การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช...

200
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพ และเทคโนโลยี เรื่อง สวนประกอบคอมพิวเตอร สําหรับนักเรียนชวงชั้นที2 โดย นายวัชระ เยียระยงค สารนิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2549 ISBN 974-11-5804-1 ลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

Upload: others

Post on 04-Jan-2020

5 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพ และเทคโนโลยี เร่ือง สวนประกอบคอมพิวเตอร สําหรับนักเรียนชวงชั้นท่ี 2

โดย

นายวัชระ เยียระยงค

สารนิพนธนี้เปนสวนหนึง่ของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา ภาควชิาเทคโนโลยีการศึกษา

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2549

ISBN 974-11-5804-1 ลิขสิทธ์ิของบณัฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

Page 2: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

THE DEVELOPMENT OF COMPUTER ASSISTED INSTRUCTION ON THE PARTS OF COMPUTER IN CAREER AND TECHNOLOGY SUBSTANCE

FOR SECOND LEVEL STUDENTS

By

Watchara Yearayong

A Master’s Report Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree MASTER OF EDUCATION

Department of Educational Technology Graduate School

SILPAKORN UNIVERSITY 2006

ISBN 974-11-5804-1

Page 3: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร อนุมัติใหสารนิพนธเร่ือง “การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง สวนประกอบคอมพิวเตอร สําหรับนักเรียนชวงชั้นที่ 2” เสนอโดย นายวัชระ เยียระยงค เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา ................................................................. (รองศาสตราจารย ดร.ศิริชัย ชินะตังกูร) คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย วันที่..........เดือน...............................พ.ศ............. ผูควบคุมสารนิพนธ รองศาสตราจารยสมหญิง เจริญจิตรกรรม คณะกรรมการตรวจสอบสารนิพนธ ............................................................ประธานกรรมการ (รองศาสตราจารยศิริพงศ พยอมแยม) .............../......................../.................... .............................................................กรรมการ (รองศาสตราจารยสมหญิง เจริญจิตรกรรม) .............../......................../.................... .............................................................กรรมการ (อาจารยอนิรุทธ สติมั่น) .............../......................../....................

Page 4: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

K 45257425 : สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา คําสําคัญ : บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน วัชระ เยียระยงค : การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง สวนประกอบคอมพิวเตอร สําหรับนักเรียนชวงช้ันที่ 2 (THE DEVELOPMENT OF COMPUTER ASSISTED INSTRUCTION ON THE PARTS OF COMPUTER IN CAREER AND TECHNOLOGY SUBSTANCE FOR SECOND LEVEL STUDENTS) อาจารยผูควบคุมสารนิพนธ : รศ.สมหญิง เจริญจิตรกรรม. 189 หนา. ISBN 974-11-5804-1

การวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค 1)เพื่อพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เรื่องสวนประกอบคอมพิวเตอรใหมีประสิทธิภาพตามเกณฑ 80/80 2)เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชวงช้ันที่ 2 กอนเรียนและหลังเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน 3)เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอการเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน กลุมตัวอยางที่ใชวิจัยครั้งนี้คือนักเรียนช้ันประถมศึกษาปที่ 5 โรงเรียน พระตําหนักสวนกุหลาบ มหามงคล อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ปการศึกษา 2549 จํานวน 40 คน คักเลือกโดยการสุมแบบยกหองเรียน (Cluster Sampling) เครื่องมือที่ใชในการวิจัยประกอบดวย 1)แบบสัมภาษณแบบมีโครงสรางเพื่อสอบถามผูเช่ียวชาญ 2)บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เรื่องสวนประกอบคอมพิวเตอรของนักเรียนชวงช้ันที่ 2 3)แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 4)แบบสอบถามวัดความพึงพอใจ การวิเคราะหขอมูลใชคาเฉลี่ย สวนเบี่ยงแบนมาตรฐานและทดสอบ t-test ผลการวิจัยพบวา 1. ความคิดเห็นของผูเช่ียวชาญดานการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน พบวา ผูเช่ียวชาญตองการใหบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเปนบทเรียนที่ผูเรียนสามารถเลือกศึกษาบทเรียนไดดวยตนเอง ภาพและขอความมีความสัมพันธกัน บทเรียนสามารถโตตอบกับผูเรียนไดตลอดเวลา ผูเรียนมีอิสระในการเลือกบทเรียนไดตามตองการภาพกราฟกที่นํามาประกอบควรเปนภาพเสมือนจริง 2. ประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่องสวนประกอบคอมพิวเตอร ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปที่ 5 เทากับ 80.83/81.58 ซึ่งมีประสิทธิภาพสูงกวาเกณฑที่กําหนดไว 3. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน พบวาคะแนนหลังเรียนสูงกวากอนเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4. ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เรื่องสวนประกอบคอมพิวเตอร พบวาโดยภาพรวมมีความพึงพอใจอยูในระดับมาก( X = 4.19) ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2549 ลายมือช่ือนักศึกษา........................................................................................................................ ลายมือช่ืออาจารยผูควบคุมสารนิพนธ..........................................................................................

Page 5: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

K45257425: MAJOR: EDUCATIONAL TECHNOLOGY KEY WORD: COMPUTER ASSISTED INSTRUCTION WATCHARA YEARAYONG : THE DEVELOPMENT OF COMPUTER ASSISTED INSTRUCTION ON THE PARTS OF COMPUTER IN CAREER AND TECHNOLOGY SUBSTANCE FOR SECOND LEVEL STUDENTS. MASTER’S REPORT ADVISOR : ASSOC. PROF. SOMYING JAREONJITTAKAM. 189 pp. ISBN 974-11-5804-1 The purposes of this research were 1) to develop the computer assisted construction on “The Parts of Computer” with efficiency of 80/80 , 2) to compare the pretest and posttest achievement score on the developed computer assisted instruction, and 3) to study the students’ satisfaction toward the developed computer assisted instruction. The samples were 40 Pathomsuksa 5 students of Phratamnaksuankulap Mahamongkol School, Phutthamonthon District , Nakon Pathom Province during the second semester of 2006 academic year. They were selected by using cluster sampling technique. The instruments consisted of : 1) The framework interview for specialists in computer assisted instruction , 2) Computer Assisted Instruction on “ The Parts of Computer” , 3) An achievement test , and 4) The satisfaction questionnaires developed by the researcher . The data were statistically analyzed by using percentage , arithmetic mean ( x ) , standard deviation (S.D.) and t-test . The results of the study were as the following : 1. The specialists’ opinions toward well developed computer assisted instruction ; the students can select and learn the lesson freely , images should go along with text , interaction between learner and CAI, and using virtual images 2. The efficiency of Computer Assisted Instruction on the parts of computer in career and technology substance for second level students met the efficient standard criterion of 80.83 / 81.58, which was higher than the selected efficient standard criterion of 80 / 80 3. The posttest achievement score was significantly higher than pretest at the 0.05 level 4. The students who received the treatment showed a good satisfy towards the developed Computer Assisted Instruction ( x = 4.19).

Department of Educational Technology Graduate School, Silpakorn University Academic Year 2006 Student’s signature……………………………………………………………....………. Master’s Report Advisor’s signature………………………………..…………………...

Page 6: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

กิตติกรรมประกาศ ขอกราบขอบพระคุณรองศาสตราจารยสมหญิง เจริญจิตรกรรม อาจารยผูควบคุมสารนิพนธที่ใหความเมตตา อนุเคราะหใหความรู คําแนะนําปรึกษา ช้ีแนะแนวทางในการทําสารนิพนธ จนสําเร็จลงไดดวยดี ขอกราบขอบพระคุณรองศาสตราจารยศิริพงศ พยอมแยม ประธานกรรมการตรวจสอบสารนิพนธ และอาจารยอนิรุทธ สติมั่น กรรมการผูทรงคุณวุฒิที่ใหคําแนะนําแกไขขอผิดพลาดจนสารนิพนธเสร็จสมบูรณ ขอกราบของพระคุณคณาจารยทุกทานที่ประสิทธประสาทวิชาความรูแกขาพเจาทุกรายวิชา รวมท้ังเจาหนาที่ที่ใหความชวยเหลืออนุเคราะหในดานตางๆ ที่มีสวนทําใหขาพเจาศึกษาสําเร็จตามหลักสูตรได ขอกราบขอบพระคุณผูเช่ียวชาญดานเนื้อหา อาจารยไพรัช สุพรรณอวม อาจารยวิฑูรย อริยะพงษ และอาจารยประทีป ภูเกิด ผูเชี่ยวชาญดานสื่อคอมพิวเตอรชวยสอน อาจารยอนนท ศรีพิพัฒน อาจารยวรวุฒิ มั่นสุขผล และคุณอภิภู สิทธิภูมิมงคล ที่ไดใหความอนุเคราะหเสียสละเวลาในการใหคําแนะนํา ตรวจสอบ และประเมินความถูกตองของเครื่องมือตางๆ ใหถูกตองสมบูรณ ขอขอบคุณนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 และ 6 ปการศึกษา 2549 โรงเรียนพระตําหนักสวนกุหลาบ มหามงคลทุกคนที่ใหความรวมมือในกระบวนการทําวิจัยเปนอยางดี ขอกราบขอบพระคุณบิดา มารดา ที่ไดใหกําเนิด ภรรยา บุตรและนองๆ ที่ไดใหโอกาสและใหความรวมมือชวยเหลือดานตางๆ ขอขอบพระคุณเพื่อนรวมชั้นเรียนสาขาเทคโนโลยีการศึกษา โครงการความรวมมือรุน 3 ทุกทานที่ใหความคําแนะนําชวยเหลือในทุกๆดาน ขออํานาจคุณพระศรีรัตนตรัย และสิ่งศักดิ์สิทธิ์ในสากลโลก โปรดดลบันดาลใหทานทั้งหลายทั้งที่ไดเอยนามและไมไดเอยนาม มีสุขภาพกายแข็งแรง สุขภาพจิตแจมใส สมหวังในสิ่งที่ประสงคทุกทาน

Page 7: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

สารบัญ หนา บทคัดยอภาษาไทย................................................................................................................ ง บทคัดยอภาษาอังกฤษ........................................................................................................... จ กิตติกรรมประกาศ................................................................................................................. ฉ สารบัญตาราง........................................................................................................................ ญ สารบัญแผนภาพ.................................................................................................................... ฏ บทที่ 1 บทนํา.......................................................................................................................... 1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา............................................................. 1 วัตถุประสงคของการวิจยั................................................................................... 6 สมมติฐานการวิจัย.............................................................................................. 6 ขอบเขตของการวิจัย........................................................................................... 6 นิยามศัพทเฉพาะ................................................................................................ 7 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ................................................................................ 8 2 เอกสารและงานวจิัยที่เกี่ยวของ.................................................................................. 9 จิตวิทยาการเรยีนรูที่เกีย่วกับการพัฒนาสื่อการเรียนการสอน............................. 9 แนวคดิและทฤษฎีเกี่ยวกับบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอน................................. 14 ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม.............................................................................. 14 ทฤษฎีปญญานิยม.................................................................................... 15 ทฤษฎีโครงสรางความรู........................................................................... 15 คอมพิวเตอรชวยสอน......................................................................................... 16 ความหมายของคอมพิวเตอรชวยสอน..................................................... 16 คุณลักษณะสําคัญของคอมพิวเตอรชวยสอน........................................... 18 ประเภทของคอมพิวเตอรชวยสอน.......................................................... 20 รูปแบบโปรแกรมคอมพิวเตอรชวยสอน................................................. 23 ประโยชนของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน.......................................... 33 ขอจํากัดของบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอน............................................. 37

Page 8: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

สารบัญ(ตอ) บทที่ หนา หลักสูตรการศึกษาขั้นพืน้ฐาน พุทธศักราช 2544............................................... 40 แนวคดิ .................................................................................................... 43 หลักการ .................................................................................................. 43 จุดหมาย................................................................................................... 43 โครงสราง................................................................................................ 44 วิสัยทัศนของโรงเรียนพระตําหนักสวนกหุลาบ มหามงคล..................... 46 ภารกิจ........................................................................................... 46 คุณลักษณะอนัพึงประสงค............................................................ 46 วิสัยทัศนและคุณภาพของผูเรียน................................................... 47 งานวิจยัที่เกีย่วของ.............................................................................................. 52 งานวิจยัในประเทศ.................................................................................. 52 งานวิจยัในตางประเทศ............................................................................ 53 3 วิธีดําเนนิการวจิัย.......................................................................................................... 57 ประชากรและกลุมตัวอยาง................................................................................. 57 แบบแผนการทดลอง.......................................................................................... 57 การสรางเครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล.................................... 58 การสรางแบบสัมภาษณแบบมีโครงสราง................................................ 58 การสรางบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอน.................................................. 59 การสรางแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์กอนเรียนและหลังเรียน.................. 64 การสรางแบบวัดความพึงพอใจ............................................................... 66 วิธีดําเนนิการวิจัย................................................................................................ 68 สถิติที่ใชในการทดลอง...................................................................................... 69 4 ผลการวิเคราะหขอมูล................................................................................................. 72 ตอนที่ 1 แนวทางการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน............................... 72 ตอนที่ 2 ประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนกลุมสาระการ เรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี เร่ือง สวนประกอบ คอมพิวเตอร........................................................................................

80

Page 9: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

สารบัญ(ตอ) บทที่ หนา ตอนที่ 3 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียนและหลังเรยีนของบทเรียน คอมพิวเตอรชวยสอน กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและ เทคโนโลยีเร่ืองสวนประกอบคอมพวิเตอร..........................................

82 ตอนที่ 4 ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี เร่ือง สวนประกอบคอมพวิเตอร..................................................................

84 5 สรุปผล อภิปรายผล และขอเสนอแนะ........................................................................ 87 สรุปผลการวิจัย................................................................................................... 89 อภิปรายผลการวิจัย............................................................................................. 90 ขอเสนอแนะทั่วไปเกีย่วกับการใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน...................... 97 ขอเสนอแนะสําหรับการวิจยัคร้ังตอไป.............................................................. 97 บรรณานุกรม...................................................................................................................... 99 ภาคผนวก........................................................................................................................... 101 ภาคผนวก ก รายนามผูเชี่ยวชาญ......................................................................... 104 ภาคผนวก ข แบบสัมภาษณแบบมีโครงสราง.................................................... 106 ภาคผนวก ค แบบทดสอบวดัผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน...................................... 120 ภาคผนวก ง แบบสอบถามความคิดเหน็........................................................... 124 ภาคผนวก จ แบบประเมินคาความสอดคลอง..................................................... 127 ภาคผนวก ฉ การวิเคราะหขอมูล........................................................................ 150 ภาคผนวก ช ตวัอยางเครื่องมอื ผังการทํางานของโปรแกรม............................. 174 ประวัติผูวจิัย....................................................................................................................... 189

Page 10: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

สารบัญตาราง ตารางที ่ หนา 1 สรุปผลการสอนภาคเรียนที1่-2 ปการศึกษา2548ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 4 2 แสดงตารางเวลาการจัดชัว่โมงการเรียนการสอนแตละกลุมสาระ............................. 46 3 แสดงผลจากการประเมินคณุภาพสื่อคอมพิวเตอรชวยสอนจากผูเชีย่วชาญ............... 60 4 สรุปความเหน็จากกรรมการประเมินคุณภาพสื่อคอมพวิเตอรชวยสอน.................... 60 5 แสดงการวเิคราะหการหาประสิทธิภาพบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอน ตามเกณฑ 60/60 ของขั้นการทดลองเดี่ยว........................................................

61

6 แสดงการวเิคราะหการหาประสิทธิภาพบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอน ตามเกณฑ 70/70 ของขั้นการทดลองแบบกลุม................................................

62

7 แสดงผลสรุปการวิเคราะหขอมูลการสัมภาษณผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหา...................... 73 8 แสดงผลสรุปการวิเคราะหขอมูลการสัมภาษณผูเชี่ยวชาญดานบทเรียน คอมพิวเตอรชวยสอน......................................................................................

76

9 แสดงการวเิคราะหการหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ตามเกณฑ 80/80 ของขั้นการทดลองจริง 40 คน...........................................

80

10 แสดงผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรยีนและหลังเรียนและคะแนนความกาวหนา.... 82 11 แสดงผลการวิเคราะหการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนกอน

เรียนและหลังเรียนจากบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอน.....................................

84 12 แสดงผลการวิเคราะหความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอบทเรียนคอมพิวเตอร ชวยสอน..........................................................................................................

84

13 แสดงรายละเอียดการวิเคราะหเนื้อหาจากการสัมภาษณผูเชี่ยวชาญ.......................... 151 14 แสดงระดับการประเมินจากกรรมการการประเมินคุณภาพบทเรียนคอมพิวเตอร ชวยสอนจํานวน 6 ทาน...................................................................................

157

15 แสดงการหาคาความสอดคลองของแบบทดสอบกลุมสาระการเรียนรูการงาน อาชีพและเทคโนโลยี เร่ืองสวนประกอบคอมพิวเตอร จากผูเชี่ยวชาญ ดานเนื้อหา.......................................................................................................

162 16 แสดงการวเิคราะหหาคาความยากงายและคาอํานาจจําแนกของแบบทดสอบ........... 166 17 แสดงการหาคาความสอดคลองของแบบแสดงความพึงพอใจตอบทเรยีน คอมพิวเตอรชวยสอนจากอาจารยที่ปรึกษา ผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหา และผูเชี่ยวชาญดานสื่อคอมพิวเตอรชวย..........................................................

169

Page 11: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

สารบัญตาราง(ตอ) ตารางที่ หนา

18 แสดงการเปรยีบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียนและหลังเรยีน กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี เร่ือง สวนประกอบ คอมพิวเตอรเพื่อทดสอบความมีนัยสําคัญของความแตกตางระหวาง กอนเรียนและหลังเรียน...................................................................................

170 19 แสดงผลรายละเอียดการวเิคราะหความพึงพอใจของนกัเรียนที่มีตอ บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน.........................................................................

172

Page 12: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

สารบัญแผนภาพ

แผนภาพที ่ หนา 1 โครงสรางบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอนแบบทางเดยีว............................................. 23 2 โครงสรางบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอนแบบสาขา................................................... 24 3 ขั้นตอนการออกแบบคอมพวิเตอรชวยสอน............................................................... 29 4 ตารางเวลาการจัดชั่วโมงการเรียนการสอนแตละกลุมสาระ....................................... 46 5 ขั้นตอนการสรางแบบสัมภาษณแบบมีโครงสราง...................................................... 58 6 ขั้นตอนการสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนและทดลองเครื่องมือ....................... 64 7 ขั้นตอนการสรางและพัฒนาแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน............................. 66 8 การสรางและพัฒนาแบบวัดความพึงพอใจของผูเรียน................................................ 67

Page 13: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

บทท่ี 1

บทนํา

ความเปนมาและความสําคญัของปญหา พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 ซ่ึงเปนกฎหมายแมบททางการศึกษาของประเทศ ไดกําหนดภารกิจในการปฏิรูปการเรียนรูไวในเรื่องแนวการจัดการศึกษาวาในการจัดการศึกษาตองยึดผูเรียนเปนสําคัญ ผูเรียนทุกคนสามารถเรียนรูและพัฒนาตนเองได ดังนั้นกระบวนการจัดการศึกษาตองสงเสริมใหผูเรียนไดพัฒนาตนเองตามธรรมชาติ และเต็มศักยภาพ การจัดการศึกษาตองเนนทั้งความรู คุณธรรม และกระบวนการเรียนรูในเรื่องสาระความรูใหบูรณาการความรูและทักษะตาง ๆ ใหเหมาะสมกับแตละระดับการศึกษา นอกจากนี้ในการจัดกระบวนการเรียนรูยังตองสงเสริมใหผูสอนจัดบรรยากาศและสิ่งแวดลอมที่เอื้อตอการเรียนรู ใชการวิจัยเปนสวนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู ผูสอนและผูเรียนอาจเรียนรูไปพรอมกันจากสื่อและแหลงวิทยาการประเภทตาง ๆ พระราชบัญญัติการศึกษาไดกลาวถึงหมวด 4 แนวทางการจัดการศึกษา (6) จัดการเรียนรูใหเกิดขึ้นไดทุกเวลา ทุกสถานที่ มีการประสานความรวมมือกับผูปกครองและชุมชน รวมทั้งสงเสริมการดําเนินงานและการจัดตั้งแหลงการเรียนรูตลอดชีวิตทุกรูปแบบ (สํานักนายกรัฐมนตรี, สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ 2542 :14 ) หมวด 9 มาตรา 64 กลาววา รัฐตองสงเสริมและสนับสนุนใหมกีารผลิตและพัฒนาแบบตํารา หนังสือทางวิชาการ ส่ือส่ิงพิมพ วัสดุอุปกรณ และเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาอื่น โดยเรงรัดพัฒนาขดีความสามารถในการผลิต จัดใหมีเงินสนบัสนุนการผลิตและใหมีการใหแรงจูงใจแกผูผลิตและพัฒนาเทคโนโลยกีารศึกษา ทัง้นี้โดยเปดใหมีการแขงขันโดยเสรีอยางเปนธรรม มาตรา 66 ผูเรียนมีสิทธิไดรับการพัฒนาขีดความสามารถในการใชเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาในโอกาสแรกที่ทําได เพื่อใหมีความรูและทกัษะเพียงพอทีจ่ะใชเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาในการแสวงหาความรูดวยตนเองไดอยางตอเนื่องตลอดชีวิต ( สํานักนายกรัฐมนตรี, สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ 2542 :33 )

1

Page 14: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

2

จากรายละเอียดดังกลาวจะเห็นวารัฐไดใหความสําคัญกับการผลิตส่ือการเรียนการสอน เพื่อชวยใหนักเรียนเกดิการพฒันาทั้งในดานความรู ทักษะและทัศนคติ ส่ือบางชนิดยังชวยลดชองวางความแตกตางระหวางบุคคล ทั้งยังเปนผูชวยครูในการเรียนการสอนอีกดวย ฉะนั้นผูทีเ่ปนผูสอนและนักเรียนจึงควรมกีารตื่นตัวและศึกษาเรื่องการใชส่ือการเรียนการสอนใหคุมคาเกิดประโยชนสูงสุด เพื่อสนับสนุนผูเรียนใหเกดิความรูการใชส่ือการเรียนการสอนในการถายทอดความรู ซ่ึงถือวาเปนเรื่องที่สําคัญที่จะชวยในการพัฒนาการเรยีนใหมปีระสิทธภิาพและเกดิผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทีด่ี นอกจากนีย้ังมีบัญญัติ 10 ประการตามแนวทางการปฏิรูปการศึกษา ซ่ึงโรงเรียนที่ไดมาตรฐานหรือโรงเรียนในอุดมคติจะนองมีองคประกอบ 10 ประการ โดยขอที่ 3 กลาวถึงโรงเรียนที่มีความมีแผนผังเต็มรูปแบบ มีหองเรียน หองสมุด หองคอมพิวเตอร หองทดลอง หองปฏิบัติการ ตลอดจนมีสนามกีฬาครบครันโดยเหมาะกับสภาพทองถ่ิน(พิพัฒน วิเชียรสุวรรณ 2540 : 40-41) กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ (2545 ก : 3) ไดกลาวถึงความสําคัญ ธรรมชาติ และลักษณะเฉพาะของการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยีวา เปนสาระการเรียนรูที่มุงพัฒนาผูเรียนใหมีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับงาน อาชีพและเทคโนโลยี มีทักษะการทํางาน ทักษะการจัดการ สามารถนําเทคโนโลยีสารสนเทศและเทคโนโลยีตาง ๆ มาใชในการทํางานอยางถูกตอง เหมาะสม คุมคาและมีคุณธรรม สรางและพัฒนาผลิตภัณฑหรือวิธีการใหม สามารถทํางานเปนหมูคณะ มีนิสัยรักการทํางาน เห็นคุณคาและและมีเจตคติที่ดีตองาน ตลอดจนมีคุณธรรม จริยธรรมและคานิยมพื้นฐาน ไดแก ความขยัน ซ่ือสัตย ประหยัด และอดออมอันจะนําไปสูการใหผูเรียนสามารถชวยเหลือตนเองและพึ่งตนเองไดตามพระราชดําริเศรษฐกิจพอเพียง สามารถดํารงชีวิตอยูในสังคมไดอยางมีความสุข รวมมือและแขงขันในระดับสากลในบริบทของสังคมไทย ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในวิชาตาง ๆ นั้นสามารถใชส่ือประกอบการเรียนการสอนไดหลายรูปแบบ ผูสอนสามารถนํามาประยุกตและเลือกใชใหเหมาะสมกับความสามารถของการเรียนรูของผูเรียนแตละคน ไมวาผูเรียนเหลานั้นจะมีความสามารถในการเรียนรูอยูในระดับเกง ระดับปานกลาง หรือเรียนออน ซ่ึงส่ือการสอนนั้นมีทั้งสื่อที่เปนส่ิงพิมพ ส่ือวัสดุอุปกรณ และส่ือวิธีการ ดังที่ทิศนา แขมมณี (2545 : 7) กลาวถึงวา ส่ือเปนวิธีการที่มีหลากหลายลักษณะ เชนการติว (tutoring) เปนรูปแบบการสอนซอมเสริมหรือเสริมเพื่อใหผูเรียนมีความรู ความเขาใจในจุดที่เปนปญหา หรือเปนความตองการของผูเรียน การสอนแบบกํากับชี้แนะ(coaching)เปนการ

Page 15: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

3

สอนที่ชวยใหผูเรียนเปนรายบุคคลประสบผลสําเร็จในการเรียนรู โดยผูเรียนทําหนาที่สอน สาธิต และกํากับของผูเรียน คอมพิวเตอรถูกนํามาใชในวงการศึกษา ดานการบริหารและงานธุรการทั่วไป นอกจากนี้ มีการนํามาใชกับการเรียนการสอนหรือเรียกวาคอมพิวเตอรชวยสอน เปนการนําเอาคอมพิวเตอรมาใชเปนเครื่องมือชวยในการเรียนการสอน โดยเนื้อหาวิชา แบบฝกหัด และการทดสอบจะถูกพัฒนาขึ้นมาในรูปแบบโปรแกรมคอมพิวเตอร ผูเรียนจะเรียนจากคอมพิวเตอร ซ่ึงในบทเรียนจะเสนอเนื้อหาวิชา ทั้งในรูปตัวหนังสือ ภาพกราฟก ภาพเคลื่อนไหว ตลอดจนคําถาม คําตอบ ตรวจคําตอบและแสดงผลการเรียนในรูปแบบของขอมูลยอนกลับ(Feedback)ใหแกผูเรียนรับรูดวย ลักษณะของคอมพิวเตอรชวยสอนนี้ เปนการนําเอาหลักการของบทเรียนโปรแกรมและเครื่องชวยสอนมาผสมผสานกัน ซ่ึงทําใหมีประสิทธิภาพในการเรียนการสอนเชน สามารถเก็บเนื้อหาได มีความรวดเร็วในการนําเสนอเนื้อหา มีการเสริมแรง และกระตุนความสนใจของผูเรียนโดยใชบทเรียน ซ่ึงอาจแสดงในรูปตัวอักษรกราฟก เสียง ภาพเคลื่อนไหว เปนตน กิดานันท มลิทอง (2540 : 227, อางถึงใน ประทีป ภูเกดิ 2547 : 1) กลาววาคอมพวิเตอรชวยสอนเปนอุปกรณประเภทหนึ่งทีเ่ปนเทคโนโลยีระดบัสูง เมื่อมีการนําคอมพิวเตอรมาใชเปนสื่อการสอน จะทําใหการการเรียนการสอนมีการโตตอบกันไดระหวางผูเรียนกับเครื่องคอมพิวเตอร ทําใหผูเรียนสามารถเรียนรูไดตามลําดัง หรือเรียนรูเปนกลุม พนจากการถูกดุ ถูกวากลาวจากครู ไมตองฟงคําวจิารณ หรือเรียนไดตามความตองการของตนเองหรือของกลุม โดยไมตองรอเพื่อนเหมือนกับการเรียนในหองเรยีน ซ่ึงนักเรียนจะตองเรียนไปพรอมๆกัน แตละบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนนกัเรยีนสามารถเรียนไดตามความตองการของตนเอง ซ่ึงเปนรูปแบบการเรียนโดยเนน ผูเรียนเปนสําคัญ ซ่ึงสอดคลองกับหลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช 2542 วุฒชัิย ประสานสอย (2543 : 10, อางถึงใน ประทีป ภูเกิด 2547 : 1) กลาวถึงคอมพิวเตอรชวยสอนวา เปนการจดัโปรแกรมเพื่อการสอนโดยใชคอมพิวเตอรเปนสื่อชวยถายโยงเนื้อหาความรูไปสูผูเรียน ประทีป ภูเกิด (2547 : 2 ) กลาววา บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนนั้นเปนเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาที่ถูกผลิตขึ้นและมีการพัฒนาอยางตอเนื่องจากหนวยงานตาง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน เนื่องจากคอมพิวเตอรชวยสอนเปนวิธีการเรียนซึ่งใชคอมพิวเตอรเปนสื่อใหเนื้อหาเรื่องราว เปนการเรียนโดยตรงและเปนการเรียนแบบ Interactive ระหวางนักเรียนกับคอมพิวเตอร ซ่ึงมีความ

Page 16: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

4

เกี่ยวพันกันอยางใกลชิดกับการเรียนการสอนแบบบทเรียนโปรแกรม โดยคํานึงถึงความแตกตางระหวางบุคคล มีการเสริมแรงและใหขอมูลยอนกลับแกผูเรียนทันที ดวยเหตุผลดังกลาวเห็นวาคอมพิวเตอรชวยสอนมีคุณคาตอการเรียนการสอน ควรนํามาใชเพื่อกอใหเกิดการเรียนรู และชวยพัฒนาการเรียนการสอนใหมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น คอมพิวเตอรที่นํามาใชกับการเรียนการสอนในลักษณะคอมพิวเตอรชวยสอน มีความเหมาะสมกับสภาพการเรียนการสอนในปจจุบันเปนอยางยิ่ง เพราะเปนการจัดการเรียนการสอนที่ยึดผูเรียนเปนศูนยกลาง คํานึงถึงความแตกตางระหวางบุคคล คํานึงถึงวิธีเรียนที่ผูเรียนตองศึกษาดวนตนเอง(สมหวัง พิธิยานุวัฒน 2532) จากขอบขายสาระการเรียนรู 12 ป ของสาระที่ 4 เทคโนโลยีสารสนเทศ ในหนวยเทคโนโลยีสารสนเทศนักเรียนจะตองเรียนเนื้อหาดังนี้ 1) องคประกอบของการผลิตสารสนเทศ 2) บทบาทและประโยชนของเทคโนโลยีสารสนเทศ 3) สวนประกอบและอุปกรณของเครื่องคอมพิวเตอร 4) หลักการทํางานของเครื่องคอมพิวเตอร 5) ซอฟตแวร 6) คอมพิวเตอรระบบมัลติมีเดีย 7) จริยธรรมในการใชเทคโนโลยีและสารสนเทศ (กระทรวงศึกษาธิการ, กรมวิชาการ 2545 ข : 11) จะเห็นไดวาเนื้อหาในสวนที่ 3 นักเรียนจะตองเรียนรูเกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร โดยศึกษาเกี่ยวกับสวนประกอบที่สําคัญ 3 สวนไดแก หนวยรับขอมูลเขา(Input) หนวยประมวลผล กลาง(Central processing unit)) และหนวยแสดงผล(Output) ซ่ึงในการทํางานของคอมพิวเตอรนั้นจะขาดสวนใดสวนหนึ่งไมได ในการเรียนการสอนเกี่ยวกับหัวขอเร่ืองดังกลาวผูเรียนจะศึกษาเนื้อหาทั้ง 3 สวนไปพรอม ๆ กัน ในการวัดผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาคอมพิวเตอร ปการศึกษา 2546 ระดับชั้นประถมศึกษา ปที่ 5 โรงเรียนพระตําหนักสวนกุหลาบ มหามงคล นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ภาคความรูในการเรียนวิชาคอมพิวเตอรดังนี้ ตารางที่ 1 สรุปผลการสอบปลายภาคเรียนที่ 1-2 ปการศึกษา 2548 ของนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปที่ 5 โรงเรียนพระตําหนักสวนกุหลาบ มหามงคล อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม

ภาคเรียน 1 2 คะแนนเฉลี่ย 22.40 19.67

รอยละ 74.66 65.55 ที่มา : โรงเรียนพระตําหนักสวนกุหลาบ มหามงคล, “แบบรายงานผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปการศึกษา 2548,” 2549, 13.

Page 17: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

5

จากตารางการประเมินผลสัมฤทธิ์ประจําปการศึกษา 2548 ของฝายวิชาการโรงเรียนพระตําหนักสวนกหุลาบ มหามงคล ไดตั้งเกณฑความพอใจของวิชาดังกลาวไวทีร่อยละ 70.00 และจากผลการทดสอบปลายภาคเรียนที่ 1 และ 2 พบวาคะแนนเฉลี่ยผลการเรียนวิชาคอมพิวเตอรของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ภาคเรยีนที่ 1 เทากบั 22.40 คะแนน ภาคเรียนที่ 2 เทากับ 19.67 คะแนน จากคะแนนเตม็ 30 คะแนน คิดเปนรอยละ 74.66 และ 65.55 ตามลําดับ จากผลสัมฤทธิ์ดังกลาวแสดงใหทราบวาผลของคะแนนเฉลี่ยในภาคเรียนที่ 2 ต่าํกวาเกณฑความพึงพอใจทีต่ั้งไวนอกจากนี้ยังพบวา ผูเรียนไมสามารถแยกแยะสวนประกอบและหนาที่ของอุปกรณคอมพิวเตอร ทั้ง 3 สวนออกจากกนัไดอยางถูกตอง ช่ือเรียกของอุปกรณตาง ๆ จะเปนชื่อภาษาอังกฤษ ผูเรยีนเปนนักเรียนระดับประถมศึกษาไมสามารถอานและออกเสียงชื่อของอุปกรณดังกลาวไดถูกตอง อุปกรณบางสวนจะถูกติดตั้งอยูภายในตัวเครื่องคอมพิวเตอร ผูเรียนไมสามารถมองเห็นของจริงได จากสาเหตุดังกลาวทําใหผูเรียนเกิดความยากในการจดจําชื่อ สับสนในการบอกตําแหนงการติดตั้งและหนาที่การทํางานของอุปกรณแตละสวน และยังมีสาเหตุจากประเด็นอื่นๆ อีก เชน ส่ือการสอนเกี่ยวกับวิชาดงักลาวมีนอย รวมทั้งระยะเวลาในการสอนมีเวลาจํากัด โดยนักเรียนจะใชเวลาเรยีนวิชาคอมพิวเตอรสัปดาหละ 1 ช่ัวโมง เมื่อมาเรียนในสัปดาหตอไปอาจทําใหผูเรียนจาํเนื้อหาเกาของสัปดาหที่ผานมาไมได ทําใหผูเรียนไมสามารถที่จะศึกษาไดอยางตอเนือ่งและละเอยีดลึกซึ้ง ดังนัน้ผูเรียนจึงตองมีการศึกษาหาความรูเพิ่มเตมิในเวลาวาง จากสาเหตุดังกลาวบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนที่ผูวิจัยไดสรางขึ้นจะชวยใหผูเรียนสามารถศึกษาเรียนรูไดดวยตนเอง และเปนไปตามความสามารถของแตละคน เปนการสนองความแตกตางระหวางบุคคล นักเรียนไมจําเปนจะตองเรียนพรอมกันในชั้นเรียน อีกทั้งยังสามารถศึกษาหาความรูในบทเรียนไดอยางไมจํากัดเวลา และยังชวยแกปญหาที่พบในระหวางเรียนได เชน ชวยแบงเบาภาระการสอนของครูผูสอนในกรณีที่มี ผู เ รียนเปนจํานวนมากในชั้นเรียน เนื้อหา รายละเอียดอาจจะมีมากเกินกวาจํานวนชั่วโมงเรียน ผูวิจัยในฐานะผูสอนวิชาคอมพิวเตอร จึงสนใจที่จะทําวิจัยเพื่อพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน สาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี เร่ืองสวนประกอบคอมพิวเตอร สําหรับนักเรียนชวงชั้นที่ 2 เพื่อแกไขปญหาดังกลาว นอกจากนี้ยังสอดคลองกับกับนโยบายของการพัฒนาการศึกษาที่สนับสนุนใหเกิดการจัดการเรียนรูดวยกระบวนการเรียนรูวิธีใหม ทําใหไดบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนอันจะเปนแนวทางนําไปสูการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนในรายวิชาอ่ืน ๆ

Page 18: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

6

วัตถุประสงคของการวิจัย 1. เพื่อพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนวิชาคอมพวิเตอร เร่ือง สวนประกอบ

คอมพิวเตอร สําหรับนักเรียนชวงชั้นที่ 2 และหาประสิทธิภาพตามเกณฑ 80/80 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาคอมพิวเตอร เร่ืองสวนประกอบ

คอมพิวเตอรระหวางกอนเรียน(Pretest) และหลังเรียน(Posttest) 3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มตีอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เร่ือง สวนประกอบคอมพิวเตอร สมมติฐานของการวิจัย

1. บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เร่ือง สวนประกอบคอมพิวเตอร สําหรับนักเรยีนชวงช้ันที่ 2 กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี มีประสิทธิภาพตามเกณฑ

2. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เร่ืองสวนประกอบคอมพิวเตอรของ นักเรียนชวงชั้นที่ 2 หลังเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เร่ืองสวนประกอบคอมพิวเตอร สูงกวากอนเรียน 3. นักเรียนมีความพึงพอใจตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เร่ือง สวนประกอบคอมพิวเตอร อยูในระดับมาก ขอบเขตของการวิจัย 1. ประชากรและกลุมตัวอยาง 1.1 ประชากร เปนนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2549 โรงเรียนพระตําหนักสวนกหุลาบ มหามงคล สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษานครปฐม เขต 2 จํานวน 6 หองเรียน จํานวนนักเรยีน 240 คน

1.2 กลุมตัวอยาง เปนนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2549 โรงเรียนพระตําหนักสวนกหุลาบ มหามงคล สํานักงานเขตพืน้ที่การศึกษานครปฐม เขต 2 โดยการทําการสุมแบบยกหองเรียน (Cluster Random Sampling) จาํนวน 1 หองเรียน จํานวน นักเรียน 40 คน 2. ตัวแปรที่ศกึษา 2.1 ตัวแปรอสิระ วิธีสอนโดยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เร่ือง สวนประกอบคอมพิวเตอร ช้ันประถมศึกษาปที่ 5

Page 19: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

7

2.2 ตัวแปรตาม ไดแก 2.2.1 ผลสัมฤทธิ์การเรียนที่เรียนโดยบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอน เร่ือง สวนประกอบคอมพิวเตอร 2.2.2 ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เร่ือง สวนประกอบคอมพิวเตอร เนื้อหาท่ีใชในการทดลอง เนื้อหาหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 สาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี สาระที่ 4 เทคโนโลยีสารสนเทศ ช้ันประถมศกึษาปที่ 5 เร่ืองสวนประกอบคอมพิวเตอร ระยะเวลาในการทดลอง ชวงเวลาทีใ่ชในการดําเนินการทดลอง ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2549 โดยใชเวลาเรียน 2 คาบ ๆ ละ 1 ช่ัวโมง รวมเปนเวลา 2 ช่ัวโมง นิยามศัพท 1. บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน หมายถึง ส่ือการเรียนที่ผูวิจยัสรางขึ้นจากโปรแกรมคอมพิวเตอร และโปรแกรมสําเร็จรูปอื่นๆ มาประยุกตเขาดวยกัน สามารถนําเสนอในรูปแบบของภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียงประกอบและกราฟกอ่ืนๆ โดยการนําเสนอผานทางดานหนาจอคอมพิวเตอร ซ่ึงบทเรียนจะประกอบดวย จุดประสงคการเรียนรู เนื้อหาบทเรียน แบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน เพื่อใหนกัเรียนไดเกิดการเรียนรู โดยนักเรียนและคอมพิวเตอรมีปฏิสัมพันธโตตอบกัน มีการตอบสนองตอนักเรียนภายใตกฎเกณฑที่ผูวิจยัไดกําหนดไวโดยสามารถแจงผลการเรียนใหนักเรียนรับทราบหลังจากทําแบบทดสอบหรือแบบฝกหดัโดยอัตโนมตัิ นักเรียนสามารถศึกษาบทเรียนและทบทวนบทเรียนไดหลายครั้งตามความตองการโดยใชเนื้อหาหลักสูตรการศึกษาขั้นพืน้ฐาน พุทธศักราช 2544 สาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลย ี สาระที่ 4 เทคโนโลยีสารสนเทศ เร่ือง สวนประกอบคอมพิวเตอร 2. กลุมทดลอง หมายถึง นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ที่เรียนในภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2549 จํานวน 40 คน 3. ประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน หมายถึง คุณภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนที่บรรลุจุดประสงคการเรียนรูตามเกณฑ 80/80

Page 20: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

8

80 ตัวแรก หมายถึง คะแนนเฉลี่ยที่ผูเรียนทําแบบทดสอบขณะศึกษาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน คิดเปนรอยละ 80 80 ตัวหลัง หมายถึง คะแนนเฉลี่ยที่ผูเรียนทําแบบทดสอบหลังจากศึกษาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนคิดเปนรอยละ 80 4. ความพึงพอใจของผูเรียน หมายถึง คะแนนที่ไดรับจากการตอบแบบวัดความพึงพอใจของผูเรียนที่มีตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เร่ืองสวนประกอบคอมพิวเตอร ที่ผูวิจัยสรางขึ้นและผานการวิเคราะหหาประสิทธิภาพแลว และมีคาตั้งแต 3.5 ขึ้นไป ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ 1. ไดส่ือการเรียนการสอนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนวิชาคอมพิวเตอร เร่ือง สวนประกอบคอมพิวเตอร สําหรับนักเรยีนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑมาตรฐานที่กําหนด 2. เปนแนวทางในการสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนในสาระอืน่ ๆ ทั้งของกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี และกลุมสาระการเรียนรูอ่ืน ๆ . 3. เปนแนวทางในการสรางแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและแบบวัดความ พึงพอใจของผูเรียนในกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยีและกลุมการเรียนรูอ่ืนๆ ตอไป

Page 21: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

บทท่ี 2

เอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวของ

การวิจยัคร้ังนีผู้วิจัยไดศึกษาคนควารวบรวมเอกสาและงานวิจยัที่เกีย่วของ เพื่อใหเขาใจแนวทางและทฤษฎีตลอดจนผลการวิจัยตางๆ ที่มีสวนเกีย่วของกับงานวิจัยโดยแบงเปนหัวขอตาง ๆ ดังนี ้ 1. จิตวิทยาการเรียนรูเกีย่วกบัการพัฒนาสือ่คอมพิวเตอรชวยสอน 2. แนวคดิและทฤษฎีเกีย่วกบับทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน 2.1 ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม 2.2 ทฤษฎีปญญานิยม 2.3 ทฤษฎีโครงสรางความรู 3. คอมพิวเตอรชวยสอน

3.1 ความหมายของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน 3.2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน 3.3 รูปแบบของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน 3.4 ประโยชนของคอมพิวเตอรชวยสอน 3.5 ขอดีและขอจํากัดของคอมพิวเตอรชวยสอน 3.6 หลักการประเมินบทเรยีนคอมพวิเตอรชวยสอน

4. หลักสูตรการศึกษาขั้นพืน้ฐาน พุทธศกัราช 2544 สาระการเรียนรูกลุมการงานอาชีพและเทคโนโลยี

4.1 วิสัยทัศนของโรงเรียนพระตําหนักสวนกหุลาบ มหามงคล 5. งานวิจยัที่เกี่ยวของ

1. จิตวิทยาการเรียนรูท่ีเก่ียวกับการพัฒนาสื่อการเรียนการสอน

ในการจดัการเรียนการสอน เปนการบูรณาการแนวความคิดของนักจติวิทยาการเรียนรู เนื่องจากในความหมายทางจิตวิทยากลุมพฤติกรรมการเรียนรูคือ กระบวนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมซึ่งเปนองคประกอบสําคัญของทฤษฎีการเรียนรูของกลุมนี้คือพฤติกรรมเชน ทฤษฎีส่ิงเรา 9

Page 22: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

10

และการตอบสนองการเรียนรูในลักษณะนี้เกดิจากกระบวนการตอบสนองเมื่อมีการเสนอสิ่งเรา องคประกอบสําคัญของการเรียนรูตามทฤษฎีนี้มี 4 ประการคือ 1. แรงขับ (Drive) หมายถึง ความตองการของผูเรียนในบางสิ่งบางอยางแลวใหผูเรียน หาหนทางตอบสนองความตองการ 2. ส่ิงเรา (Stimulus) เมื่อมีส่ิงเราผูเรียนจะไดรับความรูหรือการชี้แนะทันทีทันใดจากสิ่งเรานั้นกอนทีจ่ะตอบสนอง 3. การตอบสนอง (Response) หมายถึง การที่ผูเรียนแสดงปฎิกิริยาตอบสนองตอเนือ่ง ตอส่ิงเราซ่ึงอธิบายไดดวยพฤติกรรมที่ผูเรียนแสดงอออก 4. การเสริมแรง (Reinforcement) หมายถึงการใหรางวัล เชนการชมเชยผูเรียนในกรณี ที่ผูเรียนตอบสนองถูกตอง

ทฤษฎีการเรียนรูของกาเย (Gagne’) กาเยไดใหนิยามการเรียนรูไววาเปนการเปลี่ยนแปลงสมรรถภาพหรือความสามารถของมนุษยซ่ึงสามารถสังเกตไดจากพฤติกรรมบางประการที่แสดงออกมา การเปลี่ยนแปลงนี้เกิดจากการที่มนุษยไดรับประสบการณจากสภาพการณการเรียนรูในระยะเวลาหนึ่ง กาเยและคณะ(Gagna and others 1988:8-14) ไดใหขอเสนอแนะวา การเรียนรูของแตละบุคคลจะมีประสิทธิภาพเพยีงใดนั้นจะขึน้อยูกับปจจัย 2 ประการคือ 1. สภาพการเรียนรู (Condition of learning) เปนความพรอมภายในตวัผูเรียน (Internal Condition) ดานความสามารถที่มีอยูกอนเรยีน(พฤติกรรมเบื้องตน) และสภาพภายนอก (External Condition) ที่จัดใหแกผูเรียน 2. เหตุการณในการเรียนรู (Events of learning) หมายถึง กระบวนการตาง ๆ ที่เกิดขึ้น ในระหวางการเรียนรู เมื่อมีส่ิงเราจากสภาพแวดลอมมากระตุนหนวยรับประสาทสัมผัสจะรับส่ิงเราสงไปทําการบันทึกความรูสึก และจะไดรับการกลั่นกรองจากกระบวนการความตั้งใจและการเลือกการรับรูเลือกเฉพาะขอมูลที่ตองการ และจะสงตอไปยังหนวยความจําระยะสั้นโดยอาศัยส่ือ(ภาพและเสียง) และบางสวนถูกสงไปยังหนวยความจําระยะยาว และนาํมาใชงานไดดวยกระบวนการเสาะหา ผลจากกระบวนการนี้ทําใหมีการปฏิบัติก็จะเกดิการเรียนรู ดังนั้นการเรยีนรูจะขึ้นอยูกบักระบวนการควบคุมและคาดหวัง กระบวนการควบคุมทีสํ่าคัญคือยุทธศาสตรการคิด รูปแบบการเรยีนรูและการจาํของกาเย เปนทฤษฎกีารเรียนรูตามแนวของทฤษฎีใหมของกลุมความรูความเขาใจ ที่เนนในเรื่องของกระบวนการการเรียนรู (Information Processing) กาเย ยังไดเนนบทบาทครูในการจัดการเรียนการสอนเพื่อกระตุนนักเรยีนใหทํากิจกรรมตาง ๆ และเสนอแนวทางในการจัดการสอนเปน 9 ขั้น ตามลําดับดังนี ้

Page 23: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

11

1. การเรียกความสนใจ (Gaining Attention) เปนการนาํเขาสูบทเรียน เพื่อใหนักเรยีนพรอมที่จะเรียนโดยการเลือกสิ่งเรา เชน รูปภาพ ภาพยนตร การใชคาํถาม การสาธิตและนําเสนอส่ิงเรานั้น ๆ เพื่อเรียกความสนใจ 2. การบอกใหผูเรียนทราบจดุประสงคของการสอน (Information the Learning of the Objective) เพื่อใหนกัเรียนทราบจุดประสงคปลายทางของการเรียนการสอนและเปนแนวทางไปสูจุดประสงคนัน้ การบอกจดุประสงคนั้นอาจบอกใหทราบโดยตรงหรือบอกโดยใชคําถามก็ได 3. การกระตุนใหเกดิการระลึกความรูเดิมที่ตองมีกอน อาจใชคําถามหรือบรรยายเพื่อ ทบทวนความรูเดิม แลวนําไปเชื่อมโดยกบัความรูใหมใหมีความพรอมที่จะเรียนตอไป 4. การเสนอสิ่งเราใชในการประกอบการสอน ไดแกวัสดุอุปกรณและสื่อการสอนอื่น ๆ 5. การชี้แนะการเรียนรู (Providing Learning Guidance)อาจใชคําถามนําไปสูการเรยีนรู การนําการใชวัสดุอุปกรณและเครื่องมือตาง ๆ 6. จัดใหผูเรียนไดแสดงพฤติกรรม(Eliciting the Performance) คือใหผูเรียนลงมือทํา กิจกรรมปฏิบัติการทดลอง ผูสอนคอยใหความสะดวกจดัเตรียมเครื่องมือใหพรอมสาํหรับการปฏิบัติการ 7. ใหขอมูลปอนกลับเกีย่วกบัผลการทํากิจกรรม (Providing Feedback) เพื่อใหผูเรยีนทราบวาการทาํกิจกรรมหรือปฏิบัติการทดลองไดผลถูกตองดี หรือตองแกไขเปลี่ยนแปลงเพื่อให ผูเรียนไดเรียนรูตามจุดประสงคที่กําหนดไว 8. การวัดผลการเรียน(Assessing the Performance) การวัดผลการเรียนรูของผูเรียนใหการทํากิจกรรมอาจทําไดโดยการใชคําถาม ใหทําแบบฝกหัด หรือทาํขอสอบวัดผลไดในขณะเรยีนและเมื่อส้ินสุดการเรียนเพื่อปรับปรุงแกไขได 9. การทําใหผูเรียนคงการเรยีนรูและการถายโยงการเรยีนรู (Enhancing Retention and Transfer) คือการใหผูเรียนไดปฏิบัติซํ้า ๆ กัน เพื่อใหมคีวามคงทนของความรู ใหมีการทบทวนและนําความรูไปใชในสถานการณใหมเพื่อฝกการถายโอนการเรียนรู กาเยยังไดเสนอแนวคดิเพื่อเปนแนวทางในการสอนวา การสอนใหเรียนรูเนื้อหาสาํคัญกวาเรยีนรูกระบวนการและมคีวามเหน็วาการนําวิธีการสอนแบบคนพบไปสอนจะไมชวยใหผูเรียนคนพบดวนตนเอง นอกจากจะตองสรางสถานการณการเรียนรูที่แนนอนและเปนลําดับขั้นใหผูเรยีน จึงจะทําใหผูเรยีนสามารถเรียนรูไดตามวตัถุประสงค การสอนทั้ง 9 ขั้นตอนดังกลาวเปนประโยชนตอนักเทคโนโลยีการศึกษา ในการออกแบบและพัฒนาการสอนในเชิงปฏิบัติ ทฤษฎีและหลักการเรียนรูตามแนวคิดของกาเย ซ่ึงไดรับความ สนใจและนํามาใชในงานดานเทคโนโลยีการสอนอยางกวางขวาง(ไชยยศ เรืองสุวรรณ 2522 : 66)

Page 24: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

12

ในการจดัการศกึษาและการเรยีนการสอนในปจจุบัน(ไชยยศ เรืองสุวรรณ 2533 : 66-67) ไดมีการนําหลักจิตวิทยาการเรียนรูตามทัศนะตาง ๆ มาใชรวมกันอยางผสมผสานเพื่อกอใหเกิด การจัดการเรียนการสอนที่มีคุณภาพ โดยเฉพาะในเรื่องนี้เทคโนโลยกีารศึกษาไดมกีารประยกุตใช จิตวิทยาการเรยีนรูตาง ๆ เพือ่สงเสริมและสนับสนุนการเรียนการสอนใหมีประสิทธภิาพยิ่งขึน้ การประยุกตจติวิทยาการเรียนรูมาใชเทคโนโลยีการศึกษาและการสอน ทําใหไดสถานการณในการเรยีนการสอนที่มั่นใจไดวาสามารถสนับสนุนใหผูเรียนเกดิการเรียนรูไดอยางมี ประสิทธิภาพใน 4 ประการ คือ

1. ผูเรียนไดมสีวนรวมหรือลงมือปฏิบัติในการเรียนรู 2. ผูเรียนไดรับขอมูลยอนกลับในการเรียนอยางฉับพลัน 3. ผูเรียนไดรับการเสริมแรงดวยการใหประสบการณแหงความสําเร็จ 4. ผูเรียนไดเรียนรูอยางเปนขั้นตอนที่ละนอย

การประยกุตจติวิทยาการเรียนรูในการเรยีนการสอนและการจัดการศกึษา ทําใหเกิด

สภาพการจัดการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพทั้ง 4 ประการ และถือวาเปนหลักการสําคัญของเทคโนโลยีการศึกษา แนวคิดดังกลาวไดนาํมาเปนหลักการพื้นฐานในการผลิตส่ือเพื่อการเรียน การสอนแบบเอกตับุคคล หรือการเรียนดวยตนเองอยางกวางขวาง โดยเฉพาะในการสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน พรเทพ เมืองแมน (2544 :43) ไดกลาวถึงจิตวิทยาการเรยีนรูที่เกีย่วของกับการออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนไดแก 1. การรับรู (Perception) การเรียนรูของมนุษยจะเกิดขึ้นไมไดถาปราศจากการรับรู การรับรูจึงเปนบันไดขั้นแรกที่จะนําไปสูการเรียนรู ดังนั้นการเรียนรูที่ดจีะตองเกิดจากการรับรู ที่ถูกตอง การรับรูที่ดีและถูกตองของมนุษยจะเกิดขึน้ไดโดยการไดรับการกระตุนจากสิ่งเราที่เหมาะสม เพราะมนุษเราจะเลือกรับรูจากสิ่งเราที่ตรงกับความสนใจของตนเองมากกวาส่ิงเราทีไ่มตรงกับความสนใจในการออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนนัน้ ผูออกแบบตองออกแบบ ส่ิงเราที่เหมาะสมกับผูเรียน โดยคํานึงถึงคุณลักษณะดานตาง ๆ ของผูเรียน ไดแก อายุ เพศ เปนตน 2. การจดจํา (Memory) การที่มนุษยจะสามารถะรียนรูส่ิงใดแลวสามารถจดจําส่ิงนัน้ไดและสามารถนํามาใชในภายหลังไดดีนัน้ ขึ้นอยูกับวาผูเรียนสามารถเก็บความรูไวอยางเปนระเบียบ โดยการจดัโครงสรางขององคความรูอยางเปนระเบยีบ นอกจากนั้นการที่ผูเรียนไดฝกหรือทําซํ้ามาก ๆ ก็จะชวยผูเรียนใหเกดิทักษะความชํานาญและจดจําไดดีอีกดวย ดังนั้นเทคนิค ที่สําคัญของการเรียนรูที่ดีที่จะชวยผูเรียนใหจดจําความรูไดดจีึงอาศัยหลักเกณฑทั้ง 2 ประการคือ

Page 25: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

13

2.1 การชวยใหผูเรียนสามารถจัดระเบียบ (Organize) โครงสรางขององคความรูโดยการจัดโครงสรางของเนื้อหาบทเรียนอยางเปนระเบียบและแสดงใหผูเรยีนเห็นซึ่งสอดคลอง กับทฤษฎีเกี่ยวกับแผนภูมิมโนทศัน(Concept Mapping) ในปจจุบันนัน้เอง 2.2 การใหผูเรียนฝกและทาํซํ้ามาก ๆ จะชวยใหผูเรียนเกิดทกัษะความชํานาญและสามารถจดจําไดดี ซ่ึงสอดคลองกับทฤษฎีเกีย่วกับการฝกและการทาํซํ้า (Law of Practice and Repetition) ดังนั้น จึงควรออกแบบบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอนโดยมีแบบฝกหัดหรือแบบฝกปฏิบัติใหผูเรียนไดฝกเพื่อใหเกิดทักษะและจดจําไดด ี 3. การมีสวนรวม(Participation) และการมีปฏิสัมพันธ(Interaction) ของผูเรียนในการเรียน การใหผูเรียนไดมีสวนรวมและมปีฏิสัมพันธไดแก การใหผูเรียนไดกระทํากิจกรรมหรอืปฏิบัติในลักษณะตาง ๆ รวมถึงมีการโตตอบกับบทเรียน จะชวยใหเกิดการเรยีนรูที่ดี โดยนอกจากจะชวยใหผูเรียนมีความสนใจตอบทเรียนอยางตอเนื่อง อันเปนลักษณะการเรียนอยางกระตือรือรน (Active Learning) แลวยังทําใหเกดิความรูและทักษะใหม ๆ ในตัวผูเรียนดวย ดงันั้นผูออกแบบ บทเรียนจึงควรใหออกแบบบทเรียนมีกจิกรรมและการโตตอบที่เหมาะสมกับเนื้อหาและทักษะ ที่ตองการใหผูเรียนไดรับจากบทเรียน 4. แรงจูงใจ (Motivation) การสรางแรงจูงใจที่เหมาะสมจะชวยใหเกิดแรงจูงใจทีด่ี บทเรียนที่สามารถสรางแรงจูงใจที่ดีจะทําใหผูเรียนอยากเรียนและเรียนดวยความสุข สนุกสนาน ดังนั้นผูออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนจึงควรใหความสนใจและศึกษาเกีย่วกับการสรางแรงจูงใจทีด่ี เพื่อนํามาประยุกตใชกับการออกแบบบทเรียนใหสามารถสรางแรงจูงใจที่เหมาะสมกับผูเรียนในลักษณะตาง ๆ จากทฤษฏีสรางแรงจูงใจของเลปเปอร (Lepper) ไดแบงแรงจูงใจเปน 2 ลักษณะคือ แรงจูงใจภายนอกและแรงจงูใจภายใน แรงจูงใจภายนอกเปนแรงจูงใจที่เปนภายนอกตัวผูเรียน เชน คาจางรางวัล หรือคําชมเชย เปนตน ซ่ึงผลการวิจัยพบวา แรงจูงใจภายในเปนแรงจูงใจที่ชวยให ผูเรียนเรียนอยางสนุกสนาน และมีความสนใจตอบทเรียนอยางแทจริง ในขณะที่แรงจูงใจภายนอกจากทําใหผูเรียนมีความสนใจในการเรยีนนอยลง เนื่องจากเปาหมายของการเรียนเปนเพยีงการไดเลนเกมสนุก ๆ หรือไดรางวลัจากการเรียนเทานั้นเอง 5. การถายโอนการเรียนรู (transfer of Learning) การถายโอนการเรียนรูเปนการ นําความรูที่ไดไปประยุกตใชในชีวิตจริง ซ่ึงเปนเปาหมายสุดยอดของการเรียนรูนั่นเอง บทเรียน ที่จะชวยใหผูเรียนมีความสามารถในการถายโอนการเรียนรูไดดีนั้นจะตองเปนบทเรียนที่มีความใกลเคียงหรือเหมือนจริงกับสถานการณในชีวิตจริงมากที่สุด

Page 26: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

14

6. ความแตกตางระหวางบุคคล(Individual Difference)นักจิตวิทยามีความเชื่อทฤษฎีความแตกตางระหวางบุคคล โดยเชื่อวามนุษยแตละคนมีความแตกตางทางดานตาง ๆ ไดแก ความสนใจ ความถนัด ความสามารถ อารมณ สติปญญา เปนตน ซ่ึงทําใหการเรียนรูนัน้ ผูเรียนแตละคนจะสามารถเรียนรูไดเร็วหรือชาแตกตางกัน นอกจากนั้นวิธีการเรยีนรูของแตละคนก็แตกตางกนั ดังนั้นผูออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนจึงจาํเปนตองออกแบบบทเรียนใหมีความยืดหยุนเพื่อที่จะตอบสนองความแตกตางระหวางบุคคลของผูเรียนแตละคนซึ่งคุณสมบัติเหลานี้ก็เปน จุดเดนหรือขอไดเปรียบของสื่อประเภทคอมพิวเตอรชวยสอน ดังนั้นผูออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนอาจนาํเอาหลักการจิตวิทยาการเรียนรู มาประยุกตใชใหเหมาะสมกบับทเรียน ทั้งนี้เพื่อใหไดส่ือการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพเหมาะสมกับผูเรียนและตรงตามความสนใจของผูเรียนไดดียิ่งขึ้น

2. แนวคิดและทฤษฎีเก่ียวกับบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน

คอมพิวเตอรชวยสอนมีความเหมาะสมหลายประการในการนาํไปใชในดานการเรียน การสอน แตอยางไรก็ดีคอมพิวเตอรชวยสอนเปนเพียงสื่อการสอนชนิดหนึง่เทานั้น ผูสอนควรคํานึงถึงปญหาที่อาจจะเกิดขึ้น เพราะคอมพิวเตอรชวยสอนอาจจะไมสามารถแกไขปญหาการเรียนการสอนไดทั้งหมดทุกปญหา และที่สําคัญผูสอนจะมีความรูความเขาใจเกีย่วกับทฤษฏีทางจิตวิทยาการเรียนรูที่เกีย่วกับบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน(พรเทพ เมืองแมน 2544 :23) ไดกลาวถึงทฤษฎีทางจิตวิทยาการเรียนรู ที่มีอิทธิพลตอแนวคิดการออกแบบโปรแกรมหรือบทเรียนคอมพิวเตอร ชวยสอน ไดแก 1. ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม (Behaviorism) นักจติวทิยาในกลุมที่มีความเชื่อในทฤษฏีพฤติกรรมนยิมทีม่ีช่ือเสียงมากไดแก สกินเนอร (B.F.Skinner) โดยนักจติวิทยาในกลุมนี้มีความเชื่อทีว่า การเรียนรูของมนุษยเปนสิ่งที่สามารถสังเกตไดจากพฤติกรรมภายนอก และเชื่อในทฤษฎีการวางเงื่อนไข (Operant Conditioning) โดยมีแนวคดิเกีย่วกบัความสัมพันธระหวางสิ่งเราและการตอบสนอง และการใหการเสริมแรง (Reinforcement) ทฤษฎีนี้เชื่อวาการเรียนรูเกดิจากมนุษยตอบสนองตอส่ิงเราและพฤติกรรมการตอบสนองจะเขมขนขึ้น หากไดรับการเสริมแรงที่เหมาะสม สกินเนอรไดสรางเครื่องชวยสอน(Teaching Machine) ขึ้นและตอมาไดพัฒนาเปน บทเรียนแบบโปรแกรม โดยท่ีบทเรียนแบบโปรแกรมของสกินเนอรจะเปนบทเรยีนในลักษณะเชิงเสนตรง (Linear) ซ่ึงเปนบทเรียนที่ผูเรียนทุกคนจะไดรับการเสนอเนือ้หาเรียงตามลําดับตั้งแตตน

Page 27: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

15

จนจบเหมือนกัน นอกจากนั้นจะมีคําถามในระหวางการเรียนเนื้อหาแตละตอนอยางสม่ําเสมอใหผูเรียนตอบและเมื่อผูเรียนตอบแลวก็จะมคีําเฉลยพรอมมีการเสริมแรง โดยอาจจะเปนการเสริมแรงทางบวก เชน คําชมเชยหรือเสริมแรงทางลบ เชน ใหกลับไปศึกษาบทเรียนอีกครั้ง หรืออธิบายเพิ่มเติมเปนตน 2. ทฤษฎีปญญานิยม (Cognitivism) เปยมศักดิ์ สงศิริทวีสุข (2541 : 42) ไดกลาวไวถึงทฤษฎีทีน่ํามาใชในการสรางบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอน ทฤษฎีปญญานิยมนี้มแีนวคดิที่แตกตางจากทฤษฎีพฤติกรรมนิยม โดยทฤษฎีนีจ้ะเนน ในเรื่องของความแตกตางระหวางบุคคล เชื่อวามนษุยมีความแตกตางกันทั้งในเรือ่งของความรูสึก นึกคิด อารมณ ความสนใจ ความถนัด ดังนั้นในการเรียนรูกจ็ะมีกระบวนการหรือข้ันตอน ที่แตกตางกนั นักจิตวิทยาที่มีช่ือเสียงในกลุมนี้ไดแก คราวเดอร (Croweder) โดยคราวเดอรไดออกแบบบทเรียนควบคุมบทเรียนของตนเองมากขึ้นโดยเฉพาะอยางยิ่งการมีอิสระของการเลือกลําดับ ในการนําเสนอเนื้อหาบทเรียนที่มคีวามเหมาะสมกับตนเอง ผูเรียนแตละคนไมจําเปนตองเรียนตามลําดบัเหมือนกนั เนื้อหาของบทเรียนจะไดรับการนาํเสนอโดยขึ้นอยูกับความสนใจ ความถนัด และความสามารถของผูเรียนเปนสําคัญ 3. ทฤษฎีโครงสรางความรู (Scheme Throry) ทฤษฏีโครงสรางความรูเปนทฤษฏีที่อยูภายใตทฤษฏีปญญานิยมเพียงแตทฤษฏี โครงสรางความรูจะเนนในเรื่องของโครงสรางความรู โดยเชื่อวาโครงสรางภายในของความรูของมนุษยนั้นมีลักษณะที่เชื่อมโยงกันเปนกลุมหรือโหนด(Node) การที่มนุษยจะเรยีนรูอะไรใหมๆ นัน้ จะเปนการนําความรูใหม ๆ นั้นไปเชื่อมโยงกับกลุมความรูที่มีอยูเดิม นอกจากนั้นทฤษฏีนีย้งัมีความเชื่อเกีย่วกับความสําคัญของการเรียนรูโดยเชื่อวาการรับรูเปนสิ่งสําคัญของการเรียนรู ไมมีการเรียนรูใดเกิดขึ้นโดยปราศจากการบัรู จากการกระตุนจากเหตุการณหนึ่ง ๆ ทําใหเกดิการบัรู และการรับรูจะเปนการสรางความหมายโดยการถายโอนความรูใหมเขากับความรูเดิม นอกจากนั้นโครงสรางความรูจะชวยในการระลึก(Recall) ถึงส่ิงตางๆ ที่เราเคยเรียนรูมาอีกดวย

แนวคดิทฤษฎโีครงสรางความรูนี้ สงผลใหการออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนในลักษณะของการนําเสนอเนื้อหาที่มีลักษณะการเชื่อมโดยงกนัไปมาคลายใยแมงมุม (Webs) หรือบทเรียนในลักษณะที่เรียกวา บทเรียนส่ือหลายมิติ(Hypermedia) โดยมีการวิจยัหลายชิ้นสนับสนนุวาการจดัระเบยีบโครงสรางการนําเสนอเนื้อหาบทเรียนในลักษณะสื่อหลายมิติ จะตอบสนองวิธีการเรียนรูของมนุษย ในความพยายามที่จะเชื่อมโยงความรูใหมกับความรูเดิมไดเปนอยางดี (ถนอมพร ตันพิพัฒน 2541: 55)

Page 28: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

16

3. คอมพิวเตอรชวยสอน

3.1 ความหมายของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ถนอมพร เลาหจรัสแสง (2543:7) วจิารณ สงกรานต (2543:3) ไดใหความหมายคอมพิวเตอรชวยสอนไววา คอมพิวเตอรชวยสอน(CAI) ยอมาจากคําในภาษาอังกฤษวา Computer Assisted หรือ Aided Instruction หมายถึง ส่ือการเรียนการสอนทางคอมพิวเตอรรูปแบบหนึ่งซึ่งใชความสามารถของคอมพิวเตอรในการนําเสนอสื่อประสมอันไดแก ขอความ ภาพนิ่ง กราฟก แผนภูมิ กราฟ ภาพเคลื่อนไหว วิดีทัศนและเสียง เพือ่ถายทอดเนื้อหาบทเรียนหรือองคความรูในลักษณะที่ใกลเคียงกับการสอนจริงในหองเรียนมากที่สุด โดยที่คอมพิวเตอรชวยสอนจะนําเสนอเนื้อหาที่ละหนาจอภาพ โดยเนื้อหาความรูในคอมพิวเตอรชวยสอนจะไดรับการถายทอดในลักษณะที่แตกตางกนัออกไป ทั้งนีข้ึ้นอยูกับธรรมชาติและโครงสรางของเนื้อหา โดยมีเปาหมายสําคัญกค็ือ การไดมาซึ่งคอมพิวเตอรชวยสอนที่สามารถดึงดูดความสนใจของผูเรียนและกระตุนผูเรยีนใหเกดิความตองการที่จะเรยีนรู คอมพิวเตอรชวยเสนอเปนตวัอยางดีของสื่อการศึกษาในลักษณะตวัตอตวัซ่ึงผูเรียนเกดิการเรียนรูจากการมีปฏิสัมพันธหรือการโตตอบ พรอมทั้งการไดรับผลปอนกลับ(Feedback) อยางสม่ําเสมอกับเนื้อหาและกิจกรรมตาง ๆ ของคอมพิวเตอรชวยสอนที่เกี่ยวเนื่องกับการเรียน นอกจากนีค้อมพิวเตอรชวยสอนยังเปนสื่อที่สามารถตอบสนองความแตกตางระหวงผูเรียนไดเปนอยงดี รวมทั้งสามารถที่จะประเมินและตรวจสอบความเขาใจของผูเรียนไดตลอดเวลา ดังนั้นผูสอนจะสามารถนําคอมพิวเตอรชวยสอนไปชวยการสอนของตนไดอยางมีประสิทธิภาพเพราะมีงานวิจยัหลายชิน้ที่สนับสนุนวา ผูเรียนที่ใชคอมพิวเตอรชวยสอนในการเรียนจะใชเวลาเพียงสองในสามของผูเรียนที่เรียนดวยวิธีที่สอนตามปกติ ในขณะเดียวกันผูเรียนสามารถนําคอมพิวเตอรชวยสอนไปใชในการเรียนดวยตนเองโดยปราศจากขอจํากัดทางดานเวลาและสถานที่ในการศึกษา โดยเฉพาะผูเรียนออนสามารถใชประโยชนจากคอมพิวเตอรชวยสอนในการเรยีนเพิ่มเติมนอกเวลาได นอกจากนี้นกัการศึกษาไดใหความหมายเกี่ยวกบัคําวาคอมพิวเตอรชวยสอนไวหลายทาน โดยไดใหความหมายไวดังนี ้ ประไพ พงษจิวานิช (2541 : 25) ไดใหความหมาย คอมพิวเตอรชวยสอนวา เปนการนําคอมพิวเตอรมาใชประกอบการเรียนการสอน โดยผูเรียนไดเรียนเนือ้หาจากบทเรยีนตามขั้นตอนของบทเรียนคอมพิวเตอรที่สรางขี้นอยางเปนขั้นตอนและคอมพิวเตอรชวยสอนชวยบอกขอบกพรองของผูเรียนได เมื่อผูเรียนทําผิดขึ้นตอนของโปรแกรม นอกจากนั้นแลว คอมพิวเตอรชวยสอนยังสามารถใหผูเรียนไดเรียนรูหรือทบทวนบทเรียนซํ้าไดอีก

Page 29: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

17

กิดานันท มลิทอง (2540:187) กลาวถึงคอมพิวเตอรชวยสอนวา เมื่อมกีารนําคอมพิวเตอรมาใชเปนคอมพวิเตอรชวยสอน จะทําใหการเรยีนการสอนมีปฏิสัมพันธกันไดในระหวางผูเรียน กับคอมพิวเตอร เชนเดียวกับการเรียนการสอนระหวางครูกับนกัเรียนที่อยูในหองเรียนปกต ิ นอกจากนี้คอมพวิเตอรยังมีความสามารถในการตอบสนองตอขอมูลที่ผูเรียนปอนเขาไปไดในทันที ซ่ึงจะเปนการชวยเสริมแรงใหกับผูเรียน และเพื่อใหผูเรียนสามารถเรียนรูจากโปรแกรมคอมพิวเตอรชวยสอนรูปแบบตาง ๆ ในแตละบทเรียนจะมีตวัอักษร ภาพกราฟก ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว รวมทั้งเสียงประกอบดวย ทําใหผูเรียนสนกุไปกับการเรียนไมรูสึกเบื่อ

ถนอมพร เลาหจรัสแสง (2541:7) ไดใหความหมายวา คอมพิวเตอรชวยสอนมีช่ือยอวา CAI ซ่ึงยอมาจากคําในภาษาอังกฤษวา Computer Assisted Instruction ซ่ึงหมายถึง ส่ือการเรียนการสอนทางคอมพิวเตอรรูปแบบหนึ่งซ่ึงใชความสามารถของคอมพิวเตอรในการนําเสนอสื่อประสมอันไดแก ขอความ ภาพนิ่ง กราฟก แผนภมูิ กราฟ ภาพเคลื่อนไหว วิดทีัศนและเสียง เพื่อถายทอดเนื้อหาบทเรยีนหรือองคความรูในลักษณะที่ใกลเคียงกับการสอนจริงในหองมากที่สุด

ประไพ พงษจิวานิช (2541 : 25) ไดใหความหมายวา การนําคอมพิวเตอรมาใชประกอบการเรยีนการสอน โดยผูเรียนไดเรยีนเนื้อหาจากบทเรียนตามขัน้ตอนของบทเรียนคอมพิวเตอรที่สรางขึ้นอยางเปนขั้นตอน และคอมพวิเตอรชวยสอนชวยบอกขอบกพรองของผูเรียนได เมือ่ผูเรียนทําผิดขัน้ตอนของโปรแกรม นอกจากนัน้แลวคอมพิวเตอรชวยสอนยังสามารถใหผูเรียนไดเรียนรูหรือทบทวนบทเรยีนซ้ําไดอีก

บูรณะ สมชัย (2542 : 14) ไดกลาวเกี่ยวกบับทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนวา โปรแกรมบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนสําหรับผูเรียนเปนเสมือนกับหองสมุดหรือตํารา แตเปนตําราอีเล็กทรอนิกส ซ่ึงรวบรวมเนื้อหาของวิชานั้นไวทั้งหมดเหมือนกับสารานุกรม (Encyclopedia) บางตอนก็นําเสนอดวยขอมูลและรูปภาพ บางตอนก็นําเสนอเปนมัลติมีเดีย และบางตอนก็จัดใหม ี ปฏิสัมพันธ (Interactive) กับผูเรียน มีแบบฝกหัดใหทดสอบ แตจะไมบังคับผูเรียนจะเลือกเรยีน หัวขอหรือเนื้อหานั้นหรือขามไปก็ได จึงถือไดวาชวยเสริมประสบการณแกผูเรยีนสวนใหญ จะบรรจุเปนแผนซีดี-รอม(CD-ROM) เนื่องจากเก็บเนื้อหาไดมากถึง 650 MB

วุฒิชัย ประสารสรอย (2546) ใหความหมายคอมพิวเตอรชวยสอนไววา คําวา “บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน” โดยทั่วไปมักจะเรยีกวา “คอมพิวเตอรชวยสอน” หรือ “ซีเอไอ” (Computer Assisted Instruction ; Computer Aid Instruction : CAI) มีความหมายวาเปนการพฒันาโปรแกรมเพื่อการเรียนการสอนโดยใชอคอมพิวเตอรเปนสื่อชวยถายโอนเนื้อหาความรูไปสูผูเรียนและปจจุบันไดมีการบัญญัติศัพทที่ใชเรียกสื่อชนิดนีว้า “คอมพิวเตอรชวยสอน”

Page 30: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

18

จากความหมายของคอมพิวเตอรชวยสอนดังกลาวขางตน สรุปไดวา คอมพวิเตอรชวยสอน(Computer Assisted Instruction : CAI) หมายถึงการนําคอมพิวเตอรมาใชเปนสื่อชวยในการเรียนการสอน เพื่อใหนักเรียนเกดิการเรยีนรูไดดวยตนเอง โดยมกีารถายทอดเนื้อหาของบทเรียนในลักษณะของสื่อประสม ซ่ึงสามารถโตตอบกับผูเรียนไดโดยตรง เพื่อใหผูเรียนบรรลุวัตถุประสงคที่กําหนดไว การเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนมีลักษณะคลายกับการเรียนในหองเรยีนปกต ิ โดยคอมพิวเตอรชวยสอนเปนเสมือนเครื่องชวยครูในการถายทอดความรูจากครู สูผูเรียน ตามความตองการของผูเรียน สามารถตอบสนองความแตกตางระหวางบุคคลไดอยางมีประสิทธิภาพเนื่องจากผูเรียนสามารถเรียนรูไดดวยตนเองตามความถนัด ความสามารถ ความสนใจและความตองการของผูเรียนแตละคน ซ่ึงผูเรียนสามารถเรียนโดยผานทางจอภาพและมีการทบทวน ทําแบบฝกหัดหรือการวัดผล เพื่อเสนอแนะขั้นตอนในการเรียนขั้นตอไป นับไดวาคอมพิวเตอรเปนอุปกรณทางการศึกษาที่มีประโยชนมาก อันเนื่องมาจากความทันสมยัในรูปแบบตาง ๆ เปนตนวา ความสะดวก รวดเร็ว แมนยํา และสามารถเก็บขอมูลไดรวดเรว็ จึงเหมาะที่จะใชในการศึกษา แตมิไดหมายความวาจะใชสอนแทนครูไดทั้งหมด อาจมีเนื้อหาบางสวนที่คอมพวิเตอรไมสามารถประเมินได เชน คุณธรรม จริยธรรม ซ่ึงยังตองใชครูผูสอนเปนผูประเมินในเรื่องของความถูกตอง คุณลักษณะสําคัญของคอมพวิเตอรชวยสอน(CAI) คุณลักษณะที่เปนองคประกอบสําคัญของคอมพิวเตอรชวยสอนที่สมบรูณจะประกอบไปดวยคุณลักษณะสําคัญ 4 ประการไดแก(ถนอมพร เลาหจรัสแสง 2543 : 8-11;วิจารณ สงกรานต 2542:4-6) สารสนเทศ (Information) ความแตกตางระหวางบุคคล (Individualization) การโตตอบ (Interaction)

ผลปอนกลับโดยทันที (Immediate Feedback) สารสนเทศ (Information ) หมายถึงเนื้อหาสาระ(content) ที่ไดรับการเรียบเรียงแลว

เปนอยางด ี ซ่ึงทําใหผูเรียน เกิดการเรียนรูหรือไดรับทักษะอยางหนึ่งอยางใดตามที่ผูสรางไดกําหนดวัตถุประสงคไว โดยการนําเสนอเนื้อหานี้อาจจะเปนการนาํเสนอในรูปแบบตาง ๆ ซ่ึงอาจจะเปนในลักษณะทางตรงหรือ ทางออมก็ไดตวัอยางการนําเสนอเนื้อหาในลักษณะทางตรงก็ไดแกการนําเสนอเนื้อหาในคอมพิวเตอรชวยสอนประเภทติวเตอร ซ่ึงเปดโอกาสใหผูใชไดรับเนื้อหาสาระและทักษะตางๆอยางตรงไปตรงมาจากการอาน จํา ทําความเขาใจ และฝกฝน ตัวอยาง

Page 31: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

19

การนําเสนอเนื้อหาในคอมพิวเตอรชวยสอนประเภทเกมและการจําลอง ซ่ึงเนื้อหาสาระหรือทักษะที่ผูเรียนไดรับจะถูกแฝงเอาไวในรูปแบบของเกมตาง ๆ เพื่อใหผูใชไดฝกทักษะทางการคิด การจํา การสํารวจตาง ๆ รอบตัว และเพื่อสรางบรรยากาศการเรียนรูที่สนุกสนานเพลิดเพลินและจูงใจใหผูใชมีความตองการที่จะเรยีนมากขึ้น ความแตกตางระหวางบุคคล (Individualization) การตอบสนองความแตกตางระหวางบุคคลคือลักษณะสาํคัญของคอมพิวเตอรชวยสอน บุคคลแตละบุคคลมีความแตกตางกันทางการเรียนรูซ่ึงเกิดจากบุคลิกภาพ สติปญญา ความสนใจ พื้นฐานความรูที่แตกตางกันออกไป(Individualization) คอมพิวเตอรชวยสอนซึ่งเปนสื่อการเรียนการสอนรายบุคคลประเภทหนึ่งจึงตองไดรับการออกแบบใหมีลักษณะที่ตอบสนองตอความแตกตางสวนบุคคลใหมากทีสุ่ด กลาวคือคอมพิวเตอรชวยสอนจะตองมีความยืดหยุนมากพอที่ผูเรียนจะมีอิสระในการควบคุมการเรียนของตน รวมทั้งการเลอืกรูปแบบการเรียนที่เหมาะสมกับตนได การควบคุมการเรียนของตนนีก้็มีอยูหลายลักษณะดวยกนั ลักษณะที่สําคัญๆ ไดแก การควบคุมเนือ้หา การเลือกที่จะเรยีนสวนใด ขามสวนใด ออกจากบทเรียนเมื่อใดหรือยอนกลับมาเรียนในสวนทีย่ังไมไดศึกษา เชนมีเมนูหรือรายการที่แยกเนื้อหาตามลําดบัหัวขออยางชดัเจนหรือปุมควบคุมตาง ๆ ในการสืบไป(navigate) ในบทเรียน การควบคุมลําดับของการเรียน การเลือกที่จะเรียนสวนใดกอนหลังหรือการสรางลําดับการเรียนดวยตนเอง เชนในลักษณะการเรียนเนื้อหาแบบโยงใยหรือส่ือหลายมิติ(Hypertext) กไ็ด ซ่ึงผูเรียนสามารถที่กดเลือกขอมูลที่ตองการเรียนตามความสนใจ ความถนัดหรอืตามพื้นฐานความรูของตนได การควบคุมการฝกปฏิบตัิหรอืการทดสอบ ความตองการที่จะฝกปฏิบัติหรือทําแบบทดสอบหรือไม หากทําจะทํามากนอยเพียงใด เชน การมีปุมควบคุมตาง ๆ จัดหาไวทุกหนาที่จําเปน การโตตอบ (Interaction) คือการมีปฏิสัมพันธกันระหวางผูเรียนกับคอมพิวเตอรชวยสอน การเรียนการสอน รูปแบบที่ดีที่สุดก็คือการเรียนการสอนในลักษณะที่เปดโอกาสใหผูเรียนไดมปีฏิสัมพันธกับผูสอนไดมากที่สุดนอกจากนีก้ารทีม่นุษยสามารถเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพนั้นหาใชเกดิขึ้นจากการสังเกตเทานั้น หากตองมกีารโตตอบหรือปฏิสัมพันธโดยเฉพาะอยางยิง่การไดมีการปฏิสัมพันธกับผูสอน ดังนั้นคอมพิวเตอรชวยสอนทีไ่ดรับการออกแบบมาอยางดจีะตองเอื้ออํานวยใหเกิดการโตตอบระหวางผูเรียนกับคอมพิวเตอรชวยสอนอยางตอเนื่องและตลอดทั้งบทเรียน การอนุญาต

Page 32: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

20

ใหผูเรียนเพียงแคการคลิกเปลี่ยนหนาจอไปเรื่อยๆที่ละหนาไมถือวาเปนปฏิสัมพันธที่เพียงพอสําหรับการเรียนรู ผลปอนกลับโดยทันที (Immediate Feedback) ลักษณะที่สําคัญที่ขาดไมไดของคอมพิวเตอรชวยสอนคอืการใหผลปอนกลับโดยทันที ตามแนวคิดของสกินเนอร(Skinner) แลว ผลปอนกลับหรือการใหคําตอบนี้ถือเปนการเสริมแรง(reinforcement) อยางหนึ่ง การใหผลปอนกลับแกผูเรยีนในทันทหีมายรวมไปถึงการที่คอมพิวเตอรชวยสอนที่สมบูรณจะตองมกีารทดสอบหรือประเมินความเขาใจของผูเรียนในเนื้อหาหรือทักษะ ตาง ๆ ตามวัตถุประสงคที่กําหนดไวดวย ซ่ึงการใหผลปอนกลับแกผูเรียนเปนวิธีที่อนุญาตใหผูเรียนสามารถตรวจสอบการเรียนของตนเองได ทั้งนีม้ีงานวิจยัหลายชิ้นซึ่งสนับสนุนวาการใหผลปอนกลับแกผูเรียนจะชวยเพิม่ประสิทธิภาพในการเรยีนไดเปนอยางด ี ความสามารถในการใหผลปอนกลับโดยทันทีของคอมพิวเตอรชวยสอนนี้เองที่ถือไดวาเปนจุดเดนหรือขอไดเปรยีบ ประการสําคัญของคอมพิวเตอรชวยสอนโดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อเทียบกับสื่อประเภทอืน่ ๆ ไมวาจะเปนสื่อ ส่ิงพิมพหรือส่ือโสตทัศนวัสดุแลว เนื่องจากสื่ออ่ืนๆนั้นไมสามารถที่จะประเมินผลการเรียนของ ผูเรียนพรอมกบัการใหผลปอนกลับโดยฉบัพลันเชนเดยีวกับคอมพวิเตอรชวยสอน 3.2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ถนอมพร เลาหจรัสแสง 2543 :11-12 ( อางถึงใน ทักษณิา สวนานนท2530 :216-220; บรูณะ สมชัย 2538:28-32)ไดแบงประเภทของคอมพิวเตอรชวยสอนไว 7 ประเภท ดังนี้ 1. การฝกทักษะและการทําแบบฝกหัด (Drill and Practice) เปนลักษณะบทเรยีนโปรแกรมที่สามารถเลือกบทเรียนที่จะเรียนไดตามระดบัความสามารถของผูเรียน มีแบบฝกหัดใหทําเพื่อทดสอบความรู และสามารถทบทวนบทเรยีนไดเมื่อยังไมเขาใจหรือมีความรูไมเพียงพอ 2. การเจรจา(Dialogue) เปนลักษณะพดูคุยโตตอบได คือพยายามใหเปนการพดูคุยระหวางผูเรียนและผูสอน โดยเลียนแบบการเรียนในหองเรียน เพียงแตวาแทนที่จะเปนเสยีงก็เปนตัวอักษรบนจอภาพ แลวมกีารสอนดวยการตั้งปญหาถาม เชน บทเรียนวิชาเคมีอาจถามหาสารเคมีบางชนิด ผูเรียนอาจโตตอบดวยการใสช่ือสารเคมีใหเปนคําตอบ 3. การจําลองสถานการณ(Simulation) เปนการเสนอปรากฏการณที่จําลองมาจากของจริง เพราะบางทีประสบการณอาจเสี่ยงเกนิไปหรือแพงเกินไป เชนการเรียนวิธีขับเครื่องบินผูเรียนนาจะไดลองขับเครื่องจําลองมากกวา การสอนดวยวิธีนีจ้ะทําใหผูเรียนมีความรูสึกและชํานาญอยางแทจริง การจําลองมี 3 ลักษณะคือ 3.1 การจําลองสภาพแบบการทํางาน(Task performance simulation) เชนการจําลองการบิน การขบัรถ

Page 33: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

21

3.2 การจําลองภาพแบบจําลองระบบ (System modeling simulation) เชนจําลองระบบจัดการจราจรวันเวยในนครหลวงดวูาจะมีปญหาอยางใดหรือไมกอนลงมือทําบนถนนจริง 3.3 การจําลองสภาพแบบประสบการณ(Experience encounter simulation) เชนการจําลองใหผูฝกงานไดทดลองการทํางานบางอยาง หรือตดัสินใจบางเรือ่ง การทําจริงๆ อาจยังไมเกิด แตผูเรียนจะไดเรียนรูจากการจําลองสภาพวาประสบการณของตนจะเปนอยางไรถาอยูในสภาพ นั้นๆ 4. เกม (Game) เปนการเรียนรูจากเกมที่จดัทําดวยคอมพิวเตอร เชนเกมตอภาพ เกมตอคําศัพท เปนตน เกมมี 2 ประเภท คือการแขงขันและการรวมมือ เกมการแขงขัน มองแตชัยชนะ สอนใหเปนตวัของตัวเอง ใหอยากพบความสําเร็จ เกมการรวมมือ มักจะเปนการแกปญหาเปนกลุม การทํางานเปนทีม การเลนเกมนัน้มีประโยชนเพื่อความสนุกสนานและเพื่อการศึกษาถาเปนการเลนเพียงคนเดียวก็อาจเปนการฝกใหใชตาและมอืใหสัมพันธกัน ถาเปนการแขงขันก็เปนการสอนใหรูจักใชปฏิภาณหรือความสามารถเอาชนะคูตอสูใหได 5. การแกปญหาตาง ๆ (Problem solving) เปนการเรียนที่เนนใหฝกการคิด การตัดสินใจ โดยมีการกําหนดเกณฑใหแลวใหผูเรียนพจิารณาไปตามเกณฑ มีการใหคะแนนหรอื น้ําหนกักับเกณฑแตละขอน้ําหนกักับเกณฑแตละขอเชน วิชาทําสถิติ วิชาคณิตศาสตร 6. การคนพบสิ่งใหม ๆ (Investigating) เปนการจดัสถานการณขึ้นแลวใหนกัเรียนคนหาขอเท็จจริง เชนผสมพยัญชนะหรือคําศัพท โดยคอมพิวเตอรจะบอกความหมายคําตรงขาม คําใกลเคียงเปนตน 7. การทดสอบ(Testing) เปนการทดสอบความรูและความสามารถของผูเรียนโดยคอมพิวเตอรจะจัดขอสอบใหและทําการประมวลผลใหทราบในทันที เชนการทดสอบพื้นฐาน ความรู การทดสอบ I.Q เปนตน นอกจากนี้ไดมีนักวิชาการและนักการศกึษา (ทักษิณา สวนานนท 2530 ; อรพรรณ พรสีมา 2530 ; วารินทร รัศมีพรหม 2531 ; กิดานันท มลิทอง 2536 ; ไพโรจน คชชา 2540 ; ถนอมพร เลาหจรัสแสง 2543) ไดแบงประเภทคอมพิวเตอรชวยสอนออกเปน 5 ประเภท คือ 1. ประเภทตวิเตอร 2. ประเภทแบบฝกหัด 3. ประเภทแบบทดสอบ 4. ประเภทเกม 5. ประเภทสถานการณจําลอง

Page 34: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

22

ในการแบงประเภทของคอมพิวเตอรชวยสอนทั้ง 5 ประเภทนั้นมีรายละเอียดดังนี ้ 1. ประเภทติวเตอรเปนบทเรียนแบบเสนอเนื้อหา(tutorial)เปนบทเรียนที่มุงเนนเสนอเนื้อหาเปนหลักไมวาจะเปนการเสนอเนื้อหาใหมหรือทบทวนเนื้อหาเดิมก็ตาม บทเรียนในลักษณะนี้จะทําหนาทีค่ลาย ติวเตอร ซ่ึงอาจจะใชสอนเนื้อหาใหม หรือใชในการทบทวนหรือสอนเสริม โดยอาศัยแนวความคิดเชนเดียวกันกับบทเรียนโปรแกรมที่เปนสิ่งพิมพ แตใชความสามารถของคอมพิวเตอรทีม่ีเหนือกวา อันไดแกการนําเสนอในลักษณะของสื่อประสม การใหขอมูลยอนกลับ(feedback) การเก็บขอมูลการเรียนและการประเมินผลการเรียนเปนตน บทเรียนแบบเสนอเนื้อหานี้เปนบทเรียนที่มี ผูสรางและนํามาใชกันคอนขางจะแพรหลายมากที่สุดรูปแบบหนึ่ง โดยในปจจุบันผูสอนอาจหาซื้อมาใชในการเรยีนการสอนได หรืออาจสรางขึ้นเองโดยใชโปรแกรมชวยสรางไดโดยไมยาก 2. ประเภทแบบฝกหัด (drill and practice)เปนบทเรียนที่มุงเนนใหผูเรียนไดทําแบบฝกหัด เพื่อใหเกิดความเขาใจและเกดิทักษะในเนื้อหาที่ไดเคยเรียนมาแลวมากยิง่ขึ้น บทเรยีนประเภทนี้ จะไมมีการเสนอเนื้อหา แตจะมีคําถามหรือแบบฝกหัดใหผูเรียนไดฝกทํา และจะมกีารใหขอมูลยอนกลับ (feedback) เชนมีคําเฉลยหรือคําอธิบายเพิ่มเติม หรือประเมินผลการเรียนทันที ทําให ผูเรียนสามารถฝกหัดไดดวยตนเองจนเปนที่พอใจ 3. ประเภทแบบทดสอบ (test) เปนบทเรียนที่มีลักษณะเปนแบบทดสอบ เพื่อใหผูเรียนไดทดสอบความรูของตนเอง หรือผูสอนอาจใชเปนแบบทดสอบเพื่อประเมนิผลการเรียนของผูเรียนก็ได โดยบทเรียนในลักษณะของแบบทดสอบนี้จะสามารถประเมินผลการเรยีนไดทนัท ี 4. ประเภทเกม(instructional games)เปนบทเรียนมลัีกษณะเปนเกมที่มุงเนนใหผูเรียนเกิดความสนกุสนานและทาทาย แตมิใชจะเปนเพียงแคสนุกสนานอยางเดยีวเหมอืนกับเกมทัว่ไป แตเปนเกมที่ทาํใหเกดิการเรยีนรูดวย ซ่ึงบทเรียนในลักษณะนีจ้ะชวยใหผูเรียนเรียนรูไดอยางสนุกสนาน มเีจตคติที่ดีตอบทเรียนอีกดวย 5. ประเภทสถานการณจําลอง(simulation) บทเรียนในลกัษณะของการจําลองสถานการณ ซ่ึงเปนขอเดนของสื่อประเภทคอมพิวเตอร เนื่องจากคอมพิวเตอรมีความสามารถในดานตาง ๆ อันทําใหสามารถสรางสถานการณจําลองทีเ่หมือนจริงได ทําใหบทเรียนสมจริงและ นาสนใจมากยิง่ขึ้น บทเรียนประเภทนี้คอนขางจะสรางยาก ตองใชผูที่มีความรูดานคอมพิวเตอร และตองใชระยะเวลาในการสราง แตอยางไรก็ดี ก็นับวาเปนบทเรยีนที่ใหผลการเรียนรูที่ดีประเภทหนึ่ง

Page 35: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

23

3.3 รูปแบบโปรแกรมคอมพิวเตอรชวยสอน บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนแบงรูปแบบของบทเรียนออกเปน 2 ลักษณะใหญ ๆ คือ (บุปผชาติ ทัฬหิกรณ 2538 : 24) 1. บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนแบบเสนตรง (Linear Program) จะแบงออกเปนหนวยยอย ๆ ที่ตอเนื่องกัน โดยเริ่มจากงายไปหายากตอเนื่องกันไปเรือ่ย ๆ เปนบทเรียนที่จัดใหอานแบบทางเดยีวกันหมดทุกคน เราเรียกการเรยีนในลักษณะทีว่านี้เปนการเรยีนแบบโปรแกรม(Programmed Instruction) เปนบทเรียนที่ไดรับความสนใจวาจะเปนเทคนิควิธีการที่ชวยใหผูเรยีนเกิดการเรยีนรูไดอีกวิธีหนึ่ง การเรียนเปนการตอเนื่องจากสิ่งที่งายไปหาสิ่งที่ยาก รูปแบบการดําเนินบทเรยีนแบบนี้ เนือ้หาแตละเฟรมจะเรียงลําดับตอเนื่องกันไปตั้งแตตนจนจบบทเรียนจะไมสามารถขามกระโดดไปยังเฟรมหรือเนื้อหาสวนใด ๆ ไดหากไมผานเนื้อหาเฟรมตน ๆ มากอน จึงเปนรูปแบบทีง่ายตอการสรางและพัฒนา แผนภาพที่ 1 โครงสรางบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอนแบบทางเดยีว ขั้นตอนการออกแบบผังงานและบทดําเนินเรื่อง 1. ออกแบบจดุเริ่มและจดัสิ้นสุดของเนื้อหาบทเรียน 2. แสดงใหเหน็ถึงการเชื่อมตอระหวางเนือ้หาแตละเฟรม และแสดงความสัมพันธ การเชื่อมโยงบทเรียน 3. แสดงปฏิสัมพันธของเฟรมตาง ๆ ของบทเรียน 4. แสดงรูปแบบการดําเนินบทเรียนวาเปนแบบเชิงเสน(Linear Type) หรือแบบสาขา (Branching Type) 5. แสดงการดาํเนินบทเรียนและวิธีการนําเสนอเนื้อหาและกิจกรรม

กรอบที่ 2 กรอบที่ 3 กรอบที่ 4 กรอบที่ 1

Page 36: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

24

2. บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนแบบสาขา(Branching Program) เปนบทเรยีนสําเร็จรูปที่สรางขึ้นเพื่อคํานงึถึงความแตกตางของบุคคลเปนหลัก โดยแบงบทเรียนเปนหนวยยอยและจะมีหนวยเปนกรอบหลัก ทุกคนจะตองเรียนเรียงตามลําดับ นอกจากนี้ยงัมีหนวยยอยแตกแขนงออกไปเพื่อเสริมความเขาใจ เมื่อเรียนผานไปยังหนวยแขนงแลวจะยอนหลับมายังหนวยหลักอีกและ จะเรยีนตอไปตามผลการตอบสนองการเรียนอยางแทจริง แบบเรียนชนดินี้มีความซับซอน แผนภาพที่ 2 โครงสรางของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนแบบสาขา โครงสรางบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอน คอมพิวเตอรชวยสอนมีลักษณะการทํางานเชนเดยีวกับบทเรียนสําเร็จรปูที่ไดรับการพัฒนามาจากรปูแบบที่เปนเอกสาร มาเปนปรากฏอยูหนาจอคอมพวิเตอร (สุกรี รอดโพธ์ิทอง 2535 : 43) โดยมีลักษณะโครงสรางที่สําคัญ 10 ประการดังนี้ 1. การกําหนดวัตถุประสงคปลายทางวาตองการใหผูเรยีนไดรูอะไรบาง จะชวยใหการแบงเนื้อหาซ่ึงจะตองเรียนไปตามลําดบั 2. เนื้อหาที่สอนตองเรียงไปตามลําดับ แบงเนื้อหาออกเปนหนวยยอยเรียกวากรอบ (Frame) แตละกรอบจะบรรจุขอความ ซ่ึงเปนขอความที่กระทัดรดัและสื่อความหมายไดสมบูรณ เพื่อใหผูเรยีนไดเรียนตามจดุประสงค 3.แตละกรอบจะตองกําหนดใหมีการตอบสนองผูเรียนในรูปแบบใดรปูแบบหนึ่งอาจเปนการตอบคําถามหรือเติมคําหรือตอบสนองดวยการปฏิบัติอยางใดอยางหนึ่งกอนที่จะศกึษาในกรอบถัดไป

กรอบที่ 1 กรอบที่ 2 กรอบที่ 4

4 ข

4 ก

กรอบที่ 3

Page 37: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

25

4.ในบทเรียนแตละบทควรกําหนดวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมใหชัดเจนและสามารถตรวจสอบและประเมินผลผูเรียนไดถูกตอง 5. การใหผลยอนกลับ (Feedback) หลังจากทําแบบฝกหดัหรือตอบคําถามใด ๆ แลวควรมีการใหผลยอนกลับทันทีซ่ึงเปนการเสริมแรง(Reinforcement)ที่สําคัญและเปนจดุเดนของ บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน 6. การจัดเรียงกรอบตาง ๆ ควรเรียงจากงายไปยาก จากสิ่งที่รูไปถึงส่ิงที่ไมรู 7. บทเรียนควรมีการทดสอบและปรับปรุงอยูเสมอ สามารถที่จะยืดหยุนใหเหมาะสม กับผูเรียนซ่ึงมีความแตกตางกนัในแตละบุคคล 8. ขอความในบทเรียนจะตองชัดเจนและมีความสมบูรณในตวัเอง 9. บทเรียนตองไมผูกพันกบัเวลา ผูเรียนสามารถเรียนไดตามความตองการและความสามารถของตนเอง 10. การใชบทเรียนไมจําเปนตองอยูภายใตความควบคุมดูแลของครู ควรเปนการเรียนอิสระจากการดูแลหรือควบคุมของบุคคลอื่น นอกจากนี้ ไพโรจน เบาใจ (2536 : 27) ไดกลาวถึงโครงสรางของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนไววา โครงสรางของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนจะประกอบไปดวย 1. การนําเขาสูบทเรียนใหเนื้อหานั้นกระชับ 1.1 บอกจุดประสงคเชิงพฤติกรรมของบทเรียน 1.2 บอกวิธีการเรียนที่แนนอน และบอกใหทราบทั้งหมด 1.3 บอกใหทราบกอนวากอนการเรียนบทเรียน นกัเรียนตองมีความรูอะไรบาง 1.4 ใหนกัเรียนเลือกลําดับการเรียนเอง โดยเลือกจากรายการและกลับมาที่รายการเดิมอีก เมื่อเรียนหนวยที่ไดเลือกไปเสร็จเรียบรอยแลว 1.5 ไมควรใสแบบทดสอบกอนเรียนไปในบทเรียน ใชแบบทดสอบกอนเรียนเมื่อทานรูวานกัเรียนตองการและใชแบบทดสอบกอนเรียนแยกตางหากจากบทเรยีน 2. การเสนอเนื้อหา 2.1 เสนอเนื้อหาไดส้ัน กระชับ 2.2 บอกจุดประสงคเชิงพฤติกรรมของบทเรียน 2.3 ไมใชลักษณะตัวอักษรวิ่งจากบนลงลางหรือจากลางขึ้นบน 2.4 เนนสวนที่ตองการใหผูเรียนทําความเขาใจ 2.5 เปรียบเทยีบหรือช้ีแนะดวยการใชสีเพื่อกระตุนและเนนสวนที่สําคัญ 2.6 หลีกเลี่ยงการใชสีในเนือ้หาทั่วไปทีไ่มใชสวนที่สําคัญ 2.7 ตัวอักษรตองอานงายเนนความแตกตางระหวางหวัขอตาง ๆ ใหชัดเจน

Page 38: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

26

2.8 ใชวิธีการสอนใหเหมาะสมกับเนื้อหา 2.9 เตรียมกรอบที่จะชวยผูเรียนในการใชหรือปฏิบัติตามไดงาย 3. การถาม-ตอบ 3.1 ใหคําถามบอย ๆ โดยเฉพาะคําถามเกีย่วกับความเขาใจ 3.2 พิจารณาใหตอบคําถามตามชองทางอื่นมากกวาใชเพียงทางแปนพิมพถาเปนไปได 3.3 คําถามควรมีลักษณะที่สนับสนุนใหตอบคําถามถูกตอง 3.4 ถามคําถามจุดที่สําคัญของเนื้อหา 3.5 ยอมใหผูเรียนตอบไดมากกวา 1 คร้ังใน 1 คําถาม 3.6 การเขียนคําถามแบบเลือกตอบนั้นทําไดยาก แตงายในการตรวจและอาจมีการเดาไดคําถามแบบเขียนตอบนั้นทําไดงาย แตยากในการตรวจและปองกันการเดาได 3.7 ตองรูวาการทดสอบความจําหรือความเขาใจ และเลือกชนิดของคาํถามใหเหมาะสม 3.8 หลีกเลียงการใชคําถามแบบยอหรือถามในเชิงปฏิเสธ 3.9 คําถามไมควรจะเปนตัวหนังสือเลือกจากบนลงลางหรือจากลางขึ้นบน 4. การตรวจคาํตอบ 4.1 การตรวจคําตอบเกี่ยวกบัเชาวปญญา ครูจะตองยอมรับคําบางคําที่มีความหมายใกลเคียงกัน สะกดเหมือนกัน หรือคําพิเศษตาง ๆ 4.2 จะตองพจิารณาทั้งคําตอบที่ถูกตองและคําตอบที่ผิด 4.3 ใหเวลาผูเรียนในการตอบคําถาม 4.4 ใหผูเรียนไดรับการชวยเหลือจนสามารถผานไปได 5. การใหขอมลูยอนกลับ 5.1 ถารูปแบบคําตอบผิด ใหบอกวารูปแบบที่ตอบนั้นผิด แลวบอกรปูแบบที่ถูกตองและใหตอบคําถามใหม 5.2 ถาเนื้อหาของคําตอบถูกใหยนืยนัคําตอบถูกอีกครั้ง 5.3 ถาเนื้อหาคําตอบผิด ใหขอมูลยอนกลับเพื่อการแกไข 6. ใหเนื้อหาเสริม 6.1 ใหเนื้อหาเสริมสําหรับผูที่เรียนไมดีโดยใหกลับไปเรยีนบทเรียนใหม 7. การลําดับการเรียนบทเรียน 7.1 เสนอบทเรียนไปตามลําดับขั้นหรือจากงายไปหายาก

Page 39: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

27

7.2 เล่ียงการใชเวลาในการควบคุมบทเรียน ควรใหผูเรียนควบคุมการเรียนของ ตัวเองจากขอมูลที่ไดกลาวมาแลวนั้นจึงพอสรุปไดวา ลักษณะโครงสรางของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนมีดังนี้ 1. การวิเคราะหหลักสูตรและเนื้อหาเพื่อนาํมากําหนดวัตถุประสงคทั่วไป โดยการจดัลําดับใหมีความสัมพันธตอเนือ่ง 2. การกําหนดวัตถุประสงค เพื่อระบุส่ิงที่คาดหวังวาผูเรียนจะไดรับทั้งในระหวางเรียนหรือหลังจบบทเรียนแลว 3. การวิเคราะหเนื้อหาและกจิกรรม พรอมทั้งพิจารณาเลอืกสื่อที่จะใชในแตละกิจกรรมรวมถึงการใหขอมูลยอนกลับ 4. การออกแบบการแสดงบนจอภาพและแสดงการประมวลผล ประกอบดวยบทนํา และวิธีการใชโปรแกรมในแตละหนาจอ การใหสี แสง เสียง ภาพ กราฟกตาง ๆ รวมทั้งการตอบสนองและการโตตอบในบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนการออกแบบและพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน การออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนจําตองอาศยัการออกแบบระบบการเรียนการสอนซึ่งเปนพื้นฐานที่สําคัญ เพราะเปนขั้นของการวิเคราะหและการสงัเคราะหกระบวนการโดยการนําเอาวธีิการจัดระบบ (System Approach) มาใชทําใหการพัฒนาบทเรียนไดเขาใจ และตระหนกัถึงสภาพของผูเรียน เนื้อหา แนวทางในการถายทอดบทเรียนและการวดัประเมินผล (ไพโรจน เบาใจ 2536 : 98) ขั้นตอนในการออกแบบคอมพิวเตอรชวยสอนเปนขั้นตอนทีสํ่าคัญที่สุดตอประสิทธิภาพของคอมพิวเตอรเพื่อใหไดบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอนที่ตรงกับวัตถุประสงคและมีประสิทธิภาพ ซ่ึง Alessi and Trollip (1991) ไดเสนอขัน้ตอนของการออกแบบการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ซ่ึงประกอบไปดวยข้ันตอนการออกแบบ 7 ขั้นตอนไวดังนี้ (ถนอมพร เลาหจรัสแสง 2543 : 29-39) ขั้นตอนที่ 1 : ขั้นตอนการเตรียม (Preparation) - กําหนดเปาหมายและวัตถุประสงค (Determine Goals and Objectives) - เก็บขอมูล (Collect Resources) - เรียนรูเนื้อหา (Learn Content) - สรางความคิด(Generate Ideas)

Page 40: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

28

ขั้นตอนที่ 2 : ขั้นตอนการออกแบบบทเรียน (Design Instruction) - ทอนความคดิ (Elimination of Ideas) - วิเคราะหงานและคอนเซ็ปต (Task and Concept Description) - ออกแบบบทเรียนขั้นแรก (Preliminary lesson Description) - การประเมินและแกไขการออกแบบ (Evaluation and revision of the design) ขั้นตอนที่ 3 : ขั้นตอนการเขยีนผังงาน (Flowchart Lesson) ขั้นตอนที่ 4 : ขั้นตอนการสรางสตอรี่บอรด (Create Storyboard) ขั้นตอนที่ 5 : ขั้นตอนการสรางและเขียนโปรแกรม (Program Lesson) ขั้นตอนที่ 6 : ขั้นตอนการผลิตเอกสารประกอบบทเรียน (Produce Supporting Materials) ขั้นตอนที่ 7 : ขั้นตอนการประเมินและแกไขบทเรียน (Evaluate and Revise)

Page 41: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

29

แบบจําลองการออกแบบคอมพิวเตอรชวยสอนของอเลสซีและโทรลิป (CAI Design Model of Alessi and Trollip :1991) ขั้นตอนที่ 1 : ขั้นตอนการเตรียม การยอนกลับเพื่อทดสอบและปรับปรุง

ขั้นตอนที่ 2 : ขั้นตอนการอกแบบบทเรียน

ขั้นตอนที่ 3 - 7 แผนภาพที่ 3 ขั้นตอนการออกแบบคอมพวิเตอรชวยสอน 1. ขั้นตอนการเตรียม( Preparation) ในขั้นตอนแรกของการออกแบบบทเรียนเปนขั้นตอนในการเตรียมพรอมกอนที่จะทําการออกแบบบทเรียน ในขั้นตอนการเตรียมนี้ผูออกแบบจะตองเตรยีมพรอมในเรื่องของความชัดเจนในการกําหนดเปาหมายและวัตถุประสงคหลังจากนั้นผูออกแบบควรที่จะเตรียมการในการรวบรวมขอมูล นอกจากนีย้ังควรที่จะเรียนรูเนือ้หา เพื่อใหเกิดการสรางหรือระดมความคิดในที่สุด 1.1 กําหนดเปาหมายและวตัถุประสงค (Determine Goals and Objectives) การกําหนดเปาหมายและวัตถุประสงคของบทเรียนคือ การตั้งเปาหมายวาผูเรียนจะสามารถใชบทเรียนนี้เพื่อศึกษาในเรื่องใดและในลักษณะใด กลาวคือเปนบทเรียนหลัก เปนบทเรียนเสริม เปนแบบฝกหัดเพิม่เติมหรือเปนแบบทดสอบ รวมทั้งการกําหนดวัตถุประสงคในการเรียนคือ เมื่อ

กําหนดเปาหมาย วัตถุประสงค

เก็บ ขอมูล

สราง ความคิด

เรียน เนื้อหา ขั้นตอนที่ 2

ทอน ความคิด

วิเคราะหงาน และแนวคิด

ออกแบบ บทเรียน ขั้นแรก

ประเมิน และแกไข

การออกแบบ ข้ันตอนที่

เขียน ผังงาน

ประเมิน และแกไข บทเรียน

สราง สตอร่ีบอรด

สราง โปรแกรม

ผลิต เอกสาร ประกอบ

จบ

Page 42: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

30

ผูเรียนเรียนจบแลวจะสามารถทําอะไรไดบาง และพิจารณาครอบคลุมถึงวิธีในการประเมินผลควบคูกันไป เชน รูปแบบคําถามหรือจํานวนคําถาม 1.2 รวบรวมขอมูล (Collect Resources) การรวบรวมขอมูลหมายถึง การเตรียมพรอมทางดานทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมดที่เกีย่วของ ทั้งในสวนของเนื้อหา การพัฒนาและออกแบบบทเรียนและสื่อในการนําเสนอบทเรียน ไดแกผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหารวมถึงตาํราหนังสือ วารสารทางวิชาการ หนังสืออางอิง สไลดภาพตาง ๆ หนังสือการออกแบบบทเรียน กระดาษสําหรับวาดสตอรี่บอรด(storyboard) ส่ือสําหรับการทํากราฟก ผูเชี่ยวชาญดานการออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน คูมือตางๆ ทั้งของคอมพิวเตอรและโปรแกรมชวยสรางคอมพิวเตอรชวยสอนที่ตองการใชและผูเชี่ยวชาญการสรางคอมพิวเตอรชวยสอน 1.3 เรียนรูเนื้อหา (Learn Content) ผูออกแบบบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอนจําเปนตองเรียนรูเนื้อหาดวย การเรียนรูเนื้อหาอาจทําไดหลายลักษณะเชน สัมภาษณผูเชี่ยวชาญ การอานหนังสือหรือเอกสารอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับเนื้อหาของบทเรียน การเขาใจเนื้อหาอยางถูกตอง ลึกซึ้ง ทําใหสามารถออกแบบบทเรียนในลักษณะที่ทาทายผูเรียนในทางสรางสรรคไดสรางความคิด (Generate Ideas) การสรางความคิดคือ การระดมสมองซึ่งหมายถึง การกระตุนใหเกดิการใชความคดิสรางสรรคเพื่อใหไดขอคิดเห็นตาง ๆ จํานวนมากจากทีมงานในระยะเวลาอันสั้นเพื่อใหไดขอคิดเห็นตาง ๆ อันจะนํามาซึ่งแนวคิดทีน่าสนใจ 2. การออกแบบบทเรียน (Design Instruction)ขั้นตอนที่ 2 นี้เปนขัน้ตอนที่สําคัญที่สุดขั้นตอนหนึ่งในการกําหนดวาบทเรียนจะออกมามีลักษณะใด โดยการระดมสมองพิจารณาและ ตัดสินใจในเรือ่งตาง ๆ ดังนี้ 2.1 การทอนความคิด (Elimination of Ideas) หลังจากระดมสมองแลวนักออกแบบจะนาํความคิดทั้งหมดมาประเมินดูวาขอคิดใดทีน่าสนใจ การทอนความคิดเริ่มจากการนําขอคิด ที่ไมอาจปฏิบัติไดออกไป และรวบรวมความคิดที่นาสนใจที่เหลืออยูนัน้พิจารณาอกีครั้ง ซ่ึงในชวงการพิจารณาอีกครัง้อาจรวมไปถงึการซักถาม อภปิรายถึงรายละเอียดและขัดเกลาขอคิดเห็นตาง ๆ 2.2 การวิเคราะหงานและแนวคิด (Task and Concept Analysis) การวิเคราะหงานเปนการวเิคราะหขั้นตอนเนือ้หา ที่ผูเรยีนจะตองศกึษาจนทําใหเกดิการเรียนรูเพยีงพอ สวนการวิเคราะหแนวคิดคือขั้นตอนในการวิเคราะหเนื้อหาซึ่งผูเรียนจะตองศึกษาอยางพนิิจพจิารณา ทั้งนี้เพื่อใหไดมาซึง่เนื้อหาที่เกี่ยวของกับการเรียน และเนื้อหาที่มีความชัดเจนเทานัน้ การคิดวิเคราะหเนื้อหาอยางละเอียดรวมไปถึงการนําเนื้อหาทั้งหมดทีเ่กีย่วของมาพจิารณาอยางละเอยีดและ ตัดเนื้อหาในสิ่งที่ไมเกี่ยวของออกไปหรือที่ทาํใหผูเรียนสับสนไดงายออกไป การวิเคราะหงานและ

Page 43: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

31

การวิเคราะหแนวคิดถือเปนการคิดวิเคราะหที่มีความสําคัญมาก ทั้งนี้เพื่อหาลักษณะการเรียนรู (Principles of Learning) ที่เหมาะสมของเนื้อหานั้น ๆ และเพื่อใหไดมาซึ่งแผนงานสําหรับออกแบบบทเรียนที่มีประสิทธิภาพ 2.3 การออกแบบบทเรียนขั้นแรก(Preliminary Lesson Description) ผูออกแบบ จะตองนํางานตาง ๆ และแนวคดิทั้งหลายที่ไดมานั้นผสมผสานใหกลมกลืนและออกแบบบทเรียนใหมีประสิทธภิาพโดยผสมผสานงานและแนวคดิเหลานีจ้ะตองทําภายใตทฤษฏีการเรียนรูโดยวิเคราะหการเรียนการสอน ซ่ึงประกอบดวยการกําหนดประเภทของการเรียนรู ประเภท ของคอมพิวเตอรชวยสอน การกาํหนดขั้นตอนการเรียนและทักษะทีจ่ําเปน การกําหนดปจจัย ที่ตองคํานึงในการออกแบบคอมพวิเตอรชวยสอนแตละประเภท และสดุทายคือการจดัระบบความคิดเพื่อใหไดมาซึง่การออกแบบลําดับ(Sequence)ของบทเรียนที่ดีที่สุด ผูออกแบบควรใชเวลา ในสวนนี้ใหมากที่สุดโดยเฉพาะอยางยิ่งในการสรางสรรคงานหรือกิจกรรมตาง ๆ ของคอมพิวเตอรชวยสอนที่ผูเรยีนตองมีปฏิสัมพันธดวย เพื่อใหผูเรยีนมีความสนใจตอการเรียนไดสม่ําเสมอและ ตอเนื่อง นอกจากนีย้ังตองใชเวลาใหมากในสวนของการออกแบบลําดับของการนําเสนอของ บทเรียนเพื่อใหไดมาซึ่งโครงสรางของคอมพิวเตอรชวยสอนที่สามารถตอบสนองความแตกตางระหวางบุคคลของผูเรียนไดจริง 2.4 การประเมินและแกไขการออกแบบ (Evaluation and Revision of the Design) การประเมินระหวางการออกแบบเปนสิ่งที่มีความสําคัญมากในการออกแบบบทเรียนอยางมีระบบหลังจากออกแบบแลวควรมกีารประเมินโดยผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหา ผูเชี่ยวชาญการออกแบบและโดยผูเรียน การประเมินนี้อาจหมายถึงการทดสอบวาผูเรียนจะสามารถบรรลุเปาหมายหรือไม โดยมีการรวบรวมทรัพยากรทางดานขอมูลตาง ๆ ใหมากขึ้น หาความรูเกีย่วกับเนื้อหาเพิม่ขึ้น การทอนความคิดออกไปอีก การปรับแก การวิเคราะหงานหรือการเปลี่ยนแปลงประเภทของคอมพิวเตอรชวยสอน 3. ขั้นตอนการเขียนผังงาน (Flowchart Lesson) ผังงานคือชุดของสัญลักษณตาง ๆ ซ่ึงอธิบายขั้นตอนการทํางานของโปรแกรมเปนการนําเสนอลําดับขั้นตอนโครงสรางของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนและทาํหนาที่เสนอขอมูลเกี่ยวกับโปรแกรม การเขียนผังงานมีไดหลายระดับแตกตางกันไปแลวแตความละเอียดของแตละผังงาน การเขียนผังงานนั้นขึ้นอยูกับประเภทของบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอน เชนประเภทตวิเตอร ประเภทแบบฝกหัด แบบทดสอบ ควรจะใชผังงานในลักษณะธรรมดา ซ่ึงไมตองลงรายละเอียด โดยแสดงภาพรวมและลําดับของบทเรียนเทาที่จําเปน แตสําหรับบทเรียนที่มีความซับซอน เชน

Page 44: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

32

บทเรียนประเภทการจําลองหรือประเภทเกม ควรมีการเขียนผังงานใหละเอียดเพื่อความชัดเจน โดยมีการแสดงขั้นตอนวิธีการทวนซ้ําของโปรแกรม กฎหรือกติกาของเกมอยางละเอียดดวย 4. ขั้นตอนการสรางสตอรี่บอรด(Create Storyboard) สรางสตอรี่บอรดเปนขั้นตอนของการเตรียมการนําเสนอเนื้อหาและลักษณะของการนําเสนอดวยขอความ ภาพ รวมทั้งส่ือในรูปแบบมัลติมีเดียลงบนกระดาษกอนที่จะนําเสนอบนหนาจอคอมพิวเตอรตอไป ในขัน้นี้ควรจะมีการประเมินและทบทวนแกไขบทเรียนจากสตอรี่บอรดนี้ จนกระทั่งผูรวมงานในทีมทกุฝายพอใจ กบัคุณภาพของบทเรียนเสียกอน ผูมีสวนรวมในการประเมินคือผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหา ผูเชี่ยวชาญดานการออกแบบ ผูเรียนที่อยูในกลุมเปาหมายเพื่อชวยในการตรวจสอบเนื้อหาที่อาจจะสับสน ไมชัดเจน ตกหลนและเนื้อหาทีอ่าจจะยากหรืองายเกินไปสําหรับผูเรียน 5. ขั้นตอนการสราง/เขียนโปรแกรม (Program Lesson) เปนการเปลี่ยนกระบวนการจากสตอรี่บอรดใหกลายเปนคอมพิวเตอรชวยสอน การเขียนโปรแกรมนั้นอาจใชโปรแกรมภาษาตาง ๆ เชน เบสิก ปาสคาล หรือโปรแกรมชวยสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ปจจยัหลักในการพิจารณาโปรแกรมชวยสรางคอมพิวเตอรชวยสอนที่เหมาะสมนัน้ไดแก ฮารดแวรทีใ่ชลักษณะและประเภทของบทเรียนที่ตองการสรางประสบการณของผูสราง(โปรแกรมเมอร)และงบประมาณ 6. ขั้นตอนการผลิตเอกสารประกอบการเรียน(Produce Supporting Materials) เอกสารประกอบบทเรยีนอาจแบงไดเปน 4 ประเภทคือ คูมอืการใชของผูเรียน คูมือการใชของผูสอน คูมือสําหรับแกปญหา เทคนคิตาง ๆ และเอกสารประกอบเพิ่มเติมทัว่ไป(เชน ใบงาน) ผูสอนอาจตองการขอมูลเกี่ยวกับการตดิตั้งโปรแกรม การเขาไปดูขอมูลผูเรียน และการใชคอมพวิเตอรชวยสอนในหลักสูตรผูเรียนอาจตองการขอมูลในการจัดการกับบทเรียนและการสืบไปในบทเรียน คูมือปญหาเทคนิคก็มีความจําเปน หากการตดิตั้งบทเรียนมคีวามสลับซับซอนหรือตองการใชเครื่องมือหรืออุปกรณอ่ืน ๆ เชน การติดตั้งแลน เอกสารเพิ่มเตมิประกอบ อาจไดแก แผนภาพ ขอสอบ ภาพประกอบ 7. ขั้นตอนการประเมินและแกไขบทเรียน(Evaluate and Revise) ในชวงสุดทายเปนการประเมินบทเรียนและเอกสารประกอบทั้งหมด โดยเฉพาะการประเมินในสวนของการนําเสนอและการทํางานของบทเรียนในสวนของการนําเสนอนั้นผูที่ควรจะทําการประเมินคือ ผูที่มีประสบการณในการออกแบบมากอน ในการประเมินการทํางานของบทเรียนนัน้สังเกตพฤติกรรมของผูเรียน ที่เปนกลุมเปาหมาย ในขณะที่ใชบทเรียนหรือสัมภาษณผูเรียนหลังการใชบทเรียน นอกจากนี้ ยังอาจทดสอบความรูของผูเรียน หลังจากที่ไดเรียนจากคอมพิวเตอรชวยสอนนัน้ ๆ แลว ขั้นตอนนี้อาจครอบคลุมการทดสอบนํารองและประเมินจากผูเชีย่วชาญ

Page 45: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

33

3.4 ประโยชนของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ประโยชนของคอมพิวเตอรชวยสอน มีผูกลาวไวหลายคน ดังตอไปนี ้ กิดานันท มลิทอง (2536 : 198) กลาวถึงประโยชนไววา 1. คอมพิวเตอรจะชวยเพิม่แรงจูงใจในการเรียนรูใหแกผูเรียน เนื่องจากการเรยีนดวย คอมพิวเตอรนัน้เปนประสบการณที่แปลกใหม

2. การใชสี ภาพลายเสนที่แลดูคลายเคลื่อนไหว ตลอดจนเรื่องดนตรีจะเปนภาพเพิ่มความเหมือนจรงิและเราใจผูเรียนใหเกดิความอยากรู ทําแบบฝกหัดหรือทํากิจกรรมตาง ๆ เหลานี้ เปนตน

3. ความสามารถของหนวยความจําของเครื่องคอมพิวเตอรชวยในการบันทึกคะแนนและพฤติกรรมตาง ๆ ของผูเรียนเพื่อใชในการวางแผนบทเรียนในขั้นตอไปได

4. ความสามารถในการเก็บขอมูลของเครื่องคอมพิวเตอร ทําใหสามารถนํามาใชใน ลักษณะของการศึกษารายบคุคลไดเปนอยางดี โดยสามารถกําหนดบทเรียนใหแกผูเรยีนแตละคนและแสดงผลความกาวหนาใหเห็นไดทันที

5. ลักษณะของโปรแกรมบทเรียนที่ใหความเปนสวนตวัแกผูเรียน เปนการชวยใหผูเรียนซํ้า สามารถเรียนไปไดตามความสามารถของตนเองโดยอิสระ ไมรีบเรง โดยไมตองอายผูอ่ืน และไมตองอายเครื่องเมื่อตอบคําถามผิด

6. เปนการชวยขยายขดีความสามารถของผูสอนในการควบคุมผูเรียนไดอยางใกลชิด เนื่องจากสามารถบรรจุขอมูลไดงายและสะดวกในการนําออกมาใช

สมชัย ชินะตระกูล ( อางถึงใน ไพฑูรย นพกาศ 2535 : 15-16) ไดกลาวถึงประโยชน

ของคอมพิวเตอรในแงการเรยีนการสอนสรุปไดดังตอไปนี้ 1. คอมพิวเตอรสามารถใหเด็กเรียนไดเปนรายบุคคล (Computers can individualize instruction) การที่เด็กสามารถเรียนไดเปนรายบุคคล จะทําใหมีการสนองความตองการของเด็ก แตละคน ซ่ึงสอดคลองกับหลักความแตกตางระหวางบุคคล 2. คอมพิวเตอรสามารถบริหารการสอน (Computers can manage instruction) เพราะ สามารถตั้งจุดมุงหมาย ทําการสอน ทําการทดสอบ วิเคราะหผล ดูความกาวหนาของนักเรียนตามระยะเวลา เก็บขอมูลตาง ๆ ซ่ึงสามารถเรียกมาดูไดเมื่อตองการและทํารายงานผลไดอยางรวดเร็ว ชวยแบงเบาภาระครูทําใหมีเวลาที่จะคิด และสอนใหเกิดผลดีตอไป

Page 46: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

34

3. คอมพิวเตอรสามารถสอนสังกัป (Computers can teach concepts ) สังกัปและทักษะ ขั้นสูงนั้นยากตอการสอนโดยครู หรือเรียนจากตําราการจําลองสถานการณ โดยคอมพิวเตอรจะชวยใหนกัเรียนเรียนไดงายขึ้น

4. คอมพิวเตอรสามารถคํานวณ (Computers can perform calculations) คอมพิวเตอร เปนเครื่องมือที่มีความสามารถในการคํานวณไดอยางรวดเร็ว มีประสิทธิภาพ ดังนั้นการใชคอมพิวเตอรชวยในการสอนคณิตศาสตรจึงทําใหนกัเรียนเรียนไดเร็ว และถูกตอง จึงมีเวลาเหลือพอที่จะศกึษาคณิตศาสตรแขนงอื่น ๆ ไดอีกมาก

5. คอมพิวเตอรสามารถสรางแรงจูงใจ (Computers can stimulate student learning) เนื่องจากคอมพิวเตอรสามารถทําเสียง สี รูปภาพ หรือกราฟ ตลอดจนมีเกม จึงเปนแรงจูงใจให นักเรียนอยากเรียน

ถนอมพร เลาหจรัสแสง (2543 : 12-13) ไดกลาวถึงประโยชนของคอมพิวเตอรชวยสอนไววา 1. คอมพิวเตอรชวยสอนเกิดจากความพยายามในการที่จะชวยใหผูเรียนที่เรียนออน สามารถใชเวลานอกเวลาเรยีนในการฝกฝนทักษะและเพิ่มเติมความรูเพื่อที่จะปรับปรุงการเรียน ของตนใหทนัผูเรียนอื่นได ดังนัน้ผูสอนจึงสามารถนําคอมพิวเตอรชวยสอนไปใชชวงในการสอนเสริมหรือทบทวนการสอบปกติในชั้นเรียนได โดยที่ผูสอนไมจําเปนตองเสียเวลาในการสอนซ้ํา กับผูเรียนที่ตามไมทันหรือจัดการสอนเพิ่มเตมิ 2. ผูเรียนก็สามารถนําคอมพิวเตอรชวยสอนไปใชในการเรียนดวยตนเองในเวลาและ สถานที่ซ่ึงผูเรียนสะดวก เชน แทนที่จะตองเดินทางมายงัชั้นเรียนตามปกติ ผูเรียนก็สามารถเรียนดวยตนเองจากที่บานได นอกจากนัน้ยังสามารถเรียนในเวลาใดกไ็ดที่ตองการ เปนตน 3. ขอไดเปรียบที่สําคัญของคอมพิวเตอรชวยสอนก็คอื คอมพิวเตอรชวยสอนที่ไดรับการออกแบบมาอยางดีถูกตองตามหลักการออกแบบคอมพิวเตอรชวยสอนนั้นสามารถที่จะจูงใจผูเรียนใหเกิดความกระตือรือรน (Motivated) ที่จะเรียนและสนุกสนานไปกับการเรียนตามแนวคดิของการเรียนรูในปจจุบนัวา “Learning is Fun” ซ่ึงหมายถึง การเรียนรูเปนเรื่องสนุก คอมพิวเตอรชวยสอน (CAI) มีประโยชนตอการเรียนการสอนดังนี้ (ดุจแข นาคใหญ 2539, อางถึงใน วรากร หงษโต 2543 :44) 1. ประโยชนตอการเรียนการสอน 1.1 สรางแรงจูงใจในการเรยีนรูใหแกผูเรยีน

Page 47: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

35

1.2 ดึงดูดความสนใจโดยใชเทคนิคการนําเสนอดวยกราฟก ภาพเคลื่อนไหว แสง สี เสียงใหสวยงานเหมือนจริง 1.3. ชวยใหผูเรียนเกดิการเรยีนรูและเขาใจไดงาย 1.4 ผูเรียนมีปฏิสัมพันธกับคอมพิวเตอรชวยสอน มีโอกาสเลือกตัดสินใจและไดรับการเสริมแรงจากไดรับขอมูลยอนกลับทันท ี 1.5. ทําใหผูเรยีนมีความคงทนในการเรียนรูสูง เพราะมีโอกาสปฏิบัติกิจกรรมดวยตนเอง ซ่ึงผูเรียนจะเรียนรูจากงายไปหายากตามลําดับ 1.6 ผูเรียนสามารถเรียนรูไดตามความสนใจ และความสามารถของตนเอง บทเรียนมีความยืดหยุน ผูเรียนสามารถเรียนซํ้าไดตามความตองการ

1.7 สงเสริมใหผูเรียนมีความรับผิดชอบตอตนเอง ผูเรียนตองควบคุมการเรียนดวยตนเอง มีการแกปญหาและการฝกใหไดคดิอยางมีเหตุผล

1.8 สรางความพึงพอใจแกผูเรียนไดชาหรือเร็วข้ึนอยูกบัระดับสติปญญาและความสามารถของตนเอง ทําใหผูเรียนเกิดทัศนคติที่ดีตอการเรียน

1.9 ผูเรียนสามารถรับรูผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของตนเองไดอยางรวดเร็ว เปนการเสริมแรงหรือทาทายใหกับผูเรียนที่จะเรียนรูบทเรียนเพิ่มขึ้น

1.10 ผูเรียนสามารถเรียนรูไดดวยตนเองอยางมีประสิทธิภาพ ทําใหครูมีเวลามากขึ้นที่จะสัมพันธกับผูเรียนและชวยเหลือผูเรียนแตละคน

1.11 ประหยดัเวลาและงบประมาณในการจัดการเรียนการ โดยลดความจําเปนที่จะตองใชครูสอนที่มีประสบการณหรือเครือ่งมือที่มีราคาแพงและอนัตราย 2. ประโยชนของการใชบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอนทีม่ีตอครู มีดังนี้

2.1 บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนชวยลดชั่วโมงสอน และลดเวลาที่จะตองติดตอกับผูเรียนสําหรับครูที่มีงานสอนมาก โดยเปลี่ยนจากการฝกทักษะในหองเรียนมาเปนการฝกจาก บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน

2.2 ชวยพัฒนาวิชาการ เนื่องจากผูสอนมีเวลาสําหรับตรวจสอบและพัฒนาการสอนตามหลักวิชาการ มีเวลาศึกษาคนควาตําราและงานวิจัย มีโอกาสสรางสรรคและพัฒนานวัตกรรมใหม ๆ เพื่อพัฒนาความสามารถในการสอนใหมากขึ้น

2.3 ครูตองทําหนาที่สอนหนักและทํางานหนักทั้งวัน บทเรียนคอมพิวเตอร ชวยสอนจะจํากัดการทํางานที่นาเบื่อหนายที่ตองทําซํ้าอยูบอย ๆ ออกไปไดอยางมาก

2.4 บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ทําใหครูมีเวลาที่จะทํางานกับนักเรียน สามารถใหความเอาใจใสและชวยเหลือนักเรียนที่มีปญหาไดมากขึ้น

Page 48: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

36

2.5 ชวยครูในการเพิ่มการจดักิจกรรมการเรียนการสอนตามความตองการของ ผูเรียนใหมากขึ้น เชนมีบทเรียนสําหรับการฝกทักษะ และการเรียนซอมเสริมใหแกนักเรียนเปนตน

2.6 บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน จะเปนเครื่องมือสนับสนุนใหครูใชบทเรียนตางกันในแตละภาพการศึกษา

2.7 การใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ทําใหครูไดปรับปรุงตนเอง ทําใหงานมีประสิทธิภาพ ทันตอเหตุการณในปจจุบันมากยิ่งขึ้น 3. ประโยชนของการใชบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอนที่มีตอการเรียนการสอน มดีังนี ้

3.1 บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนมีความเปนมาตรฐาน กลาวคือ ความรูที่ไดมีความแนนอน ไมขึ้นอยูกับอารมณของครู และการเตรียมการสอนของครู หรือถายิ่งเปนครูคนละคน การสอนก็มักจะแตกตางกัน แตถาเปนบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนแลว ผูเรียนจะผาน บทเรียนที่เหมือนกันทุกอยาง เปนการรักษาคุณภาพของการสอน สามารถกําหนดลงไปไดแนนอนวาผูเรียนจะรูอะไร และสามารถทําอะไรไดบางภายหลังจากจบบทเรียน

3.2 สามารถปอนขอมูลยอนกลับไดทันที โดยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนสามารถจะวัดและสนองตอบกลับคําตอบทั้งหมดที่เกิดขึ้นไดดีกวาครูในระยะเวลาอันสั้น

3.3 มีความงายในการบันทึกขอมูล ทั้งนี้เพราะบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนสามารถเก็บบันทึกขอมูลการเรียนการสอนทั้งหมดไวได ทําใหครูสามารถเรียกขอมูลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียนเปนรายบุคคลหรือรายกลุมมาดูไดทันที

3.4 ชวยพฒันาความกาวหนาของการเรียนรู เพราะการจดัเก็บขอมูลที่ไดจากผูเรียน จะสามารถนํามาใชสําหรับการปรับปรุงหลักสูตร เพื่อใหมีความกาวหนา และเกิดผลดีตอการเรียนรูของผูเรียนมากยิ่งขึ้น

3.5 สามารถแกไข ปรับปรุงหรือเพิ่มเติมเนื้อหาของบทเรียนไดงาย โดยการแกไขหรือเพิ่มเติมเฉพาะสวนที่ตองการ ทําใหไมจําเปนตองแกไขใหมทั้งหมด

3.6 ชวยแกปญหาการขาดแคลนครูผูสอนได จึงทําใหเปดสอนไดในบางวชิาที่ผูเรียนตองการไดโดยไมตองคํานึงถึงจํานวนของผูสอน และผูเรียนจะมีเพยีงพอที่จะเปดสอนหรือไม

3.7 สามารถสอนหรือใชฝกอบรมในลักษณะที่สมจริงใหกับผูเรียนได เนื่องจากสามารถจําลองการเรียนรูจากสถานการณจริงได เชน ในการฝกขับเครื่องบินสําหรับนักบิน เปนตน

3.8 บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน สามารถใชรวมกับสื่ออ่ืนได เชน วีดิทัศน สไลด วิทยุ เทปเสียง เปนตน เพื่อชวยเสริมประสิทธิภาพการเรียนการสอนใหมีความนาสนใจมากยิ่งขึ้น

Page 49: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

37

3.9 คอมพิวเตอรชวยสอนเปนการสอนที่มีแบบแผน เพราะมีการวางแผนการสรางบทเรียนทุกขั้นตอน สามารถตรวจสอบและปรับปรุงแกไขบทเรียนได

กลาวโดยสรุป ประโยชนของคอมพิวเตอรชวยสอน ชวยสงเสริมใหผูเรียนไดเรียน ไดดวยตนเองตามความแตกตางระหวางบุคคล เกิดความสนุกสนาน ตื่นเตนและไมเบื่อหนายตอการเรียน นอกจากนี้ผูเรียนยังมีทัศนคติที่ดีตอวิชาที่เรียน

นับไดวาคอมพิวเตอรชวยสอนนั้นมีความเหมาะสมหลายประการ ในการนํามาใชในดานการเรียนการสอน แตอยางไรก็ดีคอมพิวเตอรชวยสอนเปนเพียงสื่อการสอนชนิดหนึ่งเทานั้น ผูสอนควรคํานึงถึงปญหาที่อาจจะเกิดขึ้น เพราะคอมพิวเตอรชวยสอนอาจจะไมสามารถแกไขปญหาการเรียนการสอนไดทั้งหมดทุกปญหา เนื่องจากคอมพิวเตอรชวยสอนยังมีขอจํากัดอยูบางประการ 3.5 ขอจํากัดของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน 1. ถึงแมขณะนี้ราคาเครื่องคอมพิวเตอรและคาใชจายตาง ๆ เกี่ยวกับคอมพิวเตอรจะลดลงมากแลวก็ตาม แตการที่จะนําคอมพิวเตอรมาใชในวงการศึกษาในบางสถานศึกษานั้นจําเปนตองมีการพิจารณากันอยางรอบคอบเพื่อใหคุมกับคาใชจายตลอดจนการดูแลรักษาดวย 2. การอออกแบบโปรแกรมคอมพิวเตอรเพื่อใชในการเรียนการสอนนั้นนับวายังมีนอยเมื่อเปรียบเทียบกับการออกแบบโปรแกรมเพื่อใชในวงการดานอื่นๆ ทําใหโปรแกรมบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนมีจํานวนและขอบเขตจํากัดที่นํามาใชเรียนในวิชาตาง ๆ 3. ในขณะนี้ยังขาดอุปกรณที่ไดคุณภาพมาตรฐานระดับเดียวกัน เพื่อใหสามารถใชไดกับเครื่องคอมพิวเตอรตางระบบกัน เปนตนวาซอฟตแวรที่ผลิตขึ้นมาใชกับเครื่องคอมพิวเตอรระบบของ IBM ไมสามารถใชกับเครื่องคอมพิวเตอรระบบของMacintoshได 4. การที่จะใหผูสอนเปนผูออกแบบโปรแกรมบทเรียนเองนั้น นับวาเปนงานที่ตองอาศัยเวลา สติปญญา และความสามารถเปนอยางยิ่ง ทําใหเปนการเพิ่มภาระของผูสอนใหมีมากยิ่งขึ้น 5. ในประเทศไทย ความรูทางดานคอมพิวเตอรของบุคลากรดานการศึกษา ตลอดจนโปรแกรมเมอรที่จะสรางงานบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนยังขาดแคลนการพัฒนาโปรแกรมตาง ๆ มุงไปที่ธุรกิจมากกวาการศึกษา จะสังเกตไดจากตลาดที่วางขายซอฟตแวรจะมีตัวบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนนอยเมื่อเทียบกับซอฟตแวรทางดานธุรกิจ 6. ผูเรียนบางคนโดยเฉพาะอยางยิ่งผูเรียนที่เปนผูใหญอาจจะไมชอบโปรแกรม ที่เรียนตามขั้นตอน ทําใหเปนอุปสรรคในการเรียนรูได

Page 50: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

38

7. ปญหาทางเทคนิคของเครื่องคอมพิวเตอรและอุปกรณประกอบการเรียนบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน คุณภาพของสินคาที่ผลิตออกมาจากแหลงตาง ๆ มีคุณภาพที่ไมเทาเทียมกัน และความรูของผูใชยังไมทันกับความเปลี่ยนแปลงกลไกการตลาด ทําใหผูใชไดสินคาดอยคุณภาพ นอกจากนี้โปรแกรมที่วางขายและอุปกรณประกอบเครื่องคอมพิวเตอรยังมีอยูหลายมาตรฐานหลายรูปแบบ ซ่ึงบางครั้งไมสามารถใชกับเครื่องคอมพิวเตอรที่มีอยู ทําใหขาดทิศทางที่ชัดเจนในการพัฒนาโปรแกรมที่จะใชกับเครื่องคอมพิวเตอรของคายผูผลิตที่มีอยูหลากหลาย 3.6 การหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน วุฒิชัย ประสารสอย (2543 : 39) ไดกลาวถึงแนวทางการหาประสิทธิภาพของบทเรยีนคอมพิวเตอรชวยสอนไวดังนี้ ประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน หมายถึง ความสามารถของบทเรียนในการสรางผลสัมฤทธิ์ใหผูเรียนบรรลุวัตถุประสงคในระดับที่คาดหวังไว และครอบคลุมความเชื่อถือได (Reliability) ความพรอมที่จะใชงาน (Availability) ความมั่นคงปลอดภัย (Security) และความถูกตองสมบูรณ (Integrity) กระบวนการหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน จะเนนไปทางดานการประกันคณุภาพ หรือความสามารถของสื่อที่จะใชเชื่อมโยงความรู และมีคุณลักษณะภายในตวัของส่ือที่เปดโอกาสใหผูเรียนสามารถตัดสินใจและชวยสงเสริมการแสวงหาความรูจากประสบการณเดิมของผูเรียน ผสมผสานกับความรูใหมที่ถายโยงจากโปรแกรมบทเรียนไปสูตัวของผูเรียน จากการที่ไดกําหนดวัตถุประสงคความรูเอาไวลวงหนาอยางแนชัด ซ่ึงเปนการกําหนดขั้นในการเรยีนและเกณฑทีใ่ชในการตัดสนิคุณคาของบทเรียน การหาประสทิธิภาพของบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอนที่สรางขึ้น ควรเริ่มตนจากการตรวจสอบคุณภาพและหาความเชื่อมั่นใหไดมาตรฐานกอนที่จะนําไปใช ดวยการประเมินความคิดเห็นจากผูเชี่ยวชาญ หรือผูทรงคุณวุฒิที่มีความรูและประสบการณทางดานเนื้อหาและสื่อการสอน เพื่อใหเปนผูพิจารณาใหขอมูลในการปรับปรุงหรือแกไขขอบกพรองของบทเรียน โดยสรางเครื่องมือประเมินความเหมาะสมใหครอบคลุมองคืประกอบในดานตาง ๆ เชน ดานเนื้อหา ดานการดําเนินเรื่อง ดานภาพ เสียง และการใชภาษา ดานการออกแบบจอภาพ และดานการจัดบทเรยีน เครื่องมือที่สรางขึ้นนี้ตองผานกระบวนการหาความเชื่อมั่น ใหมีคาสัมประสิทธิ์ความเชื่อมั่นไมต่ํากวา .75 ภายหลังจากทีไ่ดรับการประเมินบทเรียนในดานความเชือ่มั่น และปรับปรุงบทเรียนตามขอเสนอแนะของผูเชี่ยวชาญแลว จึงนําบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนนัน้ไปทดสอบหาประสิทธิภาพขั้นตนในกลุมเปาหมาย เรียกวาการทดสอบบทเรียน(Try Out) เพื่อตรวจสอบหาขอ บกพรอง ซ่ึงเปนการตรวจสอบที่ไดขอมูลเสมือนจริงมากที่สุด หากพบขอบกพรองจะตองแกไข

Page 51: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

39

กอนนําไปใชจริงเพื่อที่จะนาํไปสูการประกันคุณภาพ หรือที่เรียกวาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนที่สรางขึ้น สามารถนําไปใชแทนการสอนไดอยางมีประสิทธิภาพตามเกณฑมาตรฐาน ความหมายของเกณฑมาตรฐาน เกณฑมาตรฐานเปนสิ่งที่กําหนดขึ้น เพื่อใชวดัและประเมินผลลัพธจากการใชส่ือนั้น เกณฑทีใ่ชกําหนดขึ้นเพื่อคํานวณหาประสิทธิภาพสื่อการสอนที่ใชอยูทั่วไป ไดแก เกณฑมาตรฐาน 80/80 (The 80/80 Standard) ซ่ึงมคีวามหมายคือ 80 ตัวแรก เปนคาประสิทธิภาพที่ไดจากการทําแบบทดสอบหรือการทํากิจกรรมระหวางการเรยีนในบทเรียนนั้น 80 ตัวหลัง เปนคาประสิทธิภาพที่ไดจากการทําแบบทดสอบ หรือการทํากิจกรรมหลังการเรียน หากผูเรียนไดคะแนนไมถึงเกณฑที่ตั้งไวจะตองปรับปรุงแกไข แลวจึงเริ่มกระบวนการหาประสิทธิภาพใหมจนบรรลุผลตามเกณฑที่ตั้งเอาไว ดังนั้นอาจสรปุไดวา ประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอนหมายถึง ความ สามารถของบทเรียนในการสรางผลสัมฤทธิ์อันไดแก

1. ใหผูเรียนบรรลุวัตถุประสงคในระดับทีค่าดหวังไว 2. ครอบคลุมความเชื่อถือได(Reliability) 3. ความพรอมที่จะใชงาน(Availability) 4. ความมั่นคงปลอดภัย((Security) 5. ความถูกตองสมบูรณ (Integrity)

โดยในการหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนที่สรางขึ้น ควรเริม่ตน

จากการตรวจสอบคุณภาพและหาความเชือ่มั่นใหไดมาตรฐานกอนทีจ่ะนําไปใช จากนั้นจึงทําการประเมินความคิดเห็นจากผูเชี่ยวชาญ หรือผูทรงคุณวุฒิที่มีความรูและประสบการณทางดานเนื้อหาและส่ือการสอน โดยที่เครื่องมือที่สรางขึ้นตองผานกระบวนการหาความเชื่อมั่นใหมคีาสัมประสิทธิความเชื่อมั่นไมต่ํากวา .75

Page 52: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

40

4. หลักสูตรการศึกษาขั้นพืน้ฐาน พุทธศักราช 2544

ความเจริญกาวหนาทางวิทยาการดานตางๆของโลกยุคโลกาภิวัตนมีผลตอการเปล่ียนแปลงทางสังคมและเศรษฐกิจของทุกประเทศรวมทั้งประเทศไทยดวย จึงมีความจําเปนที่จะตองปรับปรุงหลักสูตรการศึกษาชาติ ซ่ึงถือเปนกลไกสําคัญในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของประเทศเพื่อสรางคนไทยใหเปนคนดี มีปญญา มีความสุข มีศักยภาพพรอมที่จะแขงขันและรวมมืออยาง สรางสรรคในเวทีโลก หลักสูตรการศึกษาของประเทศไทยที่ใชอยูคือหลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช 2521 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2533) หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนตน พุทธศักราช 2521 (ฉบับปรับปรุง 2533) และหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย พุทธศักราช 2524 (ฉบับปรับปรุง 2533) ซ่ึงกระทรวงศึกษาธิการโดยกรมวิชาการไดติดตามผลและดําเนินการวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักสูตรตลอดมา ผลการศึกษาพบวาหลักสูตรที่ใชในปจจุบันนานกวา 10 ป มีขอจํากัดอยูหลายประการ ไมสามารถสงเสริมใหสังคมไทยกาวไปสูสังคมความรูไดทันการณ ในเรื่องที่สําคัญดังตอไปนี้ 1. การกําหนดหลักสูตรจากสวนกลางไมสามารถสะทอนภาพความตองการที่แทจริงของสถานศึกษาและทองถ่ิน 2. การจัดหลักสูตรและการเรียนรูคณิตศาสตร วิทยาศาสตร และเทคโนโลยี ยังไมสามารถผลักดันใหประเทศไทยเปนผูนําดานวิทยาศาสตร คณิตศาสตร และเทคโนโลยีในภูมิภาค จึงจําเปนตองปรับปรุงกระบวนการเรียนการสอนใหคนไทยมีทักษะกระบวนการและเจตนคติที่ดีทางคณิตศาสตรวิทยาศาสตร เทคโนโลยี มีความคิดสรางสรรค 3. การนําหลักสูตรไปใชยังไมสามารถสรางพื้นฐานในการคิด สรางวิธีการเรียนรูใหคนไทยมีทักษะในการจัดการและทักษะในการดําเนินชีวิต สามารถเผชิญปญหาสังคมและเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วไดอยางมีประสิทธิภาพ 4. การเรียนรูภาษาตางประเทศ ยังไมสามารถที่จะทําใหผูเรียนใชภาษาตางประเทศโดยเฉพาะภาษาอังกฤษในการติดตอสือสารและการคนควาหาความรูจากแหลงการเรียนรูที่มีอยู หลากหลายในยุคสารสนเทศ รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจกัรไทย พุทธศักราช 2540 กําหนดใหบคุคล มีสิทธิเสมอกันในการรับการศึกษาขั้นพืน้ฐานไมนอยกวาสิบสองป ที่รัฐจะตองจดัใหอยางทัว่ถึง และมีคณุภาพโดยไมเก็บคาใชจายการจัดการศึกษาอบรม รัฐตองคํานึงถึงการมีสวนรวมขององคกรปกครองสวนทองถ่ินและชุมชน ประกอบกับพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 ไดกําหนดใหกระบวนการศกึษาเปนกระบวนการเรยีนรู เพื่อความเจริญงอกงามของบุคคลและสังคม โดยการ

Page 53: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

41

ถายทอดความรู การฝก การอบรม การสืบสานทางวัฒนธรรม การสรางสรรคความกาวหนาทางวิชาการ การสรางองคความรูอันเกิดจากการจัดสภาพแวดลอม สังคมแหงการเรยีนรู และปจจยั เกื้อหนนุใหบคุคลเกิดการเรยีนรูอยางตอเนื่องตลอดชีวติ การจัดการศึกษาตองเปนไปเพื่อพัฒนาคนไทยใหเปนมนุษยที่สมบูรณทั้งรางกาย จิตใจ สติปญญา ความรู และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดํารงชีวิต สามารถอยูรวมกับผูอ่ืนไดอยางมีความสุข นอกจากนี้พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติไดกําหนดใหมีการจัดทําหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อความเปนไทย ความเปนพลเมืองดีของชาติ การดํารงชีวิตและการประกอบอาชีพ ตลอดจนเพื่อการศึกษาตอ และใหสถานศึกษาขั้นพื้นฐานจัดทําสาระของหลักสูตรในสวนที่ เกี่ยวของกับสภาพปญหาของชุมชนและสังคม ภูมิปญญาทองถ่ิน คุณลักษณะอันพึงประสงค เพื่อเปนสมาชิกที่ดีของครอบครัว ชุมชน สังคม ประเทศชาติ พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ ดังกลาว กําหนดใหมีการศึกษาภาคบังคับ 9 ป ดวยวิสัยทัศนของรัฐที่เช่ือมั่นในนโยบายการศึกษาในการสรางคน สรางงาน เพื่อชวยกอบกูวิกฤตเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ เปนการสรางชาติใหมั่นคงยั่งยืน เชื่อมั่นในนโยบายการศึกษาในการสรางชาติ ปรับโครงสรางระบบการศึกษา ยึดหลักบริหารการจัดการที่เนนคุณภาพ ประสิทธิภาพความเสมอภาค ใชเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาและเชื่อมั่นในนโนยบายการศึกษาเพื่อสรางคน บูรณาการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมในการปฏิรูปการเรียนรู และเชื่อมั่นในนโยบายการศึกษาสรางงาน สรางเยาวชนใหมีความรูคูการทํางาน กระทรวงศึกษาธิการโดยอาศัยอํานาจตามความในบทเฉพาะกาล มาตรา 74 แหงพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 จึงเห็นสมควรกําหนดใหมีหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 โดยยึดหลักการความมีเอกภาพดานนโยบายและมีความหลากหลายในการปฏิบัติ กลาวคือ เปนหลักสูตรแกนกลางที่มีโครงสรางหลักสูตรยืดหยุน กําหนดจุดหมาย ซ่ึงถือเปนมาตรฐานการเรียนรูในภาพรวม 12 ป สาระการเรียนรู มาตรฐานการเรียนรูแตละกลุมสาระ และมาตรฐานการเรียนรูชวงช้ันเปนชวงชั้นละ 3 ป จัดเฉพาะสวนที่จําเปนสําหรับการพัฒนา คุณภาพชีวิตความเปนไทยความเปนพลเมืองดีของชาติ การดํารงชีวิตและการประกอบอาชีพ ตลอดจนเพื่อการศึกษาตอใหสถานศึกษาจัดทําสาระในรายละเอียดเปนรายป หรือรายภาคใหสอดคลองกับสภาพปญหาในชุมชน สังคม ภูมิปญญาทองถ่ิน คุณลักษณะอันพึงประสงค เปนสมาชิกที่ดีของครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ รวมถึงจัดใหสอดคลองกับความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผูเรียนแตละกลุมเปาหมายดวย การจัดการศึกษามุงเนนความสําคัญทั้งดานความรู ความคิด ความสามารถ คุณธรรมการบวนการเรียนรูและความรับผิดชอบตอสังคมเพื่อพัฒนาคนใหมีความสมดุล โดยยึดหลักผูเรียนสําคัญที่สุด ทุกคนมีความสามารถเรียนรูและพัฒนาตนเองได สงเสริมใหผูเรียนสามารถพัฒนาตาม

Page 54: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

42

ธรรมชาติและเต็มศักยภาพ ใหความสําคัญตอความรูเกี่ยวกับตนเอง ความสัมพันธของตนเองกับสังคม ไดแกครอบครัว ชุมชน ชาติ สังคมโลก รวมทั้งความรูเกี่ยวกับประวัติศาสตรความเปนมาของสังคม และระบอบการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ความรูและทักษะทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ความรูความเขาใจและประสบการณเร่ืองการจัดการ การบํารุงรักษา และการใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมอยางสมดุลยั่งยืน ความรูเกี่ยวกับศาสนา ศิลปวัฒนธรรม การกีฬา ภูมิปญญาไทย และการประยุกตใชภูมิปญญา ความรูและทักษะดานคณิตศาสตรและดานภาษา เนนการใชภาษาไทยอยางถูกตอง ความรูและทักษะในการประกอบอาชีพ การดํารงชีวิตในสังคมอยางมีความสุข สถานศึกษาจัดกระบวนการเรียนรูที่มุงเนนการฝกทักษะกระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ และการประยุกตความรูมาใชปองกันและแกไขปญหา จัดกิจกรรมใหผูเรียนไดเรียนรูจากประสบการณจริง ฝกการปฏิบัติใหทําได คิดเปน ทําเปน รักการอานและเกิดการใฝรูอยางตอเนื่องผสมผสานสาระความรูดานตาง ๆ อยางไดสัดสวนสมดุลกัน ปลูกฝงคุณธรรม และคานิยมที่ดีงาม คุณลักษณะอันพึงประสงคไวในทุกกลุมสาระการเรียนรู อํานวยความสะดวกเพื่อใหผูเรียนเกิดการเรียนรู และมีความรอบรู รวมทั้งสามารถใชการวิจัยเปนสวนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู โดยคํานึงถึงความแตกตางระหวางบุคคลของผูเรียน และจัดการเรียนรูใหเกิดขึ้นไดทุกเวลา ทุกสถานที่ และสามารถเทียบโอนผลการเรียนและประสบการณไดทุกระบบการศึกษา อนึ่ ง เพื่อใหการใชหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานบรรลุจุดหมายที่กํ าหนดไว สถานศึกษาตองมีการประสานสัมพันธ และรวมมือกับบิดา มารดา ผูปกครอง และบุคคลในชุมชน ใหการพัฒนาคุณภาพการศึกษาในสถานศึกษาเปนไปอยางตอเนื่อง นอกจากนั้นกระทรวงศึกษาธิการ ยังจําเปนตองสนับสนุนสงเสริมการพัฒนาแหลงการเรียนรูทั้งในสถานศึกษาและนอกสถานศึกษาใหครอบคลุมหลักสูตรและกวางขวางยิ่งขึ้นเพื่อพัฒนาไปสูความเปนสากล ทั้งนี้กระทรวงศึกษาธิการจะไดจัดทําเอกสารประกอบหลักสูตร เชน คูมือการใชหลักสูตร แนวทางการจัดทําหลักสูตรสถานศึกษา คูมือครู เอกสารประกอบหลักสูตรกลุมสาระตาง ๆ แนวทางการวัดและประเมินผล การจัดระบบแนะแนวในสถานศึกษา การวิจัยในสถานศึกษา และการใชกระบวนการวิจัยในการพัฒนาการเรียนรู ตลอดจนเอกสารประชาสัมพันธหลักสูตร ใหประชาชนทั่วไป ผูปกครอง และ ผูเรียนมีความเขาใจและรับทราบบทบาทของตัวเองในการพัฒนาตนเองและสังคม (กระทรวงศึกษาธิการ, กรมวิชาการ 2545 ค :1-4)

