annual report 2007

66

Upload: kittibhas-jaengthomma

Post on 07-Mar-2016

219 views

Category:

Documents


3 download

DESCRIPTION

Annual Report 2007

TRANSCRIPT

๑ รายงานประจาํป

ส าสนจากประธานกรรมการ

เรียน ทานผูถือหุนท่ีเคารพ

ป 2550 เปนปท่ี บริษัท กลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ จํากัด ดําเนินกิจการมาครบรอบ 9 ป นับวาเปนปท่ีนา

ภาคภูมิใจเปนอยางยิ่ง เนื่องจากบริษัทมีผลประกอบการที่ดีท่ีสุดต้ังแตเริ่มดําเนินการมา อีกท้ังยังเปนปท่ีบริษัทไดมีโอกาสทํากิจกรรมเพื่อรวมเฉลิมฉลองวาระมหามงคลของปวงชนชาวไทย คือ โครงการ “ขับข่ีปลอดภัยรวมใสหมวกนิรภัยเพื่อเฉลิม

ฉลอง 80 พรรษา” รวมกับกรมการประกันภัย (คปภ.ในปจจุบัน) และธุรกิจประกันวินาศภัย รวม 80 หนวยงาน โดยจัดทํา

หมวกกันนอคสีเหลืองประดับตราสัญลักษณ 80 พรรษา พรอมหมายเลขประจําหมวก แลวเชิญชวนใหประชาชนทั่วประเทศเขารวมเปนสวนหนึ่งของโครงการ โดยการซื้อหมวกกันนอคในราคาใบละ 80 บาท พรอมถวายปณิธานวาจะสวมใสหมวก

กันนอคทุกครั้งท่ีขับขี่หรือโดยสารรถจักรยานยนต โครงการนี้ไดรับการตอบรับจากภาครัฐ เอกชน ประชาชน และส่ือมวลชนทุกแขนงเปนอยางมาก รายไดท้ังหมดจากโครงการนําขึ้นทูลเกลาถวายแดองคพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ผานมูลนิธิชัยพัฒนาโดยมิไดหักคาใชจาย และในปนี้ บริษัทกลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ จํากัด ไดรับคัดเลือกจากสมาคมนักวิทยุและโทรทัศนแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ ใหไดรับรางวัลพระราชทาน “เทพทอง” คร้ังท่ี 9 ประเภท องคกรดีเดน ดานสงเสริมสนับสนุน ประชาสัมพันธกิจกรรมเพื่อสังคม ประจําป 2550 นอกเหนือจากท่ีกลาวมาน้ี บริษัทกลางฯ ยังมี

ผลงานในป 2550 ท่ีโดดเดนในหลายประการ กลาวโดยสรุปคือ

1. การสรางนวัตกรรมใหม บริษัทกลางฯ ไดคิดคนระบบการจําหนายกรมธรรมประกันภัยภาคบังคับโดยใชเครื่องออกกรมธรรมอัตโนมัติ (Policy Vendor Register Machine) หรือระบบ “PVR” ซึ่งเปนการรับประกันภัยแบบสง

ขอมูลทันที (Online Real-time) ถือเปนการปฏิวัติวิธีการจําหนายกรมธรรมประกันภัย โดยระบบ PVR นี้สงผล

ใหตัวแทนสามารถจําหนายกรมธรรมไดในทุกท่ีท่ีมีสัญญาณคล่ืนโทรศัพท และผูเอาประกันภัยมีความมั่นใจย่ิงขึ้นเพราะขอมูลการรับประกันภัยจะถูกสงเขาสูระบบฐานขอมูลของบริษัทกลางฯ โดยทันที ซึ่งนอกจากจะเปนการตอบสนองตอนโยบายของสํานักงานคณะกรรมการกํากับและสงเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัยแลว ยังสามารถปองกันการออกกรมธรรมยอนหลัง และยังสามารถควบคุมและจัดการความเส่ียงในเรื่องเบ้ียประกันภัยไดอีกดวย

2. การจัดการสินไหมทดแทนดวยระบบสินไหมอัจฉริยะ (Intelligent-Claim System : i-Claim) ซึ่งในปนี้ไดมีการพัฒนาใหระบบนี้สามารถดําเนินการผานเครือขายอินเตอรเน็ตไดอยางเต็มรูปแบบ โดยมีจํานวนสถานพยาบาลเขารวมโครงการแลวท้ังส้ิน 1,079 สถานพยาบาล หรือคิดเปนรอยละ 92 ของสถานพยาบาลที่มีสิทธิท่ัวประเทศ นอกจากนี้ยังไดมีการพัฒนาตอยอดใหสามารถจายคาสินไหมทดแทนใหสถานพยาบาลในรูปแบบของการบริการโอนเงินรายยอยระหวางลูกคาขามธนาคาร (Media Clearing) และในปนี้บริษัทฯ ไดขยายศักยภาพ

บริษทั กลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ จาํกดั ๒

ของสํานักงานตัวแทนรายใหญใหสามารถดําเนินการจัดการสินไหมทดแทนเบ้ืองตนไดดวยระบบ Super QA

สงผลใหการบริการดานสินไหมทดแทนเปนไปดวยความสะดวก รวดเร็ว ตอบสนองตอความพึงพอใจของผูประสบภัย สถานพยาบาลและบริษัทประกันภัยไดเปนอยางดี อีกท้ังยังสามารถควบคุมอัตราความเสียหายตอเบ้ียประกันภัยท่ีถือเปนรายได (Loss Ratio) ไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยในป 2550 มีบริษัทประกันภัยจํานวน

10 บริษัท มอบหมายใหบริษัทกลางฯ จัดการสินไหมทดแทนสําหรับการประกันภัยภาคบังคับท้ังระบบ

3. ผลประกอบการของบริษัท ในป 2550 ภายใตการชะลอตัวของธุรกิจ อันเนื่องมาจากสภาวะความไมแนนอนทางการเมือง บริษัทกลางฯ ยังคงมีผลประกอบการเปนท่ีนาพอใจ โดยภาพรวมบริษัทมีกําไรกอนหักภาษีจํานวน 71.85 ลานบาท สงผลใหมูลคาในสวนของผูถือหุนเพ่ิมเปน 140.26 ลานบาท ในดานการใหการสนับสนุนตอธุรกิจประกันวินาศภัย บริษัทไดดําเนินการจัดสอบตัวแทนประกันวินาศภัยท่ัวประเทศ การจายคาสินไหมทดแทนแทนบริษัทประกันภัย ซึ่งในปนี้ บริษัทกลางฯ ดําเนินการจัดการสินไหมทดแทน แทนบริษัทประกันภัยรวมท้ังส้ิน 43,338 เคลม บริษัทมีเบ้ียประกันภัยจํานวน 1,020.48 ลานบาท จากจํานวนกรมธรรมท้ังส้ิน 3.45 ลานกรมธรรม มีจํานวนอุบัติเหตุท้ังส้ิน 78,374 เคลม มีอัตราความเสียหายตอเบ้ียประกันภัยท่ีถือเปนรายได (Loss Ratio) ท่ีรอยละ 87.10 บริษัทรับคํารองโครงการประกันภัยอุบัติเหตุเอื้ออาทรจํานวน 1,461 เคลม และ

จําหนายกรมธรรมประกันภัยอุบัติเหตุเอ้ืออาทรไดท้ังส้ิน 109,480 กรมธรรม

4. กิจกรรมเพ่ือสังคม นอกเหนือจากโครงการหมวกเหลือง 80 พรรษาแลว บริษัทยังไดจัดทําโครงการเพ่ือสังคมอีก หลายโครงการ เชน โครงการ 9 ป 9 ความดี เพ่ือถวายในหลวง โครงการ Road Safety Camp โครงการ

ปลูกปาเฉลิมพระเกียรติ โครงการปายจุดเส่ียง โครงการเปดไฟใสหมวก เปนตน โครงการตางๆเหลานี้ ไดทําใหชื่อบริษัทกลางฯ กระจายไปอยูในทุกภาคสวนของประเทศ เปนการยกระดับภาพลักษณท้ังของบริษัทกลางฯ และธุรกิจประกันวินาศภัยโดยรวม

จากผลของความทุมเท ความพยายาม ในการนําพาองคกรใหพัฒนาอยางไมมีท่ีส้ินสุด ตอเนื่องและมั่นคง ดํารงไวซึ่งความรับผิดชอบตอสังคมตามเจตนารมณของการจัดต้ังบริษัทกลางฯ ขาพเจาขอขอบคุณ ทานผูถือหุน ผูซึ่งอยูเบ้ืองหลังของความสําเร็จ ขอขอบคุณคณะกรรมการบริษัท ท่ีไดชวยกําหนดทิศทาง ดูแลกํากับ และสนับสนุนการดําเนินงานท่ีผานมาจากปแรกจนถึงปจจุบันและหวังเปนอยางยิ่งวา ทานผูถือหุน คณะกรรมการบริษัท จะเปนกําลังใจ และเปนแรงสนับสนุนนําพาองคกรนี้ใหกาวหนา วัฒนาถาวรสืบไป

(รอยโทสุชาย เชาววิศิษฐ) ประธานกรรมการ

๓ รายงานประจาํป

ร ายงานคณะกรรมการ

การปฏิบัติตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี

1. นโยบายเก่ียวกับการกํากับดูแล คณะกรรมการบริษัทไดตระหนักถึงความสําคัญของการกํากับดูแลกิจการท่ีดี เพ่ือเพ่ิมความโปรงใส และเพ่ิมความเชื่อมั่นใหแกผูถือหุนและผูท่ีเกี่ยวของทุกฝาย จึงไดกําหนดนโยบายสนับสนุนการกํากับดูแลกิจการโดยครอบคลุมหลักสําคัญ ดังนี้

การปฏิบัติตอผูถือหุนและผูมีสวนไดสวนเสียอยางเทาเทียมกัน เปนธรรมตอทุกฝาย คณะกรรมการบริษัทมีความมุงมั่นในการสรางมูลคาเพ่ิมแกกิจการในระยะยาว บริหารงานดวยความรอบคอบและระมัดระวัง รับผิดชอบตอการปฏิบัติหนาท่ีดวยความสามารถและประสิทธิภาพท่ีเพียงพอเพ่ือใหเกิดประโยชนตอผูถือหุน ดูแลมิใหเกิดปญหาความขัดแยงทางผลประโยชน รับผิดชอบตอการตัดสินใจและการกระทําของตนเอง

การดําเนินงานเปนไปดวยความโปรงใส สามารถตรวจสอบได เปดเผยขอมูลอยางเพียงพอ การดําเนินธุรกิจโดยคํานึงถึงความเส่ียงอยูเสมอ โดยมีการควบคุมท่ีเหมาะสม การกําหนดจริยธรรมธุรกิจเพ่ือใหกรรมการและพนักงานถือปฏิบัติ

2. สิทธิของผูถือหุน ในป 2550 บริษัทมีการประชุมผูถือหุนท้ังหมด 1 ครั้ง แบงเปน

ประชุมสามัญประจําป 1 ครั้ง ในวันอังคารท่ี 24 เมษายน 2550

โดยการประชุมไดจัดท่ีสมาคมประกันวินาศภัย บริษัทไดจัดสงหนังสือนัดประชุมพรอมท้ังขอมูลประกอบการประชุมตามวาระตางๆ ใหผูถือหุนทราบไมนอยกวา 7 วันกอนการประชุม โดยในแตละวาระมีความเห็นของคณะกรรมการบริษัท

ประกอบและมีการบันทึกการประชุมถูกตองครบถวนเพ่ือใหผูถือหุนสามารถตรวจสอบได

3. สิทธิของผูมีสวนไดเสีย โดยท่ีบริษัท กลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ จํากัด เปนนิติบุคคลท่ีจัดต้ังขึ้นตามมาตรา 10 ทวิ แหง

พระราชบัญญัติคุมครองผูประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 (ฉบับท่ี 3 แกไขเพ่ิมเติม พ.ศ. 2540) ซึ่งกําหนดใหทุกบริษัทตาม

กฎหมายวาดวยการประกันวินาศภัยท่ีไดรับใบอนุญาตใหประกอบกิจการประเภทประกันภัยรถตองเขาชื่อซื้อหุนในการจัดต้ัง การเพ่ิมทุน และ การดําเนินการใดๆ ตามหลักเกณฑท่ีคณะรัฐมนตรีประกาศกําหนด

อยางไรก็ดีในการปฏิบัติภารกิจจายคาสินไหมทดแทนใหแกผูประสบภัยจากรถ บริษัทกลางฯ ไดใหความสําคัญในการคํานึงถึงผูมีสวนไดเสียทุกกลุม ไมวาจะเปนผูถือหุนและผูมีสวนไดเสียอัน ไดแก ประชาชน สถานพยาบาลและผูบริหารของบริษัท ตลอดจนภาครัฐ

บริษทั กลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ จาํกดั ๔

4. การประชุมผูถือหุน ในการประชุมผูถือหุนในป 2550 มีกรรมการเขารวมประชุมซึ่งรวมถึงประธานกรรมการตรวจสอบ โดยประธาน

คณะกรรมการบริษัทซึ่งทําหนาท่ีเปนประธานในที่ประชุม ไดเปดโอกาสใหผูถือหุนมีสิทธิอยางเทาเทียมกันในการตรวจสอบการดําเนินงานของบริษัท สอบถามและแสดงความคิดเห็นและขอเสนอแนะตางๆรวมทั้งไดบันทึกประเด็นซักถามและขอคิดเห็นท่ีสําคัญไวในรายงานการประชุม

5. ภาวะผูนําและวิสัยทัศน คณะกรรมการบริษัทมีหนาท่ีรับผิดชอบในการกําหนดแนวนโยบาย แผนงานและกลยุทธทางธุรกิจ ตลอดจนควบคุม

การดําเนินงานของบริษัท โดยกรรมการผูจัดการในฐานะผูบริหารรับผิดชอบตอคณะกรรมการในการดูแลการดําเนินธุรกิจและการปฏิบัติงาน ใหสอดคลองกับนโยบายของคณะกรรมการบริษัท

6. ความขัดแยงทางผลประโยชน มีแนวปฏิบัติท่ีชัดเจนในการดูแล เพ่ือขจัดความขัดแยงทางผลประโยชนในกรณีท่ีมีกรรมการที่มีสวนไดเสียในวาระใดๆ กรรมการทานนั้นตองเปดเผยใหท่ีประชุมทราบ

7. จริยธรรมธุรกิจ บริษัทมีขอพึงปฏิบัติเกี่ยวกับจรรยาบรรณของคณะกรรมการบริษัท ฝายจัดการและพนักงาน เพ่ือใหผูท่ีเกี่ยวของยึดถือเปนแนวทางในการปฏิบัติหนาท่ีตามภารกิจของบริษัทดวยความซื่อสัตย สุจริต และเที่ยงธรรม ท้ังการปฏิบัติตอบริษัท และผูมีสวนไดเสีย ทุกกลุมสาธารณชนและสังคม โดยผูเกี่ยวของไดตกลงท่ีจะถือปฏิบัติและบริษัทไดติดตอส่ือสารกับพนักงานสม่ําเสมอและติดตามการปฏิบัติตามแนวทางดังกลาวเปนประจํา รวมถึงกําหนดบทลงโทษทางวินัยไวดวย

8. การถวงดุลของกรรมการที่ไมเปนผูบริหาร คณะกรรมการบริษัทมีจํานวน 16 ทานประกอบดวย

- กรรมการที่เปนผูบริหาร 1 ทาน

- กรรมการที่เปนตัวแทนผูถือหุน 12 ทาน

(เปนตัวแทนของกลุมใหญ 4 ทาน กลุมกลาง 4 ทาน และกลุมเล็ก 4 ทาน)

- ผูทรงคุณวุฒิดานประกันวินาศภัย และผูแทนจาก คปภ. 3 ทาน

- ท่ีปรึกษาคณะกรรมการ 1 ทาน

9. การรวมหรือแยกตําแหนง ประธานคณะกรรมการบริษัทเปนกรรมการอิสระตามความหมายของตลาดหลักทรัพย และไมมีความสัมพันธใดๆ กับฝายบริหาร

ประธานคณะกรรมการบริษัทไมเปนบุคคลเดียวกันกับกรรมการผูจัดการ เพ่ือเปนการแบงแยกหนาท่ีในการกําหนดนโยบายการกํากับดูแลและการบริหารงานประจํา

๕ รายงานประจาํป

10. คาตอบแทนกรรมการและผูบริหาร การกําหนดคาตอบแทนกรรมการและผูบริหารระดับสูง มีการดําเนินการท่ีโปรงใสโดยไดผานการพิจารณาผลตอบแทน ซึ่งในสวนของคาตอบแทนกรรมการตองไดรับความเห็นชอบจากท่ีประชุมใหญผูถือหุน

11. การประชุมคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษัทมีกําหนดประชุมโดยปกติเปนประจําทุกวันอังคารที่ 4 ของเดือนและมีการประชุมพิเศษเพ่ิม

ตามความจําเปน โดยมีการกําหนดวาระชัดเจน ลวงหนา และมีวาระพิจารณาติดตามผลการดําเนินงานเปนประจํา เลขานุการคณะกรรมการไดจัดหนังสือเชิญประชุมพรอมระเบียบวาระการประชุมและเอกสารไมนอยกวา 7 วัน กอนการประชุม เพ่ือให

คณะกรรมการไดมีเวลาศึกษาขอมูลอยางเพียงพอกอนเขารวมประชุม ปกติการประชุมแตละคร้ังจะใชเวลาประมาณ 3 ชั่วโมง

โดยในป 2550 ท่ีผานมา คณะกรรมการมีการประชุมตามวาระปกติจํานวน 12 ครั้ง

นอกจากนี้คณะกรรมการไดมีมติในการประชุมครั้งท่ี 32/2543 ใหฝายจัดการนําสงสําเนารายงานการประชุมท่ี

คณะกรรมการบริษัทรับรองแลวใหแกผูถือหุนเพ่ือสามารถรับทราบผลการดําเนินงานของบริษัทไดตลอดเวลา

12. คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการลงทุน คณะกรรมการบริษัทไดแตงตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการลงทุน เพ่ือศึกษากล่ันกรองงานและดูแล

กิจกรรมเฉพาะท่ีจําเปนและสําคัญ โดยประธานกรรมการของทั้งสองคณะเปนกรรมการอิสระท่ีไมเปนผูบริหารและคณะกรรมการท้ังสองคณะสวนใหญประกอบดวยกรรมการที่ไมเปนผูบริหาร โดยมีขอบเขตหนาท่ีและความรับผิดชอบตามกฎบัตรของคณะกรรมการตรวจสอบและระเบียบการลงทุน

13. ระบบควบคุมและการตรวจสอบภายใน

คณะกรรมการบริษัท ไดใหความสําคัญตอการสรางระบบควบคุมภายในทั้งการควบคุมการเงิน การดําเนินงานและการปฏิบัติงาน โดยมีสํานักตรวจสอบทําหนาท่ีตรวจสอบการปฎิบัติงานของพนักงานและระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพ่ือใหมั่นใจวาการปฎิบัติงานหลักและกิจกรรมทางการเงินท่ีสําคัญของบริษัท ไดดําเนินการตามแนวทางที่กําหนดและมีประสิทธิภาพ และเพ่ือใหสํานักตรวจสอบมีความเปนอิสระสามารถทําหนาท่ีตรวจสอบและถวงดุลไดอยางเต็มท่ี คณะกรรมการบริษัท จึงกําหนดใหสํานักตรวจสอบรายงานผลการตรวจสอบโดยตรงตอคณะกรรมการตรวจสอบและไดรับการประเมินผลจากคณะกรรมการตรวจสอบ

การบริหารความเส่ียงจากการประกอบการทางธุรกิจ บริษัทมีการจัดประชุมคณะผูบริหาร (Management

Committee) เปนประจําทุกเดือน โดยแตละคร้ังใชเวลาประชุมไมตํ่ากวา 8 ชั่วโมง ซึ่งเปนการประชุมกับผูบริหารระดับภาค

และผูบริหารระดับสวนงานหมุนเวียนกันเพ่ือกําหนดแนวทางในการปฏิบัติใหเปนไปตามนโยบายของบริษัท เกิดประสิทธิภาพสูงสุด และเพ่ือติดตามประเมินผลอยางใกลชิด รวมท้ังมอบหมายใหสวนงานไปจัดประชุมกับพนักงานในระดับปฏิบัติการรวมท้ังตัวแทน/จุดขาย เพ่ือรับทราบถึงแนวทางการแกไขปญหาตางๆ เชน ฝายรับประกันภัยและการตลาด

บริษทั กลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ จาํกดั ๖

14. รายงานของคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษัทเปนผูรับผิดชอบตองบการเงินของบริษัท และสารสนเทศทางการเงินท่ีปรากฏในรายงานประจําป งบการเงิน ดังกลาวจัดทําขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีท่ีรับรองท่ัวไปในประเทศไทย โดยเลือกใชนโยบายบัญชีท่ีเหมาะสมและถือปฏิบัติอยางสม่ําเสมอ และใชดุลยพินิจอยางระมัดระวังและประมาณการที่ดีท่ีสุดในการจัดทํา รวมทั้งมีการเปดเผยขอมูลสําคัญอยางเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน คณะกรรมการไดจัดใหมีการดํารงรักษาไวซึ่งระบบควบคุมภายในที่มีประสิทธิผล เพ่ือใหมั่นใจไดอยางมีเหตุผลวาการบันทึกขอมูลทางบัญชีมีความถูกตอง ครบถวน และเพียงพอท่ีจะดํารงรักษาไวซึ่งทรัพยสิน และเพ่ือใหทราบจุดออนเพ่ือปองกันไมใหเกิด การทุจริตหรือการดําเนินการท่ีผิดปกติอยางมีสาระสําคัญ ในการน้ี คณะกรรมการบริษัทไดแตงตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งประกอบดวยกรรมการท่ีไมเปนผูบริหารเปนผูดูแลรับผิดชอบเกี่ยวกับคุณภาพของรายงานทางการเงินและระบบควบคุมภายใน และความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบเกี่ยวกับเรื่องนี้ปรากฏในรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบซึ่งแสดงไวในรายงานประจําปแลว คณะกรรมการมีความเห็นวาระบบควบคุมภายในของบริษัทโดยรวมอยูในระดับท่ีนาพอใจและสามารถสรางความเชื่อถือไดของงบการเงินของบริษัท ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 2550

( รอยโทสุชาย เชาววิศิษฐ )

ประธานกรรมการ

๗ รายงานประจาํป

ร ายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ

เรียน ทานผูถือหุน บริษัท กลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ จํากัด

คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทกลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ จํากัด ประกอบดวยกรรมการของบริษัท 3 ทาน ท่ีไดัรับการแตงตั้งจากท่ีประชุมคณะกรรมการบริษัท ดังนี้

นายอานนท วังวสุ รองประธานกรรมการ เปน ประธานกรรมการตรวจสอบ นายภิญโญ บุญนํา กรรมการ เปน กรรมการตรวจสอบ นายวรศักด์ิ เกรียงโกมล กรรมการ เปน กรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการตรวจสอบ ไดปฏิบัติงานตามหนาท่ีและความรับผิดชอบตามที่ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท และตามที่ไดกําหนดไวในกฏบัตรของคณะกรรมการตรวจสอบ

ในป 2550 คณะกรรมการตรวจสอบไดจัดใหมีการประชุมทุกเดือน และประธานกรรมการตรวจสอบ หรือผูแทนไดรายงานผลการตรวจสอบในการประชุมคณะกรรมการบริษัททุกคราว โดยสรุปสาระสําคัญในรอบปท่ีผานมาไวดังนี้

1. สอบทานงบการเงินรายไตรมาส และงบการเงินประจําป 2550 เพ่ือใหมั่นใจวา รายงานทางการเงินของบริษัทจัดทําขึ้นตามมาตรฐานที่ผูสอบบัญชีรับอนุญาตรับรองแลว

2. สอบทานใหบริษัทมีระบบการควบคุมภายในที่มีประสิทธิผล โดยไดรับรายงานผลการตรวจสอบและการดําเนินงานของสํานักตรวจสอบเปนประจํา ตลอดจนติดตามการจัดทําระบบควบคุมภายใน และการตรวจสอบภายในที่เหมาะสมอยางมีประสิทธิภาพ

3. พิจารณาและใหความเห็นชอบในการจัดทําแบบประเมินความพอเพียงระบบควบคุมภายในของคณะกรรมการบริษัท เพ่ือใหสอดคลองกับแนวปฏิบัติท่ีดีตามมาตรฐานสากล

4. พิจารณาใหความเห็นชอบ และสนับสนุนใหมีการใชระบบบริหารคุณภาพ ISO 9001:2000 เพ่ือนํามาเปนแนวทางในการตรวจสอบระบบควบคุมภายในบริษัท

5. พิจารณาและใหความเห็นชอบเปาหมาย และแผนงานตรวจสอบของสํานักตรวจสอบประจําป 2551 รวมท้ังทบทวนงานที่สํานักตรวจสอบดําเนินการตรวจสอบ ประเมินผลอยางตอเนื่อง

6. สอบทานความเปนอิสระของสํานักตรวจสอบ และการปฏิบัติงานวาเปนไปตามมาตรฐานสากล และใหมีการติดตามการดําเนินการแกไขตามรายงานผลการตรวจสอบทุกประเด็น

คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นวา บริษัทไดมีการปฏิบัติตามกฏหมายและกฏระเบียบท่ีเกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัท การจัดทําและการเปดเผยขอมูลในรายงานทางการเงินประจําป 2550 เปนไปตามมาตรฐานการบัญชีท่ีรับรองโดยทั่วไปมีความถูกตองครบถวน เชื่อถือได นอกจากน้ี คณะกรรมการตรวจสอบยังไดใหขอเสนอแนะแกฝายบริหารเพ่ือเสริมสรางประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบริษัทใหดีย่ิงขึ้น ตามนโยบายของคณะกรรมการบริษัทเกี่ยวกับการกํากับดูแลกิจการท่ีดี อนึ่ง คณะกรรมการตรวจสอบไดเสนอคณะกรรมการบริษัทแตงตั้งบริษัท สํานักงานเอินส แอนด ยังส จํากัด เปนผูสอบบัญชี ประจําป 2551 เพ่ือนําเสนอตอท่ีประชุมสามัญผูถือหุนอนุมัติตอไป (นายอานนท วังวสุ) ประธานกรรมการตรวจสอบ

บริษทั กลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ จาํกดั ๘ บริษทั กลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ จาํกดั ๘

ค ณะกรรมการบรษิัท

๙ รายงานประจาํป

ค ณะกรรมการตรวจสอบ

ค ณะกรรมการลงทนุ

บริษทั กลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ จาํกดั ๑๐ บริษทั กลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ จาํกดั ๑๐

ร ายนามคณะกรรมการ ป ๒๕๕๐ ลําดับ รายนาม บริษัท ผูแทนกลุม

1 รอยโทสุชาย เชาววิศิษฐ ผูทรงคุณวุฒิ คปภ.

2 นายสรศักด์ิ ทันตสุวรรณ ผูทรงคุณวุฒิ คปภ.

3 นายภิญโญ บุญนํา ผูแทน คปภ. คปภ.

4 นายเรืองเดช ดุษฎีสุรพจน บริษัท สินมั่นคงประกันภัย จํากัด (มหาชน) ใหญ

5 นายสุขเทพ จันทรศรีชวาลา บริษัท มิตรแทประกันภัย จํากัด ใหญ

6 นายกฤตวิทย ศรีพสุธา บริษัท วิริยะประกันภัย จํากัด ใหญ

7 นายวรศักด์ิ เกรียงโกมล บริษัท ลิเบอรต้ีประกันภัย จํากัด ใหญ

8 นายอานนท วังวสุ บริษัท กรุงเทพประกันภัย จํากัด (มหาชน) กลาง

9 นายจารึก กังวานพณิชย บริษัท ทิพยประกันภัย จํากัด (มหาชน) กลาง

10 นายจีรพันธ อัศวะธนกุล บริษัท ประกันภัยไทยวิวัฒน จํากัด (มหาชน) กลาง

11 นายพุทธิพงษ ดานบุญสุต บริษัท ไทยเศรษฐกิจประกันภัย จํากัด (มหาชน) กลาง

12 นายนพดล สันติภากรณ บริษัท ไอโออิ กรุงเทพ ประกันภัย จํากัด เล็ก

13 นายณัฐดนัย อินทรสุขศรี บริษัท สยามซิต้ีประกันภัย จํากัด เล็ก

14 นางสาวบังอร มี้เจริญ บริษัท สินทรัพยประกันภัย จํากัด เล็ก

15 นางนวลพรรณ ลํ่าซํา บริษัท เมืองไทยประกันภัย จํากัด เล็ก

16 นายอรัญ ศรีวองไทย บริษัท มิตรแทประกันภัย จํากัด ท่ีปรึกษา

17 นายสมพร สืบถวิลกุล บริษัท กลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ จํากัด คณะกรรมการ

๑๑ รายงานประจาํป

ร ายนามผูถอืหุน รายชื่อบริษัทผูถือหุนกลุมใหญ (จํานวนหุน 500,001 หุน ข้ึนไป)

รายชื่อบริษัทผูถือหุนกลุมกลาง (จํานวนหุน 50,001 - 500,000 หุน)

ลําดับท่ี รายชื่อบริษัท จํานวนหุน

1 บริษัท มิตรแทประกันภัย จํากัด 571,176

2 บริษัท ลิเบอรตี้ประกันภัย จํากัด 1,242,776

3 บริษัท วิริยะประกันภัย จํากัด 1,676,369

4 บริษัท สินม่ันคงประกันภัย จํากัด (มหาชน) 639,389

5 บริษัท แอลเอ็มจี ประกันภัย จํากัด 832,447

ลําดับท่ี รายชื่อบริษัท จํานวนหุน

1 บริษัท กรุงเทพประกันภัย จํากัด (มหาชน) 175,584

2 บริษัท กรุงไทยพานิชประกันภัย จํากัด 201,691

3 บริษัท คอมไบด อินชัวรันส (ไทยแลนด) จํากัด 52,633

4 บริษัท คุมเกลาประกันภัย จํากัด (มหาชน) 141,689

5 บริษัท คูเนีย ประกันภัย (ประเทศไทย) จํากัด 52,633

6 บริษัท เจนเนอราลี่ประกันภัย (ไทยแลนด) จํากัด 52,633

7 บริษัท เจาพระยาประกันภัย จํากัด (มหาชน) 52,633

8 บริษัท ซิกนา ประกันภัย จํากัด (มหาชน) 52,633

9 บริษัท ทิพยประกันภัย จํากัด (มหาชน) 239,902

10 บริษัท ไทยพัฒนาประกันภัย จํากัด 245,060

11 บริษัท ไทยศรีประกันภัย จํากัด 487,068

12 บริษัท ไทยเศรษฐกิจประกันภัย จํากัด (มหาชน) 132,741

13 บริษัท ธนชาตประกันภัย จํากัด 52,633

14 บริษัท ธนสินประกันภัย จํากัด (มหาชน) 78,424

15 บริษัท นวกิจประกันภัย จํากัด (มหาชน) 110,004

16 บริษัท นําสินประกันภัย จํากัด (มหาชน) 184,743

17 บริษัท นิวแฮมพเชอรอินชัวรันส 63,160

18 บริษัท บางกอกสหประกันภัย จํากัด (มหาชน) 57,791

19 บริษัท บีที ประกันภัย จํากัด 83,161

20 บริษัท ประกันคุมภัย จํากัด (มหาชน) 121,056

21 บริษัท ประกันภัยไทยวิวัฒน จํากัด (มหาชน) 108,319

22 บริษัท พุทธธรรมประกันภัย จํากัด 52,633

23 บริษัท ฟนิกซ ประกันภัย(ประเทศไทย) จํากัด 52,633

24 บริษัท สงเสริมประกันภัย จํากัด 73,792

25 บริษัท สมโพธิ์ เจแปน ประกันภัย(ประเทศไทย) จํากัด 52,633

26 บริษัท สัมพันธประกันภัย จํากัด 320,642

บริษทั กลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ จาํกดั ๑๒

รายชื่อบริษัทผูถือหุนกลุมกลาง (จํานวนหุน 50,001 - 500,000 หุน) ลําดับท่ี รายชื่อบริษัท จํานวนหุน

27 บริษัท อลิอันซ ซีพี ประกันภัย จํากัด 52,633

28 บริษัท อาคเนยประกันภัย (2000) จํากัด 314,010

29 บริษัท เอราวัณประกันภัย จํากัด 108,530

30 บริษัท เอ็ม เอส ไอ จี ประกันภัย (ประเทศไทย) จํากัด 119,688

31 บริษัท แอกซาประกันภัย จํากัด (มหาชน) 72,107

32 บริษัท แอ็ดวานซ อินชัวรันส จํากัด 52,633

33 บริษัท โอสถสภาประกันภัย จํากัด 52,633

รายชื่อบริษัทผูถือหุนกลุมเล็ก (จํานวนหุนนอยกวา 50,001 หุน)

ลําดับท่ี รายชื่อบริษัท จํานวนหุน

1 บริษัท กมลประกันภัย จํากัด (มหาชน) 31,685

2 บริษัท คิวบีอี ประกันภัย (ประเทศไทย) จํากัด 46,212

3 บริษัท จรัญประกันภัย จํากัด (มหาชน) 32,106

4 บริษัท ชับบประกันภัย (ประเทศไทย) จํากัด 22,422

5 บริษัท เทเวศประกันภัย จํากัด (มหาชน) 40,001

6 บริษัท ไทยประกันภัย จํากัด (มหาชน) 31,896

7 บริษัท ไทยพาณิชยสามัคคีประกันภัย จํากัด (มหาชน) 48,107

8 บริษัท ไทยสมุทรประกันภัย จํากัด 34,106

9 บริษัท นิวอินเดีย แอสชัวรันซ จํากัด 25,474

10 บริษัท ประกันภัยศรีเมือง จํากัด 37,054

11 บริษัท พระนครธนบุรีประกันภัย จํากัด 27,790

12 บริษัท พาณิชยการประกันภัย จํากัด 24,422

13 บริษัท ไพบูลยประกันภัย จํากัด 41,475

14 บริษัท ฟอลคอนประกันภัย จํากัด (มหาชน) 26,527

15 บริษัท ภัทรประกันภัย จํากัด (มหาชน) 22,632

16 บริษัท มิตซุย สุมิโตโม อินชัวรันซ สาขาประเทศไทย จํากัด 45,054

17 บริษัท เมืองไทยประกันภัย จํากัด 45,686

18 บริษัท ศรีอยุธยาประกันภัย จํากัด (มหาชน) 32,001

19 บริษัท สยามซิตี้ประกันภัย จํากัด 28,422

20 บริษัท สหนิรภัยประกันภัย จํากัด 21,264

21 บริษัท สหมงคลประกันภัย จํากัด 23,053

22 บริษัท สหวัฒนาประกันภัย จํากัด 37,054

23 บริษัท สินทรัพยประกันภัย จํากัด 44,633

24 บริษัท อินทรประกันภัย จํากัด (มหาชน) 33,896

25 บริษัท เอเชียประกันภัย 1950 จํากัด 22,948

26 บริษัท เอไอจีประกันวินาศภัย (ประเทศไทย) จํากัด 36,527

27 บริษัท ไอเอจี ประกันภัย (ประเทศไทย) จํากัด 29,054

28 บริษัท ไอโออิ กรุงเทพ ประกันภัย จํากัด 22,948

๑๓ รายงานประจาํป

คณะกรรมการบริษัทBoard of Directors

กรรมการผูจัดการManaging Director

รองกรรมการผูจัดการดานบริหาร

Deputy Managing Director (Administration)

รองกรรมการผูจัดการดานปฏิบัติการ

Deputy Managing Director (Operation)

ผังโครงสราง

สํานักงานภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลาง(นครราชสีมา)Lower North-Eastern

Regional Office(Nakhon Ratchasima)

สํานักงานภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน(ขอนแกน)

Upper North-Eastern Regional Office(Khon Kaen)

สํานักงานภาคเหนือตอนบน(เชียงใหม)Upper Northern Regional Office

(Chiang Mai)

สํานักงานภาคกลาง(สุพรรณบุรี)Central Regional Office

(Suphan Buri)

สํานักงานภาคใตตอนลาง(หาดใหญ)Lower Southern Regional Office

(Hat Yai)

สํานักงานภาคใตตอนบน(สุราษฎรธานี) Upper Southern Regional Office

(Surat Thani)

สํานักงานภาคตะวันออก(ชลบุรี)Eastern Regional Office

(Chon Buri)

คณะกรรมการตรวจสอบAudit Committee

คณะกรรมการลงทุนInvestment Committee

สํานักกรรมการผูจัดการOffice of Managing Director

สํานักตรวจสอบOffice of Corporate Auditor

ที่ปรึกษาบริษัทAdvisor

บริษัท กลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ จํากัด

สวนบัญชีAccounting Division

ฝายบัญชีและการเงินAccounting&Financial

Department

สวนการเงินFinancial Division

ฝายทรัพยากรบุคคลและบริหารทั่วไปHuman Resource&Administrative

Department

สวนทรัพยากรบุคคลHuman Resource

Division

สวนบริหารทั่วไปAdministrative

Division

ฝายเทคโนโลยีสารสนเทศInformation Technology

Department

ฝายสินไหมทดแทนClaims Department

สวนสินไหมทดแทน 1Claims Division I

ฝายกิจการสาขาBranch Operation

Department

ฝายรับประกันภัยและการตลาดUnderwriting&Marketing

Department

สวนตรวจสอบCorporate Auditor Division

สํานักงานภาคเหนือตอนลาง(พิจิตร)Lower Northern Regional Office

(Phichit)

สวนอบรมและพัฒนาบุคลากรTraining and

Development Division

สวนกิจการสาขา 1 Branch Operation

Division I

สวนสินไหมทดแทน 2Claims Division II

สวนรับประกันภัยและการตลาด 1Underwriting&Marketing

Division I

สวนรับประกันภัยและการตลาด 2Underwriting&Marketing

Division II

สวนกิจการสาขา 2 Branch Operation

Division II

สํานักงานภาคกรุงเทพและปริมณฑลBangkok and Territory

Regional Office

สวนประชาสัมพันธPublic Relations Division

สวนวางแผนและพัฒนาธุรกิจPlan&Business Development

Division

สวนบริหารอัตราและการรักษาพยาบาล

Medical&Care Management Division

สวนนิติการLegal Division

สวนสินไหมทดแทน 3Claims Division III

สวนจัดซื้อPurchasing Division

สวนวิเคราะหและออกแบบระบบงานธุรกิจBusiness System Analysis

Division

สวนพัฒนาระบบสารสนเทศSystem Development

Division

สวนวิศวกรรมระบบSystem Engineering

Division

เชียงใหม

แพร

แมฮองสอน

พะเยา

เชียงราย

ลําพูน

ลําปาง

นาน

ตาก

พิจิตร

สุโขทัย

นครสวรรค

พิษณุโลก

ชัยนาท

อุทัยธานี

กําแพงเพชร

เพชรบูรณ

อุตรดิตถ

นครราชสีมา

บุรีรัมย

มุกดาหาร

อุบลราชธานี

ยโสธร

อํานาจเจริญ

ศรีสะเกษ

ชัยภูมิ

สุรินทร

ขอนแกน

กาฬสินธุ

หนองบัวลําภู

สกลนคร

อุดรธานี

เลย

หนองคาย

นครพนม

รอยเอ็ด

มหาสารคาม

สุพรรณบุรี

ลพบุรี

นครปฐม

อางทอง

สมุทรสาคร

สมุทรสงคราม

เพชรบุรี

กาญจนบุรี

สิงหบุรี

ราชบุรี

ชลบุรี

ฉะเชิงเทรา

ตราด

สระแกว

ปราจีนบุรี

ระยอง

จันทบุรี

สุราษฎรธานี

นครศรีธรรมราช

ภูเก็ต

พังงา

ประจวบคีรีขันธ

ชุมพร

กระบี่

ระนอง

สงขลา

ตรัง

พัทลุง

ยะลา

สตูล

นราธิวาส

ปตตานี

สมุทรปราการ

ปทุมธานี

นนทบุรี

สระบุรี

กรุงเทพ

นครนายก

อยุธยา

Head OfficeBranches

สวนนวัตกรรมธุรกิจBusiness Innovation Division

บริษทั กลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ จาํกดั ๑๔

ค ณะผูบรหิาร

๑๕ รายงานประจาํป

ค วามเปนมาของบริษัท บริษัท กลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ จํากัด จัดต้ังขึ้นตามมาตรา 10 ทวิ แหงพระราชบัญญัติคุมครอง

ผูประสบภัยจากรถ (ฉบับท่ี 3) พ.ศ.2540 ซึ่งแกไขเพ่ิมเติมพระราชบัญญัติคุมครองผูประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 โดย

กฎหมายฉบับแกไขเพ่ิมเติมนี้ไดมีการประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับกฤษฎีกา เลม 114 ตอนท่ี 72 ก. วันท่ี 16

พฤศจิกายน พ.ศ. 2540 เนื่องจากผูประสบภัยไมไดรับความสะดวกในการใชสิทธิในการขอรับคาสินไหมทดแทน เพราะในบาง

พ้ืนท่ีไมมีสาขาของบริษัทประกันภัยหรือแตละบริษัทมีแนวทางในการดําเนินการท่ีแตกตางกัน บริษัท กลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ จํากัด ไดจดทะเบียนจัดต้ังบริษัท เมื่อวันอังคารท่ี 24 กุมภาพันธ พ.ศ.2541

มีทุนจดทะเบียน 100 ลานบาท แบงเปนหุนสามัญจํานวน 10 ลานหุน มูลคาท่ีตราไวหุนละ 10 บาท ผูถือหุนประกอบดวย

บริษัทประกันวินาศภัยท่ีรับประกันภัยรถในขณะนั้น รวมท้ังส้ิน 71 บริษัท ในปจจุบันบางบริษัทประกันวินาศภัยไดมีการปดกิจการ หรือมีการควบควมกิจการกัน จึงทําใหมีผูถือหุนคงเหลือ 66 บริษัท

วัตถุประสงคของการจัดต้ังบริษัท กลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ จํากัด

1. ใหบริการเกี่ยวกับการรับคํารองขอคาเสียหายเบ้ืองตนและการจายคาสินไหมทดแทนหรือเงินตางๆ ตามพระราชบัญญัตินี้ และดําเนินกิจการตามท่ีบริษัทหรือสํานักงานกองทุนทดแทนผูประสบภัยจะไดมอบหมาย

2. ประกอบธุรกิจประกันวินาศภัยเฉพาะการประกันภัยรถตามพระราชบัญญัตินี้ตามท่ีไดรับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรี

3. ดําเนินกิจการอื่นตามท่ีกําหนดในหนังสือบริคณหสนธิ

มาตรา 19 แหงพระราชบัญญัติคุมครองผูประสบภัยจากรถ(แกไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2540) ไดกําหนดภารกิจแรกให

บริษัทกลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ จํากัด คือ “ใหบริษัท กลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ จํากัด จัดใหมีสถานท่ี

ดําเนินการเพื่อใหบริการครบทุกจังหวัดรวมท้ังกรุงเทพมหานครใหแลวเสร็จภายใน 1 ป นับแตวันท่ีพระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ

สวนการจัดใหมีสถานท่ีดําเนินการเพ่ิมเติมตอไปใหสอดคลองกับปริมาณความตองการของการใหบริการแกผูประสบภัยจากรถ ใหเปนไปตามที่อธิบดีกรมการประกันภัยกําหนดโดยคําแนะนําของกรรมการ” ดวยตระหนักดีถึงภารกจิดังกลาว คณะผูบริหาร

และพนักงานชุดแรก ไดใชหองประชุมของสมาคมประกันวินาศภัย และหองประชุมของบริษัท ไทยอินชัวเรอส ดาตาเนท จํากัด (TID) เปนท่ีทําการชั่วคราว ในการกําหนดแผนงานและแนวทางในการดําเนินการเพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคตามท่ีไดรับ

มอบหมาย และในวันท่ี 12 มิถุนายน 2541 จึงไดทําพิธีเปดสํานักงานใหญอยางเปนทางการ ณ สํานักงานเลขท่ี 65/42 A ชั้น 3

อาคารชํานาญเพ็ญชาติบิสเนสเซ็นเตอร ถนนพระราม 9 แขวง/เขตหวยขวาง กรุงเทพมหานคร หลังจากนั้นไดทยอยเปดสาขา

เพ่ิมขึ้นตามแผนงานทุกเดือน จนในที่สุดเมื่อวันท่ี 12 พฤศจิกายน 2541 บริษัทสามารถเปดสาขาใหบริการแกผูประสบภัยได

ครบ 76 จังหวัด ท่ัวประเทศไทยไดสําเร็จตามท่ีกฎหมายกําหนด และเมื่อวันท่ี 12 มิถุนายน 2550 บริษัท กลางคุมครอง

ผูประสบภัยจากรถ จํากัด ไดยายท่ีทําการสํานักงานใหญ ไปยังสถานที่แหงใหม ณ ท่ีทําการเลขท่ี 44/1 อาคารรุงโรจนธนกุล ชั้น 11 ถนนรัชดาภิเษก แขวง/เขต หวยขวาง กรุงเทพมหานคร

บริษัท กลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ จํากัด เริ่มใหบริการรับคํารองขอและจายคาสินไหมทดแทนในวันท่ี 12

มิถุนายน 2541 ตอมาปรากฏวาบริษัทประกันภัยตางประสบภาวะขาดทุนจากการรับประกันภัยรถจักรยานยนต ทําใหมี

บริษัทประกันภัยจํานวนหนึ่งไมพรอมท่ีจะรับประกันความเส่ียงภัยรถประเภทน้ี ดังนั้นเพ่ือเปนการแกปญหาดังกลาว

บริษทั กลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ จาํกดั ๑๖ บริษทั กลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ จาํกดั ๑๖

คณะรัฐมนตรีไดมีมติ เมื่อวันท่ี 2 มีนาคม 2542 ใหบริษัทกลางฯ ดําเนินการรับประกันภัยเฉพาะรถจักรยานยนตตาม พ.ร.บ.

คุมครองผูประสบภัยจากรถ เพ่ือเปนอีกหนึ่งทางเลือกของประชาชนในการหาซื้อประกันภัยประเภทนี้ และนับไดวาเปนภารกิจเพ่ิมเติมจากที่ดําเนินการเฉพาะการรับคํารองขอและจายคาสินไหมทดแทน โดยบริษัทกลางฯ ไดเรงดําเนินการใหทุกสาขาสามารถเปดรับประกันภัยรถจักรยานยนตพรอมกันท่ัวประเทศตั้งแตวันท่ี 16 เมษายน 2542 เปนตนมา

ผลการดําเนินการดานการรับประกันภัยรถจักรยานยนตภาคบังคับของบริษัทดําเนินการไปไดดวยดีและมีปริมาณ

กรมธรรมมากข้ึนอยางรวดเร็วในแตละป โดยในป พ.ศ. 2542 ซึ่งเปนปแรกและถึงแมจะไดทําหนาท่ีในการรับประกันภัย

รถจักรยานยนตไดเพียง 7 เดือนกวาๆ บริษัท ก็สามารถรับประกันภัยรถจักรยานยนตไวท้ังส้ิน 679,756 กรมธรรม โดยได

รับคํารองขอและจายคาสินไหมทดแทนแทนบริษัทประกันภัยเปนจํานวนทั้งส้ิน 8,816 เรื่อง ในป 2543 มียอดการรับ

ประกันภัยท้ังส้ิน 2,065,744 กรมธรรม มีจํานวนอุบัติเหตุท่ีจะตองจายคาสินไหมทดแทนท้ังส้ิน 10,492 เรื่อง ในป 2544 มี

จํานวนการรับประกันภัย 2,253,301 กรมธรรม โดยมีเรื่องท่ีจะตองจายคาสินไหมทดแทนท้ังส้ิน 50,824 เรื่อง และในป 2545 มียอดการรับประกันภัยท้ังส้ิน 2,849,968 กรมธรรม มีจํานวนอุบัติเหตุท่ีจะตองจายคาสินไหมทดแทนทั้งส้ิน 50,678 เรื่อง ซึ่งตลอดระยะเวลาที่บริษัทกลางฯ ไดทําการรับประกันภัยรถจักรยานยนตมานั้น บริษัทสามารถควบคุมอัตราความสูญเสีย (Loss Ratio) ไดตํ่ากวาอัตราความสูญเสียของอุตสาหกรรมประกันภัยเปนอยางมาก ซึ่งอาจกลาวไดวาการดําเนินการ

ดานการรับประกันภัยของบริษัทกลางฯ ประสบความสําเร็จเปนอยางย่ิงในดานการเปนทางเลือกเพ่ือแกปญหาใหประชาชนท่ีไมสามารถหาซื้อประกันภัยรถจักรยานยนตหรือตองซื้อในอัตราที่สูงกวาคาเบ้ียประกันภัยท่ีกฎหมายกําหนด อยางไรก็ตามเนื่องจากคาเบ้ียประกันภัยตามท่ีกฎหมายกําหนดไวในขณะนั้นต่ํากวาอัตราความเส่ียงภัยของรถจักรยานยนต ซึ่งสําหรับบริษัทประกันภัยอื่นๆ แลวจะสามารถรับประกันภัยรถประเภทอื่นๆ ท่ีมีความเส่ียงต่ํากวาเพ่ือเปนการถัวเฉล่ียความสูญเสียจากรถจักรยานยนตได แตสําหรับบริษัทกลางฯ นั้นคณะรัฐมนตรีอนุมัติใหบริษัทกลางฯ สามารถรับประกันภัยไดเฉพาะรถจักรยานยนตเทานั้น ดังนั้นบริษัทกลางฯ จึงไมสามารถเฉล่ียความความสูญเสียท่ีเกิดจากความเส่ียงภัยของรถจักรยานยนตไปยังรถประเภทอ่ืนได แมวาบริษัทจะสามารถควบคุมอัตราความสูญเสียไดในระดับท่ีตํ่ากวาคาเฉล่ียของธุรกิจประกันภัย แตบริษัทกลางฯก็ยังคงประสบภาวะขาดทุนจากการดําเนินการอยู และดวยเหตุท่ีวาบริษัทกลางฯ ตองแบกรับภาระการรับประกันภัยรถจักรยานยนตไวประมาณครึ่งหนึ่งของจํานวนรถจักรยานยนตท่ีเอาประกันภัยท้ังหมดในขณะนั้น ประกอบกับบริษัทกลางฯ มีสถานะเปนบริษัทประกันวินาศภัยจึงตองมีหนาท่ีในการดํารงเงินกองทุนใหเปนไปตามเง่ือนไขท่ีกฎหมายกําหนด บริษัทจึงไมอาจแบกรับภาระการขาดทุนจากการรับประกันภัยรถจักรยานยนตไดอยางตอเนื่อง จึงไดมีการหาแนวทางในการแกปญหาดังกลาวโดยในชวงปลายป พ.ศ. 2545 คณะกรรมการบริษัทไดเสนอแนวทางปรับปรุงฐานะการเงินของบริษัทตออธิบดีกรมการประกันภัย และตอมามีการปรับเพ่ิมอัตราเบ้ียประกันภัยรถจักรยานยนตและมีการจัดต้ัง กองกลางประกันภัยรถจักรยานยนตภาคบังคับ (Compulsory Motorcycle Insurance Pool : CMIP)

การทําหนาที่เปนผูบริหารกองกลางประกันภัยรถจักรยานยนตภาคบังคับ (Compulsory Motorcycle Insurance Pool : CMIP)

ดังท่ีไดกลาวมาแลววาเนื่องจากความเส่ียงภัยในการรับประกันภัยรถจักรยานยนตสูง ขณะท่ีมีการกําหนดเบี้ยประกันภัยไวตํ่ากวาความเส่ียงภัย แมวาบริษัทกลางฯ จะสามารถบริหารจัดการและควบคุมความเสียหายไดเปนอยางดี แตบริษัทก็ยังคงประสบกับภาวะขาดทุนอยางตอเนื่อง ดังนั้นเพ่ือเปนการแกปญหาในระยะยาว คณะกรรมการบริษัทจึงเสนอแนวทางปรับปรุงฐานะการเงินของบริษัทตออธิบดีกรมการประกันภัย 4 แนวทางคือ

๑๗ รายงานประจาํป

1. ควรมีการจัดต้ัง กองทุนรับประกันความเส่ียงภัยสูง (High Risk Pool) เพ่ือทําหนาท่ีบริหารและจัดสรรความ

เส่ียงจากการรับประกันภัยรถจักรยานยนตภาคบังคับ ในระหวางบริษัทสมาชิก 2. ควรมีการปรับอัตราเบ้ียประกันภัยรถจักรยานยนตภาคบังคับใหเหมาะสมกับสภาพความเส่ียงภัยท่ีแทจริง 3. หากไมสามารถดําเนินการตามขอ 1 และ/หรือ 2 ขางตน และยังคงตองการใหบริษัทกลางฯ ทําหนาท่ีรับประกัน

ภัยรถจักรยานยนตภาคบังคับ ควรจะตองมีการพิจารณาเพ่ิมทุนบริษัท 4. หากไมสามารถดําเนินการตามขอ 1, 2 และ/หรือ 3 ขางตนได บริษัทกลางฯ อาจมีความจําเปนตองหยุดรับ

ประกันภัยรถจักรยานยนตภาคบังคับ เนื่องจากจะไมสามารถดํารงเงินกองทุนไดตามท่ีกฎหมายกําหนด

ซึ่งปรากฏวา กรมการประกันภัย ไดเห็นชอบกับท้ังขอเสนอท่ี 1 คือการจัดต้ังกองกลางฯ และ ขอเสนอท่ี 2 คือการ

ปรับเพ่ิมเบ้ียประกันภัย โดยกรมการประกันภัยไดมีคําส่ังท่ี 239/2545 ลงวันท่ี 3 ตุลาคม 2545 แตงตั้งคณะทํางานเพ่ือศึกษา

การจัดต้ังหนวยงานท่ีจะรับประกันภัยรถที่มีความเส่ียงสูง (High Risk Pool) พรอมกันนี้ก็ไดพิจารณาถึงความเปนไปไดในการ

ปรับเพ่ิมเบ้ียประกันภัยรถจักรยานยนต

ในท่ีสุด กรมการประกันภัยไดมีคําส่ังนายทะเบียนท่ี 16/2546 ลงวันท่ี 18 มีนาคม 2546 ใหปรับเบ้ียประกันภัย

รถจักรยานยนตขนาดเกิน 75 ซีซี แตไมเกิน 125 ซีซี เปนกรมธรรมฉบับละ 300 บาท โดยใหมีผลบังคับใชกับกรมธรรมท่ีมี

ความคุมครองตั้งแตวันท่ี 1 เมษายน 2546 เปนตนไป ในขณะเดียวกัน คณะทํางานท่ีศึกษาเรื่องการจัดต้ัง High Risk Pool ได

สรุปเสนอใหมีการจัดต้ังกองทุนเพ่ือบริหารความเส่ียงจากการรับประกันภัยเฉพาะรถจักรยานยนตภาคบังคับขึ้นมาในลักษณะการรวมรับประกันและบริหารภัยท่ีมีความเส่ียงภัยสูง (High Risk Pool) โดยเชิญชวนใหบริษัทประกันวินาศภัยสมัครใจเขารวม

เปนสมาชิก โดยกรมการประกันภัยไดใหความเห็นชอบตามแนวทางที่คณะทํางานเสนอ สมาคมประกันวินาศภัย จึงไดจัดต้ัง “กองกลางประกันภัยรถจักรยานยนตภาคบังคับ (Compulsory Motorcycle Insurance Pool “CMIP”) เพ่ือทําหนาท่ีรับประกัน

ภัยตอ (Reinsurance) เฉพาะรถจักรยานยนต ตาม พ.ร.บ.คุมครองผูประสบภัยจากรถ ซึ่งเปนรถที่มีความเส่ียงสูงจากบริษัท

ประกันภัยท่ีเปนสมาชิก หลังจากนั้นกองกลางฯ จะกระจายความเส่ียงกลับไปยังบริษัทประกันภัยท่ีรวมโครงการในรูปแบบของการประกันภัยตอชวง (Retrocession) ตามสัดสวนท่ีแตละบริษัทไดรับประกันภัยรถประเภทอื่นๆ นอกจาก

รถจักรยานยนตไว ท้ังนี้เพ่ือเปนการรวมเฉล่ียความเส่ียงของรถจักรยานยนตไปยังรถประเภทอื่นๆ และเปนการลดปญหาความไมสะดวกของประชาชนในการหาซื้อประกันภัยรถประเภทนี้ ท้ังนี้สมาชิกกองกลางฯ ไดแตงตั้งใหบริษัทกลางฯ ทําหนาท่ีเปนผูบริหารกองกลางฯ โดยเมื่อเริ่มกอต้ังกองกลางฯ มีบริษัทประกันภัยเปนสมาชิกจํานวน 57 บริษัท มีการลงนาม

สัญญาจัดต้ังกองกลางฯ ณ สมาคมประกันวินาศภัย เมื่อวันท่ี 5 มิถุนายน 2546 และไดมีการแตงตั้งกรรมการบริหาร

กองกลางฯ ประกอบดวยกรรมการโดยตําแหนงจากสมาคมประกันวินาศภัย 4 ทาน และมีการเลือกต้ังคณะกรรมการบริหารใน

สวนท่ีเปนกรรมการผูแทนบริษัทสมาชิกอีก 5 ทาน รวมเปนกรรมการบริหารกองกลางฯ ท้ังส้ิน 9 ทาน ทําหนาท่ีในการกําหนด

นโยบายในการดําเนินกิจการของกองกลางฯ และไดแตงตั้งใหบริษัทกลางฯทําหนาท่ีในฐานะผูบริหารโครงการและเปนองคกรผูดําเนินการตามนโยบายที่คณะกรรมการกําหนด มีการประชุมคณะกรรมการครั้งแรกในวันท่ี 12 มิถุนายน 2546 สําหรับ

สัญญาของกองกลางฯ เริ่มมีผลบังคับตั้งแตวันท่ี 1 กรกฎาคม 2546 นอกจากนี้คณะกรรมการบริหารกองกลางฯ ยังไดมีการ

แตงตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ ขึ้นมาอีก 1 คณะ เพ่ือติดตามและประเมินผลการดําเนินการของผูบริหารโครงการอีกดวย

ผลการดําเนินการของกองกลางฯ ดําเนินการไปไดดีตามท่ีคณะกรรมการบริหารกองกลางฯ กําหนด โดยในป 2546 กองกลางฯ มีเบ้ียประกันภัยรวมท้ังส้ิน 337 ลานบาท ในป 2547 มีเบ้ียฯ 1,833.6 ลานบาท และในป 2548 มีเบ้ียฯ 1,457.5 ลานบาท โดยมีอัตราความสูญเสีย (Loss Ratio) เปน 103.3%, 92.3%, และ 92.9% ตามลําดับ ในระหวางป 2547 ไดมี

สมาชิกลาออกจากกองกลางฯ จํานวน 2 บริษัท และตนป 2548 ไดมีสมาชิกลาออกเพ่ิมเติมอีกจํานวน 6 บริษัท ขณะท่ีมี

บริษทั กลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ จาํกดั ๑๘ บริษทั กลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ จาํกดั ๑๘

สมาชิกขอเขารวมกองกลางฯเพ่ิมเติม จํานวน 3 บริษัท แมวากองกลางฯจะสามารถควบคุมอัตราความสูญเสียไดตํ่ากวา

100% แตเนื่องจากต้ังแตเริ่มดําเนินการมาคณะกรรมการบริหารกองกลางฯมีนโยบายในการจายคาดําเนินการหรือสวนลดเบ้ีย

ประกันภัยใหสมาชิกในอัตรา 12% ซึ่งสงผลใหผลประกอบการโดยรวมของกองกลางฯ ในป 2546, 2547 และชวง 3 ไตรมาสแรกของป 2548 ยังคงประสบภาวะขาดทุนจากการดําเนินการอยู ดังนั้นคณะกรรมการบริหารกองกลางฯ ไดมีมติในการประชุมครั้งท่ี 25/2548 เมื่อวันท่ี 28 มิถุนายน 2548 ใหปรับลดอัตราสวนลดเบ้ียประกันภัยตอจาก 12% เปน 8% ต้ังแตเดือน

สิงหาคม 2548 เปนตนไป ประกอบกับผูบริหารกองกลางฯสามารถควบคุมอัตราความสูญเสียไดดีขึ้นตามลําดับสงผลให

กองกลางฯไมขาดทุนอีกตอไป หลังจากนั้นไดมีบริษัทสมาชิกขอลาออกจากกองกลางฯ เพ่ิมเติมอีกโดยใหเหตุผลวามีความพรอมท่ีจะรับประกันภัยรถจักรยานยนตเอง ตอมาคณะกรรมการบริหารกองกลางฯ ไดมีมติใหเรียกเก็บเงินจากผลขาดทุนของกองกลางฯ ประจําป 2546 และ ประจําป 2547 และปรากฏวามีสมาชิกไดแจงความประสงคขอบอกเลิกสัญญาฯ เพ่ิมเติม

อีกจํานวนหน่ึง จึงสงผลให ณ ป 2549 จํานวนบริษัทสมาชิกกองกลางฯ คงเหลือ 46 บริษัท ซึ่งจะมีผลทําใหสัดสวนเบี้ยประกันภัยตอและเบ้ียประกันภัยตอชวงป 2549 มีสัดสวนไมถึงรอยละ 50 ของสัดสวนเบี้ยประกันภัยตอชวงท้ังหมดของสมาชิก ดังนั้นในการประชุมวิสามัญครั้งท่ี 2/2548 ของบริษัทสมาชิกกองกลางฯ ท่ีสมาคมประกันวินาศภัย ท่ีประชุมไดมีมติใหยกเลิกกองกลางประกันภัยรถจักรยานยนตภาคบังคับโดยมีผลตั้งแตวันท่ี 1 มกราคม 2549 เปนตนไป

การทําหนาที่เปน สํานักงานประกันภัยรถผานแดนแหงชาต ิ(National Bureau of Insurance)

ประเทศสมาชิกในกลุม ASEAN ไดรวมลงนามในกรอบความตกลงวาดวยการอํานวยความสะดวกในการขนสงสินคา

ระหวางประเทศสมาชิกอาเซียน (The ASEAN Framework Agreement on the Facilitation of Goods in Transit : The GIT

Agreement) เมื่อวันท่ี 16 ธันวาคม 2541 ท่ีเมืองฮานอย สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียตนาม โดยมีเปาหมายเพ่ือใหเปนการ

สนับสนุนสงเสริมการคาระหวางประเทศในกลุม ASEAN และทําใหเกิดการรวมตัวกันทางเศรษฐกิจของประเทศในภูมิภาคน้ี

ใกลชิดย่ิงขึ้น โดยความตกลง GIT ประกอบไปดวยสนธิสัญญารวม 9 ฉบับ โดยสนธิสัญญาฉบับท่ี 5 เปนเรื่องท่ีวาดวย

โครงการประกันภัยรถยนตภาคบังคับของอาเซียน (Protocol 5 : ASEAN Scheme of Compulsory Motor Vehicle

Insurance) ซึ่งในเบ้ืองตนกําหนดใหมีรถขนสงสินคาท่ีจะไดรับอนุมัติใหเขารวมโครงการไดประเทศละ 60 คัน และกําหนดให

ประเทศคูสัญญาตองดําเนินการภายใตกรอบขอตกลงนี้ภายในป 2543

ตอมาในการประชุมผูกํากับดูแลธุรกิจประกันภัยของอาเซียน ครั้งท่ี 2 (The Second Meeting of the ASEAN

Insurance Regulators) ท่ีประชุมไดมีการพิจารณารางพิธีสารฉบับท่ี 5 โครงการประกันภัยรถยนตภาคบังคับของอาเซียน

(Protocol 5 : ASEAN Scheme of Compulsory Motor Vehicle Insurance) ซึ่งในการประชุมดังกลาวไดมีผูแทนจากสมาคม

ประกันวินาศภัยเขารวมประชุมดวย ในท่ีสุดรัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลังของประเทศในกลุมสมาชิก ASEAN ไดมีการลง

นามรวมกันในพิธีสารฉบับท่ี 5 เมื่อวันท่ี 8 เมษายน 2544 ณ กรุงกัวลาลัมเปอร ประเทศมาเลเซีย โดยผูแทนรัฐบาลไทยท่ีลง

นามคือ ฯพณฯ สมคิด จาตุศรีพิทักษ รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลัง

สาระสําคัญประการหนึ่งของพิธีสารฉบับท่ี 5 โครงการประกันภัยรถยนตภาคบังคับของอาเซียน (Protocol 5 :

ASEAN Scheme of Compulsory Motor Vehicle Insurance) คือขอตกลงตามมาตรา 9 ท่ีกําหนดใหสมาชิกภาคีคูสัญญาตอง

จัดต้ัง National Bureau ของแตละประเทศขึ้นมา โดย National Bureau ประกอบดวยบริษัทประกันภัยท่ีไดรับอนุญาตใหรับ

ประกันภัยรถภาคบังคับ เพ่ือทําหนาท่ีในการปฏิบัติงานใหเปนไปตามที่ระบุไวในมาตรา 10 ซึ่งไดแก

๑๙ รายงานประจาํป

1. ทําหนาท่ีออก Blue Card (เอกสารท่ีใชเปนหลักฐานแสดงวามีการทําประกันภัยรถภาคบังคับตามขอตกลงของพิธี

สารฉบับท่ี 5) ใหกับผูขนสงสินคาของประเทศตน

2. จําหนายกรมธรรมประกันภัยภาคบังคับของประเทศตนใหกับผูรับขนสินคาของประเทศอื่นท่ีจะนํารถเขามาในประเทศ

3. ประทับตราบน Blue Card เมื่อตรวจสอบวารถขนสงสินคาท่ีจะเขาประเทศมีการประกันภัยภาคบังคับถูกตองตาม

กฎหมายของประเทศนั้นๆ

4. ตรวจสอบอุบัติเหตุและดําเนินการตามท่ีจําเปนเมื่อไดรับแจงวารถที่มี Blue Card ประสบอุบัติเหตุ และตองแจงให

บริษัทผูรับประกันภัยท่ีเกี่ยวของทราบถึงเรื่องท่ีไดดําเนินการในนามของบริษัทนั้น

5. การตกลงชดใชคาสินไหมทดแทนใดๆ จะตองขออนุมัติจากบริษัทผูรับประกันภัยท่ีเกี่ยวของกอน

6. เรียกคืนคาสินไหมทดแทนที่ไดจายไปแลวคืนจากบริษัทผูรับประกันภัย

นอกจากนี้ในมาตรา 11 และ 12 ยังกําหนดใหมีการจัดต้ัง Council of Bureaux ขึ้นมาประกอบดวยตัวแทนจากแตละ

National Bureau ประเทศละ 1 คน และตัวแทนจาก Transit Transport Coordinating Board (ซึ่งจัดต้ังภายใตมาตรา 29.2

ของ The GIT Agreement) เพ่ือทําหนาท่ีประสานงานและกํากับดูแล ดานกฎหมาย ดานวิชาการ ดานการบริหารจัดการ และ

การดําเนินการดานการเงิน ของ National Bureau ของประเทศคูสัญญา

สําหรับประเทศไทยนั้นเพ่ือเปนการปฏิบัติตามขอตกลงในพิธีสารฉบับท่ี 5 ในเรื่องของการจัดต้ัง National Bureau

กรมการประกันภัยไดมอบหมายใหสมาคมประกันวินาศภัยเปนผูพิจารณาเสนอหนวยงานท่ีเห็นสมควรทําหนาท่ีดังกลาว โดยสมาคมประกันวินาศภัยไดมีการพิจารณาเร่ืองนี้ในประชุมคณะกรรมการบริหารครั้งท่ี 10/2542-44 และตอมาสมาคมฯไดมี

หนังสือท่ี กป. 7/2543 ลงวันท่ี25 มกราคม 2543 เสนอใหกรมการประกันภัยพิจารณา บริษัท กลางคุมครองผูประสบภัยจาก

รถ จํากัด เปน National Bureau ซึ่งกรมการประกันภัยเห็นชอบกับขอเสนอดังกลาวและไดมีหนังสือฉบับท่ี พณ 0506/2047

ลงวันท่ี 12 เมษายน 2545 แจงใหบริษัทกลางฯ ดําเนินการแกไขหนังสือบริคณหสนธิ เพ่ือเพ่ิมเติมวัตถุประสงคใหสามารถ

ดําเนินการเปน National Bureau ได ตอมาในการประชุมผูถือหุนของบริษัทกลางฯ ครั้งท่ี 3 เมื่อวันท่ี 24 ตุลาคม 2545 ท่ี

ประชุมมีมติใหแกไขหนังสือบริคณหสนธิเพ่ือใหสามารถทําหนาท่ีเปน National Bureau ตามท่ีกรมการประกันภัยแนะนํา และ

ตอมาภาครัฐไดดําเนินการตามข้ันตอนการยืนยันสัตยาบันไปยัง ASEAN Secretariat เพ่ือแสดงวาประเทศไทยไดแตงตั้ง

บริษัทกลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ จํากัด เปน Thai National Bureau of Insurance อยางเปนทางการ

ภายหลังการจัดต้ัง ASEAN Council of Bureaux ไดมีการประชุม Council of Bureaux หลายคร้ังดังตอไปนี้

1st Council of Bureaux Meeting และ 2nd Council of Bureaux Meeting การประชุมครั้งแรกจัดขึ้นระหวางวันท่ี 27-30 สิงหาคม 2544 ท่ีสาธารณรัฐสิงคโปร และ การประชุมครั้งท่ี 2 จัดขึ้นวันท่ี 19 มีนาคม 2545 ท่ีสาธารณรัฐสิงคโปร

3rd Council of Bureaux Meeting จัดขึ้นระหวางวันท่ี 16-18 ธันวาคม 2545 ท่ีจังหวัดเชียงใหม ประเทศไทย

4th Council of Bureaux Meeting จัดขึ้นระหวางวันท่ี 17- 21 สิงหาคม 2546 กรุงฮานอย ประเทศเวียดนาม

5th Council of Bureaux Meeting จัดขึ้นระหวางวันท่ี 20- 22 กันยายน 2547 ท่ีกรุงมานิลา ประเทศฟลิปปนส

6th Council of Bureaux Meeting จัดขึ้นระหวางวันท่ี 27- 29 พฤศจิกายน 2548 ท่ีเมืองเสียมเรียบ ประเทศกัมพูชา

7th Council of Bureaux Meeting จัดขึ้นระหวางวันท่ี 15- 18 พฤศจิกายน 2549 ท่ีเมืองบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย

บริษทั กลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ จาํกดั ๒๐ บริษทั กลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ จาํกดั ๒๐

8th Council of Bureaux Meeting จัดขึ้นระหวางวันท่ี 14- 17 พฤศจิกายน 2550 ท่ีกรุงกัวลาลัมเปอร ประเทศ

มาเลเซีย

โดยการประชุมท้ัง 8 ครั้ง สามารถสรุปสาระสําคัญและความคืบหนาของโครงการไดดังนี้

• ในปจจุบันไดมีการลงนามในพิธีสารไปแลวท้ังหมด 8 ฉบับ ซึ่งรวมถึงพิธีสารฉบับท่ี 5 ซึ่งเปนเรื่องวาดวย

โครงการประกันภัยรถยนตภาคบังคับของอาเซียน (Protocol 5 : ASEAN Scheme of Compulsory Motor

Vehicle Insurance) ยังคงเหลือพิธีสารอีก 2 ฉบับ ท่ียังคงอยูระหวางการเจรจาตกลงอันไดแก การจัดต้ังจุด

ผานแดน และการอํานวยความสะดวกดานพิธีการศุลกากร ซึ่งคาดวาจะสามารถสรุปและลงนามไดโดยรัฐมนตรีวาการกระทรวงการคมนาคมของ ประเทศสมาชิกอาเซียนกอนการประชุมครั้งตอไป

• ทุกประเทศสมาชิกอาเซียนไดใหสัตยาบันตอพิธีสารฉบับท่ี 5 (Protocol 5 : ASEAN Scheme of Compulsory

Motor Vehicle Insurance) แลว

• ประเทศสมาชิกทุกประเทศไดดําเนินการจัดต้ังคณะกรรมาธิการประสานงานดานการขนสงแหงชาติ (The

National Transit Transport Coordinating Committee: NTTCC) เรียบรอยแลว

• ในสวนของการจัดต้ังสํานักงานประกันภัยรถผานแดนแหงชาติ (The National Bureau of Insurance) นั้น

ประเทศสมาชิกไดแตงตั้งใหองคกรหรือหนวยงานดังตอไปนี้ทําหนาท่ีเปน สํานักงานประกันภัยรถผานแดนของแตละประเทศ

ประเทศมาเลเซีย Malaysian Motor Insurance Pool

ประเทศฟลิปปนส Insurance & Surety Association of the Philippines

ประเทศอินโดนีเซีย PT Jasa Raharjar (บริษัทประกันภัยของรัฐ)

ประเทศเวียดนาม Vietnam Insurance Corporation

ประเทศบรูไน General Insurance Association of Brunei

ประเทศสิงคโปร General Insurance Association of Singapore

ประเทศไทย บริษัท กลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ จํากัด

ประเทศกัมพูชา National Insurance Company (บริษัทประกันภัยของรัฐ)

ประเทศพมา Myanmar Insurance (บริษัทประกนัภัยของรัฐ)

สาธารณรัฐประชาชนลาว Assurances Generales du Laos ( AGL )

• ท่ีประชุม Council of Bureaux ไดบรรลุขอตกลงในรายละเอียด วิธีปฎิบัติ และกระบวนการในการประสานงาน

รวมกันระหวาง สนธิสัญญา การประชุมรวมระหวาง National Bureau of Insurance ซึ่งจะทําหนาท่ีเปนผูแทน

ของบริษัทประกันภัยในประเทศอาเซียน และไดมีการลงนามในสัญญาสมาพันธสํานักงานประกันภัยรถผานแดนอาเซียน (ASEAN Insurance Council of Bureaux Agreement) ในการประชุม 3rd Council of Bureaux

Meeting ซึ่งจัดขึ้นระหวางวันท่ี 16-18 ธันวาคม 2545 ท่ีจังหวัดเชียงใหม ประเทศไทย การลงนามนี้เปน

สัญลักษณท่ีแสดงใหเห็นถึงพัฒนาการดานการรวมมือกันอยางแทจริง

๒๑ รายงานประจาํป

• สําหรับแนวทางในการแตงตั้งประธานและรองประธานของ Council of Bureaux นั้นท่ีประชุมมีมติเห็นพองกัน

วาในการประชุมประจําปครั้งแรกท่ีประชุมจะมีการเลือกผูแทนจากประเทศสมาชิกใหเปนประธาน และ รองประธาน มีวาระในการดํารงตําแหนง 1 ป ในปตอไปรองประธานจะทําหนาท่ีประธานและท่ีประชุมจะเลือกรอง

ประธานคนใหมหมุนเวียนกันไป โดยในการประชุมครั้งแรก ท่ีประชุมมีมติเลือกผูแทนจากสาธารณรัฐสิงคโปรดํารงตําแหนงเปนประธาน และผูแทนจากราชอาณาจักรไทยดํารงตําแหนงเปนรองประธาน

• ประเทศไทย ไดรับมอบหมายใหเปนผูกําหนดและออกแบบรูปแบบและรายละเอียดของ Blue Card โดยใหมี

รายละเอียดตาม ท่ีไดกําหนดไวในมาตรา 8 ของพิธีสาร และใหใชภาษาอังกฤษควบคูกับภาษาของประเทศที่

เปนผูรับประกันภัย ใหมีหมายเลขโทรศัพทของฝายท่ีมีชื่อปรากฏใน Blue Card ใหระบุขอมูลเกี่ยวกับสินคาและ

จุดเริ่มตนของการขนสง รวมท้ังใหระบุแนวทางในการปฏิบัติในกรณีท่ีเกิดอุบัติเหตุ ซึ่งประเทศไทยไดดําเนินการแลวเสร็จและไดนําเสนอตอท่ีประชุมและไดรับการรับรองเรียบรอยแลว

• ในปจจุบันประเทศสมาชิก ASEAN ทุกประเทศไดมีการจัดต้ัง National Bureau of Insurance เรียบรอยแลว

และทุกประเทศพรอมท่ีจะดําเนินการตามขอตกลงใน พิธีสารฉบับท่ี 5 วาดวย โครงการประกันภัยรถยนตภาค

บังคับของอาเซียน (Protocol 5 : ASEAN Scheme of Compulsory Motor Vehicle Insurance) และ สัญญา

สมาพันธสํานักงานประกันภัยรถผานแดนอาเซียน (ASEAN Insurance Council of Bureaux Agreement) แลว

แตท่ีประชุม 6th Council of Bureaux Meeting ซึ่งจัดขึ้นระหวางวันท่ี 27- 29 พฤศจิกายน 2548 ท่ีเมืองเสียม

เรียบ ประเทศกัมพูชา มีมติวาควรรอใหพิธีสารอื่นๆมีการลงนามและใหสัตยาบันใหแลวเสร็จกอนจึงจะเริ่มดําเนินการเรื่องการรับประกัน โดยจะรอเพ่ือรับทราบความคืบหนาในการประชุมครั้งตอไป

• ในการประชุมครั้งท่ี 7 ท่ีประชุมไดแจงวาทุกประเทศมีความพรอมท่ีจะดําเนินการตามระบบ Blue Card ท่ี

ประเทศไทยไดนําเสนอ แตอยางไรก็ตามท่ีประชุมยังคงมีความเห็นวาควรรอใหพิธีสารอีกหนึ่งฉบับท่ีเหลืออยูของกระทรวงคมนาคมมีการลงนามและใหสัตยาบันใหแลวเสร็จกอนจึงจะเริ่มดําเนินการเรื่องการรับประกัน โดยจะรอเพ่ือรับทราบความคืบหนาในการประชุมครั้งตอไป

• ในการประชุมครั้งท่ี 8 มีการรายงานความคืบหนาของการประชุมของ National Transit Transport

Coordinating Committee (NTTCC) ท้ัง 2 ครั้งท่ีผานมาวาท่ีประชุมยังไมสามารถหาขอสรุปใดๆจึงยังคงไมมี

ความคืบหนาในเรื่องการลงนามและการใหสัตยาบันในพิธีสารอีกหนึ่งฉบับท่ีเหลืออยูของกระทรวงคมนาคม และในการประชุมนี้ท่ีประชุมไดใหความเห็นชอบในหลักการตอขอเสนอของประเทศไทยที่ใหมีการขยายขอบขายดานการประกันภัยรถผานแดนใหครอบคลุมไปถึงรถผานแดนประเภทอ่ืนๆโดยไมจํากัดเฉพาะรถขนสงสินคาจํานวน 60 คันตอประเทศรวมถึงใหบังคับใชไดกับรถที่ขามพรมแดนระหวาง 2 ประเทศ โดยไมจําเปนวา

ตองแลนขามปยังประเทศที่ 3 ตามรางเดิมท่ีไดเคยเสนอกันไว อยางไรก็ตามที่ประชุมไดขอใหเลขาธิการ

อาเซียนนําขอเสนอดังกลาวไปหารือกับคณะกรรมการตามพิธีสารอ่ืนๆดวยและขอใหมาแจงใหท่ีประชุมทราบในการประชุมครั้งตอไป

บริษทั กลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ จาํกดั ๒๒ บริษทั กลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ จาํกดั ๒๒

การรวมเปนองคกรพันธมิตรเครือขาย มูลนิธิเพ่ือความปลอดภัยทางถนน (Thailand Global Road Safety Partnership :THAILAND GRSP)

ธนาคารโลกไดเล็งเห็นถึงความสําคัญของ ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสินของประชาชนในประเทศที่กําลัง

พัฒนา จึงไดจัดต้ังองคกร Global Road Safety Partnership ขึ้น ภายใตโครงการ Business Partners of Development เพ่ือ

ชวยแกปญหาอุบัติเหตุรายแรงท่ีเกิดขึ้นบนถนนในประเทศกําลังพัฒนา สมาชิกของ GRSP ประกอบดวยภาครัฐ ภาคเอกชน

ภาคประชาสังคม จุดมุงหมายหลังเพ่ือริเริ่มวิธีการปรับปรุงความปลอดภัยบนถนนโดยใหภาคเอกชนเขามามีสวนรวมในการแกไขปญหาในแตละประเทศ และไดนําความคิดริเริ่มของการรวมตัวของภาครัฐและเอกชนในการปรับปรุงความปลอดภัยทางถนนภายใตโครงการ GRSP มาเสนอแนะเพื่อหาแนวทางความรวมมือในไทย ซึ่งไดสอดคลองกับนโยบายของรัฐบาลชุดนี้และ

กระทรวงคมนาคม ซึ่งถือวาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสินเปนนโยบายที่สําคัญท่ีตองดําเนินการ ในระยะแรก Thailand

Global Road Safety Partnership (Thailand GRSP) ไดดําเนินการในประเทศไทยในลักษณะความรวมมือกันอยางหลวมๆ

ขององคกรภาครัฐและหนวยงานเอกชน โดยไดมีการเชิญชวนใหบริษัทกลางฯเขารวมเปนหนึ่งในพันธมิตรเพื่อรณรงคดานความปลอดภัยทางถนน หลังจากท่ีบริษัทกลางฯไดเขารวมเปนพันธมิตรไดมีการผลักดันใหการรณรงคเรื่องความปลอดภัยในรถจักรยานยนตเปนหนึ่งในภารกิจหลัก ซึ่งก็ไดรับการตอบรับเปนอยางดีจากพันธมิตรทุกภาคสวน จนในที่สุดเรื่องนี้ก็ไดหยิบยกเปนประเด็นหลักในการรณรงคดานความปลอดภัยโดยเฉพาะในชวงเทศกาลสําคัญๆท่ีมีประชาชนเดินทางกันเปนจํานวนมาก ตอมาจึงไดมีการผลักดันใหมีการจดทะเบียนเปน “มูลนิธิความรวมมือดานความปลอดภัยทางถนน” โดยมีวัตถุประสงค

เพ่ือริเริ่มวิธีการปรับปรุงความปลอดภัยทางถนนโดยใหภาคเอกชนเขามามีสวนรวมในการแกไขปญหากับภาครัฐโดยมีเปาหมายเพ่ือลดความรุนแรงของการเกิดอุบัติเหตุทางถนน และกอใหเกิดความปลอดภัยในการใชรถใชถนน ซึ่งมีหนวยงานภาครัฐและเอกชนใหความรวมมือเขารวมเปนสมาชิกจํานวนมาก โดยมีกรรมการผูจัดการบริษัท กลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ จํากัด เปนเลขาธิการมูลนิธิ ซึ่งการเขารวมทําหนาท่ีดังกลาวนี้มีสวนทําใหเปนการกระตุน ภาครัฐ ภาคธุรกิจ และภาคประชาสังคมใหมีความตระหนักและหันมารวมกันรณรงคดานความปลอดภัยกันอยางจริงจังและกวางขวาง ซึ่งในท่ีสุดจะสงผลดีตอธุรกิจประกันภัยโดยรวม ท้ังนี้ในระหวางการพิธีการเปดโครงการหมวกเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา ไดมีผูแทนจาก GRSP

ท้ังจากสวิสเซอรแลนด และจากออสเตรเลียเขามารวมในพิธีดวย และหลังจากนั้นไดเชิญใหประเทศไทยไปนําเสนอแนวทางและวิธีการในการดําเนินโครงการตอท่ีประชุมระดับภูมิภาคเอเซีย ท่ีบาหลี และตอมาไดมีการอนุมัติงบประมาณ USD

800,000 เพ่ือมาดําเนินการโครงการหมวกนิรภัยสําหรับพ้ืนท่ีชนบทในประเทศไทย โดยแตงตั้งใหบริษัทกลางฯ เปนผูมีสวนใน

การกําหนดพ้ืนท่ีเปาหมายและรวมในการประเมินผลโครงการ

การทําหนาที่ในโครงการประกันภัยอุบัติเหตุเอ้ืออาทร จากการที่รัฐบาลไดกําหนดยุทธศาสตรดานการประกันภัยขึ้น กรมการประกันภัยและธุรกิจประกันภัย(ท้ังบริษัท

ประกันวินาศภัย และบริษัทประกันชีวิต) จึงรวมกันผลักดันกรมธรรมในรูปแบบพิเศษซึ่งใชชื่อวา “การประกันภัยอุบัติเหตุเอื้อ

อาทร” โดยมีหลักการใหเอื้ออาทรตอประชาชนคนไทยดวยการคิดอัตราคาเบ้ียประกันภัยในราคาปละ 365 บาท แตใหการ

คุมครองเปนจํานวนเงินท่ีสูงถึง 300,000 บาท ตอการเสียชีวิตหรือทุพพลภาพถาวรจากอุบัติเหตุ ดวยเหตุท่ีวาการประกันภัยนี้

มีอัตราเบ้ียประกันภัยเพียงวันละ 1 บาท รวม 365 บาทตอป จึงเปนท่ีรูจักกันท่ัวไปในชื่อวา ประกันภัยวันละบาท ขึ้น ซึ่งเริ่ม

ดําเนินการมาตั้งแต กันยายน 2546 เปนตนมา และจากการที่บริษัท กลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ จํากัด ไดดําเนินงาน

ดวยความมุงมั่น จริงจัง โปรงใส ตรวจสอบได มีประสิทธิภาพ และดวยศักยภาพและความพรอมในดานการปฏิบัติหนาท่ีไดอยางครอบคลุมท่ัวทุกภูมิภาค บริษัทกลางฯ จึงไดรับเลือกใหเปนหนวยงานท่ีจะทําหนาท่ีในการรับคํารองและประสานงาน

๒๓ รายงานประจาํป

ดานการจายคาทดแทนใหแกผูเอาประกันภัย โดยไดปฏิบัติภารกิจนี้นับแตโครงการนี้เริ่มดําเนินการในวันท่ี 13 กันยายน

2546 เปนตนมา

เมื่อโครงการนี้ดําเนินการไปไดระยะหนึ่งผูบริหารโครงการเห็นวา ควรมีการขยายและเพิ่มชองทางในการกระจายกรมธรรมสูประชาชนใหกวางขวางยิ่งขึ้น ดังนั้นในเดือนธันวาคม 2546 บริษัท ไทยรับประกันภัยตอ จํากัด(มหาชน) ผูบริหาร

โครงการประกันภัยอุบัติเหตุเอื้ออาทร ไดมีหนังสือมอบหมายใหบริษัทกลางฯ เปนอีกชองทางหนึ่งในการขายกรมธรรมประกันภัยอุบัติเหตุเอื้ออาทรดวย ซึ่งในชวงนั้นพบวาประชาชนยังใหความสนใจและทําประกันภัยเอื้ออาทรกันนอยมาก บริษัทกลางฯจึงไดปรับปรุงวิธีการกระจายกรมธรรม รวมทั้งมีการปรับกลยุทธโดยมุงเนนไปท่ีการสรางชองทางใหประชาชนหรือผูเอาประกันภัยสามารถเขาถึงและซื้อประกันภัยไดสะดวกและงายย่ิงขึ้น ประการแรก คือการปรับปรุงตัวสินคาใหมโดยทําเปนบัตรประกันภัยเอื้ออาทรเพ่ือใหประชาชนสามารถซื้อหาไดดวยตนเองภายใตคําขวัญท่ีวา ทําประกันภัยวันละบาท สะดวก งายดาย.....เพียงปลายนิ้วประการท่ีสอง คือการเพ่ิมชองทางจําหนายบัตรประกันภัยเอื้ออาทรใหมๆ เชน 7-eleven DTAC

SHOP รานรักษบานเกิด และบริษัท วินเซ็นท เซ็นเตอรเซอรวิส กรุป จํากัด เปนตน ประการท่ีสาม การสรางทีมงานเฉพาะกิจ

เพ่ือทําหนาท่ีในการแนะนําการประกันภัยเอื้ออาทรใหหนวยงานท้ังภาครัฐและภาคธุรกิจ โดยมีรูปแบบในการดําเนินการในลักษณะเดียวกันกับการขายประกันภัยเปนหมูคณะ

ในชวงเดือนกรกฎาคม 2550 ผูบริหารโครงการไดมีการประกาศปรับเพ่ิมเบ้ียประกันภัย ในขณะที่ความคุมครองไมเพ่ิมขึ้น ทําใหประชาชนไมสนใจทําประกันภัยเอื้ออาทรเพ่ิมขึ้น แตถึงอยางไรก็ตาม บริษัทก็ยังดําเนินการตามท่ีไดรับมอบหมายจากผูบริหารโครงการทุกประการ เพียงแตไมมุงเนนดานการตลาด จําหนายเพียงแตท่ีสํานักงานของบริษัทเทานั้น

รางวัลแหงความภาคภูมิใจ

1. รางวัลจรรยาบรรณดีเดน หอการคาไทย ประจําป 2547 จากหอการคาไทย 2. รางวัลบริษัทประกันภัยผูบําเพ็ญประโยชนตอการพัฒนาธุรกิจประกันภัย ประจําป 2547 จากกรมการประกันภัย 3. รางวัลบริษัทประกันภัยผูบําเพ็ญประโยชนตอการพัฒนาธุรกิจประกันภัย ประจําป 2548 จากกรมการประกันภัย 4. รางวัลประเภทบุคคลดีเดน ท่ีมีผลงานในการรณรงคประชาสัมพันธการปองกันอุบัติภัย ประจําป 2549

จากคณะอนุกรรมการปองกันอุบัติภัยแหงชาติ 5. รางวัลบริษัทผูบําเพ็ญประโยชนตอสาธารณชนดานประกันภัย ประจําป 2549 จากกรมการประกันภัย

6. รางวัล“เทพทอง” ครั้งท่ี 9 ประเภท องคกรดีเดน ดานสงเสริมสนับสนุน ประชาสัมพันธกิจกรรมเพ่ือสังคม ประจําป

2550 จากสมาคมนักวิทยุและโทรทัศนแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ ซึ่งเปนรางวัลท่ีไดรับพระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว

“สาขาทั่วทิศ รับผิดชอบผูประสบภัย รวมใหบริการ”

บริษทั กลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ จาํกดั ๒๔

วิ สยัทศัน อดุมการณ และนโยบายคณุภาพ บริษัท กลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ จํากดั

วิสัยทัศน

เปนสัญลักษณของ พ.ร.บ.คุมครองผูประสบภัยจากรถ และเปนศูนยกลางสนับสนนุกิจการดานประกันวินาศภัยครบวงจร ดวยนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมยัในระดับมาตรฐานสากล

อุดมการณ

ตั้งมั่นในคุณธรรมและความถูกตอง

มุงมั่นในบริการท่ีเปนเลิศ

ยึดมั่นในความรับผดิชอบตอสังคม

เชื่อมั่นในคุณคาของคน

นโยบายคุณภาพ

มุงมั่นพฒันาคุณภาพสูความเปนเลิศ ในบริการดานการจดัการสินไหมทดแทนและดานการรบัประกันภัยอยางตอเนือ่ง

เพื่อความพึงพอใจสงูสุดแกผูใชบริการ ดวยความสะดวก รวดเร็ว ถูกตอง เปนกลางและเปนธรรม

๒๕ รายงานประจาํป

ผ ลการดาํเนินงานทีส่ําคญั ป ๒๕๔๖ – ๒๕๕๐

2546 2547 2548 2549 2550 เพิ่มข้ึน (ลดลง) ป 49-50

การดําเนินการ ดานการจัดการสินไหมทดแทน

101,625 126,522 156,322 124,580 122,323 -1.8%

จัดการสินไหมทดแทน บริษัทกลางฯ (จํานวนเร่ือง)

90,540 70,697 74,008 79,609 78,374 -1.6%

ดําเนินการแทนบริษัทประกันภัย 11,085 55,825 82,314 44,971 67,717 50.6%

จายคาสินไหมฯ แทนบริษัทอ่ืน 3,787 3,605 9,002 25,425 43,338 70.5%

จายคาสินไหมฯ แทน CMIP 2,798 47,670 59,478 4,473 611 -86.3%

รับเร่ืองเพื่อประสานงานตอ 4,500 4,550 13,834 15,073 23,768 57.7%

ปริมาณโรงพยาบาลคูสัญญา 385 846 865 1,021 1,177 15.3%

ปริมาณโรงพยาบาลจัดการสินไหมทดแทนระบบ e-Claim (เร่ิมดําเนินการในป 2548)

721 1,021 1,068 4.6%

ปริมาณโรงพยาบาลเอกชน 125 214 233 8.9%

ปริมาณโรงพยาบาลรัฐบาล 596 807 835 3.5%

การดําเนินการดานการรับประกันภัย พ.ร.บ.

จํานวนกรมธรรมรับโดยตรง 3,282,053 2,924,708 3,434,315 3,638,454 3,445,685 -5.3%

เบ้ียประกันภัย พ.ร.บ.รถจักรยานยนตรับโดยตรง

886,071,486 867,546,871 1,019,600,335 1,083,027,806 1,020,122,914 -5.8%

อายุเฉลีย่หน้ี (วัน) 10 15 17 15 13 -13.3%

Loss Ratio *108% 91.45% 91.53% 84.28% 87.10% 3.3%

อัตราความถี่ในการเกิดเหตุ 2.76 2.42 2.15 2.19 2.27 3.7%

อัตราคารักษาพยาบาลเฉลี่ยตอรายผูประสบภัย

7,379 7,390 7,425 7,281 7,232 -0.7%

จําหนายกรมธรรมประกันภัยอุบัติเหตุ เอื้ออาทร

- 38,882 134,933 154,740 109,480 -29.2%

การรับคํารองคาทดแทน อุบัติเหตุเอื้ออาทร

44 808 1,423 1,912 1,461 -23.6%

การจัดสอบตัวแทนประกันวินาศภัย รวม (คน)

4,124 4,074 5,370 6,033 6,145 1.9%

จํานวนพนักงาน 419 443 450 455 451 -0.9%

กําไร(ขาดทุน)กอนหักภาษีเงินได 13,880,165 51,067,791 13,001,815 56,405,887 71,851,135 27.4%

*อัตราเบ้ียประกันภัยรถจักรยานยนตขนาดเกิน 75 ซีซี ถึง 125 ซีซี ปรับจากราคา 200 บาท เปน 300 บาท ตั้งแตวันที่ 1 เมษายน 2546

บริษทั กลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ จาํกดั ๒๖

ผ ลการดําเนินงาน บริษัทกลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ จํากัด ดําเนินการตามวิสัยทัศน ดังนี้ “เปนสัญลักษณของ พ.ร.บ. คุมครองผูประสบภัยจากรถ และเปนศูนยกลางสนับสนุนกิจการดานประกันวินาศภัยครบวงจร ดวยนวัตกรรมและเทคโนโลยีท่ีทันสมัยในระดับมาตรฐานสากล” และดําเนินการตามนโยบายของผูถือหุนและคณะกรรมการบริษัท โดยยังคงยึดมั่นภารกิจการดําเนินงานของบริษัทใหครอบคลุมความตองการครบท้ัง 4 ดาน ไดแก ดานการเงิน ดานลูกคา ดานกระบวนการภายใน และดานการเรียนรูและการเติบโตของพนักงานและองคกร ซึ่งในป 2550 บริษัทมุงเนนดานการจัดการสินไหมทดแทน พ.ร.บ.ท้ังระบบเต็มรูปแบบ ไมวาจะเปนการพัฒนาระบบตรวจสอบอุบัติเหตุ พ.ร.บ.ใหมีประสิทธิภาพโดยความรวมมือจากเครือขายพันธมิตรในการรับแจงเหตุ การแจงขอมูลเบ้ืองตนผานฐานขอมูล e-Accident และพัฒนาระบบ

e-Claim ใหสามารถเชื่อตอขอมูลการจัดการสินไหมทดแทนระหวางบริษัทกลางฯกับบริษัทผูถือหุน นอกจากนี้ยังมีการพัฒนา

ในดานการเปนท่ีปรึกษาดานคารักษาพยาบาลสําหรับธุรกิจประกันภัย โดยการพัฒนาปรับปรุงโปรแกรมคิดอัตราคารักษาพยาบาลอัตโนมัติ (AutoMed) ใหทันสมัยเปนไปตามการปรับเปล่ียนอัตราคารักษาพยาบาลกลาง และคารักษาประจํา

โรงพยาบาลเอกชนแตละแหง และยังคงมุงเนนการดําเนินกิจกรรมตางๆ ท่ีเปนประโยชนตอสังคม ไมวาจะเปนการสรางตลาดแรงงานสําหรับธุรกิจประกันภัยผาน Website JobsInsure.com เพ่ือใหธุรกิจประกันภัยลดคาใชจายในการสรรหา

พนักงาน โครงการรณรงคเพ่ือความปลอดภัยทางถนน และใหความสําคัญตอศักยภาพของบุคลากรภายในองคกร ดวยการพัฒนาบุคลากรและระบบงาน โดยมุงสูการเปน High Performance Organization (HPO) สรางระบบการเรียนรูและพัฒนา

บุคลากรใหมีศักยภาพดวยระบบ e-Learning การนําระบบบริหารงานคุณภาพ ISO 9001:2000 มาพัฒนาการดําเนินงานและ

การใหบริการใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น และท่ีสําคัญท่ีสุดคือการสรางนวัตกรรมและเปนผูนําเทคโนโลยีท่ีเกี่ยวของกับการประกันภัยภาคบังคับ โดยการคิดคนวิธีจําหนายกรมธรรมภาคบังคับแบบใหมท่ีไมเคยนํามาใชในธุรกิจประกันวินาศภัย กลาว คือการจําหนายกรมธรรมระบบ Online ผานเครื่องออกกรมธรรมอัตโนมัติ หรือท่ีรูจักกันวา PVR Machine (Policy Vendor

Register Machine) ซึ่งตอบสนองความตองการและเปนท่ียอมรับของธุรกิจประกันภัยเปนอยางมาก ป 2550 เปนอีกปหนึ่งท่ีบริษัทสามารถดําเนินการไดอยางประสบความสําเร็จ ท้ังในดานการบรรลุเปาหมายและ

แผนงานตามท่ีไดเสนอตอคณะกรรมการบริษัท กลาวคือบริษัทมีผลกําไรกอนหักภาษีเงินได 71.41 ลานบาท โดยมีสวนของผู

ถือหุนเพ่ิมเปน 140.26 ลานบาท และบริษัทสามารถดํารงเงินกองทุนไดตามท่ีกฎหมายกําหนด ซึ่งเกิดขึ้นไดจากการ

สนับสนุนการดําเนินงานจากผูถือหุน คณะกรรมการบริษัท และเกิดจากความรวมมือ ความทุมเท เสียสละของพนักงานบริษัท กลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ จํากัด ท่ีไดปฏิบัติภารกิจตามท่ีไดรับมอบหมายโดยไมยอทอตอปญหาและอุปสรรครวมทั้งไดทุมเทอยางอุตสาหะเต็มกําลังความสามารถ เพ่ือใหเกิดผลการดําเนินงานที่มีประสิทธิภาพมากท่ีสุด ซึ่งสามารถสรุปผลการดําเนินงานไดดังนี้

1. การใหบริการรับคํารองขอและชดใชคาสินไหมทดแทน ในป 2550 บริษัทไดเพ่ิมศักยภาพในการรับคํารองและจายคาสินไหมทดแทน แทนบริษัทประกันภัย ดวยการเพ่ิมชองทางในการรับคํารองผานตัวแทนคุณภาพและการพัฒนาสถานพยาบาลคูสัญญาเปน สถานพยาบาลระบบสินไหมอัตโนมัติ (e-Claim) รวมทั้งการเปนผูนําในการใชตารางอัตราคารักษาพยาบาลอยางจริงจังเต็มระบบ ในป 2550 บริษัทรับคํารองและ

ดําเนินการจัดการสินไหมทดแทน ไดเปนจํานวนทั้งส้ิน 121,712 เรื่อง รวมเปนคาสินไหมทดแทนท้ังส้ิน 1,135.51 ลานบาท

โดยเปนเรื่องของบริษัทกลางฯ 78,374 เรื่อง เปนเงินคาสินไหมทดแทนรวม 703.23 ลานบาท และเปนการดําเนินการแทน

บริษัทประกันภัยรวม 43,338 เรื่อง คิดเปนคาสินไหมทดแทน 432.28 ลานบาท ซึ่งจะเห็นไดวา บริษัทไดมีการจัดการสินไหม

ทดแทนแทนบริษัทประกันภัยเพ่ิมขึ้นจากปกอน 44.95%

๒๗ รายงานประจาํป

2. การดําเนินงานดานการรับประกันภัยรถจักรยานยนต ในป 2550 สํานักงานคณะกรรมการกํากับและสงเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย ไดประกาศใหมีการยกเลิกเครื่องหมายท่ีแสดงวามีการทําประกันภัยตามพระราชบัญญัติคุมครองผูประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 โดยมีผลบังคับตั้งแตวันท่ี 6 เมษายน 2550 และในวันท่ี 12 เมษายน 2550 ประกาศส่ังการใหบริษัทประกันภัยรายงานการรับประกันภัยรถตาม พ.ร.บ. คุมครองผูประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 โดยผานส่ืออิเล็กทรอนิกสทันที หลังจากท่ีไดมีการรับประกันภัยรถ บริษัทจึง

ไดทําการพัฒนาระบบงานรับประกันภัยโดยการใชเคร่ืองออกกรมธรรมอัตโนมัติ (PVR Machine) สามารถดําเนินการออกกรมธรรมและสงขอมูลใหนายทะเบียนไดทันทีตามท่ีนายทะเบียนกําหนด สามารถประหยัดคาใชจายในการดําเนินงานรับประกันภัยไดถึง 30% หรือ ประมาณ 7 ลานบาทตอป อีกท้ังยังสามารถควบคุมการขายและการชําระเงินคาเบ้ียประกันภัย

จากตัวแทนไดอยางมีประสิทธิภาพ ปองกันการจําหนายกรมธรรมยอนหลังและปองกันหนี้สูญไดสมบรูณแบบ ถึงแมวาในชวงแรกของการใช PVR Machine บริษัทกลางฯ จะสูญเสียตัวแทนและยอดจําหนายกรมธรรมไปจํานวนหนึ่ง ซึ่งสามารถ

เปล่ียนวิกฤตใหเปนโอกาสได โดยบริษัทไดมีการทบทวนศักยภาพของตัวแทนแตละราย และพัฒนาตัวแทนที่คงอยูใหเปน “ตัวแทนคุณภาพ” (Quality Agent) ตอไป ซึ่งทําใหบริษัทสามารถรักษาตัวแทนท่ีมีประสิทธิภาพและรักษาฐานลูกคาไดอยาง

ตอเนื่อง ดวยนโยบายและวิถีปฏิบัติท่ีมีความทุมเทในการใหบริการท่ีดีแกตัวแทนจุดขายของบริษัทท่ัวประเทศอยางสม่ําเสมอ

ตลอดมา จึงทําใหบริษัทสามารถรักษาฐานลูกคา โดยมียอดรวมการจําหนายจํานวน 3.45 ลานกรมธรรม และมีเบ้ียประกันภัยรับโดยตรง 1,020.12 ลานบาท และเมื่อเทียบกับภาพรวมของธุรกิจ บริษัทมีสวนแบงทางการตลาดรอยละ 32 ตาม

รายงานของ บริษัท ไทยอินชัวเรอส ดาตาเนท จํากัด (TID) ณ มกราคม 2551 ( ปรับประกันภัย 2550 ระยะเวลาประกัน

เริ่มตนวันท่ี 01/01/2550 - 31/12/2550 )

3. การปรับปรุงประสิทธิภาพในการดําเนินงาน ดวยความตระหนักในความรับผิดชอบดานการจัดการสินไหมทดแทนอยางมีประสิทธิภาพ กอรปกับเจตนารมณท่ี

ตองการสรางความพึงพอใจสูงสุดแกทุกฝายท่ีเกี่ยวของ พรอมท้ังความมุงมั่นท่ีจะเปนศูนยกลางสนับสนุนกิจการดานประกันวินาศภัยครบวงจร ดวยนวัตกรรมและเทคโนโลยีท่ีทันสมัยในระดับมาตรฐานสากล ฝายจัดการและพนักงานทุกคนไดรวมกันจัดระบบงานและระบบขอมูลในการปฏิบัติงานดังนี้

การเปนผูนําในการใชระบบอัตราคารักษาพยาบาลกลางสําหรับสถานพยาบาลท่ัวประเทศ

ตามท่ี บริษัทกลางฯ ไดมีการนําระบบ AutoMed Program ซึ่งเปนระบบประเมินคารักษาพยาบาล

ตามอาการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุ ซึ่งจะอธิบายขั้นตอนการรักษาพยาบาล พรอมรูปของลักษณะอาการบาดเจ็บตางๆ และแสดงราคาคารักษาพยาบาลตามมาตรฐานกลาง ทําใหพนักงานสามารถตรวจสอบคารักษาพยาบาลไดอยางมีมาตรฐานและเปนท่ียอมรับ ซึ่งในปจจุบันบริษัทประกันภัยไดนําระบบ AutoMed ไปใชประกอบการ

พิจารณาชดใชคารักษาพยาบาลทําใหสามารถควบคุมราคาคารักษาพยาบาลไดอยางมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ยังมีการพัฒนาระบบ e-Consult ซึ่งเปนระบบการใหคําปรึกษาในเรื่องการรักษาพยาบาลเพ่ิมเติมอีกดวย ทําให

บริษัทสามารถควบคุมราคาคารักษาพยาบาลไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยมีคาเฉล่ียคารักษาพยาบาลตอผูประสบภัยอยูท่ี 6,556 บาท

สรางมาตรฐานในการจัดการสินไหมทดแทน ใหธุรกิจประกันภัยดวย “ระบบสินไหมอัตโนมัติ หรือ e-Claim System”

ระบบ e-Claim เปนอีก “นวัตกรรม” หนึ่ง ของบริษัทกลางฯ สรางขึ้นเพ่ือการจัดการสินไหมทดแทน

ผานระบบอิเล็คทรอนิกสและระบบส่ือสารทางไกล ซึ่งพัฒนาข้ึนจากความรวมมือระหวางบริษัทกลางฯ และ

บริษทั กลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ จาํกดั ๒๘

สถานพยาบาลตางๆ บริษัทไดนําไปใชงานกับโรงพยาบาลคูสัญญาของบริษัทกลางฯ ท้ังหมด ทําใหสามารถตรวจสอบอุบัติเหตุไดอยางรวดเร็ว สามารถรับรองความคุมครองของผูประสบภัยไดแมนยํา ผูประสบภัยไดรับความคุมครองอยางฉับไวพรอมท้ังลดขั้นตอนและจํานวนเอกสารลง สงผลใหสามารถจายคารักษาพยาบาลใหกับโรงพยาบาลที่ใชบริการของบริษัทไดรวดเร็วขึ้น ขจัดปญหาคารักษาพยาบาลที่คงคางนานลงได 100%

สรางความพึงพอใจอยางสูงใหกับท้ังผูประสบภัย และสถานพยาบาลที่ใชบริการ อีกท้ังยังชวยเพ่ิมประสิทธิภาพในการจัดการสินไหมทดแทน และปองกันเคลมทุจริตไดเกือบท้ัง 100% และไดพัฒนาระบบ e-Claim ให

สามารถเชื่อมตอไปยังบริษัทประกันวินาศภัยได และสามารถปรับใชเขากับระบบของบริษัทประกันภัยแตละบริษัท ท่ีมีความประสงครวมใหบริการ ท้ังนี้เพ่ือใหเกิดประโยชนและประสิทธิภาพเปนผลประโยชนรวมกันของธุรกิจประกันวินาศภัย โดยในป 2550 มีบริษัทประกันภัยผูถือหุนของบริษัทกลางฯ ไดมอบความไววางใจใหบริษัทกลางฯ ดําเนินการดานการจัดการสินไหมทดแทนใหอยางเต็มระบบ จํานวน 10 บริษัท ไดแก บริษัท สงเสริมประกันภัย จํากัด บริษัท เทเวศประกันภัย จํากัด (มหาชน) บริษัท สยามซิต้ีประกันภัย จํากัด บริษัท เอราวัณประกันภัย จํากัด บริษัท ไทยพาณิชยสามัคคีประกันภัย จํากัด (มหาชน) บริษัท คูเนียประกันภัย (ประเทศไทย) จํากัด บริษัท แอ็ดวานซ อินชัวรันส จํากัด บริษัท บีทีประกันภัย จํากัด และบริษัท เอ็ม เอส ไอ จี ประกันภัย (ประเทศไทย) จํากัด ซึ่งระบบ e-Claim นี้จะอํานวยความสะดวกและเสริมประสิทธิภาพใหบริษัท

ประกันวินาศภัยสามารถรับทราบขอมูลการเกิดเหตุรวมถึงคาสินไหมทดแทนท่ีจะเกิดขึ้นของผูเอาประกันภัยของตนทันทีท่ีผูประสบภัยเขารับการรักษาพยาบาลในโรงพยาบาลที่ทําสัญญากับบริษัท นอกจากนั้นยังรองรับระบบรายงานทะเบียนเคลมท่ีสมบูรณ เพ่ือเปนการสรางคุณคาเพ่ิมใหแกผูถือหุนอีกดวย

พัฒนากลยุทธ แนวรุก ในการรับแจงใหเปน “ศูนยกลางการรับแจงอุบัติเหตุ”

ดวยแนวความคิดท่ีจะตองสามารถใหบริการผูเอาประกันภัยและสาธารณชนไดดวยความสะดวก รวดเร็ว รวมถึงตองสามารถเปนท่ีพ่ึงของผูประสบภัยจากรถไดในทุกโอกาส บริษัทกลางฯ จึงไดพัฒนากลยุทธในการรับแจงอุบัติเหตุจากการท่ีตองเปนฝายตั้งรับมาปรับเปนการแสวงหาแนวทางที่จะสามารถเขาไปใหความชวยเหลือดูแลผูประสบภัยไดโดยทันที ณ จุดเกิดเหตุ จึงเปนท่ีมาของการที่บริษัทกลางฯ ไดรวมกับศูนยปลอดภัยคมนาคม ในการใหบริการรับแจงอุบัติเหตุและใหความชวยเหลือประชาชนผูเดินทางตลอด 24 ชั่วโมง โดยผูแจงไมตองเสียคาใชจายเมื่อแจงผาน หมายเลขโทรศัพท 1356 ซึ่งเปน Call Center ของศูนยปลอดภัย

คมนาคม ซึ่งเมื่อไดรับแจงเหตุแลว เจาหนาท่ีของบริษัทกลางฯ จะทําการประสานหนวยงานตางๆ อันไดแก หนวยราชการที่เกี่ยวของ สถานพยาบาล มูลนิธิตางๆ เพ่ือชวยเหลือผูประสบภัย โดยจะมีการตรวจสอบการทําประกันภัยของรถที่เกี่ยวของกับอุบัติเหตุครั้งนั้นๆ หากปรากฏวารถคันท่ีประสบอุบัติเหตุมีประกันภัยไวกับบริษัทประกันภัยใด บริษัทกลางฯ ก็จะติดตอประสานไปยังบริษัทประกันภัยท่ีรับผิดชอบเพ่ือใหสามารถเขามาดําเนินการจัดการสินไหมทดแทนไดทันทวงที จนไดกลายเปนอีกหนวยงานหลักท่ีไดรับมอบหมายใหเปนหนึ่งในศูนยประสานงานหลักในทุกชวงเทศกาลสําคัญๆ เชน เทศกาลปใหม และเทศกาลสงกรานต

ในป 2550 บริษัทกลาคุมครองผูประสบภัยจากรถ จํากัด ยังคงพัฒนาการเปนศูนยกลางการรับแจงอุบัติเหตุอยางตอเนื่อง โดยเฉพาะในเขตกรุงเทพมหานคร นอกจากเปนหนวยงานผูประสานงานแลว บริษัทไดเห็นความสําคัญระบบบริการทางดานการแพทยฉุกเฉินเพ่ือชวยเหลือ บรรเทาอาการของผูประสบภัยจากรถ ทําใหอัตราการเสียชีวิตนอยลง จึงไดมีการลงนาม “บันทึกขอตกลง (Memorandum of Understanding : MOU) เร่ือง ความรวมมือเพื่อพัฒนาระบบบริการการแพทยฉุกเฉินและผูประสบภัยจากรถในเขตกรุงเทพมหานคร” ในวันท่ี 28 พฤษภาคม 2550 ซ่ึงเปนความรวมมือระหวาง สํานักการแพทย กรุงเทพมหานคร กรมการประกันภัย กระทรวงพาณิชย สมาคมประกันวินาศภัย และบริษัท กลางคุมครอง

๒๙ รายงานประจาํป

ผูประสบภัยจากรถ จํากัด โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือยกระดับมาตรฐานการใหบริการการแพทยฉุกเฉินในเขตกรุงเทพมหานคร ใหแกผูประสบภัยตามพระราชบัญญัติคุมครองผูประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535

การนําระบบบริหารคุณภาพ ISO 9001:2000 มาพัฒนาการดําเนินงานและการบริการใหไดระดับมาตรฐานสากล

บริษัทกลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ จํากัด ไดเขารวมโครงการฝกอบรมและใหคําปรึกษาแนะนําการจัดระบบบริหารงานคุณภาพ ตาม ISO 9001:2000 ของสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม (สมอ.)

(TLC ISO 9001)

โครงการน้ี ไดเริ่มตั้งแตเดือนมิถุนายน 2550 – กุมภาพันธ 2551 ซึ่งมีบริษัท คิวเอ็กซเพรส (ประเทศ

ไทย) จํากัด เปนบริษัทท่ีปรึกษาใหกับบริษัทกลางฯ โดยบริษัทกลางฯ จะขอรับรองระบบ ISO 9001:2000 ทุก

ระบบงาน สําหรับสํานักงานใหญและทุกสาขาท่ัวประเทศ โดยจะขอรับรองตามมาตรฐานสากล (UKAS) และ

มาตรฐานของประเทศไทย (NAC)

บริษัท กลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ จํากัด มีความมุงมั่นในการพัฒนาองคกร และเพ่ิมศักยภาพในการทํางานและไดนําระบบบริหารคุณภาพ ISO 9001 : 2000 มาประยุกตใชเพ่ือเปนการปรับปรุงและ

พัฒนาการทํางานใหเกิดประสิทธิภาพ และประสิทธิผล และเพ่ือเปนแนวทางแกพนักงานทุกคนในการท่ีจะกาวไปสูเปาหมายเดียวกันและเพ่ือแสดงความมุงมั่นในการพัฒนาระบบอยางตอเนื่องจึงกําหนดนโยบายคุณภาพ ใหพนักงานยึดถือเปนแนวทางปฏิบัติดังนี้

นโยบายคุณภาพ มุงมั่นพัฒนาคุณภาพสูความเปนเลิศ

ในบริการดานการจัดการสินไหมทดแทนและดานการรับประกันภัยอยางตอเน่ือง เพื่อความพึงพอใจสูงสุดแกผูใชบริการ

ดวยความสะดวก รวดเร็ว ถูกตอง เปนกลางและเปนธรรม

การดําเนินการภายใตการบริหารคาใชจายอยางประหยัด

แมวาในป 2550 ภารกิจของบริษัทกลางฯ ดานการรับประกันภัยรถจักรยานยนต ลดนอยลงเนื่องจาก

บริษัทไดมีการนําระบบสารสนเทศเขามาชวยในการดําเนินงาน แตในทางตรงกันขามการดําเนินงานทางดานการจัดการสินไหมทดแทน และภารกิจอ่ืนๆ ไดเพ่ิมขึ้น แตฝายจัดการยังคงยึดแนวทางในการบริหารงานโดยมุงเนนการดําเนินงานอยางมีประสิทธิภาพและบริหารคาใชจายอยางประหยัด ซึ่งก็สามารถควบคุมใหการดําเนินภารกิจตางๆ สําเร็จลุลวงไปไดโดย มี ค า ใ ช จ า ย ท่ี เ ป น ไปตามงบประมาณ ท่ี ไ ด รั บอนุ มั ติ จ ากคณะกรรมการบริษัท ดังจะเห็นไดวา ในป 2550 มี จํานวนพนักงานประจําท้ังส้ิน 449 คน ลดลงจากป 2549

จํานวน 6 อัตรา ขณะท่ีมีการพัฒนาคุณภาพดานการใหบริการสารสนเทศ ในการจัดการสินไหมทดแทนเพ่ิม

มากขึ้น

4. การดําเนินงานดานรับประกันภัยอุบัติเหตุเอ้ืออาทร

ในป 2550 บริษัทกลางฯ จะยังคงทําหนาท่ีในการรับคํารองและประสานงานดานการจายคาทดแทนใหแกผูเอา

ประกันภัยอุบัติเหตุเอื้ออาทร (โดยไดปฏิบัติภารกิจนี้นับแตโครงการนี้เริ่มดําเนินการในวันท่ี 13 กันยายน 2546 เปนตนมา) ในปนี้บริษัทไดทําก

บริษทั กลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ จาํกดั ๓๐

ารรับคํารองขอรับคาทดแทนสําหรับโครงการประกันภัยอุบัติเหตุเอื้ออาทรตามท่ีไดมอบหมายเปนจํานวนท้ังส้ิน 1,461 เรื่อง คิดเปนคาทดแทนจํานวน 105.27 ลานบาท สําหรับในเรื่องการจําหนายกรมธรรมอุบัติเหตุเอื้ออาทรนั้น เนื่องจากมีการปรับเพ่ิมคาเบ้ียประกันภัยอุบัติเหตุเอื้ออาทร บริษัทจึงหยุดทําการตลาดในดานนี้ โดยจะจําหนายกรมธรรมเฉพาะท่ีสาขาของบริษัทเทานั้น แตสวนแบงการตลาดก็ยังคงเปนอันดับท่ี 1 เมื่อเทียบกับบริษัทประกันชีวิตและบริษัทประกันวินาศภัยและชองทางการจําหนายอ่ืนๆ โดยบริษัทมียอดจําหนายกรมธรรมประกันภัยอุบัติเหตุเอื้ออาทรรวมท้ังส้ิน 109,480 กรมธรรม ซึ่ง

นับไดวาเปนอีกหนึ่งภารกิจท่ีบริษัทกลางฯสามารถปฏิบัติไดบรรลุวัตถุประสงคตามท่ีภาครัฐและธุรกิจประกันภัยมอบหมาย

5. การดําเนินกิจกรรมท่ีเปนประโยชนตอสังคม

ในป 2550 บริษัทกลางฯ ไดมีสวนรวมในการผลักดันใหเกิดโครงการรณรงคลดและปองกันอุบัติเหตุทางถนนหรือโครงการท่ีสนับสนุนใหเกิดความรับผิดชอบตอตนเองและสังคมของผูใชรถ และไดมีสวนรวมในการปฏิบัติหนาท่ีในพ้ืนท่ีท่ีมีความเส่ียงการเกิดเหตุสูงท้ังในระดบัจังหวัดและระดับชุมชน เพ่ือสนับสนุนใหเกิดความปลอดภัยในการใชถนน อาทิเชน

การดําเนินโครงการ “ขับขี่ปลอดภัย รวมใสหมวกนิรภัยเพ่ือเฉลิมฉลอง 80 พรรษา” รวมกับคณะกรรมการ

ปองกันอุบัติภัยแหงชาติ โดยมีกรมการประกันภัย สมาคมประกันวินาศภัย และบริษัทประกันภัยผูถือหุนของบริษัทกลางฯ ทุกบริษัทเปนผูสนับสนุนโครงการ เนื่องในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงครองราชยครบ 60 ป ในป 2549 และเฉลิมพระชนมพรรษา ครบ 80 ป ในป 2550 และครบรอบ 9 ป บริษัท กลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ จํากัด

การสงเสริมและสนับสนุนใหสถาบันการศึกษาในระดับมัธยมศึกษา ใหมีชมรม Road Safety Camp หรือ

เรียกวา “ชมรมเยาวชนรักความปลอดภัย” เพ่ือเปนการสรางจิตสํานึกกับเยาวชนใหเห็นความสําคัญการรักษา

ความปลอดภัยเมื่อเปนผูใชรถใชถนน

การเปนแกนกลางในการรวมมือกันเพื่อพัฒนาระบบบริการการแพทยฉุกเฉินและผูประสบภัยจากรถในเขตกรุงเทพมหานคร ระหวาง สํานักการแพทย กรุงเทพมหานคร กรมการประกันภัย กระทรวงพาณิชย สมาคมประกันวินาศภัย

โครงการรณรงคใหรถมีการประกันภัย พ.ร.บ. 100% ซึ่งยังคงเปนโครงการที่บริษัทกลางฯ ดําเนินการอยางตอเนื่องในทุกป และขยายการดําเนินการลงไปสู ตําบล และหมูบาน โดยมุงหวังใหรถทุกคันในระบบมีประกันภัยและสรางสํานึกใหประชาชนทุกคนมีความรับผิดชอบในการใชรถและถนน

ท้ังนี้ พนักงานทุกคน ไดรวมแรงรวมใจ ยึดถือในแนวทางการปฏิบัติงานรวมกัน โดยยึดถือ อุดมการณของบริษัท กลางฯ ท่ีไดรวมกันกําหนดไว ดังนี้

“ ต้ังมั่นในคุณธรรมและความถูกตอง มุงมั่นในบริการท่ีเปนเลิศ

ยึดมั่นในความรับผิดชอบตอสังคม

เชื่อมั่นในคุณคาของคน”

ร ายงานของผูสอบบัญชรีบัอนุญาต

รายงานของผูสอบบัญชีรับอนุญาต เสนอตอผูถือหุนของบริษัท กลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ จํากัด

ขาพเจาไดตรวจสอบงบดุล ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 งบกําไรขาดทุน งบแสดงการเปล่ียนแปลงสวนของผูถือหุนและงบกระแสเงินสดสําหรับปส้ินสุดวันเดียวกันของแตละปของบริษัท กลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ จํากัด ซึ่งผูบริหารของกิจการเปนผูรับผิดชอบตอความถูกตองและครบถวนของขอมูลในงบการเงินเหลานี้ สวนขาพเจาเปนผูรับผิดชอบในการแสดงความเห็นตองบการเงินดังกลาวจากผลการตรวจสอบของขาพเจา

ขาพเจาไดปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีท่ีรับรองท่ัวไปซึ่งกําหนดใหขาพเจาตองวางแผนและปฏิบัติงานเพ่ือใหไดความเชื่อมั่นอยางมีเหตุผลวางบการเงินแสดงขอมูลท่ีขัดตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญหรือไม การตรวจสอบรวมถึงการใชวิธีการทดสอบหลักฐานประกอบรายการทั้งท่ีเปนจํานวนเงินและการเปดเผยขอมูลในงบการเงิน การประเมินความเหมาะสมของหลักการบัญชีท่ีกิจการใชและประมาณการเกี่ยวกับรายการทางการเงินท่ีเปนสาระสําคัญซึ่งผูบริหารเปนผูจัดทําขึ้น ตลอดจนการประเมินถึงความเหมาะสมของการแสดงรายการที่นําเสนอในงบการเงินโดยรวม ขาพเจาเชื่อวาการตรวจสอบดังกลาวใหขอสรุปท่ีเปนเกณฑอยางเหมาะสมในการแสดงความเห็นของขาพเจา

ขาพเจาเห็นวา งบการเงินขางตนนี้แสดงฐานะการเงิน ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 ผลการดําเนินงานและกระแสเงินสดสําหรับปส้ินสุดวันเดียวกันของแตละปของบริษัท กลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ จํากัด โดยถูกตองตามท่ีควรในสาระสําคัญตามหลักการบัญชีท่ีรับรองทั่วไป

โสภณ เพ่ิมศิริวัลลภ ผูสอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 3182 บริษัท สํานักงาน เอินสท แอนด ยัง จํากัด กรุงเทพฯ: 25 มีนาคม 2551

รับรองสําเนาถูกตอง

(รอยโทสุชาย เชาววิศิษฐ, นายสมพร สืบถวิลกุล) กรรมการผูมีอํานาจ

๓๑ รายงานประจาํป

บริษัท กลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ จํากัด

งบดุล

ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 2550 และ 2549

(หนวย: บาท)

หมายเหตุ

2550 2549

สินทรัพย

เงินลงทุนในหลักทรัพย

พันธบัตร 21,242,331 60,048,934

ต๋ัวเงินคลัง 159,242,258 -

ต๋ัวเงิน 90,000,000 -

หุนกู 23,070,612 14,985,670

หนวยลงทุน 220,597,100 143,536,989

รวมเงินลงทุนในหลักทรัพย 5 514,152,301 218,571,593

เงินใหกูยืมแกพนักงาน 12,453,492 8,965,494

เงินสดและเงินฝากสถาบันการเงิน 6 426,942,496 507,251,409

อุปกรณ - สุทธิ 7 43,644,206 29,532,397

เบ้ียประกันภัยคางรับ 8 35,153,080 43,832,993

รายไดจากการลงทุนคางรับ 6,795,347 5,496,784

ลูกหนี้บริษัทสมาชิกฯจากการปดบัญชีกองกลางฯ 9 9,704,912 58,643,907

สินทรัพยอ่ืน

เงินสมทบคางรับ - สุทธิ 10, 11 61,522,713 65,649,571

เงินทดรองจายคาสินไหมทดแทน - สุทธิ 10, 12 130,884,096 124,232,478

เงินทดรองจายคาสินไหมทดแทนซึ่งรอเรียกคืนจากบริษัทสมาชิกฯ 39,732,411 30,463,671

คาสินไหมทดแทนคางรับจากคูกรณี - สุทธิ 10 8,074,723 972,606

โปรแกรมคอมพิวเตอร - สุทธิ 3,184,712 2,678,481

เงินมัดจํา 7,187,687 5,983,757

อ่ืน ๆ 10,602,672 24,703,300

รวมสินทรัพย 1,310,034,848 1,126,978,441

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

รับรองสําเนาถูกตอง

(รอยโทสุชาย เชาววิศิษฐ, นายสมพร สืบถวิลกุล) กรรมการผูมีอํานาจ บริษทั กลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ จาํกดั ๓๒

บริษัท กลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ จํากัด

งบดุล (ตอ)

ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 2550 และ 2549

(หนวย: บาท)

หมายเหต ุ 2550 2549

หน้ีสินและสวนของผูถือหุน

เงินสํารองเบ้ียประกันภัยท่ียังไมถือเปนรายได 478,473,815 518,310,541

สํารองคาสินไหมทดแทนและคาสินไหมทดแทนคางจาย 445,523,408 244,087,340

หนี้สินอื่น

เงินสํารองจายคาสินไหมทดแทนรับจากบริษัทประกันภัยอื่น 10 37,222,100 26,733,100

ภาษีเงินไดนิติบุคคลคางจาย 22,959,992 15,993,759

คาใชจายคางจาย 17,415,455 15,277,613

เงินค้ําประกันจากตัวแทนขายกรมธรรม 11,819,429 12,513,975

เจาหนี้บริษัทสมาชิกฯจากการปดบัญชีกองกลางฯ 9 23,308,351 73,944,627

คาสินไหมทดแทนคางรับจากคูกรณีรอจัดสรรคืนแกบริษัทสมาชิกฯ 111,674,470 86,946,195

อ่ืน ๆ 21,374,427 18,629,765

รวมหน้ีสิน 1,169,771,447 1,012,436,915

สวนของผูถือหุน

ทุนเรือนหุน

ทุนจดทะเบียน

หุนสามัญ 10,000,000 หุน มูลคาหุนละ 10 บาท 100,000,000 100,000,000

ทุนออกจําหนายและชําระแลว

หุนสามัญ 10,000,000 หุน มูลคาหุนละ 10 บาท 100,000,000 100,000,000

สวนเกิน (ตํ่ากวา) ทุนจากการเปล่ียนแปลงมูลคาเงินลงทุน 5 (408,120) 3,240,303

กําไรสะสม 40,671,521 11,301,223

รวมสวนของผูถือหุน 140,263,401 114,541,526

รวมหน้ีสินและสวนของผูถือหุน 1,310,034,848 1,126,978,441

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

รับรองสําเนาถูกตอง

(รอยโทสุชาย เชาววิศิษฐ, นายสมพร สืบถวิลกุล) กรรมการผูมีอํานาจ

๓๓ รายงานประจาํป

รับรองสําเนาถูกตอง

(รอยโทสุชาย เชาววิศิษฐ, นายสมพร สืบถวิลกุล) กรรมการผูมีอํานาจ

บริษัท กลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ จํากัด งบกําไรขาดทุน

สําหรับปส้ินสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 (หนวย: บาท) หมายเหต ุ 2550 2549 รายไดจากการรับประกันภัย

เบ้ียประกันภัยรับ 1,020,122,914 1,083,313,862 เบ้ียประกันภัยรับรับคืนจากกองกลางฯ 13 - 346,297,727

เบ้ียประกันภัยรับสุทธิ 1,020,122,914 1,429,611,589 เงินสํารองเบ้ียประกันภัยที่ยังไมถือเปนรายไดลดลง (เพิ่มข้ึน) จากปกอน 39,836,726 (360,149,172)

เบ้ียประกันภัยที่ถือเปนรายได 1,059,959,640 1,069,462,417

คาใชจายในการรับประกันภัย คาสินไหมทดแทนที่เกิดข้ึนระหวางป 923,177,259 901,328,836 คาใชจายในการจัดการสินไหมทดแทน 44,215,313 38,494,141 คาจางและคาบําเหน็จในการรับประกันภัยโดยตรง 33,227,091 39,654,732 สวนลดจายจากการเอาประกันภัยตอชวง - 42,529,818 เงินสมทบกองทุนทดแทนผูประสบภัย 10,204,777 10,830,278 คาใชจายในการรับประกันภัยอื่น 25,308,683 24,197,097

รวมคาใชจายในการรับประกันภัย 1,036,133,123 1,057,034,902

กําไรจากการรับประกันภัย 23,826,517 12,427,515 รายไดจากการลงทุนสุทธิ 40,286,437 24,536,140 รายไดอ่ืน

รายไดจากเงินสมทบรับ 10 226,371,974 214,813,729 รายไดหน้ีสูญรับคืน 17,007,368 5,557,951 อื่น ๆ 10 25,175,814 17,480,277

268,555,156 237,851,957 คาใชจายในการดําเนินงาน คาใชจายเกี่ยวกับพนักงาน 125,624,267 113,075,143 คาใชจายเกี่ยวกับอาคารสถานที่และอุปกรณ 52,761,448 47,108,359 คาภาษีอากร 1,733,256 1,570,285 หน้ีสงสัยจะสูญ 14 13,934,693 25,681,077 คาตอบแทนกรรมการ 757,000 826,000 คาใชจายในการดําเนินงานอื่น 66,006,311 30,148,861 รวมคาใชจายในการดําเนินงาน 260,816,975 218,409,725

กําไรกอนภาษีเงนิไดนิติบุคคล 71,851,135 56,405,887 ภาษีเงินไดนิติบคุคล 15 (42,480,837) (21,004,609)

กําไรสุทธิสําหรับป 29,370,298 35,401,278

กําไรตอหุน 16 กําไรตอหุนข้ันพื้นฐาน กําไรสุทธิ 2.94 3.54

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหน่ึงของงบการเงินน้ี

บริษทั กลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ จาํกดั ๓๔

บริษัท กลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ จํากัด

งบกระแสเงินสด

สําหรับปส้ินสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549

(หนวย: บาท)

2550 2549

กระแสเงินสดไดมาจากกจิกรรมดําเนินงาน

เบ้ียประกันภัยรับจากการรับประกันภัยโดยตรง 1,028,802,827 1,087,240,734

เงินรับจากคาสินไหมทดแทนคางรับจากคูกรณีรอจัดสรรคืนแกบริษัทสมาชิก 36,819,232 86,946,196

เงินรับจากบริษัทสมาชิกฯจากการปดบัญชีกองกลางฯหรือที่บอกเลิกสัญญากับกองกลางฯ 1,432,522 4,032,190

เงินจายคืนบริษัทสมาชิกฯจากการปดบัญชีกองกลางฯหรือที่บอกเลิกสัญญากับกองกลางฯ (14,082,312) (115,003,586)

คาสินไหมทดแทนจากการรับประกันภัยโดยตรง (711,751,054) (686,601,931)

คาสินไหมทดแทนจากการรับประกันภัยตอ (4,985,467) (148,175,000)

คาใชจายในการจัดการสินไหมทดแทนจากการรับประกันภัยโดยตรง (44,215,313) (38,494,141)

คาจางและคาบําเหน็จจากการรับประกันภัยโดยตรง (31,489,264) (39,654,732)

เงินทดรองจายคาสินไหมทดแทน 6,702,794 (122,878,501)

เงินสมทบกองทุนทดแทนผูประสบภัยจากรถ (10,523,971) (10,845,182)

คาใชจายในการรับประกันภัยอื่น (25,308,683) (24,197,097)

รายไดจากการลงทุนสุทธิ 26,551,731 22,369,599

เงินสํารองจายคาสินไหมทดแทนรับจากบริษัทประกันภัยอื่น 10,489,000 21,214,200

รายไดจากเงินสมทบรับ 217,144,419 208,271,080

รายไดอื่น 27,283,930 11,922,327

คาใชจายในการดําเนินงาน (221,587,097) (167,638,989)

ภาษีเงินได (35,075,538) (8,553,460)

เงินสดสุทธิไดมาจากกิจกรรมดําเนินงาน 256,207,756 79,953,707

กระแสเงินสดไดมาจากกจิกรรมลงทุน

กระแสเงินสดไดมา

เงินลงทุนในหลักทรัพย 1,081,158,326 728,337,228

อุปกรณ 1,352,186 175,592

เงินฝากประจําที่มีกําหนดจายคืนเกินกวา 3 เดือน 363,600,000 259,000,000

เงินสดสุทธิไดมาจากกิจกรรมลงทุน 1,446,110,512 987,512,820

กระแสเงินสดใชไป

เงินลงทุนในหลักทรัพย (1,389,515,033) (795,433,171)

อุปกรณ (28,073,186) (10,363,093)

โปรแกรมคอมพิวเตอร (1,442,981) (1,417,878)

เงินฝากประจําที่มีกําหนดจายคืนเกินกวา 3 เดือน (353,600,000) (330,000,000)

เงินสดสุทธิใชไปในกิจกรรมลงทุน (1,772,631,200) (1,137,214,142)

เงินสดสุทธิใชไปในกิจกรรมลงทุน (326,520,688) (149,701,322)

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดลดลงสุทธ ิ (70,312,932) (69,747,615)

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดตนป 173,649,924 243,397,539

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดปลายป (หมายเหตุ 17) 103,336,992 173,649,924

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหน่ึงของงบการเงินน้ี

รับรองสําเนาถูกตอง

(รอยโทสุชาย เชาววิศิษฐ, นายสมพร สืบถวิลกุล) กรรมการผูมีอํานาจ

๓๕ รายงานประจาํป

บริษัท กลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ จํากัด

งบแสดงการเปล่ียนแปลงสวนของผูถือหุน

สําหรับปส้ินสุดวันท่ี 31 ธันวาคม 2550 และ 2549

(หนวย: บาท)

สวนเกิน

(ตํ่ากวา) ทุน

ทุนเรือนหุนท่ีออก จากการ

เปล่ียนแปลง กําไร (ขาดทุน)

และชําระแลว มูลคาเงินลงทุน สะสม รวม

ยอดคงเหลือ ณ วันท่ี 1 มกราคม 2549

100,000,000 1,393,695 (24,100,055) 77,293,640

สวนเกินทุนจากการเปล่ียนแปลง

มูลคาเงินลงทุน - 1,846,608 - 1,846,608

กําไรสุทธิสําหรับป 2549 - - 35,401,278 35,401,278

ยอดคงเหลือ ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 2549

100,000,000 3,240,303 11,301,223 114,541,526

สวนต่ํากวาทุนจากการเปล่ียนแปลง

มูลคาเงินลงทุน - (3,648,423) - (3,648,423)

กําไรสุทธิสําหรับป 2550 - - 29,370,298 29,370,298

ยอดคงเหลือปลายป 2550 100,000,000 (408,120) 40,671,521 140,263,401

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

รับรองสําเนาถูกตอง

(รอยโทสุชาย เชาววิศิษฐ, นายสมพร สืบถวิลกุล) กรรมการผูมีอํานาจ

บริษทั กลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ จาํกดั ๓๖

บริษัท กลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ จํากัด หมายเหตุประกอบงบการเงนิ

