วิธีการดําเนินการวิจัยportal.edu.chula.ac.th/pub/thinking/publicizedoc/10.pdf ·...

34
บทที3 วิธีการดําเนินการวิจัย การสังเคราะหรูปแบบ วิธีการ กระบวนการ เทคนิค สื่อการจัดการเรียนรูเพื่อพัฒนาการคิดของ ผูเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานทั้งในประเทศและตางประเทศนี้มีวิธีดําเนินการวิจัยสรุปไดเปน 4 ระยะ ไดแก (1) การสรางทีมและแผนปฏิบัติการวิจัย (2) การสํารวจงานวิจัยภายในประเทศและตางประเทศ (3) การสรางและพัฒนาระบบฐานขอมูล และ (4) การวิเคราะห การสังเคราะหและการจัดทํารายงาน แตละระยะมีรายละเอียด ดังตอไปนีตารางที3.1 ระยะตางๆ ของการดําเนินงานวิจัย ระยะ จุดมุงหมาย ระยะที1 การสรางทีมและแผนปฏิบัติการวิจัย ระยะที2 การสํารวจงานวิจัยภายในประเทศและตางประเทศ ระยะที3 การสรางและพัฒนาระบบฐานขอมูล ระยะที4 การวิเคราะห การสังเคราะหและการจัดทํารายงาน ระยะที1 การสรางทีมและแผนปฏิบัติการวิจัย นักวิจัยหลักของโครงการนี้ประกอบดวย ทีมคณาจารยของคณะครุศาสตร จํานวน 6 คน จาก 3 ภาควิชา อันไดแก คณาจารยจากภาควิชาวิจัยและจิตวิทยาการศึกษาจํานวน 3 คน ภาควิชาหลักสูตร การสอนและเทคโนโลยีการศึกษาจํานวน 2 คน และภาควิชานโยบาย การจัดการและความเปนผูนําทาง การศึกษาจํานวน 1 คน นอกจากนักวิจัยหลัก 6 คน แลวคณะทํางานยังประกอบดวย ผูจัดการโครงการ จํานวน 1 คน ผูเชี่ยวชาญเทคโนโลยีการศึกษาดานการพัฒนาเว็บไซตจํานวน 1 คน และผูชวยนักวิจัย ประจําโครงการจํานวน 2 คน นอกจากนี้ในงานการสังเคราะหงานวิจัยแตละกลุมทั้ง 6 กลุมนั้น ไดมีผูชวย นักวิจัย ซึ่งเปนนิสิตบัณฑิตศึกษาในระดับปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต และดุษฎีบัณฑิตของคณะ ครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย รวมทั้งสิ้น 23 คน กระบวนการสรางทีมใชวิธีการประชุมคณะนักวิจัย หลักอยางตอเนื่อง เพื่อวางแผนงาน แผนคน แผนปฏิบัติการ และการกํากับติดตามผล โดยใชหลักการ กัลยาณมิตรและการรวมมือรวมพลังแลกเปลี่ยนเรียนรูอยางใหเกียรติในคุณคาของความรู ประสบการณ ความคิดเห็น และขอเสนอแนะของทุกคน กิจกรรมการประชุมใหความสําคัญกับการวางแผน การดําเนินการประชุม การบันทึกการประชุม การรวมเรียนรู และติดตามพัฒนาผลงานและความรูตางๆ รูปแบบของการทํางานเปนแบบการวิจัยและพัฒนาอยางตอเนื่องตลอดโครงการ

Upload: others

Post on 18-Aug-2020

2 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: วิธีการดําเนินการวิจัยportal.edu.chula.ac.th/pub/thinking/publicizedoc/10.pdf · 2010. 8. 26. · บทที่ 3 วิธีการ

บทที่ 3

วิธีการดําเนินการวิจัย

การสังเคราะหรูปแบบ วิธีการ กระบวนการ เทคนิค สื่อการจัดการเรียนรูเพื่อพัฒนาการคิดของ

ผูเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานทั้งในประเทศและตางประเทศนี้มีวิธีดําเนินการวิจัยสรุปไดเปน 4 ระยะ

ไดแก (1) การสรางทีมและแผนปฏิบัติการวิจัย (2) การสํารวจงานวิจัยภายในประเทศและตางประเทศ

(3) การสรางและพัฒนาระบบฐานขอมูล และ (4) การวิเคราะห การสังเคราะหและการจัดทํารายงาน

แตละระยะมีรายละเอียด ดังตอไปนี้

ตารางที่ 3.1 ระยะตางๆ ของการดําเนินงานวิจัย

ระยะ จุดมุงหมาย

ระยะที ่1 การสรางทีมและแผนปฏิบัติการวิจยั

ระยะที ่2 การสํารวจงานวิจยัภายในประเทศและตางประเทศ

ระยะที ่3 การสรางและพัฒนาระบบฐานขอมูล

ระยะที ่4 การวิเคราะห การสังเคราะหและการจัดทาํรายงาน

ระยะที่ 1 การสรางทีมและแผนปฏิบัติการวิจัย นักวิจัยหลักของโครงการนี้ประกอบดวย ทีมคณาจารยของคณะครุศาสตร จํานวน 6 คน จาก

3 ภาควิชา อันไดแก คณาจารยจากภาควิชาวิจัยและจิตวิทยาการศึกษาจํานวน 3 คน ภาควิชาหลักสูตร

การสอนและเทคโนโลยีการศึกษาจํานวน 2 คน และภาควิชานโยบาย การจัดการและความเปนผูนําทาง

การศึกษาจํานวน 1 คน นอกจากนักวิจัยหลัก 6 คน แลวคณะทํางานยังประกอบดวย ผูจัดการโครงการ

จํานวน 1 คน ผูเชี่ยวชาญเทคโนโลยีการศึกษาดานการพัฒนาเว็บไซตจํานวน 1 คน และผูชวยนักวิจัย

ประจําโครงการจํานวน 2 คน นอกจากนี้ในงานการสังเคราะหงานวิจัยแตละกลุมทั้ง 6 กลุมนั้น ไดมีผูชวย

นักวิจัย ซึ่งเปนนิสิตบัณฑิตศึกษาในระดับปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต และดุษฎีบัณฑิตของคณะ

ครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย รวมทั้งสิ้น 23 คน กระบวนการสรางทีมใชวิธีการประชุมคณะนักวิจัย

หลักอยางตอเนื่อง เพื่อวางแผนงาน แผนคน แผนปฏิบัติการ และการกํากับติดตามผล โดยใชหลักการ

กัลยาณมิตรและการรวมมือรวมพลังแลกเปลี่ยนเรียนรูอยางใหเกียรติในคุณคาของความรู ประสบการณ

ความคิดเห็น และขอเสนอแนะของทุกคน กิจกรรมการประชุมใหความสําคัญกับการวางแผน

การดําเนินการประชุม การบันทึกการประชุม การรวมเรียนรู และติดตามพัฒนาผลงานและความรูตางๆ

รูปแบบของการทํางานเปนแบบการวิจัยและพัฒนาอยางตอเนื่องตลอดโครงการ

Page 2: วิธีการดําเนินการวิจัยportal.edu.chula.ac.th/pub/thinking/publicizedoc/10.pdf · 2010. 8. 26. · บทที่ 3 วิธีการ

132

เพื่อใหการวิจัยและพัฒนาเปนไปอยางมีประสิทธิผลและประสิทธิภาพ คณะนักวิจัยจึงไดออกแบบ

การบริหารโครงการโดยกําหนดโครงสรางของการจัดทีมทํางาน ประกอบดวย ทีมกลองกลางจํานวน 1 ทีม

และทีมเฉพาะกิจจํานวน 7 ทีม ทั้ง 8 ทีมนี้ทํางานรวมกันอยางเปนเครือขายการเรียนรูแบบเปนชุดโครงการ

ดังแสดงในแผนภาพที่ 3.1 และรายนามคณะทํางานแตละทีมปรากฎในภาคผนวก ง

แผนภาพที่ 3.1 การแบงกลุมทีมงานวิจยั

สําหรับการวางแผนปฏิบัติการวิจัยนั้น บทเรียนเริ่มตนของทีมนักวิจัยคือ การศึกษาและนิยาม

มโนทัศนหลักของโครงการ บทเรียนนี้เกิดขึ้นไดดวยกิจกรรมหลัก 2 อยางดังนี้

1) การประชุมทีมนักวิจัยเพื่อรวมสรางความเขาใจในเปาหมาย กระบวนการ และแผนงาน

2) การศึกษาเอกสารงานวิจัยเพื่อนิยาม “นวัตกรรม” “รูปแบบ” “วิธีการ” “กระบวนการ” “เทคนิค”

และ “สื่อ” เพื่อพัฒนาการเรียนรูและการคิดของผูเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

คณะนักวิจัยรวมกันศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของกับนวัตกรรมทางการศึกษา เพื่อนิยาม

คําสําคัญในการวิจัยคือคําวา “นวัตกรรม” ซึ่งใชเปนคําหลักหรือเปนรมใหญในการนิยาม และมีคําสําคัญ

ที่อยูภายใตคํานี้ซึ่งจะมีคําที่มีความหมายครอบคลุมอยางลดหลั่นกันลงมาดังนี้ “รูปแบบ” “วิธีการ”

“กระบวนการ” “เทคนิค” และ “ส่ือ”

นักวิจัยไดใชบทเรียนเหลานี้ในการนิยามมโนทัศนที่สําคัญของการวิจัย และการออกแบบเครื่องมือ

ตางๆ และฐานขอมูลรวมทั้งแผนปฏิบัติการวิจัยเสนอในตารางที่ 3.2

ทีมชวงชัน้ที ่1

ทีมกองกลาง

ทีมชวงชัน้ที ่2

ทีมชวงชัน้ที ่3 ทีมชวงชัน้ที ่4

ทีมครู

ทีมเทคนิค

เว็บไซต

ทีมปฐมวัย

Page 3: วิธีการดําเนินการวิจัยportal.edu.chula.ac.th/pub/thinking/publicizedoc/10.pdf · 2010. 8. 26. · บทที่ 3 วิธีการ

133

ตารางที่ 3.2 แผนปฏิบัติการของการดําเนินงานวิจัย

กิจกรรม เวลา ผลผลิต

ระยะที ่1

1) การประชุมทีมนกัวิจยัเพือ่รวมสราง

ความเขาใจในเปาหมาย กระบวนการ

และแผนงาน

2) การศึกษาเอกสารงานวิจยัเพื่อนิยาม

“นวัตกรรม” “รูปแบบ” “วิธีการ”

“กระบวนการ” “เทคนิค” และ “ส่ือ” เพื่อ

พัฒนาการเรียนรูและการคิดของผูเรียน

ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน

ก.ย.–พ.ย. 2550

พ.ย.–ธ.ค. 2550

1) ไดทีมวิจัยรวมทัง้สิน้ 33 คน

(6+1+1+2+23)

2) ไดแผนปฏิบัติการ

3) ไดนิยามคาํสําคัญคือ

คําวา “นวัตกรรม” “รูปแบบ” “วิธกีาร”

“กระบวนการ” “เทคนิค” และ “สื่อ” เพื่อ

พัฒนา การเรยีนรูและการคิดของ

ผูเรียนระดับการศึกษาขัน้

พื้นฐาน

ระยะที ่2

การสืบคนงานวิจัยภายในประเทศ จาก

ฐานขอมูลของ Thailis ดวยคําสําคัญที่ใช

ในการสืบคนคือ “การคิด” โดยชวงเวลาใน

การสืบคนตั้งแตป พ.ศ.2541-พ.ศ.2550

และการสืบคนงานวิจัยตางประเทศ จาก

ฐานขอมูลของ ERIC ดวยคาํสําคัญที่ใชใน

การสืบคนคือ ”thinking” โดยชวงเวลาใน

การสืบคนตั้งแตป ค.ศ.1997-ค.ศ.2007

เฉพาะที่เปนการวิจัยเชงิทดลอง และ

คัดเลือกงานวจิัยเพื่อจัดทําฐานขอมูล

งานวิจยั

ธ.ค. 2550

ไดปริมาณงานวิจยั 276 เร่ือง เปน

งานวิจยัในประเทศ 243 เร่ือง งานวิจยั

ตางประเทศ 33 เร่ือง

Page 4: วิธีการดําเนินการวิจัยportal.edu.chula.ac.th/pub/thinking/publicizedoc/10.pdf · 2010. 8. 26. · บทที่ 3 วิธีการ

134

ตารางที่ 3.2 (ตอ)

กิจกรรม เวลา ผลผลิต

ระยะที ่3

1) การออกแบบระบบฐานขอมูลฯ เพื่อใช

ในการวิเคราะหและเพื่อใชในการพัฒนา

เว็บไซต

2) การสรางและพัฒนาเครือ่งมือใน

การวิจยั

3) การบันทึกและการตรวจสอบขอมูล

ในระบบฐานขอมูลฯ

4) การออกแบบและสรางเวบ็ไซตเพื่อ

นําเสนอฐานขอมูลงานวิจยัดานนวัตกรรม

การจัดการเรียนรูเพื่อพัฒนาการคิดของ

ผูเรียนระดับการศึกษาขัน้พืน้ฐาน

5) การเก็บขอมูลเกี่ยวกับการสอนที ่

สงเสริมการคิดของผูเรียนของครูแหงชาติ

และครูตนแบบ 43 คน

ม.ค.-มิ.ย. 2551

1) ไดระบบขอมูล 3 ระบบคอื ระบบ

ขอมูลงานวิจยั นวัตกรรมและเครื่องมือ

วิจัย

2) ไดเครื่องมือในการวจิัย 6 ชุด

3) ไดเร่ิมสรางฐานขอมูล

4) ไดเว็บไซตระบบฐานขอมลูฉบับ

เร่ิมตน

5) ไดขอมูลครูแหงชาติ/ครูตนแบบ

จํานวน 43 คน

Page 5: วิธีการดําเนินการวิจัยportal.edu.chula.ac.th/pub/thinking/publicizedoc/10.pdf · 2010. 8. 26. · บทที่ 3 วิธีการ

135

ตารางที่ 3.2 (ตอ)

กิจกรรม เวลา ผลผลิต

ระยะที ่4

1) การทดลองใช การปรับปรุง และ

การพัฒนาระบบฐานขอมูลและเว็บไซต

2) การวิเคราะหและสังเคราะห เอกสาร

รายงานการวจิัย และเว็บไซตที่เกี่ยวของ

กับรูปแบบ เทคนิค วิธกีาร กระบวนการ

นวัตกรรมการจัดการเรียนรูเพื่อพัฒนาการ

คิดของผูเรียนระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน

ทั้งในประเทศและตางประเทศ รวมกับผล

จากการสัมภาษณครู

3) การจัดทาํรางรายงานการสังเคราะห

งานวิจยัตามวตัถุประสงค

4) การจัดประชุมพิจารณารางรายงาน

การวิจยัและปรับปรุงรางรายงานการวิจัย

5) การจัดประชุมนําเสนอรายงานการวิจยั

ตอผูทรงคุณวฒุิจากสาํนกังาน

คณะกรรมการการศึกษาขัน้พื้นฐาน

อาจารยจากสถาบนัผลิตครู และตัวแทน

ครูจากโรงเรียนระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน

ทุกชวงชัน้

ก.ค.-ก.ย. 2551

1) ไดเว็บไซตที่บรรจุฐานขอมูล

ที่ครบถวน

2) ไดผลการวเิคราะหและสงัเคราะห

ขอมูลรูปแบบ เทคนิค วิธกีาร

กระบวนการ นวัตกรรมการจัดการ

เรียนรูเพื่อพัฒนาการคิดของผูเรียน

ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานทั้งใน

ประเทศและตางประเทศ

3) ไดรายงานการสังเคราะหงานวิจยั

ฉบับราง

4) ไดรายงานการสังเคราะหงานวิจยั

ฉบับปรับปรุง

5) ไดรายงานการสังเคราะหงานวิจยั

ฉบับสมบูรณและไดเว็บไซตที่บรรจุ

ระบบฐานขอมูลที่สมบูรณ

และใชการไดดี

Page 6: วิธีการดําเนินการวิจัยportal.edu.chula.ac.th/pub/thinking/publicizedoc/10.pdf · 2010. 8. 26. · บทที่ 3 วิธีการ

136

ระยะที่ 2 การสํารวจงานวิจัยภายในประเทศและตางประเทศ 2.1 การสืบคนฐานขอมูลงานวิจัยในประเทศ 1) กรอบการสืบคน

ในการสืบคนฐานขอมูลงานวิจัยในประเทศไดมีการกําหนดขอบเขตของการสืบคนดังนี้

คําสําคัญที่ใชในการสืบคนคือคําวา “การคิด” และ “ความคิด” กลุมตัวอยางคือ นักเรียนระดับการศึกษา

ขั้นพื้นฐาน ชวงเวลาที่สืบคน คือ พ.ศ.2541-พ.ศ.2550 และเลือกเฉพาะที่เปนงานวิจัยเชิงทดลองและ

กึ่งทดลอง ซึ่งจัดกลุมแบบการวิจัยตามประเภทงานวิจัยไดดังตารางตอไปนี้

ตารางที่ 3.3 แบบการวิจัยจําแนกตามประเภทงานวิจัย

ประเภทงานวิจัย แบบการวิจัย

1. การวิจัยเชิงทดลอง

1.1 Pre Experimental Design

1.2 True Experimental Design

1.3 Quasi Experimental Design

2. การวิจัยและพัฒนา

2.1 Needs Assessment + Pre Experimental Design

2.2 Needs Assessment + Pre Experimental Design + True

Experimental Design

2.3 Needs Assessment + Pre Experimental Design + True

Experimental Design + Quasi Experimental Design

2.4 Needs Assessment + Quasi Experimental Design

2) ฐานขอมูลที่ใชในการสืบคน

คณะนักวิจัยไดใชกรอบการสืบคนขางตนคนงานวิจัยโดยดําเนินการสืบคนฐานขอมูล

งานวิจัยในประเทศ 18 ฐาน ดังนี้

(1) ฐานขอมูลของ Thailis คือ http://dcms.thailis.or.th/dcms/advance.php

(2) ฐานขอมูลของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลยั คือ http://www.car.chula.ac.th

(3) ฐานขอมูลของมหาวทิยาลยัศรีนครินทรวโิรฒ ประสานมิตร คือ

http://dclib.swu.ac.th/dcmsth/search.nsp?view=DCMS&db0=DCMS&

numresults=25&sortfield=MAINT&sortorder=ASCENDING&query0=

A1%D2%C3%A4%D4%B4&field0=_All_

Page 7: วิธีการดําเนินการวิจัยportal.edu.chula.ac.th/pub/thinking/publicizedoc/10.pdf · 2010. 8. 26. · บทที่ 3 วิธีการ

137

(4) ฐานขอมูลของมหาวทิยาลยับูรพา คือ

http://chonlinet.lib.buu.ac.th/opac/servlet/QuickSearchServlet?DLang

=T&Type= W&NSH=T

(5) ฐานขอมูลของมหาวทิยาลยัขอนแกน คือ http://lib09.kku.ac.th

(6) ฐานขอมูลของมหาวทิยาลยัมหาสารคาม คือ

http://www.library.msu.ac.th/interface/singlemarc/_search/thesis/

(7) ฐานขอมูลของมหาวทิยาลยัเชียงใหม คือ

http://library.cmu.ac.th/cmul_new/index.php

(8) ฐานขอมูลของมหาวทิยาลยัสุโขทัยธรรมาธิราช คือ

http://202.28.103.55/dcmsth/main.nsp?view=DCMS

(9) ฐานขอมูลของมหาวทิยาลยัรามคําแหง คือ

http://dcms.lib.ru.ac.th/search.nsp?view=DCMS&db0=DCMS&numr

esults=25&sortfield=MAINT&sortorder=ASCENDING&query0=%A1%D2%C3

%A4%D4%B4&field0=_All_

(10) ฐานขอมูลของมหาวทิยาลยันเรศวร คือ http://www.lib.nu.ac.th/index.php

(11) ฐานขอมูลของมหาวทิยาลยัอุบลราชธาน ีคือ

http://dcms.lib.ubu.ac.th/dcmsth/main.nsp?view=DCMS

(12) ฐานขอมูลของมหาวทิยาลยัศิลปากร คือ http://www.thapra.lib.su.ac.th/thesis

(13) ฐานขอมูลของมหาวทิยาลยัมหิดล คือ http://www.li.mahidol.ac.th/indext.htm

(14) ฐานขอมูลของมหาวทิยาลยัเทคโนโลยพีระจอมเกลาพระนครเหนือ คือ

http://library.kmitnb.ac.th

(15) ฐานขอมูลของมหาวทิยาลยัเกษตรศาสตร คือ

http://www.lib.ku.ac.th/html/page.php?page=main

(16) ฐานขอมูลของมหาวทิยาลยัสงขลานครนิทร วทิยาเขตหาดใหญ คือ

http://www.clib.psu.ac.th/wwwclib

(17) ฐานขอมูลของมหาวทิยาลยัสงขลานครินทร วทิยาเขตปตตาน ีคือ

http://tanee.oas.psu.ac.th/

(18) ฐานขอมูลของหอสมุดแหงชาติ คือ http://www.nlt.go.th/

Page 8: วิธีการดําเนินการวิจัยportal.edu.chula.ac.th/pub/thinking/publicizedoc/10.pdf · 2010. 8. 26. · บทที่ 3 วิธีการ

138

3) ผลการสืบคนขอมูลงานวิจัยในประเทศ ผลการสืบคนขอมูลงานวิจัยในประเทศตามกรอบการสืบคนจากฐานขอมูล 18 ฐาน พบวา

มีงานวิจัยจํานวน 243 เร่ือง จําแนกตามกลุมเปาหมายได 6 กลุมตามขอบเขตการวิจัย พบวา มีการ

แจกแจงดังนี้ กลุมที่ 1 คือ ระดับปฐมวัย มีงานวิจัยจํานวน 53 เร่ือง กลุมที่ 2 คือ ระดับชวงชั้นที่ 1

มีงานวิจัยจํานวน 15 เร่ือง กลุมที่ 3 คือ ระดับชวงชั้นที่ 2 มีงานวิจัยจํานวน 50 เร่ือง กลุมที่ 4 คือ ระดับ

ชวงชั้นที่ 3 มีงานวิจัยจํานวน 68 เร่ือง กลุมที่ 5 คือ ระดับชวงชั้นที่ 4 มีงานวิจัยจํานวน 38 เร่ือง และกลุม

ที่ 6 คือ กลุมครู มีงานวิจัยจํานวน 19 เร่ือง ซึ่งรายชื่องานวิจัยของแตละกลุมนําเสนออยูในภาคผนวก ข

จากปริมาณงานวิจัยในประเทศจํานวน 243 เร่ือง พบวามีงานวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนา

ผูเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานจํานวน 171 เร่ือง ซึ่งเมื่อจําแนกงานวิจัยกลุมนี้ตามระดับชั้นและกลุม

สาระการเรียนรูทําใหไดผลการแจกแจงดังตารางที่ 3.4

Page 9: วิธีการดําเนินการวิจัยportal.edu.chula.ac.th/pub/thinking/publicizedoc/10.pdf · 2010. 8. 26. · บทที่ 3 วิธีการ

139

ตารางที่ 3.4 จํานวนและรอยละของงานวิจัยในประเทศจําแนกตามระดับชั้นและกลุมสาระการเรียนรู

ภาษาไทย คณิตศาสตร วิทยาศาสตร

สังคมศกึษา ศาสนา และวัฒนธรรม ศิลปะ

การงานอาชีพและเทคโนโลย ี

สุขศึกษาและพลศึกษา ภาษาตางประเทศ ไมสังกัด บูรณาการ รวม

กลุมสาระ

ระดับชั้น จํา นวน

รอยละ

จํา นวน

รอย ละ

จํา นวน

รอย ละ

จํา นวน

รอย ละ

จํา นวน

รอยละ

จํา นวน

รอยละ

จํา นวน

รอยละ

จํา นวน

รอยละ

จํา นวน

รอย ละ

จํา นวน

รอยละ

จํา นวน

รอย ละ

ป.1 - - - - - - 1 0.58 1 0.58 - - - - - - - - 2 1.17 4 2.34

ป.2 1 0.58 2 1.17 2 1.17 1 0.58 - - - - - - - - - - - - 6 3.51

ป.3 - - - - 1 0.58 - - - - - - - - 1 0.58 2 1.17 1 0.58 5 2.92

ป.4 1 0.58 2 1.17 6 3.51 1 0.58 - - - - - - 1 0.58 2 1.17 - - 13 7.60

ป.5 - - 3 1.75 6 3.51 1 0.58 - - - - - - - - 2 1.17 - - 12 7.02

ป.6 2 1.17 2 1.17 11 6.43 4 2.34 - - 1 0.58 - - 1 0.58 4 2.34 - - 25 14.62

ม.1 - - 2 1.17 9 5.26 9 5.26 - - - - - - - - 3 1.75 - - 23 13.45

ม.2 - - 3 1.75 16 9.36 5 2.92 - - 2 1.17 - - 1 0.58 2 1.17 - - 29 16.96

ม.3 2 1.17 2 1.17 3 1.75 3 1.75 - - - - - - - - 3 1.75 1 0.58 14 8.19

ม.1 – ม.3 - - - - 1 0.58 1 0.58 - - - - - - - - - - - - 2 1.17

ม.4 3 1.75 2 1.17 5 2.92 2 1.17 - - - - - - 2 1.17 2 1.17 - - 16 9.36

ม.5 - - 1 0.58 8 4.68 3 1.75 - - - - - - - - 1 0.58 - - 13 7.60

ม.6 2 1.17 - - 3 1.75 2 1.17 - - - - - - 2 1.17 - - - - 9 5.26

รวม 11 6.43 19 11.11 71 41.52 33 19.30 1 0.58 3 1.75 - - 8 4.68 21 12.28 4 2.34 171 100.00

139

Page 10: วิธีการดําเนินการวิจัยportal.edu.chula.ac.th/pub/thinking/publicizedoc/10.pdf · 2010. 8. 26. · บทที่ 3 วิธีการ

140

จากตารางที่ 3.4 สรุปไดวางานวิจัยที่ศึกษาเกี่ยวกับนวัตกรรมในการพัฒนาการคิดของนักเรียน

ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานในประเทศมีจํานวน 171 เรื่อง พบวา มีการศึกษาในกลุมนักเรียน

ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 มากที่สุด คือ จํานวน 29 เร่ือง และคิดเปนรอยละ 16.96 รองลงมาไดแกกลุมนักเรียน

ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 คือ จํานวน 25 เร่ือง และคิดเปนรอยละ 14.62 และกลุมนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา

ปที่ 1 คือ จํานวน 23 เร่ือง และคิดเปนรอยละ13.45 ตามลําดับ และเมื่อจําแนกตามกลุมสาระการเรียนรู

พบวา มีการศึกษาในกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรมากที่สุด คือ จํานวน 71 เร่ือง และคิดเปนรอยละ

41.52 รองลงมาไดแกกลุมสาระการเรียนรูวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม คือ จํานวน 33 เร่ือง

และคิดเปนรอยละ 19.30 และไมสังกัดกลุมสาระการเรียนรู คือ จํานวน 21 เร่ือง และคิดเปนรอยละ 12.28

ตามลําดับ

เมื่อวิเคราะหงานวิจัย 243 เร่ือง โดยจําแนกตามตัวแปรตามคือ “การคิด” ที่งานวิจัยแตละเร่ือง

ศึกษาพบวา จาก 243 เ ร่ือง มีการศึกษาตัวแปรเกี่ยวกับการคิดประเภทตางๆ อยางหลากหลาย

โดยงานวิจัยบางเรื่องศึกษาการคิดประเภทเดียว แตบางเรื่องศึกษาตัวแปรการคิดอยางหลากหลายถึง

24 ประเภท เมื่อรวมจํานวนเรื่องตามจํานวนตัวแปรการคิดดวยแลว พบวา มีการศึกษาตัวแปรการคิด

258 ตัว ซึ่งแสดงวาจะมีอยู 15 เร่ืองที่ศึกษาตัวแปรการคิดมากกวา 1 ตัวแปร และตัวแปรอิสระ คือ

“นวัตกรรมการจัดการเรียนรู” พบลักษณะการแจกแจงของงานวิจัยดังเสนอในตารางที่ 3.5

Page 11: วิธีการดําเนินการวิจัยportal.edu.chula.ac.th/pub/thinking/publicizedoc/10.pdf · 2010. 8. 26. · บทที่ 3 วิธีการ

141

ตารางที่ 3.5 จํานวนและรอยละของตัวแปรการคิดในงานวิจัยในประเทศจําแนกตามตัวแปรตามและตัวแปรอิสระ

ตัวแปรอิสระ/นวตักรรม

รวม รูปแบบการสอน ว็ธีการการสอน กระบวนการสอน เทคนิคการสอน สื่อการสอน อื่นๆ

ตัวแปรตาม/ประเภทของ

การคิด จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ

การคิด

วิจารณญาณ 73 28.29 22 8.53 19 7.36 15 5.81 5 1.94 12 4.65 - -

การคิดสรางสรรค 37 14.34 4 1.55 4 1.55 18 6.98 1 0.39 10 3.88 - -

ทักษะการคิด 30 11.63 10 3.88 3 1.16 11 4.26 2 0.78 4 1.55 - -

การคิดแกปญหา 27 10.47 6 2.33 8 3.10 7 2.71 3 1.16 3 1.16 - -

การคิดวิเคราะห 26 10.08 9 3.49 4 1.55 6 2.33 6 2.33 1 0.39 - -

การคิดเหตุผล 23 8.91 5 1.94 6 2.33 8 3.10 1 0.39 3 1.16 - -

การคิดแบบโยนิโส

มนสิการ 8 3.10 2 0.78 2 0.78 2 0.78 - - 1 0.39 1 0.39

การคิดขั้นสูง 7 2.71 4 1.55 1 0.39 2 0.78 - - - - - -

การคิดไตรตรอง 6 2.33 3 1.16 - - 1 0.39 1 0.39 - - 1 0.39

การคิดแสวงหา

ความรู 3 1.16 3 1.16 - - - - - - - - - -

การคิดคํานวณ 3 1.16 3 1.16 - - - - - - - - - -

การคิดวิเคราะห

สังเคราะห 2 0.78 - - 1 0.39 - - - - 1 0.39 - -

การคิดเชิงจริยธรรม 2 0.78 2 0.78 - - - - - - - - - -

การคิดแนวปญญา 1 0.39 - - - - - - 1 0.39

141

Page 12: วิธีการดําเนินการวิจัยportal.edu.chula.ac.th/pub/thinking/publicizedoc/10.pdf · 2010. 8. 26. · บทที่ 3 วิธีการ

142

ตารางที่ 3.5 (ตอ)

ตัวแปรอิสระ/นวตักรรม

รวม รูปแบบการสอน ว็ธีการการสอน กระบวนการสอน เทคนิคการสอน สื่อการสอน อื่นๆ ตัวแปรตาม/

ประเภทของการคิด จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ

การคิดวิภัชชวาท 1 0.39 - - 1 0.39 - - - - - - - -

รูปแบบการคิด 1 0.39 - - - - - - - - 1 0.39 - -

การคิดวิทยาศาสตร 1 0.39 - - - - 1 0.39 - - - - - -

การคิดสาวเหตุสาว

ปจจัย 1 0.39 - - 1 0.39 - - - - - - - -

การคิดใหเหตุผล

ทางคณิตศาสตร 1 0.39 - - - - 1 0.39 - - - - -

-

ทักษะการ

ตั้งสมมติฐาน 1 0.39 - - - - - - - - 1 0.39 - -

การคิดนิรนัยและ

อุปนัย 1 0.39 - - - - - - - - 1 0.39 - -

การคิดประยุกตใช 1 0.39 1 0.39 - - - - - - - - - -

การคิดทักษะ

กระบวนการทาง

วิทยาศาสตร

1 0.39 - - - - - - - - 1 0.39 - -

การคิดแบบอเนกนัย 1 0.39 - - - - 1 - - - - - - -

รวม 258 100.00 74 28.68 50 19.38 73 28.29 20 7.75 39 15.12 2 0.78

142

Page 13: วิธีการดําเนินการวิจัยportal.edu.chula.ac.th/pub/thinking/publicizedoc/10.pdf · 2010. 8. 26. · บทที่ 3 วิธีการ

143

จากตารางที่ 3.5 สรุปไดวาตัวแปรการคิดในงานวิจัยในประเทศ มีจํานวน 258 ตัวนั้น เปนตัวแปร

การคิดอยางมีวิจารณญาณ 73 ตัว และคิดเปนรอยละ 28.29 รองลงมาคือการคิดสรางสรรค คือ จํานวน

37 ตัว และคิดเปนรอยละ 14.34 และตัวแปรทักษะการคิด คือ จํานวน 30 ตัว และคิดเปนรอยละ 11.63

ตามลําดับ และเมื่อจําแนกตัวแปรการคิดตามประเภทของตัวแปรอิสระ พบวา มีการศึกษาเกี่ยวกับรูปแบบ

การสอนมากที่สุด คือ จํานวน 74 ตัว และคิดเปนรอยละ 28.68 รองลงมาคือ การศึกษาเกี่ยวกับ

กระบวนการสอน คือ จํานวน 73 ตัว และคิดเปนรอยละ 28.29 และการศึกษาเกี่ยวกับวิธีการสอน คือ

จํานวน 50 ตัว และคิดเปนรอยละ 19.38 ตามลําดับ

2.2 การสืบคนฐานขอมูลงานวิจัยตางประเทศ

1) กรอบการสืบคน ในการสืบคนขอมูลงานวิจัยตางประเทศไดมีการกําหนดขอบเขตของการคนดังนี้ คําสําคัญที่

ใชในการสืบคนคือ คําวา “thinking and learning and experimental” กลุมตัวอยางคือ นักเรียนระดับช้ัน

การศึกษาขั้นพื้นฐาน ชวงเวลาที่สืบคนคือ ค.ศ.1997- ค.ศ.2007 และเลือกเฉพาะงานวิจัยที่มีการเผยแพร

แบบฉบับเต็มเทานั้น เพื่อใหไดขอมูลครบถวนในการศึกษา การบันทึกขอมูล และการสังเคราะหงานวิจัย 2) ฐานขอมูลที่ใชในการสืบคน

คณะนักวิจัยใชฐานขอมูล EBSCOhost (Educational Research) โดยสืบคนขอมูล

ผานเครือขายของสถาบันวิทยบริการของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 3) ผลการสืบคนขอมูลงานวิจัยตางประเทศ

ผลการสืบคนขอมูลงานวิจัยตางประเทศดวยกรอบการสืบคนและฐานขอมูลดังกลาวขางตน

ทําใหไดงานวิจัยจํานวน 33 เร่ือง เมื่อจําแนกงานวิจัยดังกลาวตามกลุมเปาหมายทําใหผลตามที่แสดง

ดังตารางที่ 3.6

Page 14: วิธีการดําเนินการวิจัยportal.edu.chula.ac.th/pub/thinking/publicizedoc/10.pdf · 2010. 8. 26. · บทที่ 3 วิธีการ

144

ตารางที่ 3.6 จํานวนและคารอยละของงานวิจัยเกี่ยวกับนวัตกรรมพัฒนาการคิด จําแนกตาม

กลุมเปาหมาย

กลุมเปาหมาย จํานวน คารอยละ

นักเรียนชวงชัน้ที ่1 2 6.06

นักเรียนชวงชัน้ที ่2 8 24.24

นักเรียนชวงชัน้ที ่3 7 21.21

นักเรียนชวงชัน้ที ่4 10 30.30

นักศึกษาครู 6 18.18

รวม 33 100.00

จากตาราง ที่ 3.6 สรุปไดวางานวิจัยตางประเทศที่ศึกษาในลักษณะของงานวิจัยเชิงทดลอง

เพื่อพัฒนาการคิดของนักเรียนและครูในชวง ค.ศ.1997 ถึง 2007 หรือ พ.ศ.2541 ถึง 2550 มีจํานวน

33 เร่ือง เมื่อจําแนกตามกลุมเปาหมายแลวพบวา มีการศึกษาในกลุมนักเรียนระดับชวงชั้นที่ 4 มากที่สุด

คือ จํานวน 10 เร่ือง และคิดเปนรอยละ 30.30 รองลงมาไดแกกลุมนักเรียนระดับชวงชั้นที่ 2 คือ จํานวน

8 เร่ือง และคิดเปนรอยละ 24.24 และกลุมนักเรียนระดับชวงชั้นที่ 3 คือ จํานวน 7 เร่ือง และคิดเปนรอยละ

21.21 ตามลําดับ

สําหรับกลุมปฐมวัย ไมพบงานวิจัยลักษณะดังกลาว เมื่อนํางานวิจัยตางประเทศ 33 เร่ือง

มาจําแนกดวยตัวแปรตามคือ “การคิด” ที่แตละงานศึกษาพบวา มี 27 เร่ือง ที่ศึกษาการพัฒนาการคิดของ

กลุมตัวอยางนักเรียนสวนอีก 6 เร่ือง ศึกษาการพัฒนาการคิดของกลุมตัวอยางครู เมื่อนํางานวิจัย 27 เร่ือง

ที่ศึกษานั้น มาจําแนกตามตัวแปรการคิดและตัวแปรอิสระ ทําใหไดผลดังแสดงในตารางที่ 3.7

Page 15: วิธีการดําเนินการวิจัยportal.edu.chula.ac.th/pub/thinking/publicizedoc/10.pdf · 2010. 8. 26. · บทที่ 3 วิธีการ

145

ตารางที่ 3.7 จํานวนและรอยละของงานวิจัยตางประเทศที่ศึกษากลุมตัวอยางนักเรียน จําแนกตามชวงชั้น

ตัวแปรตามและตัวแปรอิสระ

ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม

รวม รูปแบบ วิธีการ กระบวนการ เทคนิค สื่อ

ชวงชั้นที่1 1.Thinking Skills

(2) (2) (-) (-) (-) (-)

ชวงชั้นที่ 2 (8) (-) (1) (3) (-) (4) 1. Problem –Solving Skills 3 - - 2 - 1

2. Math Thinking Skills 2 - - 1 - 1

3. Higher-Order Thinking Skills 1 - - - - 1

4. Creative Thinking Skills 1 - - - - 1

5. Situated Metacognition 1 - 1 - - 1

ชวงชั้นที่ 3 (7) (5) (2) (-) (-) (-) 1. Life Skills 1 1 - - - -

2. Problem Solving Skills 2 2 - - - -

3. Conceptual Skills 2 1 1 - - -

4. Science Skills 2 1 1 - - -

ชวงชั้นที่ 4 (10) (2) (3) (1) (3) (1) 1. Creative Thinking 1 1 - - - -

2. Critical Thinking 1 - 1 - - -

3. Self-Regulated Learning 1 - 1 - - -

4. Ecological Thinking 1 - 1 - - -

5. Reasoning & Conceptual 1 - - - 1

6. Thought Experiments 1 - - - 1

7. Metacognitive Reflection 1 - - - - 1

8. Computational Performance 1 - - - 1 -

9. Entrepreneurial Thinking 1 1 - - - -

10.Visual and Metacognitive 1 - - 1 - -

รวม 27 9 6 4 3 5

Page 16: วิธีการดําเนินการวิจัยportal.edu.chula.ac.th/pub/thinking/publicizedoc/10.pdf · 2010. 8. 26. · บทที่ 3 วิธีการ

146

จากตารางที่ 3.7 สรุปไดวา สําหรับงานวิจัยตางประเทศที่ศึกษาเกี่ยวกับการพัฒนาการคิดของ

นักเรียนจํานวน 27 เร่ือง (โดยไมรวมการพัฒนาการคิดของนักศึกษาครู 6 เร่ือง) เมื่อจําแนกตาม

ตัวแปรตามและตัวแปรอิสระพบวา มีการศึกษาเกี่ยวกับการคิด Problem –Solving Skills มากที่สุดคือ

มีจํานวน 5 เร่ือง และเมื่อจําแนกตามตัวแปรอิสระ พบวา มีการศึกษาเกี่ยวกับรูปแบบการสอนมากที่สุด

จํานวน 9 เร่ือง รองลงมาคือ การศึกษาเกี่ยวกับวิธีการสอน จํานวน 6 เรื่อง และการศึกษาเกี่ยวกับ

ส่ือการสอน จํานวน 5 เร่ือง ตามลําดับ

2.3 ปริมาณงานวิจัยในประเทศและตางประเทศ

ผลจากการสืบคนงานวิจัยทั้งในประเทศและตางประเทศสรุปปริมาณงานวิจัยได

ดังแสดงในตารางที่ 3.8

ตารางที่ 3.8 ปริมาณงานวิจัยในประเทศและตางประเทศจําแนกตามกลุมเปาหมายที่ศึกษา

รวม ในประเทศ ตางประเทศ กลุมที่

เปาหมาย จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ

1 ปฐมวัย 53 19.20 53 21.81 - -

2 ชวงชั้นที่ 1 17 6.16 15 6.17 2 6.06

3 ชวงชั้นที่ 2 58 21.01 50 20.58 8 24.24

4 ชวงชั้นที่ 3 75 27.17 68 27.98 7 21.21

5 ชวงชั้นที่ 4 48 17.39 38 15.64 10 30.30

6 ครู 25 9.06 19 7.82 6 18.18

รวม 276 100.00 243 100.00 33 100.00

จากตารางที่ 3.8 สรุปไดวาปริมาณงานวิจัยที่เกี่ยวกับนวัตกรรมในการพัฒนาการคิดทั้งในประเทศ

และตางประเทศที่ศึกษาในครั้งนี้จํานวน 276 เร่ือง จําแนกเปนงานวิจัยในประเทศจํานวน 243 เร่ือง

งานวิจัยตางประเทศจํานวน 33 เรื่อง เมื่อจําแนกตามกลุมเปาหมายที่ศึกษาพบวา กลุมชวงชั้นที่ 3

มีปริมาณงานวิจัยมากที่สุดคือจํานวน 75 เร่ืองและคิดเปนรอยละ 27.17 รองลงมาคือกลุมชวงชั้นที่ 2

มีปริมาณงานวิจัยจํานวน 58 เร่ืองและคิดเปนรอยละ 21.01 สวนกลุมปฐมวัย มีปริมาณงานวิจัยจํานวน

53 เร่ืองและคิดเปนรอยละ 19.20 ตามลําดับ

Page 17: วิธีการดําเนินการวิจัยportal.edu.chula.ac.th/pub/thinking/publicizedoc/10.pdf · 2010. 8. 26. · บทที่ 3 วิธีการ

147

ระยะที่ 3 การสรางและพัฒนาระบบฐานขอมูล 3.1 การออกแบบระบบขอมูล

คณะนักวิจัยรวมกันออกแบบระบบขอมูลซึ่งมีระบบยอย 3 ระบบดังนี้

1) ระบบขอมูลงานวิจัย ประกอบดวย สาระสําคัญของรายงานการวิจัย สาระสําคัญของ

นวัตกรรมการจัดการเรียนรูเพื่อพัฒนาการคิดของผูเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ขอมูล ลักษณะ และ

คุณภาพของงานวจิัยเชิงปริมาณ และขอสังเกตและการสะทอนคิดของผูบันทึกขอมูลรายงานการวิจัย

2) ระบบฐานขอมูลนวัตกรรมการจัดการเรียนรูเพื่อพัฒนาการคิด ประกอบดวย ขอมูล

สาระสําคัญของรายงานการวิจัย สาระสําคัญของนวัตกรรมการจัดการเรียนรูเพื่อพัฒนาการคิด และขอมูล

เกี่ยวกับนวัตกรรมการจัดการเรียนรู ซึ่งไดแก ขอมูลเกี่ยวกับช่ืองานและแหลงอางอิง บทคัดยอ ทฤษฎี

พื้นฐานของการวิจัย และนวัตกรรมการจัดการเรียนรู

3) ระบบขอมูลเครื่องมือวิจัย ประกอบดวย ทฤษฎีที่เกี่ยวของกับการวิจัย เครื่องมือวิจัย

และการประเมินคุณภาพงานวิจัยเชิงปริมาณ

3.2 การสรางและการพัฒนาเครื่องมือในการวิจัย คณะนักวิจัยไดออกแบบและดําเนินการสรางเครื่องมือที่ใชในการวิจัยจํานวน 6 ชุด และคูมือ

การบันทึกขอมูลจํานวน 2 ชุด ดังนี้

1) แบบบันทึกสาระสําคัญของรายงานการวิจัย (แบบฟอรม A1)

2) แบบบันทึกสาระสําคัญของนวัตกรรมการจัดการเรียนรูเพื่อพัฒนาการคิดของผูเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน (แบบฟอรม A2)

3) แบบบันทึกขอมูลงานวิจัยเชิงปริมาณ (แบบฟอรม A3)

4) แบบบันทึกระบบขอมูลนวัตกรรมการจัดการเรียนรู (แบบฟอรม A4) ซึ่งประกอบดวย

ชื่อและแหลงอางอิง (แบบฟอรม A4_1) บทคัดยอ (แบบฟอรม A4_2) ทฤษฎีที่เกี่ยวของ

กับการวิจัย (แบบฟอรม A4_3) นวัตกรรมการเรียนรู (แบบฟอรม A4_4) และเครื่องมือวิจัย

(แบบฟอรม A4_5)

5) แบบประเมินคุณภาพงานวิจัยเชิงปริมาณ (แบบฟอรม A5) และคูมือประเมินคุณภาพ

งานวิจัยเชิงปริมาณ (แบบฟอรม B5)

6) แบบบันทึกขอสังเกตและการสะทอนคิดของผูบันทึกขอมูลรายงานการวิจัย (แบบฟอรม A6)

Page 18: วิธีการดําเนินการวิจัยportal.edu.chula.ac.th/pub/thinking/publicizedoc/10.pdf · 2010. 8. 26. · บทที่ 3 วิธีการ

148

• การศึกษาคุณภาพของเครื่องมือ 1) การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ

คณะนักวิจัยไดรวมกันตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือทั้ ง 6 ชุดโดยผาน

กระบวนการการประชุมทั้งหมด 9 คร้ัง เพื่อรวมกันตรวจสอบความครอบคลุมและเหมาะสมของนิยาม

โครงสราง และความตรงตามเนื้อหาของเครื่องมือแตละชุด

2) การทดลองใชและปรับปรุงเครื่องมือ คณะนักวิจัยไดทดลองใชและปรับปรุงเครื่องมือทั้ง 6 ชุด ในการบันทึกขอมูล

รายงานการวิจัยและไดรวมกันจัดประชุมปฏิบัติการ 2 คร้ังใหแกผูชวยนักวิจัยจํานวน 23 คน เพื่อสราง

ความเขาใจและทดลองใชและปรับปรุงพัฒนาเครื่องมือและการบันทึกขอมูลงานวิจัย ดังแผนกิจกรรมใน

ตารางที่ 3.9

ตารางที่ 3.9 แผนกิจกรรมในการพัฒนาผูชวยนักวิจัยและการพัฒนาเครื่องมือวิจัย

วัน เดือน ป กิจกรรม การสงงาน

11 มี.ค. 51

(8.30-16.00 น.)

ประชุมปฏิบัติการครั้งที่ 1 (Ws1) ภาระงานของผูชวยนักวิจัย มี

ดังนี้

1) ผูชวยนักวิจัย Code (บันทึก) ขอมูลงานวิจัย 2 เรื่อง

2) ผูชวยนักวิจัยแบงกลุมตามระดับช้ัน

3) ผูชวยนักวิจัยสืบคนงานวิจัย (คําคน : การคิด)เพิ่มเติม

14 มี.ค. 51 ผูชวยนักวิจัยสงผล

การ Code (บันทึก)ขอมูลงานวิจัย

2 เรื่องใหแกอาจารยหัวหนากลุม

17 มี.ค. 51

(16.00-18.00

น.)

ผูชวยนักวิจัยทุกคนพบอาจารยหัวหนากลุมเพื่อรับงานวิจัยมา

Code (บันทึก) ขอมูลโดย 1 คนตอ 3 เร่ือง

27 มี.ค. 51 ผูชวยนักวิจัยสงผล

การ Code (บันทึก) ขอมูลงานวิจัย

3 เรื่องใหแกอาจารยหัวหนากลุม

27 มี.ค. 51

(08.30-15.00

น.)

ประชุมปฏิบัติการครั้งที่ 2 (Ws2) ภาระงานของผูชวยนักวิจัย มี

ดังนี้

1) ผูชวยนักวิจัยรายงานความกาวหนา ผล และปญหาอุปสรรค

ในการการสืบคนและบันทึกขอมูล

2) ผูชวยนักวิจัยสืบคนงานวิจัย (คําคน : การคิด)เพิ่มเติม

3) อาจารยหัวหนากลุม และผูชวยนักวิจัยวางแผน

การทํางานภายในกลุม

11 เม.ย. 51 ผูชวยนักวิจัยสงผล

การ Code (บันทึก) ขอมูลงานวิจัย

ไทยทั้งหมด (A1-A6) ใหแก

อาจารยหัวหนากลุม

17 เม.ย. 51 ผูชวยนักวิจัยทุกคนพบอาจารยหัวหนากลุมเพื่อรับคําแนะนํา

และแกไขปรับปรุงรายงานแตละเรื่อง

25 เม.ย. 51 1) ผูชวยนักวิจัยแกไขปรับปรุงรายงานวิจัยแตละเรื่องแลวสง

ขอมูล (A1-A2) และสําเนารายงานแตละเรื่องใหอาจารยประจํา

กลุม

Page 19: วิธีการดําเนินการวิจัยportal.edu.chula.ac.th/pub/thinking/publicizedoc/10.pdf · 2010. 8. 26. · บทที่ 3 วิธีการ

149

ตารางที่ 3.9 (ตอ)

2) อาจารยประจํากลุมตรวจสอบรายงานแลว

2.1) นําขอมูลงานวิจัย A1, A2, A4 สงเขาระบบฐานขอมูล

เพื่อใหพัฒนาระบบฐานขอมูล

2.2) นําขอมูลงานวิจัยทั้งหมด (A1, A2, A4) เขาระบบ

ฐานขอมูล

3.3 การบันทึกขอมูลและการตรวจสอบขอมูล

หลังจากที่มีการประชุมปฏิบัติการใหแกผูชวยนักวิจัยแลว มีการแบงงานการบันทึกขอมูล

ตามเครื่องมือ (แบบฟอรม A1-A6) และลงรายละเอียดตามที่มีการประชุมตกลงกันไว กอนการบันทึกไดมี

การตรวจสอบจากผูวิจัย โดยใหผูชวยวิจัย 2 คน บันทึกงานวิจัย 1 เร่ืองเดียวกันตามเครื่องมือที่กําหนดไว

และ ตรวจสอบความสอดคลองของการใหคะแนนคุณภาพการวิจัยดวย ผลการตรวจสอบโดยนักวิจัย

พบวายังมีบางประเด็นที่เขาใจไมตรงกัน ผูวิจัยไดมีการประชุมและทําความเขาใจในการบันทึกประเด็น

นั้นๆ แกผูชวยนักวิจัย จนมั่นใจวาผูชวยนักวิจัยสามารถบันทึกอยางเปนระบบเดียวกัน จึงมีการบันทึก

ในเลมตอๆ ไป นอกจากนี้ ผลการตรวจสอบความสอดคลองในการใหคะแนนคุณภาพของงานวิจัย พบวา

มีความสอดคลองกันคอนขางสูง (r = 0.82)

3.4 การออกแบบและสรางระบบฐานขอมูลงานวิจัยดานการคิด

คณะนักวิจัยรวมประชุมกันเพื่อออกแบบ วางแผนการจัดทําเว็บไซตของโครงการฯ ซึ่งมีความ

จําเปนตองใชนักเทคโนโลยี ที่เปนผูเชี่ยวชาญในเรื่องการเขียนโปรแกรมเพื่อพัฒนาระบบฐานขอมูล

ซึ่งสามารถเขาถึงไดผานทางเว็บไซตตามที่ออกแบบไว โดยไดศึกษาและพัฒนาฐานขอมูลงานวิจัยทางดาน

นวัตกรรมการจัดการเรียนรูที่สงเสริมการคิดของผูเรียน และเว็บไซตโครงการวิจัย (ประกอบ กรณีกิจ,

2551) ซึ่งไดจัดทําระบบการสืบคนและระบบฐานขอมูลงานวิจัยบนเว็บไซต ระบบการสืบคนและระบบ

ฐานขอมูลงานวิจัยบนแผน CD-ROM โดยมีรายละเอียดดังตอไปนี้

3.4.1 การพัฒนาเว็บไซตและระบบฐานขอมูล

เว็บไซตและระบบฐานขอมูลที่โครงการพัฒนาขึ้นมีวัตถุประสงค แนวคิด โครงสราง

ลักษณะของฐานขอมูล และการใชงาน ดังนี้

Page 20: วิธีการดําเนินการวิจัยportal.edu.chula.ac.th/pub/thinking/publicizedoc/10.pdf · 2010. 8. 26. · บทที่ 3 วิธีการ

150

1) วัตถุประสงค 1) เพื่อเผยแพรผลงานวิจัยของโครงการสังเคราะห รูปแบบ เทคนิค วิธีการ

กระบวนการ นวัตกรรมการจัดการเรียนรูเพื่อพัฒนาการคิดของผูเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

ทั้งในประเทศและตางประเทศ

2) เพื่อนําเสนอระบบฐานขอมูลงานวิจัยของโครงการสังเคราะหรูปแบบเทคนิค

วิธีการ กระบวนการ นวัตกรรมการจัดการเรียนรูเพื่อพัฒนาการคิดของผูเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

ทั้งในประเทศและตางประเทศ

3) เพื่อเปนฐานขอมูลงานวิจัยในเรื่องรูปแบบ เทคนิค วิธีการ กระบวนการ นวัตกรรม

การจัดการเรียนรูเพื่อพัฒนาการคิดของผูเรียนระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานทั้งในประเทศและตางประเทศ

สําหรับครูและบุคลากรทางการศึกษา 2) แนวคิด

คณะนักวิจัยรวมระดมสมองการออกแบบสัญลักษณ (LOGO) ของโครงการและ

ลงความเห็นวา ควรใหสัญลักษณสื่อถึงการพัฒนาการคิดของนักเรียน และใหดูงาย มีความเปนไทย และ

อิงธรรมชาติ จึงตกลงเลือกใหเปนรูปการตูนเด็กที่มีลักษณะ หูใหญ มือใหญ ตาโต ปากยิ้ม โดยสอดคลอง

กับกรอบแนวคิด “สุ จิ ปุ ลิ” และใหมี Background ที่เปนธรรมชาติ และใชสีสันของเว็บไซตใหเปนสีแนว

Earth tone นอกจากนี้ในสวนของการสืบคนฐานขอมูลงานวิจัยจะเนนการออกแบบที่งายตอการใชงาน

และครอบคลุมเงื่อนไขในการสืบคนงานวิจัยโดยแบงการสืบคนเปน 2 ประเภทคือ การสืบคนอยางงาย

และการสืบคนขั้นสูง 3) โครงสรางเวบ็ไซต

เว็บไซตของโครงการฯ มีโครงสราง ดังนี้

1. หนาแรก

2. โครงการวิจยั

3. คําแนะนําการใชฐานขอมูล

4. ภาพกิจกรรม

5. ทีมนกัวิจยั

6. ฐานขอมูลวิจยั

การคนหาอยางงาย (Simple Search)

การคนหาขั้นสูง (Advanced Search)

7. เอกสารเผยแพร

Page 21: วิธีการดําเนินการวิจัยportal.edu.chula.ac.th/pub/thinking/publicizedoc/10.pdf · 2010. 8. 26. · บทที่ 3 วิธีการ

151

4) หนาเวบ็ไซต (Homepage) หนาเว็บไซต (Homepage) ของโครงการ ฯ เปนไปตามแนวคิดและโครงสราง

ที่คณะนักวิจัยไดรวมกันออกแบบ ดังภาพ

แผนภาพทื่ 3.2 หนาแรกของเว็บไซต (Homepage)

5) ระบบฐานขอมูลงานวิจัย

คณะนักวิจัยไดดําเนินการพัฒนาระบบฐานขอมูลงานวิจัย โดยการนําขอมูลงานวิจัย

จากระบบการบันทึกขอมูลงานวิจัย (ขอมูลที่บันทึกดวยเครื่องมือ A1, A2, และ A4) มาเขาสูระบบ

ฐานขอมูลงานวิจัยบนเว็บไซต โดยไดออกแบบฐานขอมูลเพื่อรองรับการจัดเก็บขอมูลงานวิจัย และ

การสืบคนงานวิจัยผานเว็บไซตโครงการ โดยใชโปรแกรมภาษา PHP ในการออกแบบเว็บเพจ และ

ใชฐานขอมูล mySql Server ซึ่งเปน Open Source ทําใหไมมีปญหาเรื่องลิขสิทธิ์ทางปญญา โดยแบง

การสืบคนงานวิจัยเปน 2 ประเภท คือ การสืบคนอยางงาย (Simple Search) และการสืบคนขั้นสูง

(Advanced Search) โดยมีขั้นตอนดังนี้

Page 22: วิธีการดําเนินการวิจัยportal.edu.chula.ac.th/pub/thinking/publicizedoc/10.pdf · 2010. 8. 26. · บทที่ 3 วิธีการ

152

5.1 ขั้นตอนการสบืคนอยางงาย (Simple Search)

1) ปอนคําคนในกลองขอความ เลือกการเรียงลําดับ และคลิกปุมคนหา ทั้งนี ้

สามารถปอนไดมากกวา 1 คําหรือวล ีโดยเวนวรรคไปเรื่อยๆ ดังภาพ

แผนภาพที่ 3.3 การสืบคนอยางงาย

ทั้งนี้ในการคนหาระบบจะนาํคําคนไปคนหาจากฐานขอมูลในฟลดดังตอไปนี้

ชื่องานวิจยัภาษาไทยและภาษาอังกฤษ

ชื่อนักวิจัย

นวัตกรรม / ตวัแปรตน

การคิด / ตวัแปรตาม

สถาบัน

2) ระบบจะแสดงผลการคนหาทางดานลาง โดยแสดงหนาละ 10 รายการ

ดังภาพ

แผนภาพที่ 3.4 ผลการคนหาอยางงาย

Page 23: วิธีการดําเนินการวิจัยportal.edu.chula.ac.th/pub/thinking/publicizedoc/10.pdf · 2010. 8. 26. · บทที่ 3 วิธีการ

153

3) ผูใชสามารถดูขอมูลที่เกี่ยวของกับงานวิจัย ซึ่งไดแก แหลงอางอิง, บทคัดยอ,

ทฤษฎี, นวัตกรรม และเครื่องมือวิจัย โดยคลิกที่ลิงคทางดานลางของงานวิจัยแตละเรื่อง ดังภาพ

แผนภาพที่ 3.5 ขอมูลงานวิจัย

5.2 ขั้นตอนการคนหาขั้นสงู (Advanced Search)

ในการคนหาขั้นสูง ผูใชสามารถกําหนดเงื่อนไขการคนหาไดหลายรูปแบบ เชน

การกําหนดเงื่อนไขจากหัวขอที่กําหนดให ไดแก ประเภทงานวิจัย, ชนิดงานวิจัย, ประเภทนวัตกรรม,

กลุมสาระการเรียนรู, ชวงชั้น และระดับช้ัน และสามารถกําหนดเงื่อนไขเพิ่มเติม และปอนคําสําคัญ

ซึ่งจะทําใหการคนหามีความยืดหยุนมากยิ่งขึ้น โดยมีข้ันตอนดังนี้

1) กําหนดเงื่อนไขที่ตองการคนหา และคลิกปุม คนหา ดังภาพ ทั้งนี้ผูใชสามารถระบุ

เพียงเงื่อนไขเดียวหรือระบุหลายเงื่อนไขก็ได

แผนภาพที่ 3.6 การสืบคนขั้นสูง

Page 24: วิธีการดําเนินการวิจัยportal.edu.chula.ac.th/pub/thinking/publicizedoc/10.pdf · 2010. 8. 26. · บทที่ 3 วิธีการ

154

2) ระบบจะแสดงผลการคนหาทางดานลาง โดยแสดงหนาละ 10 รายการ

ดังภาพ

แผนภาพที่ 3.7 ผลการคนหาขั้นสงู

3) ผูใชสามารถดูขอมูลที่เกี่ยวของกับงานวิจัย ซึ่งไดแก แหลงอางอิง, บทคัดยอ,

ทฤษฎี, นวัตกรรม และเครื่องมือวิจัย โดยคลิกที่ลิงคทางดานลางของงานวิจัยแตละเรื่อง ดังภาพ

แผนภาพที่ 3.8 ขอมูลงานวจิัย

ขณะนี้กําลังทดลองระบบโดยการขออนุมัติใชพื้นที่บนเครื่อง Server ของคณะครุศาสตร

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เพื่อนําเว็บไซตและฐานขอมูลงานวิจัยไปติดตั้งที่เครื่อง Server เพื่อใหสามารถ

ใชงานไดจริง

Page 25: วิธีการดําเนินการวิจัยportal.edu.chula.ac.th/pub/thinking/publicizedoc/10.pdf · 2010. 8. 26. · บทที่ 3 วิธีการ

155

6) แนวทางการพัฒนาเว็บไซต คณะนักวิจัยไดนําเว็บไซตและระบบการสืบคนขอมูลไปทดลองใชกับครู ผูบริหารและ

ศึกษานิเทศก ที่เขารวมการประชุมปฏิบัติการยกระดับคุณภาพการคิดของสถานศึกษา ในวันที่ 17 – 20

กรกฎาคม 2551 ณ โรงแรมบางกอกพาเลซ กรุงเทพฯ จัดโดยสํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และผลการทดลองพบวา เว็บไซตโครงการมีความเหมาะสม

มากที่สุดในทุกประเด็น คือ (1) ตัวอักษรมีความชัดเจน (2) การเชื่อมโยง (Link) ถูกตองและชัดเจน

(3) การใชภาษาทันสมัย ถูกตอง และชัดเจน (4) การแบงขอรายการครอบคลุมประเด็นสําคัญ และชัดเจน

(5) การใชสีมีความสวยงาม ไมฉูดฉาด และสบายตา (6) สัญรูป (ไอคอน) และปุม สื่อความหมาย และ

ชัดเจน และ (7) ภาพ และภาพเคลื่อนไหว สื่อความหมาย และมีขนาดเหมาะสม

สวนระบบคนหาขอมูลงานวิจัยมีความเหมาะสมมากที่สุดในทุกประเด็นเชนกัน คือ

(1) การใชงานระบบคนหาขอมูลงานวิจัยงาย และสะดวก (2) คําแนะนําในการใชฐานขอมูลถูกตอง และ

ชัดเจน (3) การใชภาษาทันสมัย ถูกตอง และชัดเจน (4) ระบบคนหาขอมูลงานวิจัยมีการปองกันการทาํงาน

ผิดพลาดของผูใชงาน (5) การแสดงผลการคนหามีความถูกตอง และชัดเจน และ (6) รายงานผลงานวิจัย

นําเสนอขอมูลที่ถูกตองครบถวน และดูงาย

3.4.2 การพัฒนาระบบการสืบคนและระบบฐานขอมูลงานวิจัยบนแผน CD-ROM

โปรแกรม Web Browser ผูวิจัยไดพัฒนาโปรแกรม Web Browser เพื่อควบคุมการทํางานของโปรแกรมภาษา PHP

ซึ่งโดยทั่วไปจะทํางานบนเครื่อง Server ใหสามารถทํางานแบบออฟไลนบนแผน CD-ROM ดังนั้น

จึงสามารถนําเว็บไซตโครงการ ระบบการสืบคนขอมูล และฐานขอมูลมาทํางานแบบออฟไลนบนแผน

CD-ROM ไดทําใหรูปแบบการทํางานและหนาจอของเว็บไซตและระบบการสืบคนขอมูลมีความใกลเคียง

กับเว็บไซตของโครงการและระบบการสืบคนขอมูลที่ทํางานบนเครื่อง Server 1) ฐานขอมูลงานวิจัย

ผูวิจัยไดปรับเปล่ียนฐานขอมูล mySql Server ซึ่งทํางานบนเครื่อง Server เปน

ฐานขอมูลของโปรแกรม Microsoft Access ซึ่งสามารถทํางานแบบออฟไลนบนแผน CD-ROM ไดโดยมี

โครงสรางฐานขอมูลเชนเดิม และเชื่อมตอโปรแกรมภาษา PHP และฐานขอมูลของ Microsoft Access

ดวย ODBC (Open DataBase Connectivity) 2) การเริ่มตนทํางานของโปรแกรม Web Browser

2.1) ใสแผน CD-ROM เขาไปใน CD-ROM Drive หรือ DVD-ROM Drive โปรแกรม

Web Browser จะทํางานโดยอัตโนมัติจะปรากฏหนาตางโปรแกรม Web Browser ดังภาพ

Page 26: วิธีการดําเนินการวิจัยportal.edu.chula.ac.th/pub/thinking/publicizedoc/10.pdf · 2010. 8. 26. · บทที่ 3 วิธีการ

156

แผนภาพที่ 3.9 หนาตางโปรแกรม Web Browser

3) รายละเอียดของหนาตางโปรแกรม Web Browser

แผนภาพที่ 3.10 รายละเอียดของหนาตางโปรแกรม Web Browser

8 7 6 1 2 3 4 5

Page 27: วิธีการดําเนินการวิจัยportal.edu.chula.ac.th/pub/thinking/publicizedoc/10.pdf · 2010. 8. 26. · บทที่ 3 วิธีการ

157

จากภาพแสดงหนาตางโปรแกรม Web Browser มี 8 ปุมสําหรับใชงานดังตอไปนี ้

1. ปุม Back สําหรับยอนกลับไปหนาที่แลว

2. ปุม Forward สําหรับไปยงัหนาตอไป

3. ปุม Refresh สําหรับดึงขอมูลเว็บเพจทีเ่ปดอยูใหมอีกครั้ง

4. ปุม Home สําหรับกลับไปยงัหนาแรกของเว็บไซต

5. ปุม Print สําหรับพิมพเว็บเพจทางเครื่องพมิพ

6. ปุม Minimize สําหรับยอหนาตางโปรแกรมซึ่งจะไปปรากฏที่แถบงาน (Taskbar)

7. ปุม Maximize และ Restore

ปุม สําหรับขยายหนาตางโปรแกรมใหเต็มจอภาพ

ปุม สําหรับยอหนาตางโปรแกรมใหมีขนาดเทาเดิมกอน

8. ปุม Close สําหรับปดโปรแกรม เมนูคําสั่ง 1. File

Page Setup สําหรับกาํหนดขนาดกระดาษในการพิมพทางเครื่องพมิพ

Print สําหรับพิมพเว็บเพจทางเครื่องพิมพ

Print Preview สําหรับแสดงตัวอยางกอนพิมพ

Exit สําหรับปดโปรแกรม

2. View

Back สําหรับยอนกลับไปหนาที่แลว

Forward สําหรับไปยังหนาตอไป

Refresh สําหรับดึงขอมูลเวบ็เพจที่เปดอยูใหมอีกครั้ง

Home สําหรับกลับไปยังหนาแรกของเว็บไซต

Page 28: วิธีการดําเนินการวิจัยportal.edu.chula.ac.th/pub/thinking/publicizedoc/10.pdf · 2010. 8. 26. · บทที่ 3 วิธีการ

158

3.5 การเก็บขอมูลครูแหงชาติและครูตนแบบ คณะนักวิจัยดําเนินการสํารวจแนวคิด แนวปฏิบัติ และความคิดเห็นของครูแหงชาติ และ

ครูตนแบบของกระทรวงศึกษาธิการเกี่ยวกับการสอนที่สงเสริมการคิดของผูเรียน

เคร่ืองมือการสํารวจคือ แบบสอบถามซึ่งมีโครงสรางของเครื่องมือ ประกอบดวย 6 สวน

ดังตอไปนี้

สวนที่ 1 ภูมิหลัง

สวนที่ 2 การปฏิบัติงานในปจจุบัน

สวนที่ 3 หลัก แนวคิด และแนวปฏิบัติในการจัดการเรียนรูของครู

สวนที่ 4 แนวคิดและแนวปฏิบัติในการจัดกิจกรรมการเรียนรูเพื่อสงเสริม/พัฒนาการคิด

ของนักเรียนที่ครูใช

สวนที่ 5 ขอเสนอแนะสําหรับเพื่อนครู

สวนที่ 6 ตัวอยางแผนการจัดการเรียนรูที่ประสบผลสําเร็จในการพัฒนาการคิดของ

ผูเรียน

ในการดําเนินการเก็บขอมูลครูแหงชาติและครูตนแบบนั้น คณะนักวิจัยดําเนินการสืบคน

รายนามและที่อยูของครูแหงชาติ และครูตนแบบของกระทรวงศึกษาธิการพบวา มีครูแหงชาติทั้งหมด

26 คน และครูตนแบบ 586 คน จึงไดเลือกกลุมตัวอยางในการสํารวจประชากรดวยครูแหงชาติ 26 คน

และครูตนแบบ 71 คน การเก็บขอมูลครูแหงชาติและครูตนแบบเนนใหกระจายทั่วทุกภูมิภาค และทุกกลุม

สาระการเรียนรูทั้งระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา การดําเนินการจัดเก็บขอมูลใชวิธีการสง

แบบสอบถามทางไปรษณียใหกับกลุมตัวอยางจํานวน 97 คน การกระจายของกลุมตัวอยางนําเสนอใน

ตารางที่ 3.10

Page 29: วิธีการดําเนินการวิจัยportal.edu.chula.ac.th/pub/thinking/publicizedoc/10.pdf · 2010. 8. 26. · บทที่ 3 วิธีการ

159

ตารางที่ 3.10 จํานวนกลุมตัวอยางครูแหงชาติและครูตนแบบ จําแนกตามกลุมสาระการเรียนรู ระดับช้ัน

และภูมิภาค

ภูมิภาค ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคใต ภาคตอ.

เฉียงเหนือ กลุมสาระฯ / ระดับ / คร ู หช.* ตบ.* หช. ตบ. หช. ตบ. หช. ตบ.

รวม

ประถม 0 3 0 0 0 2 1 3 9

มัธยม 3 1 0 1 1 1 0 1 8 ภาษาไทย

ปวช 0 0 0 0 0 0 0 1 1

18

ประถม 1 1 2 2 0 0 0 3 9 คณิตศาสตร

มัธยม 0 0 0 0 1 0 0 2 3 12

ประถม 0 0 0 1 1 0 0 1 3 วิทยาศาสตร

มัธยม 3 1 3 1 1 1 1 0 11 14

ประถม 0 3 0 0 0 2 0 2 7 สังคมศึกษาฯ

มัธยม 0 1 0 0 1 1 0 2 5 12

ประถม 0 1 0 1 0 0 0 1 3 สุขศึกษาฯ

มัธยม 0 1 0 0 0 2 1 1 5 8

ประถม 0 0 1 2 0 1 0 1 5 ศิลปะ

มัธยม 0 1 1 1 0 2 0 1 6 11

ประถม 0 0 0 0 0 1 0 0 1 การงานอาชีพฯ

มัธยม 0 1 0 0 0 1 0 4 6 7

ประถม 1 2 0 1 0 1 1 1 7 ภาษาตางประเทศ

มัธยม 0 0 0 1 1 1 1 2 6 13

อ่ืน ๆ ปฐมวัย 0 0 0 0 0 0 0 2 2 2

8 16 7 11 6 16 5 28 รวม

24 18 22 33 97

หมายเหต ุ หช. = ครูแหงชาติ ตบ. = ครูตนแบบ

Page 30: วิธีการดําเนินการวิจัยportal.edu.chula.ac.th/pub/thinking/publicizedoc/10.pdf · 2010. 8. 26. · บทที่ 3 วิธีการ

160

ระยะที่ 4 การวิเคราะห การสังเคราะห และการจัดทํารายงาน 4.1 การวิเคราะหและการสังเคราะหขอมูล

การวิเคราะหขอมูล ใชสถิติบรรยาย ไดแก การแจกแจงความถี่ คาฉลี่ยเลขคณิต และ

สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน โดยมีขั้นตอนในการวิเคราะห ดังนี้

1) วิเคราะหลักษณะและคุณภาพงานวิจัย จําแนกตามตัวแปรตาม ตัวแปรอิสระ ตัวแปร

บริบท และตัวแปรอื่นๆ

2) วิเคราะหลักษณะการแจกแจงของขนาดอิทธิพลจําแนกตามตัวแปรตาม

3) วิเคราะหลักษณะการแจกแจงของขนาดอิทธิพลจําแนกตามตัวแปรตาม และตัวแปร

อิสระ

4) วิเคราะหลักษณะการแจกแจงของขนาดอิทธิพลจําแนกตามตัวแปรตาม ตัวแปรอิสระ

และตัวแปรบริบท (ระดับชั้น และภูมิภาค เปนตน)

5) สังเคราะหลักษณะสําคัญของนวัตกรรมในการพัฒนาการคิด ที่ควรเผยแพรขยายผล

ไดแลว

6) สังเคราะหลักษณะงานวิจัยเกี่ยวกับนวัตกรรมการพัฒนาการคิด ที่ควรพัฒนาในชวง

ตอไป

ในการวิเคราะหและสังเคราะหผลการวิจัยของแตละกลุมทั้ง 6 กลุม และโดยรวม คณะ

นักวิจัยใชกระบวนการประชุมกลุมเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรูและวิพากษผลอันนําไปสูการรวมกันปรับปรุง

การสรุปผลและการจัดทํารายงาน

4.2 การจัดทาํรางรายงานการสังเคราะหงานวิจัย

คณะนักวิจัยจัดทํารายงานการสังเคราะหงานวิจัยฉบับรวมโดยแบงเปน 8 บท

ดังตอไปนี้

บทที่ 1 บทนํา ประกอบดวย 1.1) ความสําคัญและความเปนมาของปญหา

1.2) คําถามวิจัย 1.3) วัตถุประสงคของการวิจัย 1.4) ขอบเขตของการวิจัย 1.5) นิยามศัพท และ

1.6) ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ

บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ ประกอบดวย ตอนที่ 1 ความสําคัญและ

ความคาดหวังของประเทศและสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานเกี่ยวกับการพัฒนาการคิด

ของผูเรียน ตอนที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรูที่เปนพื้นฐานของการพัฒนานวัตกรรมในการจัดการเรียนรูเพื่อ

พัฒนาการคิด ตอนที่ 3 ประเภทของการคิด ตอนที่ 4 นวัตกรรมการจัดการเรียนรูเพื่อพัฒนาการคิดของ

ผูเรียนตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตอนที่ 5 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการสังเคราะหงานวิจัย

ตอนที่ 6 กรอบมโนทัศนในการวิจัย

Page 31: วิธีการดําเนินการวิจัยportal.edu.chula.ac.th/pub/thinking/publicizedoc/10.pdf · 2010. 8. 26. · บทที่ 3 วิธีการ

161

บทที่ 3 วิธีดําเนินการวิจัย ประกอบดวย ระยะที่ 1 การสรางทีมและแผนปฏิบัติ

การวิจัย ระยะที่ 2 การสํารวจงานวิจัยภายในประเทศและตางประเทศ ระยะที่ 3 การสรางและพัฒนาระบบ

ฐานขอมูล และการเก็บขอมูลจากครูแหงชาติและครูตนแบบ ระยะที่ 4 การวิเคราะห การสังเคราะหขอมูล

และการจัดทํารายงาน

บทที่ 4 ผลการวเิคราะหปริมาณ ลักษณะ คุณภาพ และขนาดอิทธิพลของรายงานการ

วิจัย ประกอบดวย ตอนที่ 1 ผลการวิเคราะหปริมาณ ลักษณะ คุณภาพ และขนาดอิทธิพลของรายงานการ

วิจัย 4 ชวงชั้น ตอนที่ 2 ผลการวิเคราะหปริมาณ ลักษณะ คุณภาพ และขนาดอิทธิพลของรายงานการวิจัย

ปฐมวัย และตอนที่ 3 ผลการวิเคราะหปริมาณ ลักษณะ คุณภาพและขนาดอิทธิพลของรายงานการวิจัยครู

บทที่ 5 ผลการสังเคราะหรูปแบบของนวัตกรรมในการจัดการเรียนรูเพื่อพัฒนาการคิด

ของนักเรียนระดับปฐมวัย และชวงชั้นที่ 1–4 และครู

บทที่ 6 ผลการสังเคราะหรูปแบบของนวัตกรรมในการจัดการเรียนรูเพื่อพัฒนาการคิด

ของแตละกลุมสาระการเรียนรู

บทที่ 7 ผลการวิเคราะหปริมาณ ลักษณะและสาระสําคัญของงานวิจัยตางประเทศ

บทที่ 8 สรุปผลการวิจัย อภิปรายผลและเสนอแนะ

4.3 การจัดประชุมพจิารณารางรายงานการวิจัยและปรับปรุงรางรายงานการวิจัย

คณะนักวิจัยดําเนินการประชุมพิจารณารางรายงานการวิจัยและปรับปรุงรางรายงาน

การวิจัยดังมีรายละเอียดในตารางที่ 3.11

ตารางที่ 3.11 การประชุมพิจารณารางรายงานการวิจัยและปรับปรุงรางรายงานการวิจัย

วัน เดือน ป กิจกรรม ผลที่เกิดขึ้น

25 ก.พ. 51 ประชุมคณะนักวิจัยครั้งที่ 1

เพื่อพิจารณาขอบขายเนื้อหา

สาระในรางรายงานของบทที่ 4

และบทที่ 5 โดยใหสอดคลอง

ตามวัตถุประสงคของโครงการ

ไดรางรายงานบทที่ 4 และบทที่ 5 เพื่อใหทุกกลุมไดดําเนินการทํางาน

การจัดเก็บขอมูลและวิเคราะหขอมูลและวางแผนในการจัดดังนี้

• บทที่ 4 มี 3 ตอนคือ ตอนที่ 1 ปริมาณและลักษณะของงานวิจัย

ตอนที่ 2 ผลการวิเคราะหคาขนาดอิทธิพล (Effect size) ตอนที่ 3

การสังเคราะหขอคนพบ

• บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และขอเสนอแนะ ควรเปนการเสนอแนะ

คุณครู ผูบริหาร/โรงเรียน ชุมชน องคกร (ศึกษานิเทศกเขต สพฐ.)

เสนอแนะความรูที่ขาดแคลนที่ตอง การเปด Area ใหมของการวิจัย

(ตัวแปร กลุมเปาหมายบริบท เชน การคิดเชิงอนาคต) เสนอแนะความรู

ที่ไมชัดเจน และเสนอ แนะนวัตกรรม

Page 32: วิธีการดําเนินการวิจัยportal.edu.chula.ac.th/pub/thinking/publicizedoc/10.pdf · 2010. 8. 26. · บทที่ 3 วิธีการ

162

ตารางที่ 3.11 (ตอ)

วัน เดือน ป กิจกรรม ผลที่เกิดขึ้น

4 มิ.ย. 51 ประชุมคณะนักวิจัยเพื่อ

รวมกันพัฒนารายงานการวิจัย

ฉบับราง (ครั้งที่ 1) และการ

ปรับปรุงรายงาน และรวมกัน

วางโครงราง ของรายงานฉบับ

สมบูรณของแตละกลุมและ

ผูรับผิดชอบเปนครั้งที่ 2

ไดโครงรางของรายงานของแตละกลุมและผูรับผิดชอบ โดยรายงานมี

5 บทคือ

• บทที่ 1 บทนํา

• บทที่ 2 การศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ

• บทที่ 3 วิธีดําเนินการวิจัย

• บทที่ 4 ผลการวิเคราะหขอมูล

• บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และขอเสนอแนะ

2 ก.ค. 51 ประชุมคณะนักวิจัยเพื่อ

รวมกันพิจารณารายงานฉบับ

ปรับปรุง (ครั้งที่ 2) ของแตละ

กลุม และรวมกันพัฒนา

ปรับปรุงรายงาน

ไดสารสนเทศในการปรับปรุงรายงานของแตละกลุมใหสมบูรณ

14 ส.ค. 51 ประชุมคณะนักวิจัยเพื่อ

รวมกันกําหนดโครงราง

รายงานการสังเคราะหงานวิจัย

ของโครงการตามขอบเขตของ

การวิจัย

ไดโครงรางรายงานการสังเคราะหงานวิจัยและผูรับผิดชอบ โดยรายงาน

ฉบับนี้ตองเพิ่มสาระจาก 5 บทเปน 8 บทคือ

• บทที่ 1 บทนํา

• บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ

• บทที่ 3 วิธีดําเนินการวิจัย

• บทที่ 4 ผลการวิเคราะหขอมูลลักษณะของรายงานการวิจัย

• บทที่ 5 ผลการสังเคราะหรูปแบบฯ ของปฐมวัย ชวงชั้นที่ 1 – 4

และครู

• บทที่ 6 ผลการสังเคราะหรูปแบบฯ ของแตละกลุมสาระฯ (4 ชวงชั้น)

• บทที่ 7 ผลการสังเคราะหรูปแบบฯ ของตางประเทศ

• บทที่ 8 สรุปผลการวิจัย อภิปรายผลและเสนอแนะ

18 ส.ค. 51 ประชุมคณะนักวิจัยเพื่อ

รวมกันพิจารณารางรายงาน

การสังเคราะหงานวิจัย และ

รวมกันปรับปรุงรายงานการ

สังเคราะหงานวิจัย

ไดสารสนเทศเพื่อการปรับปรุงรายงานการสังเคราะหงานวิจัยฉบับ

สมบูรณและผูรับผิดชอบ โดยรายงานจะมีการปรับปรุงใน 8 บทดังนี้

• บทที่ 1 บทนํา

• บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ โดยเรียบเรียงการเขียน

เกี่ยวกับการจัดหมวดหมูของทฤษฎีตางๆ ใหม

• บทที่ 3 วิธีดําเนินการวิจัย มี 4 ระยะคือ ระยะที่ 1 การสรางทีมและ

แผนปฏิบัติการวิจัย ระยะที่ 2 การสํารวจงานวิจัยภายในประเทศ

และตางประเทศ ระยะที่ 3 การสรางและพัฒนาระบบฐานขอมูล

และการเก็บรวบรวมขอมูลจากครูแหงชาติและครูตนแบบ ระยะที่ 4

การวิเคราะห การสังเคราะหขอมูลและการจัดทํารายงาน

Page 33: วิธีการดําเนินการวิจัยportal.edu.chula.ac.th/pub/thinking/publicizedoc/10.pdf · 2010. 8. 26. · บทที่ 3 วิธีการ

163

ตารางที่ 3.11 (ตอ)

วัน เดือน ป กิจกรรม ผลที่เกิดขึ้น

• บทที่ 4 ผลการวิเคราะหขอมูลลักษณะของรายงานการวิจัย โดย

แบงเปน 3 ตอนคือ ตอนที่ 1 ผลการวิเคราะหขอมูลลักษณะของ

รายงานการวิจัย 4 ชวงชั้น ตอนที่ 2 ผลการวิเคราะหขอมูล

ลักษณะของรายงานการวิจัยปฐมวัย และตอนที่ 3 ผลการ

วิเคราะหขอมูลลักษณะของรายงานการวิจัยครู

• บทที่ 5 ผลการสังเคราะหรูปแบบฯ ของปฐมวัย ชวงชั้นที่ 1 – 4

และครู

• บทที่ 6 ผลการสังเคราะหรูปแบบฯ ของแตละกลุมสาระฯ

(4 ชวงชั้น)

• บทที่ 7 ผลการสังเคราะหรูปแบบฯ ของตางประเทศ

• บทที่ 8 สรุปผลการวิจัย อภิปรายผลและเสนอแนะ

4.4 การจัดประชุมนําเสนอรายงานการวิจัย

คณะนักวิจัยนําเสนอรายงานการวิจัย”โครงการการสังเคราะหรูปแบบ เทคนิค วิธีการ

กระบวนการ นวัตกรรมการจัดการเรียนรูเพื่อพัฒนาการคิดของผูเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

ทั้งในประเทศและตางประเทศ” ใหแกสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ผูบริหาร ศึกษานิเทศก

ครู นกัวิชาการศึกษา ผูสนใจ และผูเกี่ยวของจากเขตพื้นที่การศึกษาตางๆ จํานวน 3 คร้ัง โดยมีรายละเอียด

ดังตอไปนี้

คร้ังที่ 1 วันที่ 17-20 กรกฎาคม พ.ศ.2551 “การประชุมเชิงปฏิบัติการยกระดับคุณภาพ

การคิดของสถานศึกษา” ณ โรงแรมบางกอกพาเลซ กรุงเทพฯ จัดโดยสํานักพัฒนานวัตกรรมการจัด

การศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน มีผูเขารวมประชุม คือ ครู ผูบริหารและ

ศึกษานิเทศก โรงเรียนแกนนําขับเคลื่อนการคิดสูหองเรียน จํานวน 370 โรงเรียน โดยมีวัตถุประสงคของ

การประชุมคือ นําเสนอโครงการวิจัย และทดลองเว็บไซตและระบบการสืบคนขอมูลของโครงการฯ กับครู

ผูบริหารและศึกษานิเทศก ที่เขารวมการประชุม เพื่อนําขอมูลไปพัฒนาเว็บไซตและระบบการสืบคนขอมูล

ของโครงการฯ

คร้ังที่ 2 วันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ.2551 “การนําเสนอรายงานความกาวหนาของการวิจัย

และพัฒนาในโครงการขับเคลื่อนการคิดสูหองเรียน” ณ หองประชุมสํานักงานคณะกรรมการการศึกษา

ขั้นพื้นฐาน อาคาร สพฐ.4 ชั้น 2 จัดโดยสํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการ

การศึกษาขั้นพื้นฐาน มีผูเขารวมประชุม คือ เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน รองเลขาธิการ

คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่ปรึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ผูเชี่ยวชาญ

Page 34: วิธีการดําเนินการวิจัยportal.edu.chula.ac.th/pub/thinking/publicizedoc/10.pdf · 2010. 8. 26. · บทที่ 3 วิธีการ

164

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ผูอํานวยการสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

ประมาณ 40 คน โดยมีวัตถุประสงคของการนําเสนอคือ รายงานการวิจัยของโครงการฯ และสาธิตระบบ

ฐานขอมูลในเว็บไซตที่ไดพัฒนาขึ้นแกผูบริหารระดับสูง

คร้ังที่ 3 วันที่ 11-14 กันยายน พ.ศ.2551 “การประชุมสัมมนาการคิด” ณ โรงแรมบางกอก

พาเลซ กรุงเทพฯ จัดโดยสํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น

พื้นฐาน มีผูเขารวมประชุม คือ ครู ผูบริหาร ศึกษานิเทศก และนักวิชาการ จากโรงเรียนและหนวยงานตางๆ

ประมาณ 700 คน โดยมีวัตถุประสงคของการนําเสนอคือ เผยแพรรายงานการวิจัยและเว็บไซต “โครงการ

การสังเคราะหรูปแบบ เทคนิค วิธีการ กระบวนการ นวัตกรรมการจัดการเรียนรูเพื่อพัฒนาการคิดของ

ผูเรียนระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานทั้งในประเทศและตางประเทศ” แกครู ผูบริหาร ศึกษานิเทศก และ

นักวิชาการ จากโรงเรียน สถาบัน และหนวยงานตางๆ เพื่อนําไปใชในการพัฒนาการคิดของนักเรียน

ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน