โปรตีน...โปรต น โปรต นเป นสารท พบมากท ส...

34
โปรตีน อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์

Upload: others

Post on 06-Mar-2020

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: โปรตีน...โปรต น โปรต นเป นสารท พบมากท ส ดในเซลล ของส งม ช ว ต ค นพบในป พ.ศ

โปรตีน

อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์

Page 2: โปรตีน...โปรต น โปรต นเป นสารท พบมากท ส ดในเซลล ของส งม ช ว ต ค นพบในป พ.ศ

โปรตีน

โปรตีนเป็นสารที่พบมากที่สุดในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต

ค้นพบในปี พ.ศ. 2382 (ค.ศ. 1839) โดยมูลเดอร ์

โปรตีนมาจากค าภาษากรีก proteus แปลว่า มีความส าคัญก่อน

โดยทั่วไปในเซลล์ของพืชและสัตว์มีโปรตีนอยู่มากกว่าร้อยละ 50

ของน้ าหนักแห้ง

หน่วยย่อยของโปรตีน คือ กรดอะมิโน

สารชีวโมเลกุล

เคมี อ.ณัฐ

Page 3: โปรตีน...โปรต น โปรต นเป นสารท พบมากท ส ดในเซลล ของส งม ช ว ต ค นพบในป พ.ศ

กรดอะมิโน

กรดอะมิโนประกอบด้วยไฮโดรเจน หมู่อะมิโน (-NH2) และหมู่

คาร์บอกซิล (-COOH) ต่ออยู่ที่แอลฟาคาร์บอน

โซ่ข้างเป็นส่วนที่ท าให้กรดอะมิโนมสีมบตัิแตกต่างกัน

สารชีวโมเลกุล

เคมี อ.ณัฐ

Page 4: โปรตีน...โปรต น โปรต นเป นสารท พบมากท ส ดในเซลล ของส งม ช ว ต ค นพบในป พ.ศ

กรดอะมิโน

กรดอะมิโนที่พบในโปรตีน มี 20 ชนิด แต่ละชนิดต่างกันที่หมู่แอลคิล

ซึ่งเป็นโซ่ข้าง

กรดอะมิโน แบ่งตามสภาพขั้วของหมู่แอลคิลเป็น 4 กลุ่ม คือ

1. ไม่มีขั้ว

2. มีขั้วและเป็นกลาง

3. มีขั้วและเป็นกรด

4. มีขั้วและเป็นเบส

สารชีวโมเลกุล

เคมี อ.ณัฐ

Page 5: โปรตีน...โปรต น โปรต นเป นสารท พบมากท ส ดในเซลล ของส งม ช ว ต ค นพบในป พ.ศ

กรดอะมิโน สารชีวโมเลกุล

เคมี อ.ณัฐ

Page 6: โปรตีน...โปรต น โปรต นเป นสารท พบมากท ส ดในเซลล ของส งม ช ว ต ค นพบในป พ.ศ

กรดอะมิโน สารชีวโมเลกุล

เคมี อ.ณัฐ

Page 7: โปรตีน...โปรต น โปรต นเป นสารท พบมากท ส ดในเซลล ของส งม ช ว ต ค นพบในป พ.ศ

กรดอะมิโน

กรดอะมิโน แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ

1. กรดอะมิโนจ าเป็น คือ กรดอะมิโนที่ร่างกายสังเคราะห์ขึ้นเองไม่ได้

มี 8 ชนิด คือ ไอโซลิวซีน ลิวซีน ไลซีน เมไทโอนีน ทรีโอนีน

เฟนิลอะลานีน ทริปโตเฟน เวลีน ส าหรับเด็กต้องการ ฮิสติดีน

และ อาร์จีนีน

2. กรดอะมิโนไม่จ าเป็น คือ กรดอะมิโนที่ร่างกายสังเคราะห์ขึ้นเองได ้

สารชีวโมเลกุล

เคมี อ.ณัฐ

Page 8: โปรตีน...โปรต น โปรต นเป นสารท พบมากท ส ดในเซลล ของส งม ช ว ต ค นพบในป พ.ศ

พันธะเพปไทด์

เป็นพันธะที่เชื่อมระหว่างกรดอะมิโนในโปรตีน

เป็นพันธะโคเวเลนต์ ที่เกิดจากปฏิกิริยาการควบแน่นของหมูค่าร์บอกซิล

(-COOH) กับหมู่อะมิโน(-NH2) โดยเสียน้ าไป 1 โมเลกุลต่อการ

เชื่อมต่อ 1 พันธะ

สารชีวโมเลกุล

เคมี อ.ณัฐ

Page 9: โปรตีน...โปรต น โปรต นเป นสารท พบมากท ส ดในเซลล ของส งม ช ว ต ค นพบในป พ.ศ

