การศึกษาของประเทศจีน

33

Upload: wongsrida

Post on 29-May-2015

11.931 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 5: การศึกษาของประเทศจีน

สาธารณรัฐประชาชนจีน ชาวตะวันตกมักจะเรียกประเทศจีนวา "ดินแดนตะวันออกไกล" 

ประวัติศาสตรและภูมิศาสตรสวนใหญ ท่ีชาวตะวันตกเรียกรวม ๆ วา China (จีน) ประเทศจีนเปน ประเทศที่มีประชากรมากท่ีสุดในโลก โดยประชากรสวนใหญเปนชาวจีนฮั่น จีนเปนประเทศที่มีขนาดใหญ ท่ีสุดในเอเชียตะวันออก และมีขนาดเปนอันดับ 4 ของโลก เปนรองเพียงรัสเซีย แคนาดา และสหรัฐอเมริกา สาธารณรัฐประชาชนจีนมีพรมแดนติดกับ 14 ประเทศ (นับเวียนตามเข็มนาฬิกา) คือ เวียดนาม ลาว พมา อินเดีย ภูฏาน เนปาล ปากีสถาน อัฟกานิสถาน ทาจิกิสถาน คีรกีซสถาน คาซัคสถาน รัสเซีย มองโกเลีย และ เกาหลีเหนือ 

ตั้งแตกอตั้งสาธารณรัฐเมื่อป พ.ศ. 2492 ประเทศจีนอยูภายใตการปกครองของพรรคคอมมิวนิสตจีน สาธารณรัฐประชาชนจีนอางอธิปไตยเหนอืเกาะไตหวัน เกาะเผิงหู เกาะเอหมึง (จีนกลาง: จินเหมิน) และหมู เกาะมาซู (จีนกลาง: หมาจู) แตไมไดปกครอง โดยท่ีเกาะเหลาน้ีปกครองโดยสาธารณรัฐจีน ซ่ึงมีเมืองหลวงอยู ท่ีกรุงไทเป (จีนกลาง: ไถเปย) ฐานะทางการเมืองของสาธารณรัฐจีนน้ัน ยงัเปนท่ีโตแยงกันอยู 

คําวา จีนแผนดินใหญ ใชเรียกสวนของจีน ท่ีอยูภายใตการปกครองของสาธารณรัฐประชาชนจีน (สวน ใหญจะยกเวนเขตการปกครองพิเศษ 2 แหง คือ ฮองกง และมาเกา) บางคนนิยมเรียกสาธารณรัฐประชาชนจีน วา จีนแดง (Red China) โดยเฉพาะผูท่ีวพิากษวิจารณเก่ียวกับจีน 

เปนการปกครองดวยลัทธิสังคมนิยมในลักษณะของจีน โดยมพีรรคคอมมวินิสตจีนเปนผูกําหนด นโยบายตาง ๆ มหีูจิ่นเทา เปนประธานาธิบดีและเลขาธิการพรรค ฯ เวินเจียเปาเปนนายกรัฐมนตรี และ ประธานคณะกรรมาธิการทหาร

Page 6: การศึกษาของประเทศจีน

สาธารณรัฐประชาชนจีนมีอํานาจการปกครองเหนือ 22 มณฑล  และรัฐบาลจนียังถือไตหวัน เปนมณฑลท่ี 23 (มีขอมูลเพ่ิมเติมที่ ฐานะทางการเมืองของสาธารณรฐัจีน) รัฐบาลจีนยังอางสิทธิเหนือเกาะตาง ๆ ในทะเลจีนใตดวย นอกจากมณฑลแลวยังมีเขตปกครองตนเอง  5 แหงซึ่งมีชนกลุมนอยอาศัยอยูมาก เทศบาลนคร 4 แหงสําหรับเมืองที่ ใหญที่สุดในจีน และเขตบริหารพิเศษ (Special Administrative Regions, SARs) ที่จีนเขาไปปกครอง โดยการแบง พ้ืนที่การปกครองเปนดงันี้ มณฑล  อานฮุย , ฝูเจี้ยน (ฮกเก้ียน)  , กวางตง (กวางตุง)  , กานซู  ,  กุยโจว  , ไหหนาน (ไหหลํา)  ,  เหอเปย 

(เฮย )  , หลงเจียง  ,เหอหนาน  , หูเปย  , หหูนาน  ,  เจียงซู เจียงซี  , จี๋หลิน  , เหลียวหนิง  , ชิงไห  , ฉานซี  , ชานตง , ชานซี ซื่อชวน (เสฉวน)  ,หยุนหนาน (ยูนนาน) , เจอเจียง เขตปกครองตนเอง  กวางซี (จวง)  , มองโกเลียใน , หนิงเซี่ย(หุย ) ,  ซินเจียง(อุยกูร) ,  ทิเบต เทศบาลนคร  เปยจิง (ปกกิ่ง)  , ฉงชิ่ง (จุงกิง)  , ชางไห (เซี่ยงไฮ)  , เทียนจิน (เทียนสิน) เขตบริหารพิเศษ  มาเกา  , ฮองกง ภูมิศาสตร 

ประเทศจีนเปนประเทศที่มีพ้ืนที่ใหญเปนอันดับที่ 4 ของโลก มีสภาพภูมิประเทศและภูมิอากาศที่หลากหลาย เศรษฐกิจ 

เศรษฐกิจจีนยงัขยายตัวอยางตอเน่ืองภายใตนโยบายการปฏิรูปและการเปดประเทศที่ ดําเนินมาต้ังแตป 2521 รัฐบาลจีนมีเปาหมายท่ีจะเนนผลผลิตทางการเกษตรใหพอเพียงสําหรับการบริโภคภายในประเทศ ในขณะเดียวกัน ก็ จะเนนการพัฒนาดานเทคโนโลยีระดับสูงดวย ในป 2544 จีนไดเขาเปนสมาชิก WTO และไดตั้งเปาหมายวา เมื่อถึงป 2548 การคา ตางประเทศจะมีมูลคา 6 แสนลานเหรียญสหรฐั โดยจีนยังเปนฝายไดเปรียบดุลการคา จีนต้ังเปาหมาย วา เมื่อถึงป 2548 รายไดเฉลี่ยตอหัวจะเพ่ิมขึ้นเปน 1,130 เหรียญสหรฐั และ ป 2553 จะเพ่ิมขึ้นเปน 1,600 เหรียญ สหรฐั จาก 860 เหรียญสหรัฐในปจจบุัน (2544)

Page 7: การศึกษาของประเทศจีน

ประชากร และ ชนเผา ชนเผาที่ใหญที่สุดในประเทศจีนคือ ชนเผาฮ่ัน 92%ของประชากร 

ทั้งหมด อ่ืนๆอีก 55 ชนเผา 8% ของประชากรทั้งหมด เชน 

เผาจวง..............16ลานคน เผาแมนจู ............10ลานคน เผาฮุย(มุสลมิ).........9ลานคน เผามง............... 8ลานคน เผาอี๋................7ลานคน มองโกล..............5ลานคน ธิเบต................5ลานคน

Page 8: การศึกษาของประเทศจีน

เมืองหลวง  เปยจงิ (ปกกิง่) เมืองใหญสุด  ชางไห (เซี่ยงไฮ) ภาษาราชการ  ภาษาจีนกลาง รัฐบาล  สาธารณรัฐสังคมนิยม 

- ประธานาธิบดีหู จิ่นเทา - นายกรัฐมนตรีเวิน เจียเปา 

การสถาปนาชาติ ราชวงศเซี้ย  2,205 ปกอนคริสตกาล จักรวรรดิจีน  221 ปกอนคริสตกาล จีนสาธารณรัฐ  10 ตุลาคม พ.ศ. 2454 

สาธารณรัฐประชาชนจีน  1 ตุลาคม พ.ศ. 2492 เนื้อที่ 

- ทั้งหมด  9,596,960 กม.² (อันดับที่ 33) - พ้ืนน้ํา (%) 3,704,427 2 ไมล²2.8%2 

ประชากร ป 2548 ประมาณ 1,315,844,000 (อันดับที่ 1) 

