บทที่ ๓ เรื่องที่ ๕ นิราศ ......บทน ราศ จ...

76
�ញวรรณคดีวิจักษ์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที ่๔ ครพี ่ตี ่ตี อ พีระเสก บริสทธิ บัวทิพย์

Upload: others

Post on 22-Oct-2020

6 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

  • � � �ា ្ ា ា �ា � �ា ា ា

    � ��ញ�� ��� � � �� ឌញ

    � � � គ ា

    วรรณคดีวจิักษ์ា

    ชัน้มัธยมศกึษาปีที่ា๔ា

    ครพี่ตี่ตี๋ា ាอพรีะเสกាាบริสทธ์ิบัวทพิย์ា

  • ประวัติผูประพันธ

  • ประวัติผูประพันธ นายนรนิทรธเิบศร (อนิ)

    - นายนรินทรธเิบศร มีนามเดมิวา อนิ - ไมมีหลักฐานเกี่ยวกับประวัตทิี่ชัดเจน

    - กลาวกันวาเกดิที่ ต. บางบอ จ. ฉะเชงิเทรา

    - เขารับราชการเปนมหาดเล็กหุมแพร ในสมเด็จพระบวรราชเจา

    วังหนาในรัชกาลที่ ๒

    - มีบรรดาศักดิ์เปน นรินทรธเิบศร

    ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ា–ាอ.ាพรีะเสกាាบริสุทธ์ิบัวทพิย์ា

  • นิราศนรินทรคําโคลง

    นริาศนรินทร นายนรินทรธเิบศร (อนิ) แตงขึ้นเมื่อคราว

    ตามเสด็จพระบวรราชเจามหาเสนานุรักษ ไปปราบพมาซึ่งยก

    มาตเีมอืงถลางและชุมพรใน พ.ศ. ๒๓๕๒

    ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ា–ាอ.ាพรีะเสกាាบริสุทธ์ิบัวทพิย์ា

  • นริาศ เปนคําที่ใชเรียกวรรณกรรมที่มเีน้ือหา การพลัด

    พรากจากบุคคลอันเปนที่รัก แทรกอารมณความเศราและ

    ความคดิถงึนาง

    โดยทั่วไปนิราศ มักแตงดวยกลอนสุภาพ ขึ้นตนดวย

    กลอนนริาศ แตนิราศนรินทรขึ้นดวยรายสุภาพและดําเนินเร่ือง

    ดวยโคลงสี่สุภาพ จึงเรียกชื่อใหมวา นิราศนรินทรคําโคลง

    ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ា–ាอ.ាพรีะเสกាាบริสุทธ์ิบัวทพิย์ា

  • การต้ังชื่อนิราศแตละเร่ืองน้ัน สวนใหญต้ังตาม

    - ชื่อสถานที่ที่เปนจุดหมายปลายทางของกว ี เชน นริาศ

    เมอืงแกลง นิราศเมอืงเพชร นิราศพระบาท

    - ต้ังชื่อตามชื่อของกว ี เชน นิราศนรินทร ของนายนรินทร

    ธเิบศร (อนิ)

    - ต้ังชื่อตามเน้ือเร่ือง เชน นิราศเดอืน ของนายมี

    ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ា–ាอ.ាพรีะเสกាាบริสุทธ์ิบัวทพิย์ា

  • ลักษณะคําประพันธ

  • ลักษณะคําประพันธ

    แตงเปนรายสุภาพนํา ๑ บท และตามดวย

    โคลงสี่สุภาพจํานวน ๑๔๓ บท

    ภาษาไทยกับครูพี่ต่ีต๋ี – อ. พรีะเสก บรสิุทธิ์บัวทพิย

  • รายสุภาพ

    ภาษาไทยกับครูพี่ต่ีต๋ี – อ. พรีะเสก บรสิุทธิ์บัวทพิย

  • อธบิายฉันทลักษณ

    - มวีรรคละ ๕ คํา หรอืเกนิ ๕ คําได แตไมควรเกนิ ๕ จังหวะ

    ในการอาน

    - แตงยาวกี่วรรคก็ได

    - สามวรรคสุดทายกอนจบ ตองเปนโคลง ๒ สุภาพเสมอ

    ภาษาไทยกับครูพี่ต่ีต๋ี – อ. พรีะเสก บรสิุทธิ์บัวทพิย

  • สัมผัส

    - คําสุดทายของวรรคหนา ตองสัมผัสกับคําที่ ๑, ๒ หรอื ๓

    ของวรรคตอๆ ไป ยกเวน ๒ วรรคสุดทาย

    - ถาคําสุดทายของวรรคหนาเปนคําเอกหรอืคําโท คําที่รับ

    สัมผัสในวรรคตอไปจะตองเปนคําเอกหรอืโทเชนเดยีวกัน

    ภาษาไทยกับครูพี่ต่ีต๋ี – อ. พรีะเสก บรสิุทธิ์บัวทพิย

  • - เอกโท มีโท ๓ เอก ๓ เชนเดยีวกับโคลง ๒ สุภาพ

    - คําเปนคําตาย ถาคําที่สงสัมผัสเปนคําเปนหรือคําตาย คําที่รับ

    สัมผัสก็ตองเปนคําเปนหรือคําตายดวย แตคําสุดทายของบท (ยกเวนคํา

    สรอย) หามใชคําตายหรือคําที่มีรูปวรรณยุกต

    - คําสรอย เตมิสรอยในตอนสุดทายของบทได ๒ คํา หรือจะเตมิทุก

    วรรคก็ได แตพอถงึโคลง ๒ ตองงด เวนไวแตสรอยของโคลง ๒ สรอย

    ชนิดน้ีถาใชเหมือนกันทุกวรรค เรียกวา สรอยสลับวรรค

    ภาษาไทยกับครูพี่ต่ีต๋ี – อ. พรีะเสก บรสิุทธิ์บัวทพิย

  • โคลงสองสุภาพ

    ภาษาไทยกับครูพี่ต่ีต๋ี – อ. พรีะเสก บรสิุทธิ์บัวทพิย

  • อธบิายฉันทลักษณ

    - บทหน่ึงม ี๓ วรรค

    - วรรคที่ ๑ และ ๒ มวีรรคละ ๕ คํา

    - วรรคที่ ๓ ม ี๔ คํา และ ๒ คําสุดทายเปนคําสรอย

    จะมหีรือไมก็ได

    ภาษาไทยกับครูพี่ต่ีต๋ี – อ. พรีะเสก บรสิุทธิ์บัวทพิย

  • - คําที่ ๕ ของวรรคที่ ๑ ตองสัมผัสกับคําที่ ๕ ของ

    วรรคที่ ๒

    - เอกโท มโีท ๓ คํา และ เอก ๓ คํา

    - คําตาย หามใชคําตายในคําสุดทายของบท

    - คําสรอย ใสคําสรอยตอวรรคที่ ๓ ได ถายังไมจบ

    ความ ถาจบความแลวไมตองใส

    ภาษาไทยกับครูพี่ต่ีต๋ี – อ. พรีะเสก บรสิุทธิ์บัวทพิย

  • ตัวอยางรายสุภาพและโคลงสองสุภาพ

    “ศรีสทิธิ์พิศาลภพ เลอหลาลบลมสวรรค จรรโลงโลกกวา

    กวาง แผนแผนผางเมอืงเมรุ ศรอียุธเยนทรแยมฟา.....

    ขยายแผนฟาใหแผว เลี้ยงทแกลวใหกลา พระยศไทเทดิฟา

    เฟองฟุงทศธรรม ทานแฮ”

    ภาษาไทยกับครูพี่ต่ีต๋ี – อ. พรีะเสก บรสิุทธิ์บัวทพิย

  • เนื้อเรื่อง

  • เรื่องยอ นิราศนรินทรคําโคลง เร่ิมตนยอพระเกยีรตพิระมหากษัตริยและชมบานเมือง จากน้ันจงึกลาวถงึการจากนางและการเดนิทางผานสถานที่ใดก็ครํ่าครวญถงึหญงิ

    คนรัก

    การเดนิทางเขาคลองบางกอกใหญ ผานวัดหงส บางยี่เรือ บางขุนเทยีน

    บางกก โคกขาม แมกลอง ปากนํ้า บานแหลม เพชรบุรี ขึ้นบกที่ชะอํา

    ผานเขาสามรอยยอด บางสะพาน จงึถงึตะนาวศรี มีการชมนก ชมไม

    ชมสัตว ตลอดระยะทาง

    ภาษาไทยกับครูพี่ต่ีต๋ี – อ. พรีะเสก บรสิุทธิ์บัวทพิย

  • นิราศนรินทรคําโคลง ศรีสทิธพิิศาลภพ เลอหลาลบลมสวรรค จรรโลงโลกกวากวาง

    แผนแผนผางเมืองเมรุ ศรีอยุธเยนทรแยมฟา แจกแสงจาเจดิจันทร

    เพียงรพิพรรณผองดาว ขุนหาญหาวแหนบาท สระทุกขราษฎรรอนเสี้ยน

    สายเศิกเหลี้ยนลงหลา ราญราบหนาเภริน เข็ญขาวยนิยอบตัว ควบคอม

    หัวไหวละลาว ทุกไทนาวมาลยนอม ขอออกออมมาออน ผอนแผนดนิให

    ผาย ขยายแผนฟาใหแผว เลี้ยงทแกลวใหกลา พระยศไทเทดิฟา

    เฟองฟุงทศธรรม ทานแฮ

    ภาษาไทยกับครูพี่ต่ีต๋ี – อ. พรีะเสก บรสิุทธิ์บัวทพิย

  • นิราศนรินทรคําโคลง

    บทชมเมือง อยุธยายศลมแลว ลอยสวรรค ลงฤา

    สิงหาสนปรางครัตนบรร เจิดหลา

    บุญเพรงพระหากสรรค ศาสนรุง เรืองแฮ

    บังอบายเบิกฟา ฝกฟนใจเมือง

    ภาษาไทยกับครูพี่ต่ีต๋ี – อ. พรีะเสก บรสิุทธิ์บัวทพิย

  • เรืองเรืองไตรรัตนพน พันแสง

    รินรสพระธรรมแสดง คํ่าเชา

    เจดียระดะแซง เสียดยอด

    ยลยิ่งแสงแกวเกา แกนหลาหลากสวรรค

    ภาษาไทยกับครูพี่ต่ีต๋ี – อ. พรีะเสก บรสิุทธิ์บัวทพิย

  • พระอาทิตย (ทาวพันแสง)

    ภาษาไทยกับครูพี่ต่ีต๋ี – อ. พรีะเสก บรสิุทธิ์บัวทพิย

  • พลอยนพเกา

    ภาษาไทยกับครูพี่ต่ีต๋ี – อ. พรีะเสก บรสิุทธิ์บัวทพิย

    เพชร

    มรกต

    ทับทมิ

    บุษราคัม

    โกเมน มุกดาหาร

    เพทาย

    ไพฑูรย

    ไพลนิ

  • โบสถระเบียงมณฑปพ้ืน ไพหาร

    ธรรมาสนศาลาลาน พระแผว

    หอไตรระฆังขาน ภายคํ่า

    ไขประทีปโคมแกว กํ่าฟาเฟอนจันทร

    ภาษาไทยกับครูพี่ต่ีต๋ี – อ. พรีะเสก บรสิุทธิ์บัวทพิย

  • บทนิราศ จําใจจากแมเปล้ือง ปลิดอก อรเอย

    เยียววาแดเดียวยก แยกได

    สองซีกแลงทรวงตก แตกภาค ออกแม

    ภาคพ่ีไปหนึ่งไว แนบเนื้อนวลถนอม

    ภาษาไทยกับครูพี่ต่ีต๋ี – อ. พรีะเสก บรสิุทธิ์บัวทพิย

  • โฉมควรจักฝากฟา ฤๅดิน ดีฤๅ

    เกรงเทพไทธรณินทร ลอบกลํ้า

    ฝากลมเล่ือนโฉมบิน บนเลา นะแม

    ลมจะชายชักช้ํา ชอกเนื้อเรียมสงวน

    ภาษาไทยกับครูพี่ต่ีต๋ี – อ. พรีะเสก บรสิุทธิ์บัวทพิย

  • ฝากอุมาสมรแมแล ลักษมี เลานา

    ทราบสวยมภูวจักรี เกลือกใกล

    เรียมคิดจบจนตรี โลกลวง แลวแม

    โฉมฝากใจแมได ยิ่งดวยใครครอง

    ภาษาไทยกับครูพี่ต่ีต๋ี – อ. พรีะเสก บรสิุทธิ์บัวทพิย

  • จากมามาล่ิวลํ้า ลําบาง

    บางยี่เรือราพลาง พ่ีพรอง

    เรือแผงชวยพานาง เมียงมาน มานา

    บางบรับคําคลอง คลาวน้ําตาคลอ

    ภาษาไทยกับครูพี่ต่ีต๋ี – อ. พรีะเสก บรสิุทธิ์บัวทพิย

  • บานบอน้ําบกแหง ไปเห็น

    บอเนตรคงขังเปน เลือดไล

    อาโฉมแมแบบเบญ- จลักษณ เรียมเอย

    มาซับอัสสุชลให พ่ีแลวจักลา

    ภาษาไทยกับครูพี่ต่ีต๋ี – อ. พรีะเสก บรสิุทธิ์บัวทพิย

  • เห็นจากจากแจกกาน แกมระกํา

    ถนัดระกํากรรมจํา จากชา

    บาปใดท่ีโททํา แทนเทา ราแม

    จากแตคาบนี้หนา พ่ีนองคงถนอม

    ภาษาไทยกับครูพี่ต่ีต๋ี – อ. พรีะเสก บรสิุทธิ์บัวทพิย

  • ผลจาก ผลระกํา

    ภาษาไทยกับครูพี่ต่ีต๋ี – อ. พรีะเสก บรสิุทธิ์บัวทพิย

  • ชมแขคิดใชหนา นวลนาง

    เดือนตําหนิวงกลาง ตายแตม

    พิมพพักตรแมเพ็ญปราง จักเปรียบ ใดเลย

    ขํากวาแขไขแยม ยิ่งยิ้มอัปสร

    ภาษาไทยกับครูพี่ต่ีต๋ี – อ. พรีะเสก บรสิุทธิ์บัวทพิย

  • ความเชื่อ กระตายบนดวงจันทร

    ภาษาไทยกับครูพี่ต่ีต๋ี – อ. พรีะเสก บรสิุทธิ์บัวทพิย

  • ถึงตระนาวตระหน่ําซ้ํา สงสาร อรเอย

    จรศึกโศกมานาน เนิ่นชา

    เดินดงทงทางละหาน หิมเวศ

    สารส่ังทุกหยอมหญา ยานน้ําลานาง

    ภาษาไทยกับครูพี่ต่ีต๋ี – อ. พรีะเสก บรสิุทธิ์บัวทพิย

  • พันเนตรภูวนาถตั้ง ตาระวัง ใดฮา

    พักตรส่ีแปดโสตฟง อื่นอื้อ

    กฤษณนิทรเลอหลัง นาคหลับ ฤาพอ

    สองพิโยคร่ํารื้อ เทพทาวทําเมิน

    ภาษาไทยกับครูพี่ต่ีต๋ี – อ. พรีะเสก บรสิุทธิ์บัวทพิย

  • พระอนิทร (ทาวพันตา) พระนารายณ (พระจักรี)

    ภาษาไทยกับครูพี่ต่ีต๋ี – อ. พรีะเสก บรสิุทธิ์บัวทพิย

  • พระพรหม (ผูมีส่ีพักตร)

    ภาษาไทยกับครูพี่ต่ีต๋ี – อ. พรีะเสก บรสิุทธิ์บัวทพิย

  • นทีส่ีสมุทรมวย หมดสาย

    ติมิงคลมังกรนาคผาย ผาดสอน

    หยาดเหมพิรุณหาย เหือดโลก แลงแม

    แรมราคแสนรอยรอน ฤเถา เรียมทน

    ภาษาไทยกับครูพี่ต่ีต๋ี – อ. พรีะเสก บรสิุทธิ์บัวทพิย

  • ลมพัดคือพิษตอง ตากทรวง

    หนาวอกรุมในดวง จิตช้ํา

    โฉมแมพิมลพวง มาเลศ กูเอย

    มือแมวีเดียวลํ้า ยิ่งลํ้าลมพาน

    ภาษาไทยกับครูพี่ต่ีต๋ี – อ. พรีะเสก บรสิุทธิ์บัวทพิย

  • เอียงอกเทออกอาง อวดองค อรเอย

    เมรุชุบสมุทรดินลง เลขแตม

    อากาศจักจารผจง จารึก พอฤๅ

    โฉมแมหยาดฟาแยม อยูรอนฤๅเห็น

    ภาษาไทยกับครูพี่ต่ีต๋ี – อ. พรีะเสก บรสิุทธิ์บัวทพิย

  • ตราบขุนคิริขน ขาดสลาย แลแม

    รักบหายตราบหาย หกฟา

    สุริยจันทรขจาย จากโลก ไปฤา

    ไฟแลนลางส่ีหลา หอนลางอาลัย

    ภาษาไทยกับครูพี่ต่ีต๋ี – อ. พรีะเสก บรสิุทธิ์บัวทพิย

  • ร่ํารักร่ําเรื่องราง แรมนวล นาฏฤา

    เสนาะสนั่นดินครวญ ครุนฟา

    สารส่ังพ่ีกําสรวล แสนเสนห นุชเอย

    ควรแมไวตางหนา พ่ีพูนภายหลัง

    ภาษาไทยกับครูพี่ต่ีต๋ี – อ. พรีะเสก บรสิุทธิ์บัวทพิย

  • คุณคาของนิราศนรินทร

  • คุณคาของนิราศนรินทร

    ๑. คุณคาดานวรรณศิลป - การเลอืกสรรคํา (เลนเสยีงสัมผัส) - การใชภาพพจน

    - การใชรสวรรณคด ี - การรักษาวธิกีารแตง

    ๒. คุณคาดานสังคม

    - การบันทกึเหตุการณทางประวัตศิาสตร

    - แสดงแผนที่การเดนิทาง

    ภาษาไทยกับครูพี่ต่ีต๋ี – อ. พรีะเสก บรสิุทธิ์บัวทพิย

  • ๑. คุณคาดานวรรณศลิป - การเลอืกสรรคํา (เลนเสยีงสัมผัส)

    ในบทประพันธนิราศนรินทร ผูประพันธไดมกีารเลอืกคํา

    ที่ทําใหบทประพันธมคีวามโดดเดนเปนอยางมาก ในที่น้ีคอื

    การเลนเสยีงพยัญชนะ

    ภาษาไทยกับครูพี่ต่ีต๋ี – อ. พรีะเสก บรสิุทธิ์บัวทพิย

  • การเลนเสยีงพยัญชนะ

    เปนการเลอืกคําที่มเีสยีงพยัญชนะเดยีวกันหรือเสยีง

    พยัญชนะใกลเคยีงกันมาใสไวในวรรคหรือบทเดยีวกัน ทําให

    เวลาอานออกเสยีงเกดิความไพเราะ เชน

    * เลนเสยีง “อ” “เอยีงอกเทออกอาง อวดองค อรเอย”

    * เลนเสยีง “ร” “รํ่ารักรําเร่ืองราง แรมนวล นาฏฤา”

    ภาษาไทยกับครูพี่ต่ีต๋ี – อ. พรีะเสก บรสิุทธิ์บัวทพิย

  • การใชภาพพจน

    ภาพพจนท่ีใชในนิราศนรินทร เทาที่ปรากฏ ไดแก

    - อุปลักษณ

    - บุคคลวัต

    - อธิพจน

    ภาษาไทยกับครูพี่ต่ีต๋ี – อ. พรีะเสก บรสิุทธิ์บัวทพิย

  • - อุปลักษณ

    อุปลักษณ คอืการเปรียบเทยีบสิ่งหนึ่งเปนสิ่งหน่ึง

    ที่มลีักษณะคลายกันหรือความหมายเหมอืนกัน คําที่ใชใน

    การเปรียบไดแก เปน คอื ใช เทา ตาง

    อุปลักษณ อาจเรียกวาชื่อหนึ่งวา การเปรียบเปน

    ภาษาไทยกับครูพี่ต่ีต๋ี – อ. พรีะเสก บรสิุทธิ์บัวทพิย

  • - ตัวอยางการใชอุปลักษณ

    ลมพัดคอืพษิตอง ตากทรวง

    หนาวอกรุมในดวง จิตช้ํา

    โฉมแมพิมลพวง มาเลศ กูเอย

    มอืแมวเีดยีวล้ํา ยิ่งล้ําลมพาน

    ภาษาไทยกับครูพี่ต่ีต๋ี – อ. พรีะเสก บรสิุทธิ์บัวทพิย

  • - บุคคลวัต

    บุคคลวัต เปนการทําใหสิ่งไมมชีวีติ แสดงกริยาอาการ

    ไดเหมอืนสิ่งมชีวีติ เชน รองไห เดนิ ยิ้ม หัวเราะ เปนตน

    บุคคลวัต อาจเรียกอกีชื่อหนึ่งวา บุคลาธษิฐาน

    ภาษาไทยกับครูพี่ต่ีต๋ี – อ. พรีะเสก บรสิุทธิ์บัวทพิย

  • - ตัวอยางการใชบุคคลวัต

    เอียงอกเทออกอาง อวดองค อรเอย

    เมรุชุบสมุทรดนิลง เลขแตม

    อากาศจักจารผจง จารกึ พอฤๅ

    โฉมแมหยาดฟาแยม อยูรอนฤๅเห็น

    ภาษาไทยกับครูพี่ต่ีต๋ี – อ. พรีะเสก บรสิุทธิ์บัวทพิย

  • - อธพิจน

    อธพิจน คอื การใชถอยคําหรือการเรียบเรียงเนื้อหา

    ที่มกีารกลาวเกินกวาความเปนจรงิ หรือแปลกประหลาดไป

    จากเดมิ

    อธพิจน อาจเรียกอกีชื่อวา อตพิจน

    ภาษาไทยกับครูพี่ต่ีต๋ี – อ. พรีะเสก บรสิุทธิ์บัวทพิย

  • - ตัวอยางการใชอธพิจน

    นทสีี่สมุทรมวย หมดสาย

    ตมิงิคลมังกรนาคผาย ผาดสอน

    หยาดเหมพิรุณหาย เหอืดโลก แลงแม

    แรมราคแสนรอยรอน ฤเถา เรียมทน

    ภาษาไทยกับครูพี่ต่ีต๋ี – อ. พรีะเสก บรสิุทธิ์บัวทพิย

  • - การใชรสวรรณคด ี

    รสวรรณคด ี เปนรูปแบบของเน้ือหาวาเน้ือหาในตอนน้ัน บอกอารมณวากําลังรูสกึอยางไร แสดงอาการอยางไร เชน ดใีจ เศราใจ

    รสวรรณคดไีทย มีทั้งหมด ๔ รส คอื

    * เสาวรจนี * นารีปราโมทย

    * พโิรธวาทัง * สัลลาปงคพิสัย ปรากฏในนริาศนรนิทรม ี๒ รสคอื เสาวรจนแีละสัลลาปงคพสิัย

    ภาษาไทยกับครูพี่ต่ีต๋ี – อ. พรีะเสก บรสิุทธิ์บัวทพิย

  • - เสาวรจนี

    คอืการเลาชมความงามของตัวละครในเร่ือง ซึ่งอาจเปนตัว

    ละครที่เปนมนุษย อมนุษย หรือสัตว ซึ่งการชมน้ีอาจจะเปน

    การชมความเกงกลาของกษัตริย ความงามของปราสาทราชวัง

    หรือความเจริญรุงเรืองของบานเมอืง

    ภาษาไทยกับครูพี่ต่ีต๋ี – อ. พรีะเสก บรสิุทธิ์บัวทพิย

  • - ตัวอยางการใชเสาวรจนี

    อยุธยายศลมแลว ลอยสวรรค ลงฤา

    สงิหาสนปรางครัตนบรร เจิดหลา

    บุญเพรงพระหากสรรค ศาสนรุง เรืองแฮ

    บังอบายเบกิฟา ฝกฟนใจเมอืง

    ภาษาไทยกับครูพี่ต่ีต๋ี – อ. พรีะเสก บรสิุทธิ์บัวทพิย

  • - สัลลาปงคพสิัย

    การกลาวขอความแสดงอารมณโศกเศรา

    อาลัยตอบุคคลอันเปนที่รัก ทั้งที่เกดิจากการพลัดพรากจากลา

    หรือตองเสยีชวีติไป

    ภาษาไทยกับครูพี่ต่ีต๋ี – อ. พรีะเสก บรสิุทธิ์บัวทพิย

  • - ตัวอยางการใชสัลลาปงคพิสัย

    จําใจจากแมเปลื้อง ปลดิอก อรเอย

    เยยีววาแดเดยีวยก แยกได

    สองซกีแลงทรวงตก แตกภาค ออกแม

    ภาคพ่ีไปหน่ึงไว แนบเน้ือนวลถนอม

    ภาษาไทยกับครูพี่ต่ีต๋ี – อ. พรีะเสก บรสิุทธิ์บัวทพิย

  • - การรักษาวธิกีารแตง

    นิราศนรินทร เปนโคลงที่มลีักษณะตรงตามสัมผัส

    คําเอก คําโท ถูกตองตามแบบแผนแทบทุกบท

    นิราศนรินทรจงึแบบอยางในการประพันธรอยกรอง

    ประเภทโคลง

    ภาษาไทยกับครูพี่ต่ีต๋ี – อ. พรีะเสก บรสิุทธิ์บัวทพิย

  • - ตัวอยางบที่ตรงตามบังคับคําเอก คําโท

    จากมามาลิ่วล้ํา ลําบาง

    บางยี่เรือราพลาง พ่ีพรอง

    เรือแผงชวยพานาง เมยีงมาน มานา

    บางบรับคําคลอง คลาวนํ้าตาคลอ

    ภาษาไทยกับครูพี่ต่ีต๋ี – อ. พรีะเสก บรสิุทธิ์บัวทพิย

  • ๒. คุณคาดานสังคม

    - การบันทกึเหตุการณทางประวัตศิาสตร

    นิราศนรินทร แตงเมื่อคร้ังนายนรินทรธเิบศร (อนิ)

    ตามเสด็จสมเด็จพระบวรราชเจามหาเสนานุรักษ ยกทัพไปรบ

    พมาที่ยกมาตเีมอืงถลางและชุมพร เมื่อป พ.ศ. ๒๓๕๒

    จึงสังเกตไดวานิราศเร่ืองน้ี สะทอนเหตุการณ

    บานเมอืงในสมัยน้ัน แมไมไดกลาวถงึโดยตรงก็ตาม

    ภาษาไทยกับครูพี่ต่ีต๋ี – อ. พรีะเสก บรสิุทธิ์บัวทพิย

  • - แสดงแผนที่การเดนิทาง

    นิราศนรินทร แสดงเสนทางการเดนิทัพทางเรือจาก

    กรุงเทพฯ ถงึเพชรบุรี แลวเดนิทางบกตอไปถงึตะนาว

    ซึ่งเปนการเดนิทางที่ใชเวลานานมาก

    ภาษาไทยกับครูพี่ต่ีต๋ี – อ. พรีะเสก บรสิุทธิ์บัวทพิย

  • แผนท่ีการเดินทาง

    ในนิราศนรินทร

    ภาษาไทยกับครูพี่ต่ีต๋ี – อ. พรีะเสก บรสิุทธิ์บัวทพิย

  • แบบทดสอบหลังเรียน

  • ๑.

    “เอียงอกเทออกอาง อวดองค อรเอย

    เมรุชุบสมุทรดินลง เลขแตม

    อากาศจักจารผจง จารึก พอฤๅ

    โฉมแมหยาดฟาแยม อยูรอนฤๅเห็น”

    ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ា–ាอ.ាพรีะเสกាាบริสุทธ์ิบัวทพิย์ា

  • ๑. ขอใดถอดคําประพันธไมตรงกับความหมายของคําประพันธน้ี

    ก. เอยีงอกเทความรูสกึเพ่ือบอกความในใจแกนอง

    ข. นองจะรูหรือไมวาพ่ีทุกขรอนคดิถงึนองเพียงใดโปรดบอกพ่ีดวย

    ค. แมจะใชเขาพระสุเมรุเปนปากกาจุมนํ้าในมหาสมุทรละลายดินเปนหมึก

    ง. ใชอากาศเปนแผนกระดาษเพ่ือพรรณนาความรักความอาลัยก็ยังไมพอ

    ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ា–ាอ.ាพรีะเสกាាบริสุทธ์ิบัวทพิย์ា

  • ๒. “เอยีงอกเทออกอาง อวดองค อรเอย

    เมรุชุบสมุทรดนิลง เลขแตม

    อากาศจักจารผจง จารึก พอฤๅ

    โฉมแมหยาดฟาแยม อยูรอนฤๅเห็น”

    คําประพันธขางตนมกีารใชโวหารภาพพจนแบบใด

    ก. อุปมา ข. อธพิจน

    ค. บุคคลวัต ง. อุปลักษณ

    ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ា–ាอ.ាพรีะเสกាាบริสุทธ์ิบัวทพิย์ា

  • ๓. “จําใจจากแมเปลื้อง ปลดิอก อรเอย

    เยยีววาแดเดยีวยก แยกได

    สองซกีแลงทรวงตก แตกภาค ออกแม

    ภาคพ่ีไปหน่ึงไว แนบเน้ือนวลถนอม” คําประพันธบทนี้มรีสวรรณคดตีรงตามขอใด

    ก. เสาวรจน ี ข. นารปีราโมทย

    ค. พโิรธวาทัง ง. สัลลาปงคพสิัย

    ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ា–ាอ.ាพรีะเสกាាบริสุทธ์ิบัวทพิย์ា

  • ๔. “เห็นจากจากแจกกาน แกมระกํา

    ถนัดระกํากรรมจํา จากชา

    บาปใดที่โททํา แทนเทา ราแม

    จากแตคาบน้ีหนา พ่ีนองคงถนอม”

    จากโคลงนิราศนรินทรบทน้ี บาทใดมเีน้ือหาแสดงความหวัง

    ก. บาทที่ ๑ ข. บาทที่ ๒

    ค. บาทที่ ๓ ง. บาทที่ ๔

    ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ា–ាอ.ាพรีะเสกាាบริสุทธ์ิบัวทพิย์ា

  • ๕. ขอใดมเีนื้อหาสรรเสรญิพระเกยีรตขิองพระมหากษัตรยิ

    ก. อยุธยายศลมแลว ลอยสวรรค ลงฤๅ

    ข. สงิหาสนปรางรัตนบรร เจิดหลา

    ค. บุญเพรงพระหากสรรค ศาสนรุง เรืองแฮ

    ง. บังอบายเบกิฟา ฝกฟนใจเมอืง

    ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ា–ាอ.ាพรีะเสกាាบริสุทธ์ิบัวทพิย์ា

  • ๖. คําประพันธใดไมมคีวามเดนดานสัมผัสอักษร

    ก. เสนาะสน่ันดนิครวญ ครุนฟา

    ข. ควรแมไวตางหนา พ่ีพูนภายหลัง

    ค. สารสั่งพ่ีกําสรวล แสนเสนห นุชเอย

    ง. รํ่ารักรํ่าเร่ืองราง แรมนวล นาฏฤๅ

    ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ា–ាอ.ាพรีะเสกាាบริสุทธ์ิบัวทพิย์ា

  • ๗. “ไขประทปีโคมแกว กํ่าฟาเฟอนจันทร”

    คําประพันธขางตนมกีารใชภาพพจนแบบใด

    ก. อุปมา

    ข. อธพิจน

    ค. บุคคลวัต

    ง. อุปลักษณ

    ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ា–ាอ.ាพรีะเสกាាบริสุทธ์ิบัวทพิย์ា

  • ๘. ธรรมเนียมนิยมในการแตงคําประพันธประเภทนิราศ

    มักจะพิถพิีถันที่จะแสดงรสใดเปนสําคัญ

    ก. รสบรรยายสถานที่

    ข. รสชมความงาม

    ค. รสคํา รสความ

    ง. รสรัก รสอาลัย

    ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ា–ាอ.ាพรีะเสกាាบริสุทธ์ิบัวทพิย์ា

  • ๙. คําประพันธขอใดไมใชบุคคลวัต

    ก. เอยีงอกเทออกอาง อวดองค อรเอย

    ข. เมรุชุบสมุทรดนิลง เลขแตม

    ค. อากาศจักจานผจง จารึก พอฤา

    ง. โฉมแมหยาดฟาแยม อยูรอนฤาเห็น

    ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ា–ាอ.ាพรีะเสกាាบริสุทธ์ิบัวทพิย์ា

  • ๑๐. “ชมแขคดิใชหนา นวลนาง

    เดอืนตําหนิวงกลาง ตายแตม

    พิมพพักตรแมเพ็ญปราง จักเปรียบ ใดเลย

    ขํากวาแขไขแยม ยิ่งยิ้มอัปสร”

    จากคําประพันธขางตน มกีารใชภาพพจนชนิดใด

    ก. อุปลักษณ ข. อุปมา

    ค. อธพิจน ง. บุคคลวัต

    ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ា–ាอ.ាพรีะเสกាាบริสุทธ์ิบัวทพิย์ា

  • ภาษาไทยกับครูพี่ต่ีต๋ี

    ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ា–ាอ.ាพรีะเสกាាบริสุทธ์ิบัวทพิย์ា

    บทที่ ๓ เรื่องที่ ๕ �นิราศนรินทร์คำโคลงSlide Number 2���ประวัติผู้ประพันธ์ �นายนรินทร์ธิเบศร์ (อิน)�- นายนรินทร์ธิเบศร์ มีนามเดิมว่า อิน �- ไม่มีหลักฐานเกี่ยวกับประวัติที่ชัดเจน�- กล่าวกันว่าเกิดที่ ต. บางบ่อ จ. ฉะเชิงเทรา�- เข้ารับราชการเป็นมหาดเล็กหุ้มแพร ในสมเด็จพระบวรราชเจ้า วังหน้าในรัชกาลที่ ๒ �- มีบรรดาศักดิ์เป็น นรินทร์ธิเบศร์ ���นิราศนรินทร์คำโคลง��นิราศนรินทร์ นายนรินทรธิเบศร์ (อิน) แต่งขึ้นเมื่อคราวตามเสด็จพระบวรราชเจ้ามหาเสนานุรักษ ไปปราบพม่าซึ่งยกมาตีเมืองถลางและชุมพรใน พ.ศ. ๒๓๕๒������นิราศ เป็นคำที่ใช้เรียกวรรณกรรมที่มีเนื้อหา การพลัดพรากจากบุคคลอันเป็นที่รัก แทรกอารมณ์ความเศร้าและความคิดถึงนาง�โดยทั่วไปนิราศ มักแต่งด้วยกลอนสุภาพ ขึ้นต้นด้วยกลอนนิราศ แต่นิราศนรินทร์ขึ้นด้วยร่ายสุภาพและดำเนินเรื่องด้วยโคลงสี่สุภาพ จึงเรียกชื่อใหม่ว่า นิราศนรินทร์คำโคลง � ����การตั้งชื่อนิราศแต่ละเรื่องนั้น ส่วนใหญ่ตั้งตาม�- ชื่อสถานที่ที่เป็นจุดหมายปลายทางของกวี เช่น นิราศเมืองแกลง นิราศเมืองเพชร นิราศพระบาท �- ตั้งชื่อตามชื่อของกวี เช่น นิราศนรินทร์ ของนายนรินทร์ธิเบศร (อิน) �- ตั้งชื่อตามเนื้อเรื่อง เช่น นิราศเดือน ของนายมี�Slide Number 7ลักษณะคำประพันธ์�� แต่งเป็นร่ายสุภาพนำ ๑ บท และตามด้วยโคลงสี่สุภาพจำนวน ๑๔๓ บท ��ร่ายสุภาพ�����อธิบายฉันทลักษณ์��- มีวรรคละ ๕ คำ หรือเกิน ๕ คำได้ แต่ไม่ควรเกิน ๕ จังหวะ ในการอ่าน�- แต่งยาวกี่วรรคก็ได้�- สามวรรคสุดท้ายก่อนจบ ต้องเป็นโคลง ๒ สุภาพเสมอ�สัมผัส��- คำสุดท้ายของวรรคหน้า ต้องสัมผัสกับคำที่ ๑, ๒ หรือ ๓ ของวรรคต่อๆ ไป ยกเว้น ๒ วรรคสุดท้าย�- ถ้าคำสุดท้ายของวรรคหน้าเป็นคำเอกหรือคำโท คำที่รับสัมผัสในวรรคต่อไปจะต้องเป็นคำเอกหรือโทเช่นเดียวกัน��- เอกโท มีโท ๓ เอก ๓ เช่นเดียวกับโคลง ๒ สุภาพ�- คำเป็นคำตาย ถ้าคำที่ส่งสัมผัสเป็นคำเป็นหรือคำตาย คำที่รับสัมผัสก็ต้องเป็นคำเป็นหรือคำตายด้วย แต่คำสุดท้ายของบท (ยกเว้นคำสร้อย) ห้ามใช้คำตายหรือคำที่มีรูปวรรณยุกต์ �- คำสร้อย เติมสร้อยในตอนสุดท้ายของบทได้ ๒ คำ หรือจะเติมทุกวรรคก็ได้ แต่พอถึงโคลง ๒ ต้องงด เว้นไว้แต่สร้อยของโคลง ๒ สร้อยชนิดนี้ถ้าใช้เหมือนกันทุกวรรค เรียกว่า สร้อยสลับวรรค�โคลงสองสุภาพ�������อธิบายฉันทลักษณ์��- บทหนึ่งมี ๓ วรรค �- วรรคที่ ๑ และ ๒ มีวรรคละ ๕ คำ�- วรรคที่ ๓ มี ๔ คำ และ ๒ คำสุดท้ายเป็นคำสร้อย จะมีหรือไม่ก็ได้����- คำที่ ๕ ของวรรคที่ ๑ ต้องสัมผัสกับคำที่ ๕ ของวรรคที่ ๒�- เอกโท มีโท ๓ คำ และ เอก ๓ คำ�- คำตาย ห้ามใช้คำตายในคำสุดท้ายของบท�- คำสร้อย ใส่คำสร้อยต่อวรรคที่ ๓ ได้ ถ้ายังไม่จบความ ถ้าจบความแล้วไม่ต้องใส่����ตัวอย่างร่ายสุภาพและโคลงสองสุภาพ��“ศรีสิทธิ์พิศาลภพ เลอหล้าลบล่มสวรรค์ จรรโลงโลกกว่ากว้าง แผนแผ่นผ้างเมืองเมรุ ศรีอยุธเยนทร์แย้มฟ้า.....�ขยายแผ่นฟ้าให้แผ้ว เลี้ยงทแกล้วให้กล้า พระยศไท้เทิดฟ้า เฟื่องฟุ้งทศธรรม ท่านแฮ”���Slide Number 17��เรื่องย่อ นิราศนรินทร์คำโคลง�เริ่มต้นยอพระเกียรติพระมหากษัตริย์และชมบ้านเมือง จากนั้นจึงกล่าวถึงการจากนางและการเดินทางผ่านสถานที่ใดก็คร่ำครวญถึงหญิงคนรัก�การเดินทางเข้าคลองบางกอกใหญ่ ผ่านวัดหงส์ บางยี่เรือ บางขุนเทียน บางกก โคกขาม แม่กลอง ปากน้ำ บ้านแหลม เพชรบุรี ขึ้นบกที่ชะอำ ผ่านเขาสามร้อยยอด บางสะพาน จึงถึงตะนาวศรี มีการชมนก ชมไม้�ชมสัตว์ ตลอดระยะทาง���นิราศนรินทร์คำโคลง�ศรีสิทธิพิศาลภพ เลอหล้าลบล่มสวรรค์ จรรโลงโลกกว่ากว้าง แผนแผ่นผ้างเมืองเมรุ ศรีอยุธเยนทร์แย้มฟ้า แจกแสงจ้าเจิดจันทร์ เพียงรพิพรรณผ่องด้าว ขุนหาญห้าวแหนบาท สระทุกข์ราษฎร์รอนเสี้ยน ส่ายเศิกเหลี้ยนล่งหล้า ราญราบหน้าเภริน เข็ญข่าวยินยอบตัว ควบค้อมหัวไหว้ละล้าว ทุกไทน้าวมาลย์น้อม ขอออกอ้อมมาอ่อน ผ่อนแผ่นดินให้ผาย ขยายแผ่นฟ้าให้แผ้ว เลี้ยงทแกล้วให้กล้า พระยศไท้เทิดฟ้า เฟื่องฟุ้งทศธรรม ท่านแฮ��นิราศนรินทร์คำโคลง�บทชมเมือง�อยุธยายศล่มแล้ว ลอยสวรรค์ ลงฤา�สิงหาสน์ปรางค์รัตน์บรร เจิดหล้า�บุญเพรงพระหากสรรค์ ศาสน์รุ่ง เรืองแฮ�บังอบายเบิกฟ้า ฝึกฟื้นใจเมือง����เรืองเรืองไตรรัตน์พ้น พันแสง�รินรสพระธรรมแสดง ค่ำเช้า�เจดีย์ระดะแซง เสียดยอด�ยลยิ่งแสงแก้วเก้า แก่นหล้าหลากสวรรค์���������พระอาทิตย์ (ท้าวพันแสง)���พลอยนพเก้า�����������โบสถ์ระเบียงมณฑปพื้น ไพหาร�ธรรมาสน์ศาลาลาน พระแผ้ว�หอไตรระฆังขาน ภายค่ำ�ไขประทีปโคมแก้ว ก่ำฟ้าเฟือนจันทร์�����บทนิราศ�จำใจจากแม่เปลื้อง ปลิดอก อรเอย�เยียวว่าแดเดียวยก แยกได้�สองซีกแล่งทรวงตก แตกภาค ออกแม่�ภาคพี่ไป่หนึ่งไว้ แนบเนื้อนวลถนอม������โฉมควรจักฝากฟ้า ฤๅดิน ดีฤๅ�เกรงเทพไท้ธรณินทร์ ลอบกล้ำ�ฝากลมเลื่อนโฉมบิน บนเล่า นะแม่�ลมจะชายชักช้ำ ชอกเนื้อเรียมสงวน������ฝากอุมาสมรแม่แล้ ลักษมี เล่านา�ทราบสวยมภูวจักรี เกลือกใกล้�เรียมคิดจบจนตรี โลกล่วง แล้วแม่�โฉมฝากใจแม่ได้ ยิ่งด้วยใครครอง������จากมามาลิ่วล้ำ ลำบาง�บางยี่เรือราพลาง พี่พร้อง�เรือแผงช่วยพานาง เมียงม่าน มานา�บางบ่รับคำคล้อง คล่าวน้ำตาคลอ������บ้านบ่อน้ำบกแห้ง ไป่เห็น�บ่อเนตรคงขังเป็น เลือดไล้�อ้าโฉมแม่แบบเบญ- จลักษณ์ เรียมเอย�มาซับอัสสุชลให้ พี่แล้วจักลา������เห็นจากจากแจกก้าน แกมระกำ�ถนัดระกำกรรมจำ จากช้า�บาปใดที่โททำ แทนเท่า ราแม่�จากแต่คาบนี้หน้า พี่น้องคงถนอม���������ผลจากผลระกำ����ชมแขคิดใช่หน้า นวลนาง�เดือนตำหนิวงกลาง ต่ายแต้ม�พิมพ์พักตร์แม่เพ็ญปราง จักเปรียบ ใดเลย�ขำกว่าแขไขแย้ม ยิ่งยิ้มอัปสร��������ความเชื่อ กระต่ายบนดวงจันทร์���ถึงตระนาวตระหน่ำซ้ำ สงสาร อรเอย�จรศึกโศกมานาน เนิ่นช้า�เดินดงท่งทางละหาน หิมเวศ�สารสั่งทุกหย่อมหญ้า ย่านน้ำลานาง������พันเนตรภูวนาถตั้ง ตาระวัง ใดฮา�พักตร์สี่แปดโสตฟัง อื่นอื้อ�กฤษณนิทรเลอหลัง นาคหลับ ฤาพ่อ�สองพิโยคร่ำรื้อ เทพท้าวทำเมิน���������� พระอินทร์ (ท้าวพันตา) พระนารายณ์ (พระจักรี)�����พระพรหม (ผู้มีสี่พักตร์)������นทีสี่สมุทรม้วย หมดสาย�ติมิงคล์มังกรนาคผาย ผาดส้อน�หยาดเหมพิรุณหาย เหือดโลก แล้งแม่�แรมราคแสนร้อยร้อน ฤเถ้า เรียมทน������ลมพัดคือพิษต้อง ตากทรวง�หนาวอกรุมในดวง จิตช้ำ�โฉมแม่พิมลพวง มาเลศ กูเอย�มือแม่วีเดียวล้ำ ยิ่งล้ำลมพาน������เอียงอกเทออกอ้าง อวดองค์ อรเอย�เมรุชุบสมุทรดินลง เลขแต้ม�อากาศจักจารผจง จารึก พอฤๅ�โฉมแม่หยาดฟ้าแย้ม อยู่ร้อนฤๅเห็น������ตราบขุนคิริข้น ขาดสลาย แลแม่�รักบ่หายตราบหาย หกฟ้า�สุริยจันทรขจาย จากโลก ไปฤา�ไฟแล่นล้างสี่หล้า ห่อนล้างอาลัย������ร่ำรักร่ำเรื่องร้าง แรมนวล นาฏฤา�เสนาะสนั่นดินครวญ ครุ่นฟ้า�สารสั่งพี่กำสรวล แสนเสน่ห์ นุชเอย�ควรแม่ไว้ต่างหน้า พี่พู้นภายหลัง���Slide Number 43คุณค่าของนิราศนรินทร์�๑. คุณค่าด้านวรรณศิลป์�- การเลือกสรรคำ (เล่นเสียงสัมผัส)- การใช้ภาพพจน์�- การใช้รสวรรณคดี- การรักษาวิธีการแต่ง�๒. คุณค่าด้านสังคม�- การบันทึกเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์�- แสดงแผนที่การเดินทาง��๑. คุณค่าด้านวรรณศิลป์�- การเลือกสรรคำ (เล่นเสียงสัมผัส)�ในบทประพันธ์นิราศนรินทร์ ผู้ประพันธ์ได้มีการเลือกคำที่ทำให้บทประพันธ์มีความโดดเด่นเป็นอย่างมาก ในที่นี้คือ การเล่นเสียงพยัญชนะ ���การเล่นเสียงพยัญชนะ �เป็นการเลือกคำที่มีเสียงพยัญชนะเดียวกันหรือเสียงพยัญชนะใกล้เคียงกันมาใส่ไว้ในวรรคหรือบทเดียวกัน ทำให้เวลาอ่านออกเสียงเกิดความไพเราะ เช่น �* เล่นเสียง “อ” “เอียงอกเทออกอ้าง อวดองค์ อรเอย”�* เล่นเสียง “ร” “ร่ำรักรำเรื่องร้างแรมนวล นาฏฤา”�������การใช้ภาพพจน์��ภาพพจน์ที่ใช้ในนิราศนรินทร์ เท่าที่ปรากฏ ได้แก่ - อุปลักษณ์ �- บุคคลวัต �- อธิพจน์ - อุปลักษณ์ ��อุปลักษณ์ คือการเปรียบเทียบสิ่งหนึ่งเป็นสิ่งหนึ่ง ที่มีลักษณะคล้ายกันหรือความหมายเหมือนกัน คำที่ใช้ใน การเปรียบได้แก่ เป็น คือ ใช่ เท่า ต่าง �อุปลักษณ์ อาจเรียกว่าชื่อหนึ่งว่า การเปรียบเป็น ���- ตัวอย่างการใช้อุปลักษณ์ ��ลมพัดคือพิษต้อง ตากทรวง�หนาวอกรุมในดวง จิตช้ำ�โฉมแม่พิมลพวง มาเลศ กูเอย�มือแม่วีเดียวล้ำ ยิ่งล้ำลมพาน����- บุคคลวัต��บุคคลวัต เป็นการทำให้สิ่งไม่มีชีวิต แสดงกริยาอาการได้เหมือนสิ่งมีชีวิต เช่น ร้องไห้ เดิน ยิ้ม หัวเราะ เป็นต้น�บุคคลวัต อาจเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า บุคลาธิษฐาน ���- ตัวอย่างการใช้บุคคลวัต ��เอียงอกเทออกอ้าง อวดองค์ อรเอย�เมรุชุบสมุทรดินลง เลขแต้ม�อากาศจักจารผจง จารึก พอฤๅ�โฉมแม่หยาดฟ้าแย้ม อยู่ร้อนฤๅเห็น�����- อธิพจน์��อธิพจน์ คือ การใช้ถ้อยคำหรือการเรียบเรียงเนื้อหา ที่มีการกล่าวเกินกว่าความเป็นจริง หรือแปลกประหลาดไปจากเดิม �อธิพจน์ อาจเรียกอีกชื่อว่า อติพจน์�- ตัวอย่างการใช้อธิพจน์��นทีสี่สมุทรม้วย หมดสาย�ติมิงคล์มังกรนาคผาย ผาดส้อน�หยาดเหมพิรุณหาย เหือดโลก แล้งแม่�แรมราคแสนร้อยร้อน ฤเถ้า เรียมทน��- การใช้รสวรรณคดี�รสวรรณคดี เป็นรูปแบบของเนื้อหาว่าเนื้อหาในตอนนั้น บอกอารมณ์ว่ากำลังรู้สึกอย่างไร แสดงอาการอย่างไร เช่น ดีใจ เศร้าใจ �รสวรรณคดีไทย มีทั้งหมด ๔ รส คือ�* เสาวรจนี* นารีปราโมทย์�* พิโรธวาทัง* สัลลาปังคพิสัย�ปรากฏในนิราศนรินทร์มี ๒ รสคือ เสาวรจนีและสัลลาปังคพิสัย���- เสาวรจนี��คือการเล่าชมความงามของตัวละครในเรื่อง ซึ่งอาจเป็นตัวละครที่เป็นมนุษย์ อมนุษย์ หรือสัตว์ ซึ่งการชมนี้อาจจะเป็นการชมความเก่งกล้าของกษัตริย์ ความงามของปราสาทราชวังหรือความเจริญรุ่งเรืองของบ้านเมือง ����- ตัวอย่างการใช้เสาวรจนี��อยุธยายศล่มแล้ว ลอยสวรรค์ ลงฤา�สิงหาสน์ปรางค์รัตน์บรร เจิดหล้า�บุญเพรงพระหากสรรค์ ศาสน์รุ่ง เรืองแฮ�บังอบายเบิกฟ้า ฝึกฟื้นใจเมือง�����- สัลลาปังคพิสัย��การกล่าวข้อความแสดงอารมณ์โศกเศร้า อาลัยต่อบุคคลอันเป็นที่รัก ทั้งที่เกิดจากการพลัดพรากจากลา หรือต้องเสียชีวิตไป������- ตัวอย่างการใช้สัลลาปังคพิสัย��จำใจจากแม่เปลื้อง ปลิดอก อรเอย�เยียวว่าแดเดียวยก แยกได้�สองซีกแล่งทรวงตก แตกภาค ออกแม่�ภาคพี่ไป่หนึ่งไว้ แนบเนื้อนวลถนอม��������- การรักษาวิธีการแต่ง��นิราศนรินทร์ เป็นโคลงที่มีลักษณะตรงตามสัมผัสคำเอก คำโท ถูกต้องตามแบบแผนแทบทุกบท �นิราศนรินทร์จึงแบบอย่างในการประพันธ์ร้อยกรองประเภทโคลง ��������- ตัวอย่างบที่ตรงตามบังคับคำเอก คำโท��จากมามาลิ่วล้ำ ลำบาง�บางยี่เรือราพลาง พี่พร้อง�เรือแผงช่วยพานาง เมียงม่าน มานา�บางบ่รับคำคล้อง คล่าวน้ำตาคลอ����������๒. คุณค่าด้านสังคม�- การบันทึกเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์�นิราศนรินทร์ แต่งเมื่อครั้งนายนรินทร์ธิเบศร (อิน) ตามเสด็จสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาเสนานุรักษ์ ยกทัพไปรบพม่าที่ยกมาตีเมืองถลางและชุมพร เมื่อปี พ.ศ. ๒๓๕๒�จึงสังเกตได้ว่านิราศเรื่องนี้ สะท้อนเหตุการณ์บ้านเมืองในสมัยนั้น แม้ไม่ได้กล่าวถึงโดยตรงก็ตาม����������- แสดงแผนที่การเดินทาง��นิราศนรินทร์ แสดงเส้นทางการเดินทัพทางเรือจากกรุงเทพฯ ถึงเพชรบุรี แล้วเดินทางบกต่อไปถึงตะนาว ซึ่งเป็นการเดินทางที่ใช้เวลานานมาก�������แผนที่การเดินทาง�ในนิราศนรินทร์����Slide Number 64���๑. �“เอียงอกเทออกอ้าง อวดองค์ อรเอย�เมรุชุบสมุทรดินลง เลขแต้ม�อากาศจักจารผจง จารึก พอฤๅ�โฉมแม่หยาดฟ้าแย้ม อยู่ร้อนฤๅเห็น”����๑. ข้อใดถอดคำประพันธ์ไม่ตรงกับความหมายของคำประพันธ์นี้���ก. เอียงอกเทความรู้สึกเพื่อบอกความในใจแก่น้อง�ข. น้องจะรู้หรือไม่ว่าพี่ทุกข์ร้อนคิดถึงน้องเพียงใดโปรดบอกพี่ด้วย�ค. แม้จะใช้เขาพระสุเมรุเป็นปากกาจุ่มน้ำในมหาสมุทรละลายดินเป็นหมึก�ง. ใช้อากาศเป็นแผ่นกระดาษเพื่อพรรณนาความรักความอาลัยก็ยังไม่พอ����๒. “เอียงอกเทออกอ้าง อวดองค์ อรเอย�เมรุชุบสมุทรดินลง เลขแต้ม�อากาศจักจารผจง จารึก พอฤๅ�โฉมแม่หยาดฟ้าแย้ม อยู่ร้อนฤๅเห็น”�คำประพันธ์ข้างต้นมีการใช้โวหารภาพพจน์แบบใด�ก. อุปมาข. อธิพจน์�ค. บุคคลวัตง. อุปลักษณ์���๓. “จำใจจากแม่เปลื้อง ปลิดอก อรเอย�เยียวว่าแดเดียวยก แยกได้�สองซีกแล่งทรวงตก แตกภาค ออกแม่�ภาคพี่ไปหนึ่งไว้ แนบเนื้อนวลถนอม”�คำประพันธ์บทนี้มีรสวรรณคดีตรงตามข้อใด�ก. เสาวรจนีข. นารีปราโมทย์�ค. พิโรธวาทังง. สัลลาปังคพิสัย���๔. “เห็นจากจากแจกก้าน แกมระกำ�ถนัดระกำกรรมจำ จากช้า�บาปใดที่โททำ แทนเท่า ราแม่�จากแต่คาบนี้หน้า พี่น้องคงถนอม”�จากโคลงนิราศนรินทร์บทนี้ บาทใดมีเนื้อหาแสดงความหวัง�ก. บาทที่ ๑ข. บาทที่ ๒�ค. บาทที่ ๓ง. บาทที่ ๔���๕. ข้อใดมีเนื้อหาสรรเสริญพระเกียรติของพระมหากษัตริย์��ก. อยุธยายศล่มแล้ว ลอยสวรรค์ ลงฤๅ�ข. สิงหาสน์ปรางรัตน์บรร เจิดหล้า�ค. บุญเพรงพระหากสรรค์ ศาสน์รุ่ง เรืองแฮ�ง. บังอบายเบิกฟ้า ฝึกฟื้นใจเมือง ���๖. คำประพันธ์ใดไม่มีความเด่นด้านสัมผัสอักษร��ก. เสนาะสนั่นดินครวญ ครุ่นฟ้า�ข. ควรแม่ไว้ต่างหน้า พี่พู้นภายหลัง�ค. สารสั่งพี่กำสรวล แสนเสน่ห์ นุชเอย�ง. ร่ำรักร่ำเรื่องร้าง แรมนวล นาฏฤๅ���๗. “ไขประทีปโคมแก้ว ก่ำฟ้าเฟือนจันทร์”�คำประพันธ์ข้างต้นมีการใช้ภาพพจน์แบบใด�ก. อุปมา�ข. อธิพจน์�ค. บุคคลวัต�ง. อุปลักษณ์� ���๘. ธรรมเนียมนิยมในการแต่งคำประพันธ์ประเภทนิราศ มักจะพิถีพิถันที่จะแสดงรสใดเป็นสำคัญ� ก. รสบรรยายสถานที่ �ข. รสชมความงาม � ค. รสคำ รสความ �ง. รสรัก รสอาลัย����๙. คำประพันธ์ข้อใดไม่ใช่บุคคลวัต��ก. เอียงอกเทออกอ้าง อวดองค์ อรเอย�ข. เมรุชุบสมุทรดินลง เลขแต้ม�ค. อากาศจักจานผจง จารึก พอฤา �ง. โฉมแม่หยาดฟ้าแย้ม อยู่ร้อนฤาเห็น� ���๑๐. “ชมแขคิดใช่หน้านวลนาง�เดือนตำหนิวงกลางต่ายแต้ม�พิมพ์พักตร์แม่เพ็ญปรางจักเปรียบ ใดเลย�ขำกว่าแขไขแย้มยิ่งยิ้มอัปสร”�จากคำประพันธ์ข้างต้น มีการใช้ภาพพจน์ชนิดใด�ก. อุปลักษณ์ข. อุปมา�ค. อธิพจน์ง. บุคคลวัต���ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋� ��