เทคนิคผลตอบสนองบางส...

18
เทคนิคผลตอบสนองบางสวนควรจะเป็นมากสุด สําหรับระบบการสื ่อสารไรสายดวยแสง ที ่มองเห็นภายในอาคาร MR. ADISORN KAEWPUKDEE TELECOMMUNICATIONS ENGINEERING FACULTY OF SCIENCE AND TECHNOLOGY NAKHON PATHOM RAJABHAT UNIVERSITY

Upload: others

Post on 02-Mar-2020

4 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: เทคนิคผลตอบสนองบางส วนควรจะเป็นมากสุด สําหรับระบบการ ...pws.npru.ac.th/adisorn/data/files/เทคนิคผลตอบสนอง... ·

เทคนิคผลตอบสนองบางสวนควรจะเป็นมากสุดสําหรับระบบการสื่อสารไรสายดวยแสงที่มองเห็นภายในอาคาร

MR. ADISORN KAEWPUKDEETELECOMMUNICATIONS ENGINEERINGFACULTY OF SCIENCE AND TECHNOLOGYNAKHON PATHOM RAJABHAT UNIVERSITY

Page 2: เทคนิคผลตอบสนองบางส วนควรจะเป็นมากสุด สําหรับระบบการ ...pws.npru.ac.th/adisorn/data/files/เทคนิคผลตอบสนอง... ·

OUTLINES

Introduction Visible light communication system Channel response LED response Equalizer Design Results Conclusion

Page 3: เทคนิคผลตอบสนองบางส วนควรจะเป็นมากสุด สําหรับระบบการ ...pws.npru.ac.th/adisorn/data/files/เทคนิคผลตอบสนอง... ·

INTRODUCTION

ปัจจุบันเทคโนโลยีการใหแสงสวางจากแอลอีดี (LED: light emitting diode) เริ่มถูกนํามาแทนหลอดฟูออเรสเซนต (florescent lamp) และหลอดอินแคนเดสเซนต (incandescent lamp) ท่ีใหแสงสวางภายในอาคาร เน่ืองจากมีขอดีมากมายเม่ือเทียบกับเทคโนโลยีการใหแสงสวางแบบท่ีใชกันท่ัวไป เชน ใชพลังงานไฟฟานอย มีอายุการท่ีใชงานท่ียาวนาน มีขนาดท่ีเล็ก สามารถตอบสนองความถ่ีสูงไดดี และระบายความรอนไดดี เป็นตน

หลอดแอลอีดีสีขาว (white LED) จะกลายเป็นอุปกรณท่ีสําคัญ นํามาใชเพื่อใหแสงสวางภายในอาคารอยางแพรหลาย ซึ่งนอกจากใหความสวางแลวยังสามารถนํามาเป็นตัวสงสัญญาณขอมูลของการสื่อสารไรสายดวยแสงในรูปแบบขอมูลตาง ๆ อาทิเชน สงสัญญาณแอนะล็อก สงสัญญาณดิจิทัล เป็นตน รูปแบบการสงขอมูลดวยแสงน้ีมีชื่ อเรียกวา การสื่อสารดวยแสงท่ีมองเห็น (VLC: visible light communication) โดยใชแอลอีดีสีขาว

Page 4: เทคนิคผลตอบสนองบางส วนควรจะเป็นมากสุด สําหรับระบบการ ...pws.npru.ac.th/adisorn/data/files/เทคนิคผลตอบสนอง... ·

นอกจากน้ียังพบวาวงจรภาครับแบบที่ใชกันทั่วไป (conventional receiver) ในระบบ VLC มีลักษณะเป็นแบบแอนะล็อก ซึ่งทําใหการตรวจหาขอมูลมีสมรรถนะไมดีเทาที่ควร ดังนั้นงานวิจัยฉบับน้ีนําเสนอการออกแบบวงจรภาครับโดยใชเทคนิคผลตอบสนองบางสวนควรจะเป็นมากสุด (PRML: partial-response maximum-likelihood) ซึ่งมีลักษณะเป็นแบบดิจิทัล สําหรับระบบการสื่อสารไรสายดวยแสงที่มองเห็นภายในอาคาร ซึ่งจากการทดลองในระบบ VLC ภายในอาคารที่ติดตัง้ตัวสงไวบนเพดานเพ่ือแพรกระจายแสงสวางใหทั่วพ้ืนที่ของหอง และตัวรับสัญญาณ (โฟโตไอโอด) วางอยูบนโตะ ณ อัตราการสงขอมูลแบบตาง ๆ พบวาวงจรภาครับที่นําเสนอมีสมรรถนะดีกวาวงจรภาครับแบบที่ใชกันทัว่ไป

