อจท.แบบวัดฯประวัติศาสตร์ม.2

20
ชื่อ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ชั้น ……………………………………………………………………. เลขที…………………………………………………………. ẺÇÑ´ áÅкѹ·Ö¡¼Å¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ »ÃÐÇѵÔÈÒʵà Á.ò ตามมาตรฐานตัวชี้วัด กลุมสาระการเรียนรู สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ วรรัตน วรรณเลิศลักษณ วัธนียวรรณ อุราสุข สุรภา กรุดอินทร นครรัฐ โชติพรม คณะบรรณาธิการและผูตรวจ รมณีย มวงเงิน จิราภรณ นวลมี ไชยพศ โลดํารงรัตน ทัศนีย สายันหกุลดิลก สุพัตรา เอาซุมพครั้งท ʧǹÅÔ¢ÊÔ·¸ÔìμÒÁ¾ÃÐÃÒªºÑÞÞÑμÔ ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ òòóóñöù ฉบับ เฉลย (à©ÅÂ) ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ òòôóññø

Upload: aksornact

Post on 18-Jan-2017

1.114 views

Category:

Education


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: อจท.แบบวัดฯประวัติศาสตร์ม.2

ชื่อ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ชั้น ……………………………………………………………………. เลขที่ ………………………………………………………….

ẺÇÑ́áÅкѹ·Ö¡¼Å¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ

»ÃÐÇѵÔÈÒʵÃ� Á.òตามมาตรฐานตัวชี้วัด กลุมสาระการเรียนรู สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑

วรรัตน วรรณเลิศลักษณ

วัธนียวรรณ อุราสุข

สุรภา กรุดอินทร

นครรัฐ โชติพรม

คณะบรรณาธิการและผูตรวจ

รมณีย มวงเงิน

จิราภรณ นวลมี

ไชยพศ โลดํารงรัตน

ทัศนีย สายันหกุลดิลก

สุพัตรา เอาซุน

พมิพครั้งที่ ๒ʧǹÅÔ¢ÊÔ·¸ÔìµÒÁ¾ÃÐÃÒªºÑÞÞѵÔ

ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ òòóóñöù

ฉบับเฉลย

(à©ÅÂ) ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ òòôóññø

Page 2: อจท.แบบวัดฯประวัติศาสตร์ม.2

¤íÒªÕéᨧ

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ ไดกําหนดมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดไว

เปนกรอบและทศิทางในการกาํหนดเนือ้หา ทกัษะ กระบวนการเรยีนรู กจิกรรมการเรยีนการสอน และการประเมนิ

ผลการเรียนรูของผูเรียนวามีระดับความรู ความสามารถ และมีคุณธรรม จริยธรรม คานิยมตามที่กําหนดไวใน

มาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดกลุมสาระการเรียนรูตางๆ มากนอยเพียงใดรวมถึงพัฒนาการดานสมรรถนะ

สําคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงคตามเปาหมายที่กําหนดไวในหลักสูตรแกนกลางฯ ดวย

มาตรฐานการเรยีนรูจงึเปนเปาหมายสาํคญัในการพฒันาผูเรียนใหมคีวามรูความสามารถ ครอบคลมุ ๘

สาระการเรียนรู สวนตัวชี้วัดจะระบุสิ่งที่ผูเรียนตองรูและปฏิบัติได รวมถึงคุณลักษณะ ที่ตองเกิดขึ้นกับผูเรียน

ในแตละระดบัชัน้ สถานศกึษาและผูสอนจงึตองนาํตวัชีว้ดัไปจดัทาํหนวยการเรียนรู จดักระบวนการเรียนรู และ

กจิกรรมการเรยีนการสอน รวมถงึกาํหนดเกณฑสาํคญัทีจ่ะใชสาํหรบัประเมนิผลผูเรยีน เพือ่ตรวจสอบคณุภาพ

ผูเรยีนแตละคน พรอมทัง้จดัทาํหลกัฐานรายงานผลการเรียน และพฒันาการดานตางๆ ของผูเรียนเปนรายบคุคล

การจัดทําแบบวัดและบันทึกผลการเรียนรูของผูเรียนเปนรายบุคคลฉบับนี้ จึงมีวัตถุประสงคสําคัญ

เพื่ออํานวยความสะดวกแกผูสอน ในการนํากิจกรรมและเครื่องมือที่ออกแบบไวนี้ไปประยุกตใชเปนเครื่องมือ

วัดผลเพ่ือตรวจสอบผลการเรียนรูที่เกิดขึ้นกับผูเรียน จะไดนําผลการวัดมาปรับปรุงพัฒนาผูเรียนแตละคน

จนเต็มศักยภาพตามเปาหมายของหลักสูตร

ทัง้น้ีการวดัผลประเมนิผลระดบัชัน้เรยีน จดัเปนภาระงานสําคญัทีสุ่ดในกระบวนการวดัผลประเมนิผล

ของผูสอน เพราะตองการวัดความรู ทักษะ และความสามารถที่เกิดกับผูเรียนทุกคน ผูสอนจะไดนําผลการวัด

เหลาน้ันไปวางแผนจดัการเรยีนการสอนใหสอดคลองกบัความสามารถของผูเรยีนเปนรายบคุคล รายกลุม และ

หรือรายหองเรียน เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนใหไดตามเกณฑประกนัคณุภาพการศกึษาทีส่ถานศกึษา

แตละแหงกาํหนดไว

ดังน้ัน การประเมินผลผูเรียนจึงจําเปนตองใชเคร่ืองมือวัดผลที่มีคุณภาพ ซึ่งผูสอนตองสรางหรือ

เลือกใชเครื่องมือวัดผลที่มีคุณภาพสอดคลองกับตัวชี้วัด เพื่อนําผลการวัดมาใชตัดสินผลการเรียนของ

ผูเรียนไดอยางมั่นใจวา ระดับผลการเรียนที่ตัดสินนั้นสอดคลองกับระดับความรูความสามารถที่เกิดขึ้นจริง

ของผูเรียนแตละคน ซ่ึงมีคาความเที่ยงตรงและคาความเชื่อมั่นสูง แสดงใหเห็นถึงความสามารถของผูสอน

ในดานการจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ และดานการจัดระบบประกันคุณภาพผูเรียนที่สามารถ

ตรวจสอบและรายงานผลแกผูปกครองนักเรียนได

แบบวัดและบันทึกผลการเรียนรูของผูเรียนฉบับนี้ จึงเปนประโยชนตอผูสอนและผูเรียนที่จะใช

วางแผนการประเมินผลการเรียนรู ร วมกัน เพ่ือนําไปสูการพัฒนาคุณภาพผู เรียนตามเปาหมายของ

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ ทุกประการ

คณะผูจัดทํา

วัดผลเพ่ือตรวจสอบผลการเรียนรูที่เกิดขึ้นกับผูเรียน จะไดนําผลการวัดมาปรับปรุงพัฒนาผูเรียนแตละคน

จนเต็มศักยภาพตามเปาหมายของหลักสูตร

วัดผลเพ่ือตรวจสอบผลการเรียนรูที่เกิดขึ้นกับผูเรียน จะไดนําผลการวัดมาปรับปรุงพัฒนาผูเรียนแตละคน

จนเต็มศักยภาพตามเปาหมายของหลักสูตรฉบับเฉลย

Page 3: อจท.แบบวัดฯประวัติศาสตร์ม.2

ÊÒúÑÞ

ẺáÊ´§¼Å¡ÒûÃÐàÁÔ¹¤Ø³ÀÒ¾µÒÁµÑǪÕéÇÑ´ªÑé¹»‚ (ñ)

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õ è ñ ¤ÇÒÁÊíÒ¤ÑޢͧËÅÑ¡°Ò¹·Ò§»ÃÐÇѵÔÈÒʵÃ� ñ

¡Ô¨¡ÃÃÁ½ƒ¡·Ñ¡ÉÐ ñ

¡Ô¨¡ÃÃÁµÒÁµÑǪÕéÇÑ´ (Ê ô.ñ Á.ò/ñ - ó) ó

Ẻ·´Êͺ»ÃШíÒ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ñ ñð

ẺºÑ¹·Ö¡¼Å¡ÒûÃÐàÁÔ¹ ñô

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õ è ò ¾Ñ²¹Ò¡ÒâͧÍҳҨѡÃÍÂظÂÒ ñõ

¡Ô¨¡ÃÃÁ½ƒ¡·Ñ¡ÉÐ ñõ

¡Ô¨¡ÃÃÁµÒÁµÑǪÕéÇÑ´ (Ê ô.ó Á.ò/ñ - ó) ñø

Ẻ·´Êͺ»ÃШíÒ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ò ò÷

ẺºÑ¹·Ö¡¼Å¡ÒûÃÐàÁÔ¹ óñ

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õ è ó ¾Ñ²¹Ò¡ÒâͧÍҳҨѡø¹ºØÃÕ óò

¡Ô¨¡ÃÃÁ½ƒ¡·Ñ¡ÉÐ óò

¡Ô¨¡ÃÃÁµÒÁµÑǪÕéÇÑ´ (Ê ô.ó Á.ò/ñ, ó) óõ

Ẻ·´Êͺ»ÃШíÒ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ó ôñ

ẺºÑ¹·Ö¡¼Å¡ÒûÃÐàÁÔ¹ ôõ

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õ è ô »ÃÐÇѵÔáÅмŧҹ¢Í§ºØ¤¤ÅÊíÒ¤ÑÞ㹡ÒÃÊÌҧÊÃä�ªÒµÔä·Â ôö

¡Ô¨¡ÃÃÁ½ƒ¡·Ñ¡ÉÐ ôö

¡Ô¨¡ÃÃÁµÒÁµÑǪÕéÇÑ´ (Ê ô.ó Á.ò/ó) ô÷

Ẻ·´Êͺ»ÃШíÒ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ô õó

ẺºÑ¹·Ö¡¼Å¡ÒûÃÐàÁÔ¹ õõ

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õ è õ ·ÕèµÑé§áÅÐÊÀÒ¾ÀÙÁÔÈÒʵÃ�·ÕèÁռŵ‹Í¾Ñ²¹Ò¡Òâͧ·ÇÕ»àÍàªÕ õö

ô ¡Ô¨¡ÃÃÁ½ƒ¡·Ñ¡ÉÐ õö

¡Ô¨¡ÃÃÁµÒÁµÑǪÕéÇÑ´ (Ê ô.ò Á.ò/ñ) õù

Ẻ·´Êͺ»ÃШíÒ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè õ öõ

ẺºÑ¹·Ö¡¼Å¡ÒûÃÐàÁÔ¹ öù

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õ è ö áËÅ‹§ÍÒøÃÃÁã¹·ÇÕ»àÍàªÕ ÷ð

¡Ô¨¡ÃÃÁ½ƒ¡·Ñ¡ÉÐ ÷ð

¡Ô¨¡ÃÃÁµÒÁµÑǪÕéÇÑ´ (Ê ô.ò Á.ò/ò) ÷ó

Ẻ·´Êͺ»ÃШíÒ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ö ÷ù

ẺºÑ¹·Ö¡¼Å¡ÒûÃÐàÁÔ¹ øò

Ẻ·´Êͺ»ÃÐàÁÔ¹¼ÅÊÑÁÄ·¸Ôì·Ò§¡ÒÃàÃÕ¹»ÃШíÒÇÔªÒ øó

ฉบับเฉลย

Page 4: อจท.แบบวัดฯประวัติศาสตร์ม.2

หนวยที่

มาตรฐานการ

เรียนรู

ตัวชี้วัดชั้น ม.๒ การวัดและประเมินผล สรุปผลการประเมินระดับคุณภาพตามตัวชี้วัดชั้นปของ

หนวยการเรียนรู

วิธีการประเมิน

เครื่องมือประเมินผล

๑ มฐ. ส ๔.๑

๑. ประเมินความนาเชื่อถือของหลักฐานทางประวัติศาสตรในลักษณะตางๆ

ตรวจ ก. ๑.๑ ● ก. ๑.๑ ตอบคําถามจากภาพหลักฐานทางประวัติศาสตร

ส ๔.๑ ม.๒/๑ - ๓

ตรวจ ก. ๑.๒ ● ก. ๑.๒ ศึกษากรณีตัวอยางและประเมินคาของหลักฐาน

ตรวจ ก. ๑.๓ ● ก. ๑.๓ อานบทความและใชวิธีการทางประวัติศาสตรวิเคราะหขอมูล

๒. วิเคราะหความแตกตางระหวางความจริงกับขอเท็จจริงของเหตุการณทางประวัติศาสตร

ตรวจ ก. ๑.๔ ● ก. ๑.๔ วิเคราะหขอเท็จจริงของหลักฐานทางประวัติศาสตรจากขอความที่กําหนดให

ตรวจ ก. ๑.๕ ● ก. ๑.๕ อานบทความแลวตอบคําถาม

๓. เห็นความสําคัญของการตีความหลักฐานทางประวัติศาสตรที่

นาเชื่อถือ

ตรวจ ก. ๑.๖ ● ก. ๑.๖ อานขอความแลวตอบคําถาม

ตรวจ ก. ๑.๗ ● ก. ๑.๗ อานบทความแลววิเคราะหความนาเชื่อถือของหลักฐานทางประวัติศาสตร

๒ มฐ. ส ๔.๓

๑. วิเคราะหพัฒนาการของอาณาจักรอยุธยาและธนบุรีในดานตางๆ

ตรวจ ก. ๒.๑ ● ก.๒.๑ เติมขอความเกี่ยวกับเหตุการณในสมัยอยุธยา

ส ๔.๓ม.๒/๑ - ๓

ตรวจ ก. ๒.๒ ● ก.๒.๒ เขียนสรุปความเปนมาของแควนสุพรรณภูมิและแควนละโว

ตรวจ ก. ๒.๓ ● ก.๒.๓ วิเคราะหเหตุผลของการปฏิรูปการเมืองการปกครองในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ

ตรวจ ก. ๒.๔ ● ก.๒.๔ ตอบคําถามเกี่ยวกับการเมืองการปกครองในสมัยอยุธยา

ตรวจ ก. ๒.๕ ● ก.๒.๕ เติมขอความเกี่ยวกับพัฒนาการทางดานเศรษฐกิจในสมัยอยุธยา

ตรวจ ก. ๒.๖ ● ก.๒.๖ วิเคราะหลักษณะโครงสรางสังคมไทยสมัยอยุธยา

ตรวจ ก. ๒.๗ ● ก.๒.๗ วิเคราะหความสัมพันธระหวางอาณาจักรอยุธยากับชาติตางๆ

* ก. หมายถึง กิจกรรมตามตัวชี้วัด

µÒÃÒ§ºÑ¹·Ö¡¼Å¡ÒûÃÐàÁÔ¹¤Ø³ÀÒ¾µÒÁµÑǪÕéÇÑ́ ªÑé¹»‚

ฉบับเฉลย

(๑)

Page 5: อจท.แบบวัดฯประวัติศาสตร์ม.2

µÒÃÒ§ºÑ¹·Ö¡¼Å¡ÒûÃÐàÁÔ¹¤Ø³ÀÒ¾µÒÁµÑǪÕéÇÑ́ ªÑé¹»‚

หนวยที่

มาตรฐานการ

เรียนรู

ตัวชี้วัดชั้น ม.๒ การวัดและประเมินผล สรุปผลการประเมินระดับคุณภาพตามตัวชี้วัดชั้นปของ

หนวยการเรียนรู

วิธีการประเมิน

เครื่องมือประเมินผล

๒. วิเคราะหปจจัยที่สงผลตอความมั่นคงและความเจริญรุงเรืองของอาณาจักรอยุธยา

ตรวจ ก. ๒.๘ ● ก.๒.๘ เติมขอความปจจัยสงผลตอความมั่นคงของอาณาจักรอยุธยาลงในผังมโนทัศน

๓. ระบุภูมิปญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยาและธนบุรีและอิทธิพลของภูมิปญญาดังกลาวตอการพัฒนาชาติไทยในยุคตอมา

ตรวจ ก. ๒.๙ ● ก.๒.๙ ดูภาพเกี่ยวกับภูมิปญญาสมัยอยุธยาแลวตอบคําถาม

๓ มฐ. ส ๔.๓

๑. วิเคราะหพัฒนาการของอาณาจักรอยุธยาและธนบุรีในดานตางๆ

ตรวจ ก. ๓.๑ ● ก.๓.๑ เติมขอความลงในชองวาง

ส ๔.๓ ม.๒/๑, ๓

ตรวจ ก. ๓.๒ ● ก.๓.๒ วิเคราะหขอเท็จจริงของเหตุการณสมัยธนบุรี

ตรวจ ก. ๓.๓ ● ก.๓.๓ ศึกษาโครงสรางทางสังคมสมัยธนบุรีแลวตอบคําถาม

ตรวจ ก. ๓.๔ ● ก.๓.๔ อานเหตุการณที่กําหนดใหแลวตอบคําถาม

ตรวจ ก. ๓.๕ ● ก.๓.๕ ลําดับเหตุการณแลวตอบคําถาม

๓. ระบุภูมิปญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยาและธนบุรีและอิทธิพลของภูมิปญญาดังกลาวตอการพัฒนาชาติไทยในยุคตอมา

ตรวจ ก. ๓.๖ ● ก.๓.๖ ยกตัวอยางภูมิปญญาและวัฒนธรรมในสมัยธนบุรี

๔ มฐ. ส ๔.๓

๓. ระบุภูมิปญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยาและธนบุรีและอิทธิพลของภูมิปญญาดังกลาวตอการพัฒนาชาติไทยในยุคตอมา

ตรวจ ก. ๔.๑ ● ก.๔.๑ ระบุยุคสมัยของภูมิปญญาและบอกประโยชนและความสําคัญของภูมิปญญา

ส ๔.๓ม.๒/๓

ตรวจ ก. ๔.๒ ● ก.๔.๒ เตมิขอความเกีย่วกบัผลงานของบุคคลสําคัญในชองวาง

ตรวจ ก. ๔.๓ ● ก.๔.๓ สืบคนประวัติและผลงานของบุคคลสําคัญในสมัยอยุธยา

ตรวจ ก. ๔.๔ ● ก.๔.๔ สืบคนประวัติและผลงานของบุคคลสําคัญในสมัยธนบุรี

ตรวจ ก. ๔.๕ ● ก.๔.๕ วิเคราะหผลงานของบุคคลสําคัญแลวจัดประเภท

ตรวจ ก. ๔.๖ ● ก.๔.๖ ดูภาพแลวยกตัวอยางสถานการณปจจุบันที่ไดรับอิทธิพลมาจากภูมิปญญาสมัยอยุธยาและธนบุรี

ฉบับเฉลย

(๒)

Page 6: อจท.แบบวัดฯประวัติศาสตร์ม.2

หมายเหตุ : ๑. ใหผูสอนประเมินผลระดับคุณภาพตามตัวชี้วัดชั้นปของหนวยการเรียนรู โดยนําคะแนนรวมทัง้หมดของทกุกจิกรรมตามตวัชีว้ดัในแบบบนัทกึการประเมนิของแตละหนวยการเรยีนรูมาเปรียบเทียบกับเกณฑการตัดสินคุณภาพของตัวชี้วัดตามหนวยการเรียนรูแตละหนวย

๒. ใหผู สอนนําผลการประเมินระดับคุณภาพตามตัวชี้วัดชั้นปของแตละหนวยการเรียนรู มาสรุปในตาราง โดยใสหมายเลขระดับคะแนน ๑ - ๔ (๔ = ดีมาก ๓ = ดี ๒ = พอใช ๑ = ปรับปรุง) ลงในชอง ❏ ตามระดับคุณภาพ

หนวยที่

มาตรฐานการ

เรียนรู

ตัวชี้วัดชั้น ม.๒ การวัดและประเมินผล สรุปผลการประเมินระดับคุณภาพตามตัวชี้วัดชั้นปของ

หนวยการเรียนรู

วิธีการประเมิน

เครื่องมือประเมินผล

๕ มฐ. ส ๔.๒

๑. อธิบายพัฒนาการทางสังคม เศรษฐกิจและการเมืองของภูมิภาคเอเชีย

ตรวจ ก. ๕.๑ ● ก.๕.๑ ดูแผนที่แลวตอบคําถาม

ส ๔.๒ ม.๒/๑

ตรวจ ก. ๕.๒ ● ก.๕.๒ เติมขอความในแผนที่แลวตอบคําถาม

ตรวจ ก. ๕.๓ ● ก.๕.๓ ตอบคําถามเกี่ยวกับพัฒนาการทางดานเศรษฐกิจในทวีปเอเชีย

ตรวจ ก. ๕.๔ ● ก.๕.๔ จับคูขอความเกี่ยวกับเอกลักษณของทวีปเอเชียที่สัมพันธกัน

ตรวจ ก. ๕.๕ ● ก.๕.๕ ดูรูปแลวตอบคําถาม

ตรวจ ก. ๕.๖ ● ก.๕.๖ วิเคราะหลักษณะเดนของพัฒนาการของทวีปเอเชีย

๖ มฐ. ส ๔.๒

๒. ระบุความสําคัญของแหลงอารยธรรมโบราณในภูมิภาคเอเชีย

ตรวจ ก. ๖.๑ ● ก.๖.๑ วิเคราะหพัฒนาการของอารยธรรมในเอเชียยุคกอนประวัติศาสตร

ส ๔.๒ม.๒/๒

ตรวจ ก. ๖.๒ ● ก.๖.๒ จําแนกอารยธรรมในเอเชีย

ตรวจ ก. ๖.๓ ● ก.๖.๓ ดูภาพแหลงอารยธรรมแลวเติมขอความ

ตรวจ ก. ๖.๔ ● ก.๖.๔ ดูหมายเลขในแผนที่แหลงอารยธรรมแลวเติมขอความ

ตรวจ ก. ๖.๕ ● ก.๖.๕ เขียนอธิบายภาพสถานที่สําคัญของอารยธรรมในเอเชียที่กําหนดให

ฉบับเฉลย

(๓)

Page 7: อจท.แบบวัดฯประวัติศาสตร์ม.2

กิจกรรมที่ ๑ ใหนักเรียนทําเครื่องหมาย ✓ ในชองที่กําหนดใหมีความสอดคลองและถูกตอง

ขอความ หลักฐานที่เปน

ลายลักษณอักษร

หลักฐานที่ไมเปน

ลายลักษณอักษร

หลักฐาน

ชั้นตน

หลักฐาน

ชั้นรอง

๑. จารึก ✓ ✓ ๒. โครงกระดูกมนุษย ✓ ✓

๓. เครื่องปนดินเผาบานเชียง ✓ ✓ ๔. หนังสือบันทึกเรื่องราวในอดีต ซึ่งรวบรวมมาจากเอกสาร

✓ ✓

๕. ภาพวาดหัวหนาคณะทูตฝรั่งเศส เขาเฝาถวายพระราชสาสนแด สมเด็จพระนารายณมหาราช

✓ ✓

๖. บทความทางวิชาการ ✓ ✓

๗. เงินพดดวง ✓ ✓ ๘. หนังสือการเมืองไทยสมัย พระนารายณ ของนิธิ เอียวศรีวงศ ตีพิมพป ๒๕๕๒

✓ ✓

๙. ภาพถายเหตุการณ ๑๔ ตุลาคม ๒๕๑๖

✓ ✓

๑๐. กฎหมายตราสามดวง ✓ ✓

กิจกรรมฝกทักษะ

¤ÇÒÁÊíÒ¤ÑޢͧËÅÑ¡°Ò¹·Ò§»ÃÐÇѵÔÈÒʵÃ�

๑˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

หลักฐานทางประวัติศาสตรมีความสําคัญตอการศึกษาเหตุการณตางๆ ที่เกิดขึ้นในอดีต

ซึ่งในการศึกษานั้นจะใชวิธีการทางประวัติศาสตร เพื่อรวบรวมหลักฐานตางๆ และนําหลักฐาน

เหลานั้นมาผานการประเมินคุณคา วิเคราะห สังเคราะห เพื่อใหไดขอมูลที่ถูกตองสอดคลองกับ

เหตุการณที่เกิดขึ้นหรือใกลเคียงกับความจริง

ฉบับเฉลย

Page 8: อจท.แบบวัดฯประวัติศาสตร์ม.2

กิจกรรมที่ ๒ ใหนักเรียนนําตัวอักษรหนาขอความดานบนใสลงในชองวางของขอ ๑ - ๕

ใหถูกตองและสัมพันธกัน

ก. การกําหนดหัวเรื่อง

ข. การเรียบเรียงหรือการนําเสนอ

ค. การรวบรวมหลักฐาน

ง. การประเมินคุณคาของหลักฐาน

จ. การวิเคราะห สังเคราะห และการจัดหมวดหมู

๑. ………………..