สกุลเงิน หยวนเหรินหมินป

Page 10: การศึกษาของประเทศจีน

แนวความคิดทางการศึกษาตามแนวใหมของจีน ชวงศตวรรษที่ 25  ประมาณปพ.ศ. 2450 ไดจัดการศึกษาแบบตะวันตกไดมีการวางแผนการศึกษาของ 

ชาติ การจัดองคการรับผิดชอบระบบการศึกษาใหเปนแบบสากล กลางศตวรรษที่ 25 แนวความคิดทางการศึกษาจากตะวันตกมีจุดมุงหมายทางการเมือง ทําใหจีนตอง 

เปลี่ยนแปลงการศึกษาคร้ังใหญ คือใหประชาชนมีพ้ืนฐานการรูหนังสอื โดยไมจํากัด  ฐานะ  เพศ  อายุ และ ลมเลิกระบบการสอบไลของขาราชการพลเรือนแบบเกา แลวยงัสนับสนุนการศึกษาดานวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยี มีการริเร่ิมหลักสูตรวิชาชีพใหแกโรงเรียนอาชีวะประเภทตางๆและจดัหลักสูตรการฝกทางทหาร ในระดับมัธยมศึกษาและอุดมศึกษา เพ่ือใหรัฐมีพลังทางทหารท่ีเขมแข็ง 

ปลายศตวรรษที่ 25 ผูนําจีนคือ เหมา เจอ ตุง ไดเปลี่ยนแนวความคิดทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม ของจีน เปนแบบลัทธิคอมมิวนิสตที่มีอุดมการณเพ่ือ การทํามาหากินของประชาชน จึงไดเปลี่ยนแนวทาง การศึกษาตามแบบคอมมิวนิสตคือ การศึกษาตองประสานกับการผลิต การใชแรงงานและพรรคคอมมิวนิสต จีนตองเปนผูนําเรื่องการศึกษา เมื่อเหมา เจอ ตุง ถึงแกอนิจกรรม ผูนําคนใหมไดเปลีย่นกลับไปสนับสนุน การศึกษาในเชิงวิชาการและสนใจการศึกษาดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีมากขึ้น และสงเสริมการฝก ทักษะในวิชาชีพที่ใชแรงงานเพ่ือการผลิต 

ในปจจุบันการจัดการศึกษาตามแนวใหมมีจุดมุงหมายคือ - เพ่ือวางพ้ืนฐานสําหรบัการเรียนตอ - เพ่ือฝกหัดอบรมครูสําหรบัสอนสอนขั้นประถมศึกษา - เพ่ือเปนวิชาชีพโดยเปนแบบอาชีวศึกษา

Page 11: การศึกษาของประเทศจีน

การปฏิรูปการศึกษาของไทยเกิดมาจาก การศึกษาวิจัยเรื่อง "การปฏิรูปการศึกษา" ของประเทศตาง ๆ รวม 10 ประเทศ รวมทั้งประเทศญี่ปุนดวย แลวพบวาปจจัยแหงความสําเร็จในการปฏิรูปการศึกษา ของประเทศตางๆเหลานี้มีองคประกอบที่สําคัญ 4 ประการ คือ 

1. จะตองเขียนเปนกฎหมาย 2. จะตองเนนที่คุณภาพของผูเรียน 3. จะตองไดรับการสนับสนุนจากผูนําประเทศ 4. จะตองใหประชาชนมีสวนรวม 

และบทเรียนจากความพยายามที่ลมเหลวของไทยในอดีต สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ จึงมีความเห็นวา ถาจะปฏิรูปการศึกษาใหสําเร็จตองบัญญัติไวในรัฐธรรมนูญกอน ดังนั้นจึงทําใหมี การรางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2540 ซึ่งมีบทบัญญตัทิี่เก่ียวกับเรื่องการศึกษา ไวหลายมาตรา ตอมาอีก 2 ปก็มีการรางพ.ร.บ.การศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 ขึน้มาใช และอีก 2 ป 

ตอมาจึงมี หลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐานแหงชาติ พ.ศ.2544 ขึ้นมาใชจนถึงปจจุบัน นั้นเอง

Page 13: การศึกษาของประเทศจีน

การเปรียบเทียบการศึกษาขัน้พื้นฐาน  ของจีนกับไทย ระบบการศกึษา 

หลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน หลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน  ไดแบงออกเปน ไดแบงออกเปน - - การศึกษากอนวัยเรียน การศึกษากอนวัยเรียน  อายุระหวาง อายุระหวาง 3 3- -6 6 ป ป 1. 1. การศึกษาข้ันพื้นฐาน การศึกษาข้ันพื้นฐาน 1.1 1.1 ชวงชั้นที่ ชวงชั้นที่ 1 1 ช้ันประถมศึกษาปที่ ช้ันประถมศึกษาปที่ 1 1- -3 3 1.2 1.2 ชวงชั้นที่ ชวงชั้นที่ 2 2 ช้ันประถมศึกษาปที่ ช้ันประถมศึกษาปที่ 4 4- -6 6 1.3 1.3 ชวงชั้นที่ ชวงชั้นที่ 3 3 ช้ันมัธยมศึกษาปที่ ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 1 1- -3 3 1.4 1.4 ชวงชั้นที่ ชวงชั้นที่ 4 4 ช้ันมัธยมศึกษาปที่ ช้ันมัธยมศึกษาปที่  4 4- -6 6 2. 2.  การอาชีวศึกษา การอาชีวศึกษา 2.1 2.1 ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ( (ปวช ปวช..) ) 2.2 2.2 ประกาศนียบัตรวิชีพช้ันสูง ประกาศนียบัตรวิชีพช้ันสูง ( (ปวส ปวส..) ) 3. 3. อุดมศึกษา อุดมศึกษา 3.1 3.1 ปริญญาตรี ปริญญาตรี หลักสูตร หลักสูตร 4 4 ป ป 3.2 3.2 ปริญญาโท ปริญญาโท 3.3 3.3 ปริญญาเอก ปริญญาเอก * *การศึกษาภาคบังคับกาํหนดไว การศึกษาภาคบังคับกาํหนดไว 9 9 ป ป 

แบงการศึกษาออกเปน แบงการศึกษาออกเปน 4 4 ระดับใหญ ระดับใหญ - - การศึกษากอนวัยเรียน การศึกษากอนวัยเรียน อายุระหวาง อายุระหวาง 3 3- -6 6 ป ป 1. 1. การศึกษาข้ันพื้นฐาน การศึกษาข้ันพื้นฐาน 1.1 1.1 ประถมศึกษา ประถมศึกษา คือ คือ grade 1 grade 1- -6 6  อายุ อายุ ระหวาง ระหวาง 6 6- -12 12 ป ป 1.2 1.2 มัธยมศึกษาตอนตน มัธยมศึกษาตอนตน คือ คือ grade grade 7 7- -9 9  อายุ อายุ ระหวาง ระหวาง 12 12- -15 15 ป ป 1.3 1.3 มัธยมศึกษาตอนปลาย มัธยมศึกษาตอนปลาย คือ คือ grade grade 10 10- -12 12 อายุ อายุ ระหวาง ระหวาง 15 15- -18 18ป ป 2. 2. การอาชีวศึกษา การอาชีวศึกษา เปนหลักสูตร เปนหลักสูตร 2 2- -3 3 ป ป จะเรียนตอ จะเรียนตอ ไดเมื่อจบการศึกษาจากมัธยมศึกษาตอนตน ไดเมื่อจบการศึกษาจากมัธยมศึกษาตอนตน 3. 3. อุดมศึกษา อุดมศึกษา เปนการศึกษาในระดับมหาวิทยาลัยหลักสูตร เปนการศึกษาในระดับมหาวิทยาลัยหลักสูตร 4 4 ป ป และเปดสอนปริญญาโท และเปดสอนปริญญาโท และปริญญาเอก และปริญญาเอก 4. 4. การศึกษานอกโรงเรียน การศึกษานอกโรงเรียน * *การศึกษาภาคบังคับกาํหนดไว การศึกษาภาคบังคับกาํหนดไว 9 9 ป ป 

ไทย ไทย จีน จีน

Page 14: การศึกษาของประเทศจีน

รายละเอียดเนื้อหา 

กําหนดสาระการเรียนรูตาม กําหนดสาระการเรียนรูตาม หลักสูตร หลักสูตร ซึ่งประกอบดวยองคความรู ซึ่งประกอบดวยองคความรู ทักษะหรือ ทักษะหรือ กระบวนการการเรียนรู กระบวนการการเรียนรู และ และ คุณลักษณะหรือคานิยม คุณลักษณะหรือคานิยม คุณธรรม คุณธรรม จริยธรรมของผูเรยีนเปน จริยธรรมของผูเรยีนเปน  8 8 กลุม กลุม ดังน้ี ดังน้ี 1. 1. ภาษาไทย ภาษาไทย 2. 2. คณิตศาสตร คณิตศาสตร 3. 3. วิทยาศาสตร วิทยาศาสตร 4. 4. สังคมศึกษา สังคมศึกษา ศาสนา ศาสนา และ และ วัฒนธรรม วัฒนธรรม 5. 5. สุขศึกษาและพลศึกษา สุขศึกษาและพลศึกษา 6. 6. ศิลปะ ศิลปะ 7. 7. การงานอาชีพและเทคโนโลยี การงานอาชีพและเทคโนโลยี 8. 8. ภาษาตางประเทศ ภาษาตางประเทศ และมี และมี  2 2 กิจกรรมพัฒนาผูเรียน กิจกรรมพัฒนาผูเรียน 

- -  กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมแนะแนว - -  กิจกรรมนักเรียน กิจกรรมนักเรียน 

ไดกําหนดสาระการเรยีนรูตาม ไดกําหนดสาระการเรยีนรูตาม หลักสูตร หลักสูตร ซึ่งประกอบดวยองคความรู ซึ่งประกอบดวยองคความรู ทักษะหรือ ทักษะหรือ กระบวนการการเรียนรู กระบวนการการเรียนรู และ และ คุณลักษณะหรือคานิยม คุณลักษณะหรือคานิยม คุณธรรม คุณธรรม จริยธรรมของผูเรยีนเปน จริยธรรมของผูเรยีนเปน 6 6 กลุมวิชาดังน้ี กลุมวิชาดังน้ี 1. 1. วิชาภาษาและวรรณคดี วิชาภาษาและวรรณคดี 2. 2. คณิตศาสตร คณิตศาสตร 3. 3. วิทยาศาสตร วิทยาศาสตร 4. 4. ภาษาตางประเทศ ภาษาตางประเทศ 5. 5. วิชาความประพฤติและคุณธรรม วิชาความประพฤติและคุณธรรม 6. 6. วิชาดนตรีและ วิชาดนตรีและพลศึกษา พลศึกษา 

ไทย ไทย จีน จีน

Page 15: การศึกษาของประเทศจีน

ดานการวัดผล/ประเมินผล 

การวัดผลประเมินผลของหลกัสตูรการศึกษาขั้น พ้ืนฐานมีอยู 3 ระดับ 1.การวดัผลประเมินผลระดบัชั้นเรียน คือมุงหา คําตอบวาผูเรียนมีความกาวหนาทั้งดานความรู ทักษะกระบวนการ และคานิยมอันพึงประสงค อัน เน่ืองมาจากการจัดการเรยีนการสอน 2.การวดัผลประเมินผลระดบัสถานศึกษา เพ่ือ ตรวจสอบความกาวหนาดานการเรียนรูเปนรายชั้น ปและชวงชัน้เพราะสถานศึกษาจะนําไปหาแนวทาง ในการปรับปรงุพัฒนาการเรยีนการสอน 3.การวดัผลประเมินผลระดบัชาติ  คือสถานศึกษา ตองจัดใหผูเรียนทุกคนที่เรียนปสุดทายของแตละ ชวงชัน้เขารับการประเมินคุณภาพระดับชาติ ใน กลุมสาระการเรยีนรูที่สําคัญไดแก ภาษาไทย คณิตศาสตร วทิยาศาสตร สังคม ศาสนาและ วัฒนธรรม ภาษาอังกฤษและกลุมสาระอืน่ๆ 

การประเมินการศึกษาของประเทศจีนน้ัน 1. ในชั้นประถมศึกษาตอนตนเน่ืองจากยังคงอยู ในชวงการศึกษาภาคบงัคบั การจบการศึกษาจาก โรงเรยีนประถมศึกษา เขาสูชั้นมัธยมศึกษา ตอนตนจึงไมตองผานการสอบ 2.  การจบการศึกษาจากชัน้มัธยมศึกษาตอนตนสู การศึกษาชัน้มัธยมศึกษาตอนปลาย ตองสอบผาน การสอบโดยใชหนวยงานศึกษาธิการในทองที่ ตางๆออกขอสอบอยางเปนเอกภาพ ทั้งกําหนด คะแนนผานดวย 3.  การศึกษาตอหรอืหารจะเขาเรียนหนังสือใน สถาบนัอุดมศึกษาน้ันจะตองผานการสอบ โดยใช หนวยงาศึกษาธกิารในทองที่ตางๆออกขอสอบ อยางเปนเอกภาพ ทั้งกําหนดคะแนนผานดวย 

ไทย จีน

Page 16: การศึกษาของประเทศจีน

การประเมินการศึกษาของประเทศจีนนั้น เนื่องจากระดับประถมศึกษายังอยู ในภาคบังคับเมื่อจบการศึกษาจะตองเรียนตอในระดับมัธยมศึกษาตอนตนจึงไมมีการ ทดสอบหรอืประเมินผล แตจะไปสอบตอนที่จะเขาในระดบัมัธยมศึกษาตอนปลาย โดย ที่จะมีหนวยงานศกึษาธิการในทองถิ่นมาออกขอสอบอยางเปนเอกภาพ และจะสําคัญ ที่สุดตอนที่สอบเขาระดับที่สูงเชน มหาวิทยาลัย สวนการประเมนิผลของไทยจะมีอยู 3 ระดับจะมีการประเมนิผลระดบัชัน้เรียน ระดบัสถานศึกษาและระดับชาติ จะเห็นวาการ ประเมนิการศึกษาของประเทศไทยจะละเอียดแตประเทศไทยจะเนนการทดสอบวัด ความรูสําหรับประเทศจีนจะเนนการเกิดความเขาใจและสามาร๔นํามาใชไดจริง

Page 18: การศึกษาของประเทศจีน

การเปรียบเทียบการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กลุมสาระการเรียนรู คณิตศาสตร  ของจีนกับไทย จุดประสงคการเรียนรูคณิตศาสตร 

การที่ผูเรียนจะเกิดการเรียนรูคณิตศาสตรอยางมีคุณภาพ การที่ผูเรียนจะเกิดการเรียนรูคณิตศาสตรอยางมีคุณภาพ นั้น นั้น จะตองมีความสมดุลระหวางสาระทางดานความรู จะตองมีความสมดุลระหวางสาระทางดานความรู ทักษากระบวนการ ทักษากระบวนการ ควบคูไปกับคุณธรรม ควบคูไปกับคุณธรรม จริยธรรม จริยธรรม และ และ คานิยม คานิยม ดังนี้ ดังนี้ 1. 1. มีความรูความเขาใจคณิตศาสตรพื้นฐานเกี่ยวกับ มีความรูความเขาใจคณิตศาสตรพื้นฐานเกี่ยวกับ จํานวนและการดําเนินการ จํานวนและการดําเนินการ การวดั การวดั เรขาคณิต เรขาคณิต พีชคณิต พีชคณิต การ การ วิเคราะหขอมูล วิเคราะหขอมูล และความนาจะเปน และความนาจะเปน พรอมทั้งนําความรู พรอมทั้งนําความรู นั้นไปประยุกตได นั้นไปประยุกตได 2. 2. มีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตรที่จําเปนไดแก มีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตรที่จําเปนไดแก ความสามารถในการแกปญหาดวยวิธีที่หลากหลาย ความสามารถในการแกปญหาดวยวิธีที่หลากหลาย การให การให เหตุผล เหตุผล การสือ่สาร การสือ่สาร สื่อความหมายทางคณิตศาสตร สื่อความหมายทางคณิตศาสตร และ และ การนําเสนอ การนําเสนอ การมีความคดิริเริ่มสรางสรรค การมีความคดิริเริ่มสรางสรรค การเช่ือมโยง การเช่ือมโยง ความรูตางๆทางคณิตศาสตรและการเช่ือมโยง ความรูตางๆทางคณิตศาสตรและการเช่ือมโยง คณิตศาสตรกับศาสตรอื่นๆ คณิตศาสตรกับศาสตรอื่นๆ 3. 3.มีความสามารถในการทํางานอยางเปนระบบ มีความสามารถในการทํางานอยางเปนระบบ มีระเบียบ มีระเบียบ วินัย วินัย มีความรอบคอบ มีความรอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ มีวิจารณญาณ มี มี ความเช่ือมั่นในตนเอง ความเช่ือมั่นในตนเอง พรอมทั้งตระหนักในคุณคาและมี พรอมทั้งตระหนักในคุณคาและมี เจตคติที่ดีตอคณิตศาสตร เจตคติที่ดีตอคณิตศาสตร 

การเรียนการสอนในระดับนี้ การเรียนการสอนในระดับนี้ นักเรียนควรมีความรูเรื่อง นักเรียนควรมีความรูเรื่อง จํานวนจริง จํานวนจริง จํานวนเต็ม จํานวนเต็ม และสูตร และสูตร สมการและอสมการ สมการและอสมการ จํานวนเทาไมเทากัน จํานวนเทาไมเทากัน และกลุมจํานวนท่ีไมเทากัน และกลุมจํานวนท่ีไมเทากัน ฟงกชัน ฟงกชัน รูจักการใชกฎความสัมพันธมาแกไขปญหา รูจักการใชกฎความสัมพันธมาแกไขปญหา ในเบื้องตน ในเบื้องตน แลวควรมีความรูความสามารถและ แลวควรมีความรูความสามารถและทัศน ทัศนวิสัยในการใช วิสัยในการใช พีชคณิตมาแกไขและนํามาปรับใชโจทยปญหาเพื่อแสดง พีชคณิตมาแกไขและนํามาปรับใชโจทยปญหาเพื่อแสดง ถึงประสิทธิผล ถึงประสิทธิผล ความเขาใจอยางลึกซึ้งซึ่งจะนํามาซึ่ง ความเขาใจอยางลึกซึ้งซึ่งจะนํามาซึ่ง ผลสําเร็จ ผลสําเร็จ ในการเรียนการสอนควรใหความสําคัญและทํา ในการเรียนการสอนควรใหความสําคัญและทํา ความเขาใจในการปรับใชกฎคณิตศาสตรในรูปแบบตางๆ ความเขาใจในการปรับใชกฎคณิตศาสตรในรูปแบบตางๆ เพื่อที่จํานวนไปสรางโจทยใหทันสมัยมากขึ้น เพื่อที่จํานวนไปสรางโจทยใหทันสมัยมากขึ้น อีกทั้งยัง อีกทั้งยัง สามารถประมาณการได สามารถประมาณการได สมารถสืบคนหาขอมูลตางๆได สมารถสืบคนหาขอมูลตางๆได รวมทั้งสามารถตรวจสอบและพิสูจนทฤษฏีตางๆได รวมทั้งสามารถตรวจสอบและพิสูจนทฤษฏีตางๆได ถูกตอง ถูกตอง เหมาะสมนาระดับตางๆ เหมาะสมนาระดับตางๆ ควรเพิ่มขีดความสามารถ ควรเพิ่มขีดความสามารถ ดานสมการ ดานสมการ จํานวนท่ีแตกตางหัน จํานวนท่ีแตกตางหัน ฟงกชันและเนื้อหาตางๆ ฟงกชันและเนื้อหาตางๆ ที่เกี่ยวของ ที่เกี่ยวของ แนะนําเกี่ยวกับที่มาที่ไปของพีชคณิต แนะนําเกี่ยวกับที่มาที่ไปของพีชคณิต ควร ควร หลีกเลี่ยงวิธีการคิดคณิตที่จุกจิกจนเกินไป หลีกเลี่ยงวิธีการคิดคณิตที่จุกจิกจนเกินไป 

ไทย ไทย จีน จีน

Page 19: การศึกษาของประเทศจีน

ดานโครงสรางและรายละเอียดเนื้อหา 

ดานโครงสรางของไทยแบงกลุมสาระการเรียนรู ซึ่งวิชาคณิตศาสตรแบงเปน 2 กลุม สาระ การเรียนรูคือ 1. สาระการเรียนรูพ้ืนฐานเปนวิชาบังคับที่ใชสําหรับชวงช้ันที่ 3 2.สาระการเรียนรูเพ่ิมเติมเปนวิชาที่ผูเรียนจะตองเนนหนักทางดานความถนัดความสนใจและ ความตองการของแตละบุคคล เปนวิชาที่ใชสําหรับชวงชั้นที่ 4 

สาระที่เปนองคความรูของกลุมสาระคณิตศาสตร ประกอบดวย สาระที่ 1 จํานวนและการดําเนินการ สาระที่ 2 การวัด สาระที่ 3 เรขาคณิต สาระที่ 4 พีชคณิต สาระที่ 5 การวิเคราะหขอมูลและความนาจะเปน สาระที่ 6 ทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร

Page 20: การศึกษาของประเทศจีน

คณิตศาสตรเพิ่มเติม คณิตศาสตรเพิ่มเติม - -การประยุกต การประยุกต 1 1 - -- - จํานวนและตัวเลข จํานวนและตัวเลข - - การประยุกตของจํานวนเต็มและเลขยกกําลัง การประยุกตของจํานวนเต็มและเลขยกกําลัง 

- -- - การสราง การสราง - -- - การเตรียมความพรอมในการใหเหตผุล การเตรียมความพรอมในการใหเหตผุล 

- -- - พหุนาม พหุนาม - -- - การประยุกต การประยุกต 2 2 - -- - สมบัติของเลขยกกําลัง สมบัติของเลขยกกําลัง - -- - พหุนามและเศษสวนของพหุนาม พหุนามและเศษสวนของพหุนาม - -- - การประยุกตของอัตราสวนและรอยละ การประยุกตของอัตราสวนและรอยละ - -- - การประยุกตของการแปลงทาง การประยุกตของการแปลงทาง เรขาคณิต เรขาคณิต - -- - การแยกตัวประกอบของพหุนาม การแยกตัวประกอบของพหุนาม ดีกรีสอง ดีกรีสอง - -- - สมการกําลังสองตัวแปรเดียว สมการกําลังสองตัวแปรเดียว 

คณิตศาสตรพื้นฐาน คณิตศาสตรพื้นฐาน - -ห ห..ร ร..ม ม.. และ และ ค ค..ร ร..น น.. - -- -จํานวนเต็ม จํานวนเต็ม - -- - เลขยกกําลัง เลขยกกําลัง - -- - พื้นฐานทางเรขาคณิต พื้นฐานทางเรขาคณิต ( (รวมการสราง รวมการสราง พื้นฐาน พื้นฐาน) ) - -- - เศษสวนและทศนิยม เศษสวนและทศนิยม - -- - การประมาณคา การประมาณคา - -- - คูอันดับและกราฟ คูอันดับและกราฟ - -- - สมการเชิงเสนตัวแปรเดียว สมการเชิงเสนตัวแปรเดียว - -- - ความสัมพันธระหวางรูปเรขาคณิต ความสัมพันธระหวางรูปเรขาคณิต สองมิติและสามมิติ สองมิติและสามมิติ - -- - อัตราสวนและรอยละ อัตราสวนและรอยละ - -- - การวัด การวัด - -- - แผนภูมิรูปวงกลม แผนภูมิรูปวงกลม - -- - การแปลงทางเรขาคณิต การแปลงทางเรขาคณิต 

พีชคณิตศาสตร พีชคณิตศาสตร - - กฎเอกลักษณ กฎเอกลักษณ - - กฎรากที่ กฎรากที่ 2 2 - - ลอ ลอกาลิทึม กาลิทึม สมการและอสมการ สมการและอสมการ - -สมการดีกรี สมการดีกรี 1 1 - -เลขยกกําลัง เลขยกกําลัง - -ระบบสมการเชิงเสนลําดับและ ระบบสมการเชิงเสนลําดับและ อนุกรม อนุกรม - -เลขคณิตศาสตร เลขคณิตศาสตร - -เรขาคณิตสาสตร เรขาคณิตสาสตร การเทากันทุกประการ การเทากันทุกประการ และ และ ความ ความ คลายคลึงของเสน คลายคลึงของเสน และ และ จุดบนรูป จุดบนรูป สามเหลี่ยม สามเหลี่ยม 

ไทย ไทย  มัธยมศึกษาตอนตน มัธยมศึกษาตอนตน  ม ม.1 .1 – –  ม ม.3 .3 จีน จีน  มัธยมศึกษาตอนตน มัธยมศึกษาตอนตน  3 3 ป ป (grade) (grade)

Page 21: การศึกษาของประเทศจีน

- -การแปรผัน การแปรผัน - - กรณฑที่สอง กรณฑที่สอง - - การแยกตวัประกอบพหุนาม การแยกตวัประกอบพหุนาม - - สมการกําลงัสอง สมการกําลงัสอง - -พาราโบลา พาราโบลา - - ปริมาตรและพื้นที่ผิว ปริมาตรและพื้นที่ผิว - - ระบบสมการ ระบบสมการ - - การใชเหตุผลทางเรขาคณิต การใชเหตุผลทางเรขาคณิต - -เศษสวนของพหุนาม เศษสวนของพหุนาม 

- -ความเทากันทุกประการ ความเทากันทุกประการ - - ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับจํานวนจริง ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับจํานวนจริง - - ทฤษฎีของปทา ทฤษฎีของปทาโกรัส โกรัส - - เสนขนาน เสนขนาน - - การประยกุตของสมการเชิงเสนตัว การประยกุตของสมการเชิงเสนตัว แปรเดียว แปรเดียว - -ปริมาตรและพื้นที่ผิว ปริมาตรและพื้นที่ผิว - - ระบบสมการเชิงเสน ระบบสมการเชิงเสน - - ความคลาย ความคลาย - - กราฟ กราฟ - -อสมการ อสมการ - - สถิติ สถิติ - - ความนาจะเปน ความนาจะเปน - -การเสริมทักษะกระบวนการทาง การเสริมทักษะกระบวนการทาง คณิตศาสตร คณิตศาสตร 

- -มุมของรูปสามเหลี่ยม มุมของรูปสามเหลี่ยม - - ความสัมพันธระหวางมุมและขนาด ความสัมพันธระหวางมุมและขนาด - - ทฤษฎีของปทา ทฤษฎีของปทาโกรัส โกรัส - - ทฤษฎีของวงกลม ทฤษฎีของวงกลม - - เสนรอบวงและยอดมุม เสนรอบวงและยอดมุม - - เสนรอบวงของรูปสี่เหลี่ยม เสนรอบวงของรูปสี่เหลี่ยม - - เสนสัมผัสของรูปสี่เหลี่ยม เสนสัมผัสของรูปสี่เหลี่ยม - -  ความนาจะเปน ความนาจะเปน 

ไทย ไทย  มัธยมศึกษาตอนตน มัธยมศึกษาตอนตน  ม ม.1 .1 – –  ม ม.3 .3 จีน จีน  มัธยมศึกษาตอนตน มัธยมศึกษาตอนตน  3 3 ป ป (grade) (grade)

Page 22: การศึกษาของประเทศจีน

คณิตศาสตรเพิ่มเติม คณิตศาสตรเพิ่มเติม - -ตรรกศาสตรเบื้องตน ตรรกศาสตรเบื้องตน ประพจน ประพจน การหาคาความจริงของประพจน การหาคาความจริงของประพจน การสรางตารางคาความจริง การสรางตารางคาความจริง รูปแบบของประพจนที่สมมูลกัน รูปแบบของประพจนที่สมมูลกัน การอางเหตุผล การอางเหตุผล ขอความที่มีตัวบงปริมาณและคาความ ขอความที่มีตัวบงปริมาณและคาความ จริงของประโยคที่มีตัวบงปริมาณ จริงของประโยคที่มีตัวบงปริมาณ สมมูลและนิเสธของประโยคที่มีตัวบง สมมูลและนิเสธของประโยคที่มีตัวบง ปริมาณ ปริมาณ - -ระบบจํานวนจริง ระบบจํานวนจริง จํานวนจริง จํานวนจริง การเทากัน การเทากัน การบวก การบวก การลบ การลบ การคูณ การคูณ และการหารในระบบจํานวนจริง และการหารในระบบจํานวนจริง สมบัติของระบบจํานวนจริง สมบัติของระบบจํานวนจริง 

คณิตศาสตรพื้นฐาน คณิตศาสตรพื้นฐาน เซต เซต- - เซต เซต - -การดําเนินการของเซต การดําเนินการของเซต - - แผนภาพ แผนภาพเวนน เวนน - -ออยเลอร ออยเลอรและการแกปญหาการใช และการแกปญหาการใช เหตุผล เหตุผล - - การใชเหตุผลแบบอุปนัยและนิรนัย การใชเหตุผลแบบอุปนัยและนิรนัย - - การอางเหตุผลจํานวนจริง การอางเหตุผลจํานวนจริง - -จํานวนจริง จํานวนจริง - - สมบัติของจํานวนจริงเกี่ยวกับการ สมบัติของจํานวนจริงเกี่ยวกับการ บวกและการคูณการเทากันและการไม บวกและการคูณการเทากันและการไม เทากัน เทากัน - - สมการกําลังสองตัวแปรเดียว สมการกําลังสองตัวแปรเดียว - - อสมการตัวแปรเดียว อสมการตัวแปรเดียว 

- -ฟงกชัน ฟงกชัน- - ฟงกชันเบื้องตน ฟงกชันเบื้องตน - -การแปลงผลของฟงกชัน การแปลงผลของฟงกชัน - - ทฤษฎีเซต ทฤษฎีเซต - - สัญลักษณของเซต สัญลักษณของเซต - - คุณสมบัติของเซต คุณสมบัติของเซต - - การนําไป การนําไป - - ตรีโกนมิติ ตรีโกนมิติ - - บทนิยามฟงกชันตรีโกน บทนิยามฟงกชันตรีโกน - - ความสัมพันธของฟงกชันตรีโกน ความสัมพันธของฟงกชันตรีโกน - - ทฤษฎี ทฤษฎีsine sine และทฤษฎี และทฤษฎี cosine cosine sine(A+B),cos(A+B sine(A+B),cos(A+B) ) ,,tan(A+B),cotan(A+B tan(A+B),cotan(A+B) ) 

ไทย ไทย  มัธยมศึกษาตอนตน มัธยมศึกษาตอนตน ม ม.4 .4 – – ม ม.6 .6 จีน จีน มัธยมศกึษาตอนปลาย มัธยมศกึษาตอนปลาย

Page 23: การศึกษาของประเทศจีน

การแกสมการพหนุามตัวแปรเดยีว การแกสมการพหนุามตัวแปรเดยีว สมบัติการไมเทากนั สมบัติการไมเทากนั ชวงและการแกอสมการ ชวงและการแกอสมการ คาสัมบูรณ คาสัมบูรณ การแกสมการและอสมการในรูปคาสมบูรณ การแกสมการและอสมการในรูปคาสมบูรณ - -ทฤษฎีจํานวนเบือ้งตน ทฤษฎีจํานวนเบือ้งตน สมบัติของจํานวนเต็ม สมบัติของจํานวนเต็ม - -เมท เมทริกซ ริกซและดี และดีเทอรทินนัต เทอรทินนัต สัญลักษณของเมท สัญลักษณของเมทริกซ ริกซ สมบัติของเมท สมบัติของเมทริกซ ริกซ ดี ดีเทอรมินันต เทอรมินันต การใชเมท การใชเมทริกซ ริกซแกสมการเชงิเสน แกสมการเชงิเสน - -เรขาคณิตวิเคราะห เรขาคณิตวิเคราะห เสนตรง เสนตรง ภาคตัดกรวย ภาคตัดกรวย - -ฟงกชัน ฟงกชัน ฟงกชันโพลโิน ฟงกชันโพลโินเมียล เมียล ฟงกชันคอมโพ ฟงกชันคอมโพสิท สิท ฟงกชันอิน ฟงกชันอินเวอรส เวอรส พีชคณิตของฟงกชัน พีชคณิตของฟงกชัน 

- -คาสมับูรณเลขยกกําลงัที่มีเลขช้ีกําลัง คาสมับูรณเลขยกกําลงัที่มีเลขช้ีกําลัง เปนจํานวน เปนจํานวนตรรก ตรรกยะ ยะ - - เลขยกกําลงัที่มีเลขช้ีกําลังเปน เลขยกกําลงัที่มีเลขช้ีกําลังเปน จํานวน จํานวนตรรก ตรรกยะ ยะ - - รากที่ รากที่ n n ของจํานวนจริง ของจํานวนจริง ความสัมพันธและฟงกชัน ความสัมพันธและฟงกชัน - - ความสมัพันธและฟงกชัน ความสมัพันธและฟงกชัน - - กราฟของความสมัพันธและฟงกชัน กราฟของความสมัพันธและฟงกชัน - - ตวัอยางของฟงกชันที่ควรรูจัก ตวัอยางของฟงกชันที่ควรรูจัก - -อัตราสวนตรโีกณมติิและการนําไปใช อัตราสวนตรโีกณมติิและการนําไปใช - - อตัราสวนตรีโกณมิติลําดับและ อตัราสวนตรีโกณมิติลําดับและ อนุกรม อนุกรม - - ลําดบั ลําดบั - - ลําดบัเลขคณิต ลําดบัเลขคณิต - - ลําดบัเรขาคณิต ลําดบัเรขาคณิต - - อนุกรม อนุกรม 

- -การพิสจูนทฤษฎีเสนสัมผัส การพิสจูนทฤษฎีเสนสัมผัส - -เวกเตอร เวกเตอร - - เรขาคณิตวิเคราะห เรขาคณิตวิเคราะห - - การนําไปใช การนําไปใช - - สมการเสนตรง สมการเสนตรง สมการวงกลม สมการวงกลม สมการพาราโบลา สมการพาราโบลา - - ระยะทางระหวางจุดและเสน ระยะทางระหวางจุดและเสน ระหวางเสนขนาน ระหวางเสนขนาน - - สมการแบงครึ่ง สมการแบงครึ่ง - - สมการวงรี สมการวงรี และสมการไฮเพอรโบลา และสมการไฮเพอรโบลา - - สมการระนาบ สมการระนาบ - - สมการวงกลม สมการวงกลม สมการทรงกระบอก สมการทรงกระบอก การหมุนพื้นที่ผิว การหมุนพื้นที่ผิว - - ตรีโกนสามมิติ ตรีโกนสามมิติ - - จดุและเสนและระนาบสามมิติ จดุและเสนและระนาบสามมิติ 

ไทย ไทย  มัธยมศึกษาตอนตน มัธยมศึกษาตอนตน ม ม.4 .4 – – ม ม.6 .6 จีน จีน มัธยมศกึษาตอนปลาย มัธยมศกึษาตอนปลาย

Page 24: การศึกษาของประเทศจีน

ฟงกชัน ฟงกชันเอกซโพเนนเชียล เอกซโพเนนเชียลและ และ ฟงกชันลอการิทึม ฟงกชันลอการิทึม - - ฟงกชันตรีโกณมิติและการ ฟงกชันตรีโกณมิติและการ ประยุกต ประยุกต - -เวกเตอรในสามมิติ เวกเตอรในสามมิติ เวกเตอร เวกเตอร การบวกเวกเตอร การบวกเวกเตอร การลบเวกเตอร การลบเวกเตอร การคณูเวกเตอร การคณูเวกเตอรดวยส ดวยสเก เกลาร ลาร ผลคูณเชิง ผลคูณเชิงเกลาร เกลารผลคูณเชิงเวกเตอร ผลคูณเชิงเวกเตอร - -จํานวนเชิงซอน จํานวนเชิงซอน จํานวนเชิงซอน จํานวนเชิงซอน กราฟและคาสมับูรณของจํานวน กราฟและคาสมับูรณของจํานวน เชิงซอนจํานวนเชิงซอนในรูปเชิง เชิงซอนจํานวนเชิงซอนในรูปเชิง ข้ัว ข้ัว 

- -ผลบวก ผลบวก n n พจนแรกของอนุกรม พจนแรกของอนุกรม ความนาจะเปน ความนาจะเปน - -กฎเกณฑเบื้องตนเกี่ยวกับการนับ กฎเกณฑเบื้องตนเกี่ยวกับการนับ - - ความนาจะเปนของเหตุการณ ความนาจะเปนของเหตุการณ สถิติเบื้องตน สถิติเบื้องตน - - การเกบ็ขอมูล การเกบ็ขอมูล - - การวเิคราะหขอมูลเบื้องตนและ การวเิคราะหขอมูลเบื้องตนและ การนําเสนอขอมูล การนําเสนอขอมูล 

- -คุณสมบัติของจุดและเสน คุณสมบัติของจุดและเสน เสนและ เสนและ สน สน เสนและระนาบ เสนและระนาบ ระนาบและ ระนาบและ ระนาบ ระนาบ - - คณุสมบัติกําลังสาม คณุสมบัติกําลังสาม รูปทรง รูปทรง สี่เหลี่ยม สี่เหลี่ยม และทรงกระบอก และทรงกระบอก และทรง และทรง กลม กลม - - จํานวนเชิงซอน จํานวนเชิงซอน - - จํานวนเชิงซอน จํานวนเชิงซอน ตัวแทนสัง ตัวแทนสังยุค ยุค - - การนําไปใช การนําไปใช - - ตรีโกนมิติจากจํานวนเชิงซอน ตรีโกนมิติจากจํานวนเชิงซอน - - ทฤษฎีของ ทฤษฎีของ De De Moivre Moivre’ ’S S - - การถอดรากที่ การถอดรากที่ 2 2 ของจํานวน ของจํานวน เชิงซอน เชิงซอน 

ไทย ไทย  มัธยมศึกษาตอนตน มัธยมศึกษาตอนตน ม ม.4 .4 – – ม ม.6 .6 จีน จีน มัธยมศกึษาตอน มัธยมศกึษาตอน ปลาย ปลาย

Page 25: การศึกษาของประเทศจีน

สมการพหุนาม สมการพหุนาม - -กราฟเบื้องตน กราฟเบื้องตน กราฟ กราฟ  ,, กราฟ กราฟออยเลอร ออยเลอร การประยุกตของกราฟ การประยุกตของกราฟ - - ความนาจะเปน ความนาจะเปน กฎเกณฑเบื้องตนเกี่ยวกับการนับ กฎเกณฑเบื้องตนเกี่ยวกับการนับ วิธีเรียงสับเปล่ียน วิธีเรียงสับเปล่ียน  ,, วิธีจัดหมู วิธีจัดหมู ทฤษฎีบททวินาม ทฤษฎีบททวินาม ความนาจะเปนและกฎท่ีสําคัญบางประการของความ ความนาจะเปนและกฎท่ีสําคัญบางประการของความ นาจะเปน นาจะเปน - - การวิเคราะหขอมูลเบื้องตน การวิเคราะหขอมูลเบื้องตน คากลางของขอมูล คากลางของขอมูล การวัดตําแหนงท่ีของขอมูลการวัดการกระจายของขอมูล การวัดตําแหนงท่ีของขอมูลการวัดการกระจายของขอมูล - -การแจกแจงปกติ การแจกแจงปกติ คามาตรฐานการแจกแจงปกติและเสนโคงปกติ คามาตรฐานการแจกแจงปกติและเสนโคงปกต ิ- - ความสัมพันธเชิงฟงกชันระหวางขอมูล ความสัมพันธเชิงฟงกชันระหวางขอมูล - - ลําดับอนันตและอนุกรมอนันต ลําดับอนันตและอนุกรมอนันตลิมิต ลิมิตของลําดับ ของลําดับ 

- -การหารากของเอกพจน การหารากของเอกพจน - - การวิเคราะห การวิเคราะห - - ลิมิต ลิมิตลําดับ ลําดับ ประพจนของลิ ประพจนของลิมิต มิต - - ลิมิต ลิมิตของฟงกชันจํากัดอนันต ของฟงกชันจํากัดอนันต - - ฟงกชันตอเนื่อง ฟงกชันตอเนื่อง - - หลักการหาอนุพันธ หลักการหาอนุพันธ - - อนุกรม อนุกรม - - อนุกรม อนุกรม อนุกรมลูเขา อนุกรมลูเขา - - อนุกรมตรีโกนมิติการบวกอนุกรม อนุกรมตรีโกนมิติการบวกอนุกรม ตรีโกนมิติลูเขา ตรีโกนมิติลูเขา - - ความนาจะเปน ความนาจะเปน - - วิธีเรียงสับเปลี่ยน วิธีเรียงสับเปลี่ยน และ และ วิธีการจัดหมู วิธีการจัดหมู - - ความนาจะเปนเบื้องตน ความนาจะเปนเบื้องตน - - ความนาจะเปนของสนาม ความนาจะเปนของสนาม - - สถิติเบื้องตน สถิติเบื้องตน คาเฉลี่ยและสวน คาเฉลี่ยและสวน เบี่ยงเบนมาตรฐาน เบี่ยงเบนมาตรฐาน 

ไทย ไทย  มัธยมศึกษาตอนตน มัธยมศึกษาตอนตน ม ม.4 .4 – – ม ม.6 .6 จีน จีน มัธยมศกึษาตอนปลาย มัธยมศกึษาตอนปลาย

Page 26: การศึกษาของประเทศจีน

ผลบวกของอนุกรม ผลบวกของอนุกรม - -แคลคูลัสเบือ้งตน แคลคูลัสเบือ้งตน ลิมิต ลิมิตของฟงกชัน ของฟงกชัน ความตอเน่ืองของฟงกชัน ความตอเน่ืองของฟงกชัน อนุพันธของฟงกชัน อนุพันธของฟงกชัน ความชันของเสนโคง ความชันของเสนโคง การหาอนุพันธของฟงกชันพีชคณิตโดยใชสูตร การหาอนุพันธของฟงกชันพีชคณิตโดยใชสูตร การประยุกตของอนุพันธอยางงาย การประยุกตของอนุพันธอยางงาย ปรพัินธ ปรพัินธ ปรพัินธไมจํากัดเขต ปรพัินธไมจํากัดเขต ปรพัินธจํากัดเขต ปรพัินธจํากัดเขต พ้ืนที่ที่ปดลอมดวยเสนโคง พ้ืนที่ที่ปดลอมดวยเสนโคง - - กําหนดการเชิงเสน กําหนดการเชิงเสน 

ไทย ไทย  มัธยมศึกษาตอนตน มัธยมศึกษาตอนตน ม ม.4 .4 – – ม ม.6 .6 จีน จีน มัธยมศกึษาตอนปลาย มัธยมศกึษาตอนปลาย

Page 27: การศึกษาของประเทศจีน

ด านก ารวัดผล /ประเมินผล 

1. 1.ประเมินควบคูไปกับการเรียนการสอน ประเมินควบคูไปกับการเรียนการสอน 2. 2.ประเมินผลสอดครองกบัวัตถุประสงคการ ประเมินผลสอดครองกบัวัตถุประสงคการ 

เรียนรูและเปาหมายการเรียนรู เรียนรูและเปาหมายการเรียนรู 3. 3.การประเมินผลทักษะ การประเมินผลทักษะ//กระบวนการทาง กระบวนการทาง 

คณิตศาสตร คณิตศาสตร มีความสําคัญเทียบเทากับการ มีความสําคัญเทียบเทากับการ วัดความรู วัดความรู ความเขาใจในเน้ือหา ความเขาใจในเน้ือหา 

4. 4.การประเมินผลการเรียนรูตองนําไปสูขอมูล การประเมินผลการเรียนรูตองนําไปสูขอมูล ขาวสารสนเทศเกีย่วกับผูเรยีนรอบดาน ขาวสารสนเทศเกีย่วกับผูเรยีนรอบดาน 

5. 5.การประเมินผลการเรียนรูตองเปน การประเมินผลการเรียนรูตองเปน กระบวนการทีช่วยสงเสรมิใหผูเรียนมี กระบวนการทีช่วยสงเสรมิใหผูเรียนมี ความกระตือรือรนในการปรับปรงุ ความกระตือรือรนในการปรับปรงุ ความสามารถดานคณิตศาสตรของตน ความสามารถดานคณิตศาสตรของตน 

โดยทัว่ไปการวัดผลวชิาคณิตศาสตร โดยทัว่ไปการวัดผลวชิาคณิตศาสตร นักเรียน นักเรียน จะผานการสอบ จะผานการสอบ 2 2 ครัง้ ครัง้ คือ คือ 

ครั้งที่ ครั้งที่ 1 1 โดยสอบผานจากครูผูสอน โดยสอบผานจากครูผูสอน และครั้งที่ และครั้งที่ 2 2 เมื่อเรียนจบภาคเรยีนน้ันๆ เมื่อเรียนจบภาคเรยีนน้ันๆ การสอบมคีวามสําคญัในประเทศจีนมาก การสอบมคีวามสําคญัในประเทศจีนมาก 2 2 

ประการคือ ประการคือ 1. 1. การสอบของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนตน การสอบของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนตน 

เพ่ือศึกษาตอในชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย เพ่ือศึกษาตอในชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย 2. 2. การสอบครั้ง การสอบครั้งน้ีเปนการสอบทีส่ําคญัที่สุด น้ีเปนการสอบทีส่ําคญัที่สุด 

เพราะคนจีนถือวาเปนการตัดสนิอนาคต เพราะคนจีนถือวาเปนการตัดสนิอนาคต ของตัวเอง ของตัวเอง คือ คือ การสอบ การสอบเอน็ทรานซ เอน็ทรานซ เพ่ือ เพ่ือ เขาศึกษาตอในมหาวิทยาลัยและทุกคนก็ เขาศึกษาตอในมหาวิทยาลัยและทุกคนก็ จะตองมีสอบในวิชาคณิตศาสตรดวยซึ่ง จะตองมีสอบในวิชาคณิตศาสตรดวยซึ่ง ยากสําหรบันักเรียนแตผูปกครองตองการ ยากสําหรบันักเรียนแตผูปกครองตองการ ใหลกูหลานของตนเองไดเรียนใน ใหลกูหลานของตนเองไดเรียนใน มหาวทิยาลัยดีๆ และนักเรียนก็ตองการที่จะ มหาวทิยาลัยดีๆ และนักเรียนก็ตองการที่จะ ไดคะแนนมากๆในวิชาคณิตศาสตร ไดคะแนนมากๆในวิชาคณิตศาสตร 

ไทย ไทย จีน จีน

Page 28: การศึกษาของประเทศจีน

ในรอบการศึกษาแตละภาคเรียนจะมีการวัดผลเพียง 2 ครั้ง ครั้งท่ี 1 วัดผลโดยครูผูสอน ครั้งท่ี 2 เมื่อจบภาคเรียนนั้นๆ ซึ่งมีวัตถุประสงค 2 ประการหลักๆ คือ เพื่อศึกษาตอจากระดับมัธยมศึกษาตอนตนขึ้น มัธยมศึกษาตอนปลาย และเพื่อเขามหาวิทยาลัยหรือสถานศึกษาท่ีสูงขึ้น สวนของประเทศไทยนั้นมีการวัดผลของความเขาใจการเรียนรูเกี่ยวกับ เน้ือหาเทานั้น เพื่อเปนการทําใหผูเรียนกระตือรือลนในการปรับปรุงแต ไมไดเนนการนํามาประยุกตใชกับชีวิต

Page 29: การศึกษาของประเทศจีน

วิเคราะหระบบการศกึษาของประเทศจีน การศึกษาในประเทศจีนประชากรของจีนน้ันจะขาดการศึกษา เพราะการศึกษาของจีนในยุคกอนน้ัน 

ประชาชนตองเรียนรูจากประสบการณจริงคือ การเรียนรูจากการทํางานซึ่งเปนการสอดแทรกความรูและสามารถที่จะ ปรับปรุงแกไขใหมีการพัฒนาใหดีข้ึนเรื่อยๆสวนคนที่มีฐานะดีก็จะจางครูมาสอนบุตรของตนเอง ซึ่งจัดวาเปนการ เรียนรูที่ไมมีการจัดการเรียนการสอนที่ดีและรัฐบาลไมเล็งเห็นความสําคัญตรงจุดนี้ 

10 ปที่ผานมาประเทศจีนไดใหความสําคัญตอการศึกษาข้ันพื้นฐานเปนอยางแรก  โดยมีการจดัการศึกษาภาค บังคับ 9 ป และกาํหนดใหเด็กอายุ 7-15 ป ขารับการศึกษาภาคบังคับ (ประถมศึกษา อายุระหวาง 7-12 ป และ มัธยมศึกษา อายุระหวาง 13-15 ป) ซึ่งการศึกษาของประเทศจีนแบงออกเปน 4 ระดับใหญไดแก การศึกษาข้ันพื้นฐาน การอาชีวศึกษา อุดมศึกษา และการศึกษานอกโรงเรียน และไดมีการบรรลุไปไดดวยดี โดยมีอัตราการเขาเรียนในระดับ 7-11 ป ถึงรอยละ 98 สวนในมัธยมศึกษาตอนตนมีการพัฒนาไปอยางมาก เห็นจากอัตราการเขาศึกษาตอในระดับ มัธยมศึกษาตอนตนจากเดิมรอยละ 58 เพิ่มเปนรอยละ 72 

จะเห็นไดวาระบบการศึกษาของจีนมีลักษณะคลายคลึงกับของไทย โดยแบงออกเปนชวงๆ คือ ระดับ อนุบาล  ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษา  แบงเปนมัธยมศึกษาตอนตนและมัธยมศึกษาตอนปลาย เชนเดียวกับ ของไทย รวมถึงเด็กที่จบการศึกษาตอนตนสามารถเลือกไปเรียนดานอาชีวศึกษาไดเชนกัน สวนสถาบันการศึกษา ระดับอุดมศึกษาประกอบดวยมหาวิทยาลัย สถาบัน และวิทยาลัย ซึ่งการศึกษาระดับนี้ของจีนมีคุณภาพดีทั้งการเรียน การสอนและการวิจัย การวางรากฐานการศึกษาของจีนน้ันอยูบนรากฐานความคิดที่วา “เศรษฐกิจจะเจริญได คนใน สังคมตองมีการศึกษา” รัฐบาลจีนจึงพยายามกระจายการศึกษาไปยังประชากรของประเทศอยางทั่วถึง โดยมุงหวังทั้ง อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจและการสรางคนในชาติใหมีคุณภาพ โดยไมละทิ้งแงมุมทางสังคม ดวยการดึงชุมชนเขา มามีสวนรวมในการศึกษาอีกทางหน่ึงดวย

Page 30: การศึกษาของประเทศจีน

สําหรับปญหาดานการศึกษาของจีน ไดแก ความไมเทาเทียมกันทางการศึกษาของประชาชนในเมืองและ ในชนบท โดยประชากรในพื้นที่ซีกตะวันตกของประเทศสวนใหญเปนชนกลุมนอยและมีฐานะยากจน ยังขาดโอกาสทาง การศึกษา ขณะที่กลุมที่มีโอกาสไดเรียนหนังสือมักยุติไวเพียงแคระดับมัธยมศึกษาเทานั้น โอกาสที่จะเขาสูมหาวิทยาลัยมี นอยมาก เนื่องจากครอบครัวสวนใหญไมมีกําลังพอที่จะสงเสีย รัฐบาลจีนไดแกปญหาโดยการใหทุนแกเด็กเหลานี้รอยละ รอย จากที่สนับสนุนบางสวนในการศึกษาภาคบังคับ 9 ป รวมถึงใหการสนับสนุนทุนการศึกษาในระดับอุดมศึกษาควบคู ไปดวย สวนคุณภาพและความพรอมของสถานศึกษาในเมืองกับชนบท ก็มีความแตกตางกันในเรื่องสื่อการเรียนการสอน ที่ โรงเรียนในเมืองจะมีอุปกรณครบครันมากกวาดวยเชนกัน 

สิ่งที่จีนกําลังทําอยูในขณะนี้คือ การยกระดับคุณภาพมาตรฐานการศึกษาและสถานศึกษา ใหอยูในระดับ ทัดเทียมกัน โดยยกทั้งระบบตั้งแตการพัฒนาคุณภาพครูดวยการจัดอบรมสัมมนาโดยมีสถาบันอุดมศึกษาทําหนาที่จัดทํา หลักสูตรพัฒนาครู ปรับปรุงหลักสูตรการเรียนการสอน รวมถึงวิธีการเรียนการสอนใหม โดยเนนใหเด็กเปนศูนยกลางการ เรียนรู เชนเดียวกับประเทศไทย สวนโรงเรียนที่อยูหางไกล รัฐบาลจีนแกปญหาดวยการจัดทําสื่อการเรียนการสอนใน รูปแบบของวิดีทัศน ใชการเรียนรูปแบบทางไกลผานดาวเทียมและเรียนรูผานระบบอินเทอรเน็ต โดยตั้งเปาไววาป 2004- 2007 ตองเพิ่มโรงเรียนระดับ ม.ตน อีก 7,000 แหง พรอมหอพัก รวมถึงใหสถานศึกษาทุกแหงสามารถใชบริการเครือขาย อินเทอรเน็ตได เพื่อเปนการขยายโอกาสทางการศึกษาใหครอบคลุมทุกพื้นที่ และที่สําคัญคือทางการจีนใหความสําคัญกับ เด็กที่เรียนไมเกง โดยเด็กที่มีปญหาดานการเรียนรูจะถูกคัดมารวมกันใน 1 หองเรียน และจัดครูผูสอนคอยใหคําแนะนํา อยางใกลชิด เนื่องจากรัฐบาลจีนมีความเช่ือวาการสอนเด็กตองมีวิธีการเรียนการสอนที่เหมาะสมกับลักษณะของเด็กแตละ คน การสอนแบบเหมาโหลเหมือนกันหมดไมเอื้อตอการพัฒนาของเด็กทุกคน ขณะที่เด็กเกงก็จะถูกพัฒนาไปตามศักยภาพ ของแตละบุคคล

Page 32: การศึกษาของประเทศจีน
Page 33: การศึกษาของประเทศจีน