จรรยาบรรณ - asco.or.th1).pdf · สมาคม บริษัท ......

16
สมาคมบริษัทหลักทรัพย ASSOCIATION OF SECURITIES COMPANIES ชมรมวาณิชธนกิจ สมาคมบริษัทหลักทรัพย k สนับสนุนโดย ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย จรรยาบรรณ ของที ่ปรึกษาทางการเงิน สมาคมบริษัทหลักทรัพย 195/6 อาคารชุดเลครัชดาออฟฟศ คอมเพล็กซ 2 ชั้น 5 ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 โทรศัพท : 0-2264-0909 โทรสาร : 0-2661-8505-6 www.asco.or.th ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 62 อาคารตลาดหลักทรัพยแหง ประเทศไทย ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 โทรศัพท : 0-2229-2000 โทรสาร : 0-2654-5596 www.set.or.th

Upload: trinhlien

Post on 20-Aug-2018

216 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

สมาคมบริษัทหลักทรัพยASSOCIATION OF SECURITIES COMPANIES

ชมรมวาณิชธนกิจ สมาคมบริษัทหลักทรัพย

k

สนับสนุนโดย

ตลาดหลักทร ัพย แห งประเทศไทย

จรรยาบรรณ

ของท่ีปรึกษาทางการเงิน

สมาคมบริษัทหลักทรัพย

195/6 อาคารชุดเลครัชดาออฟฟศ

คอมเพล็กซ 2 ชั้น 5

ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย

เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร

10110

โทรศัพท : 0-2264-0909

โทรสาร : 0-2661-8505-6

www.asco.or.th

ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

62 อาคารตลาดหลกัทรพัยแหง

ประเทศไทย

ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย

เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร

10110

โทรศัพท : 0-2229-2000

โทรสาร : 0-2654-5596

www.set.or.th

บทนำ(Introduction)

ชมรมวาณิชธนกิจ สมาคมบริษัทหลักทรัพย

ขอขอบคุณคณะทำงานดานการเปนองคกรกำกบัดแูลตนเอง

(Self-Regulatory Organization) ที่ไดเสียสละเวลา

ในการรวมปรับปรุงและจัดทำจรรยาบรรณของที่ปรึกษา

ทางการเงนิ และขอขอบคณุตลาดหลกัทรพัยแหงประเทศไทย

ที่ไดใหความอนุเคราะหในการเรียบเรียงเอกสารดังกลาว

ใหมีความสมบูรณยิ่งขึ้น รวมทั้งการจัดพิมพรูปเลม

เพื่อเผยแพรใหที่ปรึกษาทางการเงินไดใชเปนแนวทาง

การปฏิบัติงานตอไป

รายนามคณะทำงานดานการเปนองคกรกำกับ

ดูแลตนเอง (Self-Regulatory Organization)

กรรมการชมรมวาณชิธนกจิทีร่บัผดิชอบดาน SRO

1. คุณนรเชษฐ แสงรุจิ

บริษัทหลักทรัพย ภัทร จำกัด (มหาชน)

2. คุณประเสริฐ ภัทรดิลก

บริษัท แอดไวเซอรี่ พลัส จำกัด

3. คุณมนตรี ศรไพศาล

บรษิทัหลกัทรพัย กมิเอง็ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน)

4. คุณภูมิใจ ขำภโต

บริษัทหลักทรัพย ยูบีเอส (ประเทศไทย) จำกัด

5. ดร. จงรัก ระรวยทรง

สมาคมบริษัทหลักทรัพย

ผูแทนบริษัทสมาชิกชมรมวาณิชธนกิจ

1. คุณภัทรพร มิลินทสูต

บริษัทหลักทรัพย ภัทร จำกัด (มหาชน)

2. คุณแอลสิทธิ์ เวอรการา

บริษัทหลักทรัพย ภัทร จำกัด (มหาชน)

3. คุณดวงหทัย ธรรมาสถิตย

บริษัทหลักทรัพย พัฒนสิน จำกัด (มหาชน)

4. คุณขัตติเดช มหัทธนกุล

บริษัทหลักทรัพย ทรีนีตี้ จำกัด

5. คุณพณิตตรา รตานนท

บริษัทหลักทรัพย ฟนันเซีย ไซรัส จำกัด (มหาชน)

6. คุณวันทนา เพชรฤกษวงศ

บรษิทัหลกัทรพัย กมิเอง็ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน)

7. คุณพรพิมล ดำรงศิริ

บริษัท ที่ปรึกษา เอเซีย พลัส จำกัด

8. คุณบุณยนุช นิลทคช

บริษัท เจวีเอส ที่ปรึกษาการเงิน จำกัด

ชมรมวาณชิธนกจิ สมาคมบรษิทัหลกัทรพัย หวงัเปนอยางยิง่

วาบรษิทัสมาชกิชมรมฯ จะไดนำจรรยาบรรณของทีป่รกึษา

ทางการเงนิฉบบันีไ้ปใชเปนแนวทางการปฏบิตังิาน เพือ่ให

การประกอบวชิาชพีดานวาณชิธนกิจของบรษัิทสมาชิกชมรมฯ

เปนไปดวยความซื่อสัตยสุจริต มีมาตรฐาน ตลอดจน

เพือ่รกัษาสงเสรมิเกยีรตคิณุ ชือ่เสยีงและฐานะของสมาชกิ

อนัจะกอใหเกดิประโยชนโดยรวมตอธรุกจิ และเปนทีย่อมรบั

ตอลูกคาและประชาชนโดยทั่วไป

ชมรมวาณิชธนกิจ สมาคมบริษัทหลักทรัพย

กรกฎาคม 2553

วัตถุประสงค

จรรยาบรรณในการใหบริการดานวาณิชธนกิจ

ฉบับนี้จัดทำขึ้น เพื่อใหการประกอบวิชาชีพดาน

วาณิชธนกิจของบริษัทที่ปรึกษาทางการเงินที่เปน

สมาชิกชมรมวาณิชธนกิจเปนไปดวยความ

ซื่อสัตยสุจริต มีมาตรฐาน ตลอดจนเพื่อรักษา

สงเสริมเกียรติคุณ ชื่อเสียงและฐานะของสมาชิก

อันจะกอใหเกิดประโยชนโดยรวมตอธุรกิจ และ

เปนที่ยอมรับตอลูกคาและประชาชนโดยทั่วไป

จรรยาบรรณฉบับนี้ใหมีผลครอบคลุมถึงการ

ใหบริการดานวาณิชธนกิจของบริษัทสมาชิกของ

ชมรมโดยไมคำนึงวาในการใหบริการนั้น บริษัท

สมาชิกของชมรมจะมีฐานะเปนที่ปรึกษาทางการ

เงินหรือที่ปรึกษาทางการเงินอิสระหรือไมก็ตาม

การนำจรรยาบรรณฉบับนี้ไปประยุกตใช

จรรยาบรรณฉบับนี้ควรใชควบคูกับและเปน

สวนเพิ่มเติมของกฎระเบียบ ขอบังคับ กฎหมาย

และแนวทางปฏิบัติงานที่เกี่ยวของกับที่ปรึกษา

ทางการเงิน การใชจรรยาบรรณฉบับนี้มิไดมี

วัตถุประสงคเพื่อใชแทนกฎหมายหรือประกาศ

ของหนวยงานทางการที่เกี่ยวของ ทั้งนี้ ในกรณีที่

เกิดความไมสอดคลองกันระหวางจรรยาบรรณ

และกฎระเบียบของหนวยงานทางการ ที่ปรึกษา

ทางการเงินจะตองปฏิบัติตามหลักเกณฑที่มี

ความเขมงวดมากกวา

∫∑𑬓¡

1. §«“¡´◊ËÕ —µ¬å §«“¡‡ªìπ°≈“ß·≈–§«“¡√—∫º‘¥™Õ∫µàÕ “∏“√≥– 1 - 3

(Integrity, Fairness and Responsibility to Public)

2. À≈—°ªØ‘∫—µ‘¢Õß°“√ª√–°Õ∫∏ÿ√°‘® (Conduct of Business) 4 - 9

·≈–¡“µ√∞“π°“√ªØ‘∫—µ‘ß“π (Standard of Work)

3. §«“¡√Ÿâ§«“¡ “¡“√∂∑“ß«‘™“™’æ (Competence) 10 - 12

4. §«“¡¢—¥·¬âß∑“ߺ≈ª√–‚¬™πå (Conflicts of Interest) 13 - 15

5. °“√ªØ‘∫—µ‘µàÕ≈Ÿ°§â“ (Duties to Client) 16 - 18

6. °“√®—¥°“√∫—≠™’ à«π∫ÿ§§≈ 19 - 21

(Personal Account Dealings)

สารบัญ(Content)

เวนแตจะไดกลาวถึงไวโดยเฉพาะเจาะจงใน

จรรยาบรรณฉบับนี้ การกลาวถึงที่ปรึกษาทางการ

เงินใหหมายรวมถึงที่ปรึกษาทางการเงินอิสระดวย

การกำหนดความหมายของบุคคลที่เกี่ยวของ

ในการพิจารณาเรื่องการจัดการบัญชีสวนบุคคล

ที่ปรึกษาทางการเงินควรพิจารณากำหนดความ

หมายใหมีความเหมาะสมและสอดคลองกับ

สภาวการณ โดยอยางนอยความหมายของบุคคล

ที่ เกี่ยวของในกรณีดังกลาวควรครอบคลุมถึง

บุคคลตามมาตรา 258 ของ พ.ร.บ. หลักทรัพย

และตลาดหลักทรัพย พ.ศ. 2535 รวมทั้งที่มีการ

แกไขเพิ่มเติม

ผูควบคุมการปฏิบัติงาน

บุคลากรที่ไดรับมอบหมายใหทำหนาที่กำกับดูแล

การปฏบิตังิานการเปนทีป่รกึษาทางการเงนิ

หนวยงานทางการ

สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและ

ตลาดหลักทรัพย และ ตลาดหลักทรัพยแหง

ประเทศไทย

บุคคลที่เกี่ยวของ

บุคลากรหรือผูบริหารของที่ปรึกษาทางการเงิน

ที่สามารถเขาถึงขอมูลที่เปนความลับของลูกคา

รวมถึงบริษัทยอย บริษัทที่เกี่ยวของ บุคลากร หรือ

ผูบริหารของบริษัทยอย บริษัทที่เกี่ยวของ และ

บุคคลที่เกี่ยวของกับที่ปรึกษาทางการเงิน

สำนักงาน

สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย และ

ตลาดหลักทรัพย

บทนิยาม(Definition)

จรรยาบรรณ

จรรยาบรรณในการใหบริการดานวาณิชธนกิจของ

บริษัทที่ปรึกษาทางการเงินที่เปนสมาชิกชมรม

วาณิชธนกิจ

ที่ปรึกษาทางการเงิน

สถาบันการเงินหรือนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นตาม

กฎหมายไทยที่ไดรับความเห็นชอบที่ปรึกษา

ทางการเงินตามประกาศสำนักงานคณะกรรมการ

ก.ล.ต. วาดวยการใหความเห็นชอบที่ปรึกษา

ทางการเงิน และขอบเขตการดำเนินงาน

ที่ปรึกษาทางการเงินอิสระ

ที่ปรึกษาทางการเงินที่ทำหนาที่ เปนที่ปรึกษา

ทางการเงินอิสระในการเขาถือหลักทรัพยเพื่อ

ครอบงำกิจการ ที่ปรึกษาทางการเงินอิสระในการ

ทำรายการเกี่ยวโยงกัน ที่ปรึกษาทางการเงินอิสระ

ในการไดมาจำหนายไปซึ่งสินทรัพย ที่ปรึกษา

ทางการเงินอิสระตามกฎระเบียบอื่นใดที่เกี่ยวของ

ของหนวยงานทางการ

1 ®√√¬“∫√√≥¢Õß∑’˪√÷°…“∑“ß°“√‡ß‘π 22®√√¬“∫√√≥¢Õß∑’˪√÷°…“∑“ß°“√‡ß‘π

§«“¡´◊ËÕ —µ¬å §«“¡‡ªìπ°≈“ß ·≈–§«“¡√—∫º‘¥™Õ∫µàÕ “∏“√≥–

“ ที่ปรึกษาทางการเงินตองปฏิบัติหนาที่ดวยความ

ซือ่สตัย เปนกลาง และมคีวามรบัผดิชอบตอสาธารณะ ”

แนวทางปฏิบัติ

ความซื่อสัตยสุจริต

1.1 ที่ปรึกษาทางการเงินตองไมประพฤติปฏิบัติ

ใดๆ ที่สอไปในทางไมสุจริตหรือกอใหเกิดความ

เขาใจผิดโดยการเสนอขอมูลที่ไมถูกตอง ครบถวน

หรือละเวนที่จะกลาวถึงขอมูลที่มีนัยสำคัญ

ตอการใหความเห็น อันจะมีผลกระทบตอความ

เขาใจของผูรับขอมูลนั้น

1.2 ที่ปรึกษาทางการเงินตองไมยินยอมโดยตั้งใจ

ใหเกิดความเขาใจผิดเกี่ยวกับคุณสมบัติทาง

วิชาชีพที่ตนไมมี

1.3 ที่ปรึกษาทางการเงินตองดูแลเพื่อมั่นใจไดวา

บุคลากรของที่ปรึกษาทางการเงินปฏิบัติตาม

จรรยาบรรณนี้อยางเครงครัด

1.4 ที่ปรึกษาทางการเงินตองปฏิบัติหนาที่ดวย

ความรบัผดิชอบ ระมดัระวงัรอบคอบ ซือ่สตัยสจุรติ

นาเชื่อถือ เยี่ยงผูมีวิชาชีพจะพึงกระทำ

ความเปนกลาง

1.5 ในการปฏิบัติหนาที่เปนที่ปรึกษาทางการ

เงินอิสระ ที่ปรึกษาทางการเงินตองปฏิบัติงาน

ทางวิชาชีพดวยความเปนอิสระ ตรงไปตรงมา

ไมลำเอียง และปราศจากผลประโยชนสวนตัวใดๆ

1.6 ที่ปรึกษาทางการเงินอิสระควรใหความเห็นที่

ตรงไปตรงมา ความเห็นของที่ปรึกษาทางการเงิน

อิสระไมควรถูกทำใหไขวเขวไปดวยสิ่งที่กำหนดไว

เบื้องตน หรือไมควรที่จะตองสอดคลองกับขอมูล

หรือสิ่งที่กำหนดไวเบื้องตนโดยปราศจากขอมูล

พื้นฐานรองรับ

1.7 ที่ปรึกษาทางการเงินอิสระตองไมรับ หรือ

ใหบริการงาน ซึ่งมีการกำหนดใหคาบริการ

ขึ้นอยูกับผลการดำเนินงาน หรือการใหความ

1. ความซื่อสัตย ความเปนกลาง

และความรับผิดชอบตอสาธารณะ

( Integrity, Fairness and

Responsibi l i ty to Public)

3 ®√√¬“∫√√≥¢Õß∑’˪√÷°…“∑“ß°“√‡ß‘π

§«“¡´◊ËÕ —µ¬å §«“¡‡ªìπ°≈“ß ·≈–§«“¡√—∫º‘¥™Õ∫µàÕ “∏“√≥–

44®√√¬“∫√√≥¢Õß∑’˪√÷°…“∑“ß°“√‡ß‘π

เห็นใดๆ ในรายงานความเห็นของที่ปรึกษา

ทางการเงนิอสิระ อนัอาจเปนปฏปิกษตอการปฏบิตัิ

หนาทีโ่ดยอสิระ ซือ่สตัย และเปนกลางของตน

1.8 ที่ปรึกษาทางการเงินตองไมใหความเห็นโดย

อางอิงขอมูลที่มีนัยสำคัญที่ไดจากลูกคา หรือ

แหลงขอมูลอื่นโดยไมมีการระบุเปนเงื่อนไขเอาไว

หรือไดรับการยืนยันจากแหลงขอมูลที่เปนอิสระ

เวนแตวา เปนการอางอิงที่สามารถทำไดใน

ลักษณะของขอจำกัดของการทำหนาที่ เปน

ที่ปรึกษาทางการเงิน ทั้งนี้ ที่ปรึกษาทางการเงิน

ตองพิจารณาขอมูลดวยความรอบคอบ สมเหตุ

สมผลเยี่ยงวิญูชน

1.9 ที่ปรึกษาทางการเงินตองไมใหความเห็นโดย

อางองิขอสรปุทีไ่มมเีหตผุลสนบัสนนุอยางเพยีงพอ

หรอืซึง่เปนขอสรปุทีม่อีคต ิและความลำเอยีง อนัจะสง

ผลตอการใหความเห็นของที่ปรึกษาทางการเงิน

ความรับผิดชอบตอสาธารณะ

1.10 ที่ปรึกษาทางการเงินตองปฏิบัติหนาที่ตาม

ภารกจิทีไ่ดรบัมอบหมายโดยมคีวามรบัผดิชอบตอ

ผูมสีวนไดเสยีทกุฝาย ซึง่รวมถงึสาธารณะ ตลาดทนุ

และผูลงทุนรายยอย ไมเฉพาะแตเพียงลูกคา หรือ

คูสญัญา

1.11 ที่ปรึกษาทางการเงินตองไมประพฤติตน

ในลักษณะใดๆ ที่ทำใหเปนการเสื่อมเสียชื่อเสียง

ความนานบัถอื ความเชือ่มัน่ และความนาไววางใจที่

ลกูคาหรอืสาธารณชนมตีอผูประกอบวชิาชพี

2. หลักปฏิบัติของการประกอบธุรกิจ

(Conduct of Business) และ

มาตรฐานการปฏิบัติงาน (Standard of Work)

“ ที่ปรึกษาทางการเงินควรมั่นใจวาที่ปรึกษาทางการ

เงินมีความพรอมและมีความเหมาะสม (Fit & Proper)

ในการประกอบธุรกิจดานวาณิชธนกิจตลอดเวลาที่ให

บริการ รวมถึงการจัดใหมีบุคลากรที่มีคุณสมบัติ

ครบถวน และตองปฏิบัติงานอยางมีมาตรฐานในฐานะ

ผูประกอบวิชาชีพตลอดเวลา ”

5 ®√√¬“∫√√≥¢Õß∑’˪√÷°…“∑“ß°“√‡ß‘π

À≈—°ªØ‘∫—µ‘¢Õß°“√ª√–°Õ∫∏ÿ√°‘® ·≈–¡“µ√∞“π°“√ªØ‘∫—µ‘ß“π

66®√√¬“∫√√≥¢Õß∑’˪√÷°…“∑“ß°“√‡ß‘π

À≈—°ªØ‘∫—µ‘¢Õß°“√ª√–°Õ∫∏ÿ√°‘® ·≈–¡“µ√∞“π°“√ªØ‘∫—µ‘ß“π

แนวทางปฏิบัติ

ความพรอมของที่ปรึกษาทางการเงิน

2.1 ที่ปรึกษาทางการเงินควรมีความพรอม และ

มีคุณสมบัติที่เหมาะสมในการประกอบวิชาชีพ

รวมทั้งไดรับความเห็นชอบในการเปนที่ปรึกษา

ทางการเงินจากสำนักงาน

2.2 ที่ปรึกษาทางการเงินควรจะมีการบริหารงาน

อยางเหมาะสม โดยรวมถึงและไมจำกัดเพียงการ

ดำเนินการ ดังนี้

- มีการจัดระบบการจัดการและการควบคุม

ภายในอยางรอบคอบรัดกุม

- มีการจัดการระบบการควบคุมดานการเงิน

และการปฏิบัติการอยางเหมาะสม

- มี การจัดการระบบบริหารความเสี่ ย งที่

สอดคลองกับธุรกิจของตน

- มีบุคลากรที่มีความรู ความชำนาญ และ

ประสบการณทางวิชาชีพที่เพียงพอในการเปน

ที่ปรึกษาทางการเงิน

การจัดเก็บเอกสาร

2.3 ที่ปรึกษาทางการเงินควรมีการจัดเก็บเอกสาร

และหลักฐานประกอบตางๆ ในการทำหนาที่

เปนที่ปรึกษาทางการเงิน เพื่อการอางอิงและ

ตรวจสอบ (audit trail) รวมทั้งเพื่อใหสามารถ

แสดงตอหนวยงานกำกับดูแลได

การกำกับดูแลการปฏิบัติงาน

2.4 ที่ปรึกษาทางการเงินควร

- จัดใหมีหนวยงานที่ทำหนาที่กำกับดูแลการ

ปฏิบัติงานเพื่อติดตามการปฏิบัติงานของ

บุคลากรใหเปนไปตามกฎระเบียบ ขอบังคับ

จรรยาบรรณ และกฎหมายที่เกี่ยวของ

- จัดใหมีผูมีความชำนาญ และประสบการณ

อยางเพยีงพอในการเปนผูควบคมุการปฏบิตังิาน

- กำหนดใหฝายกำกับดูแลการปฏิบัติงาน

มีความเปนอิสระ และไมขึ้นตอสายงานใดๆ

โดยมีการรายงานโดยตรงตอผูบริหารสูงสุด

ขององคกร อยางไรก็ตามที่ปรึกษาทางการเงิน

ขนาดเล็กที่มีบุคลากรจำกัด ผูบริหารระดับสูง

ที่ไมขึ้นตอสายงานใดๆ อาจทำหนาที่ เปน

ผูกำกับดูแลการปฏิบัติงานดวย

2.5 ที่ปรึกษาทางการเงินควรมีการจัดทำคูมือ

ก า ร ก ำ กั บ ดู แ ล ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ภ า ย ใ น ใ ห

ครอบคลุมงานดานที่ปรึกษาทางการเงิน เพื่อให

เปนไปตามกฎระเบียบ ขอบังคับ จรรยาบรรณ

และกฎหมายที่เกี่ยวของ

7 ®√√¬“∫√√≥¢Õß∑’˪√÷°…“∑“ß°“√‡ß‘π

À≈—°ªØ‘∫—µ‘¢Õß°“√ª√–°Õ∫∏ÿ√°‘® ·≈–¡“µ√∞“π°“√ªØ‘∫—µ‘ß“π

88®√√¬“∫√√≥¢Õß∑’˪√÷°…“∑“ß°“√‡ß‘π

À≈—°ªØ‘∫—µ‘¢Õß°“√ª√–°Õ∫∏ÿ√°‘® ·≈–¡“µ√∞“π°“√ªØ‘∫—µ‘ß“π

ความถกูตองและครบถวนของการเปดเผยขอมลู

2.6 ที่ปรึกษาทางการเงินควรศึกษาความถูกตอง

และครบถวนของขอมูล (due diligence) ที่เปด

เผยในแบบฟอรมตางๆ ที่เกี่ยวของ ตามแนวทาง

หรือมาตรฐาน ที่หนวยงานทางการยอมรับ

หรือกำหนด

2.7 กรณีที่ที่ปรึกษาทางการเงินใชขอมูลที่ได

รับจากลูกคา เพื่อประกอบการวิเคราะหและ

ใหความเห็น จัดเตรียมเอกสารเพื่อเผยแพร

ตอผูลงทนุและประกอบการขออนญุาตตอหนวยงาน

ทางการ ที่ปรึกษาทางการเงินควรพิจารณาขอมูล

ที่ไดรับดวยความรอบคอบ และสมเหตุสมผล

ตามมาตรฐานของผูประกอบวิชาชีพพึงกระทำ

รวมทั้งการใหคำแนะนำ ตอลูกคาในเรื่องของ

ความรับผิดชอบที่ตองมีการดำเนินการอยาง

เพียงพอและเหมาะสม เพื่อใหมั่นใจวาขอมูล

ดังกลาวมีความถูกตองเพียงพอ ไมกอใหเกิด

การเขาใจผิด หรือขาดขอมูลที่มีสาระสำคัญ

ที่อาจมีผลกระทบตอการวิเคราะหและใหความ

เห็นของที่ปรึกษาทางการเงิน รวมทั้งอาจมี

ผลกระทบตอการตัดสินใจของผูลงทุน

2.8 ที่ปรึกษาทางการเงินควรมีสวนรวมในการ

จัดเตรียมขอมูลที่จะเผยแพรตอสาธารณชน

เพื่อใหมั่นใจไดวาเอกสารมีความครบถวน ถูกตอง

ไมทำใหเกิดความเขาใจผิดหรือขาดขอมูลที่มี

สาระสำคัญซึ่งอาจสงผลกระทบตอการตัดสินใจ

ของผูลงทุน

2.9 ที่ปรึกษาทางการเงินตองไมลอกเลียนผลงาน

หรือขอมูลอางอิงของผูอื่น และแอบอางวาเปน

ผลงานหรือขอมูลอางอิงของตนเอง หรือกระทำ

การอื่นใดซึ่งพิจารณาไดวาเปนการละเมิดลิขสิทธิ์

ทางปญญาของผูอื่นในการเสนอผลงานของตน

ตอลูกคาผูรับบริการ

2.10 ในการใหบริการทางวิชาชีพ ที่ปรึกษา

ทางการเงินมีหนาที่ที่จะตองนำเสนอผลการให

บริการในลักษณะที่แยกแยะใหเห็นอยางชัดเจน

ระหวางขอมูลขอเท็จจริง การวิเคราะหและการให

ความเห็นของที่ปรึกษาทางการเงิน เพื่อมิใหเกิด

ความสับสนแกผูใชประโยชนจากรายงาน

2.11 ที่ปรึกษาทางการเงินตองไมจางงาน หรือ

ยินยอมใหบุคคล/นิติบุคคลอื่นทำงานในหนาที่

ที่ปรึกษาทางการเงิน ไมวาทั้งหมดหรือบางสวน

โดยใชชื่อของที่ปรึกษาทางการเงิน ทั้งนี้ ที่ปรึกษา

ทางการเงินตองรับรูวา การลงนามรับรองใน

รายงาน ถือเปนความรับผิดชอบโดยสมบูรณของ

ที่ปรึกษาทางการเงิน ผูลงนามที่มีตอเนื้อหาสาระ

และความถูกตองของรายงาน รวมทั้งเนื้อหา

ที่อาจเปนผลงานของผูอื่นที่ไดรับการอางอิงถึง

9 ®√√¬“∫√√≥¢Õß∑’˪√÷°…“∑“ß°“√‡ß‘π

À≈—°ªØ‘∫—µ‘¢Õß°“√ª√–°Õ∫∏ÿ√°‘® ·≈–¡“µ√∞“π°“√ªØ‘∫—µ‘ß“π

1010®√√¬“∫√√≥¢Õß∑’˪√÷°…“∑“ß°“√‡ß‘π

การจัดทำสัญญา/ขอตกลงกับลูกคา

2.12 ที่ปรึกษาทางการเงินควรจัดทำสัญญา/ขอ

ตกลงเพือ่ใหลกูคาทราบและเขาใจถงึคาธรรมเนยีม

ที่จะถูกเรียกเก็บ เงื่อนไขตางๆ และขอบเขตของ

บริการที่จะไดรับ (จากคาธรรมเนียมและเงื่อนไข

เหลานี)้ อยางชดัเจน และจะตองไมกระทำการใดๆ

โดยมีขอตกลงในการใหผลตอบแทนอื่นใดแกกัน

นอกเหนอืจากทีไ่ดรบัตามปกติ

2.13 ที่ปรึกษาทางการเงินควรใชความระมัดระวัง

ในการสอบทานกอนลงนามในสัญญาวาจางการ

เปนที่ปรึกษาทางการเงินวาที่ปรึกษาทางการเงิน

สามารถยุติการใหบริการในกรณีที่ลูกคาปฏิเสธ

ที่จะปฏิบัติตามกฎหมาย รวมทั้งไมใหความรวม

มือในการตรวจสอบความถูกตองและครบถวน

ของขอมูล (due diligence) ไดหรือไม

“ ที่ปรึกษาทางการเงินควรปฏิบัติงานดวยความรู

ความสามารถ และความชำนาญทางวิชาชีพ ”

แนวทางปฏิบัติ

ความรูความสามารถของทีป่รกึษาทางการเงนิ

3.1 ที่ปรึกษาทางการเงินควรรับงานที่ที่ปรึกษา

ทางการเงินมีความรูความสามารถเพียงพอ

ทัง้ความรูในดานวชิาการและความรูในอตุสาหกรรม

ของลูกคาเทานั้น

3.2 ที่ปรึกษาทางการเงินตองไมทำการโฆษณา

กลาวอางหรือกลาวเกินความเปนจริงเกี่ยวกับ

คุณสมบัติทางวิชาชีพ หรือความรูความชำนาญ

และประสบการณทางวิชาชีพของตน เพื่อใหไดรับ

งานบริการที่ตองการ

3.3 ที่ปรึกษาทางการเงินตองไมนำผลงานของ

ที่ปรึกษาทางการเงินอื่นมาใช โดยไม ได รับ

คำยินยอมจากที่ปรึกษาทางการเงินนั้น ทั้งนี้

การนำผลงานของที่ปรึกษาทางการเงินอื่นมาใช

ที่ปรึกษาทางการเงินยังตองใชวิจารณญาณใน

การเลือกใช และพิจารณาความเหมาะสม

3. ความรูความสามารถทางวิชาชีพ

(Competence)

11 ®√√¬“∫√√≥¢Õß∑’˪√÷°…“∑“ß°“√‡ß‘π

§«“¡√Ÿâ§«“¡ “¡“√∂∑“ß«‘™“™’æ

1212®√√¬“∫√√≥¢Õß∑’˪√÷°…“∑“ß°“√‡ß‘π

§«“¡√Ÿâ§«“¡ “¡“√∂∑“ß«‘™“™’æ

ในระยะเวลานั้นๆ รวมทั้งควรสอบทานผลงานนั้น

ดวยความระมัดระวังรอบคอบดังเชนผูประกอบ

วิชาชีพพึงกระทำ

บุคลากรของที่ปรึกษาทางการเงิน

3.4 ที่ปรึกษาทางการเงินควรมั่นใจวา

- บุคลากรผู ใหคำแนะนำดานวาณิชธนกิจ

มีคุณสมบัติ เหมาะสมตอการปฏิบัติ งาน

ในหนาที่นั้น

- พนักงานมีมาตรฐานในการประกอบวิชาชีพ

โดยจัดใหมีการฝกอบรมอยางตอเนื่อง และ

สม่ำเสมอ เพื่อใหพนักงานมีความรอบรู ความ

สามารถ มีจริยธรรม และจรรยาบรรณ

รวมถึงมีความรับผิดชอบและเอาใจใสใน

การปฏิบัติหนาที่

- มีสายงานที่รับผิดชอบการปฏิบัติหนาที่เปน

ที่ปรึกษาทางการเงินที่ชัดเจน โดยสายงาน

ดั งกล าวตองมีผู ที่ บ ริษัทกำหนดให เปน

ผูควบคุมการปฏิบัติงานอยางนอย 1 คน

การใชผูเชี่ยวชาญอื่น

3.5 ในการใหบริการที่มีความตองการใชผูชำนาญ

เฉพาะดาน ที่ปรึกษาทางการเงินควรใหคำแนะนำ

ลูกคาใหจัดหาผูเชี่ยวชาญในการใหคำปรึกษา

เพื่อจะกอใหเกิดประโยชนอยางเต็มที่แกลูกคา

โดยที่ไมขัดตอกฎหมายและหลักเกณฑอื่นๆ

3.6 กรณีที่ที่ปรึกษาทางการเงินไมมีความ

เชี่ยวชาญเฉพาะดานในขอมูลที่ตองจัดเตรียม

หรือรวมจัดทำ หรือใหความเห็นในฐานะเปน

ที่ปรึกษาทางการเงินสวนใด ที่ปรึกษาทางการเงิน

อาจนำขอมูลจากบุคคลอื่นที่มีความเชี่ยวชาญ ใน

ดานนั้นมาอางอิงได หรือประกอบความเห็น ทั้งนี้

ที่ปรึกษาทางการเงินควรใชวิจารณญาณในการ

เลือกใชแหลงขอมูล หรือผูเชี่ยวชาญที่มีความ

นาเชือ่ถอืและควรเปนผูทีม่คีวามเชีย่วชาญในดาน

นั้นจริงๆ และเหมาะสมในระยะเวลานั้นๆ รวมทั้ง

ควรพิจารณาความนาเชื่อถือของผลงานของ

ผูเชี่ยวชาญดังกลาว โดยอยางนอยควรสอบทาน

รายงานดวยความระมัดระวังรอบคอบเทาที ่

วญิชูนพงึกระทำ ทัง้นี ้ ทีป่รกึษาทางการเงนิควร

พิจารณานำรายงานของผูเชี่ยวชาญเปดเผยไว

ในรายงานของที่ปรึกษาทางการเงินตามความ

เหมาะสม

1313 ®√√¬“∫√√≥¢Õß∑’˪√÷°…“∑“ß°“√‡ß‘π 1414®√√¬“∫√√≥¢Õß∑’˪√÷°…“∑“ß°“√‡ß‘π

§«“¡¢—¥·¬âß∑“ߺ≈ª√–‚¬™πå

4. ความขัดแยงทางผลประโยชน

(Confl icts of Interest)

“ ในการ ใหบริการที่ ปรึกษาทางการ เงินควร

หลีกเลี่ยงความขัดแยงทางผลประโยชนที่อาจเกิด

ขึ้นกับลูกคา รวมทั้งที่ เกิดขึ้นระหวางพนักงานกับ

บริษัทในทุกกรณี ”

แนวทางปฏิบัติ

บทบาทของทีป่รกึษาทางการเงนิ

4.1 ที่ปรึกษาทางการเงินควร

- กำหนดบทบาทของที่ปรึกษาทางการเงิน

ใหชัดเจนในการใหบริการแกลูกคา แตละครั้ง

เชน บทบาทในการรวมเขาทำรายการ (Principle)

บทบาทในการเปนตัวแทน (Agent) หรือ

บทบาทในการเปนที่ปรึกษา (Advisor) เปนตน

เพื่อหลีกเลี่ยงการเกิดความขัดแยงทางผล

ประโยชน

- คำนึงถึงผลประโยชนของลูกคามากกวา

ผลประโยชนของตน

การจดัการกบัความขดัแยงทางผลประโยชน

4.2 ที่ปรึกษาทางการเงินควรจัดใหมีมาตรการ

ในการตรวจสอบความขัดแยงทางผลประโยชน

หรือระบบในการดูแลปองกันความขัดแยงทาง

ผลประโยชน

4.3 ที่ปรึกษาทางการเงินควรแจงใหลูกคาทราบ

เมื่อเกิดหรือมีความเปนไปไดที่จะเกิดความ

ขัดแยงทางผลประโยชน และพิจารณาถอนตัว

จากการใหบริการแกลูกคา ในกรณีที่ไมสามารถ

ขจัดความขัดแยงทางผลประโยชนจนเปนที่พอใจ

ของลูกคา อยางไรก็ตาม ที่ปรึกษาทางการเงิน

อาจจะสามารถใหบริการแกลูกคาตอไปได

หากตกลงกับลูกคาได และการปฏิบัตินั้นไมขัดตอ

กฎหมายและหลักการปฏิบัติทั่วไป

4.4 ความขัดแยงทางผลประโยชนที่เกี่ยวของ

กับการเปนที่ปรึกษาทางการเงิน ควรจะมีการ

จัดการดวยกระบวนการที่ เหมาะสมและเปน

ที่ยอมรับทางจริยธรรมทางธุรกิจ โดยรวมถึง

การดำเนินการภายใตหลักเกณฑที่ เกี่ยวของ

ไดแก หลักเกณฑการไดมาและจำหนายไปซึ่ง

สินทรัพย หลักเกณฑรายการที่ เกี่ยวโยงกัน

รวมทั้ง ประกาศวาดวยการใหความเห็นชอบของ

ที่ปรึกษาทางการเงินและขอบเขตการดำเนินงาน

1515 ®√√¬“∫√√≥¢Õß∑’˪√÷°…“∑“ß°“√‡ß‘π

§«“¡¢—¥·¬âß∑“ߺ≈ª√–‚¬™πå

1616®√√¬“∫√√≥¢Õß∑’˪√÷°…“∑“ß°“√‡ß‘π

นโยบายภายในของที่ปรึกษาทางการเงิน เกี่ยวกับการปองกันความขัดแยงทาง ผลประโยชน

4.5 ที่ปรึกษาทางการเงินควรกำหนดใหมีการแบง

แยกหนวยงานตางๆ (Chinese Wall) ที่เหมาะสม

ระหวางฝายงานตางๆ ภายในบริษัท และภายใน

กลุมบริษัท เพื่ อปองกันความขัดแยงทาง

ผลประโยชน และปองกนัการใชขอมลูทีเ่ปนความลบั

4.6 ที่ปรึกษาทางการเงินควร

- ไมเสนอหรือรับขอเสนอใดๆ ที่มีลักษณะ

เปนการไดมาซึ่งผลประโยชน ที่เกี่ยวของกับ

ธุรกิจ โดยไมเปดเผยขอมูลที่ เกี่ยวของที่มี

ความขัดแยงทางผลประโยชนตอลูกคากอน

- กำหนดใหพนักงานเปดเผยขอมูลเรื่องผล

ประโยชนที่ไดรับจากการปฏิบัติงานอื่นนอก

บริษัท

- กำหนดนโยบายเกี่ยวกับการรับของขวัญ หรือ

ผลตอบแทนอื่นจากลูกคา

4.7 ที่ปรึกษาทางการเงินควรจัดใหมีมาตรการการ

ตรวจสอบดูแล (monitor) การใชขอมูลภายใน

ในหนวยงานตางๆ ของบริษัท

5. การปฏิบัติตอลูกคา

(Duties to the Client)

“ ที่ปรึกษาทางการเงินควรมั่นใจวาไดปฏิบัติงานเพื่อ

ใหลูกคาไดรับประโยชนสูงสุด และคำนึงถึงประโยชน

ของลูกคามากกวาประโยชนของตน อยางไรก็ตามใน

การทำหนาที่เปนที่ปรึกษาทางการเงินอิสระ ลูกคาของ

ที่ปรึกษาทางการเงินอิสระตองหมายรวมถึงผูถือหุน

ผูถือหุนรายนอย และสาธารณะดวย ”