Page 55: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

43

แนวคิด การจัดทําหลักสูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ในครั้งนี้เพื่อใหเหมาะสมและทันตอการเปลี่ยนแปลงทางดานสังคม เศรษฐกิจ การเมือง การปกครอง และความเจริญ กาวหนาทางวิทยาการใหม ๆโดยยึดหลักการเรียนรูวาผูเรียนทุกคนมีความสําคัญและสามารถเรียนรูและพัฒนาตนเองได เพื่อพัฒนาคนไทยใหเปนมนุษยที่สมบูรณทั้ง รางกาย จิตใจ สติปญญา ความรู และมีคุณธรรม จริยธรรม อยูรวมกับผูอ่ืนในสังคมอยางมีความสุข หลักการ เพื่อใหการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานเปนไปตามแนวนโยบายการจัดการศึกษาของประเทศ เพื่อสงเสริมใหผูเรียนไดพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ กําหนดหลักการของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานไวดังนี้ 1. เปนการศึกษาเพื่อความเปนเอกภาพของชาติ มุงเนนความเปนไทย ควบคูความเปนสากล 2. เปนการศึกษาเพื่อปวงชน ประชาชนทุกคนจะไดรับการศึกษาอยางเสมอภาคและเทาเทียมกัน โดยสังคมมีสวนรวมในการจัดการศึกษา 3. สงเสริมใหผูเรียนไดพัฒนาและเรียนรูไดดวยตนเองอยางตอเนื่องตลอดชีวิต โดยถือวาผูเรียนมีความสําคัญที่สุด สามารถพัฒนาตามธรรมชาติ และเต็มตามศักยภาพ 4. เปนหลักสูตรที่มีโครงสรางยืดหยุนทั้งดานสาระ เวลา และการจัดการเรียนรู สนองตอความตองการของผูเรียน ชุมชน สังคม และประเทศชาติ 5. เปนหลักสูตรที่จัดการศึกษาไดทุกรูปแบบ ครอบคลุมทุกกลุมเปาหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรียนรู และประสบการณ จากการศึกษาทุกรูปแบบ 6. เปนหลักสูตรที่สงเสริมใหมีความสอดคลองตอความเปลี่ยนแปลงของสังคม เศรษฐกิจการเมือง การปกครอง และความเจริญทางดานวิทยาศาสตรเทคโนโลยีและส่ิงแวดลอม 7. เปนหลักสูตรที่ใหทุกสวนของสังคมมีสวนรวมในการจัดการศึกษา จุดหมาย

หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุงพัฒนาคนไทยใหเปนมนุษยที่สมบูรณ เปนคนดี มีปญญา มีความสุขอยูบนพื้นฐานของความเปนไทย มีศักยภาพในการศึกษาตอ และประกอบอาชีพ จึงกําหนดจุดหมายซึ่งถือเปนมาตรฐานการเรียนรู ใหผูเรียนเกิดคุณลักษณะอันพึงประสงคตอไปนี้

Page 56: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

44

1. เห็นคุณคาของตนเอง มีวินัยในตนเอง ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาอื่นที่ตนนับถือ มีคุณธรรม จริยธรรมและคานิยมที่พึงประสงค 2. มีความคิดสรางสรรค ใฝรู ใฝเรียน รักการอาน รักการเขียน และรักการคนควา มีความรูอันเปนสากล รูเทาทันการเปลี่ยนแปลงและความเจริญกาวหนาทางวิทยาการมีทักษะและศักยภาพในการจัดการ การสื่อสารและการใชเทคโนโลยี ปรับวิธีคิด วิธีการทํางานไดเหมาะสมกับสถานการณ 3. มีทักษะและกระบวนการ โดยเฉพาะทางคณิตศาสตร วิทยาศาสตร ทักษะการคิด การสรางปญหา และทักษะในการดําเนินชีวิต 4. มีประสิทธิภาพในการผลิตและการบริโภค มีคานิยมเปนผูผลิตมากกวาผูบริโภค 5. เขาใจในประวัติศาสตรของชาติไทย ภมูิใจในความเปนไทย เปนพลเมืองดี ยึดมั่น ในวิถีชีวิต และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมขุ 6. มีจิตสํานึกในการอนุรักษภาษาไทย ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี กีฬา ภูมิปญญาไทยทรัพยากรธรรมชาติและพัฒนาสิ่งแวดลอม 7. รักประเทศชาติและทองถ่ิน มุงทําประโยชนและสรางสิ่งที่ดีงามใหสังคม 8. คุณลักษณะอันพึงประสงค ตามเปาหมายของโครงการเยาวชน โครงสราง เพื่อใหการจัดการศึกษาเปนไปตามหลักการ จุดหมายและมาตรฐานการเรียนรูที่กําหนดไวใหสถานศึกษาและผูที่เกี่ยวของมีแนวปฏิบัติในการจัดหลักสูตรสถานศึกษา จึงไดกําหนดโครงสรางของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานดังนี้ 1. ระดับชวงชั้น กําหนดหลักสูตรเปน 4 ชวงชั้น ตามระดับพัฒนาการของผูเรียนดังนี้ ชวงชั้นที่ 1 ช้ันประถมศึกษาปที่ 1-3 ชวงชั้นที่ 2 ช้ันประถมศึกษาปที่ 4-6 ชวงชั้นที่ 3 ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 1-3 ชวงชั้นที่ 4 ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 4-6 2. สาระการเรียนรู กําหนดสาระการเรียนรูตามหลักสูตร ซ่ึงประกอบดวยองคความรู ทักษะหรือกระบวนการเรียนรูและคุณลักษณะหรือคานิยม คุณธรรม จริยธรรมของผูเรียนเปน 8 กลุมดังนี้

Page 57: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

45

2.1 ภาษาไทย 2.2 คณิตศาสตร 2.3 วิทยาศาสตร 2.4 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 2.5 สุขศึกษา และพลศึกษา 2.6 ศิลปะ 2.7 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 2.8 ภาษาตางประเทศ วิสัยทัศนของโรงเรียนพระตําหนักสวนกหุลาบ มหามงคล โรงเรียนพระตําหนักสวนกุหลาบ มหามงคล มุงเนนใหนักเรียนแตละระดับมีคุณลักษณะอันพึงประสงค รักการอาน การเขียน ใฝรูใฝเรียน คิดวิเคราะห แกปญหา และแสดงความคิดเห็นอยางมีเหตุผล มีความรูความเขาใจในกระบวนการทางคณิตศาสตร วิทยาศาสตร ใชทักษะดานการส่ือสารและเทคโนโลยี อันเปนพื้นฐานในชีวิตประจําวัน มีทักษะพื้นฐานในการทํางานและประกอบอาชีพ มีสุขภาพ บุคลิกภาพที่ดี รักธรรมชาติ รวมอนุรักษส่ิงแวดลอม มีความภูมิใจในความเปนไทย ยึดมั่นในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ภารกิจ

1. จัดการศึกษาใหกับนักเรยีนตั้งแตช้ันอนบุาลถึงชั้นประถมศึกษาตอนตน 2. นักเรียนไดรับการพัฒนาตามเกณฑมาตรฐานการเรียนรูเต็มตามศักยภาพ 3. จัดกิจกรรมการเรียนการสอน เสริมกิจกรรม ตามนโยบายของ สํานักงานเขตพืน้ที ่

การศึกษานครปฐม เขต 2 และกระทรวงศกึษาธิการ เปาหมาย

1. นักเรียนจบการศึกษาภาคบังคับทุกคน 2. นักเรียนมีคณุภาพตามเกณฑมาตรฐานครบทุกสาระการเรียนรู 3. นักเรียนทกุคนดํารงชีวิตอยูในสังคมอยางมีความสุข

Page 58: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

46

คุณลักษณะอันพึงประสงค 1. เปนผูมีจิตสํานึกในการรักษาความสะอาดอนุรักษส่ิงแวดลอม 2. ปฏิบัติตนอยูในระเบียบขอบังคับของสถานศึกษา 3. เปนผูประหยัด อดออม นิยมไทยและมีมารยาทแบบไทย 4. มีวิถีชีวิตประชาธิปไตย

5. มีคุณธรรม จริยธรรม และปฏิบัติตนตามหลักศาสนา โครงสรางหลักสูตรสถานศึกษาขั้นพืน้ฐานโรงเรียนพระตําหนกัสวนกุหลาบ มหามงคล ระดับประถมศึกษา ตารางที่ 2 แสดงตารางเวลาการจัดชั่วโมงการเรียนการสอนแตละกลุมสาระ

(เวลาเรียน / ช่ัวโมง/สัปดาห) ชวงชั้นท่ี 1 ชวงชั้นท่ี 2

กลุมสาระ ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 1. ภาษาไทย 7 7 7 7 7 7 2. คณิตศาสตร 5 5 5 5 5 5 3. วิทยาศาสตร 2 2 2 3 3 3 4. สังคมศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม 2 2 2 2 2 2 5. สุขศึกษา พลศึกษา 2 2 2 2 2 2 6. ศิลป 2 2 2 2 2 2 7. การงานอาชีพและเทคโนโลยี 2 2 2 2 2 2 8. ภาษาตางประเทศ 1 1 1 1 1 1 9. กิจกรรมพฒันาผูเรียน 2 2 2 2 2 2

รวม 25 25 25 25 25 25 มาตรฐานการเรียนรู หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานเปนหลักสูตรที่มีมาตรฐานเปนตัวกําหนดเกี่ยวกับ คุณลักษณะอันพึงประสงคของผูเรียน เพื่อเปนแนวทางในการประกันคุณภาพการศึกษา โดยมีการกําหนดมาตรฐานไวหลายระดับ และแตละชวงชั้นจะมีการใชคําที่แตกตางกันดังนี้ จุดมุงหมายหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน สวนกลางกําหนดให

Page 59: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

47

มาตรฐานการเรียนรูของกลุมสาระการเรียนรู สวนกลางกําหนดให มาตรฐานการเรียนรูชวงชั้นของกลุมสาระการเรียนรู สวนกลางกําหนดให ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป/รายภาพ สถานศึกษากําหนดเอง จุดประสงคการเรียนรูของแผนการจัดการเรียนรู สถานศึกษากําหนดเอง สาระการเรียนรูกลุมการงานอาชีพและเทคโนโลยี เปนกลุมสาระการเรียนรูที่มุงพัฒนา ผูเรียนใหมีทักษะในการทํางาน ทํางานเปน รักการทํางาน ทํางานรวมกับผูอ่ืนได มีความสามารถในการจัดการ การวางแผนออกแบบการทํางาน สามารถนําเอาความรูเทคโนโลยีและเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช และประยุกตใชในการทํางาน สราง พัฒนางาน ผลิตภัณฑ ตลอดจนวิธีการใหม เพื่อพัฒนาคุณภาพของงานและการทํางาน ความสําคัญ ธรรมชาติ และลักษณะเฉพาะ กลุมการงานอาชีพและเทคโนโลยี เปนสาระการเรียนรูที่มุงพัฒนาผูเรียนใหมีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับงาน อาชีพ และเทคโนโลยี มีทักษะการทํางาน ทักษะการจัดการ สามารถ นําเทคโนโลยีสารสนเทศและเทคโนโลยีตาง ๆ มาใชในการทํางานอยางถูกตอง เหมาะสม คุมคาและมีคุณธรรม สรางและพัฒนาผลิตภัณฑหรือวิธีการใหม สามารถทํางานเปนหมูคณะ มีนิสัย รักการทํางาน เห็นคุณคาและมีเจตคติที่ดีตองาน ตลอดจนมีคุณธรรม จริยธรรมและคานิยมที่เปนพื้นฐาน ไดแก ความขยัน ซ่ือสัตย ประหยัด และอดออม อันจะนําไปสูการใหผูเรียนสามารถชวยเหลือ ตนเองและพึ่งตนเองไดตามพระราชดําริเศรษฐกิจพอเพียง สามารถดํารงชีวิตอยูในสังคมไดอยางมีความสุข รวมมือและแขงขันในระดับสากลในบริบทของสังคมไทย(กระทรวงศึกษาธิการกรมวิชาการ 2545 ก :3) วิสัยทัศนและคุณภาพของผูเรียน วิสัยทัศนของกลุมการงานอาชีพและเทคโนโลยีเปนสาระที่เนนกระบวนการทํางานและการจัดการอยางเปนระบบ พฒันาความคิดสรางสรรค มีทักษะการออกแบบงาน และการทํางานอยางมีกลยุทธโดยใชกระบวนการเทคโนโลยี และเทคโนโลยีสารสนเทศ ตลอดจนนําเทคโนโลยีมาใชและประยุกตใชในการทํางาน รวมทั้งการสรางพัฒนาผลิตภัณฑหรือวิธีการใหม เนนการใชทรัพยากรธรรมชาติ ส่ิงแวดลอมและพลังงานอยางประหยดัและคุมคา เพื่อใหบรรลุวิสัยทศัน ดังกลาว กลุมการงานอาชีพและเทคโนโลยีจึงกําหนดวิสัยทัศนการเรยีนรูที่ยึดงานและการแกปญหา

Page 60: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

48

เปนสําคัญ บนพื้นฐานของการใชหลักการและทฤษฎีเปนหลักในการทํางานและแกปญหา งานที่นํามาฝกฝนเพือ่บรรลุวิสัยทัศนของกลุมนัน้ เปนงานเพื่อการดํารงชวีิตในครอบครัวและสังคมและงานเพื่อการประกอบอาชีพ ซ่ึงงานทั้ง 2 ประเภทนี้ เมื่อผูเรียนไดรับการฝกฝนตามกระบวนการเรียนรู ของกลุมการงานอาชีพและเทคโนโลยีแลว ผูเรียนจะไดรับการปลูกฝงและพัฒนาใหมีคุณภาพและศลีธรรม การเรียนรูจากการทํางานและการแกปญหาของกลุมการงานอาชีพและเทคโนโลยี จึงเปนการเรียนรูที่เกิดจากการบูรณาการ ความรู ทักษะ และความดีทีห่ลอมรวมกันจนกอเกิดเปนคุณลักษณะของผูเรียนตามมาตรฐานการเรียนรูที่กําหนด คุณภาพของผูเรียน กลุมการงานอาชีพและเทคโนโลยี มุงพฒันาผูเรียนแบบองครวมเพื่อใหเปนคนดี มีความรู ความสามารถ โดยมีคุณลักษณะอันพึงประสงคดังนี ้ มีความรูความเขาใจเกีย่วกับการดํารงชีวิตและครอบครัว การอาชีพ การออกแบบและเทคโนโลยี เทคโนโลยีสารสนเทศ และเทคโนโลยีเพื่อการทํางานและอาชีพ มีทักษะในการทํางาน การประกอบอาชพี การจดัการ การแสวงหาความรู เลือกใชเทคโนโลยีและเทคโนโลยีสารสนเทศในการทํางาน สามารถทํางานอยางมีกลยุทธ สรางและพัฒนาผลิตภณัฑหรือวิธีการใหม มีความรับผิดชอบ ซ่ือสัตย ขยัน อดทน รักการทํางาน ประหยัด อดออม ตรงตอเวลา เอื้อเฟอ เสียสละ และมีวินัยในการทํางาน เห็นคุณคาความสําคัญของงานและอาชีพสุจริต ตระหนกัถึงความสําคัญของสารสนเทศ การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ ส่ิงแวดลอม และพลังงาน เม่ือจบแตละชวงชั้น ผูเรียนตองมีความสามารถดังตอไปนี้ ชวงชั้นที่ 2 ประถมศึกษาปที่ 4-6 สามารถชวยเหลือตนเอง ครอบครัวและชุมชน ทํางานอยางมีขั้นตอนมีทักษะในการ จัดการ มีความคิดริเร่ิมสรางสรรคในการทํางาน เลือกใชเทคโนโลยแีละเทคโนโลยีสารสนเทศไดเหมาะสมกับงาน สามารถคิด ออกแบบ สราง ดังแปลงสิ่งของเครื่องใชในชวีิตประจําวนังาย ๆ ทํางานดวยความรับผิดชอบ ขยัน ซ่ือสัตย ประหยดั อดออม อดทน ใชพลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติและ ส่ิงแวดลอมอยางคุมคาและถูกวิธี(กระทรวงศึกษาธิการ, กรมวิชาการ 2545 ก :5)

Page 61: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

49

สาระและขอบขาย สาระที่เปนองคความรูของกลุมการงานอาชีพและเทคโนโลยี ประกอบดวย สาระที่ 1 การดํารงชีวิตและครอบครัว สาระที่ 2 การอาชีพ สาระที่ 3 การออกแบบและเทคโนโลย ี สาระที่ 4 เทคโนโลยีสารสนเทศ สาระที่ 5 เทคโนโลยีเพื่อการทํางานและอาชีพ ตามสาระดังกลาว วิชาคอมพิวเตอรจะอยูในสาระที่ 4 เทคโนโลยีสารสนเทศ โดยมีรายละเอียดคือ เปนสาระที่เกี่ยวกับกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ การติดตอส่ือสาร การคนหาความรู การสืบคน การใชขอมูลและสารสนเทศ การแกปญหาหรือสรางงาน คุณคาและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ สาระที่ 4 เทคโนโลยีสารสนเทศ ประกอบดวย ขอมลูและสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ การสื่อสารขอมูล และเครอืขาย หลักการแกปญหา หรือสรางงาน การสรางงาน หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร และการจัดการขอมูล มีรายละเอียดตอไปนี้ (กระทรวงศึกษาธิการ, กรมวิชาการ 2545 ก:21) 1. ขอมูลและสารสนเทศ 1.1 แหลงขอมูล 1.2 ความหมายและประโยชนขอมูล 1.3 การรวบรวมขอมูล 1.4 ประเภทของขอมูล 1.5 การจัดเกบ็ขอมูลในรูปแบบที่เหมาะสม 1.6 การประมวลผลขอมูลเปนสารสนเทศ 1.7 การเก็บและบํารุงรักษาขอมูล 1.8 ซอฟตแวรชวยประมวลผลขอมูล 2. เทคโนโลยีสารสนเทศ 2.1 องคประกอบของการผลิตสารสนเทศ

Page 62: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

50

2.2 บทบาทและประโยชนของเทคโนโลยีสารสนเทศ 2.3 สวนประกอบและอุปกรณของเครื่องคอมพิวเตอร 2.4 หลักการทํางานของเครื่องคอมพิวเตอร 2.5 ซอฟตแวร 2.6 คอมพิวเตอรระบบมัลติมีเดีย 3. การสื่อสารขอมูลและเครือขาย 3.1 การสื่อสารขอมูล 3.2 สวนประกอบของเครือขายคอมพิวเตอร 3.3 เครือขายอินเตอรเน็ต 3.4 การคนหาและสืบคนขอมูล 4. หลักการแกปญหาหรือการสรางงาน 4.1 หลักการคดิคํานวณพื้นฐานในการประมวลผลขอมูล 4.2 หลักการเบื้องตนในการแกปญหา 4.3 ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมและภาษาโปรแกรม 4.4 การใชงานซอฟตแวรสําเร็จ 4.5 ตรรกะ ระบบเลขฐานสองและวงจรตรรกะ 5. โครงสรางงาน 5.1 การนําเสนอขอมูล 5.2 การวางแผนงาน 5.3 การสรางงานตามวัตถุประสงคของงาน 5.4 การจัดทําคูมือ 5.5 การบํารุงรักษาโปรแกรมและขอมูล 6. หลักการพืน้ฐานของคอมพิวเตอร 6.1 กลไกการทํางาน 6.2 รูปแบบการทํางาน 6.3 ภาษาคอมพิวเตอรระดับต่ํา 7. การจัดการขอมูล 7.1 การจัดการขอมูลเบื้องตน 7.2 โครงสรางขอมูล 7.3 การจัดการฐานขอมูล

Page 63: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

51

นอกจากนี้ ไดกําหนดมาตรฐานในการเรียนการสอน คอืมาตรฐานที่ ง 4.1 เขาใจ เห็น

คุณคา และใชกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบคน ขอมูล การเรียนรู การสื่อสาร การแกปญหา การทํางานและอาชีพอยางมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และมีคุณธรรม และกําหนดมาตรฐานการเรียนรูชวงชั้นของชวงชั้นที่ 2 ช้ันประถมศึกษาปที่ 4-6 ไวดังนี ้ 1. เห็นความสําคัญของขอมูลและแหลงขอมูล 2. รวบรวมขอมูลที่สนใจไดตรงตามวัตถุประสงคจากแหลงขอมูลตาง ๆ ที่เชื่อถือได 3. จัดเก็บรักษาขอมูลที่เปนประโยชนในรูปแบบตาง ๆ 4. รูจักชื่อและหนาที่ของอุปกรณพื้นฐานทางเทคโนโลยีสารสนเทศ 5. เขาใจหลักการทํางานเบื้องตนและประโยชนของคอมพิวเตอร 6. เขาใจขั้นตอนการใชงานคอมพิวเตอร 7. ใชคอมพิวเตอรในการคนหาขอมูลและความรูจากแหลงขอมูล 8. นําเสนอขอมูลในรูปแบบที่เหมาะสม 9. เขาใจหลักการเบื้องตนของการแกปญหา 10.ใชคอมพิวเตอรชวยสรางชิ้นงานจากจินตนาการหรืองานที่ทําในชวีติประจําวนัอยางมีจิตสํานึกและมีความรับผิดชอบ แนวการจัดหลักสูตรกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยีทีน่ํามาจัดเปนสาระการเรียนรูพืน้ฐาน สําหรับแตละชวงชั้น สถานศึกษาตองจัดใหผูเรียนไดเรียนไดเรียนรูครบตามสาระและมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรูและมาตรฐานการเรียนรูชวงชั้นที่กําหนด แนวการจัดหลักสูตรกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยีสวนที่เปนสาระการเรียนรูพืน้ฐานสําหรับแตละชวงชั้นมดีังนี ้ สาระที่ 4 เทคโนโลยีสารสนเทศ ทุกชวงชั้นตองจัดใหผูเรียนไดเรียนรู เกี่ยวกับขอมูลสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ การสื่อสารขอมูล และเครือขาย หลักการแกปญหาหรือสรางงาน หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอรและการจัดการขอมูล การจัดการเรยีนรู เนนการนาํเอากระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ อันไดแก การรวบรวมขอมูล การตรวจสอบความถูกตองของ

Page 64: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

52

ขอมูล การจัดเก็บขอมูล การจัดการ และประมวลผูมูลเพื่อใหไดสารสนเทศสําหรับนํามาใชในการตัด สินใจ ตลอดจนเก็บรักษาโดยอาศยัอุปกรณคอมพวิเตอร อุปกรณสํานักงานหรอืนําเอาความรูและทักษะเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศไปบูรณาการกับทั้ง 5 งานของสาระที่ 1 (กระทรวงศึกษาธิการ, กรมวิชาการ 2545 ก :44)

5. งานวิจัยท่ีเก่ียวของ

งานวิจัยในประเทศ สุธีรพันธ สักการเวช (2541) สรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน วิชาพื้นฐานคอมพิวเตอรสําหรับนักเรยีนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ที่ประเมินโดยผูเชีย่วชาญ มีระดบัคะแนนเฉลี่ย 2.85 ซ่ึงมีคุณภาพในเกณฑดี และไดบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนวชิาพื้นฐานคอมพิวเตอร สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที ่ 6 ที่มีประสิทธิภาพ 80.00/80.89 ซ่ึงอยูในเกณฑมาตรฐานที่ตั้งไวคือ 80/80 เหมาะสําหรับที่จะนําไปสอนเสริมในการสอนปกติได โดยนักเรยีนสามารถศึกษาไดดวยตนเอง ธวัฒชัย ใบโสด (2541) ไดสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเพื่อศกึษาผลของการใชภาพประกอบในบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนของนักเรยีนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 จากโรงเรียนอนุบาลเชียงใหม พบวาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนที่ใชภาพประกอบในบทเรียนตางกนัทั้ง 2 แบบชวยใหนกัเรียนมีผลการเรียนดีขึ้นอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และนักเรียนสวนใหญมีความเหน็วาภาพประกอบมสีวนชวยใหเกดิการเรียนรูมากขึ้น และตองการใหภาพประกอบเปนแบบภาพการตนูและเปนภาพส ี ธนากร ศรีโฉม (2543) ไดสรางบทเรียนโปรแกรมวิชา คอมพวิเตอรพื้นฐาน เรื่องความรูเบื้องตนเกี่ยวกบัการใชโปรแกรมวนิโดวส 95 สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 โรงเรียนบาแกงครอหนองไผ อําเภอแกงครอ จังหวัดชยัภูม ิ ผลการศึกษาปรากฏวา บทเรียนโปรแกรม มีคาประสิทธิภาพเทากับ 97.07/87.55 ศักดา วุนศิริ (2543) ที่ไดสรุปวาผลการสํารวจความคิดเห็นของผูเรียนที่เรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนระบบมัลติมีเดีย วิชาการใชคอมพิวเตอรและการประมวลคํา เร่ืองสวนประกอบคอมพิวเตอรทัง้สองรูปแบบ โรงเรียนสตรีวิทยา 2 เขตลาดพราว กรุงเทพมหานคร นกัเรียน

Page 65: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

53

สวนมากมีความคิดเห็นในระดับเห็นดวยและเหน็ดวยอยางยิ่งกับการเรยีนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนทั้งสองรูปแบบ พิพัฒน ปุยพลทัน (2544) ไดสรางบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอนระบบมัลติมีเดีย วิชาคอมพิวเตอรพืน้ฐาน เร่ืองการทํางานของอุปกรณรับขอมูล สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาตอนปลาย เร่ือง การทํางานของอุปกรณรับขอมูล ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 และชั้นประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนบานนาทม อําเภอทุงฝน จังหวัดอุดรธานี ผลการศึกษาคนควาพบวา บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนที่สรางขึ้น มีประสิทธิภาพจากการประเมินของผูเชี่ยวชาญอยูในเกณฑดีมาก และมีคาดัชนีประสิทธิผลเทากับรอยละ 78 สมใจ สืบเสาะ (2544) ไดทําการวจิัยเร่ือง การพัฒนาและหาประสิทธิภาพบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนระบบไฮเปอรมีเดีย วิชาคอมพวิเตอรเบื้องตน สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตเพาะชาง ผลการทดสอบหาประสิทธิภาพของบทเรียนพบวามีประสิทธิภาพ 91.86/89.90 สมรัฐ ดวงกลาง (2544) ไดทําการวิจยัศึกษาอิสระเพื่อหาประสิทธิภาพของสื่อคอมพิวเตอรชวยสอน เร่ืองไฟฟา กลุมสรางเสริมประสบการณชีวติ ของนักเรยีนระดับชั้นประถมศึกษาปที ่ 5 โรงเรียนรัฐราษฏรรังสรรค ผลการศึกษาพบวาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนที่ผลิตขึ้นมีประสิทธิภาพเทากับ 81.33/85.33 และมคีาดัชนีประสิทธิผล 0.69 ซ่ึงสูงกวาเกณฑที่กําหนดไว แสดงวาบทเรยีนคอมพวิเตอรชวยสอนที่ผลิตขึ้นมีประสิทธิภาพบรรลุตามวัตถุประสงคของการศึกษาอิสระ ศรีธนา คุมทรัพย (2546)ไดทําการวิจยัเร่ืองการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เร่ืองกลวยและการแปรรูป กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี กับนักเรยีนชัน้มัธยมศึกษาปที่ 3 โรงเรียนนนทบุรีพิทยาคม พบวาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนกลุมตัวอยางผูใชบทเรียนไดคะแนนเฉลี่ยของแบบทดสอบระหวางเรียนและแบบทดสอบทายบทเรียน 83.33/85.33 ซ่ึงสูงกวาเกณฑที่ตัง้ไว ประทีป ภูเกิด (2547) ไดพฒันาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนประกอบการสอน วิชาคณิตศาสตร เร่ืองรูปวงกลมสําหรับนักเรียนชั้นประถมศกึษาปที6่ โรงเรียนพระตําหนักสวนกุหลาบ มหามงคล ผลการวิจยัพบวาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนมีประสิทธิภาพเทากับ 90.44/91.07 นิศกร ตั้งสกุล (2547) ไดสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวชิาสุขศึกษา ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 5 เร่ืองวัยแรกรุน ที่เรียนดวย

Page 66: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

54

บทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอนและวิธีสอนปกติพบวาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน มีประสิทธิภาพผานเกณฑ 80/80 โดยมีประสิทธิภาพ 80.15/82.83 อิสรีย ยังอยู(2547) ไดทําการวิจัยเร่ืองการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เร่ืองระบบคอมพิวเตอร สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนสิรินธรราชวิทยาลัย จงัหวัดนครปฐม พบวาผูเรียนมคีวามพึงพอใจตอการเรียนดวยบทเรยีนคอมพิวเตอรชวยสอนอยูในระดับมากที่สุด งานวิจัยในตางประเทศ Merrit (1983) ไดศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่เรียนดวยบทเรยีนคอมพิวเตอรชวยสอนและการเรียนทีไ่มใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนในโรงเรียนขนาดกลาง โดยใหกลุมทดลองเรียนดวยคอมพิวเตอรชวยสอน และการเรียนปกติใหเปนกลุมควบคุม โดยมีตัวแปรคือผลสัมฤทธิ์ ความคิดรวบยอด ความวิตกกังวล ทัศนคติตอครู และที่โรงเรียนโดยใชในกลุมตัวอยางเกรด 6 และเกรด 7 จํานวน 144 คน พบวาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของกลุมทดลองสูงกวากลุมควบคุม นักเรียนชายเกรด 6 มีความคิดรวบยอดดวยตนเอง ความวิตกกังวล ทัศนคติตอครูและโรงเรียนแตกตางกันอยางมนีัยสําคัญทางสถิติ Collins (1985) ไดศึกษาเปรียบเทียบขอมูลปอนกลับ 2 ชนดิ โดยกลุมตวัอยางเปนนกัเรยีนช้ันมัธยมศึกษาที่มีความสามารถทางการเรียนต่ํา จํานวน 28 คน แบงเปน 2 กลุม โดยกลุมแรกเรียนกับคอมพวิเตอรชวยสอนที่มีการใหขอมูลปอนกลับที่ใหเฉพาะคําตอบที่ถูกตองเทานั้น เมื่อ นักเรียนตอบผิด สวนกลุมที่ 2 เรียนกับคอมพิวเตอรชวยสอนทีม่ีการใหขอมูลปอนกลับ ใหคําอธิบายรายละเอียดเพิ่มเตมิเมื่อนักเรียนตอบผิด หลังจากเรียนครบทั้ง 5 บทแลว ทําการทดสอบทันที รวมทั้งสอบถามทัศนคติ หลังจากนั้นอีก 2 สัปดาห จึงทําการทดสอบอีกเพือ่วัดความคงทนในการเรยีนรู ผลการวิจัยพบวา การใหขอมูลปอนกลับแบบใหคาํอธิยายรายละเอียดเพิม่เติมใหผลลัพธทางการเรียนและความคงทนในการเรียนรูไดดีกวา การใหขอมูลปอนกลับเฉพาะคําตอบที่ถูกตอง โดยทั้งสองกลุมใชเวลาเรียนไมแตกตางกนั นอกจากนัน้นักเรียนที่ไดรับการใหขอมลูปอนกลับแบบอธิบายเพิ่มเตมินั้น สามารถวิเคราะหเหตุผลไดดีกวานักเรียนทีไ่ดรับขอมูลแบบปอนกลับแบบใหเฉพาะคําตอบที่ถูกตอง Lee(1985) ทําการวิจยัเร่ืองการศึกษาปฏสัิมพนัธ ผลของการใหขอมูลปอนกลับในคอมพิวเตอรชวยสอนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยแบงรูปแบบการใหผลยอนกลับในบทเรียนเปน 3 รูปแบบ คือ ไดรูผลยอนกลับเปนคําตอบถูกหรือผิดเทานั้น ไดรูผลกลับเปนคําตอบถูกหรือ

Page 67: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

55

ผิด คําตอบผิดจะมีการบอกขอถูกและมกีารยกตวัอยางใหเขาใจและไดรูผลยอนกลับเปนคําตอบที่ถูกหรือผิด คําตอบผิดมีการบอกขอถูก แตไมมกีารยกตัวอยางให ผลการวิจัยพบวา เมื่อใหผลยอนกลับในแบบที่แตกตางกัน แบบการใหยอนกลับที่ตางกันใหผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเหมือนกนั Beck (1987) ไดทําการวิเคราะหทัศนคติของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาที่มีตอการใชคอมพิวเตอรชวยสอนในโรงเรียน โดยทดลองกับโรงเรียน 29 แหง ในเนบราสกา ระหวางปการศึกษา 1978-1979 ปรากฏวา 1. การใชคอมพิวเตอรชวยสอนสวนมากจะใชกับวิชาคอมพิวเตอรศาสตร คณิตศาสตร และวิทยาศาสตร 2. นักเรียนหญิงมีทัศนคติในทางบวกตอคอมพิวเตอรชวยสอนมากกวานักเรียนชาย 3. นักเรียนที่ศึกษาดวยตนเองมีทัศนคติตอคอมพิวเตอรชวยสอนในทางบวกมากกวานักเรียนที่เรียนเพราะความจําเปน Goranson (1997) ไดทําการศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิผลระหวางคอมพิวเตอรชวยสอน กับการบรรยายแบบดั้งเดิมทีเ่ปนมาตรฐานที่ศูนยดแูลสุขภาพไอโอวาไดสุมตัวอยางพยาบาลจํานวน 85 คน แบงออกเปน 2 กลุม กลุมหนึ่งสอนโดยใชคอมพิวเตอรชวยสอน อีกกลุมหนึ่งสอนโดยการบรรยาย ไดทําการทดสอบกอนเรียนและหลังเรยีนเพื่อวดัความแตกตางในการเรียนรู สถิติ two-way ANOVA ไดแสดงใหเห็นความแตกตางระหวางทั้งสองกลุมอยางมีนัยสําคญั คอมพิวเตอรชวยสอนมีประสิทธิผลมากกวาคําบรรยาย Taylor (1997) ไดทําการศกึษาผลของการจําลองดวยคอมพิวเตอร รวมกบัการทดลองของนักเรียนเกรด 6 ในการเรียนวิชาวิทยาศาสตร นักเรียนไดมีสวนรวมในการเรียนการสอนเปนเวลา 4 สัปดาห ในความคิดรวบยอดเกี่ยวกับไฟฟา วงจรไฟฟา แมเหล็ก และแมเหล็กไฟฟา ผลการทดสอบการทดลองครั้งนี้ผลการทดสอบหลังการเรียนสูงกวากอนเรียน ยิง่กวานัน้ผลการทดสอบแสดงใหเห็นวานักเรียนไดมีความเขาใจความคดิราบยอดถูกตองในการสอน โดยการปฏิบัตริวมกับการใชคอมพิวเตอรชวยสอน ความคิดเห็นของครูและนักเรยีนในการใชคอมพิวเตอรชวยสอนไปในทางดานบวก ผลจากการศึกษานี้ไดมีการแนะนาํใหมกีารใชคอมพิวเตอรชวยสอนรวมกับการสอนดวยการปฏิบัติเพื่อเปนประโยชนในหองเรียนวิทยาศาสตรช้ันตน จากเอกสารและงานวิจัยดังทีน่ําเสนอมาแลวพบวาการเรียนการสอนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนในปจจุบัน มีแนวโนมของความกาวหนาอยางตอเนื่องและรวดเรว็ เนื่องจากมีการคนควา วิจัยและพฒันาวิธีการเรียนรู มีการนําเทคนิคตาง ๆ มาใชงาน และเครื่องคอมพิวเตอรมีความสามารถในการใชงานสูงขึ้นและราคาถูกลง อีกทั้งมีความพรอมของอุปกรณสนับสนุนให

Page 68: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

56

เครื่องทํางานในลักษณะมัลตมิีเดียและระบบเครือขาย ทําใหสามารถนํามาประยกุตใชกับการเรยีนการสอนได ดังนั้นการใชคอมพิวเตอรเปนสื่อกลางสําหรับการจัดการเรียนการสอน จึงเปนวิธีการหนึ่งที่จะสามารถเพิ่มผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนการสอนใหสูงขึ้นตามความคาดหวังของการเรียนรู นอกจากนี้การใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนยังเปนการสนับสนุนใหผูเรียนศึกษาเนื้อหาตามความสามารถของตนเอง จากเหตุผลดังกลาวจึงเปนเหตุใหผูวจิัยนําส่ือคอมพิวเตอรชวยสอนมาใชประกอบการเรียนการสอน และพัฒนาสื่อการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญตอไป

Page 69: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

บทท่ี 3

วิธีดําเนินการวิจัย

การศึกษาวิจัยคร้ังนี้เปนการวิจัยและพัฒนา (Research and Development) เพื่อพัฒนา บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนประกอบการเรียนวิชาคอมพิวเตอร เร่ือง สวนประกอบคอมพิวเตอร ช้ันประถมศึกษาปที่ 5 โรงเรียนพระตําหนักสวนกุหลาบ มหามงคล สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่ การศึกษานครปฐม เขต 2 โดยดําเนินการตามขั้นตอนดังตอไปนี้ 1. ประชากรและกลุมตัวอยาง 2. ระเบียบวิธีวิจัย 3. การสรางและพัฒนาเครื่องมือที่ใชในการวิจัย 4. วิธีดําเนนิการวิจัย 5. สถิติที่ใชในการวจิัย ประชากรและกลุมตัวอยาง 1. ประชากร เปนนกัเรยีนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 โรงเรยีนพระตําหนักสวนกุหลาบ มหามงคล สังกัดสํานักงานเขตพื้นทีก่ารศึกษานครปฐม เขต 2 จํานวนนกัเรียน 240 คน

2. กลุมตัวอยาง เปนนักเรยีนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2549 โรงเรยีนพระตําหนกัสวนกหุลาบ มหามงคล สํานกังานเขตพื้นทีก่ารศึกษานครปฐม เขต 2 จํานวน 40 คน ซ่ึงไดมาดวยการสุมแบบยกหองเรียน (Cluster Sampling)

ระเบียบวิธีวิจัย การวิจยัคร้ังนีผู้วิจัยใชแบบแผนการวิจยัแบบ One Group Pretest-Posttest Design (ลวน สายยศ และองัคณา สายยศ 2531 : 216)

T1 X T2

57

Page 70: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

58

เมื่อ T1 คือการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียนดวยบทเรยีนคอมพวิเตอรชวยสอน เร่ืองสวนประกอบคอมพิวเตอร X คือการเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เรื่องสวนประกอบคอมพิวเตอร T2 คือการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนดวยบทเรยีนคอมพวิเตอร ชวยสอน เร่ืองสวนประกอบคอมพิวเตอร การสรางและพัฒนาเครื่องมือท่ีใชในการเก็บรวบรวมขอมูล เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล ผูวิจัยไดดําเนนิการดังนี ้ 1. แบบสัมภาษณแบบมีโครงสราง สําหรับใชสัมภาษณผูเชี่ยวชาญสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี สาระที่ 4 เทคโนโลยีสารสนเทศ เร่ืองสวนประกอบคอมพวิเตอร และ ผูเชี่ยวชาญดานคอมพิวเตอรชวยสอน มวีิธีดําเนินการดังนี้ 1.1 ศึกษาเอกสาร ตําราที่เกี่ยวของกับการสรางแบบสัมภาษณแบบมีโครงสรางเพื่อใหไดมาซึง่ประเด็นคําถามที่เกี่ยวของกับสาระการเรยีนรู และผลการเรียนรูที่คาดหวัง เร่ืองสวนประกอบคอมพิวเตอร ของนักเรียนชัน้ประถมศึกษาปที่ 5 1.2 นําประเดน็คําถามที่สรางขึ้นปรึกษาอาจารยที่ปรึกษาและผูเชี่ยวชาญตรวจสอบความถูกตองเหมาะสมของประเด็นคําถาม เพื่อนํามาปรับปรุงแกไข(รายละเอียดดภูาคผนวก ข หนา 110) จากขั้นตอนของการสรางแบบสัมภาษณแบบมีโครงสราง สรุปเปนแผนภาพไดดังนี ้ แผนภาพที่ 5 ขั้นตอนการสรางและการใชแบบสัมภาษณแบบมีโครงสราง

ศึกษาเอกสาร ตําราที่เกี่ยวของการสราง แบบสัมภาษณแบบมีโครงสราง

อาจารยที่ปรึกษาและผูเชีย่วชาญตรวจสอบความถูกตอง เหมาะสมของประเด็นคําถาม เพื่อนํามาปรับปรุงแกไข

ปรับปรุง

ไดแบบสัมภาษณที่ถูกตองสมบูรณ

Page 71: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

59

2. การสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เร่ืองสวนประกอบคอมพิวเตอร สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 มีวิธีดําเนนิการดังนี้ 2.1 นําผลการสังเคราะหจากผูเชี่ยวชาญทั้ง 2 ดานมาสรางstoryboardเพือ่เปนแนวทางในการสรางบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอน และนําไปใหผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหาวชิาคอมพิวเตอร และผูเชี่ยวชาญดานสื่อคอมพิวเตอรชวยสอน ( รายละเอียด ภาคผนวก ก ) ตรวจสอบความเหมาะสมและความถูกตอง พรอมทั้งนําขอเสนอแนะตาง ๆ ที่ไดรับมาปรับปรุงและพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนดังกลาว ( ตารางที่ 13 ภาคผนวก ฉ หนา 151 ) 2.2 นาํบทเรยีนคอมพวิเตอรชวยสอนที่สรางเสร็จแลวเสนออาจารยที่ปรึกษา ผูเชีย่วชาญเนื้อหาวิชาคอมพิวเตอรและผูเชี่ยวชาญดานคอมพวิเตอรชวยสอนไดตรวจสอบความถกูตอง และประเมนิคุณภาพของบทเรียนเพื่อนําผลที่ไดรับมาปรับปรุงและแกไข โดยการใชแบบประเมินคุณภาพบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนของกระทรวงศึกษาธิการ ซ่ึงมีลักษณะของแบบประเมนิเปนมาตราสวนประเมนิคา 5 ระดับ โดยกําหนดคาระดับความคิดเหน็แตละชวงคะแนนและความหมายดังนี ้ ระดับ 5 หมายถึง เหมาะสมมากที่สุด ระดับ 4 หมายถึง เหมาะสมมาก ระดับ 3 หมายถึง เหมาะสม ระดับ 2 หมายถึง เหมาะสมนอย ระดับ 1 หมายถึง เหมาะสมนอยท่ีสุด สําหรับความหมายของคาทีว่ัดได ผูวจิัยไดกําหนดเกณฑในการแปลความหมายจากแนวคดิของเบสท (Best 1986 : 195) โดยการใชคาเฉลี่ยเปนรายชวงดังนี้ คะแนนเฉลี่ย 4.51-5.00 หมายถึง มีคณุภาพเหมาะสมมากที่สุด คะแนนเฉลี่ย 3.51-4.50 หมายถึง มีคณุภาพเหมาะสมมาก คะแนนเฉลี่ย 2.51-3.50 หมายถึง มีคณุภาพเหมาะสม คะแนนเฉลี่ย 1.51-2.50 หมายถึง มีคณุภาพเหมาะสมนอย คะแนนเฉลี่ย 1.00-1.50 หมายถึง มีคณุภาพเหมาะสมนอยที่สุด ผลการประเมินคุณภาพจากผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหา จํานวน 3 ทาน และดานบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน จํานวน 3 ทาน โดยใชแบบประเมินคณุภาพสื่อคอมพิวเตอรชวยสอน ของกระทรวงศกึษาธิการ (ภาคผนวก ฉ ตารางที่ 14 หนา 157)

Page 72: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

60

ตารางที่ 3 แสดงผลการประเมินคณุภาพสื่อบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนจากผูเชีย่วชาญดาน เนือ้หา จํานวน 3 ทาน ดานบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอน จํานวน 3 ทาน

คณะกรรมการประเมินคุณภาพสื่อ รายการประเมนิ ทานที่ 1 ทานที่ 2 ทานที่ 3 ทานที่ 4 ทานที่ 5 ทานที่ 6 คาเฉลี่ย 1.สวนนําบทเรียน 3.00 4.00 3.00 3.00 3.00 5.00 3.50 2.เนื้อหาบทเรยีน 4.33 4.66 4.16 3.83 3.83 4.00 4.13 3.การใชภาษา 3.00 4.00 4.00 5.00 4.00 4.00 4.00 4.การออกแบบระบบการสอน

3.33 4.33 3.83 3.66 3.16 4.00 3.71

5.สวนประกอบดาน Multimedia

2.75 4.25 3.75 3.50 3.50 4.25 3.66

6.การออกแบบปฏิสัมพันธ 3.00 4.00 4.00 3.5 2.5 4.00 3.50 คะแนนเฉลี่ย 3.23 4.20 3.79 3.74 3.33 4.20 4.20

จากตารางที ่ 3 ผลการประเมินของคณะกรรมการประเมนิคุณภาพสื่อบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนจํานวน 6 ทานไดคาเฉลี่ย = 4.20 เมื่อนํามาเปรียบเทียบคาเฉลี่ยจะอยูในชวง 3.51-4.50 หมายถึง มีคุณภาพเหมาะสมมาก แสดงวาสื่อบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี เร่ืองสวนประกอบคอมพิวเตอร สําหรับนักเรียนชวงชัน้ที ่2 ผานเกณฑการประเมินคณุภาพของสื่อ และสามารถนําไปใชสอนกับผูเรียนได สําหรับขอสรุปความคิดเหน็ผลการตรวจของแบบประเมินสามารถสรุปไดดังตารางที่ 4 ดังนี ้ ตารางที่ 4 สรุปความคิดเหน็จากคณะกรรมการประเมนิคุณภาพของสื่อจํานวน 6 ทาน

หัวขอความคดิเห็น สรุปความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญ สวนนําบทเรยีน ตัวอักษรควรมีขนาดใหญกวานี้,ควรเปลีย่นภาพพื้นหลังใหสดใสเราใจ

กวานี้,ปรับปรงุชองรับชื่อผูเรียนใหมีขนาดใหญขึ้น เนื้อหาของบทเรียน เสียงไมชัดเจน,เนื้อหาและรูปภาพบางรูปไมสัมพันธกัน,ตัวอักษรและ

ภาพควรมีขนาดใหญกวานี้, ขอมูลมีความละเอียดเหมาะสมกับระดับชัน้ดี

การใชภาษา เสียงบรรยายบางคําไมชัดเจน บางคําเบามาก,ปรับปรุงเสียงบรรยายในเร่ืองของอักขระบางคํา

Page 73: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

61

ตารางที่ 4 (ตอ) หัวขอความคดิเห็น สรุปความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญ

การออกแบบระบบการเรียนการสอน

ออกแบบบทเรียนเหมาะสมดี,เนื้อหามีความสัมพันธตอเนื่องกันดี,ควรมีปุมใหผูเรียนคลิกเมาสทุกเฟรมเพื่อปองกันความสับสน,ปรับปรุงการโตตอบการทําแบบทดสอบ

สวนประกอบดานมัลติมีเดีย

หนาจอหนาสนใจดี,มกีารนาํส่ือมาใชหลากหลายดี,เสียงบรรยายชี้แจงกอนทําขอสอบไมชัดเจน

การออกแบบปฏิสัมพันธ

ออกแบบไดเหมาะสมกับผูเรียน,ปรับปรุงปุมเมนูตางๆ เพื่อใหใชงานไดงายขึ้น,ควรมปีุมเมนูใหผูเรยีนคลิกเมาสเหมือนกนัทุกเฟรม

2.3 นําบทเรยีนที่ไดรับการปรับปรุงแกไขเปนที่เรียบรอยแลวไปทดลองกับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปที่ 5 ทีไ่มใชกลุมทดลอง โรงเรียนพระตําหนกัสวนกุหลาบ มหามงคล สํานักงาน เขตพื้นที่การศกึษานครปฐม เขต 2 เพื่อหาประสิทธิภาพของบทเรียนดงันี้ 2.3.1 ขั้นทดลองรายบุคคล(One to one tryout) ในขั้นตอนนี้เปนการตรวจหาขอบกพรองของบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอนในดานตางๆ เชน ความถูกตองของเนือ้หา ความชดัเจนของการนาํเสนอเนื้อหา ภาษาทีใ่ชในบทเรียน คณุภาพของโปรแกรมบทเรยีนคอมพวิเตอรชวยสอน โดยนําโปรแกรมบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอนเรือ่งสวนประกอบของคอมพวิเตอรที่สรางขึ้น ไปทดลองกับนักเรียนโรงเรยีนพระตําหนักสวนกหุลาบ มหามงคล จํานวน 3 คน โดยคัดเลือกนกัเรยีนทีม่ีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูง กลาง และต่ํา อยางละ 1 คน ศึกษาเนื้อหาบทเรยีนคอมพวิเตอรชวยสอน พรอมทั้งสังเกตผูเรียนขณะใชโปรแกรมบทเรยีนคอมพวิเตอรชวยสอน เพื่อหาขอบกพรองตาง ๆ ตลอดจนสิ่งทีท่ําใหผูเรยีนเกดิปญหาและนาํผลที่ไดมาปรบัปรุงแกไขตามเกณฑ 60/60 ที่ตั้งไว ตารางที่ 5 แสดงการวิเคราะหหาประสิทธภิาพของบทเรยีนคอมพวิเตอรชวยสอน ตามเกณฑ 60/60

คะแนนระหวางเรียน นักเรียน คนที่ ตอนที่ 1(20) ตอนที่ 2(10)

คะแนนรวม(30)

คาเฉลี่ย (X )

คะแนนสอบ หลังเรียน(30)

คาเฉลี่ย (X )

1 11 6 17 56.66 17 56.66 2 14 7 21 70.00 22 73.33 3 14 5 19 63.33 19 63.33

เฉล่ียรอยละ 63.33 64.44 คาประสิทธิภาพ E1 / E2 = 63.33 / 64.44

Page 74: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

62

จากตารางที่ 5 พบวาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนกลุมสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี เร่ืองสวนประกอบคอมพิวเตอร ที่ผานการทดลองหาประสิทธิภาพพบวา คะแนนการทดสอบระหวางเรียนมีคาเทากบั 63.33 และคะแนนเฉลี่ยของแบบทดสอบหลังเรียนมีคาเทากับ 64.44 แสดงวาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่องสวนประกอบคอมพวิเตอร ของนักเรียนชวงชัน้ที ่ 2 มีคาเทากับ 63.33 / 64.44 เมื่อเทียบกับเกณฑ 60 / 60 ปรากฏวาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนที่สรางขึ้นมีประสิทธิภาพตามเกณฑที่กําหนด ผูวิจัยไดนําขอบกพรองที่ไดจากการสอบถามนักเรียนกลุมทดลองรายบุคคลมาวิเคราะหและนําไปปรับปรุงส่ือคอมพิวเตอรชวยสอนดังนี ้ 1. ปรับปรุงขอความเนื้อหาบางสวนทีส้ั่นเกินไปอานแลวกาํกวมเขาใจยากใหมีความละเอียดเพิ่มขึน้ 2. เพิ่มเติมปุมเมนูเพื่อใหเกดิความสะดวกในการคลิกเมาสเพื่อเปลี่ยนไปยังเนื้อหาหนาตอไป 3. เพิ่มเติมขอความคําแนะนาํบนพื้นหลังเพื่อช้ีแนะใหนกัเรียนสามารถใชบทเรยีนคอมพิวเตอรชวยสอนดวยตนเองไดงายขึ้น 4. เพิ่มระยะเวลาการเปลี่ยนภาพที่นํามาใชในการประกอบบทเรียนใหชาลงเพื่อใหผูเรียนสามารถดูรูปภาพไดทัน 5. เพิ่มเติมคําแนะนําการใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนใหละเอียดมากขึ้น 6. ตัดระยะเวลาของเสียงในการมีปฏิสัมพันธกับผูเรียนในขณะทําแบบทดสอบใหส้ันลง 2.3.2 ขั้นทดลองแบบกลุมเล็ก(small group tryout) ขั้นตอนนีเ้ปนการใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนที่ไดผานการปรับปรุงแกไขเรียบรอยแลวจากขั้นทดลองเดี่ยวมาทดลองกับนักนักเรียนจํานวน 9 คน โดยคัดเลือกนักเรียนโรงเรียนพระตําหนักสวนกหุลาบ มหามงคล ช้ันประถมศึกษาปที่ 5 ที่ไมใชผูเรียนที่ผานขั้นการทดลองรายบุคคลมาแลว และมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูง กลาง และต่าํอยางละ 3 คน ศึกษาเนื้อหาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน พรอมทัง้สังเกตผูเรียนขณะทําการศึกษาเนื้อหาดังกลาว แลวนําผลที่ไดมาหาประสิทธิภาพของบทเรียนตามเกณฑ 70/70 และปรับปรุงแกไขเพื่อนําไปใชในการทดลองตอไป

Page 75: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

63

ตารางที่ 6 แสดงการวิเคราะหหาประสิทธภิาพของบทเรยีนคอมพวิเตอรชวยสอน ตามเกณฑ 70 / 70

คะแนนระหวางเรียน นักเรียนคนที่ ตอนที่1(20) ตอนที่2(10)

คะแนนรวม(30)

คาเฉลี่ย (X )

คะแนนสอบ หลังเรียน(30)

คาเฉลี่ย (X )

1 18 8 26 86.66 25 83.33 2 17 7 24 80.00 24 80.00 3 18 8 26 86.66 26 86.66 4 17 8 25 83.33 26 83.33 5 16 7 23 76.66 25 80.00 6 15 7 22 73.33 21 66.66 7 15 6 21 70.00 20 60.00 8 13 5 18 60.00 18 66.66 9 13 6 19 63.33 20 63.33

เฉล่ียรอยละ 75.55 75.92 คาประสิทธิภาพ E1 / E2 = 75.55 / 75.92 จากตารางที่ 6 พบวาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนกลุมสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี เร่ืองสวนประกอบคอมพิวเตอร ที่ผานการทดลองหาประสิทธิภาพพบวา คะแนนการทดสอบระหวางเรียนมีคาเทากบั 75.55 และคะแนนเฉลี่ยของแบบทดสอบหลังเรียนมีคาเทากับ 75.92 แสดงวาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่องสวนประกอบคอมพวิเตอร ของนักเรียนชวงชัน้ที ่ 2 มีคาเทากับ 75.55 / 75.92 เมื่อเทียบกับเกณฑ 70/70 ปรากฏวาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนที่สรางขึ้นมีประสิทธิภาพตามเกณฑที่กาํหนดนอกจากนี้ผูวิจยัไดสังเกตผูเรียนขณะใชโปรแกรมเพื่อหาขอบกพรองตางๆ ตลอดจนสิ่งที่อาจทําใหเกิดปญหาและนําผลมาปรับปรุงเพิ่มเติมกอนที่จะนําไปใชกับกลุมตัวอยางจริงตอไป โดยขอพกพรองที่พบและทําการปรับปรุงมีดังนี ้ 1. ปรับปรุงระยะเวลาการเสริมแรงมีปฏิสัมพันธกับผูเรียนในขณะทําแบบทดสอบทายบทเรียนใหรวดเรว็ขึ้น 2. ปรับปรุงรูปภาพกราฟกที่ใชใหมีความสอดคลองกับเนือ้หาและมีระยะเวลาในการแสดงผลใหกระชับมากยิ่งขึ้น 3. ปรับเปลี่ยนตําแหนงปุมเมนูการแสดงภาพกราฟกวิดีโอเร่ืองเมาสใหเหมาะสมมากยิ่งขึ้น

Page 76: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

64

2.4 การทดลองภาคสนามกับกลุมตัวอยางโดยการนําเครื่องมือที่ผานการทดลองกับกลุมตัวอยางทัง้ 2 กลุมดังกลาวขางตนมาใชกับกลุมทดลอง แลวนําผลที่ไดมาหาประสิทธิภาพของเครื่องมือตามเกณฑ 80/80 กับกลุมทดลองนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที ่ 5 โรงเรียนพระตําหนักสวนกุหลาบ มหามงคล จํานวน 40 คน ที่ไดจากการสุมแบบยกหองเรียน จากขั้นตอนของการสรางบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอนและทดลองเครื่องมือ สรุปเปนแผนภาพไดดงันี้ แผนภาพที่ 6 ขั้นตอนการสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนและทดลองเครื่องมือ

การสรางบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอน เร่ืองสวนประกอบคอมพิวเตอร สําหรับนักเรียนชั้นประถมศกึษาปที่ 5

นําผลการสังเคราะหจากผูเชี่ยวชาญทั้ง 2 ดานมาสราง storyboard

นําstoryboardที่ไดเสนอผูเชีย่วชาญทั้ง 2 ดาน เพื่อตรวจสอบ ความเหมาะสม ถูกตอง

นําบทเรียนทีส่รางเสร็จแลวเสนออาจารยที่ปรึกษาและผูเชี่ยวชาญทั้ง 2 ดานเพื่อตรวจสอบความเหมาะสม

ปรับปรุง

นําบทเรียนทีป่รับปรุงและพัฒนาและไปทดลองใชกับ กลมทดลอง 3 คน แลวนํามาปรับปรงแกไขตามเกณฑ 60/60

นําบทเรียนทีป่รับปรุงและพัฒนาและไปทดลองใชกับ กลมทดลอง 9 คน แลวนํามาปรับปรงแกไขตามเกณฑ 70/70

นําบทเรียนทีป่รับปรุงและพัฒนาไปทดลองใชกับ กลุมทดลอง ตามเกณฑ 80/80

Page 77: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

65

3. แบบทดสอบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนกอนเรียนและหลงัเรียนกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่องสวนประกอบคอมพิวเตอร สําหรับนักเรียนชั้นประถมศกึษาปที่ 5 มีขั้นตอนในการดําเนินการดงันี้ 3.1 ศึกษาตําราเอกสารที่เกี่ยวของกับการสรางเครื่องมือวัดและประเมินผล 3.2 วิเคราะหสาระและผลการเรียนรูที่คาดหวังเพื่อกําหนดจํานวนขอสอบ 3.3 สรางแบบทดสอบทางการเรียนแบบเลอืกตอบ ชนิด 4 ตัวเลือก จาํนวน 90 ขอ เพื่อนํามาใชเปนเครื่องมือในการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใหครอบคลุมเนื้อหาและจุดประสงคทั้งหมด 3.4 นําแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ที่สรางเสร็จเสนออาจารยที่ปรึกษาและผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหาสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี สาระเทคโนโลยีสารสนเทศ ตรวจสอบและประเมนิคุณภาพของแบบทดสอบ เพื่อหาคาดชันีความสอดคลองระหวางแบบทดสอบใหสอดคลองกับผลการเรียนรูที่คาดหวัง(IOC) และนําไปปรับปรุงแกไขตามคําแนะนําของผูเชี่ยวชาญ(รายละเอยีดดภูาคผนวก ฉ ตารางที่ 15 หนา 162 ) คัดเลือกขอสอบไวจํานวน 60 ขอ 3.5 นําแบบทดสอบจาํนวน 60 ขอไปทดสอบกับนักเรยีนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ที่เคยเรียนเนื้อหาสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี เร่ืองอุปกรณคอมพิวเตอรมาแลว จํานวน 40 คน ตรวจใหคะแนนโดยใหคะแนนขอที่ตอบถูก 1 คะแนน ขอที่ตอบผิด 0 คะแนน แลวนํามาคํานวณหาคาคะแนนมาตรฐาน(Standard Score) 3.6 นําคะแนนที่ไดจากการทดสอบจากขอที่ 3.5 มาหาคาความยากงาย(P)และคาอํานาจจําแนก(D)ของแบบทดสอบเปนรายขอ โดยคัดเลือกขอทดสอบที่มีคาความยากงาย(P)ระหวาง .02-.08 และคาอาํนาจจาํแนก(D)ตั้งแต.02ขึ้นไป (รายละเอียดภาคผนวก ฉ ตารางที่ 16 หนา 166) 3.7 วิเคราะหคาความเชื่อมัน่ของแบบทดสอบดวยสูตร KR-20 3.8 นําขอสอบที่ผานเกณฑจํานวน 30 ขอไปใชเปนแบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน

Page 78: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

66

แผนภาพที่ 7 แสดงขั้นตอนการสรางและพัฒนาแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 4. การสรางแบบวัดความพงึพอใจ การสรางแบบวัดความคดิเหน็ของนักเรียนเกี่ยวกับบทเรยีนคอมพวิเตอรชวยสอน เร่ืองสวนประกอบคอมพิวเตอร สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 มีขั้นตอนการสรางและพัฒนาดังนี ้ 4.1 ศึกษาเอกสาร ตําราและงานวิจยัที่เกีย่วของกับการสรางแบบวัดความพึงพอใจ

ศึกษาตําราเอกสารที่เกี่ยวของกับการสรางเครื่องมือวัดและประเมินผล

วิเคราะหสาระและผลการเรียนรูที่คาดหวังเพื่อกําหนดจํานวนขอสอบ

สรางแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบเลือกตอบ ชนิด 4 ตัวเลือกจํานวน 90 ขอ

นําแบบทดสอบเสนอผูเชี่ยวชาญสาระการเรียนรูเทคโนโลยีสารสนเทศ ตรวจสอบความเที่ยงตรงของเนื้อหาและความสอดคลอง(IOC)

นําแบบทดสอบไปทดลองใชกับนักเรยีนที่เคยผานการเรียนรูสาระดังกลาวแลว

นําผลการทดลองไปหาคาความยากงาย(P)และคาอํานาจจําแนก(D)

นําผลการทดลองมาวิเคราะหหาคาความเชือ่มั่นของแบบทดสอบ ดวยการหาคาสัมประสิทธิ์ของคะแนนทดสอบกอนเรียนและหลังเรยีน

Page 79: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

67

4.2 กําหนดโครงสรางของแบบวัดความพึงพอใจแบบปลายปดมีลักษณะการตอบแบบมาตราสวนประเมินคา(Rating Scale) 5 ระดับของ ลิเคิรท และแบบสอบถามปลายเปดเพื่อสอบถามความคิดเห็นตาง ๆ 4.3 นําแบบวดัความพึงพอใจที่สรางขึ้นเสนออาจารยที่ปรึกษาตรวจสอบเพื่อนํามาปรับปรุงแกไข 4.4 นําแบบสอบถามความพึงพอใจไปใหผูเชี่ยวชาญจาํนวน 3 ทาน ลงความเห็นเพื่อหาความสอดคลอง และนํามาปรับปรุงความเหมาะสมตามคําแนะนํา( รายละเอียดภาคผนวก ฉ ตารางที่ 17 หนา 166) 4.5 นําแบบวดัความพึงพอใจที่ผานขั้นตอนทั้งหมดไปทดลองใชจริง จากขั้นตอนของการสรางแบบวัดความพงึพอใจและการนําไปใช สรุปเปนแผนภาพไดดังนี้ แผนภาพที่ 8 การสรางและพัฒนาแบบวัดความพึงพอใจของผูเรียน

ศึกษาเอกสาร ตําราและงานวิจัยทีเ่กีย่วของกับการสราง แบบวัดความพึงพอใจ

กําหนดโครงสรางของแบบวัดความพึงพอใจแบบปลายปดมีลักษณะการตอบแบบมาตราสวนประเมนิคา(Rating Scale) 5 ระดับของ ลิเคิรท

นําแบบวดัความพึงพอใจที่สรางขึ้นเสนออาจารยที่ปรึกษาตรวจสอบเพื่อนํามาปรับปรุงแกไข

นําแบบสอบถามความพึงพอใจไปใหผูเชี่ยวชาญจํานวน 3 ทาน ลงความเหน็เพื่อหาความสอดคลอง และนํามาปรับปรุงความเหมาะสม

ปรับปรุง

นําแบบสอบถามความพึงพอใจไปใชในการทดลอง

Page 80: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

68

ตารางแสดงเกณฑเฉล่ียของระดับความพึงพอใจของเบสท(Best)

คะแนน คะแนนเฉลี่ย การแปลผล 5 4.50-5.00 มากที่สุด 4 3.50-4.49 มาก 3 2.50-3.49 ปานกลาง 2 1.50-2.49 นอย 1 1.00-1.49 นอยที่สุด

วิธีดําเนินการวิจัย ดําเนินการทดลองโดยใหใหผูเรียนศึกษาจากบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนที่ผูวิจัยสรางขึ้นกับกลุมตัวอยาง ซ่ึงเปนนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 โรงเรียนพระตําหนกัสวนกุหลาบ มหามงคล จํานวน 40 คน ที่ไดมาดวยการสุมแบบยกหอง(Cluster Sampling) โดยมีขั้นตอนการดําเนนิการดังนี ้ 1. กลุมทดลองทําแบบทดสอบกอนเรียน(Pretest) เพื่อวัดความรูพื้นฐานกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี เร่ืองสวนประกอบคอมพวิเตอร 2. ดําเนินการทดลอง กําหนดใหกลุมตัวอยางเรียนบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนโดยใชระยะเวลา 2 คาบๆ ละ1 ช่ัวโมง รวมเปนเวลา 2 ช่ัวโมง โดยคะแนนสวนนีน้ําไปหาประสิทธิภาพ E1

3. หลังจากสิน้สุดการทดลองแลวใหผูเรียนกลุมทดลองทําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใชแบบทดสอบหลังเรียน(Posttest)นําคะแนนที่ไดไปหาประสิทธิภาพ E2 4. ใหผูเรียนทาํแบบสอบถามความพึงพอใจที่มีตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน 5. วิเคราะหและแปรผลขอมูล 6. สรุปและอภิปรายผล

Page 81: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

69

NxiΣ

สถิติท่ีใชในการทดลอง สถิติที่ใชในการหาคุณภาพเครื่องมือ 1. การวิเคราะหคาดัชนีความสอดคลอง(Index Of Consistency :IOC) ของขอสอบกับผลการเรียนรูที่คาดหวัง (กระทรวงศึกษาธิการ, กรมวิชาการ 2545 ก :39) ICO =

IOC คือ คาดัชนีความสอดคลองของขอสอบกับผลการเรียนรูที่คาดหวัง คือ ผลรวมของคาความเห็นของผูเชี่ยวชาญ

N คือ จํานวนของผูเชีย่วชาญทีว่ิเคราะหความสอดคลองของขอสอบ 2. การวิเคราะหคาความเชื่อมั่นของแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เร่ืองสวนประกอบคอมพวิเตอร โดยใชสูตร KR-20 ของคูเคอร ริชารดสนั(Kuder-Richardson) (พวงรัตน ทวีรัตน 2543 : 123) = เมื่อ n หมายถึงจํานวนขอ p หมายถึง สัดสวนของคนทําถูกในแตละขอ q หมายถึง สัดสวนของคําทําผิดในแตละขอ = 1-P หมายถึง ความแปรปรวนของคะแนนทั้งฉบับ 3. การวิเคราะหความยากงาย(P) รายขอของแบบทดสอบ(พวงรัตน ทวีรัตน 2543 : 129) โดยใชสูตร P คือ คาความยากของคําถามแตละขอ R คือ จํานวนคนที่ตอบถูกในแตละขอ N คือ จํานวนผูเขาสอบทั้งหมด

1nn−

2tSpq1 Σ

−rtt

2tS

N

RP =

xiΣ

Page 82: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

70

4. การวิเคราะหคาอํานาจจําแนก (D) ของแบบทดสอบวดัผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (ลวน สายยศ และอังคณา สายยศ 2531:179) D คือ คาอํานาจจําแนก คือ จํานวนนกัเรียนที่ตอบถกูในกลุมเกง คือ จํานวนนกัเรียนที่ตอบถกูในกลุมออน N คือ จํานวนนกัเรียนในกลุมเกงและกลุมออน 5. หาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนตามเกณฑ 80/80 (ชัยยงค พรหมวงศ 2539:495) คอื ประสิทธิภาพของกระบวนการ คือ คะแนนรวมของแบบฝกหัดทกุชุด A คือ คะแนนแตมของแบบฝกหัดทกุชุดรวมกัน N คือ จํานวนผูเรียน คือ ประสิทธิภาพของผลลัพธ คือ คะแนนรวมของการทดสอบหลังเรียน B คือ คะแนนแตมของการทดสอบหลังเรียน N คือ จํานวนผูเรียน

2

NRuRD L−

=

uR

LR

x100A

NX

1E∑

=

1E

∑X

x100B

NF

2E∑

=

∑ F

2E

Page 83: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

71

สถิติท่ีใชในการวิเคราะหขอมูล 1. เปรียบเทียบคะแนนทดสอบกอนเรียนและหลังเรียนของกลุมทดลอง โดยใช t-test (Dependent) D = ความแตกตางของคะแนนกอนเรียนและหลังเรยีน N = จํานวนผูเรียน 2. คาคะแนนเฉลี่ย(Mean) คือ คะแนนเฉลี่ย คือ ผลรวมของคะแนนทั้งหมด N N คือ จํานวนผูเรียนกลุมตัวอยาง

N

ΣxX =−

−X

Σx

( )1n

2ΣD2ΣDn

ΣDt

−=

Page 84: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

บทท่ี 4

ผลการวิเคราะหขอมูล

การวิจัยคร้ังนี้เปนการวิจัยและพัฒนา (Research and Development) เพื่อพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนประกอบการเรียนวิชาคอมพิวเตอร เร่ือง สวนประกอบคอมพิวเตอร ช้ันประถมศึกษาปที่ 5 โรงเรียนพระตําหนักสวนกุหลาบ มหามงคล สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่ การศึกษานครปฐม เขต 2 ผูวิจัยนําเสนอผลการดําเนินการวิจัยออกเปน 4 ตอนดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 การพัฒนาบทเรยีนคอมพวิเตอรชวยสอนเรื่อง สวนประกอบคอมพิวเตอร ขั้นตอนที่ 2 ประสิทธภิาพของบทเรยีนคอมพิวเตอรชวยสอน กลุมสาระการเรยีนรูการงานอาชีพและเทคโนโลย ีเร่ืองสวนประกอบคอมพิวเตอร ของนกัเรยีนชวงชัน้ที่ 2 ขั้นตอนที่ 3 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยีนกอนเรียนและหลังเรยีนบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอนกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี เร่ืองสวนประกอบคอมพวิเตอร ของนกัเรียนชวงชัน้ที่ 2 ช้ันประถมศกึษาปที่ 5 ที่ไดจากกลุมตวัอยาง จํานวน 40 คน ขั้นตอนที่ 4 ความพึงพอใจของนกัเรยีนทีม่ีตอบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอน กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี เร่ืองสวนประกอบคอมพวิเตอร ของนกัเรียนชวงชั้นที ่2

ขั้นตอนที่1 การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเรื่อง สวนประกอบคอมพิวเตอร ผูวิจัยไดสัมภาษณผูเชี่ยวชาญดวยแบบสัมภาษณแบบมีโครงสราง ไดผลสรุปการวิเคราะหเนื้อหาจากการสัมภาษณผูเชี่ยวชาญดังนี ้

72

Page 85: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

73

ตารางที่ 7 แสดงผลสรุปผลการวิเคราะหประเด็นสัมภาษณผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหาคอมพิวเตอร ชวยสอน

ประเด็นสัมภาษณ ความคิดเหน็ของผูเชี่ยวชาญ 1. ทานคิดวาการที่จะสอนสาระการงานอาชีพและ เทคโนโลยีเพื่อใหสามารถโยงไปสูเนื้อหาเรื่อง สวนประกอบคอมพิวเตอร ควรมีการนําเขาสูบทเรียน แบบใด

-มีการทดสอบความรูเกี่ยวกบั คอมพิวเตอรเพื่อเปนการเชือ่มโยง ไปสูเนื้อหา -ควรมีการชี้แจงจุดประสงคในการ เรียน เนื้อหา เพื่อใหผูเรยีนทราบ ถึงจุดหมายปลายทาง -มีการกระตุนใหนกัเรียนแสดงออก ในเนื้อหาที่จะเรียน

2. ควรมีแบบฝกหัดเพื่อฝกใหนักเรยีนสามารถเขาใจหนาที่การทํางานของอุปกรณแตละประเภท รูปแบบใด

-ควรเปนสื่อคอมพิวเตอรชวยสอน เพราะมีทั้งภาพและเสียงทําใหเดก็ กระตือรือรนในการเรยีนรู -ควรมีการใหผูเรียนไดฝกปฏิบัติ จากอุปกรณจริง -ฝกใหมกีารทาํงานเปนกลุมเพื่อฝก ภาวะการเปนผูนํา -นักเรยีนควรสามารถกลับมา ทบทวนในสวนที่ไมเขาใจได

3. ทานคิดวาจะสอนใหนักเรยีนรูจักลักษณะของอุปกรณ คอมพิวเตอรพื้นฐานแตละประเภทในลักษณะใด

-ควรนําของจริงมาใชประกอบการ สอนเพื่อใหผูเรียนสามารถจับตอง ไดและควรแยกเปนประเภทๆ -ใหมกีารฝกปฏิบัติจริง ทําซํ้าเพื่อให เกิดความรูและประสบการณของ ผูเรียน

4. แบบทดสอบเรื่องสวนประกอบคอมพวิเตอรควรเปน รูปแบบใดจงึจะสอดคลองกับเนื้อหาและเหมาะสมกับ ผูเรียน

-ควรมีการทดสอบโดยการฝกปฏิบัติ จริง -แบบทดสอบควรเปนลักษณะการ เลือกตอบ

Page 86: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

74

ตารางที่ 7 (ตอ) ประเด็นสัมภาษณ ความคิดเหน็ของผูเชี่ยวชาญ

5. เกณฑการตัดสินวาผูเรียนผานการเรียนรูเร่ือง สวนประกอบคอมพิวเตอรควรเปนอยางไรและใช เกณฑแบบใด

-ควรใชเปนรอยละหรือมาตรสวน ประเมินคาและสรุปวาทําไดหรือ ทําไมได -กําหนดเปนเกณฑการประเมินโดย ใชเกณฑรอยละ 60 ของ แบบทดสอบ

6. ทานคิดวาการใชส่ือคอมพิวเตอรชวยสอนมีขอดีและ ขอจํากัดสําหรับนักเรยีนในการสอนสาระการงานอาชีพ และเทคโนโลยีอยางไร

ขอดี -เปนสื่อที่ผูเรียนสามารถเรียนได ดวยตนเอง,สามารถเรียนรูได ตลอดเวลา มีความคงทน สะดวก ในการใช -เปนการสนองความสามารถของแต ละคนและสามารถเลือกไดตาม ความสามารถ ขอจํากัด -มีราคาสูงและเสียเวลาในการจัดทํา มาก -ผูเรียนตองมีเครื่องคอมพิวเตอรจึง จะสามารถใชได

7. ขอเสนอแนะอื่นๆ -ควรทําส่ือใหตรงกับเนื้อหาที่จะ สอนและใชเวลาไมมากนกั -ควรมีการประเมินประสิทธภิาพ ของสื่อและจัดทําคูมือการใช ประกอบดวย -เนื้อหาการจัดทําเปนควรหนวย เล็กๆ มีเนื้อหาไมมากเกนิไป

Page 87: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

75

จากผลการวิเคราะหขอมูลดังกลาวขางตน พบวาผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหาในหัวขอของการนําเขาสูบทเรียนตองการใหมีการทดสอบความรูเกีย่วกับคอมพิวเตอรเพื่อเปนการเชื่อมโยงไปสูเนื้อหา ควรมีการชี้แจงจดุประสงคในการเรียน เนื้อหา เพื่อใหผูเรยีนทราบถึงจุดหมายปลายทาง มีการกระตุนใหนักเรียนแสดงออกในเนื้อหาที่จะเรียน ในดานรูปแบบฝกหัดควรเปนสื่อคอมพิวเตอรชวยสอนเพราะมีทั้งภาพและเสียงทําใหเด็กกระตือรือรนในการเรียนรู ควรมีการใหผูเรียนไดฝกปฏิบัติจากอุปกรณจริง ฝกใหมีการทํางานเปนกลุมเพื่อฝกภาวการณเปนผูนํา ผูเรียนสามารถกลับมาทบทวนในสวนที่ไมเขาใจได ในดานลกัษณะของการสอนเพื่อใหผูเรียนรูจักลักษณะของอุปกรณแตละประเภทนั้นผูเชี่ยวชาญใหความเห็นวา ควรนําของจริงมาใชประกอบการสอนเพื่อใหผูเรียนสามารถจับตองไดและควรแยกเปนประเภทๆ ใหมกีารฝกปฏิบัติจริงและทําซํ้าเพื่อใหเกิดความรูและเพิ่มประสบการณของผูเรียน เกณฑการตัดสินผูเรียนนั้น ควรมีการทดสอบโดยการฝกปฏิบัติจริงแบบทดสอบควรเปนลักษณะการเลือกตอบ,ปรนัย ใชคารอยละหรือมาตราสวนประเมินคาการทดสอบและสรุปวาทําไดหรือไมได กําหนดเปนเกณฑการประเมินโดยใชเกณฑรอยละ 60 ของแบบทดสอบ ความเหน็ในดานขอดีผูเชี่ยวชาญใหความเห็นวาคอมพิวเตอรชวยสอนเปนสื่อที่ผูเรียนสามารถเรียนไดดวยตนเอง เรียนรูไดตลอดเวลา มีความคงทน สะดวกในการใช เปนการสนองความสามารถของแตละคน สามารถเลือกเรียนไดตามความสามารถ ขอเสียคือมีราคาสูงและเสียเวลาในการจัดทํามาก ผูเรียนตองมีเครือ่งคอมพิวเตอรจึงจะสามารถใชได ในดานขอเสนอแนะอ่ืนๆ ไดใหความเห็นวาควรจัดทําส่ือใหตรงกับเนื้อหาที่จะสอนและใชเวลาไมมากนัก มีการประเมินประสทิธิภาพของสื่อและจัดทําคูมอืการใชประกอบดวย มีการออกแบบการจัดทําเปนหนวยเล็กๆ มีเนื้อหาไมมากเกินไป

Page 88: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

76

ตารางที่ 8 แสดงผลสรุปการวิเคราะหขอมูลจากผูเชี่ยวชาญดานบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน

ประเด็นสัมภาษณ ความคิดเหน็ของผูเชี่ยวชาญ 1. ทานคิดวาการสรางบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอนที่เกีย่ว ของกับสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลย ี สาระที่ 4 เทคโนโลยีสารสนเทศเรื่อง สวนประกอบ คอมพิวเตอรควรมีลักษณะใด

-มีการใช Interactive สามารถ โตตอบกับผูเรียนได -มีความนาสนใจในแงของวธีิการ นําเสนอกับผูเรียน -ผูเรียนสามารถควบคุมบทเรียน หรือทิศทางในการเรียนของตนเอง ได -มีการออกแบบหนาจอที่ดีส่ือ ความหมายตรงกับวัตถุประสงค -ใหเห็นภาพในลักษณะของ3มิติ สามารถหมุนดูได -มีการประเมนิผลการเรียนรูเปน ระยะตามเนือ้หา -มีกิจกรรมใหตอบเพื่อประเมินแต ละสวนได -บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนควร มีการผสมผสานแบบTutorial และ แบบเกม เพื่อใหเหมาะสมกบัผูเรียน

2. การนํามัลติมีเดีย(Multimedia)มาประกอบใน คอมพิวเตอรชวยสอน(CAI) เพื่ออธิบายเนื้อหาเรื่อง สวนประกอบคอมพิวเตอร มีความเหมาะสมเพียงใด

-มีการนํามัลตมิีเดียมาใชในการ อธิบายหรือสมมติสถานการณ -มัลติมีเดียมีความจําเปนอยางมาก เพื่อใหผูเรยีนไดเรียนรูและรับรูได เสมือนวาไดจับตอง

Page 89: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

77

ตารางที่ 8 (ตอ) ประเด็นสัมภาษณ ความคิดเหน็ของผูเชี่ยวชาญ

-มีความเหมาะสมมากเพราะผูเรียน ในระดับชัน้ประถมยังตองการ ความสนุกสนาน ความนาสนใจ ความเราใจ

3. แบบฝกในคอมพิวเตอรชวยสอน(CAI) ที่เหมาะสมกบั เร่ือง สวนประกอบคอมพิวเตอร ตามศักยภาพของตัวส่ือ ควรเปนรูปแบบใด

-ใชเปนแบบปรนัยหรือถามตอบซึ่ง ขึ้นอยูกับความเหมาะสมของ เนื้อหาหรือใชวิธีจับคูเพื่อเปนการ ฝกทักษะอีกทางหนึ่ง -เปนลักษณะภาพเสมือนแสดง สถานการณจาํลองได -แบบฝกควรมคีวามสอดคลองกับ จุดประสงค

4. ทานตองการใหส่ือคอมพิวเตอรชวยสอน(CAI) ที่ เกี่ยวของกบัสาระการเรียนรูการงานอาชีพและ เทคโนโลยี สาระที่ 4 เทคโนโลยีสารสนเทศ มีรูปแบบ การออกแบบการวางเมนใูนการศึกษาเนือ้หาแบบใด

-มีการวางเมนแูบบเปนขั้นตอนโดย มีเมนูหลักอยูดานหนา มีเมนูยอย ในสวนเนื้อหาอีกขั้นตอนหนึ่ง -มีการทดสอบความรูพื้นฐานกอน ขั้นตอนตอมามีคําชี้แจงวิธีการ เรียนรู ตอจากนั้นเปนเมนูผลการ เรียนรูที่คาดหวังหรือจุดประสงค การเรียนรู การนําเสนอเนือ้หาโดย ผานสารบัญของเรื่องและมีการ ประเมินผลหลังจากศึกษาเนื้อหา ดวย ตอมาเปนเปนแบบทดสอบ หลังเรียนพรอมทั้งสามารถ ประเมินผลและบันทึกผลได -ไมควรมีการยายตําแหนงของเมนู หรือปุมตางๆจนเกดิความสบัสน แกผูเรียน

Page 90: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

78

ตารางที่ 8 (ตอ) ประเด็นสัมภาษณ ความคิดเหน็ของผูเชี่ยวชาญ

5. การใชคอมพิวเตอรชวยสอน(CAI) มีขอดีและขอจํากัด ในการเรยีนสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี สาระที่ 4 เทคโนโลยีสารสนเทศ

ขอดี -ผูเรียนสามารถทบทวนเนื้อหาได ตามความถนดัของตนเอง และ สามารถสื่อสารจากสิ่งที่เปน นามธรรมไปสูรูปธรรมไดชัดเจน -เปนการเนนผูเรียนเปนสําคญั ยื่น หยุนไดตามศักยภาพของตนเอง -เปนสื่อที่ดีเพราะสามารถบรรจุส่ือ ไดหลายรูปแบบเขาไวในบทเรียน

6. ขอเสนอแนะอื่นๆ -ควรเนนกระบวนการเรยีนรูใหเปน step by stepและมีการใชตวัอยาง animationเมื่อจําเปน -ควรมีการพัฒนาสูระบบonline ดวย และสามารถประเมินผลไดจริงและ สามารถบันทึกลงในตวัส่ือไดดวย -เนื้อหาเกี่ยวกบัคอมพิวเตอรควร เปนปจจุบนัเพราะมีการเปลี่ยน แปลที่รวดเรว็มากควรมีการติดตาม และบรรจุเนือ้หาใหทนัสมัยมาก ที่สุด -ควรมีการหาตัวอยางแบบสื่อที่ดีมา เปนแนวทางในการพัฒนาซึ่งจะ ชวยใหการพฒันาบทเรียนนาสนใจ

จากผลการวิเคราะหขอมูลดังกลาวขางตน พบวาผูเชีย่วชาญดานสื่อคอมพิวเตอรชวยสอนใหความเห็นลักษณะของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนวาควรมกีารใช Interactive สามารถโตตอบกับผูเรียนได มีความนาสนใจในแงของวิธีการนําเสนอกับผูเรียน ผูเรียนสามารถควบคุมบทเรียนหรือทิศทางในการเรียนของตนเองได มีการออกแบบหนาจอที่ดีส่ือความหมายตรงกับ

Page 91: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

79

วัตถุประสงค ใหเหน็ภาพในลักษณะของ 3 มิติสามารถหมุนดูได มกีารประเมินผลการเรียนรูเปนระยะตามเนื้อหา มีกิจกรรมใหตอบเพื่อประเมินแตละสวนได บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนควรมีการผสมผสานแบบTutorial และแบบเกม เพื่อใหเหมาะสมกับผูเรียน ในดานของการนํามัลติมีเดียมาใชใหความเห็นวาใหมกีารนํามัลติมีเดียมาใชในการอธิบายหรือสมมติสถานการณ มัลติมีเดียมีความจําเปนอยางมากเพื่อใหผูเรียนไดเรียนรูและรับรูไดเสมือนวาไดจบัตอง มีความเหมาะสมมากเพราะผูเรียนในระดับชั้นประถมยังตองการความสนุกสนาน ความนาสนใจ ความเราใจ ในสวนของแบบฝกหัดควรเปนแบบปรนัยหรือถามตอบซึ่งขึ้นอยูกับความเหมาะสมของเนื้อหาหรือใชวิธีจับคู เพื่อเปนการฝกทักษะอีกทางหนึ่ง เปนลักษณะภาพเสมือนแสดงสถานการณจาํลองได แบบฝกควรมีความสอดคลองกับจุดประสงค ลักษณะของการวางเมนูนั้นใหวางเปนขั้นตอนโดยมีเมนหูลักอยูดานหนา มีเมนูยอยในสวนเนื้อหาอีกขัน้ตอนหนึ่ง มีการทดสอบความรูพื้นฐานกอนขั้นตอนตอมามีคําชี้แจงวิธีการเรียนรู ตอจากนั้นเปนเมนูผลการเรียนรูที่คาดหวังหรือจดุประสงคการเรียนรู การนําเสนอเนื้อหาโดยผานสารบัญของเรื่องและมีการประเมินผลหลังจากศึกษาเนื้อหาดวย ตอมาเปนเปนแบบทดสอบหลังเรียนพรอมทั้งสามารถประเมินผลและบันทกึผลได ไมควรมีการยายตําแหนงของเมนูหรือปุมตางๆจนเกิดความสับสนแกผูเรียน ขอดแีละขอจํากดัไดใหความเหน็วาผูเรียนสามารถทบทวนเนื้อหาไดตามความถนัดของตนเอง และสามารถสื่อสารจากสิ่งที่เปนนามธรรมไปสูรูปธรรมไดชัดเจน เปนการเนนผูเรียนเปนสําคัญ ยื่นหยุนไดตามศกัยภาพของตนเอง เปนสื่อที่ดีเพราะสามารถบรรจุส่ือไดหลายรูปแบบเขาไวในบทเรียน ขอเสนอแนะอื่นๆเพิ่มเติมคอืควรเนนกระบวนการเรยีนรูใหเปน step by stepและมีการใชตัวอยางanimationเมื่อจําเปน ควรมีการพัฒนาสูระบบonline ดวยและสามารถประเมินผลไดจริงและสามารถบันทึกลงในตัวส่ือไดดวย เนื้อหาเกี่ยวกบัคอมพิวเตอรควรเปนปจจุบนัเพราะมกีารเปลี่ยนแปลงที่รวดเรว็มากควรมีการตดิตามและบรรจุเนื้อหาใหทันสมยัมากทีสุ่ด ควรมกีารหาตวัอยาง แบบสื่อที่ดีมาเปนแนวทางในการพัฒนาซึง่จะชวยใหการพฒันาบทเรียนนาสนใจ (รายละเอียดภาคผนวก ฉ ตารางที่ 12 หนา 151 )

Page 92: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

80

ขั้นตอนที่ 2 ประสิทธิภาพของบทเรยีนคอมพวิเตอรชวยสอน กลุมสาระการเรยีนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี เร่ืองสวนประกอบคอมพิวเตอร ของนักเรียนชวงชัน้ท่ี 2 ผูวิจยัไดดําเนนิการทดลองกบันักเรียนชัน้ประถมศกึษาปที ่ 5 โรงเรยีนพระตาํหนักสวนกุหลาบ มหามงคล อําเภอพทุธมณฑล สํานกังานเขตพื้นทีก่ารศกึษานครปฐม เขต 2 ที่ยงัไมเคยเรยีนสาระการเรียนรูการงานอาชพีและเทคโนโลยี เร่ืองสวนประกอบคอมพวิเตอร จาํนวน 40 คน เมื่อวนัที่ 4-8 กันยายน พ.ศ. 2549 นําผลการทดสอบผูเรียนจากแบบฝกหดัระหวางเรยีนและแบบทดสอบหลังเรียน ทีไ่ดจากการทดลองมาวเิคราะหหาประสิทธภิาพของบทเรยีนตามเกณฑ 80 / 80 โดยใชสูตร E1/E2 ผลการประเมนิดังตารางที่ 9 ตารางที่ 9 แสดงผลสัมฤทธิ์ทางการเรยีนจากบทเรยีนคอมพวิเตอรชวยสอน กลุมสาระการเรียนรูการงาน อาชีพและเทคโนโลย ีเร่ืองสวนประกอบคอมพิวเตอร ของนกัเรยีนชั้นประถมศึกษาปที ่5

คะแนนระหวางเรยีน นักเรียน คนที ่ ตอนที ่1(20) ตอนที ่2(10)

คะแนนรวม (30)

คาเฉลี่ย (X )

คะแนนสอบหลังเรยีน(30)

คาเฉลี่ย (X )

1 19 9 28 93.33 29 96.67 2 17 8 25 83.33 26 86.67 3 18 6 24 80.00 24 80.00 4 19 8 27 90.00 26 86.67 5 17 7 24 80.00 25 83.33 6 16 9 25 83.33 28 93.33 7 17 7 24 80.00 25 83.33 8 16 8 14 80.00 27 90.00 9 18 7 25 83.33 25 83.33 10 19 9 28 93.33 27 90.00 11 17 7 24 80.00 24 80.00 12 19 9 28 93.33 26 86.67 13 17 9 26 86.67 26 86.67 14 18 7 25 83.33 23 76.67 15 16 7 23 76.67 23 76.67 16 18 7 25 83.33 20 66.67 17 17 6 23 76.67 25 83.33

Page 93: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

81

ตารางที่ 9 (ตอ) คะแนนระหวางเรยีน นักเรียน

คนที ่ ตอนที ่1(20) ตอนที ่2(10) คะแนนรวม

(30) คาเฉลี่ย

(X ) คะแนนสอบหลังเรยีน

คาเฉลี่ย (X )

18 16 7 23 76.67 22 73.33 19 15 7 22 73.33 23 76.67 20 14 7 21 70.00 24 80.00 21 19 10 29 96.67 26 86.67 22 15 7 22 73.33 28 93.33 23 17 6 23 76.67 25 83.33 24 17 6 23 76.67 24 80.00 25 16 8 24 80.00 26 86.67 26 13 6 19 63.33 19 63.33 27 17 7 24 80.00 27 90.00 28 14 7 21 70.00 21 70.00 29 17 7 24 80.00 23 76.67 30 17 7 24 80.00 23 76.67 31 16 9 25 83.33 26 86.67 32 16 6 22 73.33 21 70.00 33 18 8 26 86.67 26 86.67 34 17 8 25 83.33 20 66.67 35 18 7 25 83.33 22 73.33 36 17 7 24 80.00 26 86.67 37 16 9 25 83.33 26 86.67 38 16 8 24 80.00 24 80.00 39 16 7 23 76.67 22 73.33 40 16 8 24 80.00 26 86.67

เฉลี่ยรอยละ 80.83 81.58 คาประสิทธิภาพ E1/E2 = 80.83 / 81.58

Page 94: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

82

จากตารางที ่ 9 ผลการวิเคราะหขอมูลปรากฏวา บทเรยีนคอมพวิเตอรชวยสอน กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่องสวนประกอบคอมพวิเตอร ที่ผานการทดลองหาประสทิธิภาพ รอยละของคะแนนเฉลีย่การทดสอบระหวางเรยีน(E1) มีคาเทากับ 80.83 และรอยละของคาคะแนนเฉลี่ยของคะแนนการทดสอบหลังเรยีน (E2) มีคาเทากับ 81.58 แสดงวาบทเรยีนคอมพวิเตอรชวยสอน กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่องสวนประกอบคอมพวิเตอร ของนกัเรียนชัน้ประถมศึกษาปที่ 5 ที่ผูวิจยัสรางขึน้มีประสิทธภิาพ 80.83 / 81.58 เมื่อเทยีบกบัเกณฑ 80 / 80 ปรากฏวาบทเรยีนคอมพวิเตอรชวยสอนที่สรางขึน้มีประสิทธภิาพตามเกณฑที่กําหนด ขั้นตอนที่ 3 ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยีนกอนเรยีนและหลงัเรียนบทเรยีนคอมพวิเตอรชวยสอนกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชพีและเทคโนโลยี เร่ืองสวนประกอบคอมพิวเตอร สาํหรบันกัเรียนชวงชั้นท่ี 2 ชั้นประถม ศึกษาปท่ี 5 ท่ีไดจากกลุมตวัอยาง จํานวน 40 คน ผลการทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรูของนกัเรยีนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 กอนเรยีนและหลังเรยีนดวยบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอน จํานวน 40 คน มีรายละเอยีดดงันี ้ตารางที่ 10 แสดงผลสัมฤทธิ์ทางการเรยีนกอนเรยีนและหลังเรียน

คนที ่ คะแนนกอนเรยีน(X1) คะแนนหลังเรียน(X2) คะแนนความกาวหนา(X2-X1) 1 20 29 9 2 14 26 12 3 15 24 9 4 23 26 3 5 19 25 6 6 18 28 10 7 20 25 5 8 20 27 7 9 20 25 5 10 25 27 2 11 16 24 8 12 24 26 2 13 17 26 9 14 15 23 8 15 21 23 2

Page 95: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

83

ตารางที่ 10 (ตอ) คนที ่ คะแนนกอนเรยีน(X1) คะแนนหลังเรียน(X2) คะแนนความกาวหนา(X2-X1) 16 19 20 1 17 18 25 7 18 15 22 7 19 21 23 2 20 12 24 12 21 25 26 1 22 17 28 11 23 21 25 4 24 21 24 3 25 19 26 7 26 15 19 4 27 16 27 11 28 19 21 2 29 13 23 10 30 18 23 5 31 19 26 7 32 18 21 3 33 22 26 4 34 18 20 2 35 17 22 5 36 16 26 10 37 22 26 4 38 18 24 6 39 15 22 7 40 15 26 11 รวม 763 979 243

Page 96: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

84

ตารางที่ 11 แสดงผลการวิเคราะหการเปรยีบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนกอนและหลังเรียนดวยบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอน การทดสอบ N คะแนนเต็ม X S.D. t กอนเรียน 40 30 18.40 3.15 หลังเรยีน 40 30 24.48 2.36

11.58

t .05 = 1.697 จากตารางที่ 11 การศกึษาผลสมัฤทธิ์ทางการเรียนดวยบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอนกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี เรือ่ง สวนประกอบคอมพวิเตอร จากนกัเรยีน 40 คน พบวาคะแนนผลสัมฤทธิ์กอนเรียนมคีาเฉลี่ย 18.40 และสวนเบีย่งเบนมาตรฐาน 3.15 และคะแนนผลสัมฤทธิ์หลังเรยีนมีคาเฉลี่ย 24.48 และสวนเบีย่งเบนมาตรฐาน 2.36 และเมื่อเปรียบเทยีบผลสัมฤทธิ์กอนและหลังเรยีนโดยใชสถิติ t-test พบวา ผลสัมฤทธิ์หลังเรยีนสูงกวากอนเรียนอยางมนีัยสําคัญที่ระดบั 0.05 (t = 11.58 , df = 39) (รายละเอยีดภาคผนวก ฉ ตารางที่ 17 หนา 170 ) ขั้นตอนที่ 4 ความพึงพอใจของนกัเรียนท่ีมีตอบทเรยีนคอมพิวเตอรชวยสอน กลุมสาระการเรยีนรูการงานอาชพีและเทคโนโลยี เร่ืองสวนประกอบคอมพิวเตอร สาํหรบันักเรียนชวงชั้นท่ี 2 ความพึงพอใจของนักเรียนทมีีตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี เร่ืองสวนประกอบคอมพวิเตอร จํานวน 40 คน มีรายละเอียดดังนี้ ตารางที่ 12 ผลการวิเคราะหความพึงพอใจของนักเรียนทีม่ีตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน

ระดับความคิดเห็น ขอ รายการประเมนิ X S.D แปลผล ลําดับที่

1 บทเรียนเปดโอกาสใหนกัเรยีนไดโตตอบกับโปรแกรม

4.37 0.58 มาก 4

2 นักเรียนมีโอกาสเลือกบทเรียนตามตองการได 4.17 0.84 มาก 11 3 มีคําอธิบายเนือ้หาที่ชัดเจน 4.05 0.87 มาก 17 4 รูปภาพมีความสวยงามตรงกบัเนื้อหา 4.35 0.83 มาก 7 5 ตัวอักษรอานงาย ชัดเจน และสีสันสวยงาม 4.37 0.82 มาก 4 6 ปุมเมนูควบคมุเนื้อหาสวนตางๆ ใชงานงาย 4.20 0.72 มาก 10 7 สามารถเลือกเรียนไดดวยตนเองตามความ

ตองการ 4.37 0.70 มาก 4

Page 97: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

85

ตารางที่ 12 (ตอ) ระดับความคิดเห็น ขอ รายการประเมนิ

X S.D แปลผล ลําดับที่ 8 การใหขอมูลยอนกลับชวยใหนักเรยีนเขาใจ

บทเรียนมากขึน้ 4.42 0.67 มาก 3

9 จัดลําดับเนื้อหาในแตละบทเรียนไดเหมาะสม 4.57 0.50 มากที่สุด 1 10 ความยากงายของเนื้อหาเหมาะสมกับนักเรียน 4.15 0.69 มาก 14 11 แบบทดสอบมีความสอดคลองกับเนื้อหาใน

บทเรียน 4.32 0.69 มาก 8

12 นักเรียนมีความกลาเพิ่มขึ้นที่จะเลือกคําตอบดวยตนเอง

4.17 0.87 มาก 11

13 คอมพิวเตอรทาํใหนกัเรียนเขาใจบทเรียนไดงายยิ่งขึ้น

4.12 0.85 มาก 15

14 เนื้อหาสามารถนําไปใชในชวีิตประจําวันได 4.30 0.75 มาก 9 15 นักเรียนมีความสุขกับการเรียนโดยใชบทเรียน

คอมพิวเตอรชวยสอน 4.17 0.90 มาก 11

16 นักเรียนศึกษาเนื้อหาเรื่องตางๆไดนานโดยไมรูสึกเบื่อ

3.67 1.20 มาก 19

17 นักเรียนตองการใหเพื่อนหองอ่ืนมีโอกาสเรียนแบบนักเรยีนบาง

3.90 1.00 มาก 18

18 นักเรียนมีความสุขกับการเรียนดวยวิธีนี้มากกวาเรียนกับคร ู

4.52 0.78 มากที่สุด 2

19 นักเรียนตองการเรียนโดยมคีรูสอนตามปกติ 3.10 1.17 ปานกลาง

20

20 นักเรียนเกดิความวิตกกังวลเมื่อตองเรียนโดยใชส่ือคอมพิวเตอร

4.07 1.18 มาก 16

รวม 4.19 0.90

Page 98: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

86

จากตารางที่ 12 พบวา ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เร่ืองสวนประกอบคอมพิวเตอร ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 โดยภาพรวมความพึงพอใจอยูในระดับมาก ( X = 4.19 , SD=0.90 )เนื่องจากเนื้อหาของบทเรียนมีความเขาใจงาย ผูเรียนมีความสุขในการใชส่ือคอมพิวเตอรชวยสอน สามารถยอนกลับเพื่อทบทวนเนื้อหาที่ตองการเรียนรูไดอยางอิสระตามความตองการของตนเอง (รายละเอียดภาคผนวก ฉ ตารางที่ 18 หนา 172 ) โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1. ขอที่นักเรยีนมีความพึงพอใจตอบทเรยีนคอมพวิเตอรชวยสอนอยูในระดับมากทีสุ่ดไดแกการจัดลําดับเนื้อหาในแตละบทเรียนไดเหมาะสม( X =4.57,SD=0.50) รองลงมาคือ นักเรียนมีความสุขกับการเรียนดวยวิธีนี้มากกวาเรียนกับครู( X =4.52,SD=0.78) 2. ขอที่นักเรยีนมีความพึงพอใจตอบทเรยีนคอมพวิเตอรชวยสอนอยูในระดับมากไดแก การใหขอมูลยอยกลับชวยใหนักเรยีนเขาใจบทเรียนมากขึ้น(( X =4.42,SD=0.67)บทเรยีนเปดโอกาสใหนกัเรียนไดโตตอบกับโปรแกรม(X =4.37 , SD=0.58) ตัวอักษรอานงายชัดเจน(X =4.37 , SD=0.82) สามารถเลือกบทเรียนไดดวยตนเองตามความตองการ( X =4.37,SD=0.70) รูปภาพมีความสวยงามตรงกับเนื้อหา (X =4.17 , SD=0.84) แบบทดสอบมีความสอดคลองกับเนื้อหาในบทเรียน(X =4.32 , SD=0.69)เนื้อหาสามารถนําไปใชในชวีิตประจําวันได( X =4.30,SD=0.75)ปุมเมนูควบคุมเนื้อหาสวนตางๆใชงานงาย( X =4.32 , SD=0.72) นักเรียนมีโอกาสเลือกบทเรียนไดตามความตองการ( X =4.17 , SD=0.84)นักเรียนมีความกลาเพิ่มขึ้นที่จะเลือกคําตอบดวยตนเอง( X =4.17 , SD=0.87) นักเรยีนมีความสุขกับการเรียนโดยใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน( X =4.17,SD=0.90) ความยากงายของเนื้อหาเหมาะสมกับนักเรียน( X =4.15,SD=0.69) คอมพิวเตอรทําใหนกัเรียนเขาใจบทเรียนไดงายขึ้น( X =4.12,SD=0.85)นักเรยีนเกดิความวติกกังวลเมื่อตองเรียนโดยใชบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอน( X =4.07,SD=1.18) มีคําอธิบายเนื้อหาชัดเจน( X =4.05,SD=0.87)นักเรยีนตองการใหเพือ่นหองอื่นมีโอกาสเรียนแบบนักเรยีนบาง( X =3.90,SD=1.00) นักเรียนศึกษาเนื้อหาเรื่องตางๆไดนานโดยไมรูจักเบื่อ( X =3.67,SD=1.20) 3. ขอที่นักเรยีนมีความพึงพอใจตอบทเรยีนคอมพวิเตอรชวยสอนอยูในระดับปานกลางไดแก นักเรยีนตองการเรียนโดยมีครูสอนตามปกติ( X =3.10,SD=1.17) ผลจากการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถามความพึงพอใจแบบปลายเปด เปนการแสดงความคิดเหน็เพิม่เติมที่มีตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน สรุปไดวานักเรียนมีความพึงพอใจมากและเห็นประโยชนของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เพราะบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนมีเนื้อหาของบทเรียนเขาใจงายมีรูปประกอบตรงกับเนื้อหา มีความสุขขณะใชส่ือคอมพิวเตอรชวยสอน ผูเรียนสามารถยอนกลับเพื่อทบทวนเนื้อหาที่ตองการเรียนรูไดอยางอิสระตามความตองการของตนเอง

Page 99: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

บทท่ี 5

สรุปผล อภปิรายผล และขอเสนอแนะ

การวิจัยเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี เร่ืองสวนประกอบคอมพิวเตอร สําหรับนักเรียนชวงชั้นที่ 2 มีวัตถุประสงคการวิจัย ดังนี้ 1. เพื่อพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี เร่ือง สวนประกอบคอมพิวเตอร สําหรับนักเรียนชวงชั้นที่ 2 และหาประสิทธิภาพตามเกณฑ

2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี เร่ือง สวนประกอบคอมพิวเตอรระหวางกอนเรียน(Pretest) และหลังเรียน(Posttest) 3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เรื่อง สวนประกอบคอมพิวเตอร ตัวแปรที่ศึกษา 1. ตัวแปรอิสระ วิธีสอนโดยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ตามเนื้อหาหลักสูตร การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 สาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง สวนประกอบคอมพิวเตอร ช้ันประถมศึกษาปที่ 5 2. ตัวแปรตาม ไดแก 2.1 ผลสัมฤทธิ์การเรยีนที่เรียนโดยบทเรยีนคอมพวิเตอรชวยสอน เร่ืองสวนประกอบ คอมพิวเตอร 2.2 ความพึงพอใจของนกัเรียนที่มีตอบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอน เร่ือง สวนประกอบคอมพิวเตอร ระยะเวลาที่ใชในการศึกษาคนควา การวิจัยคร้ังนี้ดําเนินการทดลองในภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2549 ระยะเวลา 2 คาบ ๆ ละ 60 นาที โดยใหผูเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน แลวใหผูเรียนเรียนบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนทําแบบฝกหัดระหวางเรียน ทําแบบฝกหัดหลังเรียนและทําแบบวัดความพึงพอใจที่มีตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนหลังจากเรียนเนื้อหา

87

Page 100: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

88

ประชากรและกลุมตัวอยาง 1. ประชากร เปนนักเรยีนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2549 โรงเรียนพระตําหนักสวนกหุลาบ มหามงคล สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษานครปฐม เขต 2 จํานวน 6 หองเรียน จํานวนนักเรยีน 240 คน 2. กลุมตัวอยาง เปนนักเรียนชั้นประถมศกึษาปที่ 5 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2549 โรงเรียนพระตําหนักสวนกหุลาบ มหามงคล สํานักงานเขตพื้นทีก่ารศึกษานครปฐม เขต 2 โดยการทําการสุมแบบยกหองเรยีน (Cluster Random Sampling) จํานวน 1 หองเรียน จํานวน นักเรียน 40 คน เคร่ืองมือท่ีใชในการวิจัย 1. บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี เร่ือง สวนประกอบคอมพิวเตอร สําหรับนักเรียนชวงชัน้ที่ 2 2. แบบทดสอบวัดผลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคอมพวิเตอร เร่ืองสวนประกอบคอมพิวเตอร นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 จํานวน 30 ขอ 3. แบบวัดความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เร่ือง สวนประกอบคอมพิวเตอร วิธีดําเนินการทดลอง 1. ช้ีแจงวิธีการเรียนบทเรียบคอมพิวเตอรชวยสอน กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี เร่ืองสวนประกอบคอมพวิเตอร 2. ดําเนินการทดลอง โดยการกําหนดใหกลุมตัวอยางนั่งเรียนดวยคอมพิวเตอร 1 คน ตอ 1 เครื่อง จากนั้นกลุมตวัอยางทําแบบทดสอบกอนเรียน(Pretest) เพือ่วัดความรูพืน้ฐานเรื่องสวนประกอบคอมพิวเตอร เสร็จแลวศึกษาเนื้อหาหนวยที่ 1 หลังจากนั้นทําแบบทดสอบระหวางเรียนของเนื้อหาหนวยที่ 1 ใชเวลาทดลอง 1 คาบ ๆ ละ 60 นาที 3. ดําเนินการทดลองคาบที่ 2 โดยใหนักเรียนศึกษาเนื้อหาหนวยที่ 2 หลังจากนั้นทําแบบทดสอบระหวางเรียนของเนื้อหาหนวยที่ 2 จากนั้นทําแบบทดสอบหลังเรียน(Posttest) ใชเวลา 1 คาบ ๆ ละ 60 นาที 4. ใหนกัเรียนตอบแบบวัดความพึงพอใจทีม่ีตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเรื่องสวนประกอบคอมพิวเตอร

Page 101: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

89

การวิเคราะหขอมูลและสถิติท่ีใช 1. วิเคราะหเพื่อหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนตามเกณฑ 80/80 โดยใชสูตร E1 / E2

2. ทดสอบความแตกตางของคะแนนวดัผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนกอนและหลังเรียนของกลุมตัวอยาง โดยใชสถิต ิ t-test แบบ Dependent Sample 3. วิเคราะหคาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน สรุปผลการวิจัย การวิจยัเร่ืองการพัฒนาบทเรยีนคอมพวิเตอรชวยสอนกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี เร่ืองสวนประกอบคอมพวิเตอร สําหรบันักเรียนชวงชั้นที่ 2 สรุปผลการวิจัยดังนี ้ 1. ความคิดเห็นของผูเชีย่วชาญที่มีตอการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนพบวา ผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหาตองการใหบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนมกีารสอบความรู เพื่อเปนการโยงไปสูเนื้อหา มีการชี้แจงจุดประสงคในการเรียนเพื่อใหผูเรียนทราบถึงจุดหมายปลายทาง มีการกระตุนใหผูเรยีนไดแสดงออกในเนื้อหาทีจ่ะเรียน รูปแบบของแบบฝกหัดควรมทีั้งภาพและเสียงเพื่อทําใหเด็กเกิดการกระตือรือรนในการเรยีนรู มีการใหผูเรียนไดฝกปฏิบัติจากของจริง ฝกใหมีการทํางานเปนกลุมเพื่อฝกภาวะการเปนผูนํา ผูเรียนสามารถกลับมาทบทวนในสวนที่ไมเขาใจได ควรมีการนําของจริงมาประกอบการสอนเพื่อใหผูเรียนสามารถจับตองได ฝกใหมีการปฏิบัติจริงและมีการทําซํ้าเพื่อใหเกิดความรูและเพิ่มประสบการณ การตัดสินผูเรียนควรมกีารทดสอบโดยการปฏิบัติจริง แบบทดสอบควรเปนลักษณะของการเลือกตอบและมกีารใชคารอยละหรือมาตราสวนประเมินคาเพือ่สรุปผลการทดสอบ ในสวนของขอดีเปนสื่อที่ผูเรียนสามารถเรียนรูไดดวยตนเอง เรียนรูไดตลอดเวลา มีความคงทน เปนการสนองความสามารถของแตละคน แตมีขอเสียคือมีราคาสูงและเสียเวลาในการจดัทํามาก ผูเรียนตองมีเครื่องคอมพิวเตอรจึงจะสามารถใชได ในสวนของขอเสนอแนะผูเชี่ยวชาญมีความเหน็วา ควรจัดทําส่ือใหตรงกับเนื้อหาที่จะสอนและใชเวลาไมมาก จัดทําเนื้อหาเปนหนวยเล็กๆ และประเมนิประสิทธิภาพกอนนําไปใชพรอมทั้งควรจัดทําคูมือการใชประกอบดวย ผูเชี่ยวชาญดานสื่อคอมพิวเตอรชวยสอนใหความเหน็วาบทเรียนสามารถโตตอบกับผูเรียนได ผูเรียนสามารถควบคุมบทเรียนไดดวยตนเอง การออกแบบบทเรียนควรตรงกับวัตถุประสงค มีการประเมนิผูเรียนเปนระยะตามเนื้อหา มัลติมีเดียมีความสําคัญและควรนํามาใชประกอบการจดัทํา ในดานของแบบฝกหัดควรเปนแบบปรนัยหรือถามตอบและใหสอดคลองกับจุดประสงคของการเรียนรู มีการวางเมนใูหเปนขั้นตอนโดยใหเมนหูลักอยูดานหนาและมีเมนยูอย

Page 102: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

90

ในสวนของเนือ้หาอีกขั้นตอนหนึ่ง ในการทดสอบตองสามารถประเมินผลและบันทึกผลลงในสื่อได ในดานขอเสนอแนะอื่นๆ ไดใหความเห็นวาเนื้อหาควรเปนปจจุบนั 2. ประสิทธิภาพของบทเรยีนคอมพวิเตอรชวยสอนกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่องสวนประกอบคอมพวิเตอร ของนักเรียนชวงชั้นที่ 2 เทากับ 80.83 / 81.58 ซ่ึงมีประสิทธิภาพสูงกวาเกณฑที่กําหนดไว 3. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียนและหลังเรียนที่เรยีนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลย ี เร่ืองสวนประกอบคอมพิวเตอร ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที ่ 5 พบวาแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยคาคะแนนผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนหลังเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน( X =24.48,SD=2.36)สูงกวากอนเรียนดวยบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอน( X =18.40,SD=3.15) และคา t ที่คํานวณได (t = 11.58) มีคามากกวาคาวิกฤตที่กําหนดไว (t จากตารางที่ระดบั α .05 , df = 39 , t = 1.697 ) กลาวคือ คะแนนหลังการเรียนดวยบทเรยีนคอมพวิเตอรชวยสอนสูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4. ความพึงพอใจของนักเรยีนที่มีตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี เร่ืองสวนประกอบคอมพวิเตอร ของนกัเรียนชัน้ประถมศึกษาปที่ 5 พบวานกัเรียนมีความคิดเหน็มีความคิดเหน็อยูในระดับมาก( X = 4.19 , SD=0.90 ) การอภิปรายผลการวิจัย การวิจยัเร่ืองการพัฒนาสื่อคอมพิวเตอรชวยสอน กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี เร่ืองสวนประกอบคอมพวิเตอร สําหรับนักเรียนชวงชั้นที่ 2 สามารถนําไปสูการอภิปรายผลดังนี้ 1. ดานการพฒันาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน จากการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง สวนประกอบคอมพวิเตอร สําหรับนักเรียนชวงชั้นที่ 2 โดยการสัมภาษณผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหาและดานคอมพิวเตอรชวยสอนทําใหไดแนวทางในการสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนดังนี้ ดานเนื้อหาในหัวขอของการนําเขาสูบทเรียนตองการใหมีการทดสอบความรูเกี่ยวกับคอมพิวเตอรเพื่อเปนการเชือ่มโยงไปสูเนือ้หา มีการชี้แจงจุดประสงคในการเรยีน เนื้อหา เพื่อใหผูเรียนทราบถึงจุดหมายปลายทาง มีการกระตุนใหนักเรียนแสดงออกในเนื้อหาทีจ่ะเรียนสอดคลองกับถนอมพร เลาหจรัสแสง(2543:43) กลาววา การบอกวัตถุประสงคแกผูเรียนเปนสิ่งสําคัญชวยใหผูเรียนทําความเขาใจเนื้อหาไดดีขึ้น ดานรูปแบบของฝกหัดควรเปนสื่อคอมพิวเตอรชวยสอน

Page 103: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

91

เพราะมีทั้งภาพและเสียง ทําใหเดก็กระตือรือรนในการเรียนรู ควรใหผูเรียนฝกปฏิบัติจากอุปกรณจริง ผูเรียนสามารถกลับมาทบทวนในสวนที่ไมเขาใจได ฝกใหมีการทํางานเปนกลุมเพื่อฝกภาวะการเปนผูนํา ดานลักษณะของวิธีการสอนเพื่อใหผูเรียนรูจักลักษณะของอุปกรณแตละประเภทนั้น ผูเชี่ยวชาญใหความเหน็วา ควรนําส่ือของจริงมาใชประกอบการสอนเพื่อใหผูเรียนสามารถจับตองไดและควรแยกเปนประเภทๆ ควรมีการฝกปฏิบัติจริงและทําซ้ําเพื่อใหเกิดความรูและเพิม่ประสบการณของผูเรียน เกณฑการตัดสินผูเรียน ควรมกีารทดสอบโดยการฝกปฏบิัติจริงแบบทดสอบควรเปนลักษณะการเลือกตอบ,ปรนัย ใชคารอยละหรือมาตราสวนประเมินคาการทดสอบและสรุปวาทําไดหรือไมได กําหนดเปนเกณฑการประเมินโดยใชแบบทดสอบ ดานขอดีผูเชี่ยวชาญใหความเหน็วาคอมพิวเตอรชวยสอนเปนสื่อที่ผูเรียนสามารถเรียนไดดวยตนเอง เรียนรูไดตลอดเวลา มีความคงทน สะดวกในการใช เปนการสนองตอความสามารถของแตละคน สามารถเลือกเรียนไดตามความสามารถ ซ่ึงถนอมพร เลาหจรัสแสง(2543 : 12,35) กลาวถึงประโยชนของคอมพิวเตอรชวยสอนวา ผูเรียนสามารถนําคอมพิวเตอรชวยสอนไปใชในการเรียนดวยตนเองในเวลาและสถานที่ซ่ึงผูเรียนสะดวก ดานขอเสียคือส่ือคอมพิวเตอรชวยสอนมีราคาสูงและเสียเวลาในการจัดทํามาก ผูเรียนตองมีเครื่องคอมพิวเตอรจึงจะสามารถใชได ในดานขอเสนอแนะอื่นๆ ไดใหความเหน็วาควรจัดทําส่ือใหตรงกับเนื้อหาที่จะสอนและใชเวลาไมมากนัก ผูวิจัยไดมีการประเมินประสทิธิภาพของสื่อและจัดทําคูมอืการใชตามคาํแนะนําของผูเชี่ยวชาญ การประเมินและแกไขการออกแบบวามีความสําคัญมากในการออกแบบบทเรียนอยางมีระบบ การประเมินนัน้เปนสิ่งที่จะตองทําอยูเร่ือยเปนระยะๆ ระหวางการออกแบบไมใชหลังจากการออกแบบโปรแกรมเสร็จแลวเทานั้น หลังจากการออกแบบแลวจึงควรที่จะมีการประเมินโดยผูเชีย่วชาญเนื้อหา ผูเชี่ยวชาญการออกแบบและโดยผูเรียนซักรอบหนึ่งเสียกอน ผูวิจัยไดมีการออกแบบการจัดทําเปนหนวยเล็กๆ มีเนือ้หาไมมากเกนิไปตามคําแนะนําของผูเชีย่วชาญซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของศรีธนา คุมทรัพย(2546 : 70) ไดทําการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เร่ืองกลวยและการแปรรูป กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี พบวา เนื้อหาของบทเรียนควรจดัเปนหนวยยอยๆ หลายหนวยเพือ่ใหผูเรียนเลือกบทเรียนที่ตองการเรียนกอน-หลัง ภายใตการควบคมุของโปรแกรม และการดูแลของครูผูสอน ในดานผูเชี่ยวชาญดานสื่อคอมพิวเตอรชวยสอนใหความเหน็ลักษณะของบทเรยีนคอมพิวเตอรชวยสอนวาควรมีการใช Interactive สามารถโตตอบกับผูเรียนได มีความนาสนใจในแงของวิธีการนําเสนอกับผูเรียน ผูเรียนสามารถควบคุมบทเรียนหรือทิศทางในการเรียนของตนเองได และงานวิจัยของ นิศากร ตั้งสกลุ (2547:3) ไดทําการวจิัยโดยการสรางบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอนในวิชาสุขศึกษา เร่ือง วัยแรกรุน สําหรับนักเรยีนชัน้ประถมศึกษาปที่ 5 โรงเรียนอํานวยศิลปธนบุรี กรุงเทพมหานคร พบวาคอมพวิเตอรชวยสอนเปน

Page 104: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

92

ตัวอยางทีด่ีของสื่อการศึกษาในลักษณะตวัตอตัว โดยใหผูเรียนเกิดการเรียนรูจากการปฏิสัมพันธ หรือการโตตอบพรอมทั้งการไดรับผลปอนกลับ (Feed back)อยางสม่ําเสมอกับเนือ้หาและกิจกรรมตางๆ มีการออกแบบหนาจอที่ดีส่ือความหมายตรงกับวตัถุประสงค ใหเห็นภาพในลักษณะของ 3 มิติสามารถหมุนดูได มกีารประเมินผลการเรียนรูเปนระยะตามเนือ้หา มีกิจกรรมใหตอบเพื่อประเมินแตละสวนได บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนควรมีการผสมผสานแบบTutorial และแบบเกม เพื่อใหเหมาะสมกบัผูเรียน ในดานของการนํามัลติมีเดียมาใชใหความเห็นวาใหมกีารนํามัลติมีเดียมาใชในการอธิบายหรือสมมติสถานการณ มัลติมีเดียมีความจําเปนอยางมากเพื่อใหผูเรียนไดเรียนรูและรับรูไดเสมือนวาไดจับตอง มีความเหมาะสมมากเพราะผูเรียนในระดับชั้นประถมยังตองการความสนุกสนาน ความนาสนใจ ความเราใจ ในสวนของแบบฝกหัดควรเปนแบบปรนยัหรือถามตอบซึ่งขึ้นอยูกับความเหมาะสมของเนื้อหาหรอืใชวิธีจับคู เพื่อเปนการฝกทักษะอกีทางหนึ่ง เปนลักษณะภาพเสมือนแสดงสถานการณจําลองได แบบฝกควรมีความสอดคลองกับจุดประสงค ลักษณะของการวางเมนูนัน้ใหวางเปนขั้นตอนโดยมีเมนหูลักอยูดานหนา มีเมนยูอยในสวนเนื้อหาอีกขั้นตอนหนึ่ง มีการทดสอบความรูพื้นฐานกอนขั้นตอนตอมามีคําชี้แจงวิธีการเรียนรู ตอจากนั้นเปนเมนูผลการเรียนรูที่คาดหวังหรือจุดประสงคการเรียนรู การนําเสนอเนื้อหาโดยผานสารบัญของเรื่องและมีการประเมินผลหลังจากศึกษาเนื้อหาดวย ตอมาเปนเปนแบบทดสอบหลังเรียนพรอมทั้งสามารถประเมินผลและบันทึกผลได ไมควรมีการยายตําแหนงของเมนูหรือปุมตางๆจนทําใหผูเรียนเกิดความสับสน ดานขอดีและขอจํากดัไดใหความเห็นวาผูเรยีนสามารถทบทวนเนื้อหาไดตามความถนัดของตนเอง และสามารถสื่อสารจากสิ่งที่เปนนามธรรมไปสูรูปธรรมไดชัดเจน เปนการเนนผูเรียนเปนสําคัญ ยืดหยุนไดตามศกัยภาพของตนเอง เปนสื่อที่ดีเพราะสามารถบรรจุส่ือไดหลายรูปแบบเขาไวในบทเรียน ขอเสนอแนะอื่นๆเพิ่มเติมคือควรเนนกระบวนการเรียนรูใหเปนแบบ step by stepและมีการใชตัวอยาง animationเมื่อจําเปน ควรมีการพัฒนาสูระบบonline สามารถประเมินผลไดจริงและสามารถบันทึกลงในตัวส่ือได เนื้อหาเกีย่วกับคอมพิวเตอรควรเปนปจจุบนัเพราะเทคโนโลยีคอมพิวเตอรมีการเปลีย่นแปลงที่รวดเรว็ควรมกีารตดิตามและบรรจุเนื้อหาใหทนัสมยัมากที่สุด ควรมกีารหาตวัอยาง แบบสื่อที่ดีมาเปนแนวทางในการพัฒนาซึง่จะชวยใหการพัฒนาบทเรียนนาสนใจ ผูวิจยัไดดําเนนิการศึกษาเนือ้หาและพัฒนาสื่อคอมพิวเตอรชวยสอนใหเปนไปตามคําแนะนําของผูเชี่ยวชาญ เพื่อใหเกดิประโยชนในการพัฒนาบทเรียน สวนคําแนะนําของผูเชี่ยวชาญดานสื่อคอมพิวเตอรชวยสอนใหมีการนําโปรแกรม3D มาใชในการจัดทาํส่ือคอมพิวเตอรชวยสอนนัน้ ผูวิจัยไดทําการศึกษาคนควาการทํางานของโปรแกรมดังกลาวและสํารวจประสิทธิภาพของเครื่องคอมพิวเตอรในหองเรียน พบวาเปนเครื่องคอมพิวเตอรที่ใชอยูสวนประกอบของอุปกรณ

Page 105: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

93

ฮารดแวรและซอฟตแวรที่แตกตางกันมาก เนือ่งจากการจดัซ้ือไมพรอมกันจึงทําใหเครื่องคอมพิวเตอรมอุีปกรณไมเหมือนกันตามการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี ทําใหประสิทธิภาพและการประมวลผลแตกตางกันและอยูในระดับต่ํา ซ่ึงเหมาะกับการใชประกอบการเรียนการสอนในระดับชั้นประถมศึกษาที่ไมตองการประสิทธิภาพการประมวลผลที่สูง ไมสามารถนํามาใชกับโปรแกรมที่ตองการประสิทธิภาพในการประมวลผลทางดานกราฟกสูง เชน โปรแกรม 3 D ได และอาจทําใหเกิดปญหาในการนําไปใชงานจริงได ววิัฒน อุดมปตทิรัพย (2547 :2-3)ไดช้ีแจงถึงลักษณะของเครื่องคอมพิวเตอรที่จะนํามาใชกับโปรแกรม 3D วา ควรใช CPUประเภท Pentium III ,IV, AMD Processor ที่ 500 MHz เปนอยางนอย และควรมี RAM ไมต่ํากวา 512 MB เพื่อใหสามารถทํางานได สวนการดแสดงผลบนหนาจออยางนอยควรแสดงผลได 1024 x 768x16 bit แตที่แนะนําควรที่จะใชการดแสดงผลที่รอบรับงานดาน 3 มิติ และสามารถใชกับ DirectX 9 (อยางนอย Direct X 9) หรือOpenGL กับความละเอียดที่ 1280x1024x32 bit และการดแสดงผลควรมี memory ไมนอยกวา 64 MB ก็จะทําใหการทํางานนั้นมีประสิทธิภาพ งานวิจัยของ ศรีธนา คุมทรัพย (2546:70) ใหขอเสนอแนะวาในการสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนมีโปรแกรมที่สามารถนํามาสรางไดหลายโปรแกรม ดังนั้นกอนทีจ่ะสรางบทเรียนจึงควรศึกษาศกัยภาพของโปรแกรมเหลานัน้วามีความสามารถเหมาะสมมากนอยเพียงใดกับบทเรยีนที่ออกแบบไว เพราะจะไดไมมีปญหาเวลานําโปรแกรมไปใชกับเครื่องคอมพิวเตอรทัว่ไป 2. ประสิทธิภาพของบทเรยีนคอมพวิเตอรชวยสอนกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี เร่ือง สวนประกอบคอมพวิเตอร สําหรับนักเรียนชวงชั้นที่ 2 โรงเรียนพระตําหนกัสวนกุหลาบ มหามงคล สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศกึษานครปฐม เขต 2 มีประสิทธิภาพเทากบั 80.83 / 81.58 เมื่อเทยีบกบัเกณฑ 80/80 ปรากฏวาบทเรยีนคอมพวิเตอรชวยสอนที่สรางขึ้นมีประสิทธภิาพตามเกณฑที่กําหนดซึ่งสอดคลองกับผลการวิจยัของสุธีรพันธ สักการเวช(2541 : 83) ไดวิจยับทเรยีนคอมพิวเตอรชวยสอน เร่ืองการพัฒนาบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอน วิชาพื้นฐานคอมพิวเตอร สําหรับนักเรียนชั้นประถมศกึษาปที่ 6 โรงเรียนเสนานคิม เขตจตุจกัร กรุงเทพฯ ผลการทดลองพบวาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนดังกลาวมีประสิทธิภาพ 80.00 / 80.89 ธนากร ศรีโฉม(2543: 33)ไดทําการวจิัยเร่ืองการสรางบทเรียนโปรแกรม วิชาคอมพิวเตอร เร่ืองความรูเบื้องตนเกี่ยวกบัการใชโปรแกรมวินโดวส 95 สําหรับนักเรียนชัน้ประถมศึกษาปที่ 5โรงเรียนชุมชนบานแกงครอหนองไผ อําเภอแกงครอ จังหวัดบุรีรัมย ผลการศึกษาพบวาประสิทธิภาพของโปรแกรมเทากับ 97.07/87.55 สมใจ สืบเสาะ (2544: บทคัดยอ) ไดทําการวิจยัเร่ือง การพัฒนาและหาประสิทธิภาพบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนระบบไฮเปอรมีเดีย วิชาคอมพิวเตอรเบือ้งตน ผลการทดสอบหาประสิทธิภาพของบทเรียนพบวามีประสิทธิภาพ 91.86/89.90 ศรีธนา คุมทรัพย (2546:68)ไดทํา

Page 106: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

94

การวิจยัเร่ืองการพัฒนาบทเรยีนคอมพวิเตอรชวยสอน เรื่องกลวยและการแปรรูป กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี โรงเรียนนนทบุรีพทิยาคม พบวาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนกลุมตัวอยางผูใชบทเรียนไดคะแนนเฉลี่ยของแบบทดสอบระหวางเรียนและแบบทดสอบทายบทเรียน 83.33/85.33 ซ่ึงสูงกวาเกณฑที่ตั้งไวและไดใหเหตุผลที่วาสาเหตุที่ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของกลุมตัวอยางดงักลาวสูงกวาเกณฑเนื่องมาจากประการแรก การสรางและพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนไดดําเนินการตามวิธีสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนอยางเปนระบบ โดยมีการศึกษาและวิเคราะหเนื้อหาทีจ่ะสราง กําหนดจดุประสงคเชิงพฤติกรรม ดําเนินการสรางและพัฒนา ทดสอบ ปรับปรุงกับกลุมยอยแลวจึงนําไปทดลองจริง ซ่ึงสอดคลองกับขั้นตอนการดําเนินงานของผูวิจัยที่ไดจดัสรางสื่อคอมพิวเตอรชวยสอน โดยไดดําเนินการศึกษาวจิัยตามหลักการวจิัยและพัฒนา มกีารวางแผนดําเนินการสราง แกไข ปรับปรุง ไดรับการประเมินจากผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหาและผูเชีย่วชาญดานบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอน มีการนําไปทําการทดลองเพื่อหาประสิทธิภาพของสื่อกบักลุมทดลองเพื่อหาขอบกพรองตางๆ เมื่อผูวิจยัไดดําเนินการปรับปรุงแลวไดนําไปใชในการทดลองจริงกับกลุมตัวอยาง 40 คน ซ่ึงจากการทดลองพบวาส่ือคอมพิวเตอรชวยสอนมีประสิทธิภาพสูงกวาเกณฑที่กําหนดไว(80.83 / 81.58) เนื่องจากบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเปนสื่อการเรียนรูที่ผูเรียนสามารถเรียนไดตามความสามารถและความตองการของผูเรียนแตละคน มีการจัดลําดับเนือ้หาเปนลําดับขั้นตอนยอยๆ ในรูปแบบของกรอบ ผูเรียนมีอิสระในการควบคุมการเรยีนของตนเอง จึงทําใหผูเรยีนมีความสนใจและเกิดความอยากรูอยากเหน็ ตัวบทเรียนมีทั้งขอความ รูปภาพ เสียง แบบฝกหัด ซ่ึงสอดคลองกับแนวคิดของ พรเทพ เมืองแมน (2544 : 16) ที่กลาววาการใชคอมพิวเตอรเปนสื่อเพื่อชวยในการนาํเสนอเนื้อหาที่นาสนใจและใหผลการเรียนรูที่ดียิ่งขึ้น เพราะคอมพิวเตอรสามารถนําเสนอในลักษณะของสื่อประสม(Multimedia) โดยสามารถนําเสนอไดทั้งขอความ กราฟก ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และเสียง นอกจากนี้ในบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนยังไดภาพเคลื่อนไหวมาใชคอนขางมากซึ่งเหมาะกับวยัของผูเรียน มีคําอธิบายและรูปภาพประกอบ มีกิจกรรมใหผูเรียนไดปฏิบัติอยูตลอดเวลา เชนมีการทําแบบทดสอบกอนเรียนเพื่อใหผูเรียนทราบถึงพื้นฐานความรูของตนเอง นอกจากนีห้ลังจากศึกษาเนื้อหาของแตละตอนแลวยังมีแบบฝกหัดวัดผลสัมฤทธิ์เพื่อใหผูเรียนทราบความกาวหนาในการเรียนรูของตนเองดวย ผูเรียนสามารถคลิกเลือกศึกษาเนื้อหาตามความตองการของตนเองไดตลอดเวลาซึ่งไดตรงกับแนวคิดของ ถนอมพร เลาหจรัสแสง(2541 : 12)ที่กลาววา รากลึกของคอมพิวเตอรชวยสอนนัน้เกดิจากโปรแกรม จากบทเรียน โปรแกรมที่มีเพยีงตัวหนงัสือหรือภาพประกอบ ไดพัฒนามาเปนคอมพิวเตอรชวยสอนในรูปของมัลติมีเดีย ที่มีสีสัน ชีวิตชีวา การตอบสนองความตื่นเตนเราใจดวยส่ือหลากหลายชนิดทั้งที่เปนภาพนิ่ง กราฟก ภาพเคลื่อนไหว

Page 107: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

95

รูปแบบตัวหนงัสือ และเสียงประกอบ จึงทําใหคอมพิวเตอรชวยสอนมีความสมบูรณในตวัเอง ตอบสนองความสนใจ ความตองการของผูใชไดตลอดเวลา และขอไดเปรียบทีสํ่าคัญอีกขอของส่ือคอมพิวเตอรชวยสอนคือถาส่ือที่ไดรับการออกแบบเปนอยางดี ถูกตองตามหลักการออกแบบนั้นจะสามารถจูงใจผูเรียนใหเกิดความกระตือรือรนที่จะเรียน และมีความสนุกสนานไปกับการเรียนตามแนวคิดของการเรียนรู ดวยเหตุผลดังกลาวจึงทําใหบทเรยีนคอมพวิเตอรชวยสอนกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี เร่ืองสวนประกอบคอมพิวเตอร สําหรับนักเรียนชวงช้ันที่ 2 สามารถนําไปใชประกอบการสอนในกลุมสาระการเรียนรูดังกลาวไดอยางมีประสิทธิภาพ 3. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนดวยบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอนกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่องสวนประกอบคอมพิวเตอร สําหรับนักเรียนชวงช้ันที่ 2 พบวานักเรียนที่เรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน มีคาคะแนนหลงัการเรียน( X = 24.48) สูงกวาคาเฉลี่ยคะแนนกอนเรยีน( X = 18.40) คาความกาวหนาเทากับ 243 และคา t คํานวณ (11.58) มีคามากวาคาวิกฤตที่กําหนดไว (t ตาราง = 1.697) อยางมีนยัสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เนื่องจากบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนไดผานกระบวนการหาประสิทธิภาพหลายขั้นตอนจนมีความเหมาะสม ทําใหผูเรียนมีความเขาใจเนื้อหามากขึน้ ในดานแบบทดสอบไดผานการตรวจสอบคุณภาพโดยการหาคาความสอดคลอง ตรวจสอบความเที่ยงตรงของเนื้อหา ความเหมาะสมของการใชภาษา การหาคาความยากงาย(P) มีคาระหวาง 0.20-0.80 และคาอํานาจจําแนก(D)มีคาตั้งแต 0.20-0.80 คาความเชื่อมั่น 0.90 ของแบบทดสอบที่เหมาะสมกอนนําไปใช ทําใหผลการวิจัยเปรียบเทยีบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรเตอรชวยสอนกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี เร่ืองสวนประกอบคอมพวิเตอร สําหรบันักเรียนชวงชั้นที่ 2 สูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แสดงใหเห็นวาการเรียนรูดวยส่ือคอมพิวเตอรชวยสอนทําใหผูเรียนเกดิการเรียนรู สนใจ ยอมรับและสามารถเรียนรูไดดวยตนเอง ซ่ึงจากการสงัเกตของผูวิจยัพบวานกัเรียนใหความสนใจในการใชส่ือคอมพิวเตอรชวยสอนมาก ทั้งนี้เนื่องจากเนื้อหาดังกลาวตรงกับเนื้อหาท่ีนักเรียนตองเรียนในกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยีในชั่วโมงเรียนตามปกตอิยูแลวจึงทําใหผูเรียนมีความสนใจในการศึกษาเนื้อหาดงักลาวเพิ่มมากขึ้น ผูเรียนมีความสนุกสนาน มีความสนใจ มีความสุข จึงเปนเหตุผลที่ทําใหผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกวากอนเรียน ซ่ึงสอดคลองกับผลการวิจัยของ สมใจ สืบเสาะ(2544: บทคัดยอ)ไดทําการวิจยัเร่ืองการพัฒนาและหาประสิทธิภาพบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนระบบไฮเปอรมีเดยี วิชาคอมพิวเตอรเบื้องตน พบวาการเปรียบเทียบผลการทดสอบกอนเรียนและหลังเรยีน คะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบหลังเรียนสูงกวาคะแนนจากการทดสอบกอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จากที่กลาวจึงสอดคลองกับการวิจัยและทําใหส่ือการสอนหัวขอการวิจยัเร่ืองการพัฒนา

Page 108: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

96

บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี เร่ืองสวนประกอบคอมพิวเตอร สําหรับนักเรยีนชวงชั้นที่ 2 เปนสื่อการเรียนที่มีความเหมาะสมและมีประสิทธิภาพทําใหผูเรียนมคีวามรูเพิ่มขึ้น สามารถนําไปใชเปนสื่อเพือ่ถายทอดความรูใหแกผูเรียนได 4. ความพึงพอใจของนกัเรียนที่มีตอบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอน กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี สําหรับนักเรียนชวงชั้นที่ 2 จํานวน 40 คน นักเรียนมีความคิดเห็นตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนดงันี้ ความคิดเห็นอยูในระดบัมาก( X = 4.19) และจากแบบสอบถามความพึงพอใจเพิ่มเติมซ่ึงเปนการแสดงความพึงพอใจทีม่ีตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนสรุปไดวา นักเรียนมคีวามพึงพอใจมากและเห็นประโยชนของบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอน เพราะขณะเรียนนักเรยีนมีความรูสึกชอบ สนุกสนาน เขาใจเนื้อหาไดดีและมีความมั่นใจในการเลือกบทเรียนดวยตนเอง ซ่ึงสอดคลองกับผลการวิจัยของ ศักดา วุนศิริ (2543 : 81) ที่ไดสรุปวาผลการสํารวจความพึงพอใจของผูเรียนที่เรียนดวยบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอนระบบมัลติมีเดยี วิชาการใชคอมพิวเตอรและการประมวลคํา เร่ืองสวนประกอบคอมพิวเตอร ทั้งสองรูปแบบนักเรียนสวนมากมีความพึงพอใจในระดับมากและมากที่สุดกับการเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนทั้งสองรูปแบบในดานเสียงบรรยายชัดเจน การมอิีสระในการเรยีน การสื่อความหมายของบทเรียน ความนาสนใจของบทเรียนและมคีวามตองการที่จะเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนในวิชาอ่ืน ๆ อิสรีย ยังอยู (2547:บทคัดยอ) ไดทําการวิจัยเร่ืองการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เร่ืองระบบคอมพิวเตอร สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนสิรินธรราชวิทยาลัย จังหวดันครปฐม พบวาผูเรียนมคีวามพึงพอใจตอการเรียนดวยบทเรยีนคอมพิวเตอรชวยสอนอยูในระดับมากที่สุด นิสิตรา สุทธิอาจ(2549 : บทคัดยอ) ไดพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย เร่ืองการออกเสียงคําควบกล้ํา สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 พบวานักเรียนมีความพึงพอใจอยูในระดับมาก รุจรดา จรูญชัยคณากิจ (2547:69) ไดทําการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนวิชาคณิตศาสตร เร่ืองทศนิยม ช้ันประถมศึกษาปที่ 5 โรงเรียนวัดนางแกว อําเภอ โพธาราม จังหวัดราชบุรี พบวานักเรยีนมีความพึงพอใจตอบทเรยีนคอมพวิเตอรชวยสอนอยูในระดับมาก จากแบบสอบถามความพึงพอใจของผูเรียน ในหัวขอนักเรียนตองการเรียนโดยมีครูสอนตามปกต ิ ผูวิจัยพบวามีคาเฉลี่ยของความพึงพอใจอยูในระดับปานกลาง( X =3.10) จากการสอบถามกลุมตัวอยางเพิ่มเตมิไดรับคําตอบวานักเรียนตองการมีครูผูสอนคอยใหคําแนะนําในขณะเรียนเพราะในบางครั้งเครื่องคอมพิวเตอรอาจเกิดการขัดของ ผูเรียนไมสามารถแกไขปญหาเบื้องตนได ซ่ึงถามีครูคอยดูแลหรือแนะนําในขณะใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนจะทําใหหมดความกังวล ซ่ึงสอดคลองกับอิสรีย ยังอยู (2547 : 141) ไดทําการวิจยัเร่ืองพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร

Page 109: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

97

ชวยสอน เร่ืองระบบคอมพิวเตอร สําหรับนักเรียนชัน้มัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนสิรินธรราชวิทยาลัย จังหวดันครปฐม กลาววา ครูผูสอนตองดูแลนักเรยีนในขณะกําลังศกึษา ไมควรทิง้ใหนกัเรียนใชส่ือตามลําพัง และเอกสิทธ เกิดลอย(2548:99) ไดทําการวิจัยเร่ืองการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร เร่ืองวัสดุและคุณสมบัติของวัสดุ ของนักเรียนชวงชัน้ที่ 2 ระดับชัน้ประถมศึกษาปที่ 5 โรงเรียนวดัชองพราน อําเภอโพธาราม จังหวดัราชบุรี ไดใหขอเสนอแนะทั่วไปวา ครูควรอยูดแูลคอยใหคําแนะนําชวยเหลือและแกปญหาที่เกดิขึ้นระหวางเรียน กลาวโดยสรุปผลการวิจัยพบวานักเรียนมีความพึงพอใจมากในการเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เนือ่งจากนักเรียนมีอิสระในการเลือกบทเรียนดวยตนเอง เนื้อหามีเสียงบรรยายพรอมทั้งมีรูปภาพประกอบทําใหเขาใจเนื้อหาไดงาย นอกจากนี้ยังสามารถทบทวนเนื้อหาไดตลอดเวลา ขอเสนอแนะทั่วไปเก่ียวกับการใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ผูวิจัยขอเสนอขอเสนอแนะดังนี ้ 1. กอนทดลองควรศึกษาคุณสมบัติของคอมพิวเตอรภายในหองที่มีระบบปฏิบัติการที่แตกตางกนัเพือ่ปองกันปญหาที่เกิดขึน้ขณะใชงาน 2. ในการดําเนินการทดลองควรมีการเตรยีมอุปกรณและสภาพแวดลอมภายในหองใหพรอม เชนในกรณีที่นักเรียนตองการศกึษาเนื้อหาพรอมๆกันจะตองมีหูฟงใหนักเรียนเพื่อปองกนัเสียงบรรยายทีจ่ะไปรบกวนผูเรียนคนอื่น 3. เนื่องจากพืน้ฐานความรูทีแ่ตกตางกนัจะทําใหนกัเรียนมีความสนใจที่แตกตางกนัดวย ครูผูสอนควรปรับพื้นฐานทกัษะการใชงานคอมพวิเตอรเบื้องตนของนกัเรยีนใหใกลเคียงกนักอนทีจ่ะทดลองใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ขอเสนอแนะในการทําวิจัยคร้ังตอไป 1. ควรมีการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนในรปูแบบอื่นๆ เชน สถานการณจําลองหรือเกม เปนตน เพื่อใหเกิดความหลากหลายตอการเรียนรูและทันสมัยตอการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี และในการสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนกับวชิาที่มีเนื้อหามาก มีความซับซอน ผูจัดสรางควรมีการออกแบบที่ดี เอื้อตอการเรียนการสอนของผูเรียนใหมากที่สุด นอกจากนี้ควรไดรับคําแนะนําและรับการประเมินจากผูเชี่ยวชาญแตละดานเพื่อใหไดส่ือที่มีประสิทธิภาพและตรงวัตถุประสงคในการจัดทําอยางสูงสุด นอกจากนี้ควรไดรับคําแนะนําและรบัการประเมนิจากผูเชีย่วชาญแตละดานเพื่อใหไดส่ือที่มปีระสิทธิภาพและตรงวตัถุประสงคในการจดัทาํอยางสูงสุด

Page 110: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

98

2. ควรมีการศึกษาเกีย่วกับตวัแปรในดานความคงทนในการจํา ทักษะการใชงาน การฝกปฏิบัติ วามีความแตกตางกันหรือไม 3. ควรมีการศึกษาเกีย่วกับบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอนในรูปแบบการเรียนอ่ืนๆ เชนแบบรวมมือ เปนตน

Page 111: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

99

บรรณานุกรม ภาษาไทย กระทรวงศกึษาธิการ. กรมวชิาการ. ก คูมือการจัดการเรยีนรู กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพ

และเทคโนโลย.ี กรุงเทพฯ : โรงพิมพองคการรับสงสินคาและพัสดุภณัฑ, 2545. ________. ข ผังมโนทัศนและสาระการเรียนรูแกนกลาง. กรุงเทพมหานคร :โรงพิมพ คุรุสภาลาดพราว, 2545. ________. ค หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. พิมพคร้ังที่ 3. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ คุรุสภาลาดพราว, 2545. กิดานันท มลิทอง. เทคโนโลยีการศึกษาและนวัตกรรม . กรุงเทพฯ : สํานักพิมพจุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย, 2540. กิตติ ภกัดวีัฒนกุล และคณะ. Authorware 4. กรุงเทพฯ : บริษัท คีทีพี คอมพ แอนด คอนซัลท จํากัด,

2541 . ขนิษฐา ชานนท. “เทคโนโลยีคอมพิวเตอรกับการเรียนการสอน.” วารสารเทคโนโลยีการศึกษา

1, 1 (เมษายน – มิถุนายน 2532) : 7-13. ฉลองชัย สุรวัฒนบูรณ. การเลือกและการใชส่ือการสอน. กรุงเทพมหานคร : ภาควิชาเทคโนโลยี การศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2528. ชมัยพร ตั้งตน. “การพัฒนาบทเรียนวิชาคณิตศาสตรเร่ือง การหาร โดยใชคอมพวิเตอรชวยสอนของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 โรงเรียนดาราคาม กรุงเทพมหานคร.” วิทยานิพนธปริญญา มหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีการศึกษา บัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยัเกษตรศาสตร, 2538. ไชยยศ เรืองสุวรรณ. เทคโนโลยีทางการศึกษา : ทฤษฎีและการวิจยั. กรุงเทพฯ :โอ.เอส.พร้ินติ้งเฮาส,

2533. ณัฐธยาน ออนมั่น. “การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนทกัษะการอานวิชาภาษาอังกฤษของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5.” วิทยานพินธปริญญามหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีการศึกษา บัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยัเกษตรศาสตร, 2547. ถนอมพร (ตันติพัฒน) เลาหจรัสแสง. คอมพิวเตอรชวยสอน. พิมพคร้ังที่ 2. กรุงเทพฯ : บริษัท

วงกมลโพรดักชั่น จํากัด, 2541 . ทักษิณา สวนานนท. คอมพิวเตอรเพื่อการศึกษา. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ คุรุสภาลาดพราว, 2530.

Page 112: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

100

ธนากร ศรีโฉม. “การสรางบทเรียนโปรแกรม วิชาคอมพิวเตอรพืน้ฐาน เร่ือง ความรูเบื้องตนเกีย่วกับ ใชโปรแกรมวนิโดวส 95 สําหรับนักเรยีนชัน้ประถมศึกษาปที่ 5.” วิทยานิพนธปริญญา มหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีการศึกษา บัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยัขอนแกน, 2543. ธวัฒชัย ใบโสด. “ ผลของการนําเสนอภาพประกอบเรื่อง 2 แบบ ในบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5.” วิทยานพินธปริญญามหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยี การศึกษา บัณฑติวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม, 2541. นิศกร ตั้งสกุล. “การสรางบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอนในวิชาสุขศึกษา เร่ือง วยัแรกรุน สําหรับ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 5.” วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑติ สาขาสุขศึกษา บัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยัเกษตรศาสตร, 2547. นิสิตรา สุทธิอาจ. “การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรมัลตมิีเดีย สาระการเรียนรูภาษาไทย เร่ืองการ ออกเสียงควบกล้ํา สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3.” วิทยานพินธปริญญาครุศาสตร มหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร, 2549. บุญชม ศรีสะอาด. การพัฒนาการสอน. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาสน, 2537. บุญเรียง ขจรศิลป. วิธีวิจัยทางการศึกษา. พิมพคร้ังที่ 5. กรุงเทพฯ : หจก.พี.เอ็น.การพิมพ, 2543. บุปผชาติ ทัฬหิกรณ. “คอมพิวเตอรชวยสอนกับอินเตอรเน็ต.” วารสารสถาบันพัฒนาครูอาชีวศึกษา 5,11 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2539) : 22-27. บูรณะ สมชัย. การสราง CAI-Multimedia ดวย Authorware 4.0. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชัน, 2542. ประทีป ภูเกิด. “เปรียบเทียบการเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เร่ืองรูปวงกลม ระหวาง วิธีการเรียนแบบรายบุคคลกับการเรียนแบบกลุม ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนพระตําหนักสวนกหุลาบ มหามงคล.” วิทยานพินธปริญญามหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีการศึกษา บัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยัเกษตรศาสตร, 2547. ประไพ พงษจิวานิช. “การสอนคณิตศาสตรโดยใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน.” วารสารสักทอง 4(เมษายน 2541) : 25-27. ประวิทย สิมมาทัน. “การสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเรื่องความปลอดภัยจากกระแสไฟฟา

สําหรับการฝกอาชีพ หลักสูตรการฝกเตรียมเขาทํางาน.” การคนควาอิสระปริญญา ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ขอนแกน, 2539. เปรื่อง กุมุท. “การวิจยัทางเทคโนโลยีการศึกษา.” เอกสารการสอนการวิจัยทางเทคโนโลยี การศึกษา ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร, 2530. (อัดสําเนา)

Page 113: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

101

พรเทพ เมืองแมน. การออกแบบและพฒันา CAI Multimedia ดวย Authorware. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2544.

พรรณี ช.เจนจิต. จิตวิทยาการเรียนการสอน. กรุงเทพฯ : บริษัท ตนออแกรมมี่ จํากดั, 2538. พวงรัตน ทวีรัตน. วิธีการวิจยัทางพฤติกรรมศาสตรและสังคมศาสตร. พิมพคร้ังที่ 8. กรุงเทพฯ :

ศรีนครินทรวโิรฒ ประสานมิตร, 2543. พิพัฒน ปยุพลทัน. “การสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนระบบมัลติมีเดีย วิชาคอมพิวเตอรพืน้ฐาน เร่ือง การทํางานของอุปกรณรับขอมูล สําหรับนักเรยีนชัน้ประถมศึกษาตอนปลาย ตามหลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช 2521(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2533).” วิทยานิพนธ

ปริญญา มหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 2544. ไพฑูรย นพกาศ. “การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน สําหรับสอนซอมเสริม วิชาคณิตศาสตร เร่ืองการแยกตวัประกอบของพหุนาม" ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 3.” วิทยานพินธปริญญา มหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีการศึกษา บณัฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2535. รุจรดา จรูญชัยคณากจิ. “การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนวิชาคณิตศาสตร เร่ืองทศนิยม ช้ันประถมศึกษาปที่ 5 โรงเรียนวดันางแกว อําเภอโพธาราม จังหวดัราชบุรี” วิทยานิพนธ ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2547. โรงเรียนพระตําหนักสวนกหุลาบ มหามงคล. “แบบรายงานผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ปการศึกษา 2548.” 2549. (อัดสําเนา) ลวน สายยศ และ อังคณา สายยศ. หลักการวิจัยทางการศึกษา. พิมพคร้ังที่ 2. กรุงเทพฯ : บริษัท ศึกษาพร จํากดั, 2531. วรากร หงษโต. “การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน วิชาศิลปกับชีวิต 3 เรื่อง การออกแบบ ของนักเรียนชัน้มัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนบางลี่วิทยา จังหวดัสุพรรณบุรี.” วิทยานิพนธ ปริญญามหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการนิเทศ บัณฑติวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2543. วัฒนา ระงับทุกข. การจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนศูนยกลาง. กรุงเทพฯ : บริษัท เลิฟแอนลิฟเพลส จํากัด, 2541. วีระพงษ แสง - ชูโส และคณะ. “การพัฒนารูปแบบคอมพิวเตอรชวยสอนในการสอน เสริมระดับประถมศึกษาในจงัหวัดเชียงใหม.” เอกสารการวิจัยเสนอตอมหาวิทยาลัย- เชียงใหม, 2542.

Page 114: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

102

วุฒิชัย ประสารสรอย. บทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอน. พิมพคร้ังที่ 2. กรุงเทพฯ : วี.เจ.พร้ินติ้ง, 2546. ศรีธนา คุมทรัพย. “การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เร่ืองกลวยและการแปรรูป กลุมสาระ การเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี.” วิทยานพินธปริญญาครุศาสตรอุตสาหกรรม มหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีเทคนิคศึกษา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ, 2546. สมใจ สืบเสาะ. “การพัฒนาและหาประสิทธิภาพบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนระบบไฮเปอรมีเดยี

วิชาคอมพิวเตอรเบื้องตน.” วิทยานพินธปริญญามหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีเทคนิคศึกษา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ, 2544. สมบูรณ ทยาพัชร. “การพัฒนาชุดการเรยีนรูดวยตนเอง ตามแนวการเรียนเพื่อรอบรูเร่ืองสมการและ การแกสมการ สําหรับชั้นประถมศึกษาปที่ 6.” สารนิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยศลิปากร, 2544. สมรัฐ ดวงกลาง. “การผลิตบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เร่ืองไฟฟา กลุมสรางเสริมประสบการณ

ชีวิต ช้ันประถมศึกษาปที่ 5.” วิทยานพินธปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีการศึกษา บัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยัขอนแกน, 2544.

สายพิณ นพเกตุ. “การสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนในเรื่องทรพัยากรน้ํา สําหรับ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย.” วิทยานพินธปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาสิ่งแวดลอมศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล, 2539. สาโรจน แพงยัง. เทคโนโลยีการผลิตส่ือการสอน หลักการและเทคโนโลยีที่นาใช. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2529 สํานักนายกรัฐมนตรี. สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ. พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 . กรุงเทพฯ : บริษัทพริกหวานกราฟฟค จํากัด, 2542. สุธีรพันธุ สักการเวช. “การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน วิชาพื้นฐานคอมพวิเตอร สําหรับ

นักเรียน ช้ันประถมศึกษาปที่ 6.” วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑติ สาขาเทคโนโลยี การศึกษา บณัฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2541.

สุรศักดิ์ หลาบมาลา. “การเรียนการสอนแบบรวมมือ.” วิทยาจารย 2 (กุมภาพันธ 2531) :4-8. อาภรณ ใจเทีย่ง. หลักการสอน. พิมพคร้ังที่ 2. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพโอเดียนสโตร, 2540. อิสรีย ยังอยู. “การพัฒนาบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอน เร่ืองระบบคอมพิวเตอร สําหรับนักเรยีนชั้น มัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนสิรินธรราชวิทยาลัย จังหวดันครปฐม.” วิทยานพินธปริญญา ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2547.

Page 115: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

103

เอกสิทธ เกิดลอย. “การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร เร่ือง วัสดุและคณุสมบัติของวัสดุ ของนักเรียนชวงชั้นที่ 2 ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 5.” สารนิพนธปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวทิยาลัย ศิลปากร, 2548.

ภาษาตางประเทศ Beck, J.J. “An Analysis of Student Attitude Towards computer Assisted Instruction in Nebraska public High School.” Dissertation Abstract International 38 (June 1978): 7106-A. Collins,M.T. “The Effectiveness of Computer-Delivered Corrcection Procedures on Low-Perfoming Secondary Students Reasoning Skills.” Dissertation Abstracts International 48 (June 1985) 3601-A. Gorason, W.S.A. Comparative Study on the Cost Effectiveness of Computer-Assisted Instruction and the Traditional Lecture.( Michigan)[CD-ROM].1997. Abstracts from ProQuest:Dissertion: ACC 1382876. Lee,J.L. “The Effectiveness of A Computer-Assisted Program Designed to Teach Verbal-Descriptive Skills upon a Sensation of Music.” Dissertation Abstracts International 36(September 1975) : 681-687. Merrit, J.V. “Achievement with and without Computer-Assisted Instruction in the Middle School.” Dissertation Abstract International 44 (June 1983) : 32-38. Taylor, V.J. The Effect of Computer Simulation and Experiments on Sixth Grade Student’ Learning

in Science. (Michigan) [CD-ROM]. 1997. Abstracts from ProQuest File : Dissertation :ACC 1382876.

Page 116: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

ภาคผนวก ก รายนามผูเชี่ยวชาญ

Page 117: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

105

รายนามผูเชี่ยวชาญในการพฒันาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี

เร่ือง สวนประกอบคอมพิวเตอร

ผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหา 1. นายไพรัช สุพรรณอวม ตําแหนง ศึกษานิเทศก 7 สถานที่ทํางาน สํานักงานเขตพื้นทีก่ารศึกษานครปฐม เขต 2 2. นายวิฑูรย อริยะพงษ ตําแหนง ขาราชการครู คศ. 3 สถานที่ทํางาน โรงเรียนวัดดอนหวาย อําเภอสามพราน สํานักงานเขตพื้นที่การศกึษานครปฐม เขต 2 3. นายประทปี ภูเกดิ ตําแหนง ขาราชการครู คศ.2 สถานที่ทํางาน โรงเรียนพระตําหนักสวนกหุลาบ มหามงคล อําเภอพุทธมณฑล สํานักงานเขตพื้นที่การศกึษานครปฐม เขต 2 ผูเชี่ยวชาญดานคอมพิวเตอรชวยสอน 1. นายอนนท ศรีพิพัฒน ตําแหนง ศึกษานิเทศก 7 สถานที่ทํางาน สํานักงานเขตพื้นทีก่ารศึกษานครปฐม เขต 2 2. นายอภภิู สิทธิภูมิมงคล ตําแหนง เจาหนาที่ศนูยส่ือเทคโนโลยี สถานที่ทํางาน ศูนยส่ือเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหดิล อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม 3. นายวรวุฒิ มั่นสุขผล ตําแหนง หัวหนาฝายสารสนเทศศูนยคอมพิวเตอร สถานที่ทํางาน ศูนยคอมพิวเตอร มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร

Page 118: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

ภาคผนวก ข เนื้อหาการวิจัย

Page 119: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

107

เนื้อหาการวิจัย

หัวขอวิจัย การพัฒนาบทเรยีนคอมพวิเตอรชวยสอน สาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี เร่ือง สวนประกอบคอมพวิเตอร สําหรับนักเรียนชวงชัน้ที่ 2 สมมติฐานของการวิจัย

1. บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนวิชาคอมพิวเตอร เร่ือง สวนประกอบคอมพวิเตอร สําหรับนักเรียนชวงชั้นที่ 2 มีประสิทธิภาพตามเกณฑมาตรฐาน

2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคอมพวิเตอร เร่ืองสวนประกอบคอมพิวเตอร ของนักเรียนชวงชัน้ที่ 2 หลังเรียนดวยบทเรยีนคอมพวิเตอรชวยสอน เร่ืองสวนประกอบคอมพิวเตอร สูงกวากอนเรียน 3. นักเรียนมคีวามพึงพอใจตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เร่ือง สวนประกอบคอมพิวเตอรอยูในระดับมาก ความคิดรวบยอด คอมพิวเตอรเปนอุปกรณชวยอํานวยความสะดวกในการทํางานของมนษุย คอมพิวเตอรสามารถทํางานไดดีตองประกอบดวยสวนประกอบที่สําคัญตางๆ ไดแก สวนรับขอมูลเขา สวนประมวลผลกลาง และสวนแสดงผลขอมูล จึงจะสามารถทํางานไดสมบูรณ จุดประสงคการเรียนรู 1. บอกชื่อและหนาที่อุปกรณคอมพิวเตอรที่กําหนดใหได 2. จําแนกประเภทของอุปกรณคอมพิวเตอรได มาตรฐานการเรียนรูชวงชั้นที่ 2 ขอที่ 4 รูจักชื่อและหนาที่ของอุปกรณพื้นฐานทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ขอที่ 5 เขาใจหลักการทํางานเบื้องตนและประโยชนของคอมพิวเตอร ขอที่ 6 รูจักชื่อและหนาที่ของอุปกรณพื้นฐานทางคอมพิวเตอร ผลการเรียนรูท่ีคาดหวังรายป สามารถบอกชื่อและหนาที่ของอุปกรณพื้นฐานทางเทคโนโลยีสารสนเทศ

Page 120: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

108

เนื้อหาท่ีใชในการทดลอง

เนื้อหาของบทเรียน เร่ือง สวนประกอบของคอมพิวเตอร หนวยท่ี 1 สวนประกอบและหนาท่ีของอุปกรณคอมพิวเตอรพื้นฐาน ไดแก

ชื่ออุปกรณ หนาท่ี แปนพิมพอักขระ อุปกรณรับขอมูลเขา โดยการกดแปนพิมพ ซีพียู ประมวลผลขอมูล ควบคุมการทํางานของคอมพิวเตอรทั้งระบบ เมาส อุปกรณรับขอมูลเขา ประกอบดวยปุมควบคุม 1-3 ปุม มีขนาด

เทาฝามือ ใชเล่ือนตัวช้ีเมาสและเลือกขอมลู จอภาพ อุปกรณแสดงผลขอความและรูปภาพ เคร่ืองพิมพ อุปกรณพิมพขอความหรือรูปภาพ ลําโพง อุปกรณแสดงผลในรูปแบบของเสียงประเภทตางๆ เคร่ืองสแกนเนอร อุปกรณนําเขาในรูปแบบของรูปภาพ แปนพิมพอักขระ(Keyboard) ทําหนาที่รับสงขอมูลเขาเครื่องคอมพิวเตอร ทั้งตัวเลข ตัวอักษร ชองวาง และสัญลักษณตาง ๆ รวมเรียกวา อักขระ การจัดตัวของคียบนคียบอรดในภาษาอังกฤษคยีบอรดทั่วๆไปจะจดัแบบ QWERTY แตก็ยังมีบางรุนใชใชแบบ Dvorak โดยทัว่ไปจะประกอบดวยสวนประกอบหลักๆ ดังนี้ - แปนอกัขระ (alphabetic keys) เปนแปนที่มกีารจัดวางอกัขระเหมือนกับปนพิมพดดีทัว่ไป - แปนตวัเลข(numeric keys) เปนแปนตัวเลขอยูทางขวามือ ถูกออกแบบมาเพื่อชวยอํานวยความสะดวกสําหรับงานที่ตองปอนขอมูลตัวเลขเปนประจํา - แปนฟงกชัน (function keys) เปนแปนทีอ่ยูบนแถวแรกของแปนพิมพ ใชสัญลักษณ F1-F12 แปนฟงกชันเปนแปนทางลัดในการเลือกคําสั่ง ซ่ึงแตละแปนไดมกีารบันทึกคําส่ังไวแลว และแปนฟงกชันของแตละโปรแกรมจะทาํหนาที่แตกตางกันออกไป โปรแกรมสําเร็จรูปสวนใหญจะกําหนดแปนฟงกชันเพื่อเขาถึงคําส่ังโดยทางลัดได - แปนลูกศร(arrow keys) เปนแปนที่ทําหนาที่ควบคุมการเคลื่อนที่ของเคอรเซอร - แปนควบคมุ(control keys) เปนแปนพิมพที่ทําหนาที่รวมกับแปนพิมพอ่ืนๆ เชน แปน Ctrl แปน Shift และแปน Alt เปนตน

Page 121: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

109

รูปรางของคียบอรดรุนใหมๆ ไดถูกออกแบบใหเหมาะสมกับลักษณะการทํางานของมือมากขึ้น เพื่อไมใหผูใชตองบิดขอมือมาก มีแนวการจัดตัวของคียตางๆ ในซีกซายและซีกขวาของคียเอียงออกจากกนัเปนมุมประมาณ 30 องศา ทําใหการวางนิ้วและขอมือทั้งสองขางไมตองคอยเกร็งใหขนานกันตลอดเวลา การตอคียบอรดจะตอเขากับชองสําหรับตอคียบอรดโดยเฉาะและใชคอนเน็คเตอรแบบ DIN ซ่ึงเมนบอรดแบบ AT จะใชคอนเน็คเตอรแบบ DIN ขนาดใหญและเมนบอรดแบบ ATX จะใชแบบ DIN ขนาดเล็ก ซีพียู(CPU)หรือหนวยประมวลผลกลาง(Central Processing Unit) ทําหนาที่ควบคมุการทํางานของเครื่องคอมพิวเตอรและทําการประมวลผลและเปรียบเทียบขอมูล โดยทําการเปลี่ยนแปลงขอมูลดิบใหเปนสารสนเทศที่สามารถนํามาใชประโยชนได ความสามารถของซีพียูนั้นพิจารณาจากความเร็วของการทํางาน การรับสงขอมูล การอานและเขียนขอมูลในหนวยความจุ ความเร็วของซีพียูขึ้นอยูกับตวัใหจังหวะทีเ่รียกวาสัญญาณนาฬิกา โดยเปนความเร็วของจาํนวนรอบสัญญาณใน 1 วินาที มีหนวยเปนเฮิรตซ(hertz) เชนซีพียมูีความเร็วสัญญาณนาฬกิา 1 GHz หมายถึงสัญญาณที่มีความเร็ว 1 ลานรอบใน 1 วินาที เมาส (Mouse) เปนอุปกรณที่ใชควบคุมการทํางานของตัวช้ีเมาส(pointer) ซ่ึงเปนสัญลักษณที่ทาํงานอยูบนจอภาพคอมพวิเตอร ทําหนาที่ช้ีสวนตางๆบนจอภาพ และเรียกใชโปรแกรมโดยการใชเมาสคลิกที่สัญรูป(Icon) ที่เปนตวัแทนของโปรแกรมที่ตองการ เมาสรุนใหมๆจะมีความละเอียดสูงถึง 400 cpi (count per inch) คือมีสัญญาณนับไดกี่คร้ังในการเลื่อน 1 นิ้ว ซ่ึงหมายถึงความละเอียดทีไ่ดจากฮารดแวรหรือเรียกวาความไว(sensitivity) เมาสทั่วๆไปจะมีความละเอียดอยูระหวาง 200-300 cpi การทํางานของเมาสจะติดตอกับเคร่ืองคอมพิวเตอรโดยผานสายเคเบิ้ล และในปจจุบนัจะมีเมาสชนิดไรสาย(wireless)ติดตอกับคอมพิวเตอรโดยใชแสงอินฟราเรดและคลื่นสัญญาณแทนการใชสายเคเบิ้ล ลักษณะทั่วไปของเมาส ดานลางจะมีลูกกลิ้งกลม(ball) ซ่ึงใชสําหรับควบคุมทิศทางการเคล่ือนที่ โดยการเคลื่อนทีข่องเมาสถูกแปลงไปเปนสัญญาณอิเล็กทรอนิกสสงใหคอมพิวเตอร และคอมพิวเตอรจะใชัสัญญาณนีค้วบคุมการเคลื่อนที่ของตัวช้ีตําแหนงบนจอภาพ ดานบนของตวัเมาสจะมีปุมกดหนึ่งปุมหรือมากกวา แตที่นิยมใชในปจจุบันจะเปนแบบ 2 ปุม และเมื่อตองการใชเมาสควบคุมตัวช้ีเมาสบนจอภาพก็จะสั่งงานโดยการกดปุนบนเมาส เชนการเลือกเมนูคาํส่ังและการยายขอความ เปนตน

Page 122: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

110

การใชเมาสรวมกับโปรแกรมตางๆ ที่สามารถใชงานรวมกบัเมาสไดนั้นมวีิธีการใชดังนี้ การช้ี(pointing) การคลิก(click) การดับเบิลคลิก(double click) การลาก(dragging) คลิกขวา(right click) - การชี้ เมื่อเล่ือนเมาสไปในทิศทางตางๆลูกกล้ิงที่อยูภายใตเมาสจะหมุน ตัวเมาสจะทําการแปลการหมุนของลูกกล้ิงเปนสัญญาณที่บอกใหคอมพิวเตอรทําการเลื่อนตัวช้ีไปในทิศทางเดียวกันกับการเลื่อนเมาส - การคลิก เปนการกดปุมของเมาสดวยนิ้วช้ีแลวปลอยปุมของเมาส หลังจากที่ไดมีการเลื่อนตัวช้ีเพื่อช้ีวัตถุบนจอภาพที่ตองการแลว - การดับเบิลคลิก เปนการกดแลวปลอยปุมของเมาสดวยนิ้วช้ีติดตอกนัสองครั้ง - การลากเมาส เมื่อเล่ือนตัวช้ีเมาสไปยังวตัถุบนจอภาพแลวกดปุมของเมาสดวยนิ้วช้ีคางไวในขณะที่ทําการเลื่อนเมาสไปดวย - การคลิกขวา เปนการคลิกเมาสดวยนิ้วกลาง 1 คร้ัง จอภาพ(Monitor) มีลักษณะเปนจอภาพเหมือนจอโทรทัศนทั่วไป การสงออกของขอมูลจะปรากฏบนจอภาพ ซ่ึงแสดงไดทั้งตวัอักษร ตัวเลข เครือ่งหมายพิเศษ และยังสามารถแสดงรูปภาพไดดวย จอภาพ มี 2 แบบคือ ซีอารที (Cathode Ray Tube : CRT)ใชเทคโนโลยีของหลอดรังสีอิเล็กตรอน เชนเดียวกับจอโทรทัศนในการทําใหเกดิภาพ และจอแบบแอลซีดี (Liquid Crystral Display : LCD)ใชเทคโนโลยีของการบรรจุของเหลวไวภายในจอ เชนเดยีวกับหนาปดนาฬิกาในระบบตัวเลข การแสดงผลบนจอภาพจะแสดงดวยจุดเล็กๆ ตามแนวนอนและแนวตั้ง แตเดิมจอภาพแสดงผลไดเพยีงสีเดียว (monochrome monitor) โดยจะแสดงผลลัพธเพียงสีเดยีวบนพื้นสีดําเชน สีขาว สีเขียว หรืออาจจะแสดงผลสีดําบนพื้นสีขาว พัฒนาการตอมาทาํใหการแสดงผลเปนสีหลายสีไดเรียกวาจอสี(color monitor) โดยจะแสดงผลที่เปนขอความและภาพกราฟกสีตางๆ 1. จอภาพแบบ ซีอารที(CRT) ที่นิยมใชกนัจําแนกออกไดเปน 3 ประเภทดังนี ้ - วีจีเอ (VGA) ยอมาจาก video graphics array เปนจอภาพคอมพวิเตอรที่สามารถแสดงผลได 16 สี ที่ความละเอียด 640 X 480 pixels นิยมนํามาใชงานทั่วๆ ไป - ซูเปอรวีจีเอ (super VGA) หรือ SVGA เปนจอภาพสีที่มีความละเอียดสูงกวาจอภาพจอภาพ VGA ความละเอียดต่ําสุดคือ 800X 600 pixels นิยมใชกับงานออกแบบทางอุตสาหกรรม ซ่ึงเปนงานที่ตองการความละเอยีดและเที่ยงตรง - เอ็กซจีเอ(XGA) ยอมาจาก extended graphics array เปนจอภาพที่มคีวามละเอียดสูงถึง 1024 X 768 pixels และแสดงผลไดมากกวา 17 ลานสี นิยมใชกับงานดานวิศวกรรมออกแบบและงานดานกราฟก

Page 123: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

111

2. จอภาพแบบ LCD(Liquid Crystral Display)โดยนิยมนํามาใชกับเครื่องคอมพิวเตอรโนตบุค และปจจุบันนยิมนํามาใชกับเครื่องคอมพิวเตอรตั้งโตะดวย เคร่ืองพิมพ (Printer) เครื่องพิมพที่ใชกบัคอมพิวเตอรมีหลายประเภทตามเทคโนโลยีการพิมพ เครื่องพิมพเปนอุปกรณสงออกทีพ่ิมพลงบนกระดาษ เครื่องพิมพที่ใชกับคอมพิวเตอรโดยทั่วไปจําแนกไดเปน 2 ประเภทคือ เครื่องพิมพแบบตกกระทบ(impact printers) และเครื่องพิมพแบบไมตกกระทบ(non- impact printers) 1. เครื่องพิมพแบบตกกระทบ(impact printers) จะใชหัวเข็มกระทบใหแถบผาหมึก(ribbon) พิมพอักขระบนกระดาษ โดยทั่วไปที่รูจักมีดังนี้ - เครื่องพิมพแบบจุด (Dot-matrix Printer) เปนเครื่องพิมพที่มีหัวยิงเปนเข็มขนาดเลก็พุงไปชนแผนผาหมึก เพื่อใหหมึกตดิบนกระดาษเปนจดุเล็กๆหลายๆจุดเรียงกันเปนตัวหนังสือหรือรูปภาพ หัวเขม็ที่ใชยิงไปยังผาหมึกมีจํานวนหลายหัวเข็ม เชน 9 หัวเขม็ หรือ 24 หัวเข็ม ซ่ึงจัดวางเรียงกันในแนวตั้ง ทําใหไดตัวหนงัสือที่ละเอียดพอควร หวัเข็มที่มีจํานวนมากจะสามารถพิมพงานไดละเอยีดกวา ความเร็วในการพมิพของเครื่องแบบกระทบจะวัดเปนอัตราความเร็วของการเคล่ือนที่ของหัวเข็ม มีหนวยความเร็วเปนอักขระตอวนิาที (characters per second) ปจจุบันความนิยมลดนอยลง เนื่องจากคณุภาพของงานพิมพไมละเอียดมากนัก รวมถึงเสียงกระทบของหัวเขม็ที่คอนขางดังในขณะพิมพ เครื่องพิมพประเภทนี้นิยมใชกับงานที่มีการพิมพแบบสําเนา เชน ใบสั่งของ ตั๋วเครื่องบิน เปนตน - เครื่องพิมพรายบรรทัด(Line Printer) เครื่องพิมพชนดินี้มีความเรว็ในการพิมพสูงมาก สามารถพิมพไดหลายรอยบรรทัดตอนาที กลาวคอื มีความเร็วในการพิมพไดถึง 2,000 บรรทัดตอนาที ลักษณะการพิมพมหีลายแบบ บางแบบใชพิมพดวยแถบโซตัวอักษรทีห่มนุอยู และมีคนัเคาะตัวอักษรในตําแหนงทีก่ําหนด บางแบบใชหวัยิงแบบจุด แตมีจํานวนหวัยิงเปนจํานวนมากเพื่อใหพิมพไดเร็ว เครื่องพิมพชนิดนี้จงึเหมาะกับศูนยคอมพิวเตอรที่ตองพิมพรายงานเปนจํานวนมาก และพิมพอยางตอเนื่อง 2. เครื่องพิมพแบบไมตกกระทบ(non- impact printers) เปนการพิมพที่ใชหมึกฉดีพนไปบนกระดาษหรือใชความรอนและความดนัเพื่อละลายผงหมึกใหไดงานตามตองการ เชน - เครื่องพิมพแบบพนหมึก (Inkjet Printer) เปนเครื่องพิมพที่ใชวิธีการพนหมึกและผสมสีจากแมสีสามสีคือ แดง เหลืองและน้ําเงิน โดยจะผสมสีใหไดสีตามความตองการและพนหมึกเพื่อใหตดิบนกระดาษ ในปจจุบันเครื่องพมิพแบบพนหมึกเปนที่นยิมกันมาก เนื่องจากสามารถพิมพรูปภาพออกมาเปนสีที่สวยงาม

Page 124: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

112

- เครื่องพิมพเลเซอร(Laser Printer) เปนเครื่องพิมพที่ใหความคมชัดและความละเอียดสูง การพิมพจะใชหลักการทางแสง ปกติมีความละเอยีดไมนอยกวา 600 จุดตอนิ้ว เครื่องพิมพเลเซอรจึงเปนเครื่องพิมพที่เหมาะกับงานพิมพที่ตองการคุณภาพ พัฒนาการทางเทคโนโลยีทําใหเครื่องพิมพชนิดนี้ไดรับความนิยมสูงขึ้น เพราะเมื่อเทียบประสิทธิภาพตอราคาแลวเครื่องพิมพชนดินี้เหมาะที่จะใชในสํานกังาน แตไมสามารถพิมพสําเนากระดาษคารบอนได ลําโพง(Speaker) เปนอุปกรณหนวยแสดงผลในรูปของเสียง เชน เสียงพูด เสียงดนตรี ใชกับระบบคอมพิวเตอรมัลติมีเดีย เคร่ืองสแกนเนอร(Scanner) อุปกรณนําเขาในรูปแบบของรูปภาพ โดยการถายภาพจากกระดาษหรือวตัถุแบนๆ เขาไปในเครื่อง โดยใชแสงสองกระทบวัตถุใหสะทอนไปตกบนตัวรับแสงทีละแถว ขอมูลจะถูกแปลงเปนจุดเล็กๆในแบบดิจติอลเขาไปเก็บในเครื่องพีซี เมื่อตนกําเนดิแสงและตัวรับแสงเลื่อนไป ภาพทีไ่ดก็จะเปนจากสวนตางๆของรูปตอเนื่องกันไปทีละแถวของจุดจนกวาจะสุดภาพ หนวยท่ี 2 การจําแนกประเภทของอปุกรณคอมพิวเตอร คอมพิวเตอรเปนอุปกรณที่ใชในการประมวลผลขอมูลใหเปนสารสนเทศคอมพิวเตอรมีจุดเดนคือสามารถคิดคํานวณตัวเลขจํานวนมากไดรวดเร็วและแมนยํา การคิดคํานวณและจัดการขอมูลทําไดรวดเร็ว นอกจากนี้คอมพิวเตอรยังสามารถเก็บขอมูลไดมาก เมื่อจัดเก็บแลวสามารถเรียกคน หรือคัดแยกไดอยางถูกตองและรวดเร็ว โดยที่การดําเนินการตางๆ จะเปนไปตามเงื่อนไขที่โปรแกรมหรือซอฟตแวรกําหนดไว โดยสามารถแบงประเภทของอุปกรณคอมพิวเตอรไดดังนี้ -หนวยรับขอมูลเขา(Input) หมายถึงกระบวนการปอนขอมูล คําส่ัง โปรแกรมเขาสูเครื่องคอมพิวเตอร ตลอดจนการโตตอบของผูใชโปรแกรมกับเครื่องคอมพิวเตอร นอกจากนีย้ังหมายถึงอุปกรณซ่ึงสามารถปอนขอมูลและคําส่ัง หรือโปรแกรมเขาสูเครื่องคอมพิวเตอรได โดยผานทางอุปกรณรับขอมูลตาง ๆ เชน แผงแปนอักขระ เมาส สแกนเนอร - หนวยประมวลผลกลาง(CPU) ทําหนาที่ในการคิดคํานวณหรือประมวลผลขอมูลโดยทําตามโปรแกรมที่เก็บไวในหนวยความจําหลัก ไดแก ซีพีย ู - หนวยแสดงผลขอมูล(out put) เปนหนวยที่นาํขอมูลที่ไดรับการประมวลผลแลวมาแสดงผล หรือเก็บไวในหนวยความจํารองไดแก จอภาพ เครื่องพิมพ ลําโพง เปนตน

Page 125: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

113

สวนที ่2 แบบสัมภาษณ ผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหา ขอมูลสวนบุคคล 1. เพศ ( ) ชาย ( )หญิง 2. วุฒิการศึกษา ( ) ต่ํากวาปริญญาตรี ( ) ปริญญาตรี ( ) สูงกวาปริญญาตรี 3. สาขาวิชาที่จบการศึกษา............................................................................. 4. ประสบการณในการจัดกิจกรรมการเรียนรู หรือเปนผูมีความรูความสามารถเกี่ยวกับสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี 5. หนวยงานทีสั่งกัด………………………………………………………… คําชี้แจง กรุณาเขียนขอความความคิดเหน็ของทานลงในแบบสัมภาษณ 1. ทานคิดวาการที่จะสอนสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยีเพื่อใหสามารถโยงไปสูเนื้อหาเรื่องสวนประกอบคอมพิวเตอร ควรมีการนําเขาสูบทเรียนแบบใด ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. ควรมีแบบฝกหัดเพื่อฝกใหนักเรยีนสามารถเขาใจหนาที่การทํางานของอุปกรณแตละประเภท รูปแบบใด ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

Page 126: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

114

3. ทานคิดวาจะสอนใหนักเรยีนรูจักลักษณะของอุปกรณคอมพิวเตอรพื้นฐานแตละประเภทในลักษณะใด ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. แบบทดสอบเรื่องสวนประกอบคอมพวิเตอรควรเปนรูปแบบใดจึงจะสอดคลองกับเนื้อหาและเหมาะสมกับผูเรียน ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………

Page 127: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

115

5. เกณฑการตัดสินวาผูเรียนผานการเรียนรูเร่ืองสวนประกอบคอมพวิเตอรควรเปนอยางไรและ ใชเกณฑแบบใด………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 6. ทานคิดวาการใชส่ือคอมพิวเตอรชวยสอนมีขอดีและขอจํากัดสําหรบันักเรียนในการสอนสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยีอยางไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

Page 128: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

116

7. ขอเสนอแนะอื่นๆ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ………………………………….…ผูใหสัมภาษณ

(………………………..………….) ตําแหนง ………………………………………………….

…./………………………./………….

Page 129: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

117

สวนที ่2 แบบสัมภาษณ

ผูเชี่ยวชาญดานคอมพิวเตอรชวยสอน ขอมูลสวนบุคคล 1. เพศ ( ) ชาย ( )หญิง 2. วุฒิการศึกษา ( ) ต่ํากวาปริญญาตรี ( ) ปริญญาตรี ( ) สูงกวาปริญญาตรี 3. สาขาวิชาที่จบการศึกษา............................................................................. 4. ประสบการณในการจัดกิจกรรมการเรียนรู หรือเปนผูมีความรูความสามารถเกี่ยวกับสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี 5. หนวยงานทีสั่งกัด……………………………………………………….. คําชี้แจง กรุณาเขียนขอความความคิดเหน็ของทานลงในแบบสัมภาษณ 1. ทานคิดวาการสรางบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอนที่เกีย่วของกับสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลย ี สาระที่ 4 เทคโนโลยีสารสนเทศเรื่อง สวนประกอบคอมพิวเตอรควรมีลักษณะใด ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

Page 130: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

118

2. การนํามัลติมีเดีย(Multimedia)มาประกอบในคอมพิวเตอรชวยสอน(CAI) เพื่ออธิบายเนื้อหาเรื่อง สวนประกอบคอมพิวเตอร มีความเหมาะสมเพียงใด ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. แบบฝกในคอมพิวเตอรชวยสอน(CAI) ที่เหมาะสมกบัเรื่อง สวนประกอบคอมพวิเตอร ตาม ศักยภาพของตวัส่ือ ควรเปนรูปแบบใด ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. ทานตองการใหส่ือคอมพิวเตอรชวยสอน(CAI) ที่เกี่ยวของกับสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี สาระที่ 4 เทคโนโลยีสารสนเทศ มีรูปแบบการออกแบบการวางเมนใูนการศึกษาเนื้อหาแบบใด ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

Page 131: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

119

5. การใชคอมพิวเตอรชวยสอน(CAI) มีขอดีและขอจํากัดในการเรยีนสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลย ี สาระที่ 4 เทคโนโลยีสารสนเทศ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 6. ขอเสนอแนะอื่นๆ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ……………………………….…ผูใหสัมภาษณ (………………………..………….)

ตําแหนง …………………………………………………. ……./………………./………….

Page 132: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

ภาคผนวก ค แบบทดสอบวดัผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

Page 133: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

121

แบบทดสอบวดัผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี เร่ือง สวนประกอบคอมพวิเตอร จํานวนขอสอบ 30 ขอ เวลา 1 ช่ัวโมง

……………………………………………………………………………………………………. คําชี้แจง ใหนกัเรียนทําเครื่องหมาย X (กากบาท) ทับตัวอักษรหนาคําตอบที่ถูกตอง 1. จากภาพสวนที่อยูในกรอบหมายถึงขอใด ก. แปนอกัขระ ข. แปนตัวเลข ค. แปนฟงกช่ัน ง. แปนควบคมุ 2. จากภาพสวนที่อยูในกรอบหมายถึงขอใด ก. แปนอกัขระ ข. แปนตัวเลข ค. แปนฟงกช่ัน ง. แปนควบคมุ 3. แปนพิมพที่มีตัวอักษร F1-F12 หมายถึงแปนพิมพประเภทใด ก. แปนอกัขระ ข. แปนตัวเลข ค. แปนฟงกช่ัน ง. แปนควบคมุ 4. ส่ิงใดที่แปนพิมพไมสามารถรับเขาเครื่องคอมพิวเตอรได ก. ตัวอักษร ข. ตัวเลข ค.รูปภาพ ง.สัญลักษณ 5. การจัดวางคียบนคียบอรดโดยทัว่ๆไปจะใชแบบใด ก. QWERTY ข. DVORAK ค. NORMAL ง. NUMERIC 6. หนาที่ของแปนพิมพกลุมตัวเลขคือขอใด

ก. พิมพตัวอักษรทั่วๆไป ข. พมิพตัวเลข ค. ควบคุมการเคลื่อนที่ของลูกศร ง.เปนปุมคําส่ังลัด 7. จากรูปภาพเปนอุปกรณช่ืออะไร ก. เมาส ข. แปนพิมพ ค.ลําโพง ง.ซีพีย ู8. เราพิจารณาความสามารถของซีพียูจากเรื่องใด ก. ราคา ข. ความเร็วในการประมวลผล ค. ยี่หอ ง. ขนาด 9. ขอใดเปนหนวยในการนับสัญญาณความเร็วของซพีีย ู ก. วินาที ข. นาที ค. ช่ัวโมง ง. วัน 10. “ควบคุมการทํางานของตัวช้ีเมาส” จากขอความเปนหนาที่ของอปุกรณขอใด

ก. แปนพิมพ ข. ซีพียู ค. เครื่องสแกนเนอร ง. เมาส 11. ขอใดเปนลักษณะของเมาสไรสาย ก. ใชสายเคเบิล ข. ใชแสงอินฟาเรด ค. ใชคล่ืนสัญญาณ ง. ใชคล่ืนสัญญาและแสงอินฟาเรด 12. เมาสโดยทั่วไปมีความละเอียดเทาใด

ก. 100-200 cpi ข. 200-300 cpi ค. 300-400 cpi ง. 300-400 cpi

Page 134: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

122

13. ถาตองการคลิกเมาสที่สัญรูป(Icon)เพื่อเรียกใชโปรแกรมตองคลิกเมาสอยางไร ก. คลิก ข.ดับเบิลคลิก ค. คลิกขวา 2 คร้ัง ง. คลิกเมาสคาง

14. อุปกรณขอใดใชงานคูกบัเมาส ก. แผนรองเมาส ข. กระดาษสําเนา ค. ผาหมึกพิมพ ง. กระดาษคารบอน

15. เราสามารถแบงประเภทของจอภาพออกไดเปนกี่แบบ ก. 1 แบบคือ แอลซีดี ข. 2แบบคอื แอลซีดีและวีจีเอ ค. 3 แบบคือแอลซีดี ,วีจีเอ,ซีอารที ง.4 แบบคือ แอลซีดี ,วีจีเอ,ซีอาร เอสวีจีเอ

16. “มีน้ําหนกัเบา ใชพืน้ทีต่ิดตั้งนอย ทํางานโดยการบรรจุของเหลวไวภายใน” จากขอความ หมายถึงจอภาพแบบใด

ก. ซีอารที ข. วีจีเอ ค. แอลซีดี ง. เอสวีจีเอ 17. ขอใดไมใชหนาที่ของจอภาพ

ก. แสดงผลในลักษณะของสัญลักษณ ข. แสดงผลในลักษณะของรูปภาพ ค. แสดงผลในลักษณะของเสียง ง. แสดงผลในลักษณะของขอความ

18. เราสามารถจําแนกเครื่องพิมพออกไดเปนกี่ประเภท ก. 1 ประเภท ข. 2 ประเภท ค. 3 ประเภท ง. 4 ประเภท

19. ขอใดคือหลักการทํางานของเครื่องพิมพแบบจุด ก. ยิงเข็มพุงไปชนแถบผาหมึกเพื่อใหหมกึติดกระดาษ ข. ใชผาหมึกกระทบกับเข็ม ค. ยิงเข็มไปชนกับกระดาษ ง. ใชผาหมกึติดกับกระดาษ

20. เครื่องพิมพประเภทใดทาํงานโดยการพนหมึกลงบนกระดาษ ก. แบบอิงคเจต(InkJet Printer) ข. แบบเลเซอร(Laser Printer) ค. แบบจุด(DotMatric Printer) ง. แบบอิงคเจต(InkJet Printer)และแบบเลเซอร(Laser Printer)

21. เครื่องพิมพประเภทใดทาํงานโดยใชความรอนละลายผลหมึกใหตดิกับกระดาษ ก. แบบอิงคเจต(InkJet Printer) ข. แบบเลเซอร(Laser Printer)

ค. แบบจดุ(DotMatric Printer) ง. แบบอิงคเจต(InkJet Printer)และแบบเลเซอร(Laser Printer) 22. ลําโพงเปนอุปกรณที่มหีนาที่อะไร

ก. นําขอมูลเสียงออก ข. นําขอมูลภาพออก ค. ประมวลผลขอมูล ง. นําขอมูลเสียงเขา 23. ลําโพงเปนอุปกรณประเภทใด

ก. รับขอมูลเขา ข.ประมวลผล ค. แสดงผล ง. นําขอมูลเขาและแสดงผล 24. เครื่องสแกนเนอรแบบใดตองใชเวลาหลายครั้งในการสแกนขอมลู

ก. แบบแทน ข. แบบมือถือ ค.แบบแทนนอน ง. ใชเวลาเทากัน

Page 135: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

123

25. เครื่องสแกนเนอรแบบใดไมสามารถสแกนขอมูลในหนังสือที่เปนเลมได ก. แบบเลื่อนกระดาษ ข.แบบมือถือ ค. แบบแทนนอน ง. ทุกแบบไมสามารถสแกนได

26. ขอใดเรียงลําดับตามระบบคอมพิวเตอรไดถูกตอง ก. นําเขา แสดงผล ประมวลผล ข. แสดงผล ประมวลผล นําเขา ค. ประมวลผล นําเขา แสดงผล ง. แสดงผล นําเขา ประมวลผล

27. เมาสเปนอุปกรณประเภทใด ก. นําเขา ข.ประมวลผล ค.แสดงผล ง. นําเขาและแสดงผล

28. ขั้นตอนของหนวยประมวลผลตองใชอุปกรณขอใด ก. แปนพมิพ ข.เครื่องสแกนเนอร ค. ซีพียู ง. เครื่องพิมพ 29. จากรูปภาพเปนอุปกรณประเภทใด

ก. นําเขา ข.ประมวลผล ค.แสดงผล ง. นําเขาและแสดงผล

30. ขอใดเปนอุปกรณในหนวยแสดงผลทั้งหมด ก. แปนพิมพ,เมาส ข.จอภาพ,เครื่องสแกนเนอร ค. เมาส,จอภาพ ง.ลําโพง,จอภาพ

Page 136: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

ภาคผนวก ง แบบสอบถามความพึงพอใจ

Page 137: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

125

แบบวัดความพึงพอใจตอการเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน วัตถุประสงค แบบสอบถามความพึงพอใจตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลย ี เร่ือง สวนประกอบคอมพิวเตอร ซ่ึงผูวิจัยสรางและเก็บขอมูลใหครอบคลุมความพึงพอใจในดานตางๆของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน คําชี้แจง ใหนักเรียนพิจารณาขอความหรือขอคําถามของแบบสอบถามความพึงพอใจฉบับนี ้ โดยทําเครื่องหมาย ลงในชองระดับความพึงพอใจตามความเหน็ของทาน ดังนี ้

ระดับความพึงพอใจ

ขอ รายการประเมนิ มากที่สุด

มาก ปานกลาง

นอย นอยที่สุด

1 บทเรียนเปดโอกาสใหนกัเรยีนไดโตตอบกับโปรแกรม

2 นักเรียนมีโอกาสเลือกบทเรียนตามตองการได 3 มีคําอธิบายเนือ้หาที่ชัดเจน 4 รูปภาพมีความสวยงามตรงกบัเนื้อหา 5 ตัวอักษรอานงาย ชัดเจน และสีสันสวยงาม 6 ปุมเมนูควบคมุเนื้อหาสวนตางๆ ใชงานงาย 7 สามารถเลือกเรียนไดดวยตนเองตามความ

ตองการ

8 การใหขอมูลยอนกลับชวยใหนักเรยีนเขาใจบทเรียนมากขึน้

9 จัดลําดับเนื้อหาในแตละบทเรียนไดเหมาะสม 10 ความยากงายของเนื้อหาเหมาะสมกับนักเรียน 11 แบบทดสอบมีความสอดคลองกับเนื้อหาใน

บทเรียน

12 นักเรียนมีความกลาเพิ่มขึ้นที่จะเลือกคําตอบดวยตนเอง

13 คอมพิวเตอรทาํใหนกัเรียนเขาใจบทเรียนไดงายยิ่งขึ้น

Page 138: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

126

ระดับความพึงพอใจ

ขอ รายการประเมนิ มากที่สุด

มาก ปานกลาง

นอย นอยที่สุด

14 เนื้อหาสามารถนําไปใชในชวีิตประจําวันได

15 นักเรียนมีความสนุกกับการเรียนโดยใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน

16 นักเรียนศึกษาเนื้อหาเรื่องตางๆไดนานโดยไมรูสึกเบื่อ

17 นักเรียนตองการใหเพื่อนหองอ่ืนมีโอกาสเรียนแบบนักเรยีนบาง

18 นักเรียนตองการเรียนดวยวิธีเรียนกับบทเรียนนี้เพิ่มขึ้น

19 นักเรียนตองการเรียนโดยมคีรูสอนตามปกติ 20 นักเรียนเกดิความวิตกกังวลเมื่อตองเรียนดวย

คอมพิวเตอร

ขอเสนอแนะ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ……………………………………………

( ………………………………………… )

Page 139: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

ภาคผนวก จ แบบประเมินความสอดคลอง

Page 140: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

128

แบบประเมินความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาของแบบทดสอบ วัตถุประสงค เพื่อตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา ความเหมาะสมของภาษาและหาคาดัชนีความสอดคลอง(IOC) ระหวางแบบทดสอบกับจุดประสงคการเรียนรูในเรื่องสวนประกอบของคอมพิวเตอร สําหรับผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหา คําชี้แจง โปรดพิจารณาขอทดสอบแตละขอวามีความสอดคลองกับจดุประสงคการเรียนเรื่องสวนประกอบคอมพิวเตอร โดยใสเครื่องหมาย √ ลงในชองที่ทานเห็นดวย จุดประสงคการเรียนรู ขอที่

ขอทดสอบขอที่ สอดคลอง ตัดสินไมได

ไมสอดคลอง

1. บอกชื่อและหนาที่ของอุปกรณคอมพิวเตอรที่กําหนดใหได

1.จากภาพสวนที่อยูในกรอบสี่เหล่ียมเปน สวนในของอุปกรณ ก.แปนอักขระ ข.แปนตัวเลข ค. แปนฟงกช่ัน ง. แปนควบคุม

2. จากภาพสวนที่อยูในกรอบสี่เหล่ียมเปน สวนในของอุปกรณ ก.แปนอักขระ ข.แปนตัวเลข ค. แปนฟงกช่ัน ง. แปนควบคุม

Page 141: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

129

จุดประสงคการเรียนรู ขอทดสอบขอที่ สอดคลอง ตัดสิน

ไมได ไม

สอดคลอง 3. จากภาพสวนที่อยูในกรอบสี่เหล่ียม

เปนสวน ในของอุปกรณ ก. แปนอกัขระ ข. แปนตัวเลข ค. แปนฟงกช่ัน ง. แปนควบคุม

4. หนาที่ของแปนพิมพคือขอใด ก. สงขอมูลออกจากเครื่องคอมพิวเตอร ข.ประมวลผลขอมูล ค. แสดงผลขอมูล ง.สงขอมูลเขาเครื่องคอมพิวเตอร

5. แปนพิมพทีม่ีตัวอักษรกํากบั F1-F12 เปนแปนพมิพประเภทใด ก. แปนอกัขระ ข.แปนตัวเลข ค. แปนฟงกช่ัน ง. แปนความคุม

6. หนาที่ของแปนอักขระคือขอใด ก. ใชพิมพตัวอักษรทัว่ๆไป ข. ใชพิมพเฉพาะตัวเลข ค. ใชควบคมุการเคลื่อนที่ของลูกศร ง. ใชเปนปุมคําส่ังลัด

Page 142: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

130

จุดประสงคการเรียนรู ขอทดสอบขอที่ สอดคลอง ตัดสิน

ไมได ไม

สอดคลอง 7. ส่ิงใดที่แปนคียบอรดไมสามารถรับ

ขอมูลเขาเครื่องคอมพิวเตอรได ก. ตัวอักษร ข. ตัวเลข ค. รูปภาพ ง.สัญลักษณ

8. แปนอะไรสามารถวางนิ้วมือทั้งสองมือ ในขณะใชงาน ก. แปนอกัขระ ข. แปนตัวเลข ค. แปนฟงกช่ัน ง. แปนควบคุม

9. การจัดตวัคียบนคียบอรดทั่วๆไปจะใช แบบใด ก. QWERTY ข. Dvorak ค. Nomal ง. Numeric

10. กลุมแปนพิมพที่วางอยูทางดานขวาสดุ ของแปนคยีบอรดคือขอใด ก. แปนอกัษร ข. แปนฟงกช่ัน ค. แปนลูกศร ง. แปนตวัเลข

11. “ทําหนาทีเ่ปนแปนลัดในการเลือก คําส่ัง” จากขอความหมายถึงขอใด ก. แปนอกัขระ ข. แปนตัวเลข ค. แปนฟงกช่ัน ง. แปนควบคุม

Page 143: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

131

จุดประสงคการเรียนรู ขอทดสอบขอที่ สอดคลอง ตัดสิน

ไมได ไม

สอดคลอง 12. หนาที่ของแปนพิมพกลุมตัวเลขคือขอ

ใด ก. พิมพตวัอักษรทั่วๆไป ข. ใชพิมพเฉพาะตวัเลข ค. ใชควบคุมการเคลื่อนที่ของลูกศร ง. ใชเปนปุมคําส่ังลัด

13. หนาที่ของแปนพิมพกลุมฟงกช่ันคือขอ ใด ก. ใชพิมพตัวอักษรทัว่ๆไป ข. ใชพิมพเฉพาะตวัเลข ค. ใชควบคุมการเคลื่อนที่ของลูกศร ง. ใชเปนปุมคําส่ังลัด

14. จากรูปภาพเปนอุปกรณอะไร ก. เมาส ข. แปนพิมพ ค. ลําโพง ง. ซีพีย ู

15. “เปรียบเหมือนสมองของคอมพิวเตอร ทําหนาที่ประมวลผลขอมูล” จาก ขอความหมายถึงอุปกรณใด ก. ซีพีย ู ข.แปนพิมพ ค. ลําโพง ง. เมาส

16. ความสามารถของซีพียูจะพิจารณาจาก ส่ิงใด ก. ราคาของซีพียู ข. ความเร็วการประมวลผล ค. ยี่หอ ง. ขนาด

Page 144: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

132

จุดประสงคการเรียนรู ขอทดสอบขอที่ สอดคลอง ตัดสิน

ไมได ไม

สอดคลอง 17. ขอใดคือคําเต็มของซีพีย(ูCPU)

ก. Contron Processing Unit ข. Centren Processing Unit ค. Center Processing Unit ง. Central Processing Unit

18. มีการเปรียบเทียบซีพีย(ูCPU) เหมือนกับอวัยวะใดของคน ก. สมอง ข. ตา ค. หู ง. มือ

19. ขอใดเปนหนวยในการนับสัญญาณ ความเร็วของซีพียู ก.วินาท ี ข. นาที ค. ช่ัวโมง ง. วัน

20. ความเร็วของซีพียูจะยึดการใชจังหวะ ของสิ่งใด ก. สัญญาณนาฬิกา ข. สัญญาณเสียงลําโพง ค. สัญญาณแปนพิมพ ง. สัญญาณนกหวดี

21. หนวยนับความเร็วของซีพียูใชหนวย นับอยางไร ก. พัน ข. หมื่น ค. แสน ง. ลาน

Page 145: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

133

จุดประสงคการเรียนรู ขอทดสอบขอที่ สอดคลอง ตัดสิน

ไมได ไม

สอดคลอง 22. ซีพียูในรุนแรกๆจะทําการประมวลผล

ขอมูลคร้ังละเทาไร ก. 4 บิต ข. 8 บิต ค. 16 บิต ง. 32 บิต

23. ขอใดคือหนาที่ของซีพีย ู ก. แสดงผลขอมูล ข. นําเขาขอมูล ค. แสดงออกขอมูล ง. ประมวลผลขอมูล

24. หนวยวัดของซีพียูคือขอใด ก. เฮิรทซ ข.กิโลเฮิรทซ ค. วัตต ง. แอมป

25. จากภาพเปนอุปกรณขอใด ก. แปนพมิพ ข. คียบอรด ค. เครื่องสแกนเนอร ง. เมาส

26. “ควบคุมการทํางานของตัวช้ีเมาส (Pointer) “ จากขอความเปนหนาที่ของอุปกรณ ก. แปนพมิพ ข. คียบอรด ค. เครื่องสแกนเนอร ง. เมาส

Page 146: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

134

จุดประสงคการเรียนรู ขอทดสอบขอที่ สอดคลอง ตัดสิน

ไมได ไม

สอดคลอง 27. ขอใดเปนลักษณะของเมาสไรสาย

ก. ใชสายเคเบิ้ล ข. ใชแสงอินฟาเรด ค. ใชคล่ืนสัญญาณ ง. ใชคล่ืนสัญญาและแสงอินฟาเรด

28. เมาสโดยทัว่ไปมีความละเอียดเทาใด ก. 100-200 cpi ข. 200-300 cpi ค. 300-400 cpi ง. 400-500 cpi

29. การเคลื่อนที่ของตัวช้ี(pointer)จะขึ้นอยู กับส่ิงใด ก. การคลิกเมาส ข. การดับเบิ้ลคลิกเมาส ค. การพิมพคําส่ัง ง. การเคลื่อนที่ของลูกบอลของเมาส

30. เมาสแบงตามโครงสรางและรูปแบบ การใชงานไดกี่ประเภท ก. 1 ประเภท ข. 2 ประเภท ค. 3 ประเภท ง. 4 ประเภท

31. ขอใดหมายถึงการคลิกเมาส ก. กดนิ้วช้ี 1 คร้ัง ข. กดนิว้ช้ี 2 คร้ัง ค. กดนิว้กลาง 1 คร้ัง ง. กดนิว้กลาง 2 คร้ัง

Page 147: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

135

จุดประสงคการเรียนรู ขอทดสอบขอที่ สอดคลอง ตัดสิน

ไมได ไม

สอดคลอง 32. ขอใดหมายถึงการดับเบลิคลิกเมาส

ก. กดนิ้วช้ี 1 คร้ัง ข. กดนิว้ช้ี 2 คร้ัง ค. กดนิว้กลาง 1 คร้ัง ง. กดนิว้กลาง 2 คร้ัง

33. ขอใดหมายถึงการคลิกเมาสขวา ก. กดนิ้วช้ี 1 คร้ัง ข. กดนิว้ช้ี 2 คร้ัง ค. กดนิว้กลาง 1 คร้ัง ง. กดนิว้กลาง 2 คร้ัง

34. ขอใดหมายถึงการคลิกเมาสคาง(drag) ก. กดนิ้วช้ี 1 คร้ัง ข. กดนิว้ช้ีคางไวแลวเคลื่อนที่เมาส ค. กดนิว้กลาง 1 คร้ัง ง. กดนิว้กลางคางไวแลวเคลื่อนที่เมาส

35. การคลิกเมาสขวาใหประโยชนในขอใด ก. เปนการคัดลอกขอความ ข. เปนการเขาถึงคําส่ังลัด ค. เปนการคลิกเมาสแบบปกติ ง. คลิกเพื่อใหลูกศรเมาสทํางาน

36. ถาตองการคลิกเมาสที่สัญรูป(ICON) เพื่อเรียกใชโปรแกรมควรคลิกเมาส อยางไร ก. คลิก ข. ดับเบิลคลิก ค. คลิกเมาสขวา ง. คลิกเมาสคาง

Page 148: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

136

จุดประสงคการเรียนรู

ขอทดสอบขอที่ สอดคลอง ตัดสินไมได

ไมสอดคลอง

37. อุปกรณขอใดใชงานคูกบัเมาส ก. แผนรองเมาส ข. กระดาษสําเนา ค. ผาหมึกพิมพ ง. เครื่องสแกนเนอร

38. จากรูปภาพเปนอุปกรณช่ืออะไร ก. แปนพมิพ ข. จอภาพ ค. ลําโพง ง. เครื่องสแกนเนอร

39. เราสามารถแบงจอภาพออกไดเปนกี ่ แบบ ก. 1 แบบ ข. 2 แบบ ค. 3 แบบ ง. 4 แบบ

40. “มีหลักการทํางานคลายเครื่องรับ โทรทัศน มีขนาดใหญ น้ําหนักมาก” จาก ขอความเปนลักษณะของจอภาพแบบใด ก. แอลซีด(ีLCD) ข. วีจีเอ(VGA) ค. ซีอารที(CRT) ง. เอสวีจีเอ(SVGA)

41. ขอใดที่จอภาพไมสามารถทําได ก. แสดงผลในลักษณะของสัญลักษณ ข. แสดงผลในลักษณะของรูปภาพ ค. แสดงผลในลักษณะของเสียง ง. แสดงผลในลักษณะของขอความ

Page 149: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

137

จุดประสงคการเรียนรู ขอทดสอบขอที่ สอดคลอง ตัดสิน

ไมได ไม

สอดคลอง 42. จอภาพคอมพิวเตอรที่ใชกับเครื่อง

คอมพิวเตอรโนตบุคคือขอใด ก.จอภาพแบบ SVGA ข.จอภาพแบบ CRT ค.จอภาพแบบ VGA ง.จอภาพแบบ LCD

43. จอภาพประเภทใดนยิมใชกับงานดาน ออกแบบอุตสาหกรรม เนื่องจากม ี ความละเอยีดสูง ก.จอภาพแบบ SVGA ข.จอภาพแบบ CRT ค.จอภาพแบบ VGA ง.จอภาพแบบ LCD

44. จอภาพประเภทใดนยิมใชกับงานดาน วิศวกรรมและดานกราฟก ก.จอภาพแบบ SVGA ข.จอภาพแบบ CRT ค.จอภาพแบบ VGA ง.จอภาพแบบ LCD

45. จอภาพชนดิใดที่บรรจุของเหลวไว ภายใน ก.จอภาพแบบ SVGA ข.จอภาพแบบ CRT ค.จอภาพแบบ VGA ง.จอภาพแบบ LCD

Page 150: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

138

จุดประสงคการเรียนรู ขอทดสอบขอที่ สอดคลอง ตัดสิน

ไมได ไม

สอดคลอง 46. วีจีเอ (VGA) ยอมาจากคาํใด

ก. vedio graphics array ข. extended graphics array ค. graphics array video ง. video

47. จอภาพแบบใดแสดงผลไดมากกวา 17 ลานสี ก. vidio graphics array ข. extended graphics array ค. super VGA ง. graphics array video

48. “นิยมนํามาใชงานโดยทัว่ๆ ไป มีความ ละเอียดที ่460 X 600 pixela” จาก ขอความเปนลักษณะของจอภาพแบบใด ก.จอภาพแบบ SVGA ข.จอภาพแบบ CRT ค.จอภาพแบบ VGA ง.จอภาพแบบ LCD

49. เราสามารถจําแนกเครื่องพิมพออกได เปนกี่ประเภท ก. 1 ประเภท ข. 2 ประเภท ค. 3 ประเภท ง. 4 ประเภท

50. เครื่องพิมพประเภทใดใชการทํางาน โดยการใชหวัเข็มกระทบบนแถบผาหมึก ก. แบบอิงคเจต(inkjet printer) ข. แบบเลเซอร(laser printer) ค. แบบจุด(dot matrix printer) ง. แบบอิงคเจตและแบบเลเซอร

Page 151: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

139

จุดประสงคการเรียนรู ขอทดสอบขอที่ สอดคลอง ตัดสิน

ไมได ไม

สอดคลอง 51. ขอใดคือหลักการทํางานของ

เครื่องพิมพแบบจุด ก. ยิงเข็มพุงไปชนแถบผาหมึก เพื่อให หมึกตดิกระดาษเปนจุดเล็กๆ ข. ใชผาหมึกกระทบกับเข็มติดกระดาษ เปนจุดเล็กๆ ค. ยิงเข็มไปชนกระดาษเปนจุดเล็กๆ ง. ใชผาหมึกไปติดกับกระดาษ

52. เครื่องพิมพประเภทใดทาํงานโดยใช วิธีการพนหมึกลงบนกระดาษ ก. แบบอิงคเจต(inkjet printer) ข. แบบเลเซอร(laser printer) ค. แบบจุด(dot matrix printer) ง. แบบอิงคเจตและแบบเลเซอร

53. เครื่องพิมพประเภทใดใชการทํางาน โดยใชความรอนละลายหมึกใหติดกับ กระดาษ ก. แบบอิงคเจต(inkjet printer) ข. แบบเลเซอร(laser printer) ค. แบบจุด(dot matrix printer) ง. แบบอิงคเจตและแบบเลเซอร

54. เครื่องพิมพประเภทใดมคีวามละเอียด ในการพิมพงานสูง ก. แบบอิงคเจต(inkjet printer) ข. แบบเลเซอร(laser printer) ค. แบบจุด(dot matrix printer) ง. แบบอิงคเจตและแบบเลเซอร

Page 152: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

140

จุดประสงคการเรียนรู ขอทดสอบขอที่ สอดคลอง ตัดสิน

ไมได ไม

สอดคลอง 55. เครื่องพิมพประเภทใดสามารถพิมพ

สําเนากระดาษคารบอนได ก. แบบอิงคเจต(inkjet printer) ข. แบบเลเซอร(laser printer) ค. แบบจุด(dot matrix printer) ง. แบบอิงคเจตและแบบเลเซอร

56. เครื่องพิมพประเภทใดทาํงานคูกับผา หมึกพิมพ ก. แบบอิงคเจต(inkjet printer) ข. แบบเลเซอร(laser printer) ค. แบบจุด(dot matrix printer) ง. แบบอิงคเจตและแบบเลเซอร

57. เครื่องพิมพประเภทใดทาํงานโดยใช หลักการผสมสีของแมสี 3 สี ก. แบบอิงคเจต(inkjet printer) ข. แบบเลเซอร(laser printer) ค. แบบจุด(dot matrix printer) ง. แบบอิงคเจตและแบบเลเซอร

58. หนวยวัดความเร็วเครื่องพิมพแบบเข็ม ก. อักขระตอวินาท ี ข. อักขระตอนาที ค. อักขระตอช่ัวโมง ง. อักขระตอแผนงาน

59. จากรูปภาพเปนอุปกรณช่ืออะไร ก. เมาส ข. ลําโพง ค. แปนพมิพ ง. เครื่องสแกนเนอร

Page 153: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

141

จุดประสงคการเรียนรู ขอทดสอบขอที่ สอดคลอง ตัดสิน

ไมได ไม

สอดคลอง 60. ลําโพงเปนอุปกรณทําหนาที่อะไร

ก. แสดงเสียง ข. แสดงภาพ ค. ประมวลผล ง. นําสัญญาณเขา

61. ลําโพงจัดอยูในอุปกรณประเภทใด ก. รับขอมูลเขา ข. ประมวลผล ค. แสดงผล ง. รับขอมูลเขาและแสดงผล

62. ขอใดเปนหนาที่หลักของลําโพง ก. ประมวลผลขอมูล ข. แสดงออกขอมูลเปนลักษณะเสียง ค. นําเสียงเขาเครื่องคอมพิวเตอร ง. ควบคุมการทํางานของซีพียู

63. คอมพิวเตอรระบบมัลติมีเดียตองใช อุปกรณขอใดเปนสวนประกอบ ก. ลําโพง ข. เมาส ค. แปนพมิพ ง. แผนรองเมาส

64. ขอใดไมใชหนาที่ของลําโพง ก. สงขอมูลเสียงออกจากเครื่อง คอมพิวเตอร ข. แสดงเสียงบรรยายใหผูใช คอมพิวเตอรทราบ ค. ใชประกอบการนําแสดงแบบ มัลติมีเดีย ง. นําขอมูลเขาเครื่องคอมพิวเตอร

Page 154: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

142

จุดประสงคการเรียนรู ขอทดสอบขอที่ สอดคลอง ตัดสิน

ไมได ไม

สอดคลอง 65. เครื่องสแกนเนอรจัดอยูในอุปกรณ

ประเภทใด ก. รับขอมูลเขา ข. ประมวลผล ค. แสดงผล ง. รับขอมูลเขาและแสดงผล

66. ขอใดคือหนาที่ของเครื่องสแกนเนอร ก. แสดงรปูภาพ ข. แสดงสัญญาณเสียง ค. นําเขาขอมูลที่เปนเอกสารหรือ รูปภาพ ง. ประมวลผลรูปภาพ

67. เราแบงเครื่องสแกนเนอรออกไดเปนกี ่ ประเภท ก. 1 ประเภท ข. 2 ประเภท ค. 3 ประเภท ง. 4 ประเภท

68. เครื่องสแกนแบบใดตองใชเวลามากใน การสแกนขอมูลหลายครั้ง ก. แบบแทน ข. แบบมือถือ ค. แบบแทนนอน ง. เสียเวลาเทากันหมดทกุแบบ

69. เครื่องสแกนเนอรแบบใดไมสามารถ สแกนขอมูลในหนังสือเปนเลมได ก. แบบเลือ่นกระดาษ ข. แบบมือถือ ค. แบบแทนนอน ง. ทุกแบบไมสามารถสแกนได

Page 155: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

143

จุดประสงคการเรียนรู ขอทดสอบขอที่ สอดคลอง ตัดสิน

ไมได ไม

สอดคลอง 70. เครื่องสแกนแบบใดตองสแกนผาน

กระจกหลายชั้นและทําใหไดขอมูลที่ม ี คุณภาพไมดี ก. แบบเลือ่นกระดาษ ข. แบบมือถือ ค. แบบแทนนอน ง. ทุกประเภท

71. เครื่องสแกนเนอรแบบใดที่คุณภาพงาน ขึ้นอยูกับความสม่ําเสมอในการเลื่อน หัวอานของผูใชงาน ก. แบบเลื่อนกระดาษ ข. แบบมือถือ ค. แบบแทนนอน ง. แบบเลื่อนกระดาษและแบบแทนนอน

2. จําแนกประเภทของอุปกรณได

72. ขอใดเรียงลําดับประเภทของอุปกรณ ไดถูกตอง ก. นําเขา แสดงผล ประมวลผล ข. แสดงผล ประมวลผล นําเขา ค. แสดงผล นําเขา ประมวลผล ง. นําเขา ประมวลผล แสดงผล

73. เมาสเปนอุปกรณที่อยูในการทํางาน ของขั้นตอนใด ก. นําขอมลูเขา ข. ประมวลผลขอมูล ค. แสดงผลขอมูล ง. นําเขาและแสดงผลขอมูล

Page 156: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

144

จุดประสงคการเรียนรู ขอทดสอบขอที่ สอดคลอง ตัดสิน

ไมได ไม

สอดคลอง 74. เราสามารถแบงประเภทของอุปกรณ

คอมพิวเตอรตามประเภทการใชงานได เปนกี่ประเภท ก. 1 ประเภท ข. 2 ประเภท ค. 3 ประเภท ง. 4 ประเภท

75. ถาตองการนําขอมูลที่เปนรูปภาพเขาเครื่องคอมพิวเตอร ตองใชอุปกรณในขอใด ก. เมาส ข. เครื่องพิมพ ค. ลําโพง ง. เครื่องสแกนเนอร

76. อุปกรณขอใดอยูในขั้นตอนของการนํา ขอมูลเขา ก. ลําโพง ข. จอภาพ ค. เครื่องพิมพ ง. เครื่องสแกนเนอร

77. ขอใดไมใชอุปกรณในการนําขอมูลเขา ก. ลําโพง ข. เครื่องสแกนเนอร ค. เมาส ง. แปนพิมพ

Page 157: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

145

จุดประสงคการเรียนรู ขอทดสอบขอที่ สอดคลอง ตัดสิน

ไมได ไม

สอดคลอง 78. ขั้นตอนการคํานวณหรือประมวลผล

ขอมูลตองใชอุปกรณขอใด ก. แปนพิมพ ข. เครื่องสแกนเนอร ค. ซีพียู ง. เครื่องพิมพ

79. ซีพีย(ูCPU) เปนอุปกรณที่จัดอยูใน กระบวนการขั้นตอนใด ก. รับขอมูลเขา ข. ประมวลผล ค. แสดงผล ง. ประมวลผลและแสดงขอมูล

80. จากรูปภาพเปนอุปกรณที่อยูในขั้นตอน ใด ก. รับขอมูลเขา ข. ประมวลผล ค. แสดงผล ง. ประมวลผลและแสดงขอมูล

81. แปนพิมพ ………. เครื่องพิมพ จาก ขอความชื่ออุปกรณที่หายไปคือขอใด ก. เมาส ข. ลําโพง ค. ซีพียู ง. เครื่องสแกนเนอร

Page 158: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

146

จุดประสงคการเรียนรู ขอทดสอบขอที่ สอดคลอง ตัดสิน

ไมได ไม

สอดคลอง 82. เปนหนาทีข่อง………….ที่ทําหนาที่ใน

กระบวนการคิดหรือประมวลผลขอมูล เพื่อใหไดผลตามตองการ จาก ขอความคําที่หายไปคือขอใด ก. เมาส ข. ลําโพง ค. ซีพียู ง. เครื่องสแกนเนอร

83. ทําหนาที่เหมือนกับสมองของมนุษย ………………..จึงถือวาเปนอุปกรณที ่ สําคัญที่สุดของ คอมพิวเตอร ขอความที่หายไปคือขอใด ก. ซีพีย ู ข. ลําโพง ค. แปนพมิพ ง. เครื่องสแกนเนอร

84. จอภาพ เปนอุปกรณที่จดัอยูใน กระบวนการขั้นตอนใด ก. รับขอมูลเขา ข. ประมวลผล ค. แสดงผล ง. ประมวลผลและแสดงขอมูล

85. เครื่องสแกนเนอรเปนอุปกรณที่จัดอยู ในกระบวนการขั้นตอนใด ก. รับขอมูลเขา ข. ประมวลผล ค. แสดงผล ง. ประมวลผลและแสดงขอมูล

Page 159: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

147

จุดประสงคการเรียนรู ขอทดสอบขอที่ สอดคลอง ตัดสิน

ไมได ไม

สอดคลอง 86. สมมติวานกัเรียนพิมพรายงานในเครื่อง

คอมพิวเตอรเสร็จแลวและตองการ นําไปสงครู นักเรียนควรนํารายงาน ดังกลาวแสดงผลทางอุปกรณขอใด ก. แสดงผลทางลําโพง ข. แสดงผลทางเครื่องสแกนภาพ ค. แสดงผลทางเครื่องพิมพ ง. แสดงผลทางแปนพิมพ

87. ขอใดเปนอุปกรณที่นําขอมูลที่ ประมวลผลแลวมาแสดง จากขอความ เปนหนาทีข่องอุปกรณขอใด ก. แปนพมิพ เมาส ข. จอภาพ เครื่องสแกนเนอร ค. เมาส จอภาพ ง. ลําโพง จอภาพ

88. ขอใดเปนอุปกรณในกลุมหนวย แสดงผลขอมูล ก. แปนพมิพ เมาส ข. จอภาพ เครื่องสแกนเนอร ค. เมาส จอภาพ ง. ลําโพง จอภาพ

89. การนําขอมูลที่ผานการประมวลผลแลว มาแสดงใหผูใชทราบ เปนหนาที่ของ อุปกรณขอใด ก. เมาส ข. เครื่องสแกนเนอร ค. เครื่องพิมพ ง. ซีพีย ู

Page 160: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

148

จุดประสงคการเรียนรู ขอทดสอบขอที่ สอดคลอง ตัดสิน

ไมได ไม

สอดคลอง 90. ขอใดตอไปนี้ไมอยูในกลุมของอุปกรณ

ประเภทแสดงผล ก. เครื่องพมิพ ข. ลําโพง ค. จอภาพ ง. เครื่องสแกนเนอร

ขอเสนอแนะ .............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ลงนาม............................................................ ผูประเมิน

(...........................................................) ตําแหนง...............................................................

Page 161: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

ภาคผนวก ฉ การวิเคราะหขอมูล

Page 162: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

151

ตารางที่ 13 แสดงรายละเอียดการวิเคราะหเนื้อหาจากการสัมภาษณผูเชีย่วชาญ ผลการวิเคราะห ประเด็นสัมภาษณผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหาคอมพิวเตอรชวยสอนจํานวน 3 ทาน

ความคิดเหน็ของผูเชี่ยวชาญคนที่ ประเด็นสัมภาษณ 1 2 3

1. ทานคิดวาการที่จะสอนสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยีเพือ่ใหสามารถโยงไปสูเนื้อหาเรื่องสวนประกอบคอมพิวเตอร ควรมีการนําเขาสูบทเรียนแบบใด

-มีการทดสอบความรูเกี่ยวกับคอมพิวเตอรเพื่อเปนการเชื่อมโยงไปสูเนื้อหา

-กระตุนใหอยากเรียน -ควรมีการช้ีแจงจุดประสงคในการเรยีน เนื้อหาเพื่อ ใหผูเรียนทราบถึงจุดหมายปลายทาง

-สนทนา -มีการกระตุนใหนกัเรียนแสดงออกในเนื้อหาที่จะเรียน

2. ควรมีแบบฝกหัดเพื่อฝกใหนักเรยีนสามารถเขาใจหนาที่การทํางานของอุปกรณแตละประเภท รูปแบบใด

-ควรเปนสื่อคอม- พิวเตอร ชวยสอนเพราะมีทั้งภาพและเสียงทําใหเดก็กระตือรือรนในการเรยีนรู

-ควรมีการใหผูเรียนไดฝกปฏิบัติจากอุปกรณจริง

-ฝกใหมกีารทํางานเปนกลุมเพื่อฝกภาวการณเปนผูนํา -นักเรยีนควรสามารถกลับ มาทบทวนในสวนที่ไมเขาใจได

3. ทานคิดวาจะสอนใหนักเรยีนรูจักลักษณะของอุปกรณคอมพวิเตอรพื้นฐานแตละประเภทในลักษณะใด

-ควรนําของจริงมาใชประกอบการสอนเพื่อใหผูเรียน

-ใหมกีารฝกปฏิบัติจริง ทําซํ้าเพื่อใหเกิดความรูและ

-ใหมกีารฝกปฏิบัติจริง

Page 163: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

152

ตารางที่ 13 (ตอ) ความคิดเหน็ของผูเชี่ยวชาญคนที่ ประเด็นสัมภาษณ 1 2 3

สามารถจับตองไดและควรแยกเปนประเภทๆ

ประสบ การณของผูเรียน

4. แบบทดสอบเรื่องสวนประกอบคอมพวิเตอรควรเปนรูปแบบใดจึงจะสอดคลองกับเนื้อหาและเหมาะสมกับผูเรียน

-ควรมีการทดสอบโดยการฝกปฏิบัติจริง

-แบบทด สอบควรเปนลักษณะการเลือกตอบ

-เลือกตอบ

5. เกณฑการตัดสินวาผูเรียนผานการเรียนรูเร่ืองสวนประกอบคอมพิวเตอรควรเปนอยางไรและใชเกณฑแบบใด

-ควรใชเปนรอยละหรือมาตรสวนประเมินคาและสรุปวาทําไดหรือไมได

-ตั้งเกณฑ -เปนรอยละและแจงผลวาผาน-ไมผาน

6. ทานคิดวาการใชส่ือคอมพิวเตอรชวยสอนมีขอดีและขอจํากดัสําหรับนักเรยีนในการสอนสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยีอยางไร

-เปนสื่อที่ผูเรียนสามารถเรียนไดดวยตนเอง,สามารถเรียนรูไดตลอดเวลา มีความคงทน สะดวกในการใช

-เรียนรูไดตลอดเวลา -เปนการสนองความ สามารถของแตละคนและสามารถเลือกไดตามความ สามารถ

-เรียนไดตามความสนใจ

Page 164: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

153

ตารางที่ 13 (ตอ) ความคิดเหน็ของผูเชี่ยวชาญคนที่ ประเด็นสัมภาษณ 1 2 3

1. ทานคิดวาการสรางบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอนที่เกี่ยวของกับสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี สาระที่ 4 เทคโนโลยีสารสนเทศเรื่อง สวนประกอบคอมพิวเตอรควรมีลักษณะใด

-มีการใช Interactive สามารถโตตอบกับผูเรียนได -มีความนาสนใจในแงของวิธีการนําเสนอกับผูเรียน

-ผูเรียนสามารถควบคุมบทเรียนหรือทิศทางในการเรียนของตนเองได -มีการออกแบบหนาจอที่ดีส่ือความหมายตรงกับวัตถุประสงค

-ใหเห็นภาพในลักษณะของ3มิติสมมารถหมุนดูได -มีการประเมินผลการเรียนรูเปนระยะตามเนื้อหา -มีกิจกรรมใหตอบเพื่อประเมินแตละสวนได -บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนควรมีการผสมผสานแบบTutorial และแบบเกมส เพื่อใหเหมาะสมกับผูเรียน

Page 165: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

154

ตารางที่ 13 (ตอ) ความคิดเหน็ของผูเชี่ยวชาญคนที่ ประเด็นสัมภาษณ 1 2 3

2. การนํามัลติมีเดีย(Multimedia)มาประกอบในคอมพิวเตอรชวยสอน(CAI) เพื่ออธิบายเนื้อหาเรื่อง สวนประกอบคอมพิวเตอร มีความเหมาะสมเพยีงใด

-มีการใช Interactive สามารถโตตอบกับผูเรียนได -มีความนาสนใจในแงของวิธีการนําเสนอกับผูเรียน

-มัลติมีเดียมีความจําเปนอยางมากเพื่อใหผูเรยีนไดเรียนรูและรับรูไดเสมือนวาไดจับตอง

-มีความเหมาะสมมากเพราะผูเรียนในระดับชั้นประถมยังตองการความสนุกสนาน ความนาสนใจ ความเราใจ

3. แบบฝกในคอมพิวเตอรชวยสอน(CAI) ที่เหมาะสมกับเรื่อง สวนประกอบคอมพิวเตอร ตามศักยภาพของตัวส่ือ ควรเปนรูปแบบใด

-ใชเปนแบบ ปรนัยหรือถามตอบซึ่งขึ้นอยูกับความเหมาะสมของเนื้อหาหรือใชวิธีจับคูเพื่อเปนการฝกทักษะอีกทางหนึ่ง

-เปนลักษณะภาพเสมือนแสดงสถานการณจําลองได

-แบบฝกควรมีความสอดคลองกับจุดประสงค

Page 166: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

155

ตารางที่ 13 (ตอ) ความคิดเหน็ของผูเชี่ยวชาญคนที่ ประเด็นสัมภาษณ 1 2 3

4. ทานตองการใหส่ือคอมพิวเตอรชวยสอน(CAI) ที่เกี่ยวของกับสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี สาระที่ 4 เทคโนโลยีสารสนเทศ มีรูปแบบการออกแบบการวางเมนูในการศึกษาเนื้อหาแบบใด

-มีการวางเมนูแบบเปนขั้นตอนโดยมีเมนูหลักอยูดานหนา มีเมนูยอยในสวนเนื้อหาอีกขั้นตอนหนึ่ง

-มีการทด- สอบความรูพื้นฐานกอนขั้นตอนตอมามีคําชี้แจงวิธี การเรียนรู ตอจากนั้นเปนเมนูผลการเรียนรูที่คาดหวังหรือจุดประสงคกรเรียนรู การนําเสนอเนื้อหาโดยผานสารบัญของเรื่องและประเมินผลหลังจากศึกษาเนื้อหาดวย ตอมาเปนเปนแบบทดสอบหลังเรียนพรอมทั้งสามารถประเมินผลและบันทึกผลได

-ไมควรมีการยายตําแหนงของเมนูหรือปุมตางๆจนเกิดความสับสนแกผูเรียน

Page 167: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

156

ตารางที่ 13 (ตอ) ความคิดเหน็ของผูเชี่ยวชาญคนที่ ประเด็นสัมภาษณ 1 2 3

5. การใชคอมพิวเตอรชวยสอน(CAI) มีขอดีและขอจํากดัในการเรียนสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี สาระที่ 4 เทคโนโลยีสารสนเทศ

-ผูเรียนสามารถทบทวนเนื้อหาไดตามความถนัดของตนเอง และสามารถส่ือสารจากสิ่งที่เปนนามธรรมไปสูรูปธรรมไดชัดเจน

-เปนการเนนผูเรียนเปนสําคัญ ยื่นหยุนไดตามศักยภาพของตนเอง

-เปนสื่อที่ดีเพราะสามารถบรรจุส่ือไดหลายรูปแบบเขาไวในบทเรียน

6. ขอเสนอแนะอื่นๆ -ควรเนนกระบวนการเรียนรูใหเปน step by stepและมีการใชตัวอยางanimationเมื่อจําเปน

-ควรมีการพัฒนาสูระบบonline ดวยและสามารถประเมินผลไดจริงและสามารถบันทึกลงในตัวส่ือไดดวย

-เนื้อหาเกี่ยวกับคอมพิวเตอรควรเปนปจจุบันเพราะมีการเปลี่ยนแปลที่รวดเร็วมากควรมีการติดตามและบรรจุเนื้อหาใหทันสมัยมากที่สุด

Page 168: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

157

ตารางที่ 14 ระดับการประเมินจากกรรมการการประเมนิคุณภาพสื่อบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน จํานวน 6 ทาน ประกอบดวยดานเนื้อหาคอมพิวเตอร 3 ทาน ดานสื่อคอมพิวเตอร ชวยสอน 3 ทาน

ผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหา ผูเชี่ยวชาญดานสื่อ ขอที่ รายการประเมนิ คนที่

1 คนที่

2 คนที่

3 คนที่

4 คนที่

5 คนที่

6

คา เฉล่ีย

1 สวนนําของบทเรียน เราความสนใจ,ใหขอมูลที่จําเปนวัตถุประสงค,สวนชวยเหลือ ฯลฯ)

3 4 3 3 3 5 3.50

เนื้อหาบทเรยีน 2.1 โครงสรางของเนื้อหาชัดเจนมีความกวาง ความลึก เชื่อมโยงความรูเดิมกับความรูใหม

4 4 4 3 4 4 3.83

2.2 มีความถูกตองตามหลักวชิา 4 5 4 4 4 4 4.17 2.3 สอดคลองกับวัตถุประสงคที่ ตองการนําเสนอ

4 5 4 4 4 4 4.17

2.4 สอดคลองกับการประยุกตในการเรียนการสอน,มีความสัมพันธตอเนื่อง

4 4 4 4 3 4 3.83

2.5 ความยากงายเหมาะสมกบัผูเรียน

5 5 4 3 3 3 3.83

2

2.6 ไมขัดตอความมั่นคงของชาติและคุณธรรม จริยธรรม

5 5 5 5 5 5 5.00

3 การใชภาษา ใชภาษาถกูตอง เหมาะสมกบัวัยของผูเรียน , ส่ือความหมายไดชัดเจน,เหมาะสมกับผูเรียน

3 4 4 5 4 4 4.00

4.4 ความยาวของการนําเสนอแต

ละหนวย/ตอนเหมาะสม 3 4 4 4 4 4 3.83

Page 169: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

158

ตารางที่ 14 (ตอ) คณะกรรมการการประเมินคณุภาพสื่อ ขอ

ที่

รายการประเมนิ คนที่1

คนที่2

คนที่3

คนที่4

คนที่5

คนที่6

คา เฉล่ีย

การออกแบบระบบการเรียนการสอน 4.1 ออกแบบดวยระบบตรรกที่ด ี เนื้อหามีความสัมพันธตอเนือ่ง

4 5 4 4 4 4 4.17

4.2 สงเสริมการพัฒนาความคิดสรางสรรค

3 3 4 3 3 4 3.33

4

4.3 มีความยืดหยุน สอนองความแตกตางระหวางบุคคล ครอบคลุมลําดับเนื้อหา ลําดับการเรียนและแบบฝกหัดได

4 5 4 4 3 4 4.00

4.5 กลยุทธในการถายทอดเนื้อหาเราใจ

3 4 4 3 2 4 3.33

4.6 มีกลยุทธประเมินผลใหผูเรียนเกิดการเรยีนรู ไดอยางเหมาะสม มีความหลากหลาย และปริมาณเพียงพอที่สามารถตรวจสอบความเขาใจบทเรียนดวยตนเองได

3 5 3 4 3 4 3.67

สวนประกอบดวย MULTIMEDIA 5.1 ออกแบบหนาจอเหมาะสม งายตอการใช สัดสวนเหมาะสม สวยงาม

3 4 4 3 2 4 3.33 5

5.2 ลักษณะของขนาด สี ตัวอักษรชัดเจนสวยงาม อานงายเหมาะสมกับระดับผูเรียน

1 5 3 4 4 5 3.67

Page 170: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

159

ตารางที่ 14 (ตอ) คณะกรรมการการประเมินคุณภาพสื่อ ขอ

ที่

รายการประเมิน คนที่1

คนที่2

คนที่3

คนที่4

คนที่5

คนที่6

คา เฉล่ีย

5.3 ภาพกราฟกเหมาะสม ชัดเจน สอดคลองกับเนื้อหา และมีความสวยงาม มีความคิดสรางสรรคในการออกแบบและสรางภาพ

3 5 4 3 4 4 3.83

5.4 คุณภาพการใชเสียงดนตรีประกอบบทเรยีน เหมาะสม ชัดเจน นาสนใจ ชวนคิด นาติดตาม

4 3 4 4 4 4 3.83

6 การออกแบบปฏิสัมพันธ 6.1 ออกแบบปฏิสัมพันธใหโปรแกรมใชงาย สะดวก โตตอบกับผูเรียนอยางสม่ําเสมอ การควบคุมเสนการเดินบทเรียน(Navigation)ชัดเจนถูกตอง ตามหลักเกณฑ และสามารถยอนกลับ ไปยังจดุตางๆไดงาย รูปแบบปฏิสัมพันธเชน การพิมพการใชเมาสเหมาะสม,มีการควบคมุทิศทาง ความชาเร็วของบทเรียน

3 4 4 3 2 4 3.33

6.2 การใหผลปอนกลับเสริมแรงหรือใหความชวยเหลือเหมาะสมตามความจําเปน มีขอมูลปอนกลับที่เอื้อใหผูเรียนไดวิเคราะหและแกปญหา

3 4 4 4 3 4 3.67

Page 171: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

160

สรุปขอคิดเห็นการประเมินผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหา หัวขอพจิารณา ทานที่ 1 ทานที่ 2 ทานที่ 3

-ตัวอักษรควรใหญกวานี ้

-ตัวอักษร,สี,เพลงประกอบเหมาะสม

-สวนนําภาพ,เสียงใชได นาสนใจ

-ใชสีที่แตกตางกัน -ใสภาพเพิ่มเตมิในเฟรมที่วาง

-ปรับปรุงชองรับชื่อผูเรียนใหใหญกวานี ้

1.สวนนําของบทเรียน

-แบงเฟรมออกเปน2เฟรม

-หลังทําแบบทดสอบแลวควรมีปุมคลิกเปลี่ยนเฟรม

-เร่ืองเมาสเนื้อหาไมครอบคลุม

-ปรับปรุงเสียงที่ไมชัดเจน

-ตัวอักษรและภาพควรมีขนาดใหญกวานี้

2.เนื้อหาของบทเรียน

-คําบรรยายไมตรงกับขอความ

3.การใชภาษา “นําเขา” และ “รับเขา”ควรใชอยางใดอยางหนึ่ง

เสียงบรรยายบางคําไมชัดเจน,บางคําเบา

-ปรับปรุงเสียงบรรยาย

4.การออกแบบและระบบการเรียนการสอน

-เนื้อหาตอนที1่มีมากควรแบงใหเทาๆกัน

-หนาจอเหมาะสม, เสียงคมชัด

-ออกแบบบทเรียนเหมาะสม

5. สวนประกอบดานมัลติมีเดีย

- ใชได -ปรับปรุงเสียงดนตร ี -ปรับปรุงสี,ภาพ,เสียง

-แบบทดสอบระหวางเรียนภาพรถเข็นควรมีเสียงประกอบ

6. การออกแบบปฏิสัมพันธ

-ใชได,ควรมีคาํเฉลย

-ควรมีปุมใหผูเรียนคลิกเหมือนกนั

-มีคําบรรยายหัวขอบทเรียนในแตละเฟรม

Page 172: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

161

สรุปขอคิดเห็นการประเมินผูเชี่ยวชาญดานสื่อคอมพิวเตอร หัวขอพจิารณา ทานที่ 1 ทานที่ 2 ทานที่ 3

-ยังไมเราใจเทาที่ควร

-เราความสนใจด ี -เหมาะสมด ี1.สวนนําของบทเรียน

-เปลี่ยนพืน้หลัง -ควรเพิ่มกราฟก -เหมาะสมด ี -เหมาะสม -เหมาะสม -เนื้อหาและรปูภาพไมสัมพันธกัน

-ขอมูลดี 2.เนื้อหาของบทเรียน

-ควรมีขอความบรรยายใตรูปภาพ

3.การใชภาษา -เหมาะสม -ปรับปรุงการออกเสียงอักขระ

-ด,ีเหมาะสม

4.การออกแบบและระบบการเรียนการสอน

-ปรับปรุงFeedbackผลของแบบทดสอบ

-มีการออกแบบถูกตองตามหลักการสรางCAI

-ควรเพิ่มแหลงขอมูลใหนักเรียนศึกษาเพิ่มเติม

5.สวนประกอบดานมัลติมีเดีย

-หนาจอนาสนใจ -มีการนําส่ือมาใชหลากหลายด ี

-เสียงโตตอบการลากขอสอบใสในตะกรารัว ไป

-เปลี่ยนเมนูหลักเปนรายการหลัก

-ออกแบบเหมาะสมกับวยัผูเรียน

-เหมาะสม

-เสียงดนตรีเหมาะสม

-เสียงบรรยายชี้แจงกอนการทําขอสอบไมชัดเจน

6.การออกแบบปฏิสัมพันธ

-ในสวนของเนื้อหาควรเปลี่ยนคําวาเมนหูลักเปนสารบัญบทเรียน -ปุมเดินหนาถาไมมีหนาตอไปไมควรใส

-ปรับปรุงและเพิ่มเติม ปุมเมนูตางๆ เพื่อใหใชงานไดงายขึ้น

Page 173: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

162

ตารางที่ 15 แสดงการหาคาความสอดคลองของแบบทดสอบ กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและ เทคโนโลยี เร่ือง สวนประกอบของคอมพิวเตอร จากผูเชี่ยวชาญจํานวน 3 ทาน โดยม ี แบบทดสอบจํานวน 2 ตอน ตอนที่ 1 จํานวน 20 ขอ ตอนที่ 2 จํานวน 10 ขอ ตอนที่ 1 บอกชื่อและหนาทีข่องอุปกรณคอมพิวเตอรที่กาํหนดใหได

ผูเชี่ยวชาญ ผลรวมคะแนน IOC ขอที่ คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3 (∑R) IOC =

แปลผล

1 +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 2 +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 3 +1 0 0 1 0.66 นําไปใชได 4 +1 0 0 1 0.66 นําไปใชได 5 +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 6 0 0 0 0 0.00 นําไปใชไมได 7 0 0 0 0 0.00 นําไปใชไมได 8 0 0 0 0 0.00 นําไปใชไมได 9 +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 10 +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 11 0 +1 +1 2 0.66 นําไปใชได 12 0 0 0 0 0.00 นําไปใชไมได 13 +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 14 +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 15 +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 16 +1 0 0 0 0.33 นําไปปรับปรุง 17 +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 18 0 0 0 0 0.00 นําไปใชไมได 19 0 0 0 0 0.00 นําไปใชไมได 20 0 0 0 0 0.00 นําไปใชไมได 21 0 0 0 0 0.00 นําไปใชไมได 22 0 0 0 0 0.00 นําไปใชไมได 23 0 0 0 0 0.00 นําไปใชไมได

N

R∑

Page 174: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

163

ตารางที่ 15 (ตอ) ผูเชี่ยวชาญ ผลรวมคะแนน IOC ขอ

ที่ คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3 (∑R) IOC = แปลผล

24 +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 25 0 +1 +1 2 0.66 นําไปใชได 26 +1 +1 0 2 0.66 นําไปใชได 27 +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 28 0 +1 0 1 0.33 ปรับปรุง 29 +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 30 +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 31 0 0 0 0 0.00 นําไปใชไมได 32 +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 33 +1 0 0 1 0.33 นําไปปรับปรุง 34 +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 35 +1 +1 0 2 0.66 นําไปใชได 36 0 0 0 0 0.33 นําไปปรับปรุง 37 0 0 0 0 0.00 นําไปใชไมได 38 +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 39 0 +1 0 1 0.33 นําไปปรับปรุง 40 +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 41 +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 42 +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 43 0 0 0 0 0.00 นําไปใชไมได 44 +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 45 0 0 0 0 0.00 นําไปใชไมได 46 +1 0 0 1 0.33 นําไปปรับปรุง 47 0 0 1 1 0.33 นําไปปรับปรุง 48 +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 49 +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได

N

R∑

Page 175: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

164

ตารางที่ 15 (ตอ) ผูเชี่ยวชาญ ผลรวมคะแนน IOC ขอ

ที่ คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3 (∑R) IOC = แปลผล

50 +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 51 +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 52 +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 53 +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 54 +1 0 +1 2 0.66 นําไปใชได 55 +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 56 +1 +1 0 2 0.66 นําไปใชได 57 0 0 0 0 0.00 นําไปใชไมได 58 0 0 0 0 0.00 นําไปใชไมได 59 +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 60 +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 61 +1 +1 0 2 0.66 นําไปใชได 62 +1 +1 0 2 0.66 นําไปใชได 63 +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 64 +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 65 +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 66 +1 +1 0 2 0.66 นําไปใชได 67 0 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 68 +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 69 +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 70 0 +1 0 1 0.33 นําไปปรับปรุง ตอนที่ 2 จําแนกประเภทของอุปกรณได 71 +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 72 +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 73 +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 74 0 +1 0 1 0.33 นําไปปรับปรุง

N

R∑

Page 176: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

165

ตารางที่ 15 (ตอ) ผูเชี่ยวชาญ ผลรวมคะแนน IOC ขอ

ที่ คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3 (∑R) IOC = แปลผล

75 +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 76 +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 77 +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 78 +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 79 +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 80 +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 81 +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 82 +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 83 0 +1 0 1 0.33 นําไปปรับปรุง 84 +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 85 +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 86 0 +1 0 1 0.33 นําไปปรับปรุง 87 +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 88 +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 89 +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 90 +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได

จากตารางขอสอบที่มีคามากกวา 0.50 ขึ้นไป มีความสอดคลอง สามารถนําไปใชในแบบ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนได สวนขอสอบที่ไดนอยกวา 0.50 นําไปปรับปรุงแกไขตอไป

N

R∑

Page 177: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

166

ตารางที่ 16 แสดงการวิเคราะหหาคาความยากงาย(Difficulty) และคาอํานาจจําแนก (Discrimination) ของแบบทดสอบจํานวน 60 ขอ ขอที่ RH RL P D แปลผล

1 9 4 0.68 0.38 คุณภาพด ี2 7 2 0.35 0.38 คุณภาพด ี3 7 1 0.30 0.46 คุณภาพด ี4 5 3 0.53 0.15 ใชไมได 5 9 1 0.53 0.62 คุณภาพด ี6 10 5 0.65 0.38 คุณภาพด ี7 10 4 0.60 0.46 คุณภาพด ี8 10 5 0.65 0.38 คุณภาพด ี9 7 2 0.35 0.38 คุณภาพด ี10 11 4 0.75 0.54 คุณภาพด ี11 7 2 0.43 0.38 คุณภาพด ี12 10 2 0.63 0.62 คุณภาพด ี13 10 4 0.60 0.46 คุณภาพด ี14 9 3 0.68 0.46 คุณภาพด ี15 11 3 0.68 0.62 คุณภาพด ี16 10 4 0.65 0.46 คุณภาพด ี17 4 6 0.38 -0.15 ใชไมได 18 7 3 0.58 0.31 คุณภาพด ี19 10 2 0.55 0.62 คุณภาพด ี20 10 3 0.50 0.54 คุณภาพด ี21 9 3 0.43 0.46 คุณภาพด ี22 2 1 0.20 0.08 ใชไมได 23 10 1 0.50 0.69 คุณภาพด ี24 8 3 0.45 0.38 คุณภาพด ี25 10 7 0.80 0.23 คุณภาพด ี26 8 3 0.43 0.38 คุณภาพด ี

Page 178: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

167

ตารางที่ 16 (ตอ) ขอที่ PH PL P D แปลผล 27 10 0 0.40 0.77 คุณภาพด ี28 9 4 0.50 0.38 คุณภาพด ี29 7 1 0.35 0.46 คุณภาพด ี30 6 3 0.43 0.23 คุณภาพด ี31 10 3 0.58 0.54 คุณภาพด ี32 11 6 0.65 0.38 คุณภาพด ี33 10 5 0.68 0.38 คุณภาพด ี34 10 5 0.70 0.38 คุณภาพด ี35 9 3 0.55 0.46 คุณภาพด ี36 10 5 0.55 0.38 คุณภาพด ี37 11 3 0.65 0.62 คุณภาพด ี38 10 9 0.85 0.08 ใชไมได 39 8 3 0.40 0.38 คุณภาพด ี40 7 1 0.25 0.46 คุณภาพด ี1 9 3 0.53 0.60 คุณภาพด ี42 9 3 0.40 0.46 คุณภาพด ี43 2 3 0.23 -0.08 ใชไมได 44 3 1 0.20 0.15 ใชไมได 45 7 2 0.35 0.38 คุณภาพด ี46 10 5 0.60 0.38 คุณภาพด ี47 3 3 0.28 0.00 ใชไมได 48 6 3 0.35 0.23 คุณภาพด ี49 9 4 0.40 0.38 คุณภาพด ี50 8 2 0.33 0.46 คุณภาพด ี51 9 4 0.45 0.38 คุณภาพด ี52 9 2 0.40 0.54 คุณภาพด ี53 9 3 0.55 0.46 คุณภาพด ี

Page 179: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

168

ตารางที่ 16 (ตอ) ขอที่ PH PL P D แปลผล 54 10 4 0.50 0.46 คุณภาพด ี55 9 3 0.43 0.46 คุณภาพด ี56 5 1 0.23 0.31 คุณภาพด ี57 6 1 0.38 0.38 คุณภาพด ี58 7 4 0.45 0.23 คุณภาพด ี59 10 6 0.70 0.31 คุณภาพด ี60 10 1 0.50 0.69 คุณภาพด ี

คาความเที่ยงตรง(สูตร KR 20 ) = = 1.03 pqΣ = 13.59 2

tS = 139.64 = = 1.01 1-0.097 = 1.01 0.90 KR20 = 0.909

1nn−

2tS

pq1 Σ−rtt

16060− 64.139

59.131−rtt

1nn−

Page 180: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

169

ตารางที่ 17 สรุปการหาคาความสอดคลองของแบบวัดความพึงพอใจตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวย สอน กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี เร่ือง สวนประกอบของ คอมพิวเตอร จากอาจารยที่ปรึกษา ผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหา และผูเชี่ยวชาญดาน คอมพิวเตอร จาํนวน 3 ทาน

ผูเชี่ยวชาญ ผลรวมคะแนน IOC ขอที่ คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3 (∑R) IOC =

แปลผล

1 +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 2 +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 3 +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 4 +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 5 +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 6 +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 7 0 0 0 0 0.00 นําไปใชไมได 8 0 0 0 0 0.00 นําไปใชไมได 9 +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 10 +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 11 0 +1 0 1 0.33 ปรับปรุง 12 0 0 0 0 0.00 นําไปใชได 13 +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 14 +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 15 0 0 0 0 0.00 นําไปใชไมได 16 +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 17 +1 +1 +1 3 1.00 นําไปใชได 18 0 0 0 0 0.00 นําไปใชไมได 19 0 0 0 0 0.00 นําไปใชไมได 20 0 0 0 0 0.00 นําไปใชไมได

จากตารางขอคําถามที่มีคามากกวา 0.50 ขึ้นไป มีความสอดคลอง สามารถนําไปใชในแบบวัดความพึงพอใจตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนได

N

R∑

Page 181: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

170

ตารางที่ 18 แสดงการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางกาเรียนกอนเรยีนและหลังเรียน กลุมสาระการ เรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี เร่ืองอุปกรณคอมพวิเตอร เพื่อทดสอบความมี นัยสําคัญของความแตกตางระหวางกอนเรียนและหลังเรยีน คนที ่ คะแนนกอนเรยีน(X1) คะแนนหลังเรียน(X2) D (X2-X1) D2

1 20 29 9 81 2 14 26 12 144 3 15 24 9 81 4 23 26 3 9 5 19 25 6 36 6 18 28 10 100 7 20 25 5 25 8 20 27 7 49 9 20 25 5 25 10 25 27 2 4 11 16 24 8 64 12 24 26 2 4 13 17 26 9 81 14 15 23 8 64 15 21 23 2 4 16 19 20 1 1 17 18 25 7 49 18 15 22 7 49 19 21 23 2 4 20 12 24 12 144 21 25 26 1 1 22 17 28 11 121 23 21 25 4 16 24 21 24 3 9 25 19 26 7 49

Page 182: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

171

( )1n

DDn

Dt22

−Σ−Σ

Σ=

( )140

243)1905(40

2432

−−

=t

ตารางที่ 18 (ตอ) คนที ่ คะแนนกอนเรยีน(X1) คะแนนหลังเรียน(X2) D(X2-X1) D2 26 15 19 4 16 27 16 27 11 121 28 19 21 2 4 29 13 23 10 100 30 18 23 5 25 31 19 26 7 49 32 18 21 3 9 33 22 26 4 16 34 18 20 2 4 35 17 22 5 25 36 16 26 10 100 37 22 26 4 16 38 18 24 6 36 39 15 22 7 49 40 15 26 11 121 243 1,905

การวิเคราะหขอมูลโดยใช t-test แบบ Dependent แทนคา df = n-1 df = 39 t = 11.58 จากตารางคํานวณพบวาคา t ที่คํานวณไดมคีามากกวาคาวิกฤตที่กําหนดไว กลาวคือ คะแนนหลังการเรียนดวยบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอนสูงกวากอนเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนอยางมีนัยสําคัญที่ระดับ .05

Page 183: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

172

ตารางที่ 19 แสดงผลรายละเอียดการวิเคราะหความพึงพอใจของนักเรยีนที่มีตอบทเรียน คอมพิวเตอรชวยสอนเรื่อง อุปกรณคอมพวิเตอร

ความถี่(คน) ขอ รายการประเมนิ 5 4 3 2 1 X S.D แปล

ผล ลําดับที่

1 บทเรียนเปดโอกาสใหนักเรียนไดโตตอบกับโปรแกรม

17 21 2 4.37 0.58 ดี 4

2 นักเรียนมีโอกาสเลือกบทเรียนตามตองการได

16 17 5 2 4.17 0.84 ดี 11

3 มีคําอธิบายเนือ้หาที่ชัดเจน 21 10 8 4.05 0.87 ดี 17 4 รูปภาพมีความสวยงามตรง

กับเนื้อหา 22 11 6 1 4.35 0.83 ดี 7

5 ตัวอักษรอานงาย ชัดเจน และสีสันสวยงาม

26 7 5 1 4.37 0.82 ดี 4

6 ปุมเมนูควบคมุเนื้อหาสวนตางๆ ใชงานงาย

18 15 6 4.20 0.72 ดี 10

7 สามารถเลือกเรียนไดดวยตนเองตามความตองการ

20 15 5 4.37 0.70 ดี 4

8 การใหขอมูลยอนกลับชวยใหนกัเรียนเขาใจบทเรียนมากขึ้น

21 15 4 4.42 0.67 ดี 3

9 จัดลําดับเนื้อหาในแตละบทเรียนไดเหมาะสม

23 17 4.57 0.50 ดีที่สุด 1

10 ความยากงายของเนื้อหาเหมาะสมกับนักเรียน

13 20 7 4.15 0.69 ดี 14

11 แบบทดสอบมีความสอดคลองกับเนื้อหาในบทเรียน

18 17 5 4.32 0.69 ดี 8

12 นักเรียนมีความกลาเพิ่มขึ้นที่จะเลือกคําตอบดวยตนเอง

16 15 9 4.17 0.87 ดี 11

Page 184: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

173

ตารางที่ 19 (ตอ) ความถี่(คน) ขอ รายการประเมนิ

5 4 3 2 1 X S.D แปลผล

ลําดับที่

13 คอมพิวเตอรทาํใหนกัเรียนเขาใจบทเรียนไดงายยิ่งขึ้น

16 14 9 1 4.12 0.85 ดี 15

14 เนื้อหาสามารถนําไปใชในชีวิตประจําวันได

18 17 4 1 4.30 0.75 ดี 9

15 นักเรียนมีความสุขกับการเรียนโดยใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน

18 13 7 2 4.17 0.90 ดี 11

16 นักเรียนศึกษาเนื้อหาเรื่องตางๆไดนานโดยไมรูสึกเบื่อ

14 8 10

7 1 3.67 1.20 ดี 19

17 นักเรียนตองการใหเพื่อนหองอื่นมีโอกาสเรียนแบบนักเรียนบาง

13 15 7 5 3.90 1.00 ดี 18

18 นักเรียนมีความสุขกับการเรียนดวยวิธีนีม้ากกวาเรียนกับครู

26 11 1 2 4.52 0.78 ดีที่สุด 2

19 นักเรียนตองการเรียนโดยมีครูสอนตามปกติ

5 10 13

8 4 3.10 1.17 ปานกลาง

20

20 นักเรียนเกดิความวิตกกังวลเมื่อตองเรียนโดยใชส่ือคอมพิวเตอร

1 4 8 5 22 1.19 1.18 ดี 16

Page 185: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

ภาคผนวก ช

คูมือการใชสื่อคอมพิวเตอรชวยสอน

Page 186: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

175

คูมือการใชสื่อคอมพิวเตอรชวยสอน สาระการเรียนรูการงานอาชพีและเทคโนโลยี

เร่ือง สวนประกอบคอมพิวเตอร สําหรับนักเรียนชวงชั้นท่ี 2

จุดประสงค 1. บอกชื่อและหนาที่ของอปุกรณคอมพวิเตอรที่กําหนดใหได 2. จําแนกประเภทของอุปกรณคอมพิวเตอรได การเตรียมตัวครูผูสอน 1. มีความรูพืน้ฐานการใชคอมพิวเตอรและศึกษาวิธีการใชโปรแกรม 2. ครูผูสอนตองจัดเตรียมเครื่องคอมพิวเตอรดังนี้ 2.1 เครื่องคอมพิวเตอรทีใ่ชหนวยประมวลผลความเร็วตั้งแต 233 MHz ขึ้นไป 2.2 ความละเอียดจอคอมพิวเตอร 800 X 600 Pixels 2.3 หนวยความจําหลัก 64 MB ขึ้นไป 2.4 ใชระบบปฏิบัติการ Windows 98 ขึ้นไป 2.5 มีระบบมัลติมีเดียรองรับ การใชงาน 1. ใสแผน CD-Rom ในไดวซีดีรอม 2. บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนจะเปดเนื้อหาโดยอัตโนมัติ(Auto Run) 3. กรณีที่โปรแกรมมีปญหาไมสามารถเปดไดใหดําเนินการดังนี ้ 3.1 ดับเบลิคลิกชอตคัท My Computer 3.2 ดับเบลิคลิกเมาสไดวที่ติดตั้งซีด-ีรอม 3.3 ดับเบลิคลิกเมาสชอตคัทชื่อ CAI5

Page 187: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

176

ผังแสดงการทาํงานของโปรแกรม

บทนํา

เมนูหลัก

คําแนะนําการ วัตถุประสงค แบบทดสอบ เนื้อหา ออกจาก โปรแกรม

สวนประกอบ ประเภท

แปนพิมพ

เมาส

ซีพียู

จอภาพ

ลําโพง

เครื่องพิมพ

สแกนเนอร

แบบฝกหัดระหวาง

หนวยนําเขา

หนวยประมวลผล

หนวยแสดงผล

แบบฝกหัดระหวางเรยีน

ออก

ออก

ออก

ออก

ออก

ออก

ออก

ออก

ออก

ออก

Page 188: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

177

สวนของบทนําเขาสูบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เร่ือง สวนประกอบคอมพิวเตอร

ภาพแสดงสวนของการรับขอมูลของผูเขาใชบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอน

Page 189: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

178

สวนของคําชี้แจงการใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เร่ือง สวนประกอบคอมพิวเตอร

ภาพแสดงสวนของเมนหูลักและคําแนะนําการใชส่ือคอมพิวเตอรชวยสอน

Page 190: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

179

แบบทดสอบกอนเรียนบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เร่ือง สวนประกอบคอมพิวเตอร

ภาพตัวอยางแสดงรายละเอียดในสวนของแบบทดสอบกอนเรียน

Page 191: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

180

บทนําเขาสูเนื้อหาหลักของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เร่ือง สวนประกอบคอมพิวเตอร

ภาพ

แสดงในสวนของบทนํากอนเขาสูเนื้อหาหลักบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน

Page 192: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

181

เมนูเนื้อหาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เร่ือง สวนประกอบคอมพิวเตอร

ภาพแสดงเมนูหลักของเนื้อหาหนวยที่ 1 และ 2

ภาพแสดงเมนูเนื้อหายอยของบทเรียนหนวยที่ 1 เรื่องอุปกรณคอมพวิเตอร

Page 193: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

182

ภาพแสดงตวัอยางเนื้อหาหนวยที่ 1 เรื่อง แปนพิมพ

ภาพแสดงตัวอยางเนื้อหาหนวยที่ 1 เรื่อง หนวยประมวลผลกลาง

ภาพแสดงตัวอยางเนื้อหาหนวยที่ 1 เรื่อง เมาส

Page 194: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

183

ภาพแสดงตัวอยางเนื้อหาหนวยที่ 1 เรื่อง จอภาพ

ภาพแสดงตัวอยางเนื้อหาหนวยที ่1 เรื่อง เครื่องพิมพ

ภาพแสดงตวัอยางเนื้อหาหนวยที่ 1 เรื่อง ลําโพง

Page 195: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

184

ภาพแสดงตวัอยางเนื้อหาหนวยที่ 1 เรื่อง เครื่องสแกนเนอร

ภาพแสดงคาํชี้แจงกอนที่ผูเรียนจะเขาทําแบบทดสอบหลังเรียน หนวยที ่1 เรื่องอุปกรณคอมพิวเตอร

ภาพแสดงคําชี้แจงการทาํแบบทดสอบหลังเรียนเรื่อง อุปกรณคอมพิวเตอร

Page 196: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

185

ภาพแสดงตัวอยางแบบทดสอบหลังเรียนหนวยที่ 1

เร่ือง อุปกรณคอมพวิเตอร

ภาพแสดงผลคะแนนหลังจากที่ผูเรียนทาํทดสอบหลังเรียนหนวยที่ 1 เร่ือง อุปกรณคอมพิวเตอร

Page 197: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

186

ภาพแสดงบทนําของเนื้อหาหนวยท่ี 2 เร่ืองประเภทของอุปกรณคอมพิวเตอร

ภาพแสดงปุมเมนูของเนื้อหาหนวยที ่2 เร่ืองประเภทของอุปกรณคอมพิวเตอร

ภาพแสดงตัวอยางเนื้อหาเรื่องหนวยรับขอมูลเขา

ภาพตัวอยางแสดงเนื้อหาเรื่องหนวยประมวลผลกลาง

Page 198: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

187

แบบทดสอบหลังเรียนบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเรื่องสวนประกอบคอมพิวเตอร

ภาพแสดงขอคําถามแบบทดสอบหลังเรียนจํานวน 30 ขอ

ภาพแสดงการโตตอบของโปรแกรมกับผูเรียนในกรณีทีผู่เรียนตอบคําถามผิด

ภาพแสดงการโตตอบของโปรแกรมกับผูเรียนในกรณีทีผู่เรียนตอบคําถามถูกตอง

Page 199: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

188

ภาพแสดงการโตตอบของโปรแกรมเมื่อผูเรียนคลิกเมาสออกจากโปรแกรม

โปรแกรมแสดงปุมเมนูเพื่อยืนยันการตัดสินใจของผูเรียน

ภาพแสดงผลคะแนนทั้งหมดเมื่อผูเรียนคลิกเมาสปุมเมนูผลคะแนน

Page 200: การพัฒนาบทเรียนคอมพิ ช วเตอรวยสอนกลุ มสาระการเรียนรู การ ...the development

189

ประวัติผูวิจัย

ช่ือ-สกุล นายวัชระ เยยีระยงค ที่อยู 41/56 ตําบลออมนอย อําเภอกระทุมแบน จังหวดัสมุทรสาคร ที่ทํางาน โรงเรียนพระตําหนักสวนกหุลาบ มหามงคล

ตําบลศาลายา อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษานครปฐม เขต 2

ประวัติการศึกษา พ.ศ. 2515 สําเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษา

โรงเรียนเมืองราชบุรี อําเภอเมือง จังหวัดราชบุรี พ.ศ. 2518 สําเร็จชั้นมัธยมศึกษาตอนตน

โรงเรียนเบญจมราชูทิศ อําเภอเมือง จังหวัดราชบุรี พ.ศ. 2525 สําเร็จการศึกษาปริญญาตรี วิชาเอกอุตสาหกรรมศิลป

วิทยาลัยครูหมูบานจอมบึง จงัหวัดราชบุรี พ.ศ. 2544 สําเร็จการศึกษาปริญญาตรี วิชาเอกคอมพิวเตอรศึกษา

สถาบันราชภัฏหมูบานจอมบึง จังหวดัราชบุรี พ.ศ. 2545 ศึกษาตอระดบัปริญญามหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีการศึกษา

บัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยัศิลปากร ประวัติการรับราชการ พ.ศ. 2524 ครู 2 โรงเรียนวัดสาลวนั ตําบลศาลายา อําเภอนครชัยศรี

จังหวดันครปฐม พ.ศ. 2544-ปจจุบัน

ครู คศ. 2 โรงเรียนพระตําหนักสวนกหุลาบ มหามงคล ตําบลศาลายา อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม