บทที่ 4 ผลการวิจัย · 2017. 12. 12. · บทที่ 4 ... 4...

34
บทที4 ผลการวิจัย จากการศึกษาปัจจัยในการสร้างความเข้มแข็งให้กับครอบครัวไทยในเขตชานเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ได้ศึกษาข้อมูลของครอบครัวที่ประสบผลสาเร็จโดยการขอข้อมูลจากองค์การ บริหารส่วนตาบลของอาเภอในเขตชานเมืองจังหวัดเชียงใหม่ จานวน 6 อาเภอคือ อาเภอแม่ริม อาเภอสันทราย อาเภอดอยสะเก็ด อาเภอสันกาแพง อาเภอสารภี และอาเภอหางดง ผลการศึกษา ถึงลักษณะของครอบครัวที่ประสบผลสาเร็จและปัจจัยที่ส ่งผลให้ครอบครัวประสบผลสาเร็จ ดังกล่าว มีข้อมูลดังนี ตอนที1 สภาพทั่วไปของครอบครัวตัวอย ่างที่ประสบผลสาเร็จ ตารางที่ 1 แสดงจานวนผู้ตอบแบบสอบถามที่เป็นครอบครัวตัวอย ่างและครอบครัวประสบ ผลสาเร็จ จาแนกตามอาเภอเขตชานเมือง ทีอาเภอ จานวน ร้อยละ หมายเหตุ 1 ดอยสะเก็ด 21 22.6 2 แม ่ริม 12 12.9 3 สันกาแพง 14 15.1 4 สันทราย 16 17.2 5 สารภี 18 19.4 6 หางดง 9 9.7 7 ไม่ระบุ 3 3.2 รวม 93 100 จากตารางแสดงถึงผู้ให้ข้อมูลส่วนใหญ่มาจากอาเภอดอยสะเก็ดจานวน 21 ครอบครัว คิดเป็นร้อยละ 22.6 สารภีจานวน 18 ครอบครัวคิดเป็นร้อยละ 19.4 สันทรายจานวน 16 ครอบครัวคิดเป็นร้อยละ 17.2 ตามลาดับ แสดงว่าผู้นาท้องที่และชุมชนได้ให้ความสนใจเรื่อง ปัญหาครอบครัวและลักษณะของครอบครัว เมื่อเทียบกับอาเภอสันกาแพง แม ่ริ ม และหางดง ที่ให้ข้อมูลมาน้อยกว ่า

Upload: others

Post on 03-Oct-2020

2 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: บทที่ 4 ผลการวิจัย · 2017. 12. 12. · บทที่ 4 ... 4 สันทราย 16 17.2 5 สารภี 18 19.4 6 หางดง 9 9.7 7 ไม่ระบุ

บทที่ 4 ผลการวิจัย จากการศึกษาปัจจัยในการสร้างความเข้มแข็งให้กบัครอบครัวไทยในเขตชานเมือง จงัหวดัเชียงใหม ่ ไดศึ้กษาขอ้มูลของครอบครัวท่ีประสบผลส าเ ร็จโดยการขอข้อมูลจากองค์การบริหารสว่นต าบลของอ าเภอในเขตชานเมอืงจงัหวดัเชียงใหม ่ จ านวน 6 อ าเภอคือ อ าเภอ แมริ่ม อ าเภอสันทราย อ าเภอดอยสะเกด็ อ าเภอสันก าแพง อ าเภอสารภี และอ าเภอหางดง ผลการศึกษาถึงลักษณะของครอบครัวท่ีประสบผลส าเ ร็จและปัจจัยท่ีส่งผลให้ครอบครัวประสบผลส าเ ร็จ ดงักลา่ว มขีอ้มลูดงัน้ี ตอนที ่ 1 สภาพทัว่ไปของครอบครัวตัวอย่างทีป่ระสบผลส าเร็จ

ตารางที่ 1 แสดงจ านวนผู้ตอบแบบสอบถามท่ีเ ป็นครอบครัวตัวอยา่งและครอบครัวประสบผลส าเร็จ จ าแนกตามอ าเภอเขตชานเมอืง

ที ่ อ าเภอ จ านวน ร้อยละ หมายเหตุ 1 ดอยสะเกด็ 21 22.6 2 แมริ่ม 12 12.9 3 สันก าแพง 14 15.1 4 สันทราย 16 17.2 5 สารภี 18 19.4 6 หางดง 9 9.7 7 ไมร่ะบุ 3 3.2

รวม 93 100

จากตารางแสดงถึงผูใ้ห้ขอ้มลูสว่นใหญม่าจากอ าเภอดอยสะเก็ดจ านวน 21 ครอบครัวคิดเป็นร้อยละ 22.6 สารภีจ านวน 18 ครอบครัวคิดเป็นร้อยละ 19.4 สันทรายจ านวน 16 ครอบครัวคิดเป็นร้อยละ 17.2 ตามล าดับ แสดงวา่ผู ้น าท้องท่ีและช ุมชนได้ให้ความสนใจเ ร่ืองปัญหาครอบครัวและลกัษณะของครอบครัว เมื่อเ ทียบกบัอ าเภอสันก าแพง แมริ่ม และหางดง ท่ีให้ขอ้มลูมาน้อยกวา่

Page 2: บทที่ 4 ผลการวิจัย · 2017. 12. 12. · บทที่ 4 ... 4 สันทราย 16 17.2 5 สารภี 18 19.4 6 หางดง 9 9.7 7 ไม่ระบุ

60

ตารางที ่2 แสดงระดบัการศึกษาของครอบครัวตวัอยา่งและครอบครัวประสบผลส าเร็จ

ที ่ ระดับการศึกษา จ านวน ร้อยละ หมายเหตุ 1 ประถมศึกษา 49 52.7 2 มธัยมตน้ 4 4.3 3 มธัยมปลายและประกาศนียบัตรวชิาชีพ (ปวช.) 7 7.5 4 อนุปริญญาและประกาศนียบตัรวชิาชีพช ั้นสูง (ปวส.) 6 6.5 5 ปริญญาตรี 17 18.3 6 สูงกวา่ปริญญาตรี 4 4.3 7 ไมร่ะบุ 6 6.5

รวม 93 100

จากตารางแสดงวา่ครอบครัวตัวอยา่งและครอบครัวประสบผลส าเ ร็จส่วนใหญส่ าเ ร็จการศึกษาในระดบัประถมศึกษาถึง 49 ครอบครัว คิดเป็นร้อยละ 52.7 ซ่ึงสอดคล้องกบัลักษณะของประชากรสว่นใหญข่องจงัหวดัเชียงใหม ่ และครอบครัวท่ีประสบผลส าเ ร็จท่ีมีจ านวนเพิ่มข้ึนจะเป็นครอบครัวท่ีส าเร็จการศึกษาในระดบัปริญญาตรีจ านวน 17 ครอบครัว คิดเ ป็นร้อยละ 18.3 ซ่ึงเป็นลกัษณะของครอบครัวสมยัใหมท่ี่ไดรั้บการศึกษาเพิ่มข้ึนและเป็นแนวทางการพัฒนาใหม ่ของครอบครัว ท่ีประสบผลส าเร็จในอนาคตจะมรีะดบัการศึกษาในระดับปริญญาตรีเป็นส่วนใหญ ่

Page 3: บทที่ 4 ผลการวิจัย · 2017. 12. 12. · บทที่ 4 ... 4 สันทราย 16 17.2 5 สารภี 18 19.4 6 หางดง 9 9.7 7 ไม่ระบุ

61

ตารางที ่3 แสดงอาชีพของครอบครัวตัวอยา่งและครอบครัวประสบผลส าเร็จ

ที ่ อาชีพ จ านวน ร้อยละ หมายเหตุ 1 เกษตรกรรรม (ท าไร,่ ท านา,ท าสวน) 26 28.0 2 รับจา้ง 25 26.9 3 ขา้ราชการหรือพนักงานรัฐวสิาหกจิ 21 22.6 4 คา้ขาย 6 6.5 5 แมบ่า้น 2 2.2 6 อ่ืน ๆ 4 4.3 7 ไมร่ะบุ 6 6.5

รวม 93 100

จากตาราง ครอบครัวตัวอยา่งและครอบครัวท่ีประสบผลส า เ ร็จมาจากครอบครัว ท่ีประกอบอาชีพเกษตรกรรม จ านวน 26 ครอบครัวคิดเป็นร้อยละ 28 รับจ้าง จ านวน 25 ครอบครัวคิดเป็นร้อยละ 26.9 และรับราชการหรือพนักงานรัฐวิสาหกิจจ านวน 21 ครอบครัวคิดเป็นร้อยละ 22.6 ตามล าดบัซ่ึงสอดคลอ้งกบัลกัษณะของประชากรของเมืองเชียงใหมท่ี่ประกอบอาชีพสว่นใหญเ่ป็นเกษตรกรและรับจา้ง

Page 4: บทที่ 4 ผลการวิจัย · 2017. 12. 12. · บทที่ 4 ... 4 สันทราย 16 17.2 5 สารภี 18 19.4 6 หางดง 9 9.7 7 ไม่ระบุ

62

ตารางที ่4 แสดงรายไดข้องครอบครัวตัวอยา่งและครอบครัวประสบผลส าเร็จ

ที ่ ระดับรายได้ต่อเดือน จ านวน ร้อยละ หมายเหตุ 1 ต ่ากวา่ 5,000 16 17.2 2 5,000-10,000 32 34.4 3 10,001-15,000 12 12.9 4 15,001-20,000 5 5.4 5 20,001-25,000 4 4.3 6 25,001 ข้ึนไป 2 2.2 7 ไมร่ะบุ 22 23.7

รวม 93 100

จากตารางแสดงให้เห็นวา่ครอบครัวตัวอยา่งและครอบครัวท่ีประสบผลส าเ ร็จมีระดับรายไดอ้ยูใ่นชว่ง 5,000-10,000 บาทตอ่เ ดือนจ านวน 32 ครอบครัวคิดเป็นร้อยละ 34.4 และรองลงมามรีายไดต้ ่ากวา่ 5,000 บาทตอ่เ ดือนจ านวน 16 ครอบครัวคิดเป็นร้อยละ 17.2 ส่วน ท่ีเหลือมรีายไดสู้งกวา่ 10,000 บาทตอ่เดือน ซ่ึงสอดคล้องกบัสภาพทางเศรษฐกิจของสังคมไทยหรือจงัหวดัเชียงใหม ่ ตารางที ่5 แสดงลกัษณะของครอบครัวตวัอยา่งและครอบครัวประสบผลส าเร็จ

ที ่ ลักษณะของครอบครัว จ านวน ร้อยละ หมายเหตุ

1 อยูด่ว้ยกนั 85 91.4 2 แยกกนัอยู ่ 2 2.2 3 หยา่ร้าง/มา่ย 3 3.2 4 ไมร่ะบุ 3 3.2

รวม 93 100

จากตารางแสดงวา่ครอบครัวตวัอยา่งและครอบครัวประสบผลส าเ ร็จนั้ น เ ป็นครอบครัวท่ีอยูด่้วยกนัทั้งสามี/ภรรยาจ านวน 83 ครอบครัวคิดเป็นร้อยละ 91.4 มีจ านวนน้อยท่ีเ ป็นครอบครัวท่ีแยกกนัอยูห่รือหยา่ร้างและประสบผลส าเร็จ ซ่ึงสอดคล้องกบัสภาพจริงของครอบครัวของคนไทยและจงัหวดัเชียงใหม ่

Page 5: บทที่ 4 ผลการวิจัย · 2017. 12. 12. · บทที่ 4 ... 4 สันทราย 16 17.2 5 สารภี 18 19.4 6 หางดง 9 9.7 7 ไม่ระบุ

63

ตารางที ่6 แสดงจ านวนบุตรของครอบครัวตวัอยา่งและประสบผลส าเร็จ

ที ่ จ านวนบุตร จ านวน ร้อยละ หมายเหตุ 1 1 คน 19 20.4 2 2 คน 38 40.9 3 3 คน 15 16.1 4 4 คน 5 5.4 5 5 คน 3 3.2 6 6 คน 2 2.2 7 7 คน 2 2.2 ไมร่ะบุ 9 9.7

รวม 93 100

จากตารางแสดงวา่ครอบครัวตวัอยา่งและครอบครัวประสบผลส าเ ร็จจะมีจ านวนบุตร 2 คน จ านวน 38 ครอบครัวคิดเป็นร้อยละ 40.9 จ านวนบุตร 1 คน 19 ครอบครัวคิดเป็นร้อยละ 20.4 และจ านวนบุตร 3 คน 15 ครอบครัวคิดเป็นร้อยละ 16.1 แสดงให้เ ห็นวา่ครอบครัวท่ีประสบผลส าเร็จจะมจี านวนบุตรอยูใ่นระหวา่ง 1-3 คนเป็นส่วนใหญ ่ ซ่ึงสอดคล้องกบันโยบายของรัฐบาลในเร่ืองการควบคมุจ านวนประชากรในการมีบุตร ให้มบุีตรได ้ 2 ไมเ่กนิ 3 คน

Page 6: บทที่ 4 ผลการวิจัย · 2017. 12. 12. · บทที่ 4 ... 4 สันทราย 16 17.2 5 สารภี 18 19.4 6 หางดง 9 9.7 7 ไม่ระบุ

64

ตารางที ่7 แสดงจ านวนบุตรชาย หญิง ของครอบครัวตวัอยา่งและครอบครัวประสบผลส าเร็จ

ที ่ จ านวนบุตร บุตรชาย บุตรชาย หมายเหตุ

จ านวน จ านวน ร้อยละ ร้อยละ 1 จ านวน 1 คน 34 36.6 29 31.2 2 จ านวน 2 คน 18 19.4 24 25.8 3 จ านวน 3 คน 4 4.3 6 6.5 4 จ านวน 4 คน 4 4.3 2 2.2

รวม 60 100 61 100

จากตารางแสดงจ านวนบุตรชาย,หญิงของครอบครัวตัวอยา่งและประสบผลส าเ ร็จ สว่นใหญจ่ะมบุีตรชายจ านวน 1 คนม ี 34 ครอบครัวคิดเป็นร้อยละ 36.6 และบุตรหญิงจ านวน 1 คนม ี 29 ครอบครัวคิดเป็นร้อยละ 31.2 แตอ่ยา่งไรก็ตามจ านวนบุตรชายหรือบุตรหญิงก็ไมม่ีสว่นในการสร้างความส าเร็จของครอบครัวแตป่ระการใด

Page 7: บทที่ 4 ผลการวิจัย · 2017. 12. 12. · บทที่ 4 ... 4 สันทราย 16 17.2 5 สารภี 18 19.4 6 หางดง 9 9.7 7 ไม่ระบุ

65

สภาพทัว่ไปของครอบครัวตวัอยา่งและครอบครัวประสบผลส าเ ร็จท่ีอยูใ่นเขตชานเมืองเชียงใหมม่ลีกัษณะสอดคลอ้งกบัลกัษณะของครอบครัวไทยหรือลักษณะของครอบครัวของคนไทยท่ีอาศยัในเขตชานเมอืงดงัน้ี

1. ลักษณะครอบครัวเป็นขนาดเล็กท่ีใช ้ชีวิตอยูร่ ่วมกนั ส าหรับสามี-ภรรยา และมีจ านวนบุตร 1-3 คน ซ่ึงมบุีตรไมม่ากเกินฐานะของตนเอง และเป็นครอบครัวเด่ียวซ่ึงสอดคลอ้งกบัลกัษณะครอบครัวไทยในปัจจุบนั

2. ฐานะทางเศรษฐกิจของครอบครัว มีทุนทางเศรษฐกิจอยูใ่นระดับปานกลาง ท่ีสามารถเล้ียงตนเองและสมาชิกในครอบครัวให้มีความสุขตามอัตภาพ ไมย่ากจนเกนิไป ท่ีไมส่ามารถดูแลสมาชิกของครอบครัวให้มีความสุข และไมร่ ่ ารวยจนเกินไปท าให้มีการใช ้จา่ยฟุ่ มเ ฟือยท่ีจะท าตามใจตนเองและสมาชิกของครอบครัว

3. การประกอบอาชีพ ครอบครัวท่ีเ ป็นตัวอยา่งและประสบผลส าเ ร็จ ส่วนใหญ ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม, รับจา้ง และรับราชการหรือพนักงานรัฐวสิาหกจิ

4. ระดับการศึกษาของครอบครัว ตัวอย ่าง และครอบครัวท่ีประสบผลส า เ ร็ จ โดยทัว่ไปจะส าเร็จการศึกษาในระดับประถมศึกษาและในครอบครัวท่ีประสบผลส าเร็จ บางส่วนก็จะส าเ ร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรี อาจกลา่วได้วา่ ครอบครัวโดยทั่วไปท่ีประสบความส าเ ร็ จจะ มีระ ดับการศึกษาใ นระ ดับประถมศึกษา สว่นครอบครัวท่ีจบปริญญามโีอกาสประสบผลส าเร็จมากข้ึน

Page 8: บทที่ 4 ผลการวิจัย · 2017. 12. 12. · บทที่ 4 ... 4 สันทราย 16 17.2 5 สารภี 18 19.4 6 หางดง 9 9.7 7 ไม่ระบุ

66

ตอนที ่ 2 ความสัมพนัธ์ระหว่างระดับการศึกษากับปัจจัยในการสร้างความส าเร็จของครอบครัว

ตารางที ่8 แสดงความสัมพนัธ์ระหวา่งระดบัการศึกษากบัลกัษณะของครอบครัวตัวอยา่ง

ครอบครัวตัวอย่าง

ระดับการศึกษา

พ่อตัวอย่าง แม่ตัวอย่าง ลูกผู้ประสบ

ผลส าเร็จ หมายเหตุ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ

ประถมศึกษา 10 50.0 17 63.0 30 66.6 มธัยมศึกษาตอนตน้ - - 1 3.7 1 2.2 มธัยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. 2 10.0 4 14.8 4 8.9 อนุปริญญา/ปวส. - - - - - - ปริญญาตรี 5 25.0 3 11.1 7 15.6 สูงกวา่ปริญญาตรี 3 15.0 2 7.4 3 6.7

รวม 20 100 27 100 45 100 2

0.077 0.208 0.04

จากตาราง แสดงให้เ ห็น วา่ความสัมพันธ์ระหวา่งระ ดับการศึกษามีความสัมพัน ธ์ กบัความส าเร็จของครอบครัวในลักษณะท่ีเ ป็นครอบครัว พอ่ตัวอยา่ง จ านวน 20 ครอบครัว แม ่ตวัอยา่งจ านวน 27 ครอบครัว และลูกประสบความส าเ ร็จจ านวน 47 ครอบครัว พบวา่ระดับการศึกษาของครอบครัวตัวอยา่ง อยูใ่นระดับประถมศึกษาเป็นส่วนใหญ ่ โดยครอบครัวท่ีลูกประสบผลส าเร็จหัวหน้าครอบครัวส าเร็จการศึกษาในระดบัประถมศึกษา ถึง 30 ครอบครัวคิดเป็นร้อยละ 66.6 ส่วนครอบครัว ท่ีเ ป็นแมต่ัวอยา่ง และพอ่ตัวอยา่ งมีระดับการ ศึกษาใน ระดับประถมศึกษา โดยแมต่ัวอยา่ง มีจ าน วน 1 7 ครอบครัวคิดเป็นร้อยละ 63 พอ่ตัวอยา่ ง 1 0 ครอบครัวคิดเป็นร้อยละ 50 เมือ่ศึกษาความสัมพันธ์ระหวา่งระดับการศึกษากบัการเป็นครอบครัวตัวอยา่งพบวา่ การเป็นพอ่ตวัอยา่งและแมต่วัอยา่งไมม่ีนัยส าคัญกบัระดับการศึกษา มีคา่ 2

= 0.77 และ0.208 ตามล าดบั สว่นลูกประสบผลส าเร็จมนีัยส าคญักบัระดับการศึกษาโดยมีคา่ 2

= 0.04 จากข้อมูลดงักลา่วอาจกลา่วได้วา่ การศึกษาจะมคีวามสัมพนัธ์ระหวา่งระดบัการศึกษากบัความส าเ ร็จของลูกในครอบครัว ถา้ลูกไดรั้บการศึกษาสูงยอ่มมีโอกาสประสบผลส าเ ร็จ และเป็นท่ียอมรับของช ุมชนท้องถ่ินนั้ น ดงันั้นพอ่แมค่วรสง่เสริมการศึกษาให้กบับุตรของตนเองให้ได้รับการศึกษาในระดับท่ีสูง ข้ึน ก็จะประสบผลส าเร็จในชีวติ ไดดี้กวา่ผูท่ี้มรีะดบัการศึกษาต ่า

Page 9: บทที่ 4 ผลการวิจัย · 2017. 12. 12. · บทที่ 4 ... 4 สันทราย 16 17.2 5 สารภี 18 19.4 6 หางดง 9 9.7 7 ไม่ระบุ

67

ตารางที ่9 แสดงความสัมพนัธ์ระหวา่งระดบัการศึกษากบัลกัษณะของครอบครัวท่ีอบอุน่

ครอบครัวทีอ่บอุ่น

ระดับการศึกษา

มีความรัก มีความสามัคคี มีความช่วยเหลือ

เกื้อกูล หมายเหตุ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ

ประถมศึกษา 38 56.7 31 59.6 35 63.7 มธัยมศึกษาตอนตน้ 3 4.5 2 3.8 2 3.6 มธัยมศึกษาตอนปลาย/ปวช 7 10.4 6 11.5 5 9.1 อนุปริญญา/ปวส 3 4.5 1 1.9 1 1.8 ปริญญาตรี 14 20.9 10 19.2 10 18.2 สูงกวา่ปริญญาตรี 2 3.0 2 3.8 2 3.6

รวม 67 100 52 100 55 100 2

0.089 0.137 0.157

จากตารา งแสดงความสัมพันธ์ ระหวา่ง ระดับการ ศึกษากบัลักษณะของครอบครัว มคีวามรัก มคีวามสามคัคี และมกีารชว่ยเหลือเกื้อกูลกนัในครอบครัว ครอบครัวอบอุน่มีความรัก 67 ครอบครัว ครอบครัวท่ีชว่ยเหลือเกือ้กูลกนั 55 ครอบครัว และครอบครัวมีความสามคัคี 52 ครอบครัว พบวา่ครอบครัวท่ีมรีะดบัการศึกษาในระดับประถมศึกษา มีจ านวนของครอบครัวท่ีมีความรัก ความสามัคคี และการชว่ยเหลือเกื้อกูลกนั จ านวนมาก โดยมีความรัก จ านวน 3 8 ครอบครัวคิดเป็นร้อยละ 56.7 มีความสามคัคี 31 ครอบครัวคิดเป็นร้อยละ 59.6 และมีการชว่ยเหลือเกือ้กลูกนัจ านวน 35 ครอบครัวคิดเป็นร้อยละ 63.7

เมือ่น าขอ้มลูทั้งหมดไปวเิคราะห์เพื่อหาความสัมพันธ์ท่ีเ ป็นนัยส าคัญทางสถิติโดยใช ้ คา่ 2

ไมพ่บความสัมพนัธ์ท่ีมนีัยส าคญัทางสถิติ แสดงวา่ระดับการศึกษาไมม่ีผลตอ่ความอบอุน่ของครอบครัวในดา้นความรัก ความสามคัคี และการชว่ยเหลือเกือ้กลูกนั

Page 10: บทที่ 4 ผลการวิจัย · 2017. 12. 12. · บทที่ 4 ... 4 สันทราย 16 17.2 5 สารภี 18 19.4 6 หางดง 9 9.7 7 ไม่ระบุ

68

ตารางที ่10 แสดงความสัมพนัธ์ระหวา่งระดบัการศึกษากบัลกัษณะครอบครัวชว่ยเหลือสังคม

การช่วยเหลือสังคม

ระดับการศึกษา

การบริจาคทีด่ิน การบริจาคเงินและทรัพย์สิน

การช่วยเหลือสังคมทัว่ไป

การช่วยเหลือสังคม(ด้วยวิธีอ่ืน) หมาย

เหตุ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ

ประถมศึกษา 3 75.0 8 53.3 37 66.0 7 63.6 มธัยมศึกษาตอนตน้ - - - - 2 3.6 1 9.1 มธัยมศึกษาตอนปลาย/ปวช - - 4 26.7 5 8.9 1 9.1 อนุปริญญา/ปวส - - - - 1 1.8 - - ปริญญาตรี - - 1 6.7 9 16.1 1 9.1 สูงกวา่ปริญญาตรี 1 25.0 2 13.3 2 3.6 1 9.1

รวม 4 100 15 100 56 100 11 100 2

0.393 0.015 0.101 0.666

จากตารา งแสดงความสัมพันธ์ ระหวา่ง ระดับการ ศึกษากบัลักษณะของครอบครัวชว่ยเหลือสังคม พบวา่ครอบครัวท่ีประสบผลส าเ ร็จนั้ นส่วนใหญใ่ห้การชว่ยเหลือสังคมทั่วๆไป จ านวนมากถึง 56 ครอบครัว โดยเป็นผูช้ว่ยการศึกษาในระดบัประถมศึกษา จ านวน 37 ครอบครัว คิดเป็น ร้อยละ 66.0 สว่นการชว่ยเหลือสังคมในด้านอ่ืนๆ มีจ านวนไมม่ากนักเ ป็นการบริจาคท่ีดินมเีพียง 4 ครอบครัว บริจาคเป็นเงินและทรัพย์สิน 15 ครอบครัว ชว่ยเหลือคนโดยวิธีอ่ืนๆ 11 ครอบครัว

เมือ่ศึกษาข้อมูลท่ีแสดงถึงความสัมพันธ์ของระดับการศึกษากบัการบริจาคเ งินและทรัพย์สิน มีความสัมพันธ์ในระดับท่ีสู ง โดยมีคา่ 2

= 0.015 ดังนั้ นอาจกลา่วได้วา่ระดับการศึกษามีความสัมพันธ์กบัการชว่ยเหลือสังคมในด้านการบริจาคเ งินและทรัพย์สินอยา่ง มีนัยส าคญัทางสถิติแสดงวา่ครอบครัวท่ีมรีะดบัการศึกษามากตั้งแตร่ะดับประถมศึกษาจนถึงระดับการศึกษากวา่ปริญญามีสว่นในการบริจาคเงินและทรัพย์สิน

Page 11: บทที่ 4 ผลการวิจัย · 2017. 12. 12. · บทที่ 4 ... 4 สันทราย 16 17.2 5 สารภี 18 19.4 6 หางดง 9 9.7 7 ไม่ระบุ

69

ตารางที ่11 แสดงความสัมพนัธ์ระหวา่งระดบัการศึกษากบัลกัษณะของครอบครัวท่ีประสบผลส าเร็จ

ลักษณะครอบครัวที่ประสบ ผลส าเร็จ

ระดับการศึกษา

ด้านเศรษฐกิจ ด้านการศึกษา การท างาน แบบอย่างทีด่ี เป็นทีย่อมรับ อืน่ๆ หมายเหตุ

จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ

ประถมศึกษา 13 54.2 20 55.6 18 50.0 31 67.3 21 52.5 3 50.0 มธัยมศึกษาตอนตน้ - - 1 2.8 1 2.8 1 2.2 1 2.5 4 25.0 มธัยมศึกษาตอนปลาย/ปวช 2 8.3 4 11.1 4 11.1 4 8.7 4 10.0 - - อนุปริญญา/ปวส 1 4.2 1 2.8 2 5.6 - - 3 7.5 - - ปริญญาตรี 5 20.8 7 19.4 8 22.2 7 15.2 8 20.0 1 25.0 สูงกวา่ปริญญาตรี 3 12.5 3 8.3 3 8.3 3 6.5 3 7.5 1 25.0

รวม 24 100 36 100 36 100 46 100 40 100 6 100 2

0.342 0.583 0.693 0.026 0.834 0.479

จากตารางแสดงความสัมพนัธ์ระหวา่งระดับการศึกษากบัลักษณะของครอบครัวท่ีประสบผลส าเ ร็จโดยจะศึกษาจากความส าเ ร็จทางด้านเศรษฐกิจ , ดา้นการศึกษา , ดา้นการท างาน ,การเป็นแบบอยา่งท่ีดี ,เป็นท่ียอมรับ และลกัษณะอ่ืนๆ เชน่การเป็นตัวแทนองค์กรตา่งๆในช ุมชน และชว่ยเหลือผู้ท่ียากจนในช ุมชน เป็นตน้ จากการศึกษาพบวา่ครอบครัวท่ีประสบผลส าเ ร็จจะเป็นครอบครัวท่ีเ ป็นตัวอยา่งท่ีดีมีจ านวน 46 ครอบครัว เ ป็นท่ียอมรับของสังคม 40 ครอบครัว และประสบผลส าเร็จดา้นการศึกษา และการท างานเทา่ๆ กนั จ านวน 36 ครอบครัว พบวา่ครอบครัวท่ีประสบผลส าเ ร็จมีระดับการศึกษาในระดับประถมศึกษา พบวา่ครอบครัวท่ีประสบผลส าเร็จในดา้นเศรษฐกจิจ านวน 13 ครอบครัวคิดเป็นร้อยละ 54.2 ดา้นการศึกษาจ านวน 20 ครอบครัวคิดเป็นร้อยละ 55.6 ด้านการท างานจ านวน 18 ครอบครัวคิดเป็นร้อยละ 50.0 การเป็นแบบอยา่งท่ีดีจ านวน 31 ครอบครัวคิดเป็นร้อยละ 67.3 และเป็นท่ียอมรับจ านวน 21 ครอบครัว คิดเ ป็นร้อยละ 52.5 ส่วนใหญจ่ะมรีะดบัการศึกษาในระดบัประถมศึกษา

Page 12: บทที่ 4 ผลการวิจัย · 2017. 12. 12. · บทที่ 4 ... 4 สันทราย 16 17.2 5 สารภี 18 19.4 6 หางดง 9 9.7 7 ไม่ระบุ

70

พบวา่ครอบครัวท่ีเป็นแบบอยา่งท่ีดีมคีวามสัมพนัธ์กบัระดบัการศึกษาอยา่งมีนัยส าคัญ โดยมีคา่ 2 = 0.026 แสดงวา่ระดับการศึกษาของครอบครัวกลุม่

ตวัอยา่งมคีวามสัมพนัธ์กบัการเป็นครอบครัวท่ีเ ป็นแบบอยา่งท่ีดี ดังนั้ นจะเห็นได้วา่ระดับการศึกษาท่ีดีจะชว่ยให้ครอบครัวมีการปฏิบัติในทางท่ีดี และประสบผลส าเร็จโดยสามารถเป็นตวัอยา่งท่ีดี

Page 13: บทที่ 4 ผลการวิจัย · 2017. 12. 12. · บทที่ 4 ... 4 สันทราย 16 17.2 5 สารภี 18 19.4 6 หางดง 9 9.7 7 ไม่ระบุ

71

ตัวอย่างที ่12 แสดงความสัมพนัธ์ระหวา่งระดับการศึกษา กบั ลกัษณะของครอบครัว

ลักษณะของครอบครัว

ระดับการศึกษา

เศรษฐกิจพอเพยีง ครอบครัวประสบ

ผลส าเร็จ หมายเหตุ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ

ประถมศึกษา 20 58.8 17 60.7 มธัยมศึกษาตอนตน้ 1 2.9 1 3.6 มธัยมศึกษาตอนปลาย/ปวช 3 8.8 3 10.7 อนุปริญญา/ปวส 2 5.9 1 3.6 ปริญญาตรี 6 17.6 5 17.9 สูงกวา่ปริญญาตรี 2 5.9 1 3.6

รวม 34 100 28 100 2

0.986 0.876 จากตารางแสดงความสัมพันธ์ระหวา่งระดับการศึกษากบัความสัมพันธ์ของครอบครัว

ท่ีประสบความส าเร็จวา่มลีกัษณะแบบครอบครัวเศรษฐกิจพอเพียง มีจ านวน 34 ครอบครัวและ ครอบครัวประสบผลส าเ ร็ จจ าน วน 28 ครอบครัว จากการศึกษาพบวา่ครอบครัวประสบความส าเร็จ สว่นใหญเ่ป็นครอบครัวเศรษฐกจิพอเพียงมีระดับการศึกษาในระดับประถมศึกษาถึงจ านวน 20 ครอบครัวคิดเป็นร้อยละ 58.8 ท่ีมองเ ห็นคุณคา่ของการด ารงชีวิต ท่ีใช ้เศรษฐกิจพอเพียง

สว่นครอบครัวประสบความส าเ ร็จมีระดับการศึกษาส่วนใหญใ่นระดับประถมศึกษาจ านวน 17 ครอบครัวคิดเป็นร้อยละ 60.7 และมแีนวทางในการด าเนินชีวติดงัน้ี

สว่นความสัมพนัธ์ระหวา่งระดบัการศึกษากบัลกัษณะของครอบครัวท่ีประสบควา มส าเ ร็จ ในดา้นเศรษฐกจิพอเพียงและครอบครัวประสบผลส าเร็จไมม่นีัยส าคญัทางสถิติ

Page 14: บทที่ 4 ผลการวิจัย · 2017. 12. 12. · บทที่ 4 ... 4 สันทราย 16 17.2 5 สารภี 18 19.4 6 หางดง 9 9.7 7 ไม่ระบุ

72

จากการศึกษาความสัมพนัธ์ระหวา่งระดับการศึกษากบัลักษณะของครอบครัวท่ีประสบความส าเร็จหรือครอบครัวตัวอยา่ง พบขอ้มลูดงัน้ี

1. ครอบครัวตวัอยา่งหรือครอบครัวประสบผลส าเ ร็จนั้ นส่วนใหญม่ีระดับการศึกษา ในระดับประถมศึกษาเป็นส่วนใหญ ่ และรองลงไปมีระดับการศึกษาในระดับปริญญาตรีท่ีมจี านวนมากข้ึน ซ่ึงจะแสดงให้เห็นวา่ครอบครัวท่ีประสบผลส าเ ร็จนั้ นเ ป็นครอบครัวแบบดั้ง เ ดิมจะมีระดับการศึกษาในระดับประถมศึกษาและถ้าเ ป็นครอบครัวของคนรุน่ใหมจ่ะมรีะดับการศึกษาในระดบัปริญญาตรี

2. จากขอ้มลูความสัมพนัธ์ระหวา่งระดบัการศึกษากบัปัจจัยในการสร้างความส าเ ร็จของครอบครัวตวัอยา่ง พบวา่การศึกษาให้ความส าคญักบัลักษณะของครอบครัว ดงัน้ี - ครอบครัวลูกประสบผลส าเร็จ 45 ครอบครัว - ครอบครัวมคีวามรักความอบอุน่ 67 ครอบครัว - ครอบครัวมคีวามสามคัคี 52 ครอบครัว - ครอบครัวมกีารชว่ยเหลือเกือ้กลู 55 ครอบครัว - ครอบครัวชว่ยเหลือสังคม 56 ครอบครัว - ครอบครัวท่ีเป็นแบบอยา่งท่ีดี 46 ครอบครัว - ครอบครัวท่ีเป็นท่ียอมรับ 40 ครอบครัว - ครอบครัวท่ีประสบผลส าเร็จในดา้นการศึกษา 36 ครอบครัว - ครอบครัวท่ีประสบผลส าเร็จในดา้นการท างาน 36 ครอบครัว - ครอบครัวเศรษฐกจิพอเพียง 34 ครอบครัว

3. การศึกษาความสัมพนัธ์ระหวา่งระดับการศึกษากบัครอบครัวตวัอยา่งพบวา่ 3.1 ระดับการศึกษามีความสัมพันธ์กบั ลูกประสบผลส าเ ร็ จมีนัยส าคัญทางสถิ ติ

มคีา่ 2 = 0.04

3.2 ระดบัการศึกษามคีวามสัมพันธ์กบัการบริจาคเ งินและทรัพย์สินมีนัยส าคัญทางสถิติ มคีา่ 2

= 0.015 3.3 ระดบัการศึกษามีความสัมพันธ์กบัการเป็นแบบอยา่งท่ีดี มีนัยส าคัญทางสถิติ

มคีา่ 2 = 0.026

แสดงวา่ระดับการศึกษานั้ น จะส่งผลให้เ ป็นครอบครัว ท่ีประสบผลส าเ ร็จและเป็นแบบอยา่งท่ีดี โดยลูกท่ีมกีารศึกษาสูงมโีอกาสประสบผลส าเ ร็จและระดับการศึกษามีส่วนในการให้บริจาคเงินและทรัพย์สินและการเป็นแบบอยา่งท่ีดีกบัสังคม

Page 15: บทที่ 4 ผลการวิจัย · 2017. 12. 12. · บทที่ 4 ... 4 สันทราย 16 17.2 5 สารภี 18 19.4 6 หางดง 9 9.7 7 ไม่ระบุ

73

ตอนที ่ 3 ความสัมพนัธ์ระหว่างรายได้กับปัจจัยในการสร้างความส าเร็จของครอบครัว

ตารางที ่13 แสดงความสัมพนัธ์ระหวา่งรายไดก้บัลักษณะของครอบครัวตวัอยา่ง

ครอบครัวตัวอย่าง

ระดับรายได้ต่อเดือน

พ่อตัวอย่าง แม่ตัวอย่าง ลูกผู้ประสบ

ผลส าเร็จ หมายเหตุ

จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ 0-4,999 บาท 3 21.4 7 36.8 9 25.7

5,000-10,000 บาท 4 28.6 6 31.6 13 37.1 10,001-15,000 บาท 4 28.6 3 15.8 6 17.1 15,001-20,000 บาท 1 7.1 1 5.3 3 8.6 20,001-25,000 บาท - - - - 2 5.7 25,000 บาทข้ึนไป 2 17.9 2 10.5 2 5.7

รวม 14 100 19 100 35 100 2

0.041 0.063 0.614

จากตาราง แสดงความสัมพนัธ์ระหวา่งรายไดก้บัลกัษณะของครอบครัวตัวอยา่ง พบวา่ครอบครัวตวัอยา่งท่ีเป็นพอ่ตวัอยา่งจ านวน 14 ครอบครัวรายได้จะมีระดับรายได้ระหวา่ง 5,000 – 10,000 บาทตอ่เดือน และ 10,000-15,000 บาทตอ่เ ดือนจ านวน 4 ครอบครัวคิดเป็นร้อยละ 28.6 สว่นแมต่วัอยา่งจ านวน 19 ครอบครัวและมรีะดบัรายได้ต ่ามีรายได้ 0-4,999 บาท ตอ่เ ดือนจ านวน 7 ครอบครัว คิดเป็นร้อยละ 36.8 และ 5,000-10,000 บาทตอ่เ ดือนจ านวน 6 ครอบครัว คิดเ ป็น ร้อยละ 31.6 สว่นลูกประสบผลส าเร็จจ านวน 35 ครอบครัวมีระดับรายได้ 5,000 -10,000 บาทตอ่เดือนจ านวน 13 รอบครัวคิดเป็นร้อยละ 37.1 เป็นสว่นใหญ ่

จากขอ้มลูพบวา่การเป็นครอบครัวตัวอยา่งให้ความส าคัญกบัลูกท่ีประสบผลส าเ ร็จมากกวา่พอ่ตวัอยา่งและแมต่ัวอยา่ง

เมือ่ศึกษาความสัมพันธ์ระหวา่งรายได้กบัลักษณะของครอบครัวท่ีประสบผลส าเ ร็จพบวา่แมต่วัอยา่งและลูกประสบผลส าเร็จไมม่ีความสัมพันธ์กบัรายได้ ส่วนของพอ่ตัวอยา่งนั้ นมีความสัมพนัธ์กบัรายไดอ้ยา่งมนีัยส าคัญ โดยมีคา่ 2

= 0.041 ซ่ึงอาจกลา่วได้วา่พอ่ตัวอยา่งนั้ น สว่นใหญจ่ะมรีะดบัรายได ้ เพราะพอ่เป็นหัวหน้าครอบครัวและตอ้งดูแลครอบครัว

Page 16: บทที่ 4 ผลการวิจัย · 2017. 12. 12. · บทที่ 4 ... 4 สันทราย 16 17.2 5 สารภี 18 19.4 6 หางดง 9 9.7 7 ไม่ระบุ

74

ตารางที ่14 แสดงความสัมพนัธ์ระหวา่งรายไดก้บัลักษณะของครอบครัวท่ีอบอุน่

ครอบครัวทีอ่บอุ่น

ระดับรายได้ต่อเดือน

มีความรัก มีความสามัคคี มีการช่วยเหลือเกื้อกูล หมายเหตุ

จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ

0-4,999 บาท 12 22.2 9 21.4 11 25 5,000-10,000 บาท 22 40.7 18 42.9 17 38.6 10,001-15,000 บาท 11 20.4 8 19 7 15.9 15,001-20,000 บาท 5 9.3 4 9.5 5 11.4 20,001-25,000 บาท 3 5.6 2 4.8 3 6.8 25,000 บาทข้ึนไป 1 1.9 1 2.4 1 2.3

รวม 54 100 42 100 44 100 2

0.835 0.907 0.426

จากตาราง แสดงความสัมพนัธ์ระหวา่งรายได้กบัลักษณะของครอบครัวอบอุน่ โดยพิจารณาจากครอบครัวอบอุน่จากการท่ีครอบครัวมีความรัก มีความสามคัคี และมีการชว่ยเหลือเกือ้กลูกนั จากข้อมูลพบวา่การท่ีครอบครัวอบอุน่นั้ นจะเน้นไปท่ีการมีความรักซ่ึงกนัและกนั ถึง 54 ครอบครัว มกีารชว่ยเหลือเกือ้กูลกนัถึง 44 ครอบครัวและมีความสามคัคี 42 ครอบครัว และเมื่อน ามาเปรียบเ ทียบกบัรายได้พบวา่ทุกระดับรายได้สามารถสร้างครอบครัวอบอุน่ได ้ โดยเฉพาะครอบครัวท่ีมรีายไดท่ี้อยูใ่นระดบั 5,000 -10,000 บาทตอ่เ ดือน จะมีความรักจ านวน 22 ครอบครัว คิดเ ป็นร้อยละ 40.7 ความสามคัคีจ านวน 18 ครอบครัว คิดเป็นร้อยละ 42.9 และชว่ยเหลือเกือ้กลูกนั 17 ครอบครัวคิดเป็นร้อยละ 38.6 ในจ านวนมากกวา่กลุม่ท่ีมีรายได้ในระดับอ่ืน ๆ

เมือ่ดูความสัมพนัธ์ระหวา่งรายไดก้บัลกัษณะของครอบครัวอบอุน่พบวา่ไมม่ีนั ยส าคัญทางสถิติ แสดงวา่ระดบัรายไดก้บัการสร้างความอบอุน่ภายในครอบครัวไมม่คีวามสัมพนัธ์กนั

Page 17: บทที่ 4 ผลการวิจัย · 2017. 12. 12. · บทที่ 4 ... 4 สันทราย 16 17.2 5 สารภี 18 19.4 6 หางดง 9 9.7 7 ไม่ระบุ

75

ตารางที ่15 แสดงความสัมพนัธ์ระหวา่งรายไดก้บัลักษณะครอบครัวชว่ยเหลือสังคม

ครอบครัวช่วยเหลือ สังคม

ระดับรายได้ต่อเดือน

บริจาคทีด่ิน บริจาคเงินและทรัพย์สิน

ช่วยเหลือสังคม อื่น ๆ หมายเหตุ

จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ

0-4,999 บาท 1 25.6 3 23.1 10 21.7 1 20.0 5,000-10,000 บาท 2 50 4 30.8 22 47.8 2 40.0 10,001-15,000 บาท - 2 15.4 8 17.4 1 20.0 15,001-20,000 บาท - 2 15.4 3 6.5 - 20,001-25,000 บาท 1 25.0 1 7.7 2 4.3 1 20.0 25,000 บาทข้ึนไป - 1 7.7 1 2.2 -

รวม 4 100 13 100 46 100 5 100 2

0.551 0.581 0.970 0.765

จากตาราง แสดงความสัมพันธ์ระหวา่งรายได้กบัลักษณะครอบครัวชว่ยเหลือสังคม พบวา่ ครอบครัวท่ีชว่ยเหลือสังคมสว่นใหญจ่ะมรีายไดอ้ยูใ่นระหวา่ง 5,000 -10,000 บาทตอ่เ ดือน และการชว่ยเหลือสังคมโดยทัว่ไปมจี านวนมากท่ีสุด 46 ราย การชว่ยเหลือสังคมในลักษณะของการบริจาคท่ีดินและการบริจาคเงินและทรัพย์สินมีจ านวนไมม่ากนัก

จากขอ้มลูดงักลา่วพบวา่รายไดก้บัการชว่ยเหลือสังคมไมม่ีนัยส าคัญทางสถิติ โดยมีคา่ 2

ในแตล่ะหัวขอ้คือ การบริจาคท่ีดิน 2 =0.551 การบริจาคเงินและทรัพย์สินมีคา่ 2

= 0.581 การชว่ยเหลือสังคมมคีา่ 2

= 0.970 และการชว่ยเหลือสังคมอ่ืน ๆ มคีา่ 2 = 0.765

สรุปได้วา่การชว่ยเหลือสังคมโดยทั่วไปของครอบครัวตัวอยา่งมีจ านวนมาก และความสัมพนัธ์ระหวา่งรายได้กบัการชว่ยเหลือสังคมไมม่นีัยส าคญัทางสถิติ

Page 18: บทที่ 4 ผลการวิจัย · 2017. 12. 12. · บทที่ 4 ... 4 สันทราย 16 17.2 5 สารภี 18 19.4 6 หางดง 9 9.7 7 ไม่ระบุ

76

ตารางที ่16 แสดงความสัมพนัธ์ระหวา่งรายไดก้บัลักษณะของครอบครัวท่ีประสบผลส าเร็จ

ลักษณะครอบครัวที ่

ประสบผลส าเร็จ ระดับรายได้ต่อเดือน

ด้านเศรษฐกิจ การศึกษา การท างาน แบบอย่างทีด่ี แบบทีย่อมรับ อื่น ๆ หมายเหตุ

จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ

0-4,999 บาท 2 11.8 5 17.9 4 13.3 10 27.8 7 21.2 1 33.3 5,000-10,000 บาท 6 35.3 11 39.3 11 36.7 14 38.9 14 42.4 1 33.3 10,001-15,000 บาท 4 23.5 6 21.4 6 20 5 13.9 5 15.2 15,001-20,000 บาท 2 11.8 3 10.7 5 16.7 3 8.3 3 9.1 20,001-25,000 บาท 1 5.9 1 3.6 2 6.7 2 5.6 2 6.1 1 33.3 25,000 บาทข้ึนไป 2 11.8 2 7.1 2 6.7 2 5.6 2 6.1

รวม 17 100 28 100 30 100 36 100 33 100 3 100 2

0.099 0.341 0.026 0.547 0.708 0.373

จากตาราง แสดงความสัมพนัธ์ระหวา่งรายไดก้บัลกัษณะครอบครัวประสบผลส าเร็จ พบวา่ครอบครัวท่ีประสบผลส าเ ร็จคือครอบครัวท่ีเ ป็นแบบอยา่งท่ีดี

จ านวน 36 ครอบครัว ครอบครัวเป็นท่ียอมรับ33 ครอบครัว และท่ีประสบผลส าเ ร็จในด้านการท างานมี และ 30 ครอบครัว ตามล าดับ โดยครอบครัวท่ีประสบผลส าเร็จจะมรีายไดอ้ยูใ่นระดับ 5,000-10,000 บาทตอ่เดือน และรองลงมามรีายไดใ้นระหวา่ง 10,001-15,000 บาทตอ่เดือน

พบวา่ความสัมพนัธ์ระหวา่งรายได ้ กบัความส าเร็จของครอบครัว พบวา่ลักษณะของครอบครัวท่ีประสบผลส าเ ร็จการท างานมีความสัมพันธ์กนัอยา่งมีนัยส าคญัทางสถิติ โดยมคีา่ 2

= 0.026 แสดงวา่ผูท่ี้มรีายไดใ้นระดบัปานกลางและมรีายได้สูง เ ป็นครอบครัวท่ีประสบผลส าเ ร็จในการท างาน ซ่ึงอาจกลา่วได้วา่ในทางกลบักนัวา่การท างานของบุคคลในครอบครัว เป็นท่ียอมรับของคนในสังคมโดยทัว่ไปและท าให้มรีายได้ของครอบครัวในลกัษณะท่ีดี

Page 19: บทที่ 4 ผลการวิจัย · 2017. 12. 12. · บทที่ 4 ... 4 สันทราย 16 17.2 5 สารภี 18 19.4 6 หางดง 9 9.7 7 ไม่ระบุ

77

ตารางที ่17 แสดงความสัมพนัธ์ระหวา่งระดบัรายไดก้บัลกัษณะของครอบครัว

ลักษณะของครอบครัว

ระดับรายได้ต่อเดือน

เศรษฐกิจพอเพยีง ประสบผลส าเร็จ หมายเหตุ

จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ

0-4,999 บาท 7 25.9 6 26.1 5,000-10,000 บาท 11 40.7 10 43.5 10,001-15,000 บาท 5 18.5 3 13.0 15,001-20,000 บาท 1 3.7 2 8.7 20,001-25,000 บาท 2 7.4 2 8.7 25,000 บาทข้ึนไป 1 3.7 - -

รวม 27 100 23 100 2

0.910 0.826

จากตาราง แสดงความสัมพันธ์ระหวา่งระดับรายได้กบัลักษณะครอบครัว เศรษฐกิจพอเพียงจ านวน 27 ครอบครัวกบัครอบครัวประสบผลส าเร็จจ านวน 23 ครอบครัว พบวา่ครอบครัวเศรษฐกจิพอเพียงและครอบครัวประสบผลส าเร็จส่วนใหญจ่ะมีรายได้อยูใ่นระดับ 5,000 -10,000 บาทตอ่เดือนมคีรอบครัวเศรษฐกจิพอเพียงจ านวน 11 ครอบครัวคิดเป็นร้อยละ 40.7 และครอบครัวประสบผลส าเร็จ 10 ครอบครัว คิดเป็นร้อยละ 43.5 ตามล าดบั

ความสัมพันธ์ระหวา่ งระ ดับรายได้กบัลักษณะครอบครัวเศรษฐกิจพอเพียงและครอบครัวประสบผลส าเร็จไมม่คีวามสัมพนัธ์ซ่ึงกนัและกนั โดยมีคา่ 2

ของครอบครัวเศรษฐกิจพอเพียง = 0.910 และครอบครัวประสบผลส าเ ร็จ =0.826 แสดงวา่ครอบครัวเศรษฐกิจพอเพียงและครอบครัวประสบผลส าเร็จนั้นไมสั่มพนัธ์กบัรายได ้

Page 20: บทที่ 4 ผลการวิจัย · 2017. 12. 12. · บทที่ 4 ... 4 สันทราย 16 17.2 5 สารภี 18 19.4 6 หางดง 9 9.7 7 ไม่ระบุ

78

จากการศึกษาความสัมพันธ์ ระหวา่ง รายได้กบัปัจจัยในการสร้า งความส าเ ร็จของครอบครัวพบขอ้มลูโดยสรุปดงัน้ี

1. ครอบครัวท่ีประสบผลส าเร็จสว่นใหญอ่ยูใ่นฐานะปานกลาง มีรายได้อยูใ่นระดับ 5,000 – 10,000 บาท ตอ่เดือนและมบีางสว่นมีรายได้ต ่ากวา่ 5,000 บาทตอ่เ ดือน มีจ านวนไมม่ากนักและท่ีมรีายไดสู้งเกนิกวา่ 10,000 บาทตอ่เดือน ข้ึนไปมีจ านวนโดยรวมมีจ านวนมากกวา่ในทุกระดบัของรายได ้

2. จากข้อมูลพบวา่รายได้ให้ความส าคัญกบัลักษณะของครอบครัวตัวอยา่ งหรือครอบครัวประสบผลส าเร็จในดา้นตา่ง ๆ ดงัน้ี

- ครอบครัวท่ีลูกประสบผลส าเร็จ 35 ครอบครัว - ครอบครัวท่ีมคีวามอบอุน่ 54 ครอบครัว - ครอบครัวท่ีมคีวามสามคัคี 42 ครอบครัว - ครอบครัวชว่ยเหลือเกือ้กลูกนั 44 ครอบครัว - ครอบครัวชว่ยเหลือสังคม 46 ครอบครัว - ครอบครัวท่ีเป็นแบบอยา่งท่ีดี 36 ครอบครัว - ครอบครัวเป็นแบบอยา่งท่ีดีเป็นท่ียอมรับ 33 ครอบครัว 3. ในการศึกษาความสัมพัน ธ์ระหวา่ง รายได้กบัลักษณะของครอบครัวท่ีประสบ

ผลส าเร็จพบวา่ 1. พอ่ตวัอยา่งมคีวามสัมพันธ์กบัรายได้อยา่งมีนัยส าคัญทางสถิติ โดยมีคา่ 2

= 0.041

2. การท างานมคีวามสัมพนัธ์กบัรายไดอ้ยา่งมนีัยส าคญัทางสถิติโดยมคีา่ 2 = 0.026

ซ่ึงอาจสรุปได้วา่ระดับรายได้ไม่เป็นปัจจัยหลักในการสร้างความรัก ความอบอุน่ ความสามคัคี และการชว่ยเหลือเกือ้กลูกนัภายในครอบครัว และเป็นครอบครัวท่ีสามารถชว่ยเหลือสังคมและเป็นแบบอยา่งท่ีดีให้กบัครอบครัวในชมุชนของตนเอง แตใ่นเร่ืองรายได้นั้ นจะเป็นปัจจัยท่ีสง่ผลตอ่การเป็นปัจจยัส าคญัของการเป็นพอ่ตัวอยา่งจะต้องมีระดับรายได้ท่ีอยูใ่นเกณฑ์ดี และการท างานในการประกอบอาชีพเป็นท่ียอมรับของสังคมอีกด้วย

Page 21: บทที่ 4 ผลการวิจัย · 2017. 12. 12. · บทที่ 4 ... 4 สันทราย 16 17.2 5 สารภี 18 19.4 6 หางดง 9 9.7 7 ไม่ระบุ

79

ตอนที ่ 4 ความสัมพนัธ์ระหว่างการประกอบอาชีพกับปัจจัยในการสร้างความส าเร็จของครอบครัว

ตารางที ่18 แสดงความสัมพนัธ์ระหวา่งการประกอบอาชีพกบัลกัษณะของครอบครัวตัวอยา่ง

ลักษณะครอบครัว

อาชีพ

พ่อตัวอย่าง แม่ตัวอย่าง ลูกผู้ประสบ

ความส าเร็จ หมายเหตุ

จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ เกษตรกรรม 6 33.3 13 48.1 16 36.4 รับจา้ง 5 27.8 6 22.2 15 34.1 ขา้ราชการ/พนักงานรัฐวสิาหกจิ 6 33.3 5 18.5 9 20.5

คา้ขาย - - 1 3.7 3 6.8 ประกอบธุรกจิสว่นตวั 1 5.6 - - - - แมบ่า้น - - 2 7.4 1 2.3 อ่ืน ๆ - - - - - -

รวม 18 100 27 100 44 100 2

0.634 0.034 0.133

จากตาราง แสดงความสัมพนัธ์ระหวา่งการประกอบอาชีพกบัลักษณะของครอบครัวตัวอยา่งพบวา่ครอบครัวตัวอยา่งลูกประสบผลส าเ ร็จมีจ านวนมากท่ี สุดคือ 44 ครอบครัว และครอบครัว แมต่วัอยา่ง 27 ครอบครัว พอ่ตวัอยา่ง 18 ครอบครัว และในครอบครัวท่ีลูกประสบผลส าเ ร็จประกอบอาชีพทางดา้นการเกษตร 16 ครอบครัว คิดเป็นร้อยละ 36.4 รองลงมาประกอบอาชีพรับจ้าง 15 ราย คิดเป็นร้อยละ 34.1 สว่นครอบครัวท่ีมแีมต่วัอยา่งประกอบอาชีพเกษตรกรรมจ านวน 13 ราย คิดเ ป็นร้อยละ 48.1 เมือ่ศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหวา่งการประกอบอาชีพกบัลักษณะของครอบครัวตัวอยา่ง พบวา่ ครอบครัวพ ่อตัวอย ่างและลูกประสบผลส าเ ร็จไมม่ีนัยส าคัญทางสถิ ติ และแมต่ัวอยา่ ง มคีวามสัมพนัธ์กบัการประกอบอาชีพโดยมคีา่ 2

= 0.034 แสดงวา่การเป็นแมต่ัวอยา่งมีความสัมพันธ์กบัการประกอบอาชีพและแมต่วัอยา่งมโีอกาสเป็นแมต่วัอยา่งไดใ้นทุกกลุม่อาชีพ

Page 22: บทที่ 4 ผลการวิจัย · 2017. 12. 12. · บทที่ 4 ... 4 สันทราย 16 17.2 5 สารภี 18 19.4 6 หางดง 9 9.7 7 ไม่ระบุ

80

ตารางที ่19 แสดงความสัมพนัธ์ระหวา่งการประกอบอาชีพกบัลกัษณะของครอบครัวอบอุน่

ลักษณะครอบครัว

อาชีพ

มีความรัก มีความสามัคคี ช่วยเหลือเกื้อกูล หมายเหตุ

จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ

เกษตรกรรม 22 33.3 19 37.3 20 37.7 รับจา้ง 20 30.3 16 31.4 18 34 ขา้ราชการ/พนักงานรัฐวสิาหกจิ 15 22.7 9 17.6 9 17

คา้ขาย 3 4.5 3 5.9 3 5.7 ประกอบธุรกจิสว่นตวั 2 3 1 2 1 1.9 แมบ่า้น 1 1.5 1 2 1 1.9 อ่ืน ๆ 3 4.5 2 3.9 1 0.9

รวม 66 100 51 100 53 100 2

0.804 0.440 0.105

จากตาราง แสดงความสัมพนัธ์ระหวา่งการประกอบอาชีพกบัลักษณะของครอบครัวอบอุน่พบวา่ครอบครัวท่ีประสบผลส าเ ร็จและครอบครัวตัวอย ่างเ ป็นครอบครัวท่ีอบอุน่ มีความรัก 6 6 ครอบครัว มคีวามสามคัคี 53 ครอบครัว และมีการชว่ยเหลือเกื้อกูลกนั 51 ครอบครัวตามล าดับ และอาชีพทางดา้นการเกษตร มคีวามรัก จ านวน 22 ครอบครัวคิดเป็นร้อยละ 33.3 มีการชว่ยเหลือเกื้อกูลกนัจ านวน 20 ครอบครัวคิดเป็นร้อยละ 37.7และมีความสามคัคีจ านวน 19 ครอบครัวคิดเป็นร้อยละ 37.3 มากท่ีสุด รองลงมาเป็นครอบครัว ท่ีประกอบอาชีพรับจ้าง มีความรัก จ านวน 20 ครอบครัว คิดเ ป็นร้อยละ 30.3 ชว่ยเหลือเกือ้กลูกนั จ านวน 18 ครอบครัว คิดเ ป็นร้อยละ 34 มีความสามคัคี จ านวน 16 ครอบครัว คิดเป็นร้อยละ 34.4 แสดงให้เห็นวา่ครอบครัวท่ีอบอุน่จะเป็นครอบครัวท่ีประกอบอาชีพของคนสว่นใหญข่องสังคมคืออาชีพทางด้านการเกษตรและรับจ้าง ซ่ึงสอดคล้องกบัลักษณะสังคม ของไทย เมือ่ศึกษาความสัมพนัธ์ของการประกอบอาชีพกบัลกัษณะของครอบครัวอบอุน่ พบวา่อาชีพไมม่นีัยส าคญัทางสถิติกบัลกัษณะของครอบครัวอบอุน่ โดยมีคา่ความสัมพันธ์เกินกวา่เกณฑ์ท่ีก าหนดไว ้ โดยมคีา่ 2

ของการมคีวามรัก = 0.804 มคีวามสามคัคี =0.440 และชว่ยเหลือเกื้อกูลกนั=0.105 ซ่ึงอาจกลา่วไดว้า่ ทุกอาชีพไมม่คีวามสัมพนัธ์กบัลกัษณะของครอบครัวท่ีอบอุน่

Page 23: บทที่ 4 ผลการวิจัย · 2017. 12. 12. · บทที่ 4 ... 4 สันทราย 16 17.2 5 สารภี 18 19.4 6 หางดง 9 9.7 7 ไม่ระบุ

81

ตารางที ่20 แสดงความสัมพนัธ์ระหวา่งการประกอบอาชีพกบัลกัษณะของครอบครัวชว่ยเหลือสังคม

ลักษณะครอบครัว

อาชีพ

บริจาคทีด่ิน บริจาคเงินและ

ทรัพย์สิน

ช่วยเหลือสังคม อื่น ๆ

หมายเหตุ

จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ เกษตรกรรม 3 50 6 42.9 22 39.3 1 10.0 รับจา้ง 1 16.7 4 28.6 16 28.6 5 50.0 ขา้ราชการ/พนักงานรัฐวสิาหกจิ 2 33.3 2 14.3 11 19.6 1 10.0

คา้ขาย - - 1 7.1 5 8.9 - - ประกอบธุรกจิสว่นตวั - - - - 1 1.8 1 10.0 แมบ่า้น - - - - 1 1.8 1 10.0 อ่ืน ๆ - - 1 7.1 - - 1 10.0

รวม 6 100 14 100 56 100 10 100 2

0.864 0.833 0.016 0.124

จากตาราง แสดงความสัมพัน ธ์ระหวา่ง การประกอบอาชีพกบัลักษณะของครอบครัวชว่ยเหลือสังคมพบวา่ครอบครัวท่ีประสบผลส าเ ร็ จส่วนใหญเ่ป็นครอบครัวชว่ยเหลือสังคมถึง 56 ครอบครัว และพบวา่ครอบครัวท่ีชว่ยเหลือสังคมส่วนใหญป่ระกอบอาชีพเกษตรกรรมจ านวน 22 ครอบครัวคิดเป็นร้อยละ 39.3 และประกอบอาชีพรับจา้งจ านวน 16 ครอบครัวคิดเป็นร้อยละ 28.6 ส่วนครอบครัวท่ีบริจาคท่ีดินมเีพียง 6 ครอบครัวและบริจาคเงินและทรัพย์สินมเีพียง 16 ครอบครัว

เมือ่ศึกษาความสัมพนัธ์ระหวา่งการประกอบอาชีพกบัลกัษณะของครอบครัวชว่ยเหลือสังคมมคีวามสัมพนัธ์กนัอยา่งมนีัยส าคญัทางสถิติ โดยมีคา่ 2

=0.016 แสดงวา่ครอบครัวท่ีประกอบอาชีพทุกอาชีพเป็นครอบครัวท่ีชว่ยเหลือสังคม

Page 24: บทที่ 4 ผลการวิจัย · 2017. 12. 12. · บทที่ 4 ... 4 สันทราย 16 17.2 5 สารภี 18 19.4 6 หางดง 9 9.7 7 ไม่ระบุ

82

ตารางที ่21 แสดงความสัมพนัธ์ระหวา่งการประกอบอาชีพกบัลกัษณะของครอบครัวประสบผลส าเร็จ

ลักษณะครอบครัว

อาชีพ

ด้านเศรษฐกิจ ด้านการศึกษา การท างาน แบบอย่างทีด่ี เป็นทีย่อมรับ อื่นๆ หมายเหตุ

จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ

เกษตรกรรม 8 34.1 11 32.4 11 32.4 20 43.5 13 35.1 1 25 รับจา้ง 7 30.4 12 35.3 9 26.5 11 23.9 9 24.3 - - ขา้ราชการ/พนักงานรัฐวสิาหกจิ 6 26.1 9 26.5 11 32.4 10 21.7 10 27 1 25 คา้ขาย 2 8.7 1 2.9 1 2.9 3 6.5 3 8.1 - - ประกอบธุรกจิสว่นตวั - - - - - - 1 2.2 - - - - แมบ่า้น - - 1 2.9 1 2.9 1 2.2 1 2.7 1 25 อ่ืน ๆ - - - - 1 2.9 - - 1 2.7 1 25

รวม 23 100 34 100 34 100 46 100 37 100 4 100 2

0.715 0.327 0.494 0.061 0.655 0.021

จากตารางแสดงความสัมพนัธ์ระหวา่งการประกอบอาชีพกบัลักษณะของครอบครัวท่ีประสบผลส าเ ร็จ พบวา่ครอบครัวท่ีประสบผลส าเ ร็จท่ีมีจ านวนมากกวา่ดว้ย คือ เป็นแบบอยา่งท่ีดี 46 ครอบครัว เป็นครอบครัวท่ีเป็นท่ียอมรับ 37 ครอบครัว และเป็นครอบครัวท่ีประสบผลส าเ ร็จด้านการศึกษาและการท างานจ านวน 34 ครอบครัว และพบวา่ครอบครัวท่ีประกอบอาชีพเกษตรกรรมประสบผลส าเร็จในลกัษณะของการเป็นแบบอยา่งท่ีดี 20 ครอบครัว ร้อยละ 43.5 และเป็นครอบครัว ท่ีไดรั้บการยอมรับ 13 ครอบครัวร้อยละ 35.1

ครอบครัวท่ีประกอบอาชีพรับจ้างเ ป็นครอบครัวท่ีประสบผลส าเ ร็จในการศึกษา 12 ครอบครัวร้อยละ 35.3 เ ป็นครอบครัวท่ีเ ป็นแบบอยา่งท่ีดี 11 ครอบครัว ร้อยละ 23.9

Page 25: บทที่ 4 ผลการวิจัย · 2017. 12. 12. · บทที่ 4 ... 4 สันทราย 16 17.2 5 สารภี 18 19.4 6 หางดง 9 9.7 7 ไม่ระบุ

83

ครอบครัวท่ีประกอบอาชีพรับราชการและพนักงานรัฐวสิาหกจิท่ีประสบผลส าเร็จ ในดา้นการท างาน 11 ครอบครัว ร้อยละ 32.4 และครอบค รัวท่ีเ ป็นแบบอยา่งท่ีดี 10 ครอบครัว ร้อยละ 21.7 และ ครอบครัวท่ีเป็นท่ียอมรับ 10 ครอบครัว ร้อยละ 27.0 เมื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหวา่งการประกอบอาชีพกบัลักษณะของครอบครัวท่ีประสบผลส าเ ร็จไมม่ีความสัมพันธ์อย ่างเ ป็นนัยส าคัญ โดยมีค ่าความสัมพนัธ์ดงัน้ี ครอบครัวประสบผลส าเร็จทางดา้น ทางเศรษฐกจิ 2

=0.715 ทางการศึกษา 2 = 0.327 การท างาน 2

=0.494 การเป็นแบบอยา่งท่ีดี 2 =

0.061 เป็นท่ียอมรับ =0.655 แสดงวา่ทุกกลุม่อาชีพไมม่คีวามสัมพนัธ์ทางสถิติกบัลักษณะของครอบครัวท่ีประสบผลส าเร็จ

Page 26: บทที่ 4 ผลการวิจัย · 2017. 12. 12. · บทที่ 4 ... 4 สันทราย 16 17.2 5 สารภี 18 19.4 6 หางดง 9 9.7 7 ไม่ระบุ

84

ตารางที ่22 แสดงความสัมพนัธ์ระหวา่งการประกอบอาชีพกบัลกัษณะของครอบครัว

ลักษณะของครอบครัว

อาชีพ

เศรษฐกิจพอเพยีง ประสบผลส าเร็จ หมายเหตุ

จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ

เกษตรกรรม 12 38.6 12 46.2 รับจา้ง 10 32.3 6 23.1 ขา้ราชการ/พนักงานรัฐวสิาหกจิ 6 19.4 5 19.2 คา้ขาย 2 6.5 1 3.8 ประกอบธุรกจิสว่นตวั - - - - แมบ่า้น 1 3.2 1 3.8 อ่ืน ๆ - - 1 3.8

รวม 31 100 26 100 2

0.425 0.393

จากตาราง แสดงความสัมพนัธ์ระหวา่งการประกอบอาชีพกบัลักษณะของครอบครัว ท่ีเ ป็นครอบครัวเศรษฐกิจพอเพียงกบัครอบครัวประสบผลส าเ ร็จ พบวา่ครอบครัวท่ีประสบผลส าเร็จสว่นใหญเ่ป็นครอบครัวเศรษฐกจิพอเพียงถึง 3 1 ครอบครัวและเป็นครอบครัวท่ีประสบผลส าเ ร็จ 26 ครอบครัว โดยครอบครัว ท่ีเ ป็นครอบครัวเศรษฐกิจพอเพียงประ กอบอาชีพเกษตรกรรมจ านวน 12 ครอบครัว ร้อยละ 38.2 และรับจ้างจ านวน 10 ครอบครัวร้อยละ 32.3 สว่นครอบครัวท่ีประสบผลส าเร็จประกอบอาชีพเกษตรกรรมจ านวน 12 ครอบครัว ร้อยละ 46.2 และรับจา้ง 6 ครอบครัวร้อยละ 23.1

และเมือ่ศึกษาความสัมพนัธ์ระหวา่งการประกอบอาชีพกบัลักษณะของครอบครัวพบวา่ไมม่คีวามสัมพนัธ์กนั โดยครอบครัวเศรษฐกิจพอเพียงมีคา่ 2

= 0.425 และครอบครัวประสบผลส าเร็จมคีา่ 2

= 0.393 แสดงวา่การประกอบอาชีพไมสั่มพนัธ์กบัลักษณะของครอบครัว

Page 27: บทที่ 4 ผลการวิจัย · 2017. 12. 12. · บทที่ 4 ... 4 สันทราย 16 17.2 5 สารภี 18 19.4 6 หางดง 9 9.7 7 ไม่ระบุ

85

จากการศึกษาความสัมพนัธ์ระหวา่งการประกอบอาชีพกบัปัจจัยในการสร้างความส าเ ร็จของครอบครัว พบขอ้มลูโดยสรุปดงัน้ี

1. ครอบครัวท่ีประสบผลส าเร็จสว่นใหญป่ระกอบอาชีพทางด้านการเกษตรเป็นล าดับแรก รองลงมาคืออาชีพการรับจ้างและข้าราชการหรือพนักงานรัฐวิสาหกิจ ซ่ึ งสอดคล้องกบัลกัษณะของสังคมของประเทศหรือของจงัหวดัเชียงใหมโ่ดยรวม

2. ในดา้นการประกอบอาชีพนั้ นได้ให้ความส าคัญกบัลักษณะของครอบครัวท่ีเ ป็นตวัอยา่งและประสบผลส าเร็จในดา้นตา่ง ๆ ดงัน้ี คือ

- ครอบครัวท่ีลูกประสบผลส าเร็จ 44 ครอบครัว - ครอบครัวท่ีมคีวามรักความอบอุน่ 66 ครอบครัว - ครอบครัวท่ีมคีวามสามคัคี 51 ครอบครัว - ครอบครัวท่ีชว่ยเหลือเกือ้กลูซ่ึงกนัและกนั 53 ครอบครัว - ครอบครัวท่ีชว่ยเหลือสังคม 56 ครอบครัว - ครอบครัวท่ีเป็นแบบอยา่งท่ีดี 46 ครอบครัว - ครอบครัวท่ีเป็นท่ียอมรับ 37 ครอบครัว - ครอบครัวท่ีประสบผลส าเร็จทางดา้นการศึกษา

และการท างาน 34 ครอบครัว การประกอบอาชีพส่งผลถึงความส าเ ร็จของครอบครัวในด้านดี ท าให้ลูกประสบ

ผลส าเ ร็ จ การสร้ า งภ ายใ นครอบครัวท่ี ดีในการ เ ป็นครอบครัว ท่ีมีความรักความอบอุ ่น มคีวามสามคัคี ชว่ยเหลือเกือ้กลูซ่ึงกนัและกนั และยงัชว่ยเหลือสังคมเป็นแบบอยา่งท่ีดีให้กบัสังคม คนในสังคมให้การยอมรับในความส าเร็จของครอบครัว ซ่ึงปัจจัยท่ีจะชว่ยท าให้ครอบครัวประสบผลส าเร็จคือการศึกษาและการท างานของสมาชิกของครอบครัว

3. การ ศึกษาความสัมพันธ์ระหวา่งการประกอบอาชีพกบัลักษณะของครอบครัว ท่ีประสบผลส าเร็จ พบวา่

3.1 การเป็นแมต่วัอยา่งมคีวามสัมพนัธ์กบัการประกอบอาชีพอยา่งมีนัยส าคัญทางสถิติ มคีา่ 2

= 0.034 3.2 การชว่ยเหลือสังคมมคีวามสัมพนัธ์กบัการประกอบอาชีพอยา่งมีนัยส าคัญทาง

สถิติ มคีา่ 2 = 0.016

ซ่ึงสรุปไดว้า่การประกอบอาชีพของครอบครัวมีความสัมพันธ์กบัการเป็นแมต่ัวอยา่งและการชว่ยเหลือสังคม

Page 28: บทที่ 4 ผลการวิจัย · 2017. 12. 12. · บทที่ 4 ... 4 สันทราย 16 17.2 5 สารภี 18 19.4 6 หางดง 9 9.7 7 ไม่ระบุ

86

ตอนที ่ 5 ความสัมพนัธ์ระหว่างจ านวนบุตรกับปัจจัยในการสร้างความส าเร็จของครอบครัว ตารางที ่23 แสดงความสัมพนัธ์ระหวา่งจ านวนบุตรกบัลักษณะของครอบครัวตัวอยา่ง

ลักษณะครอบครัว

จ านวนบุตร

พ่อตัวอย่าง แม่ตัวอย่าง ลูกประสบ

ผลส าเร็จ หมายเหตุ

จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ 1 คน 2 10 1 3.6 6 13 2 คน 15 75 13 46.4 21 45.7 3 คน 3 15 5 17.9 9 19.6 4 คน - - 4 14.3 4 8.7 5 คน - - 1 3.6 2 4.3 6 คน - - 2 7.1 2 4.3 7 คน - - 2 7.1 2 4.3

รวม 20 100 28 100 46 100 2

0.093 0.003 0.171

จากตาราง แสดงความสัมพนัธ์ระหวา่งจ านวนบุตรกบัลักษณะของครอบครัวตัวอยา่ง พบวา่ ครอบครัวตวัอยา่ง ท่ีลูกประสบผลส าเ ร็จมีจ านวนมาท่ีสุด 46 ครอบครัว รองลงมาเป็นครอบครัวแมต่วัอยา่ง 28 ครอบครัวและพอ่ตัวอยา่ง 20 ครอบครัว และครอบครัวท่ีประสบผลส าเ ร็ จ พบวา่ ครอบครัวท่ีประสบผลส า เ ร็จส่วน ใหญ ่จะ มีบุตรจ านวน 2 คน มาก ท่ีสุด ตามล าดบัคือ ลูกประสบผลส าเร็จ 21 ครอบครัว ร้อยละ 45.7 แมต่ัวอยา่งจ านวน 13 ครอบครัวคิดเป็นร้อยละ 46.4 และพอ่ตัวอยา่ง 15 ครอบครัวคิดเป็นร้อยละ 75 และมีบุตร 3 คน ในครอบครัวท่ีลูกประสบผลส าเ ร็จจ านวน 9 ครอบครัวร้อยละ 19.6 และแมต่ัวอยา่งจ านวน 5 ครอบครัวร้อยละ 17.9 พอ่ตวัอยา่ง 3 ครอบครัวร้อยละ 15.0

เมือ่ศึกษาความสัมพันธ์ระหวา่งจ านวนบุตรกบัลักษณะของครอบครัวตัวอยา่งพบวา่จ านวนบุตรกบัการเป็นแมต่วัอยา่งมีความสัมพันธ์อยา่งมีนัยส าคัญทางสถิติโดยมีคา่ 2

= 0.003 แสดงวา่จ านวนบุตรมีผลตอ่การเป็นแมต่ัวอยา่ง ส่วนพอ่ตัวอยา่งและลูกประสบผลส าเ ร็จไมม่ีนัยส าคญัทางสถิติ โดยมคีา่ 2

= 0.093 และ 0.171 ตามล าดบั

Page 29: บทที่ 4 ผลการวิจัย · 2017. 12. 12. · บทที่ 4 ... 4 สันทราย 16 17.2 5 สารภี 18 19.4 6 หางดง 9 9.7 7 ไม่ระบุ

87

ตารางที ่24 แสดงความสัมพนัธ์ระหวา่งจ านวนบุตรกบัลักษณะของครอบครัวอบอุน่

ลักษณะครอบครัว

จ านวนบุตร

มีความรัก มีความสามัคคี ช่วยเหลือเกื้อกูล หมายเหตุ

จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ

1 คน 14 22.2 10 20.8 9 18 2 คน 26 41.3 20 41.7 21 42 3 คน 13 20.6 9 18.8 11 22 4 คน 4 6.3 3 6.3 3 6.0 5 คน 2 3.2 2 4.2 2 4.0 6 คน 2 3.2 2 4.2 2 4.0 7 คน 2 3.2 2 4.2 2 4.0 รวม 63 100 48 100 50 100

2 0.850 0.724 0.491

จากตาราง แสดงความสัมพันธ์ระหวา่งจ านวนบุตรกบัลักษณะของครอบครัวอบอุน่ พบวา่ ครอบครัวอบอุน่เป็นครอบครัวท่ีมคีวามรัก 63 ครอบครัว เ ป็นครอบครัวชว่ยเหลือเกื้อกูลกนั 50 ครอบครัวและครอบครัวมีความสามคัคี 48 ครอบครัว และจ านวนบุตรของครอบครัวอบอุน่นั้นจะมจี านวนบุตร 1,2 คนเป็นสว่นใหญ ่

เมื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหวา่งจ านวน บุตรกบัลักษณะของครอบครัวอบอุน่ไมม่ีนัยส าคัญทางสถิติ โดยมีคา่ 2

ของครอบครัวท่ีมีการชว่ยเหลือเกื้อกูลกนั = 0.491 ครอบครัว มคีวามสามคัคี = 0.724 และครอบครัวท่ีมีความรัก = 0.850

แสดงวา่จ านวนบุตรไมม่ผีลตอ่ลักษณะของครอบครัวอบอุน่

Page 30: บทที่ 4 ผลการวิจัย · 2017. 12. 12. · บทที่ 4 ... 4 สันทราย 16 17.2 5 สารภี 18 19.4 6 หางดง 9 9.7 7 ไม่ระบุ

88

ตารางที ่25 แสดงความสัมพนัธ์ระหวา่งจ านวนบุตรกบัลักษณะของครอบครัวชว่ยเหลือสังคม

ลักษณะครอบครัว

จ านวนบุตร

บริจาคทีด่ิน บริจาคเงินและทรัพย์สิน

ช่วยเหลือสังคม อื่น ๆ

หมายเหตุ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ

1 คน - - 2 15.4 9 16.1 2 18.2 2 คน 2 33.3 7 53.8 24 42.9 3 27.6 3 คน 2 33.3 3 23.1 14 25 5 45.5 4 คน 1 16.7 - - 3 5.4 - - 5 คน - - - - 2 3.6 - - 6 คน - - - - 2 3.6 - - 7 คน 1 16.7 1 7.7 2 3.6 1 9.1 รวม 6 100 13 100 56 100 11 100

2 0.138 0.610 0.113 0.112

จากตาราง แสดงความสัมพันธ์ระหวา่งจ านวนบุตรกบัลักษณะครอบครัวชว่ยเหลือสังคมพบวา่ครอบครัวชว่ยเหลือสังคมในลกัษณะของการบริจาคท่ีดิน การบริจาคเ งินและทรัพย์สิน และการชว่ยเหลือสังคม พบวา่ครอบครัวชว่ยเหลือสังคมมจี านวนมากท่ีสุดคือ 56 ครอบครัว และครอบครัวท่ีมจี านวนบุตร 2, 3 คน เป็นครอบครัวท่ีชว่ยเหลือสังคมมากท่ีสุด ส่วนการบริจาคเ งินและทรัพย์สินมจี านวน 13 ครอบครัว และการบริจาคท่ีดินมเีพียง 6 ครอบครัว ซึ่งมีจ านวนไม ่มากนัก

เมื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหวา่งจ านวนบุตรกบัลักษณะครอบครัวชว่ยเหลือสังคม พบวา่ไมม่ีนัยส าคัญทางสถิติ โดยมีค ่าความสัมพันธ์ของ ครอบครัวบริจาคท่ีดิน 2

=0.13 8 ครอบครัวบริจาคเงินและทรัพย์สิน 2

= 0.610 ครอบครัวชว่ยเหลือสังคม 2 = 0.113

แสดงวา่จ านวนบุตรไมม่คีวามสัมพนัธ์กบัลกัษณะครอบครัวชว่ยเหลือสังคม

Page 31: บทที่ 4 ผลการวิจัย · 2017. 12. 12. · บทที่ 4 ... 4 สันทราย 16 17.2 5 สารภี 18 19.4 6 หางดง 9 9.7 7 ไม่ระบุ

89

ตารางที ่26 ความสัมพนัธ์ระหวา่งจ านวนบุตรกบัลักษณะของครอบครัวประสบผลส าเร็จ

ลักษณะครอบครัว

จ านวนบุตร

ด้านเศรษฐกิจ ด้านการศึกษา การท างาน แบบอย่างทีด่ี เป็นทีย่อมรับ อื่นๆ หมายเหตุ

จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ

1 คน 3 13.6 5 15.2 6 18.2 6 12.8 7 17.9 - - 2 คน 10 45.5 15 45.5 16 48.5 20 42.6 19 48.7 3 50 3 คน 7 31.8 9 27.3 7 21.2 12 25.5 9 23.1 1 16.7 4 คน 1 4.5 1 3 1 3.0 3 6.4 2 5.1 - - 5 คน - - 1 3 - - 2 4.3 - - - - 6 คน - - 2 6.1 2 6.1 2 4.3 2 5.1 2 33.3 7 คน 1 4.5 - - 1 3.0 2 4.3 - - - - รวม 22 100 33 100 33 100 47 100 39 100 6 100

2 0.342 0.160 0.335 0.072 0.189 0.00

จากตารางแสดงความสัมพนัธ์ระหวา่งจ านวนบุตรกบัลกัษณะครอบครัวท่ีประสบผลส าเร็จ พบวา่ครอบครัวท่ีประสบผลส าเ ร็จส่วนใหญจ่ะเป็นครอบครั ว

ท่ีเป็นแบบอยา่งท่ีดีมจี านวน 47 ครอบครัว และครอบครัวท่ีเ ป็นท่ียอมรับของสังคมและช ุมชน 39 ครอบครัว และเป็นครอบครัวท่ีประสบผลส าเ ร็จทางด้านการศึกษาและการท างานจ านวน 33 ครอบครัวและเมือ่ศึกษาจ านวนบุตรของครอบครัวประสบผลส าเร็จพบวา่ครอบครัวท่ีประสบผลส าเ ร็จจะมีบุตร 2 -3 คนเป็นส่วนใหญ ่ ดงัเชน่ครอบครัวท่ีเป็นแบบอยา่งท่ีดี มบุีตร 2 คนจ านวน 20 ครอบครัวคิดเป็นร้อยละ 42.6 และมีบุตร 3 คน จ านวน 12 ครอบครัวคิดเป็นร้อยละ 25.5 สว่นครอบครัวท่ีเป็นท่ียอมรับมบุีตรจ านวน 2 คน จ านวน 19 ครอบครัวเป็นร้อยละ 23.1 และมบุีตร 3 คน จ านวน 9 ครอบครัว คิดเป็นร้อยละ 23.1 เป็นตน้

Page 32: บทที่ 4 ผลการวิจัย · 2017. 12. 12. · บทที่ 4 ... 4 สันทราย 16 17.2 5 สารภี 18 19.4 6 หางดง 9 9.7 7 ไม่ระบุ

90

เมือ่ศึกษาความสัมพนัธ์ระหวา่งจ านวนบุตรกบัครอบครัวประสบผลส าเ ร็จพบวา่ไมม่ีนัยส าคัญทางสถิติ โดยมีคา่ ความสัมพันธ์ดัง น้ี ครอบครัวประสบผลส าเร็จดา้นเศรษฐกจิ 2

= 0.342 ดา้นการศึกษา 2 = 0.160 ด้านการท างาน 2

= 0.335 ด้านการเป็นแบบอยา่งท่ีดี 2 =0.072 และด้านการเป็นท่ียอมรับ

2 =0.189 แสดงให้เห็นวา่จ านวนบุตรไมม่ผีลตอ่ลกัษณะของครอบครัวท่ีประสบผลส าเร็จ

Page 33: บทที่ 4 ผลการวิจัย · 2017. 12. 12. · บทที่ 4 ... 4 สันทราย 16 17.2 5 สารภี 18 19.4 6 หางดง 9 9.7 7 ไม่ระบุ

ตารางที ่27 แสดงความสัมพนัธ์ระหวา่งจ านวนบุตรกบัลักษณะของครอบครัว

ลักษณะครอบครัว

จ านวนบุตร

เศรษฐกิจพอเพยีง ประสบผลส าเร็จ หมายเหตุ

จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ

1 คน 5 14.7 2 7.4 2 คน 15 44.1 13 48.1 3 คน 7 20.6 6 22.2 4 คน 2 5.9 1 3.7 5 คน 1 2.9 1 3.7 6 คน 2 5.9 2 7.4 7 คน 2 5.9 2 7.4 รวม 34 100 27 100

2 0.255 0.038

จากตาราง แสดงความสัมพนัธ์ระหวา่งจ านวนบุตรกบัลักษณะของครอบครัวเศรษฐกิจพอเพียง หรือครอบครัวประสบผลส าเ ร็จ พบวา่ ลักษณะของครอบครัวทั้ง 2 ลักษณะมีจ านวน ไมแ่ตกตา่งกนั โดยมีครอบครัวเศรษฐกจิพอเพียง 34 ครอบครัวและครอบครัวประสบผลส าเร็จ 27 ครอบครัว และเมื่อศึกษาจ านวนบุตรของครอบครัวทั้ง 2 ลกัษณะ พบวา่จ านวนบุตรของครอบครัวท่ีมีมากท่ีสุดคือมีจ านวน 2 -3 คนเป็นส่วนใหญ ่ โดยครอบครัวเศรษฐกจิพอเพียงมบุีตร 2 คน จ านวน 15 ครอบครัวคิดเป็นร้อยละ 44.1 และมีบุตร 3 คน 7 ครอบครัวคิดเป็นร้อยละ 20.6 สว่นครอบครัวประสบผลส าเ ร็จมีบุตร 2 คน จ านวน 13 ครอบครัวคิดเป็น ร้อยละ 48.1 และจ านวนบุตร 3 คน จ านวน 6 ครอบครัวคิดเป็นร้อยละ 22.2 เมื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหวา่ง จ านวนบุตรกบัลักษณะของครอบครัวดังกลา่ว พบวา่ครอบครัว ประสบผลส าเร็จมคีวามสัมพนัธ์กบัจ านวนบุตรอยา่งมีนัยส าคัญทางสถิติ โดยมีคา่ 2

= 0.038 ส่วนครอบครัวเศรษฐกจิพอเพียงไมม่นีัยส าคญักบัจ านวนบุตรโดยมคีา่ 2

= 0.255 ดงันั้น อาจกลา่วไดว้า่จ านวนบุตรท่ีมจี านวนไมม่าก 2-3 คน มโีอกาสท าให้ครอบครัวประสบผลส าเร็จไดม้ากกวา่การมีจ านวนบุตรน้อยหรือมากจนเกนิไป

Page 34: บทที่ 4 ผลการวิจัย · 2017. 12. 12. · บทที่ 4 ... 4 สันทราย 16 17.2 5 สารภี 18 19.4 6 หางดง 9 9.7 7 ไม่ระบุ

92

จากการศึกษาความสัมพันธ์ระหวา่งจ านวนบุตรกบัปัจจัยในการสร้างความส าเ ร็จของครอบครัว พบขอ้มลูโดยสรุป ดงัน้ี

1. ครอบครัวท่ีประสบผลส าเ ร็จส่วนใหญจ่ะมีบุตร 2 หรือ 3 คนเป็นส่วนใหญ ่ ซ่ึงสอดคล้องกบันโยบายของรัฐในการวางแผนครอบครัวท่ีก าหนดจ านวนบุตรของคนไทยให้จ านวน 2 คนไมเ่กิน 3 คน ซ่ึงนโยบายดงักลา่วสง่ผลมกีารปฏิบติัในสังคมไทยท่ีรับนโยบายและความเจริญของสังคมท่ีอยูใ่นเขตชานเมือง จึงท าให้จ านวนบุตรของครอบครัวส่วนใหญข่องสังคมไทยมี 2-3 คน และมีสมาชิกโดยรวมของครอบครัว มสีมาชิก 3-5 คน ซ่ึงจากการส ามะโนประชากรประเทศไทยคร้ังหลังสุดปี 2543 พบวา่ขนาดของประชากรเฉล่ียตอ่ครัวเรือนของจงัหวดัเชียงใหมม่ีจ านวนเทา่กบั 3.4 คน และขนาดครัวเรือนของประเทศไทยมคีา่เทา่กบั 3.8 คน

2. จ านวนบุตรมผีลตอ่ลักษณะของครอบครัวท่ีเ ป็นตวัอยา่งและ ประสบผลส าเ ร็จในด้านต่าง ๆ ด ังน้ี คือ - ครอบครัวท่ีลูกประสบผลส าเร็จ 46 ครอบครัว - ครอบครัวท่ีมคีวามรักความอบอุน่ 63 ครอบครัว - ครอบครัวท่ีมคีวามสามคัคี 48 ครอบครัว - ครอบครัวท่ีชว่ยเหลือเกือ้กลูซ่ึงกนัและกนั 50 ครอบครัว - ครอบครัวท่ีชว่ยเหลือสังคม 56 ครอบครัว - ครอบครัวท่ีเป็นแบบอยา่งท่ีดี 47 ครอบครัว - ครอบครัวท่ีเป็นท่ียอมรับ 39 ครอบครัว - ครอบครัวท่ีประสบผลส าเร็จทางดา้นการศึกษา 33 ครอบครัว - ครอบครัวท่ีประสบผลส าเร็จทางดา้นการท างาน 33 ครอบครัว และ - ครอบครัวเศรษฐกจิพอเพียง 34 ครอบครัว

จ านวนบุตรมีผลตอ่ความส าเ ร็จของครอบครัวและส่งผลถึงความส าเ ร็จของลูกท่ีเ ป็นสมาชิกของครอบครัวและจ านวนบุตรจะส่งผลถึงความสัมพันธ์ภายในครอบครัวท่ีท าให้สมาชิกของครอบครัวมีความรัก ความสามคัคี ชว่ยเหลือเกือ้กลูซ่ึงกนัและกนั และยงัสามารถชว่ยเหลือสังคม เป็นแบบอยา่งท่ีดี และเป็นท่ียอมรับ ในความส าเร็จของครอบครัวทางดา้นการศึกษาและการท างานโดยมีการใช ้ชีวิตของครอบครัวในลักษณะทางเศรษฐกจิแบบพอเพียง

3. การศึกษาความสัมพนัธ์ระหวา่งจ านวนบุตรกบัลักษณะของครอบครัวท่ีประสบผลส าเร็จ พบวา่ 1. การเป็นแมต่วัอยา่งมคีวามสัมพนัธ์กบัจ านวนบุตรอยา่งมนีัยส าคญัทางสถิติ มคีา่ 2

= 0.003 2. ครอบครัวท่ีประสบผลส าเ ร็จมีความสัมพันธ์ก ับจ านวนบุตรอยา่ง มีนั ยส าคัญทางสถิ ติ

มคีา่ 2 = 0.038

ซ่ึงสรุปไดว้า่จ านวนบุตรเป็นปัจจยัส าคญัท่ีมผีลตอ่การเป็นแมต่ัวอยา่งและครอบครัวประสบผลส าเร็จ