แนวทางปฏิบัติ

การทำความรูจกัลกูคา

5.1 ที่ปรึกษาทางการเงินควรจัดใหลูกคาแสดงตน

ทุกครั้ง (Know Your Customer (KYC)) เพื่อลด

ความเสี่ยงของที่ปรึกษาทางการเงินในการเขาไป

มีสวนรวมหรือสนับสนุนการกระทำผิดตาม

พระราชบญัญตัปิองกนัและปราบปรามการฟอกเงนิ

พ.ศ. 2542 โดยเฉพาะอยางยิ่งควรทราบถึงขอมูล

ตางๆ ดังนี้

- ประวตัขิองลกูคา ประเภทของธรุกจิ และรายชือ่

ผูถือหุนที่มีอำนาจควบคุม รวมทั้งโครงสราง

ผูถือหุน ผูรับผลประโยชนกรณีที่เปนลูกคา

ประเภทนิติบุคคล

1717 ®√√¬“∫√√≥¢Õß∑’˪√÷°…“∑“ß°“√‡ß‘π

°“√ªØ‘∫—µ‘µàÕ≈Ÿ°§â“

1818®√√¬“∫√√≥¢Õß∑’˪√÷°…“∑“ß°“√‡ß‘π

°“√ªØ‘∫—µ‘µàÕ≈Ÿ°§â“

- สถานะทางการเงินและการลงทุน ตลอดจน

วัตถุประสงคของบริษัทในการทำธุรกรรม

การอธบิายกฎระเบยีบทีเ่กีย่วของใหแกลกูคา

5.2 ที่ปรึกษาทางการเงินควรอธิบายใหลูกคา

เขาใจกฎ ระเบียบ ขอบังคับที่ เกี่ยวของตางๆ

ที่หนวยงานทางการกำหนด กรณีที่ที่ปรึกษาทราบ

วาลูกคาไมปฏิบัติตามหลักเกณฑดังกลาว ก็ควร

แนะนำใหลูกคาเสนอใหหนวยงานทางการ

พิจารณาในโอกาสแรก แตหากลูกคาปฏิเสธที่จะ

ปฏิบัติตามโดยไมมีเหตุผลเพียงพอ ที่ปรึกษาควร

มีมาตรการในการทำงานที่จะยุติการใหบริการ

ที่ปรึกษาทางการเงินควรใหความรวมมือตอบ

คำถามชี้แจงใหหนวยงานทางการไดรับทราบและ

ใหความรวมมือตอหนวยงานทางการโดยสุจริต

ในกรณีที่ไดรับหนังสือขอขอมูลหรือขอคำชี้แจง

จากหนวยงานทางการ

การกระทำการแทนลกูคา

5.3 ในการกระทำการแทนลูกคา ที่ปรึกษา

ทางการเงินควร

- มั่นใจไดวาขอมูลที่ไดจัดเตรียมใหแกลูกคา

มคีวามถกูตอง ครบถวน และไมมขีอมลูทีท่ำให

สำคัญผิด

- ชี้แจงใหลูกคาเขาใจขอมูลตางๆ รวมถึง

กฎระเบียบ ขอบังคับที่เกี่ยวของเพื่อใหลูกคา

ใชเปนขอมูลประกอบการตัดสินใจ

- พรอมที่จะชี้แจงใหลูกคาทราบถึงความรับผิด

ชอบในการปฏิบัติงานของที่ปรึกษาทางการ

เงินที่มีตอลูกคา

- มั่นใจวาไดทำการเปดเผยขอมูลที่เกี่ยวของให

แกลูกคาอยางเพียงพอ

การใชขอมลูทีเ่ปนความลบัของลกูคา

5.4 ที่ปรึกษาทางการเงินควร

- มนีโยบายทีช่ดัเจนเกีย่วกบัการเกบ็รกัษาขอมลู

ที่เปนความลับของลูกคา และขอมูลที่ไมเปน

สาธารณะ (non-public information) อันมา

จากการปฏบิตัหินาทีท่ีป่รกึษาทางการเงนิ

- มีแนวปฏิบัติที่เหมาะสมเพื่อใหมั่นใจไดวา

การใหขอมูลลูกคาแกบุคคลใดๆ จะไมทำให

ขอมูลเกิดการรั่วไหลโดยมิไดเจตนา และการ

ใหขอมูลเปนไปตามหลักความจำเปนที่ตอง

รับรูขอมูล (Need-to-know) โดยการใชขอมูล

ตองเปนไปเพื่อการทำงานนั้นๆ โดยเฉพาะรวม

ถึงการหามนำไปใชเพื่อเอาเปรียบนักลงทุนอื่น

1919 ®√√¬“∫√√≥¢Õß∑’˪√÷°…“∑“ß°“√‡ß‘π 2020®√√¬“∫√√≥¢Õß∑’˪√÷°…“∑“ß°“√‡ß‘π

°“√®—¥°“√∫—≠™’ à«π∫ÿ§§≈

“ ที่ปรึกษาทางการเงินควรมั่นใจวา บัญชีสวน

บุคคลที่ ใช ในการทำธุรกรรมที่เกี่ยวของตองมีการ

จัดการอยางเหมาะสม ”

แนวทางปฏิบัติตอไปนี้เปนการกลาวถึงหลักการ

เบื้องตนที่ที่ปรึกษาทางการเงินควรขจัดความขัด

แยงทางผลประโยชน เมื่อทำธุรกรรมซื้อขายหลัก

ทรัพยดวยบัญชีของที่ปรึกษา หลังจากยุติการทำ

หนาที่เปนที่ปรึกษาทางการเงินใหแกลูกคา

แนวทางปฏิบัติ

นโยบายการซือ้ขายหลกัทรพัยของพนกังาน

6.1 ที่ปรึกษาทางการเงินควรมีการกำหนด

นโยบายเรื่องการซื้อขายหลักทรัพยของพนักงาน

เปนลายลักษณอักษรวาบุคคลที่เกี่ยวของไดรับ

อนุญาตใหซื้อขายหลักทรัพยหรือสัญญาซื้อขาย

ลวงหนาเพื่อบัญชีตนเองหรือไม

6.2 กรณีที่บุคคลที่เกี่ยวของไดรับอนุญาตใหซื้อ

ขายหลักทรัพยหรือสัญญาซื้อขายลวงหนาเพื่อ

บัญชีตนเอง

6. การจัดการบัญชีสวนบุคคล

(Personal Account Deal ings)

- นโยบายที่เปนลายลักษณอักษร ควรระบุ

เงื่อนไขตางๆ ในการที่บุคคลที่เกี่ยวของนั้น

จะซื้อขายหลักทรัพย หรือสัญญาซื้อขาย

ลวงหนาเพื่อบัญชีตนเอง

- บคุคลทีเ่กีย่วของควรรายงานธรุกรรมทีเ่กีย่วของ

ตอเจาหนาทีฝ่ายกำกบัดแูลการปฏบิตังิาน

- บุคคลที่เกี่ยวของควรติดตอซื้อขายผานบริษัท

ที่ปรึกษาทางการเงิน หรือบริษัทที่ที่ปรึกษา

ทางการเงินกำหนดหรือมีขอตกลงเพื่อให

มีการตรวจสอบการใชขอมูลภายในในการ

ซื้อขายหลักทรัพยได โดยในกรณีดังกลาว

ที่ปรึกษาทางการเงินตองกำหนดใหบุคคลที่

เกี่ยวของจัดเตรียมสำเนาหลักฐานการซื้อขาย

และรายงานการซื้อขายใหแก เจาหนาที่

กำกับดูแลการปฏิบัติงานที่ไดรับมอบหมาย

เพื่อทำการตรวจสอบตอไป

- รายงานการซื้อขายในบัญชีของบุคคลที่

เกี่ยวของหรือบัญชีที่เกี่ยวเนื่องกับบุคคลที่

เกี่ยวของควรแยกบันทึกรายการใหชัดเจน

- ธุ รกรรมในการซื้อขายของบัญชีบุคคลที่

เกี่ยวของและบัญชีอื่นๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับบุคคล

ทีเ่กีย่วของ ควรมกีารรายงานและมกีารตดิตาม

โดยเจาหนาที่ฝายกำกับดูแลการปฏิบัติงาน

ที่ไดรับมอบหมาย ซึ่งเปนผูที่ไมมีผลประโยชน

หรือสวนไดเสียอื่นๆ ในธุรกรรมนั้น และเปน

ผูตรวจสอบหาสิง่ผดิปกตใินบญัช ีเพือ่ใหมัน่ใจวา

จัดพิมพ กรกฎาคม 2553

เผยแพรโดย

ชมรมวาณิชธนกิจ สมาคมบริษัทหลักทรัพย

และตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

21 ®√√¬“∫√√≥¢Õß∑’˪√÷°…“∑“ß°“√‡ß‘π

°“√®—¥°“√∫—≠™’ à«π∫ÿ§§≈

รายการซื้อขาย หรือคำสั่งซื้อขายโดยที่ปรึกษา

ทางการเงินของบริษัท หรือบริษัทในเครือจะไมทำ

ใหลูกคาเสียประโยชน

การกำกับดูแลการซื้อขายหลักทรัพยของพนักงาน

6.3 ที่ปรึกษาทางการเงินควรมีระบบการจัดทำ

หลักทรัพยที่อยูในบัญชี watch list และ restricted

list เพื่อการติดตามดูแลบัญชีซื้อขายหลักทรัพย

สวนบุคคล และบัญชีซื้อขายหลักทรัพยของบริษัท

ใหเปนไปอยางเหมาะสม

6.4 ที่ปรึกษาทางการเงินควรมั่นใจวาบัญชีซื้อขาย

สวนบุคคลที่ใชเพื่อซื้อขายหลักทรัพย และตราสาร

อนุพันธ โดยบุคคลที่เกี่ยวของทุกบัญชีไดรับการ

ติดตามดูแลอยางเหมาะสมโดยเจาหนาท่ีฝายกำกับ

ดูแลการปฏิบัติงาน

k