• สเปคตรัมแสงที่สามารถมองเห็น มีความยาวคล่ืน ประมาณ 400 –700 นาโนเมตร

INTRODUCTION

Page 5: เทคนิคผลตอบสนองบางส วนควรจะเป็นมากสุด สําหรับระบบการ ...pws.npru.ac.th/adisorn/data/files/เทคนิคผลตอบสนอง... ·

VLC SYSTEM แสดงแบบจําลองของหองท่ีมีขนาด 5 x 5 x 3 เมตร โดยตัวสง (transmitter) จะใช

หลอดแอลอีดีแบบอารเรยติดตัง้บนเพดานหองเพื่อแพรกระจายแสงสวางไปบริเวณรอบ ๆ หอง และตัวรับ (receiver) จะใชโฟโตไดโอดท่ีวางบนโตะทํางานท่ีสูงจากพื้น 0.85 เมตร

กําหนดใหมีรูปแบบการแพรกระจายแบบแลมเบอรเซียน (Lambertian radiation), mคือเลขลําดับการแพรของแสงแบบแลมเบอรเซยีนซึ่งนิยามโดย

นอกจากน้ีคาความเขมแสงท่ีไดรับจะเปล่ียนแปลงไปตามมุมระหวางตัวรับแสงกับตัวสงแสง โดยคาความสวางในแนวขนานกับพื้นหองหาไดจากสมการท่ี (5)

( ) (0)cos ( )mI I (1)

1/2ln(2) / ln(cos )m (2)

Page 6: เทคนิคผลตอบสนองบางส วนควรจะเป็นมากสุด สําหรับระบบการ ...pws.npru.ac.th/adisorn/data/files/เทคนิคผลตอบสนอง... ·

ตัวรับสัญญาณไดรับแสงจากแอลอีดีโดยตรง (direct light)

2 ( )cos( ) ;00

0 ;

rxo c

LOS

c

A RH d

Direct Light.

(3)

Page 7: เทคนิคผลตอบสนองบางส วนควรจะเป็นมากสุด สําหรับระบบการ ...pws.npru.ac.th/adisorn/data/files/เทคนิคผลตอบสนอง... ·

LED Array

Ceiling

ReceiverReceiver plane

wall

wall

1d

2d

1/2half power semi-angle

FOV(field of view)

c

LED Array

Ceiling

ReceiverReceiver plane

wall

wall

1d

2d

1/2half power semi-angle

FOV(field of view)

c

ตัวรับสัญญาณไดรับแสงจากแอลอีดีท่ีผานการสะทอนจากผนังหอง (reflection light)

2 21 2

( )( )( ) cos( )

cos( ) ( )g( )cos( ) ;00

0 ;

rxo wall

s creflection

c

A R dAd d

TdH

Reflection light.

(4)

Page 8: เทคนิคผลตอบสนองบางส วนควรจะเป็นมากสุด สําหรับระบบการ ...pws.npru.ac.th/adisorn/data/files/เทคนิคผลตอบสนอง... ·

พารามิเตอร ขนาด พารามิเตอร ขนาดRoom size 5 x 5 x 3 m3 Wall reflectivity 0.7

Desk height from the ceiling 2.15 m FOV at the receiver 120๐

Single LED power PLED 30 mW Detector physical area of PD 1.0 cm2

LED response time 150 ns Transmission coefficient of optical filter 1.0

Semi-angle at half power 70๐ Refractive index of lens at PD 1.5

Number of LEDs arrays 4 Photodiode responsivity (R) 0.4

Number of LEDs per array 25 (5 x 5) Turning Parameter (P) 2LED pitch 1 cm Amplifier noise density 5 pAFloor reflectivity 0.15 Ambient light photocurrent 5840 uA

Ceiling reflectivity 0.8 Noise-bandwidth factor (I2) 0.562

VLC SYSTEMคาพารามิเตอรท่ีใชในการจําลองระบบ VLC

Page 9: เทคนิคผลตอบสนองบางส วนควรจะเป็นมากสุด สําหรับระบบการ ...pws.npru.ac.th/adisorn/data/files/เทคนิคผลตอบสนอง... ·

2( )( , , )

cos( )hor

IE x y zd

VLC SYSTEM

(5)

,1

0 . 0reflectionsLEDs

irx total tx LOS tx ref

i

P P H P H

(6)

ความเขมแสงในแนวราบ ของหองที่ออกแบบ

คากําลังงานที่ไดรับทัง้หมด รวมแสงที่ไดรับโดยตรง และแสงที่สะทอนจากผนังหอง

Page 10: เทคนิคผลตอบสนองบางส วนควรจะเป็นมากสุด สําหรับระบบการ ...pws.npru.ac.th/adisorn/data/files/เทคนิคผลตอบสนอง... ·

2( ) ( )

j ftH f h t e dt

CHANNEL RESPONSE

,1

0 . 0reflectionsLEDs

irx total tx LOS tx ref

i

P P H P H

(7)

ผลตอบสนองอิมพัลสของระบบ VLC เม่ือตัวรับวางอยู ณ ตําแหนงตามแนวแกน x เทากับ 0.5 เมตร ตามแนวแกน y เทากับ 1.0 เมตร และสูงจากพ้ืนเป็น 0.85 เมตร และใชพารามิเตอรตาง ๆ ตามตารางดานบน ซึ่ งจะเห็นไดวาสัญญาณที่ส งจะมาถึงตัวรับภายใน 10 นาโนวินาที จากนัน้ในชวงเวลา 10 – 20 นาโนวินาที จะเป็นสัญญาณที่สะทอนจากผนังมาถึงตัวรับ

Page 11: เทคนิคผลตอบสนองบางส วนควรจะเป็นมากสุด สําหรับระบบการ ...pws.npru.ac.th/adisorn/data/files/เทคนิคผลตอบสนอง... ·

tLEDh t e

ผลตอบสนองอิมพัลสของแอลอีดี (LED response) เหมือนกับวงจรกรองอันดับแรกของ RC filter.

LED RESPONSE

(8)

r f

pT T

p คือพารามิเตอรปรับแตง, Tr คือเวลาไตขึ้น rise time และ Tf คือเวลาขาลง fall time

Page 12: เทคนิคผลตอบสนองบางส วนควรจะเป็นมากสุด สําหรับระบบการ ...pws.npru.ac.th/adisorn/data/files/เทคนิคผลตอบสนอง... ·

แบบจําลองชองสัญญาณการสื่อสารไรสายดวยแสงที่มองเห็น (VLC) แบบ Conventional & Proposed receiver.

EQUALIZER DESIGN

Page 13: เทคนิคผลตอบสนองบางส วนควรจะเป็นมากสุด สําหรับระบบการ ...pws.npru.ac.th/adisorn/data/files/เทคนิคผลตอบสนอง... ·

( ) ( ) ( ) ( )y t Rx t h t n t

สําหรับวงจรภาครับระบบที่ใชกันทั่วไป สัญญาณที่รับไดจากไฟโตไอโอดจะถูกสงผานวงจรอีควอไลเซอรที่เป็นวงจรกรองแบบแอนะล็อก จากนั้นสัญญาณที่ไดจะถูกขยายดวยวงจรขยายสัญญาณ (amplifier) กอนสงตอไปยังวงจรตรวจหาขีดเริ่มเปล่ียน (threshold detector)

อยางไรก็ตามสําหรับวงจรภาครับที่ใชเทคนิคผลตอบสนองบางสวนควรจะเป็นมากสุด (PRML) สัญญาณ y(t) จะถูกสงไปยังวงจรกรองผานตํ่า (LPF: low-pass filter) และวงจรชักตัวอยาง (sampler) ทําใหไดเป็นลําดับขอมูลตัวอยาง sk และถูกสงไปยังวงจรตรวจหาเพ่ือหาคาประมาณของลําดับขอมูลอินพุต เทคนิคผลตอบสนองบางสวนควรจะเป็นมากสุดเป็นการทํางานรวมกันระหวางอีควอไลเซอรและวงจรตรวจหาวีเทอรบิ (Viterbi detector) โดยจะตองทําการออกแบบอีควอไลเซอรและทารเก็ต (target) ใหเหมาะสมกับระบบ VLC ดังนัน้ถาใหอีควอไลเซอรมีรูปสมการคณิตศาสตรในโดเมน D คือ

EQUALIZER DESIGN

(9)

ˆka

Page 14: เทคนิคผลตอบสนองบางส วนควรจะเป็นมากสุด สําหรับระบบการ ...pws.npru.ac.th/adisorn/data/files/เทคนิคผลตอบสนอง... ·

EQUALIZER DESIGN

K kkk K

F D f D

1

0

L k

kkH D h D

22 ( ) ( )k k k k kE w E s f a h

ขอผิดพลาดที่ไดจากการออกแบบทารเก็ต

เม่ือ D คือตัวดําเนินการหนวงเวลาหน่ึงหนวย, K คือเลขจํานวนเต็มบวก, และ 2K + 1 คือจํานวนแท็ปหรือสัมประสิทธิข์องอีควอไลเซอร ในทํานองเดียวกันกําหนดใหทารเก็ตทีมี่จํานวนแท็ปเทากับ L แท็ป ก็สามารถเขียนใหอยูในรูปสมการคณิตศาสตรในโดเมน D

(10)

(11)

(12)

Page 15: เทคนิคผลตอบสนองบางส วนควรจะเป็นมากสุด สําหรับระบบการ ...pws.npru.ac.th/adisorn/data/files/เทคนิคผลตอบสนอง... ·

RESULTSเปรียบเทียบสมรรถนะระบบ VLC ระหวาง Conventional กับที่ Proposedดวยอัตราการขอมูลที่ 50 และ 100 เมกะบิตตอวินาที

Page 16: เทคนิคผลตอบสนองบางส วนควรจะเป็นมากสุด สําหรับระบบการ ...pws.npru.ac.th/adisorn/data/files/เทคนิคผลตอบสนอง... ·

เปรียบเทียบสมรรถนะระบบ VLC ดวยอัตราการขอมูลที่ 50 , 100, 150 และ 200 เมกะบิตตอวินาที

RESULTS

Page 17: เทคนิคผลตอบสนองบางส วนควรจะเป็นมากสุด สําหรับระบบการ ...pws.npru.ac.th/adisorn/data/files/เทคนิคผลตอบสนอง... ·

CONCLUSION

ระบบการสื่อสารไรสายดวยแสงท่ีมองเห็น (VLC) ภายในอาคารจะมีผลกระทบท่ีเกิดขึ้นกับชองสัญญาณจํานวนมากโดยเฉพาะการแทรกสอดระหวางสัญลักษณ ซึ่งทําใหระบบ VLC ท่ีใชวงจรภาครับแบบท่ีใชกันท่ัวไป (แบบแอนะล็อก) ไมสามารถรับสงขอมูลไดอยางมีประสิทธิภาพ งานวิจัยน้ีจึงไดนําเสนอวงจรภาครับแบบดิจิทัลท่ีใชเทคนิคผลตอบสนองบางสวนควรจะเป็นมากสุดในการออกแบบอีควอไลเซอรและทารเก็ต ซึ่งจากการทดลองพบวาวงจรภาครับแบบท่ีนําเสนอมีสมรรถนะดีกวาวงจรภาครับแบบท่ีใชกันท่ัวไป ณ อัตราการสงขอมูลตาง ๆ นอกจากน้ียังพบวาระบบ VLC จะมีสมรรถนะดอยลง เม่ือระบบใชอัตราการสงขอมูลท่ีสูงขึ้น ตอไปจะทําการออกแบบวงจรภาครับ การมอดูเลทสัญญาณแบบตาง ๆ ท่ีเหมาะสมกับระบบ VLC.

Page 18: เทคนิคผลตอบสนองบางส วนควรจะเป็นมากสุด สําหรับระบบการ ...pws.npru.ac.th/adisorn/data/files/เทคนิคผลตอบสนอง... ·

THANK YOU FOR ATTENTION

Q&A