หลักภาษา...สาระ o-net ฉบ บกระเป า ภาษาไทย...

12
สำรบัญ หลักภำษำ 5 กำรใช้ภำษำ 59 วรรณคดีและวรรณกรรม 99 ประวัตินักเขียน 134

Upload: others

Post on 10-Jul-2020

2 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: หลักภาษา...สาระ O-NET ฉบ บกระเป า ภาษาไทย ม.ต น 7 โครงสร ำงของค ำ พยางค และค

สำรบัญ

หลักภาษา•

หลักภำษำ 5

กำรใช้ภำษำ 59

วรรณคดีและวรรณกรรม 99

ประวัตินักเขียน 134

page1_1-32(��-1915U).indd 4 25/1/2562 BE 08:54

Page 2: หลักภาษา...สาระ O-NET ฉบ บกระเป า ภาษาไทย ม.ต น 7 โครงสร ำงของค ำ พยางค และค

สาระ O-NET ฉบับกระเป๋า ภาษาไทย ม.ต้น 5

หลักภาษา

page1_1-32(��-1915U).indd 5 25/1/2562 BE 08:54

Page 3: หลักภาษา...สาระ O-NET ฉบ บกระเป า ภาษาไทย ม.ต น 7 โครงสร ำงของค ำ พยางค และค

6 สาระ O-NET ฉบับกระเป๋า ภาษาไทย ม.ต้น

พยำงค์และค�ำ

พยางค์ : เสียงที่เปล่งออกมา 1 ครั้ง นับเป็น 1 พยางค์ค�า : เสียงที่เปล่งออกมาแล้วมีความหมาย เช่น กล้วย เป็น 1 ค�า มี 1 พยางค์ โทรทัศน์ เป็น 1 ค�า มี 3 พยางค์ มหาวิทยาลัย เป็น 1 ค�า มี 6 พยางค์

page1_1-32(��-1915U).indd 6 25/1/2562 BE 08:54

Page 4: หลักภาษา...สาระ O-NET ฉบ บกระเป า ภาษาไทย ม.ต น 7 โครงสร ำงของค ำ พยางค และค

สาระ O-NET ฉบับกระเป๋า ภาษาไทย ม.ต้น 7

โครงสร้ำงของค�ำ พยางค์และค�าประกอบด้วย เสียงพยัญชนะต้น + เสียงสระ + เสียงวรรณยุกต*์ ส่วนเสียงพยัญชนะท้าย (ตัวสะกด) และตัวการันต์จะม ีหรือไม่มีก็ได้ *เสียงวรรณยุกต์อาจไม่ตรงกับรูปวรรณยุกต ์แต่ค�าที่มีเสียงวรรณยุกต์เสียงสามัญจะไม่ปรากฏรูปวรรณยุกต์เสมอ อ่านเพิ่มเติมได้ในหัวข้อการผันวรรณยุกต์ตามหลักไตรยางศ์ หน้า 22

ค�า เสียงพยญัชนะต้น เสียงสระ เสียง

วรรณยุกต์เสียง

พยัญชนะท้ายตัว

การันต์

พระ /พร/ -ะ ตรี - -

แก้ว /ก/ แ- โท /ว/ -

เบอร์ /บ/ เ-อ สามัญ - ร

page1_1-32(��-1915U).indd 7 25/1/2562 BE 08:54

Page 5: หลักภาษา...สาระ O-NET ฉบ บกระเป า ภาษาไทย ม.ต น 7 โครงสร ำงของค ำ พยางค และค

8 สาระ O-NET ฉบับกระเป๋า ภาษาไทย ม.ต้น

อักษรกลาง ได้แก่ ก จ ด ต บ ป อ ฎ ฏวิธีท่องจ�า : ไก่ จิก เด็ก ตาย บน ปาก โอ่ง (+ฎ ฏ) อักษรสูง ได้แก่ ผ ฝ ถ ข ส ห ฉ ฐ ฃ ศ ษวิธีท่องจ�า : ผี ฝาก ถุง ข้าว สาร ให้ ฉัน (+ฐ ฃ ศ ษ) อักษรต�่า แบ่งเป็น 3.1 อักษรต�่าคู่ (คู่กับอักษรสูง เสียงต�่ากว่าอักษรสูง) ได้แก่ พ ฟ ท ค ซ ฮ ช ภ ธ ฑ ฒ ฅ ฆ ฌวิธีท่องจ�า : พี ฟาก ทุง ค้าว ซาร ไฮ้ ชัน (+ภ ธ ฑ ฒ ฅ ฆ ฌ) 3.2 อักษรต�่าเดี่ยว (ไม่มีคู่) ได้แก่ ง ญ น ย ณ ร ว ม ฬ ลวิธีท่องจ�า : งู ใหญ่ นอน อยู่ ณ ริม วัด โม ฬี โลก

อักษรสำมหมู่/ไตรยำงศ์ (พยัญชนะต้น)

1

2

3

page1_1-32(��-1915U).indd 8 25/1/2562 BE 08:54

Page 6: หลักภาษา...สาระ O-NET ฉบ บกระเป า ภาษาไทย ม.ต น 7 โครงสร ำงของค ำ พยางค และค

สาระ O-NET ฉบับกระเป๋า ภาษาไทย ม.ต้น 9

อักษรควบ/ค�ำควบกล�้ำ(พยัญชนะต้น)

1 ควบแท้ ออกเสียงพยัญชนะทั้งสองตัวควบกล�้า กันสนิท ได้แก่ พยัญชนะ + ร เช่น กรอบ พรุน พยัญชนะ + ล เช่น พลัด เปล่า พยัญชนะ + ว เช่น ขว้าง กวัก

2 ควบไม่แท้ พยัญชนะ + ร แต่เวลาอ่านไม่ออกเสียง /ร/ เช่น จริง สร้อย พยัญชนะ ทร อ่านออกเสียงเหมือน /ซ/ เช่น ทราบ พทุรา

1

2

page1_1-32(��-1915U).indd 9 25/1/2562 BE 08:54

Page 7: หลักภาษา...สาระ O-NET ฉบ บกระเป า ภาษาไทย ม.ต น 7 โครงสร ำงของค ำ พยางค และค

10 สาระ O-NET ฉบับกระเป๋า ภาษาไทย ม.ต้น

อ น�า ย ได้แก่ อย่า อยู่ อย่าง อยาก

ห น�า อักษรต�่าเดี่ยว เช่น หญ้า หยอง หวัด

อักษรสูง/อักษรกลาง น�า อักษรต�่าเดี่ยว

เช่น กนก สลาย ขนม

1

2

3

อักษรน�ำ (พยัญชนะต้น) เวลำออกเสียงจะคล้ำยมี ห น�ำ

ระวัง!!! บางค�าออกเสียงแบบอักษรน�า แต่ไม่ใช่อักษรน�า

เช่น ด�าริ ด�ารัส ประโยชน์ ต�ารวจ ส�าเร็จ

1

2

3

page1_1-32(��-1915U).indd 10 25/1/2562 BE 08:54

Page 8: หลักภาษา...สาระ O-NET ฉบ บกระเป า ภาษาไทย ม.ต น 7 โครงสร ำงของค ำ พยางค และค

สาระ O-NET ฉบับกระเป๋า ภาษาไทย ม.ต้น 11

สระแท้/สระเดี่ยว

สระเสียงส้ัน สระเสียงยาว

-ะ -า

-ิ -ี

-ึ -ือ

-ุ -ู

เ-ะ เ-

แ-ะ แ-

โ-ะ โ-

เ-าะ -อ

เ-อะ เ-อ

page1_1-32(��-1915U).indd 11 25/1/2562 BE 08:54

Page 9: หลักภาษา...สาระ O-NET ฉบ บกระเป า ภาษาไทย ม.ต น 7 โครงสร ำงของค ำ พยางค และค

12 สาระ O-NET ฉบับกระเป๋า ภาษาไทย ม.ต้น

สระประสม/สระเลื่อน

เกิดจากสระแท ้+ สระแท ้ได้แก่

สระแท้ สระประสม/สระเลื่อน

-ู + -ะ = -ัวะ

-ู + -า = -ัว

-ือ + -ะ = เ-ือะ

-ือ + -า = เ-ือ

-ี + -ะ = เ-ียะ

-ี + -า = เ-ีย

page1_1-32(��-1915U).indd 12 25/1/2562 BE 08:54

Page 10: หลักภาษา...สาระ O-NET ฉบ บกระเป า ภาษาไทย ม.ต น 7 โครงสร ำงของค ำ พยางค และค

สาระ O-NET ฉบับกระเป๋า ภาษาไทย ม.ต้น 13

สระเกิน

คือ สระที่มีเสียงพยัญชนะปนอยู่ ได้แก่

-ำ มาจาก -ะ + มไ- มาจาก -ะ + ยใ- มาจาก -ะ + ยเ-า มาจาก -ะ + วฤ มาจาก ร + -ึฤๅ มาจาก ร + -ือฦ มาจาก ล + -ึฦๅ มาจาก ล + -ือ

page1_1-32(��-1915U).indd 13 25/1/2562 BE 08:54

Page 11: หลักภาษา...สาระ O-NET ฉบ บกระเป า ภาษาไทย ม.ต น 7 โครงสร ำงของค ำ พยางค และค

14 สาระ O-NET ฉบับกระเป๋า ภาษาไทย ม.ต้น

มาตราตัวสะกด

ออกเสียงเหมือนสะกดด้วย รูป ตัวอย่าง

แม่ ก กา - ไม่มีตัวสะกด ดี อยู่ หญ้า

แม่กก ก ก ข ค ฆ แปลก สุข เมฆ

แม่กบ บ บ ป พ ฟ ภ ภพ นาบ กราฟ

แม่กด ดด จ ช ซ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ต ถ ท ธ ส ศ ษ

ดุจ กฎ พุธ

แม่กง ง ง ร่วง โหน่ง ปอง

แม่กม ม ม สระอ�า ตาม ธรรม จ�า

แม่กน น น ญ ณ ร ล ฬ บุญ ควร กรรณ

แม่เกย ย ย สระไอ สระใอ เชย รวย ไป

แม่เกอว ว ว สระเอา แก้ว วาว เรา

มำตรำตัวสะกด/ พยัญชนะท้ำย/ เสียงตัวสะกดมีทั้งหมด 9 เสียง

ตัวอักษรอื่นนอกเหนือจากที่กล่าวมานี ้

เป็นพยัญชนะท้าย/ตัวสะกดไม่ได้

page1_1-32(��-1915U).indd 14 25/1/2562 BE 08:54

Page 12: หลักภาษา...สาระ O-NET ฉบ บกระเป า ภาษาไทย ม.ต น 7 โครงสร ำงของค ำ พยางค และค

สาระ O-NET ฉบับกระเป๋า ภาษาไทย ม.ต้น 15

ค�าบางค�าที่มีตัวสะกดมากกว่า 1 ตัว ให้ลองสะกดแล้วอ่าน เช่น

• จกัร อ่านว่า จัก ออกเสียงเหมือน ก สะกด = มาตราแม่กก

• สามารถ อ่านว่า สา-มาด ค�าว่า สา ไม่มีเสียงตัวสะกด = มาตราแม่ ก กา ค�าว่า มาด ออกเสียงเหมือน ด สะกด = มาตราแม่กด

• บตุร อ่านว่า บุด ออกเสียงเหมือน ด สะกด = มาตราแม่กด

page1_1-32(��-1915U).indd 15 25/1/2562 BE 08:54