังผูซ้ือ

เทานั้น ผูคากลุมนี้เปนการดําเนินงานของผูซ้ือหรือผูขายก็ได มีการจําแนกประเภทการขายสงตัวท่ี

เปนแทนคนกลาง ไดแก สํานกังานหรอืสาขาการขายสงของผูผลิต สํานกังานจดัซ้ือ และตวัแทน

นายหนาคาสง ดงันี ้ คอื

2.21.1.7 สาขาสํานกังานขายสินคา (Sales branches and offices)

2.21.1.8 สํานักงานจัดซ้ือ(Purchasing offices)

2.21.1.9 นายหนาคาสง (Wholesaling Agents)

2.21.1.10 ผูคาสงอ่ืน (Miscellaneous wholesalers)

Page 32: E-commerce415).pdf · 10 บทที่ 2 ทฤษฎีและวรรณกรรมที่เกี่ยวข อง. 2.1 ความรู ทั่วไปเกี่ยวกับพาณิชย

40

ผูคาสงประเภทนี้จะมีลักษณะพิเศษแตกตางไปจากผูคาสงท่ีไดกลาวมาแลว เชน

2.21.1.11 ศูนยรวมผลิตผลทางเกษตร (Agricultural assemblers)

2.21.1.12 สถานีบริการน้ํามัน(Petroleum bulk plants and terminals)

2.21.1.13 ขายโดยวิธีการประมูลราคา (Auction companies or action houses

2.21.2 ประเภทการขายสงแบงตามอาณาเขต

2.21.2.1 กิจการสงเสริมระดับทองถ่ิน (Local wholesalers)

2.21.2.2 กิจการขายสงระดับชาติ (National wholesalers)

2.21.2.3 จัดตังสํานักงานสาขาโดยสรางคลังสินคา ณ จังหวัดท่ีเปนศูนยกระจายสินคา

2.21.2.4 เลือกตัวแทนจําหนายโดยเลือกจากผูคาสงระดับทองถ่ินจํานวนนอยรายท่ีมี

ศักยภาพเทานั้นและเสนอกําไรท่ีนาพึงพอใจเพ่ือดึงดูดผูคาสงท่ีมี

ประสิทธิภาพใหเขามารวมดําเนินการ (ดร.ภทัรภร พลพนาธรรม : 2548 :

249-259 )

Page 33: E-commerce415).pdf · 10 บทที่ 2 ทฤษฎีและวรรณกรรมที่เกี่ยวข อง. 2.1 ความรู ทั่วไปเกี่ยวกับพาณิชย

41

2.22 วรรณกรรมทีเ่กีย่วของ

ธนพัต จันดาโชติ (2547 : บทคัดยอ) อภิปรายผลของลักษณะหลักพาณิชยอิเล็กทรอนิกสไว

วาผูขาย เขาถึงผูซ้ือไดกวางขึ้นมีความสัมพันธกับปจจัยท่ีมีผลตอการดําเนินงานดานกระบวนการ

ภายในองคการและการเรยีนรู และพัฒนาและผลการดาํเนนิงานเปนเพราะวาความสามารถการ

เขาถึงผูบริโภคทําไดท่ัวโลกดานการลงทุน ดานเทคโนโลยีเพียงครั้งเดียวก็สามารถเขาถึงผูบริโภค

ไดทุกระดับดวยการเสนอรายละเอียดของขอมูลบนเว็บไซท และมีระบบความปลอดภัยในการชําระ

เงิน ซ่ึงสอดคลองกับงานวิจัยของสิริกุล หอสถิตกุล ท่ีพบวาปจจัยท่ีมีผลตอการตัดสินใจซ้ือและ

บริการแสดงรายละเอียดขอมูลครบถวนของสินคาและบริการดวยรูปภาพ 3 มิติ มีเสียงประกอบ ใน

การนําเสนอท่ีมีระบบสัญญาณท่ีรวดเร็วเพ่ือดึงดูดความสนใจใหผูบริโภค

ปราโมทย ลือนาม ศึกษาเรื่องการศึกษาทัศนคติและพฤติกรรมของผูใชอินเตอรเน็ตในการซ้ือ

สินคาและบริการทางอินเตอรเน็ต พบวาผูใชสวนใหญไมมีวัตถุประสงคในการใชเพ่ือซ้ือสินคาและ

บรกิาร จํานวนเว็บไซทท่ีเขาใชโดยเฉล่ียสวนใหญนอยกวา 10 เว็บไซทตอสัปดาห สวนใหญใชเวลา

5-10 ช่ัวโมงตอสัปดาห และผูใชสวนใหญคิดวาการรับรูขาวสารและโฆษณาบนอินเตอรเน็ตเปน

เหตุจูงใจใหส่ังซ้ือจากชองทางการจําหนายอ่ืนๆ ภายหลัง เหตุผลสําคัญท่ีสุดในการส่ังซ้ือสินคาและ

บริการทางอินเตอรเน็ต คือ สะดวก สวนแหตุผลสําคัญท่ีสุดในการไมซ้ือสินคาและบริการทาง

อินเตอรเน็ต คือ ไมม่ันใจระบบความปลอดภัยในการชําระเงิน

มนตชัย หงสคณานุเคราะห, ประสิทธิ์ สุเชษฐพาณิช และ วรวงศ พิทยศิริ ศึกษาเรือ่ง การศึกษา

ความคิดเห็น การยอมรับ และพฤติกรรมการส่ังซ้ือสินคา/บริการผานระบบอินเตอรเน็ตของกลุม

คนทํางานในประเทศ พบวา สวนใหญใชอินเตอรเน็ตท่ีทํางาน ความถ่ีในการใช 1 ครั้งตอวัน ครั้งละ

ประมาณ 1 ช่ัวโมง โดยมีวัตถุประสงคโดยสืบคนขอมูลและเพ่ือใชในการติดตอส่ือสาร ในสวนของ

จํานวนผูท่ีเคยซ้ือสินคาผานระบบอินเตอรเน็ตยังมีคอนขางนอย สินคาท่ีเคยซ้ือและไดรับความ

สนใจ ไดแก หนงัสือ โรงแรม-การทองเท่ียว คอมพิวเตอร และบันเทิงสันทนาการ โดยมีขอมูลใน

การซ้ือครั้งละไมเกิน 2,500 บาท ในสวนของปจจยัดานความปลอดภยัในการชําระเงิน ความ

นาเช่ือถือของรานคา และคุณภาพของสินคาและบริการ เปนปจจัยท่ีมีผลตอ การตัดสินใจซ้ือท่ี

ความสําคัญสูงสุดเรียงตามลําดับ

Page 34: E-commerce415).pdf · 10 บทที่ 2 ทฤษฎีและวรรณกรรมที่เกี่ยวข อง. 2.1 ความรู ทั่วไปเกี่ยวกับพาณิชย

42

ธีนีนุช ศรีจันทร, ประภัสสร อยูดี และ วิไล ดํารงอนันตกุล ศึกษาเรือ่ง การศึกษาพฤตกิรรม

การใชอินเตอรเน็ตและทัศนคติท่ีมีตอพาณิชยอิเล็กทรอนิกสของผูใชในเขตกรุงเทพมหานคร พบวา

ผูใชอินเตอรเน็ตสวนใหญท่ีตอบแบบสอบถามไมมีคาใชจายในการเช่ือมเขาสูระบบเครือขาย

อินเตอรเน็ตมีประสบการในการใช 1-3 ป ความถ่ีในการใช 6-15 ครั้งตอเดือน ครั้งละ 1-2 ช่ัวโมง

วัตถุประสงคหลักในการใชเพ่ือซ้ือสินคาและบริการผานระบบเครือขายอินเตอรเน็ตยังมีจํานวนท่ี

นอยมาก คิดเปนรอยละ 0.2 ผูท่ีเคยซ้ือสวนใหญชําระคาสินคาดวยบัตรเครดิตรองลงมาชําระผาน

ระบบบัญชีธนาคาร และสําหรับผูท่ีไมเคยซ้ือแตมีความสนใจท่ีจะทดลองมีจํานวนคอนขางมาก คิด

เปนรอยละ 46.5

ณัฐ ฉันทพิรียพันธ, บรรจง วิจักขณวงค และ ปราโมทวิรุฒมวงค ศึกษาเรือ่ง ความตองการ

ซ้ือสินคาและบริการผานระบบอินเตอรเน็ตของผูใชอินเตอรเน็ตในกรุงเทพมหานคร พบวา ผูใช

อินเตอรเน็ตท่ีเคยซ้ือสินคาและบริการมากอนมีเปอรเซ็นตท่ีต่ํามาก แตสวนใหญมีความตองการท่ีจะ

ซ้ือสินคาและบริการผานระบบอินเตอรเน็ต ปจจัยท่ีมีสวนสนับสนุนท่ีสําคัญ คือ คาใชจายในการใช

อินเตอรเน็ต การศึกษาวิจัยความตองการของผูบริโภคใหชัดเจนปรับปรุงวิธีการชําระเงินให

ผูบริโภคมีความม่ันใจมากขึ้น รวมท้ังการสนับสนุนจากภาครัฐและเอกชนท่ีเกี่ยวของ จะชวยใหการ

ซ้ือสินคาและบริการผานอินเตอรเน็ตสามารถดําเนินไปไดอยางมีประสิทธิภาพ

สุพัตนตรา ประโสตัง และ เสาวนีย หินซุย ศึกษาเรื่อง ระบบจําหนายสินคา OTOP ศูนย

OTOP ตําบลบานโพน อําเภอคํามวง จังหวัดกาฬสินธุ ผูศึกษาไดศึกษาในสวนของระบบลูกคาและ

ระบบของผูดูแลระบบ ซ่ึงในระบบลูกคานั้นกอนซ้ือสินคาตองลงทะเบียนเปนสมาชิกภายในราน

กอนจึงสามารถส่ังซ้ือสินคาภายในรานได สวนระบบของผูดูแลระบบจะทําการเขาไปเพ่ิม ลบ แกไข

ขอมูลสินคาและรายการตาง ๆ เชน ทําการส่ังซ้ือสินคาเขาราน ทําการรับสินคาจากตัวแทนจําหนาย

ทําการตัดสต็อกสินคา และออกรายงานท่ีมีอยูภายในระบบ เชน รายงานสินคาคงเหลือ รายงานการ

ส่ังซ้ือสินคา รายงานยอดขาย รายงานสินคาขายดี เปนตน

Page 35: E-commerce415).pdf · 10 บทที่ 2 ทฤษฎีและวรรณกรรมที่เกี่ยวข อง. 2.1 ความรู ทั่วไปเกี่ยวกับพาณิชย

43