โปรตีน

กรดอะมิโนหลายโมเลกุล จะยึดเหนี่ยวกันด้วยพันธะเพปไทด์

ถ้ากรดอะมิโน 2 โมเลกุล เกิดปฏิกิริยารวมตัวกันจะได้สารประกอบที่

เรียกว่า ไดเพปไทด ์

กรดอะมิโน 3 โมเลกุล โมเลกุลท าปฏิกิริยารวมตัวกันจะได้

สารประกอบ ไตรเพปไทด์

ถ้ากรดอะมิโนหลายๆ โมเลกุลท าปฏิกิริยากันจนเกิดเป็นสายยาว จะได้

สารประกอบซึ่งเรียกว่า พอลิเพปไทด์

สารชีวโมเลกุล

เคมี อ.ณัฐ

Page 10: โปรตีน...โปรต น โปรต นเป นสารท พบมากท ส ดในเซลล ของส งม ช ว ต ค นพบในป พ.ศ

โครงสร้างของโปรตีน

โปรตีนประกอบด้วยธาตุต่างๆ หลายชนิด ได้แก่ C H O N บางชนิด

มี P S Fe Zn Cu I เป็นต้น

เป็นสารอินทรีย์โมเลกุลใหญ่ มีมวลโมเลกุลมากกว่า 5,000 g/mol

เกิดจากกรดอะมิโน มาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะเพปไทด์ จัดเป็นสารพวก

พอลิเอไมด์ หรือพอลิเพปไทด ์

เกิดโครงสร้างได้ 4 ระดับ คือ โครงสร้างปฐมภูม,ิ โครงสร้างทุติภูมิ

โครงสร้างตติยภูมิ และ โครงสร้างจตุรภูม ิ

สารชีวโมเลกุล

เคมี อ.ณัฐ

Page 11: โปรตีน...โปรต น โปรต นเป นสารท พบมากท ส ดในเซลล ของส งม ช ว ต ค นพบในป พ.ศ

โครงสร้างของโปรตีน

เกิดโครงสร้างได้ 4 ระดับ คือ โครงสร้างปฐมภูม,ิ โครงสร้างทุติภูมิ

โครงสร้างตติยภูมิ และ โครงสร้างจตุรภูม ิ

สารชีวโมเลกุล

เคมี อ.ณัฐ

Page 12: โปรตีน...โปรต น โปรต นเป นสารท พบมากท ส ดในเซลล ของส งม ช ว ต ค นพบในป พ.ศ

โครงสร้างปฐมภูมิ

เป็นโครงสร้างที่แสดงล าดับกรดอะมิโนใน

สายเพปไทด์ หรือในโมเลกุลโปรตีน

แตล่ะชนิดจะมีจ านวนและล าดับของ

กรดอะมิโนที่จ าเพาะ

การจัดล าดับกรดอะมิโนในโครงสร้าง

ปฐมภูมิก าหนดให้ปลายหมู่อะมิโนอยู่

ด้านซ้าย และปลายหมู่คาร์บอกซลิอยู่

ด้านขวา

สารชีวโมเลกุล

เคมี อ.ณัฐ

Page 13: โปรตีน...โปรต น โปรต นเป นสารท พบมากท ส ดในเซลล ของส งม ช ว ต ค นพบในป พ.ศ

โครงสร้างปฐมภูมิ

ไดเพปไทด์ที่ประกอบด้วยกรดอะมโินไกลซนี (Gly) และอะลานีน

(Ala) สามารถเขียนล าดับกรดอะมิโนที่ต่อกันได้ดังนี้

ไตรเพปไทด์ที่ประกอบด้วยกรดอะมิโนไทโรซนี (Tyr) ฮิสติดีน (His)

และซีสเตอีน (Cys) สามารถเขียนล าดับกรดอะมิโนที่ต่อกันไดด้ังนี้

สารชีวโมเลกุล

เคมี อ.ณัฐ

Page 14: โปรตีน...โปรต น โปรต นเป นสารท พบมากท ส ดในเซลล ของส งม ช ว ต ค นพบในป พ.ศ

โครงสร้างทุติยภูมิ

เป็นโครงสร้างที่เกิดจากการขดหรือม้วนตัวของโครงสร้างปฐมภูมิ

ถ้าเกิดจากการสร้างพันธะไฮโดรเจนระหว่าง C=O ของกรดอะมิโนหนึ่ง

กับ N-H ของกรดอะมิโนถัดไปอีก 4 หน่วย ในสายพอลิเพปไทด์

เดียวกัน จะเกิดโครงสร้างในลักษณะบิดเป็นเกลียวซึ่ง เรียกว่า

เกลียวแอลฟา

ถ้าเกิดจากการสร้างพันธะไฮโดรเจนระหว่าง C=O กับ N-H ของ

กรดอะมิโนระหว่างสายพอลิเพปไทด์ที่อยู่คู่กัน จะเกิดโครงสร้างมี

ลักษณะเป็นแผ่นซึ่งเรียกว่า แผ่นพลีทบีต้า

สารชีวโมเลกุล

เคมี อ.ณัฐ

Page 15: โปรตีน...โปรต น โปรต นเป นสารท พบมากท ส ดในเซลล ของส งม ช ว ต ค นพบในป พ.ศ

โครงสร้างทุติยภูมิ สารชีวโมเลกุล

เคมี อ.ณัฐ

β-pleated sheet α-helix

Page 16: โปรตีน...โปรต น โปรต นเป นสารท พบมากท ส ดในเซลล ของส งม ช ว ต ค นพบในป พ.ศ

โครงสร้างทุติยภูมิ สารชีวโมเลกุล

เคมี อ.ณัฐ

ถ้าเกิดจากการสร้างพันธะไฮโดรเจนระหว่าง

C=O ของกรดอะมิโนหนึ่งกับ N-H ของ

กรดอะมิโนถัดไปอีก 4 หน่วย ในสายพอลิ

เพปไทด์เดียวกัน จะเกิดโครงสร้างในลักษณะ

บิดเป็นเกลียวซึ่ง เรียกว่า เกลียวแอลฟา

ถ้าเกิดจากการสร้างพันธะไฮโดรเจน

ระหว่าง C=O กับ N-H ของกรดอะมิโน

ระหว่างสายพอลิเพปไทด์ที่อยู่คู่กัน จะเกิด

โครงสร้างมีลักษณะเป็นแผ่นซึ่งเรียกว่า แผ่น

พลีทบีต้า

Page 17: โปรตีน...โปรต น โปรต นเป นสารท พบมากท ส ดในเซลล ของส งม ช ว ต ค นพบในป พ.ศ

โครงสร้างตติยภูมิ

เกิดจากโครงสร้างเกลียวแอลฟาม้วนเข้า

หากัน และไขว้กันโดยมีแรงยึดเหนี่ยว

อ่อนๆ

โครงสร้างตติยภูมิของโปรตีนแต่ละชนิดจะ

มีลักษณะจ าเพาะ ขึ้นอยู่กับล าดับของ

กรดอะมิโนในสายพอลิเพปไทด์ ท าให้เกิด

เป็นโครงสร้างที่มีความเหมาะสมส าหรับ

การท าหน้าที่ต่างๆ ของโปรตีนเหล่านั้น

สารชีวโมเลกุล

เคมี อ.ณัฐ

Page 18: โปรตีน...โปรต น โปรต นเป นสารท พบมากท ส ดในเซลล ของส งม ช ว ต ค นพบในป พ.ศ

โครงสร้างจตุรภูมิ

เกิดจากการรวมตัวของหน่วยย่อยชนิดเดียว หรือ

ต่างชนิดกันของโครงสร้างตติยภูมิ โดยมีแรงยึด

เหนี่ยวยึดหน่วยย่อยเข้าด้วยกัน

ลักษณะโครงสร้างใหม่ขึ้นอยู่กับโครงสร้างตติยภูมิ

ซึ่งเป็นหน่วยย่อย โดยอาจมีการรวมตัวกันเป็น

ลักษณะก้อนกลม เช่น ฮีโมโกลบิน หรือเป็นมัด

คล้ายเส้นใย เช่น คอลลาเจน

สารชีวโมเลกุล

เคมี อ.ณัฐ

Page 19: โปรตีน...โปรต น โปรต นเป นสารท พบมากท ส ดในเซลล ของส งม ช ว ต ค นพบในป พ.ศ

โครงสร้างของโปรตีน สารชีวโมเลกุล

เคมี อ.ณัฐ

Page 20: โปรตีน...โปรต น โปรต นเป นสารท พบมากท ส ดในเซลล ของส งม ช ว ต ค นพบในป พ.ศ

โครงสร้างของโปรตีน สารชีวโมเลกุล

เคมี อ.ณัฐ

Page 21: โปรตีน...โปรต น โปรต นเป นสารท พบมากท ส ดในเซลล ของส งม ช ว ต ค นพบในป พ.ศ

การทดสอบโปรตีน

ทดสอบได้ด้วยสารละลายไบยูเร็ต (CuSO4 เจือจางในเบส)

CuSO4เจือจางในสารละลายเบส ท าปฏิกิริยากับองค์ประกอบย่อย

ของโปรตีนที่เรียกว่า กรดอะมิโน ได้สารสีน้ าเงินม่วงซึ่งเป็นสีของ

สารประกอบเชิงซ้อนระหว่างคอปเปอร์ (II) ไอออนกับไนโตรเจน

ใช้ทดสอบสารที่มพีันธะเพปไทด์ตั้งแต่ 2 พันธะขึ้นไป

สารชีวโมเลกุล

เคมี อ.ณัฐ

Page 22: โปรตีน...โปรต น โปรต นเป นสารท พบมากท ส ดในเซลล ของส งม ช ว ต ค นพบในป พ.ศ

การทดสอบโปรตีน สารชีวโมเลกุล

เคมี อ.ณัฐ

Page 23: โปรตีน...โปรต น โปรต นเป นสารท พบมากท ส ดในเซลล ของส งม ช ว ต ค นพบในป พ.ศ

ชนิดและหน้าที่ของโปรตีน

หน้าทีข่องโปรตีนแต่ละชนิดขึ้นอยู่กับโครงสร้าง 3 มิติของโปรตีน

โครงสร้างของโปรตีนขึ้นอยู่กับกรดอะมิโนที่เป็นองค์ประกอบของ

สายพอลิเพปไทด ์

แบ่งตามลักษณะการจัดตัวในโครงสร้าง 3 มิติแบ่งเป็น

โปรตีนก้อนกลม

โปรตีนเส้นใย

สารชีวโมเลกุล

เคมี อ.ณัฐ

Page 24: โปรตีน...โปรต น โปรต นเป นสารท พบมากท ส ดในเซลล ของส งม ช ว ต ค นพบในป พ.ศ

โปรตีนก้อนกลม

เกิดจากสายพอลิเพปไทด์จะขดม้วนเข้าหากันอย่างหนาแน่น

เป็นก้อนกลม

ละลายน้ าได้ด ี

ท าหน้าที่เกี่ยวกับ เมทาบอลิซึมในเซลล ์

ตัวอย่างเช่น อินซูลิน แอลบูมิน เอนไซม์

สารชีวโมเลกุล

เคมี อ.ณัฐ

Page 25: โปรตีน...โปรต น โปรต นเป นสารท พบมากท ส ดในเซลล ของส งม ช ว ต ค นพบในป พ.ศ

โปรตีนเส้นใย

เกิดจากพอลิเพปไทด์สายยาวๆ หลายเส้นมาพันกัน

มีความแข็งแรง และยืดหยุ่นสูง

ท าหน้าที่เป็นโปรตีนโครงสร้าง

เช่น เคราตินในผม ขน เล็บ

ไฟโบรอินในเส้นไหม

ไมโอซินในกล้ามเนื้อ อีลาสตินในเอ็น

และ คอลลาเจนเนื้อเย่ือเกี่ยวพัน

สารชีวโมเลกุล

เคมี อ.ณัฐ

Page 26: โปรตีน...โปรต น โปรต นเป นสารท พบมากท ส ดในเซลล ของส งม ช ว ต ค นพบในป พ.ศ

ชนิด และ หน้าที่ที่ส าคัญของโปรตีน สารชีวโมเลกุล

เคมี อ.ณัฐ

Page 27: โปรตีน...โปรต น โปรต นเป นสารท พบมากท ส ดในเซลล ของส งม ช ว ต ค นพบในป พ.ศ

ชนิด และ หน้าที่ที่ส าคัญของโปรตีน สารชีวโมเลกุล

เคมี อ.ณัฐ

Page 28: โปรตีน...โปรต น โปรต นเป นสารท พบมากท ส ดในเซลล ของส งม ช ว ต ค นพบในป พ.ศ

เอนไซม์

เอนไซม์เป็นโปรตีนที่ท าหน้าที่เป็น

ตัวเร่งปฏิกิริยาในเซลล์สิ่งมีชีวิต

ท าให้สารตั้งต้นเกิดปฏิกิริยาง่ายขึ้น

โดยรวมกับเอนไซม์ได้อย่างเหมาะสม

เอนไซม์ช่วยลดพลังงานก่อกัมมันต์

และท าให้มีผลให้ปฏิกิริยาเกิดเร็วขึ้น

สารชีวโมเลกุล

เคมี อ.ณัฐ

Page 29: โปรตีน...โปรต น โปรต นเป นสารท พบมากท ส ดในเซลล ของส งม ช ว ต ค นพบในป พ.ศ

การท างานของเอนไซม์

เป็น Lock and Key model

สารชีวโมเลกุล

เคมี อ.ณัฐ

Page 30: โปรตีน...โปรต น โปรต นเป นสารท พบมากท ส ดในเซลล ของส งม ช ว ต ค นพบในป พ.ศ

การเรียกชื่อเอนไซม์

เรียกตามชนิดของสับสเตรต โดยลง

ท้ายเสียงเป็น เ-ส เช่น เอนไซม์

ซูเครส อะไมเลส ไลเปส ยูรีเอส

เอนไซมบ์างชนิดอาจมีชื่อเฉพาะ เช่น

เพปซิน ทริปซิน ซึ่งเป็นเอนไซม์ช่วยใน

การย่อยโปรตีน เนื่องจากเป็นชื่อที ่

สารชีวโมเลกุล

เคมี อ.ณัฐ

Page 31: โปรตีน...โปรต น โปรต นเป นสารท พบมากท ส ดในเซลล ของส งม ช ว ต ค นพบในป พ.ศ

ปัจจัยที่มีผลต่อการท างานของเอนไซม์

อุณหภูมิ

ความเข้มข้นของสับสเตรต

ความเข้มข้นของเอนไซม์

ความเป็นกรด-เบสของสารละลาย (pH)

ตัวยับยั้ง

สารชีวโมเลกุล

เคมี อ.ณัฐ

Page 32: โปรตีน...โปรต น โปรต นเป นสารท พบมากท ส ดในเซลล ของส งม ช ว ต ค นพบในป พ.ศ

การแปลงสภาพโปรตีน

เป็นการท าลายสภาพธรรมชาติของโปรตีน

เป็นการท าลายโครงสร้างจตุรภูมิ ตติยภูมิ และทุติยภูมิเท่านั้น

ส่วนพันธะเพปไทดย์ังคงอยูป่กต ิ

เป็นกระบวนการอย่างหนึ่ง

ทีท่ าให้โครงสร้างสามมิติ

ของโปรตีนเปลี่ยนไป

สารชีวโมเลกุล

เคมี อ.ณัฐ

Page 33: โปรตีน...โปรต น โปรต นเป นสารท พบมากท ส ดในเซลล ของส งม ช ว ต ค นพบในป พ.ศ

ปัจจัยที่ท าให้โปรตีนแปลงสภาพ

ความร้อน

ความเป็นกรด - เบส

แอลกอฮอล์ และโลหะหนัก

การเติมสารซักฟอก

การฉายรังสีเอกซ์

การเขย่าแรง ๆ ให้ตกตะกอน

สารชีวโมเลกุล

เคมี อ.ณัฐ

Page 34: โปรตีน...โปรต น โปรต นเป นสารท พบมากท ส ดในเซลล ของส งม ช ว ต ค นพบในป พ.ศ

ปัจจัยที่ท าให้โปรตีนแปลงสภาพ

การน าความรู้ที่เก่ียวกับการแปลงสภาพของโปรตีนไปใช้ประโยชน ์

การต้มไข่ในน้ าที่อุณหภูมิ 100oC ประมาณ 3 นาที

เช็ดผิวหนังด้วยส าลีชุบแอลกอฮอลก์่อนฉีดยา

การท าความสะอาดเครื่องมือแพทย์เพื่อฆ่าเชื้อโรคมักจะใส่ในหมอ้นึ่ง

อัตราความดันที่อุณหภูมิ 120oC

การให้ความร้อนกับน้ านมที ่60oC ซึ่งเป็นกรรมวิธีในการท าโยเกิร์ต

การบีบมะนาวในอาหารประเภทย าหรือต้มย า

โลหะหนัก ท าให้โปรตีนตกตะกอน

สารชีวโมเลกุล

เคมี อ.ณัฐ