บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎ ีและงานวิจัย...

28
บทที2 แนวคิดทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของ การศึกษาวิจัยในครั้งนีผูวิจัยไดทําการศึกษา โอกาสการคาตางประเทศของธนาคารไทย : การคาไทย -พมา กรณีศึกษาธนาคารกรุงเทพจํากัด ( มหาชน ) โดยศึกษาถึงแนวคิด ทฤษฏี และ งานวิจัยที่เกี่ยวของ เพื่อเปนแนวทางในการศึกษาวิเคราะหตอไป ในบทนี้จึงเสนอแนวทางความคิด ทฤษฏี และงานวิจัยที่สําคัญโดยแบงประเด็นที่นําเสนอออกเปนหัวขอตาง ดังนี2.1 แนวคิดและทฤษฎีการคาระหวางประเทศ 2.2 แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวของกับธุรกิจระหวางประเทศ 2.2.1 วัตถุประสงคของการคาระหวางประเทศ 2.2.2 บทบาทการคาระหวางประเทศ 2.2.3 สภาพแวดลอมที่มีผลกระทบตอธุรกิจระหวางประเทศ 2.3 ทฤษฎีการวิเคราะหดวย SWOT Analysis 2.3.1 ประโยชนของการวิเคราะห SWOT 2.3.2 ขั้นตอนและวิธีการดําเนินการวิเคราะห SWOT 2.4 แนวคิดองคความรูดานการรวมกลุ มทางเศรษฐกิจ 2.4.1 ความหมายของการรวมกลุมทางเศรษฐกิจ 2.4.2 วัตถุประสงคของการรวมกลุมทางเศรษฐกิจ 2.4.3 รูปแบบการรวมกลุมทางเศรษฐกิจ 2.4.4 ประโยชนของการรวมกลุมทางเศรษฐกิจ 2.5 การรวมกลุมทางเศรษฐกิจในทวีปเอเชีย 2.5.1 ความรวมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย -แปซิฟก ( Asia- Pacific Economic Cooperation : APEC) 2.5.2 สมาคมประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต ( Association of South East Asian Nations: ASEAN) 2.5.3 เขตการคาเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area: AFTA) 2.5.4 ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) 2.6 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ 2.7 กรอบแนวคิด

Upload: others

Post on 14-Feb-2020

8 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎ ีและงานวิจัย ...it.nation.ac.th/studentresearch/files/55091392.pdf · 2015-12-02 · บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎ

บทที่ 2

แนวคิดทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของ

การศึกษาวิจัยในคร้ังนี้ ผูวิจัยไดทําการศึกษา โอกาสการคาตางประเทศของธนาคารไทย :

การคาไทย-พมา กรณีศึกษาธนาคารกรุงเทพจํากัด (มหาชน) โดยศึกษาถึงแนวคิด ทฤษฏี และงานวิจัยที่เกี่ยวของ เพ่ือเปนแนวทางในการศึกษาวิเคราะหตอไป ในบทนี้จึงเสนอแนวทางความคิด ทฤษฏี และงานวิจัยที่สําคัญโดยแบงประเด็นที่นําเสนอออกเปนหัวขอตาง ๆ ดังนี้ 2.1 แนวคิดและทฤษฎีการคาระหวางประเทศ

2.2 แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวของกับธุรกิจระหวางประเทศ

2.2.1 วัตถุประสงคของการคาระหวางประเทศ

2.2.2 บทบาทการคาระหวางประเทศ

2.2.3 สภาพแวดลอมที่มีผลกระทบตอธุรกิจระหวางประเทศ

2.3 ทฤษฎีการวิเคราะหดวย SWOT Analysis

2.3.1 ประโยชนของการวิเคราะห SWOT

2.3.2 ขั้นตอนและวิธีการดําเนินการวิเคราะห SWOT

2.4 แนวคิดองคความรูดานการรวมกลุมทางเศรษฐกิจ

2.4.1 ความหมายของการรวมกลุมทางเศรษฐกิจ

2.4.2 วัตถุประสงคของการรวมกลุมทางเศรษฐกิจ

2.4.3 รูปแบบการรวมกลุมทางเศรษฐกิจ

2.4.4 ประโยชนของการรวมกลุมทางเศรษฐกิจ

2.5 การรวมกลุมทางเศรษฐกิจในทวีปเอเชีย

2 .5 .1 ความร วม มือทางเศรษ ฐกิ จ เอ เชี ย -แปซิฟ ก (Asia- Pacific Economic Cooperation : APEC)

2.5.2 สมาคมประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต (Association of South East Asian

Nations: ASEAN) 2.5.3 เขตการคาเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area: AFTA) 2.5.4 ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) 2.6 เอกสารและงานวิจัยที่เก่ียวของ 2.7 กรอบแนวคิด

Page 2: บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎ ีและงานวิจัย ...it.nation.ac.th/studentresearch/files/55091392.pdf · 2015-12-02 · บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎ

8

2.1 แนวคิดและทฤษฎีการคาระหวางประเทศ

การศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับการคาระหวางประเทศนี้ เปนการศึกษาขอมูลเกี่ยวกับการแลกเปลี่ยนสินคาหรือการคาขายกันระหวางประเทศตางๆ ในโลก ซึ่งแสดงถึงความสัมพันธของปรากฏการณทางเศรษฐกิจที่เกิดข้ึนระหวางประเทศการคาระหวางประเทศเปนการศึกษาเพ่ือใหทราบถึงสาเหตุที่ประเทศตางๆตองทําการคาระหวางกันตลอดจนแนวทางท่ีประเทศตางๆ จะเลือกผลิตสินคาและทําการคาระหวางประเทศใหเปนผลดีตอประเทศนั้น ๆ ซึ่งการศึกษาคร้ังนี้ ผูวิจัยไดดําเนินการศึกษาเก่ียวกับแนวคิดและทฤษฏีการคาระหวางประเทศ ดังปรากฎรายละเอียดตอไปนี้ ทฤษฎีความได เปรียบอยางสมบูรณ (Theory of Absolute Advantage) โดย Adam

Smith (อางถึงใน วันรักษ มิ่งมณีนาคิน, 2544 : 15) ไดเขียนหนังสือ The Wealth of Nations ซึ่งแยกการวิเคราะหเปน 2 ประเด็นหลัก คือ Absolute Advantage และ Division of Labor โดยในสวนของ Absolute Advantage กลาววา ถาประเทศใดประเทศมีความไดเปรียบในการผลิตสินคาใดสินคาหนึ่งอยางมีประสิทธิภาพเหนือกวาประเทศอ่ืน ก็ควรใหประเทศนั้นผลิตสินคานั้นแลวสงไปคาขายแลกเปลี่ยนกับประเทศอ่ืนเพ่ือใหเกิดผลลัพธของประสิทธิภาพรวมท่ีสูงที่สุดของโลก และสวนของ Division of Labor ไดเขามาเสริมทฤษฏี Absolute Advantage วาแตละประเทศควรใชทรัพยากรของตนใหแกสินคาที่สามารถผลิตไดอยางมีประสิทธิภาพที่สุด จนเกิดการไดเปรียบในการแขงขันกับผูอ่ืน ซึ่งความเชี่ยวชาญเฉพาะท่ีเกิดขึ้นมีสาเหตุจาก 1. แรงงานเกิดความชํานาญในการทางานนั้นซ้ํา ๆ อยูเปนประจํา 2. แรงงานเกิดความชํานาญโดยการทํางานน้ันไปอีกงานหนึ่ง และ 3. การผลิตอยางตอเนื่องยาวนาน จะเปนแรงจูงใจใหเกิดการพัฒนาหาวิธีการทํางาน มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

จากความเชี่ยวชาญเฉพาะดานกอใหเกิดความไดเปรียบ (Advantage) ซ่ึงสามารถจําแนกไดเปน 2 ชนิดคือ ความได เปรียบโดยธรรมชาติ เปนประโยชนที่ เกิดจากสภาพ ภูมิอากาศทรัพยากรธรรมชาติหรือแรงงานที่มีอยูอยางลนเหลือ และความไดเปรียบจากการเรียนรู นอกจากทฤษฎีความไดเปรียบ ยังกลาวถึง ขนาดของประเทศหนึ่งซึ่งมีผลตอชนิดและปริมาณของสินคาที่จะทําการคาขายกัน ขนาดของประเทศที่แตกตางกัน จะมีผลตอปจจัย ไดแก 1) ความหลากหลายของทรัพยากร ประเทศใหญมีทรัพยากรหลายชนิดกระจายอยูตามภาคตาง ๆ ในประเทศจนแทบสามารถพ่ึงพาตนเองไดหมด 2) คาขนสง ประเทศใหญและประเทศเล็กไดรับผลกระทบจากคาขนสงแตกตางกัน โดยทั่วไปแลวคาขนสงจะแปรตามระยะทาง ประเทศใหญมักจะทําการคาขายกับแหลงตลาดที่อยูใกล จึงทําใหคาขนสงตอราคาสินคาก็ต่ําไปดวย และ 3) ขนาดของเศรษฐกิจ ขนาดของประเทศมิไดบอกถึงความมั่งคั่งของประเทศ ความร่ํารวยของประเทศ วัดไดจากขนาดเศรษฐกิจและรายได

Page 3: บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎ ีและงานวิจัย ...it.nation.ac.th/studentresearch/files/55091392.pdf · 2015-12-02 · บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎ

9

ประชาชาติที่คอนขางสูง จึงควรมีการผลิตสินคาในปริมาณมากอยางตอเนื่องดวยเทคโนโลยีที่กาวหนา เพ่ือใหเพียงพอตอการอุปโภคบริโภคภายในประเทศ และทําการสงออกดวย

ทฤษฎีความไดเปรียบโดยเปรียบเทียบ (Comparative Advantage) โดย Ricardo (อางถึงในกตัญู หิรัญญสมบูรณ, 2543 : 14) เมื่อป ค.ศ. 1819 ไดเขียนหนังสือชื่อ On the Principles of

Political and Taxation โดยมีพ้ืนฐานแนวคิดของ Adam Smith มาพัฒนาตอเนื่องออกไปวา ถาประเทศใดประเทศหนึ่งมีความไดเปรียบในการผลิตสินคา 2 ชนิดขึ้นไป ประเทศนั้นควรจะผลิตสินคาที่ ตนผลิตไดอยางมีประสิทธิภาพมากที่ สุ ด แลวสิ่ ง ท่ีตนไม ไดผลิตจากประเทศอ่ืน ทฤษฎี Comparative Advantage จะมีประสิทธิผลเต็มที่ภายใตขอสมมุติฐานของการใชความชํานาญเฉพาะ พบวา การวาจางแรงงานเต็มที่ไมมีการวางงาน ซ่ึงแสดงถึงการใชทรัพยากรเต็มที่ ถามีการวางงานเกิดขึ้น จะมีการลดการนําเขาลง เพ่ือใหแรงงานที่วางงานอยูไดรับการวาจางใหทําการผลิตสินคาทดแทนการนําเขา อีกทั้งการมุงวัตถุประสงคของประเทศ บางครั้งประเทศไมไดมีวัตถุประสงค เชิงเศรษฐศาสตรหรือตองการกําไรสูงสุดเสมอไป นอกจากน้ันรัฐบาลไดเล็งเห็นวา การเปนผูเชี่ยวชาญพิเศษในสินคาเฉพาะอยางเสี่ยงตอการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและการข้ึนลงของราคาสินคานั้น

จึงควรผลิตสินคาที่ตนไมไดเปรียบดวยเพ่ือกระจายความเส่ียงที่อาจจะเกิดขึ้น และการคิดคาขนสง ไมมีทฤษฎีใดคํานึงถึงคาขนสงซึ่งตองสัมพันธกับระยะทางท่ี เคลื่อนยายสินคาระหวางประเทศ ปญหาจะเกิดข้ึนถาคาขนสงรวมกับสินคาแลวสูงกวาตนทุนที่ประเทศผูซื้อผลิตเอง เพราะจะทําใหการคาระหวางประเทศไมเกิดขึ้นความชํานาญและการ ไดเปรียบเฉพาะสินคาจะหมดความหมายไปในท่ีสุด

ทฤษฎีปจจัยสัดสวนการผลิต (Factor Proportion) ในป ค.ศ. 1950 นักเศรษฐศาสตรชาวสวีเดน 2 คน คือ Hecksher and Ohlin (อางถึงใน ศรีวงศ สุมิตร และสาลินี วรบัณฑูร, 2536 : 12-

13) ไดสรางทฤษฎี Factor Proportion โดยเนนไปท่ีปจจัยการผลิต คือ ที่ดิน แรงงานและทุน แทน

โดยกลาววา แตละประเทศมีปจจัยการผลิตที่แตกตางกันไป ประเทศใดก็ตามที่มีแรงงานมากเมื่อเทียบกับท่ีดินและแรงงาน ก็จะสงผลใหตนทุนดานแรงงานถูกลง ทางตรงกันขามตนทุนดานทุนก็จะสูง ดังนั้น แตละประเทศก็ควรผลิตสินคาที่ใชปจจัยการผลิตในประเทศท่ีมีอยูมาก หาไดงายและตนทุนไมสูง ผลิตสินคาสงออกไปจําหนายตางประเทศ

ทฤษฎีความได เปรียบในเชิงแขงขัน (The Theory of Competitive Advantage) โดย Porter (อางถึงใน ศรีวงศ สุมิตร และสาลินี วรบัณฑูร, 2536 : 14-18) ไดกลาววา แตละประเทศแตละชนชาติมีลักษณะของธรรมชาติ เชนภูมิอากาศ คุณสมบัติเฉพาะคน และความสามารถในการคิดสรางสรรคแตกตางกันออกไป ซึ่งกอใหเกิดการคาระหวางประเทศและการแขงขันในตลาดโลก ดังนั้น

Michael E. Porter จึงแสดงใหเห็นวาการดําเนินธุรกิจไมไดพิจารณาในสวนของผลิตภัณฑหรืออุตสาหกรรมเทานั้น การคาระหวางประเทศจึงเปนการมองภาพรวมต้ังแตระดับประเทศ ระดับรัฐบาล

ตลอดจนระดับธุรกิจเอกชนรวมกัน ดังนั้น ความไดเปรียบของการแขงขันเชิงบริษัทในการดําเนินธุรกิจ

Page 4: บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎ ีและงานวิจัย ...it.nation.ac.th/studentresearch/files/55091392.pdf · 2015-12-02 · บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎ

10

ระหวางประเทศ จึงข้ึนอยูกับสถานะของบริษัทในดานตาง ๆ และความสัมพันธระหวางสถานะเหลานั้น ปจจัยที่กําหนดความไดเปรียบเชิงแขงขันท้ัง 4 สถานะคือ ประกอบดวย 1) สถานะปจจัยดานการผลิต (Factor Condition) ปจจัยการผลิตที่มีความสําคัญโดดเดน คือ ความสามารถในเชิงสรางสรรค ยกระดับและเพ่ิมปจจัยการผลิตที่มีอยูใหกาวหนาพัฒนาตอไป แรงงานชํานาญงาน เงินทุน

เทคโนโลยี และอุปกรณตางๆ 2) สถานะดานอุปสงค (Demand Condition) เปนความสามารถที่จะแขงขันและประสบความสําเร็จในตลาดภายในประเทศและมีโอกาสที่จะประสบความสําเร็จในตลาดตางประเทศสูง 3) อุตสาหกรรมท่ีเกี่ยวของและเกื้อหนุนกัน (Relate and Supporting Industries)

ธุรกิจใดมีความสัมพันธที่ดีกับการขายวัตถุดิบ หรือบริษัทขนสงที่ใหประโยชนดานตนทุน คาขนสงจะเกิดความไดเปรียบเชิงแขงขันสูงและสามรถดําเนินธุรกิจระหวางประเทศไดดี และ 4) กลยุทธ โครงสรางการแขงขันของธุรกิจ (Firm Strategy, Structure and Rivalry) เปนลักษณะเดนของธุรกิจที่จะสรางสรรคและดําเนินธุรกิจระหวางประเทศไดอยางมี ประสิทธิภาพ โดยขึ้นอยูกับความเหมาะสมและความยืดหยุนของแตละองคกรที่มีตอธุรกิจประเภทน้ันเอง นอกจากน้ีทั้ง 4 กลุมปจจัยที่กลาวมาแลว ยังมีปจจัยภายนอกอีก 2 ปจจัย ที่มีความสําคัญตอความไดเปรียบเชิงแขงขัน (Michael E. Porter, 2003 : 176) ไดแก 1) รัฐบาล ภาครัฐบาลถือไดวาเปนปจจัยที่มีความสําคัญตออุตสาหกรรมอยางยิ่ง หากรัฐบาลใหการเสริม เชน การสงเสริมการวิจัยและพัฒนา ใหการสนับสนุนอุตสาหกรรม ใหสิทธิพิเศษตาง ๆ เชน ลดภาษี วัตถุดิบ ก็จะทําใหอุตสาหกรรมมีตนทุนที่ต่ําลง และ 2) เหตุสุดวิสัย เปนปจจัยภายนอกท่ีมีผลตอความไดเปรียบเชิงแขงขัน ซึ่งผูผลิตในอุตสาหกรรมไมสามารถทําการควบคุมได ตัวอยางเชน สิ่งประดิษฐใหม ๆ การเปล่ียนแปลงทางเทคโนโลยีครั้งสําคัญ การเปลี่ยนแปลงราคาปจจัยการผลิตครั้งสําคัญ การเปลี่ยนแปลงตลาดเงินของโลก หรืออัตราแลกเปลี่ยนครั้งสําคัญ การตัดสินใจทางการเมืองโดยรัฐบาลประเทศอ่ืนๆ และสงคราม เหตุสุดวิสัยจะเปนตัวกอใหเกิดการเปล่ียนแปลงในโครงสรางอุตสาหกรรม

เหตุสุดวิสัยอาจลบลางขอไดเปรียบดานการแขงขันของผูแขงขันรายเดิม เกิดชองวางที่ผูแขงขันจากประเทศอ่ืน สามารถเขามาเอาชนะผูแขงขันรายเดิมได ขณะเดียวกันประเทศอาจไดรับผลประโยชนจากการเปลี่ยนแปลงไดเชนเดียวกัน และทําใหเกิดความสามารถในการแขงขันไดปจจัยที่กลาวมาทั้งหมดน้ี เมื่อมีการผสมผสานกัน เพ่ือประกอบการพิจารณา ถึงความไดเปรียบในการแขงขันของประเทศ

2.2 แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวของกับธุรกิจระหวางประเทศ

ประเทศไทยเปนประเทศที่มีระบบเศรษฐกิจเปนแบบเปดทําใหธุรกิจระหวางประเทศ หรือ

การคาระหวางประเทศไดเขามามีบทบาทและอิทธิพลตอการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ตาง ๆ

Page 5: บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎ ีและงานวิจัย ...it.nation.ac.th/studentresearch/files/55091392.pdf · 2015-12-02 · บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎ

11

โดยทั่วไป การคาระหวางประเทศจะอยูในลักษณะท่ีวาแตละประเทศจะผลิตสินคาที่ตนเองมีความถนัดซึ่งเปนสินคาออก ขณะเดียวกันก็จะสั่งเขาสินคาที่ตนเองผลิตไมไดหรือผลิตได แตตนทุนสูงกวา จึงเสมือนกับการแบงงานกันทําระหวางประเทศ ทําใหการใชทรัพยากรเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและประหยัด การคาระหวางประเทศจึงเปนปจจัยสําคัญที่ทําใหประเทศตาง ๆ ไดรับประโยชนรวมกัน ทําใหประชาชนตาง ๆ ทั่วโลก มีมาตรฐานการครองชีพโดยเฉลี่ยสูง และจากการศึกษาแนวคิดและทฤษฎีที่เก่ียวของกับธุรกิจระหวางประเทศ ปรากฎรายละเอียด ดังตอไปน้ี

ความหมายของธุรกิจระหวางประเทศ (International Business) ไดมีผู ใหคํ าจํากัดความสามารถสรุปไดดังน้ี นิพัทธ จิตรประสงค (2531 : 1) ไดใหความหมายของธุรกิจระหวางประเทศวา เปนธุรกิจของเอกชนหรือของรัฐที่ดําเนินงานขามประเทศ ถาเปนธุรกิจเอกชนการประกอบธุรกิจก็เพ่ือหวังผลกําไร แตถาเปนธุรกิจของรัฐบาลมีเปาหมายที่จะหวังผลกําไรหรือไมก็ได กตัญู หิรัญญสมบูรณ (2543 : 1) ไดใหความหมายของธุรกิจระหวางประเทศวา เปนธุรกิจ

ตาง ๆ ในภาคเอกชนและภาครัฐบาลซ่ึงเกี่ยวของกับการดําเนินการในประเทศตาง ๆ ตั้งแตสองประเทศขึ้นไป โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือมุงหวังกําไรและไมมุงหวังกําไรจากการดําเนินการ ธุรกิจระหวางประเทศมีอยูเปนจํานวนมากมายท่ัวโลก และมีแนวโนมเพ่ิมขึ้นในอนาคต แตในขอบเขตของธุรกิจระหวางประเทศจะเนนเฉพาะองคกรธุรกิจที่มุงหวังกําไรจากการประกอบการ นอกจากนี้ ศิริวรรณ

เสรีรัตน (2543 : 58) ไดใหความหมายวา เปนกิจกรรมองคการที่เกิดขึ้นในขอบเขตมากกวาหนึ่งประเทศโดยเปนบริษัท ซึ่งผูกมัดกับการคาระหวางประเทศหรือการลงทุน ขามเขตแดนหรือขามประเทศ สอดคลองกับ ศินีย สังขรัศมี (2549 : 5) ไดใหความหมายของธุรกิจระหวางประเทศ วาเปนกิจกรรมที่เกี่ยวของกับการซื้อขายแลกเปลี่ยนสินคาและบริการตางๆ ที่เกิดขึ้นในขอบเขตมากกวา 1 ประเทศ ซึ่งมีผลกระทบจากปจจัยภายนอกสภาพแวดลอมภายในประเทศ สภาพแวดลอมระหวางประเทศและสภาพแวดลอมของประเทศที่ทาการคาดวย ตลอดจนสภาพการแขงขันระหวางประเทศและการแขงขันระหวางบริษัท ผูดําเนินการธุรกิจระหวางประเทศตองเขาใจความซับซอนตาง ๆ เพ่ือวางแผนกลยุทธในการดําเนินธุรกิจระหวางประเทศ จากความหมายดังกลาวสามารถสรุปไดวา การคาระหวางประเทศ เปนกิจกรรมทางธุรกิจที่เกี่ยวกับการซ้ือขายสินคาและบริการระหวางประเทศจากประเทศหน่ึง ขามพรมแดนไปยังอีกประเทศหนึ่ง ในการดําเนินกิจกรรมการคาระหวางประเทศจึงมีขั้นตอนการดําเนินการเร่ิมตั้งแตการผลิต การบรรจุหีบหอเพ่ือการขนสง การทําสัญญาการคาระหวางประเทศ การดําเนินการในการสงออก การเลือกวิธีการขนสง การประกันภัยสินคา การชําระเงินขามประเทศ และการดําเนินการดานพิธีการศุลกากรในการนําเขาสินคาไปยังอีกประเทศหนึ่ง

Page 6: บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎ ีและงานวิจัย ...it.nation.ac.th/studentresearch/files/55091392.pdf · 2015-12-02 · บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎ

12

2.2.1 วัตถุประสงคของการคาระหวางประเทศ

ธุรกิจการคาระหวางประเทศเกิดขึ้นจากหลักความเสียเปรียบที่ เรียกว า Principle of

Comparative Advantage โดยมุงผลิตสินคาที่ตัวเองมีความชํานาญหรือมีความไดเปรียบไปขายยังตางประเทศ ในขณะเดียวกันจะซ้ือหรือนําเขาสินคาที่ตัวเองไมมีความชํานาญหรือเสียเปรียบการดําเนินธุรกิจระหวางประเทศมีวัตถุประสงคเหมือนกับการดําเนินธุรกิจทั่ว ๆ ไป คือ กําไร ผูทําธุรกิจระหวางประเทศ จึงตองพยายามทําใหตนทุนการผลิตตํ่าที่สุด โดยคํานึงถึงคุณภาพดวย ซึ่งจะสามารถทําใหสูคูแขงขันได ทั้งรายไดและกําไรมีสวนกระตุนใหผูประกอบธุรกิจระหวาประเทศขยายกวางทั่วโลก (ศินีย สังขรัศมี, 2549 : 2-3) ปจจุบันธุรกิจระหวางประเทศมีความสําคัญมากขึ้น เนื่องจากสามารถทํารายไดเขาสูประเทศ ทําใหประเทศไดรับเงินตราจากตางประเทศ การทําธุรกิจระหวางประเทศ ทําใหปจจัยการผลิตของประเทศถูกใชในการผลิตที่ตนไดเปรียบ ทรัพยากรถูกใชอยางมีประสิทธิภาพกอใหเกิดความชํานาญเฉพาะ ชวยยกระดับรายไดของประชากร การกระจายรายไดไปยังสาขาตาง ๆ ระบบเศรษฐกิจมีการขยายตัว รัฐบาลมีรายไดจากการจัดเก็บภาษี สามารถนําใชในการพัฒนาประเทศตอไป ลดอัตราการวางงาน เกิดความกาวหนาทางเทคโนโลยีและสิ่งประดิษฐใหม ๆ

ทําใหสินคาและบริการมีความหลากหลาย (ศินีย สังขรัศมี, 2549 : 4) สิ่งเหลานี้ลวนเปนวัตถุประสงคของการคาระหวางประเทศที่แตละประเทศ ตองการใหเกิดขึ้น สวนใหญจะเริ่มจากการคาขายในประเทศ จนมีความพรอมในระดับหนึ่ง ธุรกิจนั้นก็จะกาวไปสูธุรกิจระหวางประเทศโดยมีมูลเหตุจูงใจคือ (กตัญู หิรัญญสมบูรณ, 2543 : 7) ประกอบดวย 1) เพ่ือเพ่ิมยอดขาย (Expand Sales) ดวยเหตุที่วา ความตองการและจํานวนของ ผูบริโภคท่ัวโลกมีมากกวาความตองการของผูบริโภคในประเทศเดียว ซึ่งจะชวยใหบริษัทสามารถ เพ่ิมยอดขายและมีกาไรสูงสุดขึ้น โดยสามารถกําหนดตลาดที่ชัดเจน ในลักษณะของธุรกิจระหวางประเทศได 2) การแสวงหาแหลงทรัพยากร (Acquire

Resources) ผูประกอบกิจการระหวาง ประเทศ จะตองแสวงหาสินคา บริการ และสวนประกอบในการผลิต หรือวัตถุดิบในการผลิต จากตางประเทศ ตลอดจนมองหาแหลงเงินทุน เทคโนโลยี ขอมูลจากตางประเทศที่สําคัญ และรายละเอียดตาง ๆ เพ่ือจะใชในกิจการของประเทศตนเองและเพื่อลดคาใชจาย ทําใหบริษัทไดรับผลกําไรมากข้ึนจากตนทุนที่ถูกลง 3) การกระจายแหลงขายและปจจัยการผลิต (Diversify Sources of Sales and Supplies) เพ่ือเปนการปองกันไมใหยอดขาย และกําไรเปลี่ยนแปลงไป บริษัทควรจัดหาตลาดและแหลงปจจัยการผลิตจากตางประเทศ เพ่ือที่จะทําใหบริษัทสามารถหลีกเลี่ยงผลกระทบของราคาสินคาท่ีเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว หรือการขาดแคลนวัตถุดิบในประเทศใดประเทศหนึ่ง และ 4) ลดความเสี่ยงทางการแขงขันใหนอยที่สุด (Minimize Competitive

Rick) บริษัท จะตองสรางขอไดเปรียบทางการแขงขันและกอใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุดจากการ

Page 7: บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎ ีและงานวิจัย ...it.nation.ac.th/studentresearch/files/55091392.pdf · 2015-12-02 · บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎ

13

ดําเนินการ ในแตละประเทศเพ่ือที่จะปกปองตนเองในตลาดภายในประเทศ โดยนําขอมูลดังกลาวมาปรับปรุง และพัฒนาบริษัทเพ่ือลดความเส่ียงทางการแขงขันนอยที่สุด

ศิริพร ปญญาบาล (2535 : 6) ไดระบุถึงมูลเหตุจูงใจในการประกอบธุรกิจระหวาง ประเทศ

ประกอบดวย 1) ประโยชนทางดานรายไดและผลกําไร 2) ใชเปนเครื่องมือแกปญหาความไหวตัวของการผลิตตามฤดูกาล 3) ประโยชนในการรักษาเสถียรภาพของการผลิตและการจําหนาย และ 4) เพ่ือสนองความตองการในตลาดตางประเทศ

สรุปไดวา การคาระหวางประเทศท่ีเกิดขึ้นนั้น เนื่องมาจากวัตถุประสงคที่มาจากเหตุจูงใจภายใน คือการบริหารตนทุนการผลิตที่ทาใหตนทุนต่ําลง เพ่ือเพ่ิมขีดความสามารถในการแขงขันและมูลเหตุจูงใจภายนอก คือ การขยายตลาดเพ่ือเพ่ิมยอดขายใหกับธุรกิจ

2.2.2 บทบาทการคาระหวางประเทศ

ดํารงศักดิ์ ชัยสนิท และกอเกียรติ วิริยะกิจพัฒนา (2536 : 5) ไดกลาวถึงบทบาทการคาระหวางประเทศไว ไดแก 1) การนําเขา ทําใหประชาชนมีสินคาตาง ๆ เพ่ือการอุปโภคบริโภคมากขึ้น

ทําใหการกินอยูดีขึ้น 2) การนําเขาสินคาทุนและวัตถุดิบ จะเปนฐานท่ีจําเปนสําหรับการขยายการผลิต 3) เปนการโอนอํานาจการซื้อจากประเทศหน่ึงไปอีกประเทศหนึ่ง 4) การสงออกมีผลตอลูกคา ดุลการชําระเงินของประเทศ 5) การสงออกเปนการระบายสินคาสวนเกินที่เหลือจากการอุปโภคบริโภคภายใน 6) ทําใหเกิดการยกระดับหรือปรับปรุงประสิทธิภาพใหสูงขึ้น 7) การสงออกเปนที่มาของรายไดเพ่ือนํามาซื้อสินคาเขา (Exports Pay for Imports) และ 8) ทําใหรัฐบาลมีรายไดสูงขึ้นในรูปของการเก็บภาษีอากรขาออก ภาษีอากรขาเขา ภาษีการคา ภาษีเงินได คาธรรมเนียมและอื่น ๆ สอดคลองกับ ศิริพร ปญญาบาล (2535 : 4-5) ไดระบุถึงบทบาท หรือประโยชนของธุรกิจระหวาง ประเทศ ประกอบดวย 1) ปจจัยการผลิตตาง ๆ ของประเทศถูกใชไปในการผลิตที่ตนไดเปรียบ

(Comparative Advantage) 2) ประชากรของประเทศไดรับสินคาและบริการมากขึ้น 3) ยกระดับรายไดของประชากร 4) ลดปญหาการวางงาน 5) ธุรกิจระหวางประเทศเปนบอเกิดแหงความกาวหนาทางเทคโนโลยี 6) ทําใหเกิดการยกระดับหรือปรับปรุงประสิทธิภาพใหสูงขึ้น 7) การสงออกเปนที่มาของรายได เพ่ือนํามาซื้อสินคาเขา (Exports Pay For Import) และ 8) ทําใหรัฐบาลมีรายไดสูงขึ้น ในรูปของการเก็บภาษีอากรขาออก ภาษอีากรขาเขา ภาษีการคา ภาษีเงินได คาธรรมเนียมและอ่ืน ๆ

การคาระหวางประเทศมีบทบาทที่สําคัญ ในการพัฒนาระบบเศรษฐกิจของประเทศ โดยการนําเขาเงินตราตางประเทศ รวมถึงการพัฒนาเทคโนโลยีของประเทศน้ัน ๆ ไดมีการพัฒนาระบบเศรษฐกิจใหเกิดความมั่นคงแลวยอมนําไปสูการพัฒนาดานสังคมของประเทศ

Page 8: บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎ ีและงานวิจัย ...it.nation.ac.th/studentresearch/files/55091392.pdf · 2015-12-02 · บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎ

14

2.2.3 สภาพแวดลอมที่มีผลกระทบตอธุรกิจระหวางประเทศ

1. สภาพแวดลอมทางการเมือง เปนสภาพแวดลอมที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติการและนโยบายของรัฐบาล Zikmund and D'Amico (2001 : 654) สภาพแวดลอมทางการเมืองจะประกอบดวย ปจจัย 3 สวนที่สําคัญ คือ

1) สภาพแวดลอมทางดานการเมืองของประเทศเจาบาน Host – county political

environment) ประเทศตาง ๆ ตองการรักษาและเพ่ิมพูนเอกราชของชาติของตน กิจการของตางประเทศ มักจะถูกมองวาเปนการคุกคามเอกราชภายในประเทศ หรือมีผลเสียหายตอธุรกิจในประเทศ ดังนั้นในชวงที่เกิดการจลาจลวุนวาย กิจการตางประเทศหรือสถานทูตตางประเทศจะเปนเปาหมายท่ีจะโดนโจมตีมากที่สุด ดังนั้น ในแตละประเทศจึงตองการที่จะปกปองความม่ันคงของชาติตนเอง (National Security) โดยปกติรัฐบาลจะหามกิจการตางประเทศดํา เนินการเกี่ยวกับอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของกับการปองกันประเทศ หรืออุตสาหกรรมที่เกิดผลกระทบตอความม่ันคง ของประเทศ เชน การปองกันประเทศ (Defense) การสื่อสาร (Communication) พลังงานไฟฟา และทรัพยากรธรรมชาติ (Energy and Resources)

2) การควบคุมโดยประเทศเจาบาน (Host – County Controls) ประเทศเจาบานจะมีคานิยม (Goodwill) ใหกิจการตางประเทศชวยใหบรรลุเปาหมายของประเทศตน รัฐบาลอาจใชเคร่ืองมือตาง ๆ ในการปองกันพฤติกรรมท่ีไมพึงปรารถนาและสงเสริมพฤติกรรมที่ปรารถนาที่เกิดขึ้นจากกิจการตางประเทศ ซึ่งวิธีการที่รัฐบาลใชในการควบคุมมี 5 วิธี ดังนี้

2.1) การจํากัดการนําเขา (Entry Restrictions) ถาอนุญาตใหธุรกิจเขาประเทศได กิจการก็จะถูกจํากัดในอุตสาหกรรมที่เขามา เชน ไมมีการอนุญาตใหเปนเจาของ 100%

โดยถูกจํากัดในรูปแบบของการรวมลงทุน (Join venture) กับกิจการภายในประเทศ

2.2) การควบคุมราคา (Price controls) เปนระเบียบขอบังคับของรัฐเพ่ือควบคุมราคาผลิตภัณฑและบริการไมใหสูงเกินกวาที่กําหนด เพ่ือปองกันไมใหคาครองชีพสูงตอเนื่องไปเปนลูกโซ มักจะใชชวงตอตานปญหาภาวะเงินเฟอ การควบคุมราคานี้มักจะใชกับผลิตภัณฑที่จําเปนแกการครองชีพบางชนิด และมักใชในชวงเวลาสั้น ๆ เทานั้นโดยเฉพาะประเทศท่ีมีระบบเศรษฐกิจแบบเสรี เพ่ือมิใหกระทบตอกลไกตลาดมากนัก (ศิริพร สัจจานันท, 2543 : 235) ดังนั้นกิจการตางประเทศจึงตองเผชิญกับ ขอจํากัดอยางมาก สิ่งท่ีเหมือนกันมากท่ีสุดคือ การควบคุมราคาใหต่ํา ซึ่งถาเศรษฐกิจมีภาวะเงินเฟอ ทําใหตนทุนสูงจะจํากัดกําไรอยางมหาศาล

2.3) การจํากัดการนําเขา (Quotas) เปนการจํากัดปริมาณนําเขา หรือปริมาณสินคานําเขา และปริมาณการสงออกสินคาในแตละป (Daniels and Radebaugh, 2001 :

784) การเก็บภาษีศุลกากร (Tariffs) เปนภาษีที่เก็บสําหรับสินคานําเขาในประเทศ ดังการจํากัดการ

Page 9: บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎ ีและงานวิจัย ...it.nation.ac.th/studentresearch/files/55091392.pdf · 2015-12-02 · บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎ

15

นําเขาและการเก็บภาษีศุลกากร อาจจะจํากัดตามความสามารถของกิจการในการนําเขาเครื่องมือ

เครื่องจักร (Equipment) ชิ้นสวนประกอบ (Components) และผลิตภัณฑ (Product) การจํากัดดังกลาว เพ่ือจะเพ่ิมจํานวนวัตถุดิบในประเทศมากกวาจํานวนที่กิจการตางประเทศ

2.4) การควบคุมอัตราแลกเปล่ียน (Exchange Control) ในหลายประเทศจะประสบปญหาการขาดดุลชาระเงิน (Balance of Payments) การขาดดุลเร้ือรัง ซึ่งทําใหการขาดแคลนของเงินตราตางประเทศ

2.5) การเวนคืน (Expropriation) หมายถึง การเวนคืนกรรมสิทธิ์ ในทรัพยสินของธุรกิจเอกชน โดยรัฐบาลของประเทศใดประเทศหนึ่ง โดยการบังคับอยางเปนทางการในทรัพยสินของกิจการตางประเทศ การเวนคืนเปนเครื่องมือที่สําคัญในการควบคุมกิจการตางประเทศ

2. สภาพแวดลอมทางกฎหมาย กฎหมายของประเทศและกฎที่เกี่ยวของกับธุรกิจที่มีอิทธิพลตอการดําเนินการของกิจการตางประเทศ กิจการตองทราบสภาพแวดลอมทางกฎหมายในแตละตลาด เพราะวากฎหมายน้ันถือวาเปนเกณฑของเกมส (Rules of the game) ในขณะเดียวกันกิจการตองทราบวาสภาพแวดลอมทางดานการเมืองเปนอยางไร กฎหมายน้ันมีผลบังคับใชอยางไรและระบุทิศทางของกฎหมายใหมดวย สภาพแวดลอมทางกฎหมายระหวางประเทศ เปนเรื่องที่สลับซับซอนกฎหมายที่สําคัญ มี 3 ประการ คือ 1. กฎหมายของประเทศแม (Home’s laws) 2. กฎหมายระหวางประเทศ (International Law) 3. กฎหมายภายในประเทศท่ีบริษัทไดดําเนินการในตางประเทศหรือในประเทศนั้น ๆ

3. สภาพแวดลอมทางเศรษฐกิจ อิทธิพลดานเศรษฐกิจจะมีผลตอการดําเนินธุรกิจระหวางประเทศ ดังน้ัน การเขาใจถึงสภาพแวดลอมดานเศรษฐกิจของประเทศและตลาดตางประเทศ จะชวยใหผูบริหารเขาใจสภาพแวดลอมทางเศรษฐกิจและสามารถพยากรณแนวโนมที่มีผลกระทบตอการทํางานในอนาคต รายละเอียดอิทธิพลดานเศรษฐกิจที่สํ าคัญ (Key Economic Forces) จะประกอบดวย 1) โครงรางงานทางเศรษฐกิจของประเทศ (Economic Framework) 2) ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ (Economic Stability) 3) ความสําคัญและอิทธิพลของตลาดทุน (Existence and

Influence of Capital Markets) 4) สมรรถภาพของปจจัยการผลิต (Factor Endowments) 5) ขนาดของตลาด (Market Size) และ 6) ความสามารถในการจัดหาสาธารณูปโภค (Availability of

Economic Infrastructure)

4. สภาพแวดลอมทางวัฒนธรรม การคํานึงวัฒนธรรม (Cultural Awareness) : คือการรูจักและเขาใจวัฒนธรรมของประเทศตาง ๆ ที่จะเขาไปทําธุรกิจ เนื่องจากมีความแตกตางทางดานวัฒนธรรม ดังนั้นธุรกิจจะตองปรับตัวและตัดสินใจวา จะนําสิ่งที่เคยปฏิบัติในประเทศของตนเองไปใชในสภาพแวดลอมตางประเทศไดหรือไมเพราะวา พฤติกรรมของผูบริโภคที่แตกตางกันมีผลกระทบตอการดําเนินกลยุทธของกิจการที่แตกตางกันท่ัวโลก การเขาใจถึงวัฒนธรรมของแตละกลุมจึงเปนสิ่งที่มี

Page 10: บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎ ีและงานวิจัย ...it.nation.ac.th/studentresearch/files/55091392.pdf · 2015-12-02 · บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎ

16

ความสําคัญ เพ่ือนํามาประยุกตใชในเชิงธุรกิจ ดังนั้น การทําธุรกิจระหวางประเทศจะตองศึกษาถึงลักษณะเดนและการเปลี่ยนแปลงของวัฒนธรรม ซึ่งจะประกอบดวย

1) ความเปนชาติ (ชาตินิยม) เปนคํานิยามที่ใชสําหรับสังคมหน่ึง เนื่องจากอาศัยอยูในเขตแดนเดียวกัน และอยูภายใตพ้ืนฐานกฎหมายที่ใชรวมกัน เพราะความคลายคลึงระหวางบุคคลเปนเหตุและผลของวัฒนธรรมของกลุมชนหรือวัฒนธรรมของแตละประเทศ เพ่ือประโยชนในการจางงาน การขาย และซื้อสินคาตลอดจนมีกฎระเบียบตาง ๆ ซึ่งใชสาหรับประชาชนหรือคนในประเทศน้ัน

2) การสรางวัฒนธรรมใหม (Cultural Formation) และการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรม

(Cultural Dynamics) เปนการถายทอดวัฒนธรรมจากผูนํา+สังคมสูคนในสังคมนั้น ๆ ระบบคานิยมทางวัฒนธรรม เชน คานิยม ประเพณี และสังคม สามารถเปล่ียนแปลงไดตามกาลเวลา ซึ่งการเปลี่ยนแปลงจะเก่ียวของกับ 3 ประเด็น คือ 1. สมัครใจเลือก (Choice) 2. ถูกบังคับ (Imposition) 3.

การเปลี่ยนแปลงซึ่งเกิดข้ึนจากการสื่อสารกับวัฒนธรรมอื่น ๆ (Contact with Other Cultures)

3) ภาษาเปรียบเสมือนผูดํารงวัฒนธรรม (Language as a Cultural Stabilizer)

ภาษาจัดเปนอีกปจจัยหน่ึงที่มีผลกระทบตอความมีเสถียรภาพของวัฒนธรรม เมื่อบุคคลมาจากตางสถานที่กันแตใชภาษาเดียวกัน การแพรหลายของวัฒนธรรม เมื่อบุคคลมา จากตางสถานท่ีกันแตใชภาษาเดียวกัน การแพรหลายของวัฒนธรรมจึงเกิดขึ้นไดงาย ทําใหความคลายคลึงของภาษามีมากขึ้น

4) ศาสนาเปนปจจัยที่ชวยรักษาเสถียรภาพดานวัฒนธรรม (Religion as a

Cultural Stabilizer) ศาสนาเปนคานิยมที่มีความแข็งแกรงมากที่สุด โดยมากศาสนาท้ังหมดเกิดจากประชาชนที่มีความเชื่อวัฒนธรรมของภูมิภาค ซึ่งสวนใหญไดรับอิทธิพลจากศาสนา เพราะฉะนั้นเขตของศาสนาจึงมีอิทธิพลออกไปยังประเทศใดประเทศหนึ่งดวย ดังนั้นศาสนาท่ีเดน จึงมีอิทธิพลท้ังในดานกฎหมายและตอการดาเนินการทางธุรกิจระหวางประเทศ

2.3 ทฤษฎีการวิเคราะหดวย SWOT Analysis

แนวคิดท่ีผูศึกษาใชในการวิเคราะหแนวโนม ผูศึกษาไดอาศัยแนวคิดการวิเคราะหดวย SWOT

Analysis โดย SWOT เปนเคร่ืองมือในการประเมินสถานการณ สําหรับองคกร หรือโครงการ ซึ่งชวยผูบริหารกําหนด จุดแข็งและจุดออนจากสภาพแวดลอมภายใน โอกาสและอุปสรรคจากสภาพแวดลอมภายนอก ตลอดจนผลกระทบจากปจจัยตาง ๆ ตอการทํางานขององคกร (วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี, 2553) สอดคลองกับสมคิด บางโม (2552 : 351) ที่กลาววา การวิเคราะหสวอต (SWOT Analysis) เปนเคร่ืองมือในการวิเคราะหสถานการณ เพ่ือใหผูบริหารรูจุดแข็ง จุดออน โอกาส และอุปสรรคขององคกร ซึ่งจะชวยใหทราบวาองคกรไดเดินทางมาถูกทิศและไมหลงทาง นอกจากน้ียังบอกไดวาองคกรมีแรงขับไปยังเปาหมายไดดีหรือไม มั่นใจไดอยางไรวาระบบการทํางาน

Page 11: บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎ ีและงานวิจัย ...it.nation.ac.th/studentresearch/files/55091392.pdf · 2015-12-02 · บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎ

17

ในองคกรยังมีประสิทธิภาพอยู มีจุดออนที่จะตองปรับปรุงอยางไร ซึ่งการวิเคราะหสภาวะแวดลอม (SWOT Analysis) มีปจจัยที่ควรนํามาพิจารณา 2 สวนดังนี้ (ณรงควิทย แสนทอง , 2551 : 22-23)

ปจจัยภายใน (Internal Environment Analysis) ไดแก S มาจาก Strengths หมายถึง จุดเดนหรือจุดแข็ง ซ่ึงเปนผลมาจากปจจัยภายในเปนขอดีที่เกิดจากสภาพแวดลอมภายในองคกร เชน จุดแข็งดานสวนประสม จุดแข็งดานการเงิน จุดแข็งดานการผลิต จุดแข็งดานทรัพยากรบุคคล องคกรจะตองใชประโยชนจากจุดแข็งในการกําหนดกลยุทธ W มาจาก Weaknesses หมายถึง จุดดอยหรือจุดออน ซึ่งเปนผลมาจากปจจัยภายใน เปนปญหาหรือขอบกพรองที่เกิดจากสภาพแวดลอมภายในตางๆ ขององคกร ซึ่งองคกรจะตองหาวิธีในการแกปญหานั้น

ปจจัยภายนอก (External Environment Analysis) ไดแก O มาจาก Opportunities หมายถึง โอกาส เปนผลจากการท่ีสภาพแวดลอมภายนอกขององคกรเอ้ือประโยชนหรือสงเสริมการ ดําเนินงานขององคกร โอกาสแตกตางจากจุดแข็งตรงที่โอกาสนั้นเปนผลมาจากสภาพแวดลอมภายนอก แตจุดแข็งนั้นเปนผลมาจากสภาพแวดลอมภายใน ผูบริหารที่ดีจะตองเสาะแสวงหาโอกาสอยูเสมอ และใชประโยชนจากโอกาสน้ัน

T มาจาก Threats หมายถึง อุปสรรค เปนขอจํากัดที่เกิดจากสภาพแวดลอมภายนอก ซึ่งการบริหารจําเปนตองปรับกลยุทธใหสอดคลองและพยายามขจัดอุปสรรค ตางๆ ที่เกิดขึ้นใหไดจริง

S W ปจจัยภายใน

O T ปจจัยภายนอก

ภาพที่ 2.1 แสดงภาพการเชื่อมโยงระหวางปจจัยภายในและปจจัยภายนอก

ที่มา : ณรงควิทย แสนทอง (2551 : 22-23)

Page 12: บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎ ีและงานวิจัย ...it.nation.ac.th/studentresearch/files/55091392.pdf · 2015-12-02 · บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎ

18

ภาพที่ 2.2 แสดงภาพผลการวิเคราะหโดย SWOT

ที่มา : ณรงควิทย แสนทอง (2551 : 22-23)

SO = จุดแข็งและมีโอกาสพัฒนา WO = จุดออนและมีโอกาสพัฒนา WT = จุดออนและมีอุปสรรคในการพัฒนา ST = จุดแข็งและมีอุปสรรคในการพัฒนา

2.3.1 ประโยชนของการวิเคราะห SWOT

วิเคราะห SWOT เปนการวิเคราะหสภาพแวดลอมตาง ๆ ทั้งภายนอกและภายในองคกร ซ่ึงปจจัยเหลานี้แตละอยางจะชวยใหเขาใจไดวามีอิทธิพลตอผลการดําเนินงานขององคกรอยางไร จุดแข็งขององคกรจะเปนความสามารถภายในที่ถูกใชประโยชนเพ่ือการบรรลุเปาหมายในขณะที่จุดออนขององคกร จะเปนคุณลักษณะภายใน ที่อาจจะทําลายผลการดําเนินงาน โอกาสทางสภาพแวดลอมจะเปนสถานการณที่ ให โอกาสเพ่ือการบรรลุเป าหมายองคกรในทางกลับกันอุปสรรคทางสภาพแวดลอมจะเปนสถานการณที่ขัดขวางการบรรลุเปาหมายขององคกร ผลจากการวิเคราะห SWOT นี้จะใชเปนแนวทางในการกําหนดวิสัยทัศน การกําหนดกลยุทธ เพ่ือใหองคกรเกิดการพัฒนาไปในทางที่เหมาะสม เมื่อไดขอมูลเกี่ยวกับ จุดแข็ง-จุดออน โอกาส-อุปสรรค จากการวิเคราะหปจจัยภายในและปจจัยภายนอกดวยการประเมินสภาพ แวดลอมภายในและสภาพแวดลอมภายนอกแลว ใหนําจุดแข็ง-จุดออนภายในมาเปรียบเทียบกับ โอกาส-อุปสรรค จากภายนอกเพ่ือดูวาองคกร กําลังเผชิญสถานการณเชนใดและภายใตสถานการณ เชนนั้น องคกรควรจะทําอยางไร โดยท่ัวไป ในการ

ST

SO

WT

WO

Page 13: บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎ ีและงานวิจัย ...it.nation.ac.th/studentresearch/files/55091392.pdf · 2015-12-02 · บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎ

19

วิเคราะห SWOT ดังกลาวน้ี องคกร จะอยูในสถานการณ 4 รูปแบบดังนี้ (ณรงควิทย แสนทอง, 2551 : 22-23)

สถานการณที่ 1 (จุดแข็ง-โอกาส) สถานการณนี้ เปนสถานการณที่ พ่ึงปรารถนาที่สุด เนื่องจากองคกรคอนขางจะมีหลายอยาง ดังนั้น ผูบริหารขององคกรควรกําหนดกลยุทธในเชิ งรุก (Aggressive - Strategy) เพ่ือดึงเอาจุดแข็งที่มีอยูมาเสริมสรางและปรับใชและฉกฉวยโอกาสตาง ๆ ที่เปดมาหาประโยชนอยางเต็มที่ สถานการณที่ 2 (จุดออน-ภัยอุปสรรค) สถานการณนี้เปนสถานการณที่เลวรายท่ีสุด เนื่องจากองคกรกําลังเผชิญอยูกับอุปสรรคจากภายนอกและมีปญหาจุดออนภายในหลายประการ ดังนั้น ทางเลือกที่ดีที่สุดคือกลยุทธ การต้ังรับหรือปองกันตัว (Defensive Strategy) เพ่ือพยายามลดหรือหลบหลีกภัยอุปสรรค ตาง ๆ ที่คาดวาจะเกิดขึ้น ตลอดจนหามาตรการที่จะทําใหองคกรเกิดความสูญเสียที่นอยท่ีสุด สถานการณที่ 3 (จุดออน-โอกาส) สถานการณองคกรมีโอกาสเปนขอไดเปรียบดานการแขงขันอยูหลายประการ แตติดขัดอยูตรงที่มีปญหาอุปสรรคท่ีเปนจุดออนอยู หลายอยางเชนกัน ดังนั้น ทางออกคือกลยุทธการพลิกตัว (Turnaround-Oriented Strategy) เพ่ือจัดหรือแกไขจุดออนภายในตาง ๆ ให พรอมที่จะฉกฉวยโอกาสตาง ๆ ที่เปดให สถานการณที่ 4 (จุดแข็ง-อุปสรรค) สถานการณนี้เกิดขึ้นจากการท่ีสภาพแวดลอมไมเอ้ืออํานวยตอการดําเนินงาน แตตัวองคกรมีขอไดเปรียบท่ีเปนจุดแข็งหลายประการ ดังนั้น แทนท่ีจะรอจนกระทั่งสภาพแวดลอมเปลี่ยนแปลงไป ก็สามารถที่จะเลือกกลยุทธการแตกตัว หรือขยายขอบขายกิจการ (Diversification Strategy) เพ่ือใชประโยชนจากจุดแข็งท่ีมีสรางโอกาสในระยะยาวดานอื่น ๆ แทน

2.3.2 ขั้นตอนและวิธีการดําเนินการวิเคราะห SWOT

1. การประเมินสภาพแวดลอมภายในบริษัท จะเกี่ยวของกับการวิเคราะหและพิจารณาทรัพยากรและความสามารถภายในบริษัทในทุกๆ ดาน เพ่ือท่ีจะระบุจุดแข็งและจุดออนของบริษัท

แหลงที่มาเบื้องตนของขอมูลเพ่ือการประเมินสภาพแวดลอมภายใน คือระบบขอมูลเพ่ือการบริหารครอบคลุมทุกดาน ทั้งในดานโครงสราง ระบบ ระเบียบ วิธีปฏิบัติงาน บรรยากาศในการทํางาน และทรัพยากรในการบริหารงาน ซึ่งไดแก คน เงิน วัสดุ การจัดการ รวมถึงการพิจารณาผลการดําเนินงานที่ผานมาของบริษัท เพ่ือใหเขาใจสถานการณและผลของกลยุทธที่ไดกําหนดไวกอนหนานี้ดวย จุดแข็งของบริษัท คือการวิเคราะหปจจัยภายในจากมุมมองของผูที่อยูในบริษัทนั้นเอง วาปจจัยใดที่เปนขอไดเปรียบหรือ เปนจุดเดนที่นํามาพัฒนาได และควรดํารงไวเพ่ือการเสริมสรางความแข็งแกรงของ

Page 14: บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎ ีและงานวิจัย ...it.nation.ac.th/studentresearch/files/55091392.pdf · 2015-12-02 · บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎ

20

บริษัท สวนจุดออนของบริษัทน้ันเปนปจจัยภายในจากมุมมองของผูที่อยูในบริษัท วาปจจัยใดเปนปจจัยที่ทําใหเกิดความเสียเปรียบ ซึ่งจําเปนตองมีการปรับปรุงใหดีขึ้น หรือขจัดใหหมดไป

2. การประเมินสภาพแวดลอมภายนอกบริษัท จะทําใหสามารถคนหาโอกาสและอุปสรรคในการดําเนินธุรกิจซึ่งไดรับผลกระทบจากสภาพแวดลอมในการดําเนินธุรกิจทั้งในและระหวางประเทศ

เชน ดานเศรษฐกิจ (เชน อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ นโยบายการเงิน งบประมาณ) ดานสังคม

(เชน ระดับการศึกษาและอัตราการรูหนังสือของประชาชน ลักษณะชุมชน ขนบธรรมเนียมประเพณี) ดานการเมือง (เชน พระราชบัญญัติ มติคณะรัฐมนตรี นโยบายทางการเมือง) ดานเทคโนโลยี (เชน

นวัตกรรมการผลิตพัฒนาการดานเครื่องมือและอุปกรณ ) เปนตน โอกาสจากสภาพแวดลอมจะเปนการวิเคราะหวาปจจัยภายนอกปจจัยใดที่สามารถสงผลกระทบทั้งทางตรงและทางออมตอการดําเนินธุรกิจและสามารถนําขอดี เหล านี้ มาเสริมสรางใหบริษัทเขมแข็งขึ้น สําหรับ อุปสรรคจากสภาพแวดลอม จะเปนการวิเคราะหวาปจจัยใดท่ีสามารถสงผลกระทบและกอใหเกิดความเสียหายทั้งทางตรงและทางออม ซึ่งบริษัทจําเปนตองหลีกเลี่ยงหรือปรับสภาพบริษัทใหมีความแข็งแกรงและมีความพรอมที่จะเผชิญกับผลกระทบดังกลาว (ณรงควิทย แสนทอง, 2551 : 24)

2.4 แนวคิดองคความรูดานการรวมกลุมทางเศรษฐกิจ

อัจฉราพรรณ ลีฬพันธ (2557 : ออนไลน) ไดระบุเกี่ยวกับการ การรวมกลุมทางเศรษฐกิจ (Economic Integration) วาเปนการรวมกลุมทางการคา เพ่ือสรางความเขมแข็งทางเศรษฐกิจของแตละประเทศ โดยปรากฏออกมาในรูปของการรวมกลุมทางเศรษฐกิจระหวางประเทศ ซึ่งเปนการตกลงรวมกันที่จะรวมตัวกันตั้งแตสองประเทศขึ้นไป เพ่ือลดหรือยกเลิกอัตราภาษีศุลกากรตลอดจนลดหรือยกเลิกขอจํากัดทางการคาอ่ืนๆ เพ่ือใหสิทธิประโยชนสําหรับประเทศในกลุมเทานั้น ปจจุบันการรวมตัวทางเศรษฐกิจไดเกิดข้ึนและขยายตัวอยางรวดเร็วทุกภูมิภาคอันเปนผลมาจากการแขงขันทางการคาที่นับวันจะทวีความรุนแรงยิ่งขึ้น ทําใหแตละประเทศเกิดความกังวลวาถาไมมีการรวมกลุมกันอยางเหนียวแนนอาจไมมีอํานาจในการเจรจาทางการคาไดจึงตองสรางความเขมแข็งโดยการรวมกลุมทางเศรษฐกิจเพ่ือปกปองคุมครองการคาระหวางประเทศในกลุมและเพ่ือปองกันการแขงขันจากคูแขงขันนอกกลุมตัวอยางการรวมกลุมทางเศรษฐกิจที่สําคัญทั้ง 3 ทวีปคือ 1) ทวีปยุโรปไดแกสมาคมการคาเสรียุโรป (European Free Trade Association: EFTA) สหภาพยุโรป (European Union:

EU) และสภาความชวยเหลือทางเศรษฐกิจรวมกัน (Council for Mutual Economic Assistances:

COMECON) 2) ทวีปอเมริกาไดแกสนธิสัญญาเขตการคาเสรีอเมริกาเหนือ (North American Free

Trade Agreement: NAFTA) สมาคมการคาเสรีแหงลาตินอเมริกา (Latin American Free Trade

Association:LAFTA) ก ลุ ม ตล าดร วมอ เมริ ก ากลาง (Central American Common Market:

Page 15: บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎ ีและงานวิจัย ...it.nation.ac.th/studentresearch/files/55091392.pdf · 2015-12-02 · บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎ

21

CACM) และกลุมตลาดรวมอเมริกาใตตอนลาง (Southern Common Market) หรือที่เรียกวากลุมเมอรโคซอร (Mercosur) และ 3) ทวีปเอเชียไดแกประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนแปซิฟก (Asia-

Pacific Economic Cooperation:APEC) สมาคมประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต (Association

of South East Asian Nations: ASEAN) เขตการคาเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area หรือ

AFTA) และประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (Asean Economic Community: AEC)

2.4.1 ความหมายของการรวมกลุมทางเศรษฐกิจ

การรวมกลุมเศรษฐกิจ (Economic Integration) หมายถึงการที่ประเทศต้ังแตสองประเทศขึ้นไปตกลงรวมกันที่จะรวมกันอยางเปนทางการสวนใหญเปนประเทศท่ีอยูในภูมิภาคเดียวกันมีอาณาเขตติดตอกันหรือประสบกับปญหาที่คลายคลึงกันมาทําความตกลงรวมกลุมกัน เพ่ือตกลงที่จะลดหรือยกเวนอัตราภาษีศุลกากรตลอดจนลดหรือยกเวนขอจํากัดทางการคาระหวางกัน เพ่ือใหความชวยเหลือรวมมือกันในการแกไขปญหาและรักษาผลประโยชนทางเศรษฐกิจรวมกัน ทําใหการคาระหวางประเทศภายในกลุมไมถูกจํากัดดวยอุปสรรคทางการคาโดยสิทธิประโยชนเหลานี้ จะใหเฉพาะการนําเขาสินคาจากประเทศภายในกลุมเทานั้นสวนการนําเขาสินคาจากประเทศนอกกลุมจะไมไดสิทธิประโยชนและอาจยังตองเผชิญกับการเก็บภาษีศุลกากรในอัตราที่สูงกวาประเทศสมาชิกดวยกันหรืออุปสรรคทางการคารูปแบบใหมๆตามแตประเทศท่ีรวมกลุมกันจะกําหนดขึ้นใหมอีกดวย

2.4.2 วัตถุประสงคของการรวมกลุมทางเศรษฐกิจ

การรวมกลุมทางเศรษฐกิจมีวัตถุประสงคที่สําคัญ เพ่ือใหการจัดสรรทรัพยากรเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ มีการจางงานมีสวัสดิการอยางเต็มท่ี รวมทั้งมีการกระจายรายไดระหวางประเทศอยางทั่วถึงมากย่ิงขึ้นอันจะนําไปสูความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศในกลุมโดยวัตถุประสงคของการรวมกลุมทางเศรษฐกิจ 7 ขอดังนี้ 1. เพ่ือลดการพ่ึงพาทางดานเศรษฐกิจ และเงินทุนจากประเทศพัฒนาแลว เมื่อมี การรวมกลุมทางการคาเกิดขึ้น ประเทศสมาชิกในกลุมจะชวยเหลือซึ่งกันและกัน เพ่ือให เศรษฐกิจของประเทศสมาชิกเปนไปในทิศทางที่ดีขึ้น ทําใหสามารถลดการพ่ึงพาทาง เศรษฐกิจและเงินทุนจากประเทศอ่ืนๆได 2. เพ่ือใหบรรลุวัตถุประสงคของนโยบายเศรษฐกิจและการคาของประเทศ การรวมกลุมทางเศรษฐกิจภายในภูมิภาคจะชวยสงเสริมการคาและการลงทุนเพ่ิมประสิทธิภาพในการจัดการหนี้ระหวางประเทศและชวยรักษาระดับการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ

Page 16: บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎ ีและงานวิจัย ...it.nation.ac.th/studentresearch/files/55091392.pdf · 2015-12-02 · บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎ

22

3. เพ่ือสงเสริมใหมีการรวมตัวทางการเมืองระหวางประเทศสมาชิกเพ่ือแกปญหาทั้งภายในและภายนอกภูมิภาคเนื่องจากเชื่อวาการรวมกลุมทางเศรษฐกิจจะชวยผอนคลายปญหาความตึงเครียดทางการเมืองระหวางประเทศในภูมิภาคได 4. เพ่ือเสริมสรางอํานาจการตอรองในการเจรจากับประเทศนอกกลุมเพ่ือปกปองผลประโยชนใหแกประเทศภายในกลุม

5. เพ่ือขยายตลาดท้ังของประเทศในกลุมกับตลาดภูมิภาคใหมีขนาดใหญขึ้น การรวมกลุมทางการคาจะทําใหประเทศมีโอกาสเขาสูตลาดของประเทศคูคามากยิ่งขึ้นมีลูทางการคาที่เพ่ิมข้ึนทําใหขนาดของตลาดเพ่ิมขึ้นดึงดูดใจใหนักลงทุนทั้งในและตางประเทศสนใจเขามาลงทุนมากขึ้นอันจะนํามาสูการขยายตลาดทั้งของประเทศในกลุมและของภูมิภาคใหกวางขวางขึ้น

6. เพ่ือใหมีการจัดสรรทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น การรวมกลุมระหวางประเทศในบางประเภท จะกําหนดใหประเทศสมาชิกสามารถเคลื่อนยายปจจัยการผลิตระหวางกันไดทําใหปจจัยการผลิตจะถูกนําไปใชในสภาวะการผลิตที่เหมาะสมที่สุด

7. เพ่ือเพ่ิมศักยภาพดานการผลิต การรวมกลุมทางการคาจะเปนการเปดโอกาส ใหการติดตอคาขายกันระหวางประเทศสมาชิกเปนไปอยางสะดวกย่ิงขึ้น อันจะนํามาซึ่งปริมาณผลผลิต ความชํานาญในการผลิต การจางงานที่มากขึ้น กอใหมีการลดตนทุนการ ผลิตที่ เกิดจากการประหยัดตอขนาด ทําใหเสริมสรางศักยภาพในดานการแขงขันมากยิ่งข้ึน

2.4.3 รูปแบบการรวมกลุมทางเศรษฐกิจ

การรวมกลุมทางเศรษฐกิจ สามารถจําแนกไดออกเปนหลายระดับเรียงจากการรวมกลุมระดับต่ําสุดไปสูระดับสูงสุด ตั้งแตการจัดทําขอตกลงเพ่ือแลกเปลี่ยนสิทธิพิเศษทางการคาเขตการคาเสรีสหภาพศุลกากรตลาดรวมสหภาพเศรษฐกิจและสหภาพเหนือชาติ โดยมีรายละเอียดดังตอไปนี้ 1. การจัดทําขอตกลงเพ่ือแลกเปลี่ยนสิทธิพิเศษทางการคา (Preferential Trading

Arrangement) เปนการรวมกลุมทางเศรษฐกิจขั้นต่ําสุดโดยการทําขอตกลงรวมกันที่จะลดอัตราภาษีศุลกากรและขอจํากัดทางการคาที่ไมใชภาษีศุลกากรหรืออุปสรรคทางการคาอ่ืนๆใหกับการนําเขาสินคาจากประเทศในกลุม โดยการลดอัตราภาษีศุลกากรระหวางกันจะทําอยางคอยเปนคอยไปและจะไมลดลงจนหมดไปในทันที สําหรับประเทศนอกกลุมยังมีการเรียกเก็บภาษีศุลกากรจากการนําเขาสินคาจากประเทศนอกกลุมในอัตราที่แตละประเทศสามารถกําหนดเองไดและเพ่ือรักษาสิทธิประโยชนของประเทศในกลุมจึงมีการควบคุมการแลกเปล่ียนสิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรใหเปนไปตามขอตกลงเพ่ือปองกันไมใหสินคาจากประเทศนอกกลุมสมาชิกเขามารับสิทธิพิเศษทางการคาและวางจําหนายในประเทศสมาชิกโดยไมตองเสียภาษี ดังนั้นเพ่ือหลีกเลี่ยงปญหาดังกลาวแตละประเทศ

Page 17: บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎ ีและงานวิจัย ...it.nation.ac.th/studentresearch/files/55091392.pdf · 2015-12-02 · บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎ

23

สมาชิกที่มีการรวมกลุมจึงตองมีขอกําหนดวาดวยแหลงกําเนิดสินคาคือการกําหนดใหสินคาที่จะไดรับสิทธิการยกเวนภาษีจะตองเปนสินคาที่ผลิตภายในประเทศสมาชิกเทานั้นโดยผูรับสิทธิจะตองแสดงใบรับรองแหลงกําเนิดสินคา (Certificate of Origin: C/O) ใหกับผูสงออกเพ่ือแสดงใหหนวยศุลกากรของประเทศนําเขาไดทราบวาสินคานําเขานั้นผลิตภายในประเทศสมาชิกจึงจะไดรับสิทธิพิเศษทางการคา 2. เขตการคาเสรี (Free Trade Area: FTA) เปนการรวมกลุมทางเศรษฐกิจเพ่ือยกเลิกอุปสรรคทางการคาระหวางประเทศสมาชิกโดยท่ีประเทศสมาชิกภายในกลุมจะยกเลิกมาตรการนําเขาดานการเก็บภาษีศุลกากรจากการนาเขาสินคาระหวางประเทศในกลุมและไมสนับสนุนใหมีการกีดกันทางการคาในรูปแบบตางๆ ทั้งมาตรการท่ีไมใชภาษีและขอจํากัดทางการคาที่เปนอุปสรรคในการคาขายระหวางประเทศสมาชิก สําหรับการคาขายกับประเทศภายนอกกลุมนั้นประเทศสมาชิกสามารถเรียกเก็บภาษีศุลกากรขาเขาจากประเทศภายนอกกลุมไดอยางอิสระซ่ึงการท่ีแตละประเทศเรียกเก็บภาษีจากประเทศภายนอกกลุมไดอยางเสรีนี้ จะทําใหภาษีที่เรียกเก็บจากประเทศนอกกลุมแตกตางกันประเทศนอกกลุมสามารถเปรียบเทียบอัตราภาษีที่แตละประเทศจัดเก็บและเลือกคากับประเทศสมาชิกที่ตั้งอัตราภาษีไวต่ําได ตัวอยางการรวมกลุมทางเศรษฐกิจในรูปแบบของเขตการคาเสรี เชนสมาคมเขตการคาเสรีแหงยุโรป (European Free Trade Association: EFTA) สนธิสัญญาเขตการคาเสรีอเมริกาเหนือ (North American Free Trade Agreement: NAFTA) สมาคมการคาเสรีแหงลาตินอเมริกา (Latin American Free Trade Association:LAFTA) และเขตการคาเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area: AFTA) เปนตน

3. สหภาพศุลกากร (Customs Union) เปนการตกลงทางการคาระหวาง 2 ประเทศข้ึนไปเพ่ือยกเลิกการเก็บภาษีศุลกากรยกเลิกขอจํากัดทางการคา รวมท้ังยกเลิกมาตรการจํากัดการคาอ่ืนๆระหวางประเทศสมาชิกนอกเหนือจากน้ีประเทศสมาชิกแตละประเทศยังมีขอตกลงเร่ืองการกําหนดนโยบายอัตราภาษีศุลกากรกับประเทศนอกกลุมในอัตราเดียวกัน (common external tariff

: CET) ตัวอยางการรวมกลุมเศรษฐกิจในรูปแบบสหภาพศุลกากรไดแกการรวมกลุมของเบเนลักซ คือเบลเยียมเนเธอรแลนดและลักเซมเบอรกโดยเบลเยียมและลักเซมเบอรกไดจัดตั้งสหภาพศุลกากรตั้งแตป พ.ศ.2464 ซึ่งเปนระยะเวลาระหวางสงครามโลกคร้ังท่ี 2 ตอมาไดตกลงใหเนเธอรแลนดเขารวมเปนสมาชิกของสหภาพดวย

4. ตลาดรวม (Common Market) เปนการรวมกลุมทางเศรษฐกิจที่สูงกวาสหภาพศุลกากรกลาวคือการรวมกลุมแบบตลาดรวมนั้นไมเพียงแตยกเลิกขอกีดกันทางการคาระหวางประเทศสมาชิกในทุกรูปแบบและกําหนดภาษีศุลกากรกับประเทศภายนอกกลุมในอัตราเดียวกัน

(CET) แลวยังมีการเพ่ิมเงื่อนไขวาไมเพียงแตสินคาเทานั้นท่ีสามารถเคลื่อนยายไดโดยเสรีระหวางประเทศสมาชิกแตปจจัยการผลิตภายในกลุมเชนทุนวัตถุดิบแรงงานเทคโนโลยีตางๆ ก็สามารถ

Page 18: บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎ ีและงานวิจัย ...it.nation.ac.th/studentresearch/files/55091392.pdf · 2015-12-02 · บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎ

24

เคลื่อนยายไดอยางเสรีระหวางประเทศสมาชิกเชนกัน การท่ีปจจัยผลิตสามารถเคลื่อนยายไดอยางอิสระภายในกลุมทางเศรษฐกิจเชนนี้ ทําใหการใชประเทศสมาชิกภาคีผูสงออก (ผูผลิต) ซึ่งจะนํามาใชเปนหลักฐานเพ่ือขอรับสิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรในประเทศสมาชิกภาคีผูนําเขาไดโดยทุนแรงงานเทคโนโลยีตางๆ เปนไปอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด เพราะปจจัยการผลิตจะถูกใชภายใตสภาวะท่ีกอใหเกิดการผลิตที่ไดประสิทธิผลสูงสุด ตัวอยางของการรวมกลุมทางเศรษฐกิจในรูปแบบของตลาดรวม เชนประชาคมเศรษฐกิจยุโรป (The European Economic Community: EEC) เปนตน

5. สหภาพเศรษฐกิจ (Economic Union) การรวมกลุมรูปแบบนี้มีลักษณะเหมือนกันกับตลาดรวมทุกประการ และเพ่ิมเงื่อนไขใหประเทศในกลุมสหภาพเศรษฐกิจมีการใชนโยบายดานการเงินและการคลังเหมือนกัน เพ่ือใหเศรษฐกิจมีความเปนอันหนึ่งอันเดียวกันมากข้ึนโดยจัดต้ังนวยงานกลางข้ึนมาบริหารนโยบายรวมกันซึ่งเปนการรวมตัวของนโยบายทางเศรษฐกิจเพ่ือการเคลื่อนยายอยางเสรีของสินคาบริการและปจจัยการผลิตขามพรมแดน นอกจากน้ียังมีการใชเงินตราในสกุลเดียวกันทําใหไมมีความเสี่ยงจากการผันผวนของอัตราแลกเปล่ียนตัวอยางการรวมกลุมรูปแบบน้ีเชนการรวมตัวกันเปนยุโรปตลาดเดียว (European Unity) ภายใตสนธิสัญญามาสทริชท (Maastricht)

ซึ่งมีจุดประสงคที่จะรวมตัวกันทางการเงินอยางเต็มที่ในป พ.ศ. 2542 ดวยการใชเงินสกุลยูโรรวมกัน

2.4.4 ประโยชนของการรวมกลุมทางเศรษฐกิจ

การรวมกลุมระหวางประเทศเปนการตกลงรวมมือกันของประเทศภายในกลุมที่จะอํานวยความสะดวกทางการคา ทั้งการลดมาตรการกีดกันทางการคาในรูปของภาษีและที่มิใชภาษีรวมทั้งลดกฎระเบียบขอบังคับตางๆ ที่เปนอุปสรรคทางการคา ทําใหประเทศท่ีไดรวมกลุมทางการคาไดประโยชนมากมาย ทั้งการใชประสิทธิภาพอยางเต็มท่ีในดานปจจัยการผลิตดานการจางงานและดานอ่ืน ๆ ทําใหเศรษฐกิจของประเทศสมาชิกขยายตัวเพ่ิมขึ้นโดยประโยชนจากการรวมกลุมสามารถสรุปไดดังน้ี

1. ประโยชนในการเพ่ิมการคาและการเบ่ียงเบนการคา (Trade Creation and Trade

Diversion) การรวมกลุมทางเศรษฐกิจ จะทําใหเกิดการใชทรัพยากรการผลิตอยางมีประสิทธิภาพสูงสุดไมมีสิ่งกีดขวางใดๆที่เปนอุปสรรคทางการคาระหวางประเทศสมาชิกทําใหแตละประเทศไดประโยชนทางเศรษฐกิจจากการรวมกลุมทางเศรษฐกิจโดยเรียกวาการเพ่ิมการคา (Trade Creation)

สวนการโยกยายทรัพยากรไปใชผลิตใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด เรียกวาการเบี่ยงเบนการคา (Trade

Diversion) ซึ่งการสรางการคาและการเบี่ยงเบนการคานี้ จะทําใหผูบริโภคในกลุมประเทศสมาชิกมีการใชทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพสูงสุดสงผลใหตนทุนการผลิตลดลงราคาจําหนายลดลงผูบริโภค

Page 19: บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎ ีและงานวิจัย ...it.nation.ac.th/studentresearch/files/55091392.pdf · 2015-12-02 · บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎ

25

สามารถซื้อผลิตภัณฑคุณภาพดีไดในราคาถูกทําใหตลาดทั้งภายในและตางประเทศมีการขยายตัวเพ่ิมมากข้ึน

2. ประโยชนในการประหยัดตอขนาดการผลิต (Economies of Scale) การรวมกลุมทางเศรษฐกิจ จะอํานวยความสะดวกในการคาระหวางประเทศสมาชิก สงผลใหตลาดการคาระหวางประเทศขยายตัวซึ่งเปนผลใหปริมาณการผลิตสูงขึ้นอันจะทําใหตนทุนคงท่ีถูกเฉลี่ยเปนตนทุนการผลิตตอหนวยต่ําลงสงผลใหตนทุนสินคาตอหนวยมีราคาลดลงทําใหเกิดขนาดการผลิตที่ ประหยัดจากภายใน (Internal Economies of Scale) ขึ้นในประเทศและถาเปนการรวมกลุมรูปแบบตลาดรวมก็เกิดขนาดการผลิตที่ประหยัดจากภายนอก(External Economies of Scale) เพราะในตลาดรวมนั้นสามารถเคล่ือนยายปจจัยการผลิตไดโดยเสรีขามพรมแดนไดธุรกิจ สามารถจัดหาแหลงเงินทุนที่มีตนทุนที่ต่ํากวาการจางแรงงานท่ีชํานาญกวาจากประเทศภายในกลุมมาทํางานตลอดจนมีการนําเทคโนโลยีการผลิตที่ทันสมัยมาใชปจจัยตางๆเหลานี้สามารถที่จะนํามาปรับปรุงกระบวนการผลิตตลอดจนคุณภาพของสินคาและบริการซึ่งในที่สุด จะทําใหตนทุนการผลิตตอหนวยเฉลี่ยลดลงได 3. ประโยชนในการลดราคาสินคานําเขา (Reduced Import Prices) การรวมกลุมทางเศรษฐกิจ จะทําใหประเทศภายในกลุมยกเลิกภาษีศุลกากรและขอจํากัดตางๆ ทางการคาที่มีลักษณะเปนการคุมครองการผลิตภายในประเทศ ทําใหกลุมประเทศสมาชิกสามารถซื้อขายสินคากันไดอยางสะดวกและสามารถซ้ือขายกันไดในปริมาณและมูลคาที่เพ่ิมขึ้น เพราะการรวมกลุมทางการคาทําใหราคาสินคาลดลง เนื่องจากการยกเลิกอัตราภาษีทําใหภาระตนทุนของสินคานําเขาลดลงสวนประเทศที่สงออกสินคา ซึ่งไดรับการยอมรับของผูบริโภคในตลาดตางประเทศ ก็จะขายสินคาไดมากขึ้นอันจะนํามาซึ่งรายไดเขาประเทศท่ีมากข้ึนเชนกัน และเม่ือประเทศผูสงออกมีรายไดจากการสงออกดีขึ้นก็จะนําไปสูการลดกาแพงภาษีลงบางเปนการตางตอบแทนกับประเทศคูคาทําใหสินคานําเขาในประเทศถูกลงเชนกัน

4. ประโยชนจากการเพ่ิมประสิทธิผลปจจัยการผลิต (Higher Factor Productivity)

ขอตกลงประการหนึ่งของการรวมกลุมทางเศรษฐกิจ คือประเทศสมาชิกสามารถเคลื่อนยายปจจัยการผลิตไดอยางอิสระ ทําใหปจจัยการผลิตสามารถเคลื่อนยายจากประเทศที่มีศักยภาพการผลิตต่ําไปยังประเทศที่มีศักยภาพการผลิตสูงกวาทําใหปจจัยการผลิตถูกนําไปใชอยางมีประสิทธิภาพสูงสุดกอใหเกิดผลดีตอสภาพเศรษฐกิจโดยเฉพาะประเทศในกลุมกําลังพัฒนาจะไดโอกาสท่ีดีขึ้นในการพัฒนาเศรษฐกิจของตน เพราะไดเปรียบจากการมีอัตราคาจางแรงงานต่ํา จึงเปนจุดสนใจของตางชาติที่จะเขามาลงทุน อยางไรก็ตามเหตุการณเคลื่อนยายปจจัยการผลิตอาจสงผลเสียตอประเทศกาลังพัฒนาและประเทศที่ยากจน เพราะตองปฏิบัติตามขอตกลงการรวมกลุมระหวางประเทศท่ีระบุไววาประเทศสมาชิกสามารถเคลื่อนยายปจจัยการผลิตไดโดยเสรีทําใหประเทศท่ีกาลังพัฒนาและประเทศยากจนที่มีทรัพยากรที่ เปนปจจัยการผลิตที่สําคัญตอการพัฒนาประเทศของตนอาจถูกถายเท

Page 20: บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎ ีและงานวิจัย ...it.nation.ac.th/studentresearch/files/55091392.pdf · 2015-12-02 · บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎ

26

ทรัพยากรเหลานี้ไปสูประเทศท่ีพรอมในการผลิตมากกวาก็ไดโดยเฉพาะทรัพยากรมนุษย เพราะถาบุคลากรมีฝมือไดรับโอกาสที่มากข้ึนก็อาจเลือกยายไปปฏิบัติงานในประเทศอ่ืนๆทําใหประเทศอาจไมสามารถรักษาทรัพยากรของประเทศตนไดตองสูญเสียบุคลากรที่มีความรูความสามารถไปทาใหขาดโอกาสในการพัฒนาประเทศตนเองได

2.5 การรวมกลุมทางเศรษฐกิจในทวีปเอเชีย (อัจฉราพรรณ ลีฬพันธ, 2557: ออนไลน)

2.5.1 ความรวมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟก (Asia- Pacific Economic

Cooperation : APEC)

ความรวมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟก เกิดขึ้นเน่ืองมาจากภูมิภาคน้ี ประกอบไปดวยประเทศมหาอํานาจทางเศรษฐกิจและประเทศ ที่มีอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจสูง ซึ่งถือเปนตลาดใหมที่มีศักยภาพในการขยายการคาและการลงทุนระหวางกัน ประกอบกับความยืดเยื้อของการเจรจาการคาหลายฝายในรอบอุรุกวัย ทําใหกลุมประเทศในแถบเอเชีย-แปซิฟก เห็นควรตองใชการรวมกลุมทางเศรษฐกิจ เพ่ือเปาหมายในการรวมตัวกันสรางความเจริญเติบโตการพัฒนาอยางยั่งยืนใหกับภูมิภาคตลอดจนผลักดันใหการเจรจาทางการคาหลายฝายรอบอุรุกวัยประสบผลสําเร็จขณะเดียวกันก็ตองการถวงดุลอํานาจทางเศรษฐกิจของกลุมเศรษฐกิจตางๆโดยเฉพาะกลุมสหภาพยุโรปอีกดวย จึงไดมีการจัดตั้งกลุมความรวมมือทางเศรษฐกิจระหวางเขตเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชีย -แปซิฟกที่เรียกวาประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนแปซิฟกหรือเอเปก (Asia-Pacific Economic Cooperation: APEC) ขึ้นจากการประชุมระดับรัฐมนตรีของประเทศในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟคในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ.2532

ณ กรุงแคนเบอรรา ประเทศออสเตรเลีย โดยมีวัตถุประสงคของการจัดตั้งเอเปกดังนี้ พัฒนาและสงเสริมระบบการคาหลายฝาย ไดแก 1) สนับสนุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจของภูมิภาคและของโลก 2) เพ่ือลดอุปสรรคและอํานวยความสะดวกใหการคาสินคาการคาบริการและการลงทุนระหวางประเทศสมาชิกโดยใหสอดคลองกับกฎเกณฑขององคการการคาโลก 3) ศึกษาลูทางในการเปดเสรีการคาในภูมิภาคในลักษณะที่มิใชการรวมกลุมทางการคาที่กีดกันประเทศนอกกลุม 4) ขยายความรวมมือสาขาเศรษฐกิจท่ีสนใจรวมกัน และ 5) สงเสริมและสนับสนุนใหมีการไหลเวียนสินคาบริการทุนและเทคโนโลยีระหวางกันโดยเสรี ปจจุบันเอเปคมีสมาชิกทั้งสิ้น 21 เขตเศรษฐกิจประกอบไปดวยประเทศมหาอํานาจทางการเมืองและทางเศรษฐกิจ ที่สําคัญคือ สหรัฐอเมริการัสเซียสาธารณรัฐประชาชนจีนและญี่ปุนรวมทั้งประเทศอ่ืนๆไดแก บรูไนอินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟลิปปนส สิงคโปร ประเทศไทย เวียดนามเกาหลีใต ฮองกง ไตหวัน ออสเตรเลีย นิวซีแลนด เม็กซิโก เปรู ชิลีและปาปวนิวกินี โดยกลุมประเทศสมาชิกจะ

Page 21: บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎ ีและงานวิจัย ...it.nation.ac.th/studentresearch/files/55091392.pdf · 2015-12-02 · บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎ

27

มีเปาหมายในการกําหนดมาตรฐานรวมกันเปนมาตรฐานเดียวกันในภูมิภาคเพ่ือเสริมสรางสมรรถนะของคนในภูมิภาคเพ่ิมศักยภาพ ทั้งทางดานการคาดานเทคโนโลยีและการขยายตลาดใหเจริญเติบโตมากย่ิงข้ึน

2.5.2 สมาคมประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต (Association of South East Asian

Nations: ASEAN)

สมาคมประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใตหรือเรียกยอๆวา อาเซียน (Association of

South East Asian Nations: ASEAN) มีการจัดตั้งขึ้นโดยปฏิญญาอาเซียน (ASEAN Declaration)

หรือปฏิญญากรุงเทพ (Bangkok Declaration) ลงนามที่กรุงเทพในวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510 มีสมาชิก เริ่มกอตั้งจํานวน 5 ประเทศ ไดแก อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟลิปปนส สิงคโปร และประเทศไทย อาเซียนมีจุดเร่ิมตนมาจากการจัดตั้ง “สมาคมอาสา” (Association of South East Asia: ASA) ที่ไดมีการลงนามกันเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2504 มีสมาชิกขณะนั้น 3 ประเทศคือ มาเลเซีย ฟลิปปนสและประเทศไทย มีวัตถุประสงคเพ่ือรวมมือกันสรางเศรษฐกิจสังคมและวัฒนธรรม แตดําเนินการไดเพียง 2 ป ก็ตองยุติลง เนื่องจากความผกผันทางการเมืองระหวางประเทศอินโดนีเซีย และประเทศมาเลเซีย ตอมาเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2509 ไดมีการฟนฟูความสัมพันธภาพระหวางกันขึ้น จึงไดมีการแสวงหาลูทางการจัดตั้งองคการความรวมมือทางเศรษฐกิจขึ้นในภูมิภาคโดยประเทศไทยไดเชิญรัฐมนตรีตางประเทศของอินโดนีเซียฟลิปปนสมาเลเซียและสิงคโปรมารวมประชุมที่ประเทศไทยผลการประชุมทุกฝายพรอมใจกันประกาศปฏิญญาอาเซียน หรือท่ีเรียกวาปฏิญญากรุงเทพที่พระราชวังสราญรมยในวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510 ลงนามโดยรัฐมนตรีวาการกระทรวงตางประเทศของประเทศสมาชิกทั้ง 5 ประเทศไดแก ประเทศไทย อินโดนีเซีย ฟลิปปนส สิงคโปรและมาเลเซีย โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือ ความรวมมือในการเพ่ิมอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจการพัฒนาสังคมวัฒนธรรมในกลุมประเทศสมาชิกและการธํารงรักษาสันติภาพ 4 ปฏิญญาอาเซียน (ASEAN Declaration) หรือปฏิญญากรุงเทพ (Bangkok Declaration) เปนเอกสารในการกอต้ังสมาคมประชาชาติแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต ขณะนั้นมีสมาชิกผูกอต้ังจํานวน 5 ประเทศ มีวัตถุประสงคเพ่ือ ที่จะสกัดการแพรขยายของลัทธิคอมมิวนิสตในเวียดนามโดยกําหนดหลักการเบื้องตนของอาเซียน เชนการรวมมือกันมิตรภาพและการไมเขาไปยุงเกี่ยวตอสถานการณภายในประเทศสมาชิกท้ังหมด และความม่ันคงในภูมิภาคและเปดโอกาสใหคลายขอพิพาทระหวางประเทศสมาชิกไดอยางสันติโดยวัตถุประสงคที่สําคัญของ ASEAN สรุปไดดังนี้ 1) เพ่ือรวมมือกันเรงรัดสรางความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ (Economic

growth) ความกาวหนาของสังคม และการพัฒนาทางดานวัฒนธรรมในภูมิภาคน้ี ตลอดจนเพ่ือสงเสริมสันติภาพและเสถียรภาพในภูมิภาค (Regional Peace and Stability) 2) เพ่ือสงเสริมความรวมมือและการใหความชวยเหลือซ่ึงกันและกัน ทั้งในดานเศรษฐกิจสังคมวัฒนธรรมเทคโนโลยี

Page 22: บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎ ีและงานวิจัย ...it.nation.ac.th/studentresearch/files/55091392.pdf · 2015-12-02 · บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎ

28

วิทยาศาสตรและการบริหาร ตลอดจนสงเสริมใหประชาชนในอาเซียนมีความเปนอยูและคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น 3) เพ่ือรวมมือกันอยางใกลชิดเกี่ยวกับการใชทรัพยากรธรรมชาติ ที่มีอยูใหมีประสิทธิภาพมากที่สุด โดยการรวมมือกันพัฒนาการเกษตรและอุตสาหกรรมใหเจริญกาวหนารวมถึงการขยายการคา โดยการแสวงหาลูทางของการคาระหวางกันใหกวางขวางยิ่งขึ้น ตลอดจนปรับปรุงการขนสงและการคมนาคมใหสะดวกย่ิงขึ้นในการทําธุรกรรมทางการคา เพ่ือเปนการยกระดับมาตรฐานการครองชีพของประชาชนในภูมิภาคนี้ใหสูงขึ้น 4) ใหความชวยเหลือกันในดานการฝกอบรมวิจัยและสงเสริมการศึกษาดานเอเชียตะวันออกเฉียงใต และ 5) เสริมสรางความรวมมืออาเซียนกับประเทศภายนอกอาเซียน กับองคการความรวมมือแหงภูมิภาคอ่ืนๆ และองคการระหวางประเทศ 2.5.3 เขตการคาเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area: AFTA)

เขตการคาเสรีอาเซียน(AFTA) เกิดมาจากการประชุมผูนําอาเซียนอันประกอบดวย บรูไนอินโดนีเซีย มาเลเซีย สิงคโปรและประเทศไทย เมื่อป พ.ศ. 2535 ณ ประเทศสิงคโปร ไดมีขอตกลงท่ีจะขายสินคาระหวางกันอยางเสรี (ยกเวนสินคาเกษตร) เพ่ือสงเสริมความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจระหวางประเทศสมาชิกเพ่ือใหอัตราภาษีศุลกากรในกลุมเปน 0% ภายในป พ.ศ. 2558 และใหประโยชนดานพิกัดภาษีศุลกากรแกประเทศในกลุมที่คอนขางยากจนทําใหมีการลงทุนระหว างประเทศเพ่ิมขึ้นและการขยายตัวทางเศรษฐกิจเจริญเติบโตขึ้นอยางรวดเร็วนอกเหนือจากการลดภาษีแลว AFTA ยังกําหนดใหมีการยกเลิกมาตรการท่ีมิใชภาษี (NTBs) โดย AFTA กําหนดใหประเทศสมาชิกยกเลิกมาตรการจํากัดปริมาณ (quantitative restriction) ทันทีที่สินคาไดนําเขาแผนการลดภาษีแลว และไดรับประโยชนจากการลดภาษีของอาเซียนอ่ืนแลวและยกเลิกมาตรการท่ีมิใชภาษีรูปแบบอ่ืนๆ ดวยโดยจะยกเลิกภายใน 5 ปหลังจากไดรับประโยชนจากการลดภาษีของอาเซียนอ่ืนทั้งนี้เพ่ือเปนการเพ่ิมขีดความสามารถในการแขงขันของอาเซียนและผลักดันใหอาเซียนเปนฐานการผลิตที่สําคัญ เพ่ือปอนสินคาสูตลาดโลกโดยอาศัยการเปดเสรีดานการคาและการลดภาษีและอุปสรรคขอกีดขวางทางการคาที่มิใชภาษีรวมทั้งการปรับเปลี่ยนโครงสรางภาษีศุลกากร เพ่ือเอ้ืออํานวยตอการคาเสรีเขตการคาเสรีอาเซียนมีวัตถุประสงคไดแก 1) เพ่ือใหการคาภายในอาเซียนเปนไปโดยเสรีมีอัตราภาษีต่ําสุดและปราศจากขอจากัดที่มิใชภาษี 2) เพ่ือดึงดูดนักลงทุนตางชาติเขามาลงทุนในอาเซียน 3) เพ่ือเสริมสรางสถานการณแขงขันของอาเซียน 4) เพ่ือรับกับสถานการณเศรษฐกิจการคาโลกท่ีจะเสรียิ่งขึ้นจากผลการเจรจารอบอุรุกวัย และ 5) เพ่ือจะไดมีอํานาจตอรองและเปนเวทีแสดงความคิดเห็นหากไดรับความกดดันหรือถูกเอารัดเอาเปรียบทางการคาจากประเทศอ่ืน

Page 23: บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎ ีและงานวิจัย ...it.nation.ac.th/studentresearch/files/55091392.pdf · 2015-12-02 · บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎ

29

2.5.4 ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC)

เปนความรวมมือระดับภูมิภาคของประเทศสมาชิกอาเซียน อันประกอบไปดวยประเทศสมาชิก 10 ประเทศ ไดแก ประเทศไทย มาเลเซีย ฟลิปปนส อินโดนีเซีย สิงคโปร บรูไน ลาว กัมพูชา เวียดนาม และพมาโดยมีวัตถุประสงคที่จะใหภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต มีความมั่นคงมั่งคั่งและสามารถแขงขันกับภูมิภาคอ่ืนๆ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) เปนการพัฒนามาจากสมาคมอาเซียน เพราะถึงแมวาการจัดตั้งสมาคมอาเซียนของกลุมสมาชิก จะพัฒนามาเปนเขตการคาเสรีหรืออาฟตาแลวก็ยังไมประสบความสําเร็จเทาที่ควร อาเซียนจึงต้ังเปาหมายใหมในการเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนโดยในป พ.ศ. 2550 ผูนําอาเซียนไดเรงรัดเปาหมายของการจัดต้ังประชาคมอาเซียน

(ASEAN Community) จากเดิมที่กําหนดไวในป พ.ศ. 2563 เปนป พ.ศ. 2558 ทั้งนี้เพ่ือใหทันกับสถานการณเศรษฐกิจโลกท่ีเปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็ว โดยไดประกาศ “ปฏิญญาเซบู” วาดวยการเร ง รั ด ก า ร จั ด ตั้ ง ป ร ะ ช าค ม อ า เซี ย น (Cebu Declaration on the Acceleration of the

Establishment of an ASEAN Community by 2015) เมื่อวันที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2550 ณ เมืองเซบู ประเทศฟลิปปนส และตอมาไดมีการจัดทําแผนงานเพ่ือจัดต้ังประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC

Blueprint) โดยมีเปาหมายที่จะสงเสริมใหอาเซียนเปนตลาดและฐานการผลิตเดียว เพ่ือใหมีการเคลื่อนยายสินคาบริการการลงทุนและแรงงานฝมืออยางเสรีและการเคลื่อนยายเงินทุนที่เสรีมากข้ึน สงเสริมขีดความสามารถในการแขงขันของอาเซียนลดชองวางการพัฒนาระหวางประเทศสมาชิกและสงเสริมการรวมตัวเขากับประชาคมโลกของอาเซียนซ่ึงผูนาอาเซียนของแตละประเทศสมาชิก และนายกรัฐมนตรีสุรยุทธ จุลานนท ไดลงนามในปฏิญญาเกี่ยวกับ AEC Blueprint ในการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 13 ท่ีประเทศสิงคโปรในวันที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ 2550 โดยประเทศสมาชิก ไดกําหนดยุทธศาสตรระยะยาวของภูมิภาค 4 ดานรวมกันคือ 1) การเปนตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน

(A Single Market and Production Base) 2) การไปสูภูมิภาคท่ีมีความสามารถในการแขงขันสูง (A Highly Competitive Economic Region) 3) การเปนภูมิภาคที่มีการพัฒนาเศรษฐกิจอยางเสมอภาค (A Region of Equitable Economic Development) และ 4) การเปนภูมิภาคที่มีการบู รณ าการเข ากับ เศรษฐกิจโลก (A Region That is Fully Integrated into the Global Economy)

การเปนตลาดและฐานการผลิตเดียวกันของอาเซียน มี 5 องคประกอบหลัก คือ 1) การเคลื่อนยายสินคาเสรี 2) การเคลื่อนยายบริการเสรี 3) การเคลื่อนยายการลงทุนเสรี 4) การเคลื่อนยายเงินทุนเสรีขึ้น และ 5) การเคลื่อนยายแรงงานฝมือเสรี ซึ่งประชาคมอาเซียน (ASEAN

Community) นั้น ประกอบดวย 3 สวนหลัก คือ ประชาคมความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Security

Community: ASC) ป ร ะช าค ม เศ รษ ฐ กิ จ อ า เซี ย น (Asian Economic Community: AEC)

Page 24: บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎ ีและงานวิจัย ...it.nation.ac.th/studentresearch/files/55091392.pdf · 2015-12-02 · บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎ

30

ประชาคมสังคมวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio – Cultural Community: ASCC) เปนความพยายามที่จะเชื่อมโยงตลาดทุน สินคา บริการ และทรัพยากรมนุษยใหเปนตลาดเดียวและเปนฐานการผลิตเดียวกัน การรวมกลุมทางเศรษฐกิจนี้ จําเปนตองเรงรัดใหเกิดการคาเสรี และมีสิ่งอานวยความสะดวกทางการคาและธุรกิจ การยกระดับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม และกระตุนใหอาเซียนเปนจุดหมายปลายทางของการดึงดูดการลงทุน ยุทธศาสตรทั้งหมดนี้ ทําขึ้นเพ่ือสรางความไดเปรียบในการแขงขันและเสริมสรางความแข็งแกรงใหกับประเทศในกลุมอาเซียนอีกท้ั ง เพ่ือมุงใหอาเซียนเปนตลาดและฐานการผลิตเดียวรวมกันภายในในป พ.ศ. 2558 และเพ่ือใหบรรลุเปาหมายของการเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน สมาชิกตองเปดเสรีการคาบริการ และการลงทุนระหวางกันโดยในสวนของการคาบริการ มีเปาหมายสําคัญ คือ ตองอนุญาตนักลงทุนอาเซียนถือหุนในธุรกิจบริการไดถึงรอยละ 70 ดังนั้นระหวางนี้จนถึง AEC ในป พ.ศ. 2558 สมาชิกตองดําเนินการเปดเสรีโดยเจรจาอยางตอเนื่องเปนรอบรอบละ 2 ป ในแตละรอบตองจัดทําขอผูกพันการเปดเสรีการคาบริการ โดยตองเปดเสรีเพ่ิมข้ึนเปนลําดับ นอกจากการดําเนินการเปดเสรีดานการคาสินคาบริการและการลงทุนระหวางกันแลว ยังตองปฏิบัติตามกรอบความรวมมือตางๆ ที่มีอยูเดิมเชน การเรงลดภาษีสินคาระหวางกัน ใหเหลือรอยละ 0 ภายในป 2553 สําหรับสมาชิกเดิมและป 2558 สําหรับสมาชิกใหมภายใตกรอบอาฟตา การยกเลิกขอจํากัดการประกอบการดานการคาบริการในอาเซียนภายในป 2563 ภายใตกรอบความตกลงดานการคาบริการอาเซียน การเปดใหมีการลงทุนเสรีในอาเซียน และการใหการปฏิบัติเยี่ยงคนชาติเดียวกัน ตอนักลงทุนอาเซียนภายในป 2553 ภายใตเขตการลงทุนเสรีอาเซียนเปนตน อาเซียนไดตกลงท่ีจะทําการเปดเสรีดานการคาสินคาและการคาบริการใหเร็วขึ้นกวากําหนดการเดิมในสาขาสินคาและบริการสําคัญ 12 สาขา ซึ่งเปนไปตามแผนการดําเนินการ เพ่ือมุงไปสูการเปน AEC และไดมอบหมายใหประเทศตางๆ ทําหนาที่รับผิดชอบเปนผูประสานงานหลัก

(Country Coordinators) ประกอบดวย

1. ประเทศพมา รับผิดชอบสาขาผลิตภัณฑเกษตร (Agro-Based Products) และสาขาประมง (Fisheries)

2. ประเทศมาเลเซีย รับผิดชอบสาขาผลิตภัณฑยาง (Rubber-Based Products) และสาขาส่ิงทอ (Textiles and Apparels)

3. ประเทศอินโดนีเซีย รับผิดชอบสาขายานยนต (Automotives) และสาขาผลิตภัณฑไม(Wood-Based Products)

4. ประเทศฟลิปปนส รับผิดชอบสาขาอิเล็กทรอนิกส (Electronics)

5. ประเทศสิงคโปร รับผิดชอบสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ (e-ASEAN) และสาขาสุขภาพ

(Healthcare)

Page 25: บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎ ีและงานวิจัย ...it.nation.ac.th/studentresearch/files/55091392.pdf · 2015-12-02 · บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎ

31

6. ประเทศไทย รับผิดชอบสาขาการทองเที่ยว (Tourism) และสาขาการบิน (Air Travel)

7. ประเทศเวียดนาม รับผิดชอบสาขาโลจิสติกส

โดยปจจุบันการรวมตัว เปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เพ่ือเสริมสรางความสามารถในการแขงขันใหกับอาเซียน มีความสําคัญและเปนที่สนใจเปนอยางมาก

2.6 เอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวของ

ประเทศเมียนมารหรือพมาในปจจุบัน ไดเปนที่สนใจของนักลงทุนทั้งในและตางประเทศเปนอยางมาก ในฐานะเปนประเทศคล่ืนลูกใหมที่กําลังเติบโตทางเศรษฐกิจ อัตรารอยละ 5 ตอป และเปนประเทศท่ีนักลงทุนชาวไทยนิยมไปลงทุน เนื่องจากประชาชนชาวพมา ยังมีความตองการที่พัฒนาโครงสรางพ้ืนฐานทั้งระบบไฟฟา ประปา ประกอบกับทรัพยากรทางดานพลังงานท่ียังอุดมสมบูรณดึงดูดนักลงทุนจากทั่วโลก ทําใหมีการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการลงทุนในพมาในพมาเพ่ิมมากข้ึน สําหรับงานวิจัยเกี่ยวพมาในชวงแรกกอนป พ.ศ. 2550 งานวิจัยเกี่ยวกับประเทศพมา สวนใหญเปนงานวิจัยในเชิงชาติพันธุวัณณาและเกี่ยวกับแรงงานขามชาติ ที่เดินทางเขามาขายแรงงานในประเทศไทย ซึ่งสังคมไทยในชวงน้ันใหความสนใจอยางมาก แตภายหลังจากแนวคิดการตั้งกลุมประชาคมอาเซียน พมาไดรับความสนใจในฐานะประเทศหน่ึงที่นาลงทุน เพราะเปนประเทศที่มีชายแดนติดกับประเทศไทยมีประชากรมากกวา 60 ลานคน ที่ตองการสินคาอุปโภคบริโภค จํานวนมาก เนื่องจากพมาปดประเทศมานาน ระบบการผลิตสวนใหญตองพ่ึงพาประเทศเพ่ือนบาน การคาขายสวนใหญอยูตามแนวชายแดน เมื่อพมาเร่ิมจะเปดประเทศ ไมเพียงแตนักธุรกิจเทานั้นที่หลั่งไหลเขาไปแสวงหาโอกาสในการลงทุน แตนักวิชาการสวนใหญก็หลั่งไหลเขาไปศึกษาวิจัยในพมาดวยเชนเดียวกัน งานวิจัยในชวงหลังๆ จึงเร่ิมศึกษาถึงโครงสรางทางสังคมและปจจัยทางเศรษฐกิจการลงทุนในพมา งานวิจัยเรื่อง โครงการศึกษาวิจัยพ้ืนที่เศรษฐกิจเชิงลึกของประเทศ บนแนวเขตตะนาวศรี ฝงทะเลอันดามันประเทศพมา (2552) โดยสถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย“ การศึกษาศักยภาพดานเศรษฐกิจของพมา และศักยภาพของไทย ในการพัฒนาเศรษฐกิจทั้งดานการคาและการลงทุนอันสัมพันธกับประเทศพมา เนนบริเวณแนวตะเข็บชายแดนดานตะวันตกของไทย ตั้งแตจังหวัดแมฮองสอน ตาก กาญจนบุรี ราชบุรี เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ ชุมพร และระนอง ซึ่งติดกับเขตมณฑลตะนาวศรีของพมา โดยแบงการศึกษาออกเปน 2 สวน คือ การศึกษาจากเอกสารและการลงภาคสนาม โดยจะเปนการสัมภาษณบุคคลที่เกี่ยวของทั้งในภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชนที่อาศัยตามแนวชายแดนของพ้ืนที่ศึกษา นอกจากการสัมภาษณเชิงลึกแลว ยังรวมถึงการประชุมกับกลุมผูมีสวนเกี่ยวของเพ่ือรวบรวมประเด็นและขอมูลเกี่ยวกับการคาการลงทุนในพมาในสวนของประเทศไทย

Page 26: บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎ ีและงานวิจัย ...it.nation.ac.th/studentresearch/files/55091392.pdf · 2015-12-02 · บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎ

32

ไดลงพื้นที่ตามแนวเขตตะวันตกทั้ง 8 จังหวัด เพื่อศึกษาสภาพของพ้ืนที่ที่ทําการคาและเสนทางการคา พรอมทั้งสัมภาษณนักธุรกิจที่มีประสบการณในการทําการคาบริเวณชายแดนตลอดจนนักธุรกิจที่ขามไปลงทุนในพมา นอกจากน้ียังไดประสบการณในการทําการคาบริเวณชายแดน ตลอดจนนักธุรกิจที่ขามไปลงทุนในพมา นอกจากนี้ยังไดสัมภาษณเจาหนาที่ของรัฐที่ทํางานเก่ียวของกับการสนับสนุนการคาการลงทุนในพมาเปนรายจังหวัด พรอมทั้งไดประมวลขอมูล ขอคิดเห็นเกี่ยวกับศักยภาพของไทยมาวิเคราะหกอนจะกลับไปนําเสนอตอที่ประชุมของจังหวัดเพ่ือรับฟงความคิดเห็น ขอทวงติงและขอแนะนํา ในสวนของประเทศพมาไดทําการศึกษาพ้ืนท่ีในมณฑลตะนาวศรีที่จังหวัดทวาย จังหวัดมะริด จังหวัดเกาะสองและพ้ืนที่ในจังหวัดเมียวดี รัฐกะเหรี่ยง นอกจากน้ียังไดรวมประชุมกับเจาหนาที่ไทยประจํายางกุงเพ่ือขอรับฟงขอมูลและขอเสนอแนะ ขอคนพบจากงานวิจัยพบวา พมาเปนประเทศท่ีมีศักยภาพทางเศรษฐกิจสูง เนื่องจากพมามีทรัพยากรธรรมชาติมากมายที่รอการพัฒนา โดยเฉพาะในเขตพ้ืนที่ตามแนวเขตตะนาวศรี ฝงทะเลอันดามัน ซึ่งเปนพ้ืนที่ที่มีศักยภาพ ดานเศรษฐกิจสูงมาก ครอบคลุมตั้งแตดานการเกษตร การประมง เหมืองแร น้ํามันและกาซธรรมชาติ ตลอดจนการทองเท่ียว อีกทั้งยังเปนตลาดสําคัญของสินคาไทย นอกจากน้ียังพบวารัฐบาลพมามีแผนในการพัฒนาเศรษฐกิจในบริเวณแนวเขตตะนาวศรีใหเปนเขตอุตสาหกรรมดานประมงและน้ํามันพลังงานทดแทน และศูนยกลางการคาทางทะเลท่ีสําคัญในอนาคต

เน่ืองจากพ้ืนที่ตามแนวเขตตะนาวศรีนี้ มีความใกลชิดกับจังหวัดตามแนวเขตตะวันตกของไทยทั้ง 8 จังหวัด เปนอยางยิ่งทางดานกายภาพ ซึ่งเปนพ้ืนท่ีที่มีพรมแดนติดตอกัน ตลอดจนความใกลชิดเชิงเศรษฐกิจที่มีการคาการลงทุนระหวางนักธุรกิจของสองประเทศ ในบริเวณชายแดนมาเปนเวลานาน กอใหเกิดความคุนเคยของนักธุรกิจทั้งสองฝงฟาก ในสวนของภาคประชาชนตามแนวเขตตะนาวศรีพบวามากกวารอยละ 50 เคยเดินทางมาทํางานและเย่ียมเยือนประเทศไทย ปจจัยเหลานี้เปนตนทุนสําคัญ ที่ทําใหไทยมีโอกาสอันดีที่จะเขาไปเปนหุนสวนสําคัญของพมา ในการพัฒนาพ้ืนที่ตามแนวเขตตะนาวศรี ซึ่งเปนพ้ืนที่ที่มีศักยภาพและโอกาสสูงอยางไรก็ตาม แมวาจะเห็นโอกาสในพมาอยางชัดเจน หากแตทั้งไทยและพมาก็ยังมีขอจํากัดอยูบางประการในการท่ีจะขยายความรวมมือทางดานการคาและการลงทุน อาทิ นโยบายท่ีไมชัดเจนของไทย ความไมแนนอนของรัฐบาลพมา สงผลใหเสนทางคมนาคมท่ีจะเชื่อมพ้ืนที่สองฝงเขาดวยกัน ยังไมไดรับการพัฒนาใหเต็มศักยภาพ ดังนั้น งานวิจัยนี้จึงไดขยายเสนทางคมนาคมเชื่อมตอกับพมา การเชื่อมโยงพ้ืนที่ของสองประเทศเขาดวยกัน ตลอดจนการเขาไปลงทุนในพ้ืนที่เขตนิคมอุตสาหกรรมที่รัฐบาลพมาใหการสงเสริม

งานวิจัยเร่ือง “อุปสรรคดานกฎระเบียบในการคาผานชายแดนไทย-พมา/ลาว-จีน ตอนใต (2550) ซึ่งไดรับทุนสนับสนนุจาก สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) โดยมีวัตถุประสงค เพ่ือศึกษาและพยากรณปริมาณการขยายตัวการคาชายแดนไทยพมา และสินคาผานแดนระหวางประเทศไทย และจีนตอนใต เพ่ือที่จะรวบรวม ประเมิน และนําเสนอแนวทางในการพัฒนาโครงสรางพ้ืนฐาน

Page 27: บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎ ีและงานวิจัย ...it.nation.ac.th/studentresearch/files/55091392.pdf · 2015-12-02 · บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎ

33

ของระบบโลจิสติกส วิธีการศึกษาวิจัยประกอบดวย การเดินทางสํารวจเสนทางการขนสงสินคาผานแมน้ําโขง และทางถนนตามเสน R3W (ผานพมา) และ R3E (ผานลาว) เขาสายยูนานตอนใตและการสัมภาษณผูประกอบการท่ีเกี่ยวของดานโลจิสติกสการขนสินคาไทย ลาวพมา และจีนตลอดจนผูท่ีเกี่ยวของกับการออกกฎระเบียบและใชระเบียบทั้งภาครัฐ และเอกชนของทุกประเทศ เพ่ือเสนอแนวทางการพัฒนาระบบโลจิสติกส แบบองครวม เพ่ือตอบสนองการคาชายแดน/ผานแดนในอนาคต ตลอดจนหาแนวทางการพัฒนาการสง-ออก-นําเขาและดานโลจิสติกสของไทย

ผลการศึกษาสรุปไดวา ยังมีความหลากหลายในมุมมองดานมาตรการและ กฎระเบียบที่เกี่ยวของในการคาไทย-จีนอยูมากพอสมควร แตสวนใหญเห็นวาจีน ยังไมพัฒนาไปสูความเปนสากลในดานกฎระเบียบและมาตรการตางๆ ทั้งๆท่ีเขาเปน สมาชิกองคการการคาโลกและทํา FTA กับไทยแลว เนื่องจากยังมีกฎระเบียบของแตละมณฑลหรือทองถิ่น ที่มีลักษณะกีดกันทางการคาที่ไมใชมาตรการทางภาษีในดานการพัฒนาโครงขายการขนสงในกรอบ GMS North-South Corridor นั้นการขนสงสินคาทางเสนทาง R3E ผานประเทศลาวไปยังคุนหมิง ซึ่งการกอสรางคาดวาจะแลวเสร็จในป 2551 นั้น เสนทางน้ีจะสงผลตอการขยายตัวของเศรษฐกิจ การคา ชายแดนและการคาผานแดนเสนทางหน่ึงนอกเหนือจากการขนสงทางน้ําเพราะ เสนทาง R3E ใชระยะเวลาการขนสงสั้นกวาการขนสงทางเรือ อีกทั้งเง่ือนไขใน การขนสงผานประเทศลาวยังยืดหยุนกวาเสนทาง R3W ในประเทศพมาแตปจจัยความสําเร็จของการขนสงทางบกผานประเทศลาวน้ัน ขึ้นอยูกับภาวะราคาน้ํามัน ในตลาดโลก แตถานํ้ามันมีราคาตํ่าหรือสามารถพัฒนาพลังงานทดแทนนํ้ามันที่มีราคาตํ่าลงได ตลอดจนมีการจัดทําขอตกลงระหวางประเทศดานการขนสงและพิธีการศุลกากร ควบคูกันไปดวยจะทําใหผูประกอบการหัน มาใชเสนผานลาวมากข้ึน

งานวิจัยเร่ือง “เศรษฐกิจ การคา การลงทุนในประเทศพมา” (2556) สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย หนึ่งในงานศึกษาท่ีมองพมาในทุกมิติกอนที่จะนําไปสูการเปดประเทศพมาในยุคปจจุบัน มุมมองผานการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม ของประเทศพมาไดชี้ใหเห็นทั้งจุดออนจุดแข็ง และโอกาสในการฟนตัวของประเทศพมาในการแขงขันบนเวทีเศรษฐกิจปจจุบัน ซึ่งเปนแผนท่ีสําคัญของผูที่เริ่มจะเขาใจพมาและเปนคูมือท่ีจะนําไปสูการตัดสินใจการลงทุนในประเทศพมา เขตโสภณ บุญสนอง (2550) ศึกษาเรื่อง “การคาระหวางไทย – เวียดนาม” เปนการวิจัยความสัมพันธทางเศรษฐกิจระหวางไทย และ เวียดนาม ซึ่งเนนศึกษาถึงโครงสราง เศรษฐกิจประเทศไทย และเวียดนาม แนวโนมและทิศทางการสงออก นโยบายและมาตรการของภาครัฐที่มีตอการคาระหวางประเทศไทย และเวียดนาม รวมถึงกฎระเบียบเง่ือนไข และขอตกลงทางการคาของประเทศที่ผลตอการคาระหวางประเทศไทย และเวียดนาม

Page 28: บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎ ีและงานวิจัย ...it.nation.ac.th/studentresearch/files/55091392.pdf · 2015-12-02 · บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎ

34

2.7 กรอบแนวคิด

การศึกษานี้มุงศึกษา การศึกษาโอกาสการคาตางประเทศในบริบทการคาระหวางประเทศไทยกับพมาของธนาคารไทย โดยศึกษาจากปจจัยที่คาดวาจะสงผลตอธนาคารพาณิชยไทย และวิเคราะหจุดออน จุดแข็ง ปญหาอุปสรรค และโอกาส จากปจจัยดังตอไปน้ี

ภาพที่ 2.3 กรอบแนวคิด

ที่มา : สังเคราะหจากการวิจัย, 2557

ปจจัยภายในประเทศพมา - เศรษฐกิจ

- สังคม

- การเมือง

ความสัมพันธประเทศไทย – AEC

- ขอมูลเกี่ยวกับ AEC

- ความสัมพันธประเทศไทย – พมา

โอกาสการคาตางประเทศในบริบท

การคาระหวางประเทศ ไทยกับพมาของธนาคารไทย

ความพรอมของธนาคารไทย

- นโยบายของธนาคารกรุงเทพ จํากัด