การเลือกหัวข อหรือ

ประเด็นที่สนใจหรือมีความ

สงสัยในความรูเดิม

๔. ………………..

หลกัฐานที่ใชมีทัง้หลกั

ฐานชั้นต นหรือหลักฐาน

ปฐมภมิูกบัหลกัฐานชัน้รอง

หรือหลักฐานทุติยภูมิ

๒. ………………..

หลักฐานนั้นเปนของ

จริงหรือของปลอม มีความ

นาเชือ่ถอื ผูบนัทกึไดมสีวน

เกี่ยวข องกับเหตุการณ

อย างไร ข อมูลที่บันทึก

ถูกตอง เที่ยงตรงเพียงใด

๕. ………………..

หลักฐานที่รวบรวมได

ตองมีการแยกแยะประเด็น

ต างๆ และรวมประเด็น

จากนั้นจึงผานกระบวนการ

วิเคราะห สังเคราะห จัดให

เปนระบบหมวดหมู

๓. ………………..

การนําขอมูลมาเรียบ-

เรียงหรือนําเสนอแกบุคคล

ทั่วไป โดยใชภาษาที่อาน

เขาใจงาย

ฉบับเฉลย

ค จ

ง ข

Page 9: อจท.แบบวัดฯประวัติศาสตร์ม.2

กิจกรรมที่ ๑.๑ ใหนักเรียนพิจารณาภาพที่กําหนดให แลวตอบคําถาม

ใหถกูตองและสมบูรณ (ส ๔.๑ ม.๒/๑)

กิจกรรมตามตัวชี้วัด

คะแนนเต็ม คะแนนที่ได

ñð

ชื่อหลักฐาน ..........................................................................................................

..........................................................................................................................................

ประเภท ....................................................................................................................

..........................................................................................................................................

ความสําคัญทางหลักฐานประวัติศาสตร ...................................

……………………………………………………………………………………………………..

……………………………………………………………………………………………………..

……………………………………………………………………………………………………..

……………………………………………………………………………………………………..

……………………………………………………………………………………………………..

..........................................................................................................................................

ชื่อหลักฐาน ..........................................................................................................

..........................................................................................................................................

ประเภท ....................................................................................................................

..........................................................................................................................................

ความสําคัญทางหลักฐานประวัติศาสตร ...................................

……………………………………………………………………………………………………..

……………………………………………………………………………………………………..

……………………………………………………………………………………………………..

……………………………………………………………………………………………………..

……………………………………………………………………………………………………..

..........................................................................................................................................

ฉบับเฉลย

พระราชพงศาวดารกรุงเกาฉบับ

หลวงประเสริฐฯ

หลักฐานที่เปนลายลักษณอักษร / หลักฐาน

ชั้นรอง

พระราชพงศาวดารกรุงเกาฉบับหลวงประเสริฐฯ เปน

หลักฐานที่ยอมรับกันวามีความถูกตองทั้งศักราชและ

เหตุการณที่กลาวถึง เพราะเขียนขึ้นจากหลักฐานที่เปน

จดหมายเหตุโหร จดหมายเหตุจากหอหนังสือหรือหอ

สมดุหลวง และจากพระราชพงศาวดาร รวมใหอยูทีเ่ดยีวกนั

เมื่อ พ.ศ. ๒๒๒๓ ในสมัยสมเด็จพระนารายณมหาราช

เจดียวัดใหญชัยมงคล

จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

หลกัฐานทีไ่มเปนลายลกัษณอกัษร / หลกัฐาน

ชั้นตน

เจดียวัดใหญชัยมงคล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เปน

หลักฐานที่สามารถนํามาใชประกอบกับหลักฐานที่เปน

ลายลักษณอักษรในการศึกษาเรื่องราวสมัยอยุธยาใหมี

ความกระจางชัดเจนยิ่งขึ้นได

Page 10: อจท.แบบวัดฯประวัติศาสตร์ม.2

กิจกรรมที่ ๑.๒ ใหนักเรียนศึกษากรณีตัวอยางและประเมินคาของหลักฐาน

ที่กําหนดใหวามีความเหมาะสมหรือไม เพราะเหตุใด

(ส ๔.๑ ม.๒/๑)

คะแนนเต็ม คะแนนที่ได

ñð

กรณีตัวอยางที่ ๑

นายไมตองการทํารายงานเรื่อง การเมืองการปกครองสมัยสุโขทัย

จึงศึกษาขอมูลจากศิลาจารึกหลักที่ ๑ สมัยพอขุนรามคําแหงมหาราช

การประเมินคาหลักฐาน ............................................................................................................................

..........................................................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................................................

กรณีตัวอยางที่ ๒

นายชาญชัยตองการศึกษาขอมูลเรื่อง การเลิกทาส จึงเลือกศึกษา

จากจดหมายเหตุฟานฟลีต (จดหมายเหตุวันวลิต)

การประเมินคาหลักฐาน ............................................................................................................................

..........................................................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................................................

กรณีตัวอยางที่ ๓

นายสมชาติเขยีนบทความเหตกุารณ ๑๔ ตลุาคม ๒๕๑๖ จงึศกึษา

ภาพขาวจากหนงัสอืพมิพยอนหลงัในหลายๆ ฉบบั

การประเมินคาหลักฐาน ............................................................................................................................

..........................................................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................................................

กรณีตัวอยางที่ ๔

นายหนึ่งศึกษาวิถีชีวิตของผูคนในสมัยอยุธยาจึงศึกษาขอมูลจาก

อนุสรณดอนเจดีย

การประเมินคาหลักฐาน ............................................................................................................................

..........................................................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................................................

ฉบับเฉลย

มคีวามเหมาะสมเพราะศลิาจารกึหลกัที ่๑ สรางขึน้

ในสมัยสุโขทัย เรื่องราวและขอมูลตางๆ ที่บันทึกไว จึงมีความนาเชื่อถือพอ

ที่จะนํามาใชในการศึกษาประวัติศาสตรสุโขทัย

ไมมีความเหมาะสม เพราะจดหมายเหตุฟานฟลีต

เขยีนขึน้ในสมยัอยธุยาตอนปลาย กลาวถงึเหตกุารณในสมยันัน้ ซึง่ไมมขีอมลู

เกีย่วกบัการเลกิทาส

มีความเหมาะสมเพราะหนังสือพิมพจะรายงานขาว

ขอมูลเรื่องราวตางๆ ที่เกิดขึ้นในแตละวัน ขอมูลที่ปรากฏอยูในหนังสือพิมพ

จึงมีความนาเชื่อถือ เพราะเปนหลักฐานที่เกิดรวมสมัย

ไมมีความเหมาะสมเพราะเปนหลักฐานที่เกิดขึ้นใน

สมัยรัตนโกสินทร มิไดอยูรวมสมัย และลักษณะของหลักฐานไมสามารถให

ขอมูลหรือรายละเอียดมากพอที่จะใชในการศึกษาได

Page 11: อจท.แบบวัดฯประวัติศาสตร์ม.2

กิจกรรมที่ ๑.๓ ใหนักเรียนอานบทความที่กําหนดให และใชวิธีการทาง

ประวัติศาสตรวิเคราะหขอมูล แลวตอบคําถามใหถูกตอง

และสมบูรณ (ส ๔.๑ ม.๒/๑)

คะแนนเต็ม คะแนนที่ได

õ

“คนไทย” มาจากไหน ไปดไูดทีบ่านโนนวัด อําเภอโนนสงู นครราชสมีา บรรพชนเกาแกสบืเนือ่งยาวนานทีส่ดุในประเทศไทย

ผูเขียนคอลัมนรายงานพิเศษนําเสนอวา “เมื่อไมนานมานี้มีขาวจากสํานักงานคณะกรรมการวิจัย

แหงชาต ิ(วช.) ความวา ศ.ชารลส ไฮแอม ผูเชีย่วชาญโบราณคดมีหาวทิยาลยัโอทาโก นวิซแีลนด รวมกบั

คณะวิจยัจากกรมศลิปากร ไดทาํการสาํรวจแหลงโบราณคดทีีบ่านโนนวดั ตาํบลพลสงคราม อาํเภอโนนสูง

จังหวัดนครราชสีมา มาตั้งแตป ๒๕๔๕ พบวา ที่บานโนนวัดมีการตั้งเปนชุมชนมาตั้งแตยุคกอน

ประวตัศิาสตรเมือ่ ๔,๕๐๐ ปผานมาแลว และชมุชนน้ันยังตอเน่ืองมาจนถงึปจจบุนั มีภาชนะดนิเผาสีแดง

คอแคบ ปากผาย จํานวน ๘ ใบ หลายใบมีลายเขียนสีแดงที่เกาแกกวาบานเชียง ๑,๐๐๐ ป ดวย

ผูเขียนกลาววา บรรพชนไทยทุกวันนี้มีพยานหลักฐานหลายสาย แตสายหน่ึงซึ่งสําคัญมากก็คือ

คนพ้ืนเมืองสวุรรณภมูนิีเ่อง โดยบรเิวณผนืแผนดนิใหญของสวุรรณภมูเิมือ่ครัง้อดตี เปนทีร่วมศนูยกลุม

ชาติพันธุเหลากอหลากหลาย ซึ่งลวนเปนชนสุวรรณภูมิและเปนบรรพชนคนไทยทั้งสิ้น

ดังนั้น หลักฐานทางโบราณคดีจากบานโนนวัดก็ชวยยืนยันวา คนสุวรรณภูมิที่บานโนนวัดไดมีการ

ตั้งหลักแหลงและสืบเชื้อสายติดตอกันมาอยางยาวนาน ผานยุคประวัติศาสตร เชน ทวารวดีจนถึง

ยุคอยุธยา ยุคธนบุรี จนถึงยุคปจจุบัน ถือเปนบรรพชนคนไทยทุกวันนี้ หรือจะพูดอีกอยางหนึ่งก็ไดวา

คนบานโนนวัดทุกวันน้ีมีบรรพชนเปนคนสุวรรณภูมิ โดยมีหลักฐานเกาแกสืบเนื่องยาวนานที่สุดใน

ประเทศไทย

ที่มา : หนังสือพิมพขาวสด วันเสารที่ ๑๘ กุมภาพันธ พ.ศ. ๒๕๔๙

๑. ควรกําหนดหัวเรื่องที่จะศึกษาจากบทความนี้วาอยางไร

....................................................................................................................................................................................................................................................

๒. ขอมูลหลักฐานที่ใชในการศึกษาคนความีอะไรบาง

....................................................................................................................................................................................................................................................

....................................................................................................................................................................................................................................................

....................................................................................................................................................................................................................................................

....................................................................................................................................................................................................................................................

๓. ถาบทความนี้เปนหลักฐานเพียงชิ้นเดียวที่มีอยู จงวิเคราะหและประเมินคุณคาหลักฐานชิ้นนี้

....................................................................................................................................................................................................................................................

....................................................................................................................................................................................................................................................

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ฉบับเฉลย

ถิ่นฐานเดิมของคนไทยอยูที่ใด

หลักฐานชั้นตนหรือหลักฐานปฐมภูมิ คือ ภาชนะดินเผาที่คนพบ นํามาเปรียบเทียบกับเครื่องปนดินเผาที่บานเชียง หลักฐานชั้นรองหรือหลักฐานทุติยภูมิ คือ บันทึก พงศาวดาร ตํานาน หนังสือ ที่เกี่ยวกับความเปนมาของชาติไทย

หลักฐานท่ีกลาวมานี้เปนหลักฐานทางประวัติศาสตรที่นํามาตีความเปรียบเทียบกับแหลงโบราณคดีบานเชียงเพียงแหงเดียว มีลักษณะของรายงานขาว บทความนี้จึงมีความนาเชื่อถือนอย

Page 12: อจท.แบบวัดฯประวัติศาสตร์ม.2

กิจกรรมที่ ๑.๔ ใหนกัเรยีนทาํเครือ่งหมาย ✓หนาขอความท่ีกลาวไดถกูตอง

และทําเครื่องหมาย ✗ หนาขอความที่กลาวไมถูกตอง

(ส ๔.๑ ม.๒/๒)

คะแนนเต็ม คะแนนที่ได

ñð

........................ ๑. หลักฐานทางประวัติศาสตรที่เปนลายลักษณอักษรจะมีการเขียนเรื่องราวทาง

ประวัติศาสตร เรื่องราวที่จดบันทึกไวดวยภาษาตางๆ นั้นเราเรียกวา ขอมูล

........................ ๒. การเขียนหรือบันทึกเร่ืองราวทางประวัติศาสตรไมสามารถแสดงความคิดเห็นของ

ผูเขียนไดเลย

........................ ๓. การอานหนังสือตางๆ ผูอานจะตองรูจักแยกแยะขอเท็จจริงออกจากขอคิดเห็น

เพื่อจะไดนําขอมูลเหลานั้นไปศึกษาคนควาตอไปใหไดความจริงหรือใกลเคียงความ

เปนจริงกับเรื่องราวมากที่สุด

........................ ๔. การแยกแยะความแตกตางระหวางขอเท็จจริงกับความคิดเห็นเปนแนวทางของ

การประเมินคาหลักฐานทางประวัติศาสตร ไมสามารถนําไปประยุกตใชในศาสตร

อื่นๆ ได

........................ ๕. หนงัสอืประวตัศิาสตรจะขาดความนาเชือ่ถอืถานาํหลักฐานที่ไมเปนลายลักษณอกัษร

มาประกอบการนําเสนอ

........................ ๖. ไทยไดเสียกรุงศรีอยุธยาใน พ.ศ. ๒๑๑๒ และ พ.ศ. ๒๓๑๐ เปนความจริงทาง

ประวัติศาสตร

........................ ๗. ขอมูลทีอ่ธบิายหลกัฐานวา “ทาํไมไทยจงึเสยีกรงุศรอียธุยา เชน ผูนาํออนแอ มอีาวธุ

ลาสมัยหรือขาศึกมีความเขมแข็ง” เปนตน เปนขอเท็จจริงทางประวัติศาสตร

........................ ๘. การศึกษาประวัติศาสตรไมจําเปนตองแยกแยะความแตกตางระหวางขอเท็จจริงกับ

ความจริงเพราะเปนเพียงเรื่องราวในอดีตที่ผานมาแลว

........................ ๙. การคนควาขอมูลจากหลักฐานหลายแหลงหรืออานหนังสือหลายเลม จะทําใหเกิด

ความสับสนในขอเท็จจริง

.................... ๑๐. ถาการศึกษาเรื่องราวทางประวัติศาสตรไมสามารถแยกแยะความจริงกับขอเท็จจริง

ในเหตุการณตางๆ ได จะสงผลใหขอมูลที่บันทึกเกิดความคลาดเคลื่อน

................................................ฉบับเฉลย

Page 13: อจท.แบบวัดฯประวัติศาสตร์ม.2

กิจกรรมที่ ๑.๕ ใหนักเรียนอานบทความที่กําหนดให แลวตอบคําถามให

ถูกตองและสมบูรณ (ส ๔.๑ ม.๒/๒)

คะแนนเต็ม คะแนนที่ได

õ

เกร็ดความรูคราวเสียกรุงโดยเทพมนตรี ลิมปพยอม (คัดลอกจากวารสาร สยามอารยะ ปที่ ๒ ฉบับที่ ๑๖ ประจําเดือน เมษายน ๒๕๓๗)

วาระสดุทายของมหานครรมิฝงแมน้ําเจาพระยานามวา กรุงศรีอยธุยากม็าถงึ ดงัเชนทีพ่ระราชพงศาวดาร

กรุงศรีอยุธยาระบุไววา “พมาไดเผารากกําแพง จนกําแพงพระนครทรุดพังทลายลง พมาสามารถเขา

พระนครไดเมื่อวันอังคาร เดือน ๕ ขึ้น ๙ คํ่า ปกุน ตรงกับวันที่ ๗ เมษายน พ.ศ. ๒๓๑๐” สวนหลักฐานฝาย

พมาระบุไววา “กองทัพพมาเองตองลอมพระนครศรีอยุธยาไว นับตั้งแตเดือนกุมภาพันธ พ.ศ. ๒๓๐๙ ถึง

เดอืนเมษายน พ.ศ. ๒๓๑๐” เมือ่พมาเขากรงุไดกท็าํการเผาพระราชวงับวรสถานมงคล พระบรมมหาราชวงั

วัดพระศรีสรรเพชญ พระมงคลบพิตร และเก็บกวาดทรัพยสินตามวัดวาอาราม กวาดตอนคนไทย ไมวาจะ

เปนเชื้อพระวงศไปจนถึงชาวบานเปนเชลยศึก

สมเด็จพระที่น่ังสุริยาศอัมรินทรหรือพระเจาเอกทัศ ผูมองเห็นเพียงขางเดียวตองสิ้นพระชนมลงใน

พระบรมมหาราชวัง หาไดไปสิ้นพระชนมท่ีวัดสังฆวาสไม และพระเจาเอกทัศเองก็มิไดเปนกษัตริย

ที่ออนแอหรือลุมหลงในอิสตรี ดังเชนที่เรารับรูมาแตเดิม หากแตพระองคทรงเปนกษัตริยชาตินักรบ และ

ไดทรงบัญชาการรบดวยพระองคเองจนถึงที่สุด

เพียงแตสิ่งที่เราไดรับรู และไดศึกษากันในปจจุบันเกี่ยวกับสาเหตุการเสียกรุงศรีอยุธยาก็ดี หรือ

เกี่ยวกับพระเจาเอกทัศก็ดี ลวนตกอยูภายใตเงื่อนไขทางการเมืองของชนชั้นผูปกครองสมัยหลังทั้งสิ้น

ดวยเหตุนี้ การศึกษาประวัติศาสตรไทยในอดีตจึงมีขอจํากัดทางขอมูลและความคิดอยูมาก จวบจนปจจุบัน

นักประวัติศาสตรรุนเกา ตลอดจนสถาบันการศึกษาบางแหงยังมิอาจกลาทาพิสูจนประเด็นนี้อยางจริงจัง

การเสยีกรงุศรอียธุยาครัง้ที ่๒ เมือ่ พ.ศ. ๒๓๑๐ จงึเปนทัง้บทเรียนและแบบเรียนของนกัประวตัศิาสตร

ในรุนปจจุบันที่ตองจําใสใจตลอดเวลาวา การนําเสนอขอมูลทางประวัติศาสตรจะตองนําขอจริงที่เกิดขึ้น

และไมควรนําเอาขอเท็จมาปะปนภายใตเงื่อนไขทางการเมืองหรืออิทธิพลใดๆ โดยหวังประโยชนสวนตน

เปนหลัก

ที่มา : http://shalawan.www2.50megs.com/fire-ayudhaya.htm

๑. ขอมูลที่เปนจริง ..........................................................................................................................................................................................................

....................................................................................................................................................................................................................................................

๒. ขอมูลที่เปนขอเท็จจริง ........................................................................................................................................................................................

....................................................................................................................................................................................................................................................

๓. เหตุผลที่อาจนํามาหักลางขอเท็จจริง ...................................................................................................................................................

....................................................................................................................................................................................................................................................

....................................................................................................................................................................................................................................................

ฉบับเฉลย

ไทยเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ ๒ แกพมาใน พ.ศ. ๒๓๑๐ ในสมัยพระเจาเอกทัศ

คนไทยขาดความสามัคคีและบานเมืองถูกเผาทําลาย

การศึกษาสาเหตุของการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ ๒ มีขอจํากัดในการศึกษาเพราะตกอยูภายใตเหตุผลทางการเมืองของชนชั้นปกครองในสมัยหลังทั้งสิ้นและขอมูลของคนไทยกับพมาในพงศาวดารยังคงมีความขัดแยงกัน

Page 14: อจท.แบบวัดฯประวัติศาสตร์ม.2

กิจกรรมที่ ๑.๖ ใหนกัเรียนอานขอความหรือเหตกุารณท่ีกาํหนดให แลวตอบ

คําถามใหถูกตองและสมบูรณ (ส ๔.๑ ม.๒/๓)

คะแนนเต็ม คะแนนที่ได

õ

ศุภมัสดุ ๑๐๔๒ ศกวอกนักษัตร (พ.ศ. ๒๒๒๓) วัน ๔ ฯ ๕ คํ่า ทรงพระกรุณาตรัสเหนือเกลา

เหนือกระหมอมสั่งวา ใหเอากฎหมายเหตุของพระโหรเขียนไวแตกอนและกฎหมายเหตุซึ่ง

หาไดแตหอหนังสือแลเหตุซึ่งมีในพระราชพงศาวดารนั้น ไดคัดเขาดวยกันเปนแหงเดียว

ใหระดับศักราชกันมาคุงเทาบัดนี้ ที่มา : พระราชพงศาวดารกรงุเกาฉบบัหลวงประเสรฐิฯ. กรงุเทพมหานคร : มหาวทิยาลยัสโุขทัยธรรมาธิราช, ๒๕๒๗ หนา ๓.

๑๒

“ครั้งนั้นยังหาผูจะทํานามิได อาหารกันดาร ขาวสารสําเภาขายถังละ ๓ บาท ถังละตําลึง

หนึ่งบาง ถังละ ๕ บาทบาง ยังทรงพระกรุณาดวยปรีชาญาณอุตสาหเลี้ยงสัตวโลกทั้งปวง… แล

พระราชทานวัตถาลังกาภรณเสื้อผาเงินตราจะนับประมาณมิได จนทุกขพระทัยออกพระโอฐวา

บุคคลผูใดเปนอาทิ คือ เทวดา บุคคลผูมีฤทธิ์ มาประสิทธิ์ มากระทําใหขาวปลาอาหารบริบูรณ

ขึ้น ใหสัตวโลกเปนสุขได แมนผูนั้นจะปรารถนาพาหาแหงเราขางหนึ่ง ก็อาจตัดบริจาคใหแก

ผูนั้นได ความกรุณาเปนความสัตยฉะนี้” ที่มา : พระราชพงศาวดารกรุงธนบุรีฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม). กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพศรีปญญา, ๒๕๕๑ หนา ๕๕.

เมือ่นกัเรยีนอานเหตุการณนีแ้ลวสามารถตีความและวเิคราะหความสาํคญัของหลกัฐานประวตัศิาสตรได

คอื ..............................................................................................................................................................................................................................................................

...............................................................................................................................................................................................................................................................

...............................................................................................................................................................................................................................................................

...............................................................................................................................................................................................................................................................

เมือ่นกัเรยีนอานเหตกุารณนีส้ามารถตคีวามและวเิคราะหความสาํคญัของหลกัฐานประวตัศิาสตรได

คอื .......................................................................................................................................................................................................................................................

...............................................................................................................................................................................................................................................................

...............................................................................................................................................................................................................................................................

...............................................................................................................................................................................................................................................................

...............................................................................................................................................................................................................................................................

...............................................................................................................................................................................................................................................................

ฉบับเฉลย

พระราชพงศาวดารกรุงเกาฉบับหลวงประเสริฐฯ เรียบเรียงจากการรวบรวมหลักฐานหลายฉบับ

ทั้งจดหมายเหตุโหร พระราชพงศาวดาร ลําดับตามศักราชที่เกิดขึ้นกอนหลังในสมัยสมเด็จพระนารายณ

มหาราชแหงกรุงศรีอยุธยา ทําใหพระราชพงศาวดารกรุงเกาฉบับหลวงประเสริฐฯ เปนที่ยอมรับกันวามี

ความถูกตองทั้งศักราชและเหตุการณ

เหตกุารณนีเ้ปนเรือ่งราวประวตัศิาสตรธนบรีุ ในครัง้นัน้ สมเดจ็พระเจาตากสนิมหาราชทรงพบวา

ราษฎรอดอยากเพราะทํานาไมได เนื่องจากเกิดสงครามตอเนื่องกันมา ๒ - ๓ ป ขาวมีราคาแพงมาก

เรือสําเภาที่บรรทุกขาวสารมาขาย ขายถังละ ๓ - ๕ บาท ซึ่งนับวาแพงมาก พระองคทรงสงสารราษฎร

ทั้งหลายจึงทรงซื้อขาวสารแจก รวมทั้งเสื้อผาและเงินตราเปนจํานวนมาก และทรงมีพระราชดํารัสวา

ถาผูใดมีฤทธ์ิ เชน เทวดาสามารถทาํใหขาวปลาอาหารบรบิรูณ คอื มพีอกบัความตองการ ทาํใหคนทัง้หลาย

มีความสุข แมนวาผูมีฤทธิ์นั้นตองการแขนขางหนึ่งของพระองคก็ทรงยินดีตัดบริจาคได

Page 15: อจท.แบบวัดฯประวัติศาสตร์ม.2

กจิกรรมที ่๑.๗ ใหนกัเรยีนอานบทความทีก่าํหนดให แลวตอบคาํถามพรอมท้ัง

แสดงเหตุผลประกอบใหถูกตองและสมบูรณ (ส ๔.๑ ม.๒/๓)

คะแนนเต็ม คะแนนที่ได

õ

ณ หมูบานแหงหนึ่ง คณะนักสํารวจไดขุดพบโครงกระดูกมนุษย เครื่องมือเครื่องใชโบราณ เชน

กําไลหิน กําไลกระดูก เปลือกหอยซึ่งทําจากลูกปด เครื่องนุงหม บันทึกโบราณ ปลายหอก ลูกศร เข็ม

เครือ่งมือเครือ่งใชทีท่าํดวยดนิเผาประเภทหมอ จาน กระสุนกลมดนิเผา ซึง่จากการสอบถามชาวบานในพืน้ที่

ชาวบานบอกกบัคณะสาํรวจวา หลกัฐานทัง้หมดทีพ่บในบรเิวณหมูบานนีเ้ปนหลกัฐานสมยักอนประวตัศิาสตร

ทําใหสันนิษฐานไดวา นาจะเปนเครื่องมือเครื่องใชของมนุษยยุคหินใหม ซึ่งบางพวกยังคงอาศัยอยูในถํ้า

แตบางพวกก็ออกมาอาศัยอยูนอกถํ้า รูจักทําเครื่องประดับตกแตงรางกาย และเมื่อมีคนตายจะมีการ

นําศพไปฝงในหลุมสี่เหลี่ยมผืนผา ไมใสโลง โดยจัดศพใหอยูในทานอนหงาย แขนทั้งสองขางวางแนบ

กับลําตัว จากการขุดพบโครงกระดูกหลายๆ โครง พบวามีการฝงศพโดยหันศีรษะไปทางทิศตางๆ แตไมพบ

โครงกระดกูใดหนัศรีษะไปทางทศิตะวนัตก โดยวางเครือ่งปนดนิเผาไวเหนอืศรีษะ ทีป่ลายเทาและทีเ่หนอืเขา

ใสสิ่งของเครื่องใชเครื่องประดับลงไปในหลุมดวย

หลักฐานที่พบการวิเคราะหและประเมินคาของหลักฐาน

เหตุผลความนาเชื่อถือมาก ความนาเชื่อถือนอย

๑. โครงกระดูก ✓ .................................................................................

.................................................................................

.................................................................................

๒. หมอดินเผา ✓ .................................................................................

.................................................................................

.................................................................................

๓. เครื่องนุงหม ✓ .................................................................................

.................................................................................

.................................................................................

๔. กําไลกระดูก ✓ .................................................................................

.................................................................................

.................................................................................

๕. บันทึกโบราณ ✓ .................................................................................

.................................................................................

.................................................................................

ฉบับเฉลย

เปนหลักฐานชั้นตนที่เกิดรวมในสมัยนั้น

เปนหลักฐานชั้นตนที่เกิดรวมในสมัยนั้น

เครือ่งนุงหมไมนาจะคงสภาพไดดจีากยุคหินใหมมาจนถงึยุคปจจบุนั จงึไมนาจะใชหลักฐานที่เกิดรวมกับสมัยนั้น

เปนหลักฐานชั้นตนที่ตรงกับยุคหินใหม

ในยุคกอนประวัติศาสตรยังไมมีการใชตัวอักษรในการขีดเขียน นาจะเปนหลักฐานที่ทําขึ้นในสมัยหลัง

Page 16: อจท.แบบวัดฯประวัติศาสตร์ม.2

๑. ขอใดจัดเปนหลักฐานที่เปนลายลักษณอักษรทั้งหมด

ก. เงินตรา คําบอกเลา

ข. วิหาร พงศาวดาร

ค. จารึก โครงกระดูก

ง. สมุดขอย คัมภีรใบลาน

๒. ขอใดกลาวถึงหลักฐานทางประวัติศาสตรไดถูกตอง

ก. จารึกทุกหลักเชื่อถือไดทั้งหมด

ข. หลักฐานปฐมภูมิมีอายุเกาแกนอย

ค. หลักฐานที่ดีตองเปนลายลักษณอักษร

ง. บทความทางวิชาการเปนหลักฐานทุติยภูมิ

๓. ขอใดเปนขั้นตอนสําคัญอยางยิ่งของวิธีการทางประวัติศาสตรเพื่อสรางองคความรูสูชุมชน

ก. การรวบรวมหลักฐาน

ข. การสังเคราะหขอมูลจากหลักฐาน

ค. ประเมินความถูกตองจากหลักฐาน

ง. การนําเสนอเหตุการณดวยหลักฐาน

๔. หากนักเรียนตองการศึกษาประวัติศาสตรที่เกิดขึ้นสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช

แหงกรุงศรีอยุธยา ควรศึกษาจากหลักฐานลายลักษณอักษรขอใดที่เปนที่ยอมรับมากที่สุด

ก. จดหมายเหตุลาลูแบร

ข. พงศาวดารกรุงศรีอยุธยาฉบับ วัน วลิต

ค. พระราชพงศาวดารกรุงเกาฉบับหลวงประเสริฐฯ

ง. พระราชพงศาวดารกรุงธนบุรีฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)

๕. ขอใดไมถือเปนหลักฐานชั้นตนหรือหลักฐานปฐมภูมิ

ก. บันทึกความทรงจํา

ข. บทความทางวิชาการ

ค. กฎหมายตราสามดวง

ง. จดหมายเหตุลาลูแบร

ง.

ง.

ง.

ค.

ข.

แบบทดสอบประจําหนวยการเรียนรูที่ ๑

คําชี้แจง ใหนักเรียนวงกลมขอที่ถูกตองที่สุดเพียงขอเดียว

คะแนนเต็ม คะแนนที่ได

ñð

ฉบับเฉลย

๑๐

Page 17: อจท.แบบวัดฯประวัติศาสตร์ม.2

๖. วธิกีารทางประวตัศิาสตรมขีัน้ตอนหลายขัน้ตอน ขัน้ตอนใดถอืเปนขัน้ตอนสําคัญตอการศึกษา

ประวัติศาสตรมากที่สุด

ก. การรวบรวมหลักฐาน ข. การเรียบเรียงหรือนําเสนอ

ค. การกําหนดหัวขอในการศึกษา ง. การวิเคราะห สังเคราะหขอมูล

๗. หลักฐานทางประวัติศาสตรในขอใดกลาวไมถูกตอง

ก. กฎหมายตราสามดวงเปนหลักฐานชั้นตน

ข. จดหมายเหตุลาลูแบรเปนหลักฐานปฐมภูมิ

ค. เจดียยุทธหัตถีดอนเจดียเปนหลักฐานชั้นรอง

ง. หนังสือบันทึกเรื่องราวในอดีตเปนหลักฐานทุติยภูมิ

๘. ความสําคัญของการตีความทางประวัติศาสตรมีความสําคัญอยางไร

ก. เพื่อใหเขาใจงายเกี่ยวกับบุคคลและสถานที่

ข. เพื่ออธิบายความถูกตองหรือความนาเชื่อถือได

ค. เพื่อวิเคราะหเหตุการณที่ยกมาใหเห็นความสําคัญ

ง. เพื่อใหเปรียบเทียบศักราชไดเหมาะสมและถูกตอง

๙. ขอใดแสดงถึงความจริงเกี่ยวกับเรื่องราวทางประวัติศาสตร

ก. ไทยเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ ๑ ใน พ.ศ. ๒๑๑๒

ข. คนไทยออนแอจึงไดเสียกรุงศรีอยุธยาเมื่อ พ.ศ. ๒๓๑๐

ค. จํานวนทหารนอยทําใหตองเสียกรุงศรีอยุธยา พ.ศ. ๒๑๑๒

ง. ผูคนออนแอและขาดความสามัคคีจึงเสียกรุงศรีอยุธยา พ.ศ. ๒๓๑๐

๑๐. ขอเท็จจริงทางประวัติศาสตรมีความหมายตรงกับขอใด

ก. ขอมูลที่ผูเขียนไดบันทึกไวเพื่อเปนหลักฐาน

ข. ขอมูลที่ไดจัดพิมพเผยแพรใหประชาชนไดรับรู

ค. ขอมูลที่เกิดจากความเขาใจของผูบันทึกเรื่องราวตางๆ

ง. ขอมูลจากหลักฐานตางๆ อาจตรงกันหรือไมตรงกันก็ได

๑๑. การศกึษาบนัทกึจดหมายของบุคคลเกีย่วกบัเรือ่งราว เหตกุารณ รายละเอยีดตางๆ แมจะถอื

เปนหลักฐานทางประวัติศาสตรที่สําคัญ แตควรคํานึงถึงขอจํากัดในขอใด

ก. บุคคลผูบันทึกเรื่องราว

ข. ชวงเวลาที่เกิดเหตุการณ

ค. สถานที่ที่ปรากฏเหตุการณ

ง. ความเห็นและนาเชื่อถือของเหตุการณ

ก.

ค.

ข.

ก.

ง.

ง.

ฉบับเฉลย

๑๑

Page 18: อจท.แบบวัดฯประวัติศาสตร์ม.2

๑๒. ขอใดไมใชขอพิจารณาการประเมินคุณคาหลักฐานทางประวัติศาสตร

ก. ชวงเวลาที่จัดหลักฐาน

ข. การศึกษาภูมิหลังของผูทํา

ค. การแสดงความคิดของผูทํา

ง. เปนของแทหรือของทําเลียนแบบ

๑๓. ถานักเรียนไดอานบทความหรือหนังสือประวัติศาสตรควรมีแนวทางการศึกษาอยางไร

ก. เชื่อเรื่องราวตางๆ ที่ผูเขียนถายทอดในหนังสือ

ข. ตั้งใจอานบทความอยางละเอียดพรอมจดบันทึก

ค. ศึกษาเกี่ยวกับประวัติผูเขียนผูแตงอยางละเอียด

ง. รูจักแยกแยะขอเท็จจริงและความคิดเห็นที่ไดจากการอาน

๑๔. ขอใดกลาวไดเหมาะสมและถูกตอง

ก. นักโบราณคดีพบสมุดบันทึกเกาจึงเชื่อวานาจะอยูในยุคหิน

ข. นักทองเที่ยวพบกําไลกระดูกจึงเชื่อวานาจะอยูในยุคหินใหม

ค. นักธรณีวิทยาพบสรอยคอเงินจึงเชื่อวานาจะอยูในยุคหินกลาง

ง. นักสํารวจพบเสื้อผาเกาที่หมูบานแหงหนึ่งจึงเชื่อวาเกิดในยุคหินเกา

๑๕. เพราะเหตุใดจึงควรวิเคราะหและสังเคราะหขอมูลจากหลักฐาน

ก. เพื่อใหเกิดความเขาใจในเรื่องราว

ข. เพื่อใหเกิดการแสดงความคิดเห็น

ค. เพื่อใหเกิดความแตกตางของขอมูล

ง. เพื่อใหเกิดความนาเชื่อถือและถูกตอง

๑๖. ขอใดไมใชความสําคัญของการตีความทางประวัติศาสตร

ก. เพื่อชวยอธิบายหลักฐานใหเขาใจงายขึ้น

ข. เพื่อชวยเปนขอมูลคาดคะเนเหตุการณในอนาคต

ค. เพื่อชวยอธิบายหลักฐานใหมีความเปนจริงมากขึ้น

ง. เพื่อตีความ วิเคราะหความสําคัญของหลักฐานทางประวัติศาสตร

๑๗. ขอใดกลาวถึงความสําคัญของการสังเคราะหขอมูล

ก. เพื่อแยกขอมูลสวนขอเท็จจริงออกจากหลักฐาน

ข. เพื่อแยกขอมูลที่มีขอเท็จจริงตรงกันหรือคัดคานกัน

ค. เพื่อจัดรวมขอมูลที่เปนเรื่อง ประเด็น หรือหัวขอเดียวกัน

ง. เพื่อแยกขอมูลตอเนื่องที่เปนความเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ

ค.

ง.

ข.

ง.

ข.

ค.

๑๕. ๑๕.

ฉบับเฉลย

๑๒

Page 19: อจท.แบบวัดฯประวัติศาสตร์ม.2

๑๘. หากตองการทราบถงึความสมัพนัธระหวางไทย - จนีในยคุจกัรพรรดเิฉยีนหลง ควรวเิคราะห

จากสิ่งใด

ก. เอกสารสมัยธนบุรี

ข. เอกสารสมัยอยุธยา

ค. เอกสารสมัยสุโขทัย

ง. เอกสารสมัยรัตนโกสินทร

๑๙. สงกรานตตองการศึกษาประวัติศาสตรสมัยธนบุรีจากหลักฐานชั้นตนที่นาเชื่อถือ สงกรานต

ควรจะศึกษาจากหลักฐานประวัติศาสตรขอใด

ก. จดหมายเหตุลาลูแบร

ข. จดหมายเหตุราชวงศหมิง

ค. รายงานการคาของบริษัทตางชาติ

ง. พระราชพงศาวดารกรุงธนบุรีฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)

๒๐. การคาในรัชกาลสมเด็จพระเจาปราสาททองและสมเด็จพระนารายณมหาราช มีความเจริญ

รุงเรอืง มพีอคาชาวตางชาตเิขามาคาขาย มเีรอืบรรทกุสนิคาไปขายกบัตางประเทศ กฎหมาย

ตราสามดวงไดกลาวถึงเจาหนาที่กลุมหนึ่งที่ทําหนาที่รักษามาตรฐานของราคาสินคาใหเปน

ธรรม เจาหนาที่ดังกลาวคือใคร

ก. นายทา

ข. กํานันตลาด

ค. กรมพระคลังสินคา

ง. เจาพระยาพระคลัง

ก.

ง.

ข.

ตราสามดวงไดกลาวถึงเจาหนาที่กลุมหนึ่งที่ทําหนาที่รักษามาตรฐานของราคาสินคาใหเปนตราสามดวงไดกลาวถึงเจาหนาที่กลุมหนึ่งที่ทําหนาที่รักษามาตรฐานของราคาสินคาใหเปน ฉบับเฉลย

๑๓

Page 20: อจท.แบบวัดฯประวัติศาสตร์ม.2

แบบบันทึกผลการประเมิน

เครื่องมือวัดและแสดงผลการเรียนรูคะแนน ผลการประเมิน

เต็ม ได ผาน ไมผาน

● กิจกรรมตามตัวชี้วัด

ส ๔.๑ ม.๒/๑

กิจกรรมที่ ๑.๑

กิจกรรมที่ ๑.๒

กิจกรรมที่ ๑.๓

๑๐

๑๐

…………….

…………….

…………….

รวม ๒๕

ส ๔.๑ ม.๒/๒

กิจกรรมที่ ๑.๔

กิจกรรมที่ ๑.๕

๑๐

…………….

…………….

รวม ๑๕

ส ๔.๑ ม.๒/๓

กิจกรรมที่ ๑.๖

กิจกรรมที่ ๑.๗

…………….

…………….

รวม ๑๐

คะแนนรวมทั้งหมด ๕๐

● แบบทดสอบประจําหนวยการเรียนรูที่ ๑ ๑๐

ชวงคะแนน ระดับคะแนน ระดับคุณภาพ

๔๑ - ๕๐ ๔ ดีมาก

๓๓ - ๔๐ ๓ ดี

๒๕ - ๓๒ ๒ พอใช

ตํ่ากวา ๒๕ ๑ ปรับปรุง

เกณฑการประเมินตัวชี้วัดและแบบทดสอบ

ผาน = ไดคะแนนตั้งแตครึ่งหนึ่งของ

คะแนนเต็ม

ไมผาน = ไดคะแนนไมถงึครึง่ของคะแนนเตม็

เกณฑการตัดสินระดับคุณภาพของตัวชี้วัด

ฉบับเฉลย

๑๔