การนําความร อน (heat...

25
อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทักษ ภาควิชาฟสิกส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปรากฏการณขนสง 10 การถายเทความรอน (Heat Transfer) การนําความรอน (Heat Conduction) การพาความรอน (Heat Convection) การแผรังสีความรอน (Thermal Radiation)

Upload: ledung

Post on 29-Jun-2018

217 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: การนําความร อน (Heat Conduction)pioneer.netserv.chula.ac.th/~sjessada/heat_cond.pdf · การถ ายเทความร อน (Heat Transfer) การนําความร

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกัษ ภาควิชาฟสกิส คณะวทิยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปรากฏการณขนสง 10

การถายเทความรอน (Heat Transfer)

การนําความรอน (Heat Conduction)

การพาความรอน (Heat Convection)

การแผรังสีความรอน (Thermal Radiation)

Page 2: การนําความร อน (Heat Conduction)pioneer.netserv.chula.ac.th/~sjessada/heat_cond.pdf · การถ ายเทความร อน (Heat Transfer) การนําความร

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกัษ ภาควิชาฟสกิส คณะวทิยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปรากฏการณขนสง 11

จากการทดลองพบวา

- การนําความรอนจะเกิดขึ้นเมื่ออุณหภูมิไมสม่ําเสมอ

- การนําความรอนจะมีทิศทางออกจากบริเวณที่มอุณหภูมิสูง

ไปยังบริเวณที่มีอุณหภูมิต่ํา

พิจารณากาชอุดมคติ ซึ่งถูกกั้นดวยผนังดังรูป

มีอุณหภูมิตางกัน แตความดันและความเขมขน

เทากันทั้งสองดาน

จะเห็นไดวาทางดานที่มีอุณหภูมิสูงจะมี

อัตราเร็วเฉลี่ยสูงกวา ดังนั้นอัตราการชนกัน

มากกวาดานที่มีอุณหภูมิต่ํา hT cT

การนําความรอน (Heat conduction)

การถายเทความรอนโดยไมมีการถายเทมวล

Page 3: การนําความร อน (Heat Conduction)pioneer.netserv.chula.ac.th/~sjessada/heat_cond.pdf · การถ ายเทความร อน (Heat Transfer) การนําความร

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกัษ ภาควิชาฟสกิส คณะวทิยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปรากฏการณขนสง 12

แตเนื่องจากทั้งสองดานมีความเขมขนเทากัน ดังนั้นเมื่อยกผนังกั้นออกจึงไมมี

การฟุงของอนุภาคสุทธิ นั่นคือจํานวนอนุภาคเคลื่อนที่เขาเทากับออก

แตพลังงานของอนุภาคทั้ง 2 ขางไมเทากัน จึงเกิดเปนผลลัพธของกระแส

การถายเทของความรอนจากทางดานที่มีอุณหภูมิสูงไปยังดานที่มีอุณหภูมิต่ํา

hT cT hT cT

Page 4: การนําความร อน (Heat Conduction)pioneer.netserv.chula.ac.th/~sjessada/heat_cond.pdf · การถ ายเทความร อน (Heat Transfer) การนําความร

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกัษ ภาควิชาฟสกิส คณะวทิยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปรากฏการณขนสง 13

จากการทดลองพบวา

xTKJE

กฎของฟูเรียร

(Fourier’s law)

โดย JE : ความหนาแนนกระแสพลังงาน (Energy current density)

ปริมาณพลังงานสุทธิซึ่งเคลื่อนที่ผานพื้นที่ 1 หนวย ซึ่งตั้งฉาก

กับทิศทางการนําความรอน ใน 1 หนวยเวลา (J.m-2s-1)

T : อุณหภูมิ (oC)

K : สัมประสิทธิ์การนําความรอน (Thermal conductivity) (J.m-1s-1 C-1)

xT : เกรเดียนทของอุณหภูมิในแนวแกน x

Page 5: การนําความร อน (Heat Conduction)pioneer.netserv.chula.ac.th/~sjessada/heat_cond.pdf · การถ ายเทความร อน (Heat Transfer) การนําความร

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกัษ ภาควิชาฟสกิส คณะวทิยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปรากฏการณขนสง 14

พิจารณามวลเล็ก ๆ ดังรูป Sdxm

EJEJ

dx

SEEE JJdJ

การเพิ่มขึ้นของ

พลังงานในมวล m SdtdJdTmC tEx constconst

Sdxdx

dJdtdTCSdx

t

E

x constconst

xJ

tTC E

จะได

ในกรณีพื้นที่หนาตัดคงที่

Page 6: การนําความร อน (Heat Conduction)pioneer.netserv.chula.ac.th/~sjessada/heat_cond.pdf · การถ ายเทความร อน (Heat Transfer) การนําความร

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกัษ ภาควิชาฟสกิส คณะวทิยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปรากฏการณขนสง 15

จากกฎของฟกส จะไดวา

2

2

xT

CK

tT

สมการการนําความรอน

(Equation of thermal conduction)

โดย : ความหนาแนนของสาร (kg.m-3)

: ความรอนจําเพาะของสาร (J.kg-1 K-1)C

แมเราจะพิสูจนสมการนี้จากกาซอุดมคติ แตสมการนี้สามารถขยายไปใชกับ

ของเหลวและโลหะไดดวย เนื่องจากของเหลวก็มีลักษณะการเคลื่อนที่ที่

ปนปวนเชนเดียวกับกาซ และโลหะก็มีอิเล็กตรอนซึ่งเคลื่อนที่ไดอยางอิสระ

เชนเดียวกับกาซเปนตัวนําความรอน

ในกรณีพื้นที่หนาตัดคงที่

Page 7: การนําความร อน (Heat Conduction)pioneer.netserv.chula.ac.th/~sjessada/heat_cond.pdf · การถ ายเทความร อน (Heat Transfer) การนําความร

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกัษ ภาควิชาฟสกิส คณะวทิยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปรากฏการณขนสง 16

การนําความรอนในสถานะคงตัว (Stationary heat conduction)

การนําความรอนในกรณีที่อุณหภูมิที่ตําแหนงตาง ๆ มีคาคงที่ตลอดเวลา

นั่นคือ

จะไดวา 0

xJE constant

xT

และ

0

tT

นั่นคือ 0 TxKJT E

นั่นคือ มีคาเทากันทุกตําแหนง

หรืออัตราการสงผานพลังงานเขา

เทากับอัตราการสงผานพลังงานออก

EJ

โดย คืออุณหภูมิเมื่อ 0T 0 x

พื้นที่หนาตัดใด ๆ

ในกรณีพื้นทีห่นาตัดคงที่ ในกรณีพื้นทีห่นาตัดคงที่

Page 8: การนําความร อน (Heat Conduction)pioneer.netserv.chula.ac.th/~sjessada/heat_cond.pdf · การถ ายเทความร อน (Heat Transfer) การนําความร

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกัษ ภาควิชาฟสกิส คณะวทิยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปรากฏการณขนสง 17

ทอนโลหะพื้นที่หนาตัด 5 cm2 มีฉนวนหุม ปลายดานหนึ่งเปนทองแดง

ยาว 100 cm จุมอยูในน้ํา 100°C อีกปลายทําดวยเหล็กยาว L2 จุมใน

น้ําแข็ง 0 °C ที่สถานะคงตัวพบวาอุณหภูมิที่รอยตอโลหะเปน 60 °C

สัมประสิทธิ์การนําความรอนของทองแดง และเหล็กเปน 0.92 และ 0.12

cal / s/cm/ºC ตามลําดับ

ตัวอยาง

1. จงคํานวณหาความยาวของเหล็ก (L2)

เนื่องจากอุณหภูมิที่ตําแหนงตาง ๆ

มีคาคงที่ไมเปลี่ยนแปลงไปกับเวลา

การนําความรอนในสถานะคงตัว

และพื้นที่หนาตัดคงที่

0 TxKJT E

และ เทากันตลอดทั้งเสนEJ

Page 9: การนําความร อน (Heat Conduction)pioneer.netserv.chula.ac.th/~sjessada/heat_cond.pdf · การถ ายเทความร อน (Heat Transfer) การนําความร

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกัษ ภาควิชาฟสกิส คณะวทิยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปรากฏการณขนสง 18

ที่รอยตอ สําหรับทองแดง 001 10092.0

06 copperEJ

สําหรับเหล็ก 06 12.0

0 2 LJ ironE

2 1 0.368 cal.cm scopperEJ จะได

06 12.0368.0 0 2 L

จะได cm 19.57 2 L

Page 10: การนําความร อน (Heat Conduction)pioneer.netserv.chula.ac.th/~sjessada/heat_cond.pdf · การถ ายเทความร อน (Heat Transfer) การนําความร

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกัษ ภาควิชาฟสกิส คณะวทิยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปรากฏการณขนสง 19

2. ปริมาณความรอนที่ไหลผานไปยังน้ําแข็งใน 1 วินาที

tSJE

15368.0

cal 1.84

Page 11: การนําความร อน (Heat Conduction)pioneer.netserv.chula.ac.th/~sjessada/heat_cond.pdf · การถ ายเทความร อน (Heat Transfer) การนําความร

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกัษ ภาควิชาฟสกิส คณะวทิยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปรากฏการณขนสง 20

โลหะทรงกลมกลวงรัศมีภายใน R1อุณหภูมิ T1

และรัศมีภายนอก R2 อุณหภูมิ T2

ตัวอยาง

จงหาอุณหภูมิบนผิวเสมือนซึ่งมีรัศมี r โดยที่ R1< r <R2

เนื่องจากอุณหภูมิที่ตําแหนงตาง ๆ

มีคาคงที่ไมเปลี่ยนแปลงไปกับเวลาการนําความรอนในสถานะคงตัว

T1

T2

r

Tเนื่องจากพื้นที่สงผานความรอนไมคงที่

จะไมคงที่ แตอัตราการสงผาน

ความรอน ( ) จะคงที่EJ

SJE

Page 12: การนําความร อน (Heat Conduction)pioneer.netserv.chula.ac.th/~sjessada/heat_cond.pdf · การถ ายเทความร อน (Heat Transfer) การนําความร

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกัษ ภาควิชาฟสกิส คณะวทิยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปรากฏการณขนสง 21

rTKJE

จากกฏของฟูเรียร พิจารณาในแนวรัศมี

จะได const 4 2

rrTKSJE

24const

rdr

KdT

r

R

T

T rdr

KdT

11

24const

11

114const T

RrKT

ดังนั้น

Page 13: การนําความร อน (Heat Conduction)pioneer.netserv.chula.ac.th/~sjessada/heat_cond.pdf · การถ ายเทความร อน (Heat Transfer) การนําความร

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกัษ ภาควิชาฟสกิส คณะวทิยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปรากฏการณขนสง 22

เมื่อ จะได 2 Rr 2 TT

นั่นคือ

21

21124 const

RRRRTTK

112

1212 T

RRRr

rRTTT

จะได

Page 14: การนําความร อน (Heat Conduction)pioneer.netserv.chula.ac.th/~sjessada/heat_cond.pdf · การถ ายเทความร อน (Heat Transfer) การนําความร

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกัษ ภาควิชาฟสกิส คณะวทิยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปรากฏการณขนสง 23

ผนังบานหลังหนึ่งประกอบดวยชั้นตาง ๆ ดังรูป เมื่อทําการวัดอูณหภูมิ

ที่ตําแหนงตาง ๆ พบวา T1 = 25oC, T2 = 20oC และ T5 = -10oC คงที่

ไมเปลี่ยนไปกับเวลา โดย Ld = 2La และ Kd = 5Ka

ตัวอยาง

จงหาอุณหภูมิ T4

T1 T2 T3 T4 T5

a b c dการนําความรอนในสถานะคงตัว

และพื้นที่หนาตัดคงที่

0 TxKJT E

อุณหภูมิไมขึ้นกับเวลา

และ เทากันตลอดทุกผนังEJ

Page 15: การนําความร อน (Heat Conduction)pioneer.netserv.chula.ac.th/~sjessada/heat_cond.pdf · การถ ายเทความร อน (Heat Transfer) การนําความร

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกัษ ภาควิชาฟสกิส คณะวทิยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปรากฏการณขนสง 24

12 TLKJT a

a

E

T1 T2 T3 T4 T5

a b c d

จะไดวา

และ 45 TLKJT d

d

E

นั่นคือ 5214 TTT

LKLKT

ad

da

แทนคาตาง ๆ ที่โจทยกําหนดมาให

จะได

C10 C20C255

2 ooo4

aa

aa

LKLKT

C8 o

Page 16: การนําความร อน (Heat Conduction)pioneer.netserv.chula.ac.th/~sjessada/heat_cond.pdf · การถ ายเทความร อน (Heat Transfer) การนําความร

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกัษ ภาควิชาฟสกิส คณะวทิยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปรากฏการณขนสง 25

ความหนืด (Viscosity)

ความหนืดเปนสมบัติเฉพาะของของไหล (กาซ และของเหลว)

เนื่องจากมีแรงยึดเหนี่ยวระหวางอนุภาคไมมากอยางเชนของแข็ง

ทําใหอนุภาคสามารถเคลื่อนที่ไปมาไดอยางคอนขางอิสระ

เมื่อสวนใดสวนหนึ่งของของไหลถูกทําใหเคลื่อนที่ อนุภาคสวนที่เคลื่อนที่

และสวนอื่น ๆ ก็ยังคงมีการเคลื่อนที่แลกเปลี่ยนไปมาได ทาํใหเกิดการ

เปลี่ยนแปลงโมเมนตัมในทั้งสองสวน

ซึ่งการเปลี่ยนแปลงโมเมนตัมนี้ก็คือ แรงตานการเคลื่อนที่ของของไหล

ซึ่งเรียกวา แรงหนืด (viscous force) นั่นเอง

Page 17: การนําความร อน (Heat Conduction)pioneer.netserv.chula.ac.th/~sjessada/heat_cond.pdf · การถ ายเทความร อน (Heat Transfer) การนําความร

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกัษ ภาควิชาฟสกิส คณะวทิยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปรากฏการณขนสง 26

yvเมื่อยังไมมีการไหลy

x

พิจารณาของไหลซึ่งมีความหนาแนนสม่ําเสมอ ขณะยังไมมีการไหลก็จะไมมี

การสงผานโมเมนตัม แตเมื่อสวนทางดานซายมีถูกทาํใหเคลื่อนที่ จะทําใหมี

โมเมนตัมสงออกไปเนื่องจากอนุภาคมีอัตราเร็ว ทําใหทางดานขาวมีโมเมนตัมดวย

นั่นคือทางดานขาวจะมีการไหลดวย

Page 18: การนําความร อน (Heat Conduction)pioneer.netserv.chula.ac.th/~sjessada/heat_cond.pdf · การถ ายเทความร อน (Heat Transfer) การนําความร

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกัษ ภาควิชาฟสกิส คณะวทิยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปรากฏการณขนสง 27

จากการทดลองพบวา

xv

J yp

กฎของการไหลที่มคีวามหนืด

(Law of viscous flow)

โดย Jp : ความหนาแนนกระแสโมเมนตัม (Momentum current density)

ปริมาณโมเมนตัมในทิศทางการไหลสุทธิซึ่งเคลื่อนที่ในแนว

ตั้งฉากกับการไหลผานพื้นที่ 1 หนวย ซึ่งตั้งฉากกับทิศทาง

การถายเทโมเมนตัม ใน 1 หนวยเวลา (kg.m-1s-2)

ซึ่งก็คือความเคนเฉือน (shear stress) ในผิวของของไหลนั่นเอง

xvy

: เกรเดียนทในแนวแกน x ของความเร็วของการไหล

: สัมประสิทธิ์ความหนืด (viscosity) (N.s.m-2)

Page 19: การนําความร อน (Heat Conduction)pioneer.netserv.chula.ac.th/~sjessada/heat_cond.pdf · การถ ายเทความร อน (Heat Transfer) การนําความร

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกัษ ภาควิชาฟสกิส คณะวทิยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปรากฏการณขนสง 28

พิจารณาปริมาตรเล็ก ๆ ดังรูป SdxdV

ppp JJdJ

การเพิ่มขึ้นของโมเมนตัม

ในปริมาตร dV SdtdJdvNmtpxy constconst

SdxdxdJ

dtdv

Nmt

p

x

y

constconst

จะได

pJ pJ

dx

Syv

xJ

tv py

ในกรณีพื้นที่หนาตัดคงที่

Page 20: การนําความร อน (Heat Conduction)pioneer.netserv.chula.ac.th/~sjessada/heat_cond.pdf · การถ ายเทความร อน (Heat Transfer) การนําความร

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกัษ ภาควิชาฟสกิส คณะวทิยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปรากฏการณขนสง 29

py J

xtv

แตถามีแรงภายนอกมากระทํากับของไหลในทิศเดียวกับการไหล

ทําใหเกิดความเคนเฉือน ในผิวของของไหล

จากกฏการไหลที่มีความหนืด

จะไดวา

จะไดวาxx

vt

v yy

1 2

2

สมการการเคลื่อนที่ของของไหลที่มีความหนืด

(Equation of motion of viscous flow)ในกรณีพื้นที่หนาตัดคงที่

Page 21: การนําความร อน (Heat Conduction)pioneer.netserv.chula.ac.th/~sjessada/heat_cond.pdf · การถ ายเทความร อน (Heat Transfer) การนําความร

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกัษ ภาควิชาฟสกิส คณะวทิยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปรากฏการณขนสง 30

การไหลในสถานะคงตัว (Stationary flow)

การไหลที่ความเร็วของการไหลที่ตําแหนงตาง ๆ มีคาคงที่ตลอดเวลา

นั่นคือ

จะไดวา 0

xJ p

0

tvy

นั่นคือ มีคาเทากันทุกตําแหนง

หรือการถายเทโมเมนตัมระหวาง

ชั้นของของไหลมีคาเทากันทั้งหมด

pJxx

v y

1 2

2และ

พื้นที่หนาตัดใด ๆ

ในกรณีพื้นทีห่นาตัดคงที่ ในกรณีพื้นทีห่นาตัดคงที่

Page 22: การนําความร อน (Heat Conduction)pioneer.netserv.chula.ac.th/~sjessada/heat_cond.pdf · การถ ายเทความร อน (Heat Transfer) การนําความร

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกัษ ภาควิชาฟสกิส คณะวทิยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปรากฏการณขนสง 31

การไหลในสถานะคงตัว 0

tvy

y l

a

นั่นคือ ความเร็วในการไหลที่ตําแหนงตาง ๆ คงที่

จากกฏขอที่ 1 ของนิวตัน แสดงวาแรงลัพธที่กระทํากับ

ชั้นตาง ๆ ของของเหลวมีคาเทากับศูนย

นั่นคือ แรงหนืด = แรงภายนอก

หรือความเคนเฉือน

จากแรงหนืด= ความเคนเฉือน

จากแรงภายนอก

พื้นที่หนาตัดในการฟุง

ของโมเมนตัมไมคงที่

จงหาอัตราการไหลในสถานะคงตัวของของเหลวผานทอทรงกระบอก

รัศมี a ยาว l ความดันที่ปลายทอทั้งสองตางกัน p และของเหลวมี

ความหนืด ความหนาแนน

ตัวอยาง

Page 23: การนําความร อน (Heat Conduction)pioneer.netserv.chula.ac.th/~sjessada/heat_cond.pdf · การถ ายเทความร อน (Heat Transfer) การนําความร

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกัษ ภาควิชาฟสกิส คณะวทิยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปรากฏการณขนสง 32

y

l

a

r

หรือ

ความเคนเฉือน

จากแรงหนืด= ความเคนเฉือน

จากแรงภายนอก

สําหรับการไหล

ในสถานะคงตัว

ทุกรูปแบบ

pJ

พิจารณาชั้นของไหลทรงกระบอกหนา dr

รัศมี r ยาว l ดังรูป

xvyหรือ

จะไดl

prrlrp

2

2)(

2

และ rdrl

pdvy 2

Page 24: การนําความร อน (Heat Conduction)pioneer.netserv.chula.ac.th/~sjessada/heat_cond.pdf · การถ ายเทความร อน (Heat Transfer) การนําความร

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกัษ ภาควิชาฟสกิส คณะวทิยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปรากฏการณขนสง 33

rdrl

pdvy 2

r

a

v

y rdrl

pdvy

2

0

22

4 ra

lpvy

อัตราการไหล (dQ) เนื่องจากทรงกระบอกหนา dr

dSvdQ y

rdrral

p

24

22

yl

a

r

Page 25: การนําความร อน (Heat Conduction)pioneer.netserv.chula.ac.th/~sjessada/heat_cond.pdf · การถ ายเทความร อน (Heat Transfer) การนําความร

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกัษ ภาควิชาฟสกิส คณะวทิยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปรากฏการณขนสง 34

y

l

a

r

rdrral

pdQ

24

22

อัตราการไหล Q

a

rdrralpQ

0

22

42

lpaQ

8

4

กฎของปวเชย (Poiselle’s law)

1-kg.s