› 2010 › 08 › 51_article.pdf · บทความวิชาการ...

252
ยุววิจัยยางพารา สกว. ปที6 ฉบับที6 บทความวิชาการ

Upload: others

Post on 27-Feb-2020

5 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

  • ยุววจัิยยางพารา สกว.

    ปที่ 6 ฉบับที่ 6

    บทความวิชาการ

  • บทความวิชาการ ยุววิจยัยางพารา สกว. สถานที่ติดตอ : สํานักประสานงานชุดโครงการวิจัย “การพัฒนาอุตสาหกรรมยางพารา”

    ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร อ.หาดใหญ จ.สงขลา 90112

    โทรศัพท/โทรสาร : 074-287207, 074-446523 H/P : 081-5402587, 081-5412578 Website : http://www.trfrubber.com E-mail: [email protected]

  • บทบรรณาธิการ

    โครงการยุววิจัยยางพารา สกว. ไดสนับสนุนทุนใหครูและนักเรียนมัธยมปลายทําวิจัยในเรื่องที่เกี่ยวของกับยางพารา ภายใตกระบวนการสรางการเรียนรูจากการทําวิจัย โดยเริ่มตั้งแตการตั้งโจทยวิจัย การออกแบบการทดลอง การเก็บขอมูล การวิเคราะหและสังเคราะหขอมูล และสรุปผล จนสุดทายไดรายงานผลการวิจัยและบทความ

    ความสําเร็จวัดไดจากความเขมขนของเน้ือหาวิชาการ ที่ไดจากการสังเคราะหขอมูล โดยปกตินักเรียนแตเพียงผูเดียวไมสามารถทําได ตองอาศัยครูและผูรูจากภายนอกชวยเหลือ ในปน้ี 2551 โครงงานยุววิจัยหลายโครงงานไดขอความชวยเหลือนักวิชาการและผูรูจากภายนอก อยางแยบยลและเนียนไปกับกิจกรรมวิจัย จนปรากฏใหเห็นเปนผลงานวิจัยที่อธิบายขอมูลไดชัดเจนและนาเชื่อถือ แตก็มีหลายโครงงานที่ไมใหความสําคัญกับขั้นตอนสังเคราะหความรู ทําใหผลงานที่ไดดอยคุณคาไปอยางนาเสียดาย แมจะมีขอมูลเพียงพอใชอธิบาย

    โครงการยุววิจัยยางพารา สกว. ไดพยายามฝกครูและนักเรียนเขียนบทความวิชาการ เพราะเปนสิ่งที่ใชสื่อสารและถายทอดความรูสูภายนอกอยางเปนสากล เพ่ือใหมีการใชความรูเหลานั้น เน่ืองจากการสรางความรูไดเสียทรัพยากร (ประมาณ 20,000 บาท) เวลา (ประมาณ 6 เดือน) และแรงงาน (ประมาณ 18 คน-เดือน) แมความรูจากครูและนักเรียนไมถึงกับลุมลึกและเปยมไปดวยคุณคาทางวิชาการ แตก็เปนความรูที่มาจากมุมมองใหม มาจากบริบทที่แตกตาง ถือเปนงานวิจัยเชิงสรางสรรคและเหมาะสมนําไปตอยอด

    ในป 2551 โครงการยุววิจัยยางพารา สกว. ไดสนับสนุนทุนวิจัยทั้งสิ้น 63 โครงการ ซ่ึงสามารถผลิตผลงานได 61 เร่ือง แตเน่ืองจากบางโครงการทําเสร็จไมทันตามกําหนด จึงทําใหรวบรวมผลงานวิจัยและนําเสนอตอสาธารณะได 61 เร่ือง โดยแบงเปน 6 กลุม คือ กลุมขอมูลเพ่ือสนับสนุนการตัดสินใจ กลุมเทคนิคและวิธีการ กลุมผลิตภัณฑ กลุมเครื่องมือและอุปกรณ กลุมสิ่งแวดลอม และกลุมพลังงาน โดยหวังวาครูและนักเรียนที่จะเขียนขอเสนอโครงการในปถัดไป จะไดมาอานความรูเหลานี้กอนเพ่ือหลีกเลี่ยงการทําซ้ํา ครูและนักเรียนจะไดทําวิจัยแตของใหม น่ันจึงจะเปนวิถีของการทํางานที่แขงขันกับชาติอ่ืนไดและทําใหงานวิจัยของครูและนักเรียนสงผลสะเทือนตอการวิจัยระดับชาติ ทั้งน้ีถาทุกคนใหความตระหนักถึงคุณคาในทุกขั้นตอนของการทําวิจัย ไมเอาผลประโยชนตัวเองเปนตัวตั้ง ซ่ึงรังแตจะทําใหเกิดความคับแคบในทางการคิดและลดความดีงามของจิตใจ

    ไพโรจน คีรีรัตน 16 มีนาคม 2552

  • บทบรรณาธิการ

    สารบัญ

    กลุมวิจัยดานขอมูลเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ

    ศึกษาผลตอบแทนของการปลูกยางพาราใน ต.หวยซอ อ.เชียงของ จ.เชียงราย (JR51056) 1

    ผลกระทบตอความเจริญเติบโตของตนยางพาราจากการปลูกพืชเศรษฐกิจในรองยาง (JR51057) 6

    การศึกษาผลตอบแทนจากการทําสวนยางในอําเภอกุดจับ จังหวัดอุดรธานี (JR51058) 9

    ปจจัยที่มีผลตอการปลูกยางพาราในอําเภอเหลาเสือโกก จังหวัดอุบลราชธานี (JR51059) 14

    แบบจําลองแสดงพื้นที่ที่เหมาะสมสําหรับการตั้งจุดรับซ้ือนํ้ายางพาราสดที่ผูซ้ือและผูขายพึงพอใจ: กรณีศึกษา อ.ละแม จ.ชุมพร โดยใชระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร (JR51060)

    19

    การประยุกตใชระบบสารสนเทศภูมิศาสตร เพื่อวิเคราะห จําแนกศักยภาพของดินในการปลูกยางพารา: กรณีศึกษา อ.ทองผาภูมิ จ.กาญจนบุรี (JR51061)

    22

    การศึกษาเปรียบเทียบหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กับ(พฤติกรรม) การตัดสินใจดานความเส่ียง เร่ือง การเปล่ียนอาชีพการปลูกไมผลมาเปนยางพาราของเกษตรกรในอําเภอทาใหม อําเภอเมือง จังหวัดจันทบุรี (JR51062)

    26

    การจําลองรายไดจากการรับจางกรีดยางพารา (JR51063) 31

    ความเสี่ยงตอการเปนโรคปวดเมื่อย ปวดหลังของชาวสวนยาง ตําบลลานขอย อําเภอปาพยอม จังหวัดพัทลุง (JR51065)

    36

    ผลกระทบของการปลูกตนมันสําปะหลังตอการเจริญเติบโตของยางพารา (JR51041) 40

    กลุมวิจัยดานเทคนิคและวิธีการ

    เปรียบเทียบประสิทธิภาพในการเพิ่มผลผลิตนํ้ายางพาราโดยใชการอัดแกสเอทธิลีนและการทาสารเอทธิฟอน (JR51006)

    44

    การศึกษาผลการใชสาารกระตุนธรรมชาติจากแรเทคโทซิลิเกตอตนกลายางพารา (JR51007) 49

    การตรวจวัดปริมาณสบูลอเรตในนํ้ายางพารา (JR51018) 53

    ผลของคลอรีนตอคุณภาพยางแผน (JR51025) 57

    การเพิ่มอัตราการรอดของกลายางตาเขียวดวยตนกลวย (JR51026) 60

    การหาปริมาณแมกนีเซียมในนํ้ายางธรรมชาติดวยวิธีไฟฟาเคมี (JR51030) 63

    การหนวงอัตราการปลดปลอยปุยโดยการเคลือบดวยนํ้ายางธรรมชาติ (JR51031) 65

    การเพาะเล้ียงเนื้อเยื่อยางพารา (JR51035) 68

    การศึกษาการทําปุยอินทรียชีวภาพแบบแหง ระบบระบายอากาศแบบธรรมชาติ (JR51037) 71

    ผลตอการเจริญเติบโตของยางพาราจากวัชพืชหญาไกไห (JR51038) 75

    สารบัญ

  • การศึกษาความเจริญเติบโตของตนยางพาราจากการใชปุยอินทรียใหพื้นที่ปลูกที่แตกตางกัน (JR51039)

    80

    การศึกษาประสิทธิภาพการเพาะเห็ดฟางในตะกราโดยใชขี้เล่ือยไมยางพารา (JR51040) 83

    การศึกษาประสิทธิภาพของเชื้อราเอนโดไฟทที่ไดจากรากของตนยางพารา Hevea brasiliensis ในการยับยั้งเชื้อรา Phytophthora botryosa ที่กอใหเกิดโรคใบรวงในยางพารา (JR51042)

    86

    การควบคุมโรครากขาวจากเชื้อรา Rigidonorus lignosus ของตนยางโดยใชเชื้อจุลินทรียปฏิปกษ (JR51043)

    90

    แนวทางการใชนํ้าหมักชีวภาพยับยั้งเชื้อรา Phytophthora spp. ในตนกลายางพารา พันธุRRIM600 (JR51044)

    95

    แนวทางการนํานํ้าหมักชีวภาพไปใชในการกําจัดปลวก (Coptotermes Curvignathus ) ศัตรูในตนยางพารา (JR51045)

    99

    การศึกษาผลของอนุภาคซิลเวอรนาโนตอรา Rigidonorus lignosus ที่เปนสาเหตุของโรครากขาวในยางพารา (JR51046)

    102

    การกําจัดเชื้อราไฟทอปไทราบนหนายางดวยสารสกัดจากสมุนไพร (JR51047) 108

    การขยายพันธุยางพาราโดยวิธีการเพาะเลื้ยยงเนื้อเยื่อ (JR51052) 112

    ศึกษาผลจากการใชสารเรงนํ้ายาง (เอทธิลีน) และระบบกรีดยางพารา (JR51022) 116

    กลุมวิจัยดานผลิตภัณฑ

    การใชประโยชนจากเมล็ดยางพารา (JR51002) 120

    กาวดักหนูจากยางพารา (JR51003) 125

    หนังเทียมจากยางพาราและเปลือกทุเรียน (JR51010) 128

    กาวยางแทงจากน้ํายางขน (JR51013) 131

    การผลิตถานกัมมันตจากถานไมยางพาราเพื่อใชเปนไสกรองนํ้า (JR51014) 136

    การใชขี้เล่ือยไมยางพาราเคลือบพอลิอะนิลินสําหรับซับโครเมียม (Cr (VI)) ในสารละลาย (JR51017)

    143

    การเพิ่มความเหนียวของกาวยางดวยชัน (JR51028) 146

    สารยับยั้งเชื้อรา Rigidonorus lignosus จากผลิตภัณฑธรรมชาติ (JR51034) 150

    การศึกษาชนิดของสมุนไพรในการชะลอการเกิดราบนยางแผนผึ่งแหง (JR51048) 153

    การผลิตยางเครพสีขาว (JR51015) 158

    การะดาษจากกากออยและนํ้ายางพารา (JR51023) 162

    สารเคลือบถวยรับนํ้ายาง (JR51032) 165

    ประสิทธิภาพของสารสกัดจากพืชยับยั้งเชื้อราบนแผนยางพารา (JR51050) 168

    กลุมวิจัยดานเคร่ืองมือและอุปกรณ

    อุปกรณเก็บยางกอนถวยและขี้ยาง (JR51004) 172

    ชุดตรวจวัดแกสแอมโมเนียในน้ํายางพาราที่มีพอลิอะนิลินเปนตัวรับรู (JR51016) 176

  • การสรางเครื่องผลิตโอโซนอยางงายเพื่อใชบําบัดกล่ินยางกอน (JR51019) 179

    การใชหลอดยูวีผลิตแกสโอโซนความเขมขนต่ําใชในการบําบัดอากาศในโรงเรือนในการผลิตยางพารา (JR51020)

    183

    กลุมวิจัยดานสิ่งแวดลอม

    การศึกษาปริมาณนํ้าในสวนยางที่ปลูกพืชแซม (JR51011) 187

    ผลิตภัณฑจากขี้เล่ือยผสมกาวยาง (JR51012) 192

    กากขี้แปงจากการผลิตนํ้ายางขนเพื่อการเพาะปลูก (JR51024) 194

    การเปล่ียนแปลงของอุณหภูมิอากาศภายใตเรือนยอดในสวนยางพาราจังหวัดนครศรีธรรมราช (JR51027)

    196

    ผลของระดับนํ้าใตดินตอการเจริญเติบโตของตนยางพารา (JR51029) 202

    การศึกษาความหลากหลายของพรรณพืชในพื้นที่ที่มีการปลูกยางพาราแทนการทํานาขาว ตําบลทาสุด อําเภอเมือง จังหวัดเชียงราย (JR51056)

    208

    การศึกษาผลกระทบตอผลผลิตของยางพาราจากการเพาะเห็ดทะลายปาลมในสวนยาง (JR51049) 212

    การศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพในสวนยางพาราใน อ.ลําทับ จ.กระบี่ (JR51064) 215

    การดูดซับคารบอนไดออกไซดของตนยางพารา (JR51021) 217

    กลุมวิจัยดานพลังงาน

    การผลิตกาซเชื้อเพลิงจากยางรถยนตใชแลว (JR51001) 226

    ขี้ไตจากยางพารา (JR51005) 230

    ศึกษาการผลิตถานอัดแทงจากถานขี้เล่ือยไมยางพารา (JR51033) 236

    ถานอัดจากขี้เล่ือยและใบยางพารา (JR51055) 239

    การทําถานไมยางพาราใหมีสมบัติเหมาะสมทําดินดําสําหรับใชทําตะไล (JR51008) 242

  •   1

    ศึกษาผลตอบแทนของการปลูกยางพารา ในตําบลหวยซอ อําเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย

    สมผล ศิริวงค รัชนีกร สิทธิเดช ฑิวัญญา เชยสูงเนิน และนางสาวสุพัตรา ปญญาบุญ โรงเรียน หวยซอวิทยาคม รัชมังคลาภิเษก ตําบลหวยซอ อําเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย

    บทคัดยอ

    การทําโครงงานยุววิจัยยางพาราครั้งน้ีมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาผลตอบแทนการปลูกยางพาราในตําบลหวยซอ อําเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย เพราะเกษตรกรในตําบลหวยซอ อําเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย ไดปลูกยางพารามาก จํานวน 13,575 ไร และประชากรและกลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาครั้งน้ีเปนกลุมเกษตรกรผูปลูกยางพาราในตําบลหวยซอและไดกรีดนํ้ายางขายแลว รวมทั้งหมด จํานวน 50 คน เคร่ืองมือที่ใชในการประเมิน ไดแกแบบสัมภาษณศึกษาผลตอบแทนการปลูกยางพาราในตําบลหวยซอ อําเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย มี 5 ตอน ผูศึกษาได ดําเนินการศึกษาและเก็บรวบรวมขอมูลตั้งแตเดือนกันยายน 2551 – กุมภาพันธ 2552 ใชโปรแกรมสําเร็จรูป ในการวิเคราะหขอมูล โดยใชสถิติคือ รอยละ คาเฉลี่ยและสวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน

    ผลการศึกษาพบวา เกษตรกรผูปลูกยางพารา รอยละ 80 มีอาชีพหลัก ไดแก การทํานา โดยปลูกยางพาราเปนอาชีพเสริม ซ่ึงมีประสบการณในการปลูกยาง เฉลี่ย 7 - 8 ป ที่ดินที่ปลูกยางเปนของตนเอง เฉลี่ยครัวเรือนละ 20 ไร และเปนพื้นที่ที่ราบสูง เชิงเขา รอยละ 85

    การลงทุนทําสวนยางของเกษตรกรในตําบลหวยซอ มีคาใชจายตนทุนเฉลี่ย 5,500 บาทตอไรตอป โดยไปกูยืมเงินจากแหลงเงินในระบบมาลงทุน ซ้ือกลายาง ปุย สารกําจัดวัชพืช และอุปกรณตางๆ พันธุยางพาราที่ปลูกมากไดแกพันธุ RRIM 600 และศึกษาผลตอบแทนในการปลูกยางพารา พบวา ในรูปยางแผนที่จะไดรับ 250 กิโลกรัมตอไร/ป คิดเปนเงินจํานวน 16,000 บาท โดยเกษตรสามารถกรีดยางไดตั้งแต พฤษภาคม – ธันวาคม และเฉลี่ยปละ 175 วัน

    เกษตรกรมีรายไดจากการขายยางแผนสูงกวาการเพาะปลูกพืชชนิดอื่น สรางรายไดสมํ่าเสมอใหกับครอบครัว และจะไดผลตอบแทนที่จะคุมทุนการปลูกเม่ือยางมีอายุ 11 ป สงผลตอคุณภาพชีวิตของเกษตรกรดีข้ึน ลดปญหาการเขามาทํางานเขตเมือง อยางไรก็ตามเกษตรกรยังพบปญหาและอุปสรรคตางๆ ไดแก การตลาด การกรีดยางที่ถูกวิธี การไมมีเอกสารสิทธิ์ และภัยธรรมชาติ เชน ไฟปา เปนตน ยังตองการความสนับสนุนจากหนวยงานภาครัฐ

    คําสําคัญ ( Key Words) ศึกษาผลตอบแทน, การปลูกยางพารา, ตําบลหวยซอ

    บทนํา ประเทศไทยเปนประเทศที่รากฐานในการพัฒนา

    เศรษฐกิจจากภาคเกษตรกรรมเปนหลัก ทําใหการเจริญเติบโตและการพัฒนาประเทศเปนไปลาชา รัฐบาลเรงสรางความมั่นคงและยกระดับรากหญาโดยพิจารณาหาแนวทางนําพืชเศรษฐกิจที่สําคัญ ไดแกยางพารา มาสงเสริมและขยายพื้นที่เพาะปลูก ในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เน่ืองจากเปนพื้นที่ยังขาดประสิทธิภาพดานการบริหารจัดการการใชที่ดินเพื่อกอใหเกิดประโยชนสูงสุดเล็งเห็นความสําคัญในการแกไขปญหาความยากจน

    อยางไรก็ตามยางพาราเปนพืชที่ชอบภูมิอากาศรอนชื้นจึงนิยมปลูกในภาคใต สวนการปลูกยางพาราในภาคเหนือ เกษตรกรบางรายไดทดลองนํายางพารามาปลูกและไดผลดีเปนที่นาพอใจ จังหวัดเชียงราย มีพื้นที่ เพาะปลูกมี 93,844 ไร(สํานักงานกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง (สกย.)จังหวัดเชียงราย,2550 ) ซ่ึงเกษตรกรเริ่มนํายางพารามาปลูกเพื่อเปนอาชีพ และมีหลายพื้นที่ขยายพื้นที่ข้ึนเร่ือยๆ บางแหงเร่ิมกรีดนํ้ายาง ถึงกระนั้นยังถือวาเปนเร่ืองใหม ตองศึกษาความคุมทุนและความเปนไปไดในการผลิตในเชิงเศรษฐกิจ โดยเฉพาะพื้นที่ตําบลหวยซอ อําเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย มีพื้นที่สวนมากเปนที่ราบลุมและที่สูงมีพื้นที่ปลูกยางพารามาก จํานวน 13,575ไร(ขอมูล อบต.หวยซอ2551) และมากที่สุดในอําเภอเชียงของ เร่ิมปลูกผานมาไดตั้งแต ป 2545 มี ซ่ึงบางพื้นที่ไดกรีดนํ้ายางแลว ดังน้ันผูวิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาผลตอบแทนที่ไดจากการปลูกยางพารา โดยเลือกกลุมตัวอยางของตําบลหวยซอ อําเภอเชียงของ จังหวัดเชียงรายเพราะเปนตําบลที่มีการปลูกมากเปนอันดับตนๆของอํ า เภอ ซ่ึ งการศึกษาครั้ ง น้ีสามารถนํ า เปนขอ มูลพื้นฐานประกอบการตัดสินใจสําหรับเกษตรกรที่ประกอบอาชีพทําสวนยาง และผูสนใจที่จะลงทุนทําสวนยางพารา ในเขตดังกลาว อุปกรณและวิธีการ การศึกษาครั้งน้ี ใชแบบสัมภาษณ จํานวน 5 ตอน ใชเปนเคร่ืองมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล ใชวิธีการวิจัยเชิงสํารวจ โดยการเก็บขอมูลจากกลุมตัวอยาง คือกลุมเกษตรกรผูปลูกยางพาราและที่กรีดยางแลวในตําบลหวยซอ อําเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย จํานวน 50 ครัวเรือน

    ข้ันตอนการเลือกกลุมตัวอยาง โดยวิธีการสุมตัวอยาง เปนการสุมแบบเจาะจง (Purposive Sampling) การเก็บขอมูล ไดลงพื้นที่และทําการสัมภาษณกลุมตัวอยาง ใชการสังเกตและสอบถามแบบมีสวนรวมจากกลุมศึกษาทั้งหมด

    การเก็บรวบรวมขอมูล ผูศึกษาดาํเนินการเก็บรวบรวมขอมูลดังน้ี

  •   2

    1. วางแผนเกี่ยวกับการเก็บขอมูล โดยนักเรียนและครูรวมกันลงสํารวจพื้นที่กอน แลวนําขอมูลที่ไดมาวิเคราะห เพื่อใหงายตอการไปเก็บขอมูล ระยะเวลาในการดําเนินการ 1 เดือนแรก 2. นักเรียนและครูที่ปรึกษาลงไปเก็บรวบรวมขอมูลดวยตนเอง จากกลุมตัวอยางที่ไดเลือกไว โดยลงไปเก็บในวันเสารและวันอาทิตย การจัดทําขอมูลและวิเคราะหขอมูล นําแบบสัมภาษณที่รวบรวมมาบันทึกลงโปรแกรมสําเร็จรูปเพื่อประมวลผล

    การวิเคราะห รอยละ คาเฉลี่ยคาเฉลี่ย ( )μ สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ( )σ

    ผลการศึกษาวจิยั ตารางที่ 1 ขอมูลยางพารา

    ขอมูลดานตางๆของผูตอบแบบสัมภาษณ

    จํานวน(คน)

    รอยละ

    จํานวนตน/ไร 81 - 100 ตน มากกวา 100 ตนข้ึนไป พันธ RRIM 600 แหลงที่มาของยาง ซ้ือกลาพันธุดีจากแหลงที่เชื่อถือได อายุตน 6 ป 7 ป มากกวา 7 ปข้ึนไป กรีดอายุ 4 - 6 ป 7 - 9 ป

    46 4

    42

    50 9 37 4

    24 26

    92 8

    84 16

    100 18 74 8

    48 52

    จากตาราง พบวา 1. ผูตอบแบบสัมภาษณ จํานวน 46 คน ลูกตนยาง

    จํานวน 81 – 100 ตน ตอ ไร คิดเปน รอยละ 92 ปลูกตนยาง มากกวา 100 ตน / ไร จํานวน 4 คน คิดเปนรอยละ 8

    2. ผูตอบแบบสัมภาษณ ปลูกยางพันธุ RRIM 600 จํานวน 42 คน คิดเปนรอยละ 84 พันธุ PR 255 จํานวน 8 คน คิดเปนรอยละ 16

    3. ผูตอบแบบสัมภาษณทุกคน จํานวน 50 คน ซ้ือกลาพันธุดีมาจากแหลงที่เชื่อถือได คิดเปนรอยละ 100

    4. ผูตอบแบบสัมภาษณ ที่มีตนยางอายุ 6 ป จํานวน 9 คน คิดเปนรอยละ 18 ตนยางมีอายุ 7 ป จํานวน คิดเปนรอยละ 74 และตนยางอายุมากกวา 7 ป จํานวน 4 คิดเปนรอยละ 8

    5. ผูตอบแบบสัมภาษณ กรีดยางอายุ 7 – 9 ป จํานวน 26 คน คิดเปนรอยละ 52 กรีดยางอายุ 4 – 6 จํานวน 24 คน คิดเปนรอยละ 48

    ตารางที่ 2 คาจางแรงงานขอมูลยางพารา

    รายการ จํานวน(คน) รอยละ คาจางแรงงาน จาง ไมจาง

    11 39

    22 78

    การจําหนาย ยางแผน นํ้ายางสด

    47 3

    94 6

    ปริมาณผลผลิตในรูปยางแผน กิโลกรัม / ไร/ป 150 - 200 กิโลกรัม 201 - 250 กิโลกรัม 251 - 300 กิโลกรัม

    11 36 3

    22 72 6

    เงินทุนกู 50 100 แหลงที่มาของเงินทุน เอกชน ธกส. สินเชื่อ อื่นๆ

    10 30 5 5

    20 60 10 10

    จากตารางที่ 2 พบวา

    1. ผูตอบแบบสัมภาษณ จํานวน 39 คน ไมจางแรงงาน คิดเปน รอยละ 78 และ จางแรงงาน จํานวน 11 คน คิดเปนรอยละ 22

    2. ผูตอบแบบสัมภาษณ จําหนายยางแผน จํานวน 47 คน คิดเปนรอยละ 94 จําหนายน้ํายางสด จํานวน 3 คน คิดเปนรอยละ 6 3. ผูตอบแบบสัมภาษณ ไดปริมาณผลผลิตในรูปยางแผน 150 - 200 กิโลกรัม/ ไร/ป จํานวน 11 คน คิดเปนรอยละ 22 ไดปริมาณผลผลิตในรูปยางแผน 201 - 250 กิโลกรัม/ ไร/ป จํานวน 36 คน คิดเปนรอยละ 72 ไดปริมาณผลผลิตในรูปยางแผน 251 - 300 กิโลกรัม/ ไร/ป จํานวน 3 คน คิดเปนรอยละ 6

    4. ผูตอบแบบสัมภาษณทุกคน จะกูเงินมาลงทุนปลูกยาง

    5. ผูตอบแบบสัมภาษณ ไดกูแหลงเงินทุน จากเอกชน จํานวน 10 คนคิดเปนรอยละ 20 จากธกส. จํานวน 30 คนคิดเปนรอยละ 60 จากสินเชื่อ จํานวน 5 คนคิดเปนรอยละ 10 และจากที่อ่ืนๆ จํานวน 5 คนคิดเปนรอยละ 10

  •   3

    ตารางที่ 3 ขอมูลดานปุย ยางฆาแมลง สารกําจัดวัชพืช กลายาง และดานการดูแลรักษายางพารา

    รายการ บาท / ไร จํานวน(คน)

    รอยละ

    ปุย 450 48 76.6 ยาฆาแมลงและสารกําจัดวัชพืช

    350 46 92

    กลายาง 1,200 49 98 การดูแลรักษา 3,500 40 82 รวมตนทุนเฉลี่ย 4,849

    จากตารางที่ 3 พบวา ผูตอบสัมภาษณ ใชจายเร่ือง

    ปุย ที่มีราคา 450 บาทตอไรมากที่สุด จํานวน 48 คน คิดเปนรอยละ 76.6 รองลงมาคือ ยาฆาแมลงและสารกําจัดวัชพืช ราคา 350 บาทตอไร จํานวน 46 คน คิดเปนรอยละ 92 กลายาง ราคา 1,200 บาทตอไร จํานวน 49 คน คิดเปนรอยละ98 และนอยที่สุดคือ การดูแลรักษา ราคา 3,500 บาทตอไร จํานวน 40 คน คิดเปนรอยละ 82 รวมตนทุนเฉลี่ย 4,849 บาทตอไร ตารางที่ 4 ผลตอบแทนในการเก็บผลผลิต

    รายการ จํานวน (คน) รอยละ ตนทุนตอไร/ ป 3,001 – 4,000 บาท 4,001 – 5,000 บาท 5,001 – 6,000 บาท มากกวา 6,000 บาท ข้ึนไป

    5 12 29 4

    10 24 58 8

    ผลตอบแทนที่ไดรับตอไร/ ป 7,000 – 10,000 บาท 10,001 – 13,000 บาท 13,001 – 16,000 บาท 16,001 – 19,000 บาท 19,001 บาท ข้ึนไป

    5 8 24 11 2

    10 16 48 22 4

    จากตารางที่ 4 พบวา 1. ผูตอบสัมภาษณ มีตนทุนในการปลูกยางและดูแลรักษา 5,001 – 6,000 บาทบาทตอไร / ป มากที่สุด จํานวน 29 คน คิดเปนรอยละ 58 รองลงมาคือ 4,001 – 5,000 บาท จํานวน 12 คน คิดเปนรอยละ 24 และนอยที่สุด คือ มากกวา 6,000 บาท ข้ึนไป จํานวน 4 คน คิดเปนรอยละ 8 2. ผูตอบสัมภาษณ ไดผลตอบแทนในการปลูกยางตอไร/ ป มากที่สุด จํานวน 13,001 – 16,000 บาท มี 24 คน คิดเปนรอยละ 48 รองลงมาคือ 16,001 – 19,000 บาท มี 11 คน คิดเปนรอยละ 22 และนอยที่สุดคือ 19,001 บาท ข้ึนไป มี 2 คน คิดเปนรอยละ 4

    ตารางที่ 6 ปญหาและอุปสรรคในการทาํสวนยางพาราในตําบลหวยซอ อําเภอเชยีงของ จังหวัดเชียงราย

    ความคิดเห็น คาเฉลีย่ สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ระดับ

    1. ดานการสนับสนุนจากหนวยงานภาครัฐ 2. ดานแรงงาน 3. ดานการผลิต 4. ดานการตลาด 5. ดานเงินทุน 6. ดานลักษณะภูมิศาสตร

    2.67 2.41 2.91 3.41 3.06 3.12

    0.44 0.38 0.46 0.41 0.47 0.93

    ปานกลาง นอย ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง

    เฉลี่ยรวม 2.93 0.43 ปานกลาง

    จากตารางที่ 5 ความคิดเห็นของผูตอบแบบสัมภาษณ ตอปญหาและอุปสรรคในการทําสวนยางพาราในตําบลหวยซอ อําเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย พบวา ดานการตลาด มีระดับความสําคัญมากที่สุด ( คาเฉลี่ย = 3.41 ) รองลงมาคือ ดานลักษณะภูมิศาสตร( คาเฉลี่ย = 3.12 ) ดานเงินทุน ( คาเฉลี่ย = 3.06 ) ดานการผลิต ( คาเฉลี่ย = 2.91) ดานการสนับสนุนจากหนวยงานของภาครัฐ ( คาเฉลี่ย = 2.66) และนอยที่สุดคือ ดานแรงงาน ( คาเฉลี่ย = 2.41 ) อภิปรายผล จากผลการศึกษา เร่ืองผลตอบแทนการปลูกยางพาราในตําบลหวยซอ มีประเด็นที่สําคัญๆ ที่สามารถนํามาอภิปรายพอสรุปไดดังน้ี 1. จากการศึกษาสภาพทั่วไป เกษตรกรผูปลูกยางพาราในตําบลหวยซอ สวนใหญ ความรูความเขาใจในการปลูกยางพารา และการดูแลรักษา ใหความสําคัญการทําสวนยางพาราชา โดยประชากรมีประสบการณในการปลูกยางพารามาแลว เฉลี่ย 7 – 8 ป และเกษตรกรมีขนาดของพ้ืนที่ครองเฉลี่ยครัวเรือนละ 20 ไร โดยเปนที่ดินที่มีเอกสารสิทธิ์รอยละ 60 และเปนพื้นที่ที่ราบสูง เชิงเขา รอยละ 85 2. ดานตนทุนผลผลิต กลุมเกษตรกร ไดปลูกพันธุยางพาราคือ พันธุ RRIM 600 และพันธุ PR 255 ซ่ึงใหผลผลิตสูง คาแรงไมไดจาง ทําเปนระบบครอบครัว ลดตนทุนการผลิต ผลผลิตของนํ้ายางยังอยูในระดับนอยในชวงตนๆที่กรีด แตเร่ืองการดูแลรักษา และอุปกรณ ตางๆ หรือปจจัยการผลิตเชนปุย ยาฆาแมลง และสารกําจัดวัชพืช ยังมีราคาแพง

    3. ผลตอบแทน โดยเฉลี่ยเม่ือเทียบกับการเก็บเกี่ยวผลผลิตในระยะยาว จะไมคุมทุนในชวงการกรีดปแรกๆ แตจะไดผลตอบแทนสูงที่สุด เม่ือตัดตนยางตอนอายุ 11 ป แตทั้งน้ีตองข้ึนอยู

  •   4

    กับ การยอมรับความเสี่ยงของความไมแนนอนในอนาคตของเกษตรกรแตละรายดวย เร่ืองการกรีดยางควรกรีด วันเวนวัน หรือ 2 วัน เวน 1 วัน โดยเฉลี่ย 165 วัน/ป การซื้อขายก็สะดวกเพราะขายใหกับพอคาในหมูบาน หรือในหมูบานใกลเคียง การขายในรูปยางแผน ทําใหมีรายไดสูงกวา การเพาะปลูกพืชชนิดอื่น

    4. ดานหนวยงานของรัฐ ถาใหการสนับสนุนการปลูกยางพารา ในตําบลหวยซอ อําเภอเชียงของ จะสรางรายไดผลผลิตดี มีผลตอการเปลี่ยนแปลงในวิถีชีวิตการดํารงชีพ และฐานะทางเศรษฐกิจดีลดปญหาการโยกยายแรงงานเขามาทํางานในเขตเมือง ลดปญหาการทําไรเลื่อนลอย และยังชวยใหพื้นที่เขตตําบลหวยซอ มีความอุดมสมบูรณมากขึ้นดวย อยางไรก็ตามเกษตรกรชาวสวนยางไดพบปญหาและอุปสรรคตางๆ ไดแก การขาดความรูความเขาใจในการทําสวนยาง ขาดแคลนเงินทุน ในการซื้อปจจัยการผลิตที่สําคัญไมมีเอกสิทธิ์ในที่ดินทํากิน ขาดขอมูลขาวสารดานการตลาด ดานราคาซื้อ – ขายยาง และปญหาเรื่องการปองกันไฟปา เปนตน สรุปผล

    ในการศึกษาเรื่องผลตอบแทนการปลูกยางพาราในตําบลหวยซอ อําเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย สรุปผลการศึกษาไดดังน้ี 1. จากการศึกษาสภาพทั่วไป พบวา เกษตรกรผูปลูกยางพารา สวนใหญ รอยละ 80 มีวุฒิการศึกษาระดับประถมศึกษา อาชีพหลักของเกษตรกร ไดแก การทําเกษตรกรรม มีประสบการณในการปลูกยางพารามาแลว เฉลี่ย 7-8 ป มีขนาดของพื้นที่ครองการปลูกยางพารา เฉลี่ยครัวเรือนละ 20 ไร ภาวะหน้ีสินของเกษตรกร กูยืมเงินในระบบ คิดเปนรอยละ 90 2. ดานตนทุนผลผลิต กลุมเกษตรกร ไดปลูกพันธุยางพาราคือ พันธุ RRIM 600 และพันธุ PR 255 ซ่ึง กลาพันธุจะซ้ือจากแหลงที่เชื่อถือได ทําเปนระบบครอบครัว มีตนทุนเร่ืองปุยเฉลี่ย 450 บาทตอไรตอป ยาฆาแมลงและสารกําจัดวัชพืชเฉลี่ย 350 บาท ตอไรตอป กลายางเฉลี่ย 1,200 บาทตอไร ตนทุนการดูแลรักษาเฉลี่ย 3,500 บาท ตอไรตอป และรวมตนทุนเฉลี่ย 5,500 บาท

    3. ผลตอบแทน ผลผลิตเฉลี่ยในรูปยางแผนที่จะไดรับ คือ 250 กิโลกรัมตอไร ราคาขายเฉลี่ยเทากับ 48 บาทตอ กิโลกรัม และผลตอบแทนเฉลี่ยที่ไดรับจริงคือ ประมาณ 16,000 บาทตอป/ไร โดยประชากรสามารถกรีดยางไดตั้งแต พฤษภาคม – ธันวาคม และสามารถกรีดยางไดเฉลี่ยปละ 175 วัน เกษตรกรจะขายผลผลิตใหกับผูรับซ้ือในหมูบาน หรือในหมูบานใกลเคียง ถึงรอยละ 90 สวนที่เหลือรอยละ 10 เกษตรกรจะจําหนายยางพาราที่สวน โดยพอคาจะมารับซ้ือถึงที่ ผลการวิเคราะหตนทุนผลตอบแทน อายุ 11 ป แตทั้งน้ีตองข้ึนอยูกับ การยอมรับความเส่ียงของความไมแนนอนในอนาคตของเกษตรกรแตละรายดวย

    4. ดานสนับสนุน ความคิดเห็นของเกษตรกรผูตอบแบบสัมภาษณ ดานการสนับสนุนจากหนวยงานภาครัฐ พบวา การสงเสริมใหมีตลาดกลางยางพาราในทองถ่ิน เปนส่ิงจําเปน เพราะสงผลตอการลงทุนและความคุมคาในการปลูกยางพารา นอกจากนี้ควรใหความรูเร่ืองการกรีดยางพารา

    ขอเสนอแนะ เน่ืองจากมีขอจํากัดในเรื่องงบประมาณในการศึกษาครั้งน้ี ทําใหการศึกษาผลตอบแทนการปลูกยางพารา ในตําบลหวยซอ ยังมีขอจํากัด ในการศึกษาตอไปควรใหความสําคัญเร่ืองตอไปน้ี

    1. วิถีชีวิตของชุมชนมีความเปลี่ยนไป ในการประกอบอาชีพสวนยาง

    2. ควรศึกษาความคุมทุนและผลตอบแทนของการปลูกยางพาราในปตอๆ ไป แลวนํามาเปรียบเทียบกัน เพราะการศึกษาคร้ังน้ี กลุมเกษตรกรสวนมาก กําลังไดกรีดยางเปนผาน 2 – 3 ปเทานั้น จะเปรียบเทียบความคุมทุนยังไมเห็นเดนชัด กิตติกรรมประกาศ

    การศึกษาครั้งน้ีสําเร็จลุลวงไดดวยดี ดวยความกรุณาอยางสูงจากสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิ จัย (สกว .) ชุดโครงการวิจัย “การพัฒนาอุตสาหกรรมยางพารา” ที่ใหทุนในการทําโครงการวิจัย

    ขอขอบพระคุณ นายชัยวัฒน ริณพัฒน ผูอํานวยการโรงเรียนหวยซอวิทยาคม รัชมังคลาภิเษก นายจุมพล ปริตรโตทก รองผูอํานวยการโรงเรียนหวยซอวิทยาคม รัชฯ ที่ใหคําปรึกษานิเทศ ติดตาม ตลอดจนตรวจแกไขขอบกพรองตาง ๆ จนสําเร็จไปดวยดี คณะผูศึกษาซาบซึ้งในความกรุณาจึงขอขอบพระคุณเปนอยางสูง

    ขอขอบพระคุณนางฉวีวรรณ ศิริวงค และ นายพัฒนา หม่ืนศรีภูมิ ที่ใหคําปรึกษาในการทําโครงงาน กรุณาตรวจสอบแกไขและใหคําแนะนําเกี่ยวกับเคร่ืองมือและการวิเคราะหขอมูลในการศึกษา

    ขอขอบพระคุณคุณครูโรงเรียนหวยซอวิทยาคม รัชมังคลาภิเษกทุกทานที่ มีความกรุณาใหขอเสนอแนะในการทําโครงงานซึ่งเปนประโยชนในการดําเนินงานโครงงานโดยตลอด

    คุณคาและประโยชนแหงการศึกษาครั้งน้ี ขอมอบเปนเครื่องบูชาบิดา มารดา และพระคุณคุณครูทุกทานที่ประสาทวิชาความรู

    บรรณานุกรม กรมวิชาการเกษตร. กระทรวงเกษตรและสหกรณ . การผสม ปุยเคมีใชเอง.กรุงเทพ : กรมฯ,2548 กรมวิชาการเกษตร, สถาบันวิจัยยาง. เกษตรดีที่เหมาะสมสําหรับ

    ยางพารา. กรุงเทพ:กรมฯ, 2544 กรมวิชาการเกษตร. สถาบันวิจัยยาง และศูนยวิจัยยางพาราฉะเชิงเทรา.วิจัยยางพารา.ฉะเชงิเทรา : กรมฯ,2548

    ปราโมทย รากสุธรรม. พื้นที่ปลูกยางที่เปนภูเขาในภาคใตมีความ ลาดเทสูง.กรุงเทพฯ: ธรรมสาร,2544

    พรศักดิ์ อรุณศิริพร. ผลกระทบของปจจัยภายนอกที่มีตออุปสงคและอุปทานของยางพาราธรรมชาติในประเทศไทย.กรุงเทพฯ: วิทยานพินธ มหาวิทยาเกษตรศาสตร, 2532

    ศุภมิตร ลิมปชัย และคณะ, การทดสอบพันธุยางในสภาพพื้นที่ลาด ชัน ศูนยวิจัยยางสงขลา กรมวิชาการเกษตร

    ศูนยสารสนเทศเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (แหลงขอมูลออนไลน) (.http://www. Bloggerlover.com.2551)

  •   5

    สมพร มีรุงเรือง, ศักยภาพของผลการสงเสริมการปลูกยางพาราในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยที่มีผลตอผลผลิตทางการเกษตรการจางงานและรายไดของเกษตรกร: กรณีศกึษาการสงเสริมในจังหวัดหนองคาย.กรุงเทพฯ:วิทยานิพนธปริญญาโท มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร. 2534

    สนิท สโมสร. พืชสําคัญของภาคใต ยางพารา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร.2524.

    สุภาวี โพธิยะราชและคณะ. การวิเคราะหทางเศรษฐกจิของนโยบายภาครัฐ: กรณีศึกษาความเปนไปไดทางการเงินในการลงทุนปลูกยางพาราเพื่อยกระดับรายไดและความมั่นคงใหแกเกษตรกร ในพื้นที่ภาคเหนือของประเทศไทย .2546

    สํานักงาน กองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง , การปลูกยางพารา . พิมพคร้ังที่ 4 : 2545

    การปลูกยางพารา. (แหลงขอมูลออนไลน) )(.http://www. Rubberthai.com.com.2551)

  •   6

    ผลกระทบตอความเจริญเติบโตของตนยางพาราจากการปลูกพืชเศรษฐกิจในรองยาง

    นิธนันท เครือดํา ลํายง เครือดํา ชาญณรงค สุขสูงเนิน พิมวิภา ทายประโคน และนางสาวสุกัญญา มหาชัย โรงเรียนโนนเจริญพิทยาคม อําเภอบานกรวด จังหวัดบุรีรัมย

    บทคัดยอ การศึกษาครั้ง น้ีมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาการใชประโยชนจากเมล็ดยางพารา ณ อําเภอสตึก จังหวัดบุรีรัมย โดยมีการศึกษา 3 ตอน คือ ตอนที่ 1 การประเมินศักยภาพเมล็ดยางพารา ตอนที่ 2 การใชประโยชนจากเมล็ดยางพารา ตอนที่ 3 ประเมินความคุมคาทางเศรษฐกิจ ผลการศึกษาพบวา สวนยางพาราใหอัตราผลผลิตเมล็ดยางพาราอยูที่ 75.30 กิโลกรัมตอไร.ป การประดิษฐเปนของเลนเคร่ืองใชพบวา อําเภอสตึกมีการจางทําเครื่องประดับจากเมล็ดยางพารารวมกับวัสดุทองถ่ิน เชน กก เมล็ดผักก่ํา และขายใหพอคาที่มารับไปสงขายที่กรุงเทพฯ และพัทยา เปนครั้งคราว ปจจุบันเลิกประดิษฐแลว การทําไบโอดีเซลพบวา เมล็ดยางพาราจํานวน 1 กิโลกรัมสามารถผลิตเปนไบโอดีเซลได 149.64 ลูกบาศกเมตร และมีคาความรอนเทากับ 2,193.15 แคลอรีตอกรัม เปลือกเมล็ดยางพาราที่เหลือจากการทําไบโอดีเซลสามารถนําไปผลิตถานอัดแทงได จากการทดลองพบวาเปลือกเมล็ดยางพาราจํานวน 1 กิโลกรัม เม่ือนําไปเผาแลวบด จะไดผงถานจํานวน 202 กรัม ซ่ึงใหความรอนนอยกวาถานไมทั่วไป การศึกษาตนทุนพบวา การผลิตของไบโอดีเซล อยูที่ 208.48 บาทตอลิตร สวนตนทุนการผลิตถานเทากับ 25.81 บาทตอกิโลกรัม ท่ีมา ประเทศไทยมีพื้นที่ปลูกยางพาราจํานวนมากพื้นที่สวนใหญของภาคใตลวนเปนที่ปลูกยางพารา ปจจุบันไดขยายสู หลายพื้นที่โดยเฉพาะภาคเหนือและภาคอีสานทําใหประเทศไทยกลายเปนประเทศผูสงออกนํ้ายางพาราเปนอันดับตน ๆ ของโลก จังหวัดบุรีรัมยเปนจังหวัดหน่ึงในภาคอีสานที่มีลักษณะที่ราบสูงเหมาะแกการปลูกพืชเศรษฐกิจโดยเฉพาะยางพาราในเขตอําเภอบานกรวด มีการปลูกยางพาราเปนจํานวนมากเนื่องจากทิศตะวันออกเฉียงใตของอําเภอบานกรวดมีอาณาเขตติดกับประเทศกัมพูชา ลักษณะพื้นที่เปนที่ราบสูงเชิงเขา พื้นที่การเกษตรของจังหวัดบุรีรัมยทั้งส้ิน จํานวน 191,959 ไร พื้นที่ปลูกยางพารา จํานวน 46, 0551 ไร (สํานักงานเกษตรอําเภอบานกรวด 2551: อัดสําเนา) สํานักงานเกษตรอําเภอบานกรวด จังหวัดบุรีรัมย ไดสํารวจขอมูลพื้นที่การปลูกยางพาราในเขตพื้นที่บริการทั้งส้ิน จํานวน 4,137 ไร พื้นที่ปลูกยางพาราใหมที่ยังไมเปดกรีด จํานวน 3,554 ไร ในระยะแรก ๆ เปนแปลงทดลองโดยไดรับการสนับสนุนจากสํานักงานกองทุนสงเคราะหการทําสวนยางอําเภอบานกรวด เปนแปลงทดลองที่ไดผลดีทางดานสิ่งแวดลอมและดานเศรษฐกิจ ทําใหชาวบานประชาชนหันมาสนใจปลูกตนยางพาราในพื้นที่วาง หัวไรปลายนาเพิ่มข้ึน (สํานักงานเกษตรอําเภอบานกรวด 2551: อัดสําเนา)

    ชุมนุมวัฒนธรรมกับส่ิงแวดลอมโรงเรียนโนนเจริญพิทยาคมมีความสนใจศึกษารายไดและผลกระทบเพื่อเปนทางเลือกในเกษตรกรนําผลการวิจัยมาเปนแนวทางการจัดการสวนยางใหดีข้ึน คําสําคัญ : รายไดจากการปลูกพืชแซมในรองยาง, ผลกระทบจากการปลูกพืชแซมในรองยางพารา วิธีการทดลอง การศึกษาผลกระทบและรายไดของเกษตรกรที่ปลูกพืชเศรษฐกิจแซมในรองยางพารากลุมตัวอยางในการศึกษาครั้งน้ีไดมาจากการสุมประชากรซึ่งผูศึกษาไดทําการสุมอยางงาย(Simple Random Samping) ไดขนาดของกลุมตัวอยาง จํานวน 40 ราย เปนเกษตรกรที่ปลูกพืชแซมในรองยางพาราในเขตพื้นที่บริการของโรงเรียนโนนเจริญพิทยาคม จํานวน 3 ตําบล คือตําบลโนนเจริญ ตําบลหินลาดและตําบลเขาดินเหนือ อําเภอบานกรวด จังหวัดบุรีรัมย สรุปผล 1. พื้นที่การปลูกยางพาราในเขตพื้นที่บริการทั้งส้ิน จํานวน 4,137 ไร พื้นที่ปลูกยางพาราใหมที่ยังไมเปดกรีด จํานวน 3,554 ไร อายุของตนยางยางพาราใหมที่ยังไมเปดกรีด ประมาณ 6- 7 ป ดังน้ัน ตนยางยางพาราใหมที่มีอายุ 1-3 ป จึงมีนอยกวา 3,554 ไร 2. รายไดที่เกิดจากการขายผลผลิตจากการปลูกพืชเศรษฐกิจแซมในรองยางพาราที่มีรายไดจํานวนมากที่สุดคือ การปลูกพืชไร เชน ฟกทอง แตงไทย เฉลี่ย 2,302 บาท/ไร รองลงมา คือการปลูกมันสําปะหลัง เฉลี่ย 2,008 บาท/ไร และการปลูกขาวแซมในรองยางพารา เฉลี่ย 1,967 บาท/ไร การปลูกพืชแซมในรองยางพาราเกษตรกรตองใชเงินใน การลงทุนมากที่สุดคือ การปลูกขาวแซมในรองยางพารา เฉลี่ย 1,822 บาท/ไร รองลงมาคือการลงทุนปลูกพืชไร ฟกทอง แตงไทย เฉลี่ย 1,173 บาทตอไร และการลงทุนปลูกมันสําปะหลัง เฉลี่ย 1,127 บาท/ไร ราคาขายผลผลิตเฉลี่ยตอไรในทองถ่ินพบวา การปลูกขาวแซมในรองยางพารา ราคาเฉลี่ย 3,482 บาท/ไร การปลูกพืชไร ฟกทอง แตงไทย ราคาเฉลี่ย 3,455 บาท/ไร และการปลูกมันสําปะหลังมีราคาเฉลี่ย 3,145 บาท/ไร 3. ผลกระทบที่เกิดจากการปลูกขาวแซมในรองยางพารา จากการสัมภาษณเกษตรกรที่ปลูกขาวแซมในรองยางพาราพบวา มีผลกระทบหลายประการ เชน ดูแลตนยางลําบากข้ึนเน่ืองจากหญา ที่แซมในตนขาวเกิดมากตองเพิ่มปริมาณยาฆาหญาเทาตัว ขาวที่ไดจากการปลูกแซมในรองยางพาราจะไดผลผลิตนอยกวาปกติ สวนยางพารา มีสัตว เชนหนูและแมลงมากและมีผลตอการดูแลรากยางพาราจากการทําลายปลวก ทําให

  •   7

    ตนยางตายแมตนจะโตมากแลว การปลูกขาวแซมในรองยางพาราจะไดผลผลิตนอยกวาการปลูกขาวในพื้นนาทั่วไป เน่ืองจากเปนที่สูงและเปนพันธุขาวเบาการตัดสินใจเลือกปลูกขาวแซมในรองยางพารานาจะมีผลมาจากความถนัดและความชอบสวนตัว 4. ผลกระทบที่ เกิดจากการปลูกมันสําปะหลังในรองยางพารามีผลกระทบอยางรุนแรงตอการเจริญเติบโตของตนยางพารา โดยเฉพาะตนยางแรกปลูกถึง 3 ป เพราะตนมันสําปะหลังจะแยงอาหารจากตนยาง ตนมันจะบังแสง ตองเพิ่มปริมาณสารเคมีและปุย จํานวนเท าตัวและมีผลตอดินและส่ิงแวดลอมในอนาคตแตเกษตรกรใน 3 ตําบล คือตําบลโนนเจริญ ตําบลหินลาดและตําบลเขาดินเหนือ อําเภอบานกรวด จังหวัดบุรีรัมย มีคานิยมตามเพื่อนบาน เม่ือมีคนปลูกสําปะหลังแซมในรองยางพาราแลวมีรายไดเพิ่มข้ึน เพราะการปลูกมันสําปะหลังสามารถปลูกไดถึงปละ 2 คร้ัง และลงทุนไมมากเนื่องจากเกษตรกรสวนใหญที่มีสวนยางพาราจะมีเครื่องมือทําการเกษตรอยูแลว เชน รถไถนา จอบ เสียบมีด อยูแลว สวนตนพันธุจะลงทุนเพียงครั้งแรกเทาน้ัน หลังจากฤดูการทํานาแลวจะปลูกมันในที่นาและการปลูกแซมในรองยางพาราไปดวย การเตรียมแปลงพืชและแรงงาน จึงไมมีปญหา เกษตรกรลงทุนเพิ่มเติมเพียงเล็กนอย เชน ปุย ยาฆาหญาและเคมีภัณฑอื่น สอดคลองกับ นายธวัช สุผลทอง ประธานวิสาหกิจชุมชน ตําบลคําดวง อําเภอบานผือ จังหวัดอุดรธานี เลาถึงระหวางรอใหตนยางพาราเจริญเติบโตพอที่จะกรีดนํ้ายางไดดวยความที่เปนคนขยันขันแข็ง ประกอบกับขอของที่มีมานานเรื่องการเพิ่มผลผลิตมันปะหลัง ดังน้ันเม่ือเจาหนาที่จากธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ ธ.ก.ส.) เขามาแนะนําวิธีการเพิ่มผลผลิตมันสําปะหลังโดย วิธีการสับตา หรือ การปลูกมันแบบคอนโด นายธวัชจึงตัดสินใจนําเทคนิคดังกลาวมาใชกับแปลง มันสําปะหลังที่ปลูกแซมในสวนยางพารา ผลปรากฏวา ทั้งยางพาราและมันสําปะหลั งที่ปลูกเจริญเติบโตคอนขางดี (กรุง เทพธุรกิจ ฉบับวันที่ 22 ส.ค. 51) 5. ผลกระทบที่เกิดจากการปลูกพืชไร เชน ฟกทอง แตงไทย แซมในรองยางพารา มีผลกระทบตอตนยางพารานอยมากเพราะพืชไร เชน ฟกทอง แตงไทย มีอายุส้ัน 3-4 เดือน ผูปลูกตองไถกลบเพื่อปลูกใหมเปนการดูแลสวนยางไปในตัว และยังเปนการชวยบํารุงดินทําใหดินรวนซุย การปลูกพืชอายุส้ันเหลานี้มีระยะการดูแลไมนานสามารถปลูกหมุนเวียนไดหลายชนิดแตกตางกันไป

    ฿0

    ฿500

    ฿1,000

    ฿1,500

    ฿2,000

    ฿2,500

    ฿3,000

    ฿3,500

    ฿4,000

    (ไร) (บาท/ไร) (บาท/ไร) (บาท/ไร)

    จํานวนพ้ืนท่ี ตนทุน ราคาขาย รายได

    1. การปลูกขาวแซมในรองยางพารา 2. การปลูกมันสําปะหลังแซมในรองยางพารา

    3. การปลูกพืชไร เชน ฟกทอง แตงไทย

    กราฟแสดงรายไดจากการปลูกพืชแซมในรองยาง

    ขอเสนอแนะ - ขอเสนอแนะทั่วไป ในการศึกษาครั้งตอไปควรขยายพื้นที่การสํารวจจากพื้นที่ใหบริการ 3 ตําบล เปน การสํารวจจากพื้นที่อําเภอบานกรวด หรือ การสํารวจจากพื้นที่จังหวัดบุรีรัมย จะไดขอมูลที่ละเอียด นาเชื่อถือและใชประโยชนไดกวางขวางยิ่งข้ึน - ขอเสนอแนะสําหรับการวิจัย ในการศึกษาครั้งตอไปควรขยายชนิดของพืชให มี จํานวนเพิ่ม ข้ึนเพื่อเปนทางเลือกใหเกษตรกรในจังหวัดบุรีรัมยและจังหวัดใกลเคียงที่มีลักษณะภูมิประเทศ และภูมิอากาศใกลเคียงกัน ไดบริหารจัดการสวนยางไดอยางมีประสิทธิภาพ กิตติกรรมประกาศ ขอขอบนางลํายง เครือคําและนางนิธนันท เครือคํา ครูที่ปรึกษา ซ่ึงกรุณาสละเวลา ใหความรูและคําแนะนําตลอดการทําโครงงาน ขอขอบพระคุณ เกษตรอําเภอบานกรวดและสํานักงานกองทุนสงเคราะหการทําสวนยางและศูนยขอมูลองคการบริหารสวนตําบล ทั้ง 3 ตําบล คือ ตําบลโนนเจริญ ตําบลหินลาดและตําบลเขาดินเหนือ อําเภอบานกรวด จังหวัดบุรีรัมย ขอขอบพระคุณ สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ที่ไดใหเงินทุนสําหรับสนับสนุนในการทําโครงงานนี้ ขอบขอบพระคุณผูอํานวยการโรงเรียน นายสมนึก อุตมะโภคินและคณะครูโรงเรียนโนนเจริญพิทยาคม ที่มีสวนสนับสนุนใหการดําเนินโครงการสําเร็จลุลวงดวยดี ขอขอบคุณ เพื่อนๆ ชุมนุมวัฒนธรรมกับส่ิงแวดลอมโรงเรียนโนนเจริญพิทยาคม ที่ใหกําลังใจและใหความชวยเหลือในการทําโครงงานและทายที่สุดขอขอบพระคุณ คุณพอและคุณแม ผูเปนที่รัก ผูใหกําลังใจและใหโอกาสการศึกษาอันมีคายิ่ง

     

  •   8

    บรรณานุกรม กรมสงเสริมการเกษตร. ยางพารา. พิมพคร้ังที่ 2 กรุงเทพฯ: โรง

    พิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย จํากัด, 2551. สํานักงานเกษตรอําเภอบานกรวด. แบบสรุปขอมูลยางพาราอําเภอบานกรวด : อัดสําเนา, 2551.

    สํานักงานกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง. การปลูกยางพาราใน พื้นที่ใหม. พิมพคร้ังที่ 1 กรุงเทพฯ: หจก.เทพเพ็ญวา นิสย, 2547. วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. (2551). ทองแดง (Online). Available :

    http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%97%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B9%81

    วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. (2551). ทองแดง (Online). Available : http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%97%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B9%81

  •   9

    การศึกษาผลตอบแทนการทําสวนยางพาราในอําเภอกุดจับ จังหวัดอุดรธานี

    ลําภา บุญกอง กาญจนา สีใส จิราวรรณ แซงเฮง และนางสาวจินตนา ทองบอ โรงเรียนภูพานวิทยา อําเภอกุดจับ จังหวัดอุดรธานี 41250

    บทคัดยอ ศึกษาผลตอบแทนการทําสวนยางพารา ในอําเภอกุดจับ จังหวัดอุดรธานี ไดทําการสํารวจและเก็บรวบรวมขอมูล จากเกษตรกรชาวสวนยางจํานวน 70 ราย ในตําบลขอนยูง ตําบลตาลเลียน และตําบลสรางกอ อําเภอกุดจับ จังหวัดอุดรธานี เม่ือเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2551 ถึง เดือนมกราคม 2552 ผลการศึกษาสรุปไดพบวา เกษตรมีอายุเฉลี่ย 40-45 ป มีอาชีพเดิม คือ ทํานา สวนพื้นที่ เดิมเคยปลูกมันสําปะหลัง สมาชิกในครอบครัว 2-4 คน มีพื้นที่ขนาดสวนยางเฉลี่ย 8-10 ไร มีอายุยางเฉลี่ย 10 -14 ป พันธุยางที่ปลูก RRIM 600 สวนใหญเปดกรีดอายุ 7 ป ลักษณะการกรีดสวนมากเปนแรงงานในครอบครัว ระบบกรีดครึ่งลําตน กรีด 2 วันพัก 1 วัน ชวงเวลาที่เหมาะสม คือ หลังเที่ยงคืน ถาเปนระบบจางเหมามี 2 อัตราคือ เจาของ :คนกรีด อัตรา 60: 40 และ 50 : 50 ผลผลิตของยางแผนตอไรสูงสุดตอวันอยูที่ 1-4 แผนตอวันตอไร นํ้าหนักเฉลี่ย 1-1.4 กิโลกรัมตอแผน เฉลี่ย 2.5 กิโลกรัมตอไรตอวัน ระยะเวลาในการกรีด 9 เดือน เฉลี่ย 150 วันตอป เกษตรกรขายผลิตภัณฑยางดิบ 2 แบบ คือ ยางแผนดิบและนํ้ายางสด ซ่ึงเกษตรกรสวนมากทํายางแผนดิบมากกวาน้ํายางสด เกษตรกรที่ขายยางแผนดิบและยางน้ําสดใชเวลาในการกรีดยางเทากัน 24-30 นาทีตอไร เกษตรกรที่ทํายางแผนดิบใชเวลา 5-7 ชั่วโมง สวนเกษตรกรที่ทํานํ้ายางสดใชเวลา 3-4 ชั่วโมง ตนทุนในการทํายางแผนเฉลี่ย 3,327 บาทตอไรตอป ผลตอบแทนหลังหักคาใชจาย 9,613 บาทตอไรตอป และยางน้ําสด 2,133 บาทตอไรตอป ผลตอบแทนหลังหักคาใชจาย 6,766 บาทตอไรตอป เกษตรที่ทําน้ํายางสดมีเวลาเหลือมากกวาทํายางแผนดิบและสามารถไปประกอบอาชีพเสริมได เกษตรที่ทํายางแผนดิบและยางน้ําสดมีความพึงพอใจในรายไดทําใหฐานะทางการเงินม่ันคง มีความเปนอยูดีข้ึนเม่ือเทียบกับอาชีพเดิม และการทําสวนยางไมสงผลตอกิจกรรมในครอบครัวและสังคม จากการทดลองกรีดยางในแปลงจริงจํานวน 4 สวน เปนเวลา 10 วัน พบวาสวนที่ทํายางแผนดิบจะมีรายไดสุทธิตอไรสูงกวาน้ํายางสด และสวนที่มีคา DRC สูงกวาจะมีรายไดสูงตามไปเชนกัน คําสําคัญ : ผลตอบแทน ยางพารา ยางแผนดิบ ยางน้ําดิบ

    บทนํา ปจจุบันเกษตรกร มีการขายผลิตภัณฑยางดิบ 3 ชนิด คือ ยางแผนดิบ นํ้ายางสด และยางกอนถวย ซ่ึงการเลือกจําหนายยางดิบ แตละชนิดมีผลตอบแทนแตกตางกัน และการเลือกขายยางดิบตองใหเหมาะสมกับ ตนทุน แรงงาน และพื้นที่ปลูกยาง และในการเปลี่ยนพื้นที่การเกษตรเดิมมาปลูกยางพารา จะสงผลตอการเปลี่ยนแปลงทางดานสังคม ดานเศรษฐกิจและสังคมเม่ือเทียบกับอาชีพเดิมอยางไร ดังน้ัน กลุมผูวิจัยจึงตองการศึกษาผลตอบแทนการทําสวนยางพารา ในอําเภอกุดจับ จังหวัดอุดรธานี ซ่ึงเปนทองถ่ินของผูวิจัย อุปกรณและวิธีการ

    อุปกรณ 1. แบบสอบถามเรื่อง ผลตอบแทนของการทําสวน ยางพารา 2. ขอมูลสัมภาษณ 3. ทดลองจริงจากสวนยาง

    วิธีการ

    1. กิจกรรมที่ 1 สํารวจสืบคนขอมูล ประวัติความเปนมาเกี่ยวกับยางพาราของอําเภอกุดจับจากเอกสาร ผูรู ผูนําชุมชน เพื่อเปนขอมูลพื้นฐาน 2. กิจกรรมที่ 2 จัดทําแบบสอบถามและวางแผนการเก็บขอมูลโดยเลือกสุมตัวแทนประชากร รอยละ 10 ของเกษตรกรที่มีสวนยางขนาดเล็ก คือนอยกวา 10 ไร ขนาดกลาง (เน้ือที่ 10-20 ไร) และขนาดใหญ (เน้ือที่ มากกวา 20 ไร) ในตําบลตาลเลียน ตําบลขอนยูง และตําบลสรางกอ อําเภอกุดจับ จังหวัดอุดรธานี

    ผลการวิจัย อําเภอกุดจับ จังหวัดอุดรธานี มีพื้นที่ครอบคลุม 7 ตําบล มีประชากรทั้งส้ิน 36,500 คน มีพื้นที่การเกษตรทั้งส้ิน186,812ไร ครอบครัวทางการเกษตร มีอาชีหลัก คือทํานา และทําไ