สําหรับปส้ินสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549

1. ขอมูลทั่วไป

บริษัท กลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ จํากัด (“บริษัทฯ”) จดทะเบียนเปนบริษัทจํากัดเม่ือวันที่ 24 กุมภาพันธ 2541 ซึ่งปฏิบัติตามพระราชบัญญัติคุมครองผูประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติคุมครองผูประสบภัยจากรถ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2540 เพื่อดําเนินธุรกิจเกี่ยวกับการใหบริการในการรับคํารองขอการจายคาเสียหายใหแกผูประสบภัยตามที่บริษัทประกันภัยหรือสํานักงานกองทุนทดแทนผูประสบภัยมอบหมาย เมื่อวันที่ 2 มีนาคม 2542 บริษัทฯไดรับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรีใหประกอบธุรกิจประกันวินาศภัยเฉพาะการประกันภัยรถจักรยานยนตตามพระราชบัญญัติคุมครองผูประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535

ที่อยูของบริษัทฯตามที่จดทะเบียนต้ังอยู ณ เลขที่ 44/1 อาคารรุงโรจนธนกุล ชั้น 11 ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพมหานคร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัทฯมีพนักงานจาํนวน 451 คนและ 448 คน ตามลําดับ

กองกลางรับประกันภัยรถจักรยานยนตภาคบังคับ

เมื่อ วันที่ 5 มิถุนายน 2546 บริ ษัทฯไดรับมอบหมายให เปนผูบริหารกองกลางรับประกันภัย รถจักรยานยนตภาคบังคับ (“กองกลางฯ”) ซึ่งไดจัดต้ังขึ้นตามสัญญารวมลงนามของบริษัทสมาชิกสมาคมประกันวินาศภัย (“บริษัทสมาชิกฯ”) จํานวน 57 บริษัท และเปนไปตามขอกําหนดการเขารวมการเอาประกันภัยตอและการรับประกันภัยตอชวง โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหบริษัทสมาชิกฯรวมกันรับความเส่ียงภัยจากการรับประกันภัยรถจักรยานยนต โดยจะกระจายความเส่ียงภัยโดยการตอชวงกลับไปยังบริษัทสมาชิกฯ ตามสัดสวนการรับประกันภัยรถประเภทอื่นที่มิ ใชรถจักรยานยนต ซึ่ง สัดสวนดังกลาวไดระบุไวตามประกาศของคณะกรรมการบริหารกองกลางฯ กองกลางฯไดเริ่มดําเนินการต้ังแตวันที่ 1 กรกฎาคม 2546

เมื่อวันที่ 27 ธันวาคม 2548 ที่ประชุมวิสามัญครั้งที่ 2/2548 บริษัทสมาชิกฯไดมีมติใหยกเลิกกองกลางรับประกันภัยรถจักรยานยนตภาคบังคับ โดยใหมีผลต้ังแตวันที่ 1 มกราคม 2549 เปนตนไป ดังนั้น กองกลางฯจะบันทึกเบ้ียประกันภัยตอจากบริษัทฯและบริษัทสมาชิกฯส้ินสุดวันที่ 31 ตุลาคม 2548

รับรองสําเนาถูกตอง

(รอยโทสุชาย เชาววิศิษฐ, นายสมพร สืบถวิลกุล) กรรมการผูมีอํานาจ

๓๗ รายงานประจาํป

2. เกณฑในการจัดทํางบการเงิน

งบการเงินนี้จัดทําขึ้นตามมาตรฐานบัญชีที่กําหนดในพระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 และจัดทําขึ้นตามวิธีการบัญชีเกี่ยวกับการประกันภัยในประเทศไทยและหลักเกณฑที่เกี่ยวของ ซึ่งกําหนดโดยหนวยงานที่ควบคุมการประกอบธุรกิจประกันภัย

การแสดงรายการในงบการเงินนี้ไดทําขึ้นเพื่อใหเปนไปตามขอกําหนดในคําส่ังนายทะเบียนลงวันที่ 6 มีนาคม 2545 ออกตามความในพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543

งบการเงินนี้ไดจัดทําขึ้นโดยใชเกณฑราคาทุนเดิมเวนแตจะไดเปดเผยเปนอยางอื่นในนโยบายการบัญชี

3. การประกาศใชมาตรฐานการบัญชีใหม

สภาวิชาชีพบัญชีไดออกประกาศสภาวิชาชีพบัญชีฉบับที่ 9/2550 ฉบับที่ 38/2550 และฉบับที่ 62/2550 เกี่ยวกับมาตรฐานการบัญชี โดยใหใชมาตรฐานการบัญชีใหมดังตอไปนี้

ก) มาตรฐานการบัญชีที่มีผลบังคับใชในปปจจุบัน

ฉบับที่ 44 (ปรับปรุง 2550) งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ฉบับที่ 45 (ปรับปรุง 2550) เงินลงทุนในบริษัทรวม ฉบับที่ 46 (ปรับปรุง 2550) สวนไดเสียในการรวมคา

มาตรฐานการบัญชีขางตนใหถือปฏิบัติกับงบการเงินสําหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2550 เปนตนไป อยางไรก็ตาม มาตรฐานการบัญชีทั้งสามฉบับดังกลาวไมเกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของบริษัทฯ

ข) มาตรฐานการบัญชีที่ยังไมมีผลบังคับใชในปปจจุบัน

ฉบับที่ 25 (ปรับปรุง 2550) งบกระแสเงินสด ฉบับที่ 29 (ปรับปรุง 2550) สัญญาเชา ฉบับที่ 31 (ปรับปรุง 2550) สินคาคงเหลือ ฉบับที่ 33 (ปรับปรุง 2550) ตนทุนการกูยืม ฉบับที่ 35 (ปรับปรุง 2550) การนําเสนองบการเงิน ฉบับที่ 39 (ปรับปรุง 2550) นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชีและขอผิดพลาด ฉบับที่ 41 (ปรับปรุง 2550) งบการเงินระหวางกาล

รับรองสําเนาถูกตอง

(รอยโทสุชาย เชาววิศิษฐ, นายสมพร สืบถวิลกุล) กรรมการผูมีอํานาจ

บริษทั กลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ จาํกดั ๓๘

ฉบับที่ 43 (ปรับปรุง 2550) การรวมธุรกิจ ฉบับที่ 49 (ปรับปรุง 2550) สัญญากอสราง ฉบับที่ 51 สินทรัพยไมมีตัวตน

มาตรฐานการบัญชีขางตนใหถือปฏิบัติกับงบการเงินสําหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2551 เปนตนไป ฝายบริหารของบริษัทฯไดประเมินแลวเห็นวามาตรฐานการบัญชีฉบับดังกลาวจะไมมีผลกระทบอยางเปนสาระสําคัญตองบการเงินสําหรับปที่เริ่มใชมาตรฐานการบัญชีฉบับดังกลาว

4. นโยบายการบัญชีที่สําคัญ

4.1 การรับรูรายไดและคาใชจาย

(ก) เบี้ยประกันภัย

บริษัทฯรับรูเบี้ยประกันภัยเปนรายไดตามวันที่ที่มีผลบังคับใชในกรมธรรมประกันภัยหลังจากหักเบี้ยประกันภัยตอและสงคืนแลวสําหรับกรมธรรมที่มีอายุไมเกิน 1 ป

(ข) เบี้ยประกันภัยตอ

เบี้ยประกันภัยตอถือเปนรายไดเมื่อบริษัทฯไดรับใบคําขอเอาประกันภัยตอหรือใบแจงการประกันภัยตอจากบริษัทผูเอาประกันภัยตอ

(ค) รายไดจากเงินสมทบรับ

เงินสมทบรับเปนเงินซึ่งผูถือหุนของบริษัทฯซึ่งเปนบริษัทประกันวินาศภัยจายสมทบใหแกบริษัทฯตามสัดสวนของเบี้ยประกันภัยที่ผูถือหุนไดรับจากกิจการรับประกันภัยของผูถือหุนในแตละรอบสามเดือนที่ผานมาตามพระราชบัญญัติคุมครองผูประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติคุมครองผูประสบภัยจากรถ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2540 และประกาศกระทรวงพาณิชยลงวันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543 ในอัตรารอยละ 2.0 ต้ังแตวันที่ 1 กรกฎาคม 2543 เปนตนไป

ตามประกาศกระทรวงพาณิชยลงวันที่ 8 มิถุนายน 2547 ไดมีการแกไขอัตราเงินสมทบเปนอัตรารอยละ 2.25 ของเบี้ยประกันภัยรถยนตประเภทอื่น โดยมีผลบังคับต้ังแตวันที่ 1 มกราคม 2547 เปนตนไป

รายไดจากเงินสมทบรับถือเปนรายไดตามเกณฑคงคาง

(ง) ดอกเบ้ียและเงินปนผลรับ

ดอกเบ้ียถือเปนรายไดตามเกณฑสัดสวนของเวลาโดยคํานึงถึงอัตราผลตอบแทนที่แทจริง เงินปนผลรับถือเปนรายไดเมื่อมีสิทธิในการรับเงินปนผล

รับรองสําเนาถูกตอง

(รอยโทสุชาย เชาววิศิษฐ, นายสมพร สืบถวิลกุล) กรรมการผูมีอํานาจ

๓๙ รายงานประจาํป

(จ) กําไร (ขาดทุน) จากการขายหลักทรัพย

กําไร (ขาดทุน) จากการขายหลักทรัพยรับรูเปนรายไดหรือคาใชจาย ณ วันที่เกิดรายการ

(ฉ) คาสินไหมทดแทน

บริษัทฯบันทึกคาสินไหมทดแทนตามที่จายจริง และตามจํานวนที่ไดประมาณการไว เมื่อไดรับแจงคํารองขอรับคาเสียหายจากผูประสบภัย

4.2 เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดหมายถึง เงินสดและเงินฝากสถาบันการเงินซึ่งถึงกําหนดจายคืนภายในระยะเวลาไมเกิน 3 เดือน นับจากวันที่ไดมาและไมมีขอจํากัดในการเบิกใช

4.3 เงินสํารองเบี้ยประกันภัยที่ยังไมถือเปนรายได

บริษัทฯคํานวณเงินสํารองเบี้ยประกันภัยที่ยังไมถือเปนรายไดตามกฎเกณฑในประกาศกระทรวงพาณิชยเรื่องการจัดสรรเงินสํารองสําหรับเบี้ยประกันภัยที่ยังไมตกเปนรายไดของบริษัทฯและเงินสํารองสําหรับคาสินไหมทดแทนของบริษัทประกันวินาศภัย ซึ่งคํานวณโดยวิธีเฉล่ียรายเดือน (วิธีเศษหนึ่งสวนยี่สิบส่ี)

4.4 สํารองคาสินไหมทดแทนและคาสินไหมทดแทนคางจาย

บริษัทฯบันทึกคาสินไหมทดแทนคางจายเม่ือไดรับการแจงคํารองขอรับคาเสียหายจากผูประสบภัยที่เกิดจากรถที่เอาประกันภัยไว ตามจํานวนที่ไดรับแจงจากผูประสบภัย หรือตามจํานวนที่ไดประมาณการโดยนโยบายของฝายบริหารกรณีที่ผูประสบภัยจากรถยังไมทราบจํานวนคาเสียหายที่แทจริง

การสํารองคาสินไหมทดแทน บริษัทฯไดต้ังสํารองเพิ่มเติมสําหรับคาสินไหมทดแทนท่ีอาจเกิดขึ้นแตยังไมไดรับรายงานใหบริษัทฯทราบ (IBNR) โดยใชขอมูลสถิติในปที่ผานมา ซึ่งเปนอัตราที่มากกวารอยละ 2.5 ของเบี้ยประกันภัยรับสุทธิยอนหลังสิบสองเดือน เพื่อใหเปนไปตามประกาศกระทรวงพาณิชย เรื่องการจัดสรรเงินสํารองสําหรับเบี้ยประกันภัยที่ยังไมตกเปนรายไดของบริษัทฯและเงินสํารองสําหรับคาสินไหมทดแทนของบริษัทประกันวินาศภัย

4.5 เงินสํารองจายคาสินไหมทดแทนรับจากบริษัทประกันภัยอื่น

เงินสํารองจายคาสินไหมทดแทนรับจากบริษัทประกันภัยอื่นเปนเงินที่บริษัทฯเรียกเก็บลวงหนาจากผูถือหุนเพื่อใชจายเกี่ยวกับคาสินไหมทดแทนใหแกผูประสบภัยแทนผูถือหุน ตามพระราชบัญญัติคุมครองผูประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 โดยใหผูถือหุนแตละรายจัดสรรเงินสํารองจายคาสินไหมทดแทนไวกับบริษัทฯ

บริษัทฯเรียกเก็บเงินสํารองจายคาสินไหมทดแทนจากผูถือหุนในจํานวนสองเทาของคาเฉลี่ยการจายเงินคาสินไหมทดแทนท่ีบริษัทฯไดจายแทนใหแกผูถือหุน รายละเอียดจํานวนเงินที่ตองจัดสรรปรากฏตามประกาศเรื่อง “จํานวนเงินที่บริษัทประกันภัยตองจัดสรรเพื่อเปนเงินสํารองจายคาสินไหมทดแทนประจําป พ.ศ.2549 (ปรับปรุงครั้งที่ 1)”

รับรองสําเนาถูกตอง

(รอยโทสุชาย เชาววิศิษฐ, นายสมพร สืบถวิลกุล) กรรมการผูมีอํานาจ

บริษทั กลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ จาํกดั ๔๐

4.6 คาจางและบําเหน็จ

คาจางและบําเหน็จถือเปนคาใชจายทันทีในงวดบัญชีที่เกิดรายการ

4.7 เงินลงทนุในหลักทรัพย

เงินลงทุนในหลักทรัพยเพื่อคาแสดงตามมูลคายุติธรรม บริษัทฯบันทึกการเปลี่ยนแปลงมูลคาของหลักทรัพยเปนรายการกําไรหรือขาดทุนในงบกําไรขาดทุน

เงินลงทุนในหลักทรัพยเผื่อขายแสดงตามมูลคายุติธรรม บริษัทฯบันทึกการเปลี่ยนแปลงมูลคา หลักทรัพยดังกลาวเปนรายการแยกตางหากในสวนของผูถือหุนจนกระทั่งจําหนายหลักทรัพยจึงบันทึกการเปลี่ยนแปลงมูลคานั้นในงบกําไรขาดทุน

เงินลงทุนในตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกําหนดแสดงมูลคาตามวิธีราคาทุนตัดจําหนาย บริษัทฯ ตัดบัญชีสวนเกิน/สวนตํ่ากวามูลคาตราสารหนี้ตามอัตราดอกเบ้ียที่แทจริง ซึ่งจํานวนที่ตัดจําหนายนี้จะแสดงเปนรายการปรับกับดอกเบี้ยรับ

เงินลงทุนในตราสารทุนที่ไมอยูในความตองการของตลาดถือเปนเงินลงทุนทั่วไปซึ่งแสดงตามราคาทุนสุทธิจากคาเผื่อการดอยคา (ถามี)

มูลคายุติธรรมของหลักทรัพยในความตองการของตลาดคํานวณจากราคาเสนอซื้อหลังสุด ณ ส้ินวันทําการสุดทายของปของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย มูลคายุติธรรมของตราสารหนี้คํานวณโดยใชราคาของสมาคมตลาดตราสารหนี้ไทยหรือใชวิธีกระแสเงินสดที่คาดวาจะไดรับในอนาคตคิดลดดวยอัตราที่เหมาะสมกับความเส่ียงที่เกี่ยวของ มูลคายุติธรรมของหนวยลงทุนคํานวณจากมูลคาสินทรัพยสุทธิ

บริษัทฯจะบันทึกขาดทุนจากการดอยคา (ถามี) ของเงินลงทุนในหลักทรัพยเผื่อขาย ตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกําหนดและเงินลงทุนทั่วไปในงบกําไรขาดทุน เมื่อราคาตามบัญชีสูงกวามูลคาที่คาดวาจะไดรับคืน

บริษัทฯใชวิธีถัวเฉล่ียถวงน้ําหนักในการคํานวณตนทุนของเงินลงทุน

4.8 เบี้ยประกันภยัคางรับและคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ

เบี้ยประกันภัยคางรับแสดงดวยมูลคาสุทธิที่คาดวาจะไดรับ โดยบริษัทฯต้ังคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญสําหรับผลขาดทุนโดยประมาณที่คาดวาจะเรียกเก็บไมไดจากเบี้ยประกันภัยคางรับทั้งส้ินที่มีอยูซึ่งโดยทั่วไปพิจารณาจากประสบการณในการเรียกเก็บเงินและการวิเคราะหอายุของลูกหนี้

รับรองสําเนาถูกตอง

(รอยโทสุชาย เชาววิศิษฐ, นายสมพร สืบถวิลกุล) กรรมการผูมีอํานาจ

๔๑ รายงานประจาํป

4.9 คาสินไหมทดแทนคางรับจากคูกรณีและคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ

คาสินไหมทดแทนคางรับจากคูกรณี ไดแก คาสินไหมทดแทนซึ่งบริษัทฯไดจายใหแกผูประสบภัยแลว แตคูกรณีเปนฝายผิด ดังนั้นบริษัทฯจึงสามารถเรียกรองเอาคืนจากบริษัทประกันภัยของคูกรณีซึ่งเปนผูถือหุนของบริษัทฯได บริษัทฯจะบันทึกคาสินไหมทดแทนคางรับจากคูกรณีเปนสินทรัพยในงบการเงินเมื่อมีหลักฐานครบถวนถึงสิทธิการเรียกรองของบริษัทฯตอบริษัทประกันภัยอื่นและบริษัทฯไดยื่นเอกสารหลักฐานดังกลาวตอบริษัทประกันภัยคูกรณีเรียบรอยแลว

บริษัทฯไดประมาณคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญสําหรับคาสินไหมทดแทนคางรับจากคูกรณีโดยอาศัยการประเมินผลของฝายบริหารเกี่ยวกับความสูญเสียที่อาจจะเกิดขึ้นจากยอดคงเหลือที่คงคางอยู ณ วันส้ินป การประเมินผลดังกลาวไดคํานึงถึงประสบการณการชําระเงินในอดีตและปจจัยอยางอื่นประกอบการพิจารณา

4.10 อุปกรณ และคาเส่ือมราคา

อุปกรณแสดงมูลคาตามราคาทุนหักคาเส่ือมราคาสะสมและคาเผื่อการดอยคาของสินทรัพย (ถามี) คาเส่ือมราคาของอุปกรณคํานวณจากราคาทุนของสินทรัพยนั้นโดยวิธีเสนตรงตามอายุการใชงานโดยประมาณของสินทรัพยดังตอไปนี้: -

สวนปรับปรุงอาคารเชา - 5 ป เครื่องตกแตง ติดต้ังและอุปกรณสํานักงาน - 3 ป และ 5 ป ยานพาหนะ - 5 ป

คาเส่ือมราคารวมอยูในการคํานวณผลการดําเนินงาน

4.11 โปรแกรมคอมพิวเตอรและคาตัดจําหนาย

โปรแกรมคอมพิวเตอรแสดงดวยราคาทุนหักคาตัดจําหนายสะสม คาตัดจําหนายของโปรแกรมคอมพิวเตอรคํานวณจากราคาทุนโดยวิธีเสนตรงตามอายุการใชงานโดยประมาณ 5 ป

คาตัดจําหนายรวมอยูในการคํานวณผลการดําเนินงาน

4.12 การดอยคาของสินทรัพย

ทุกวันที่ในงบดุล บริษัทฯจะทําการประเมินวามีขอบงชี้ซึ่งแสดงวาสินทรัพยของบริษัทฯดอยคาลงหรือไม หากมีขอบงชี้ของการดอยคา บริษัทฯจะทําการประมาณมูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนของสินทรัพย และหากพบวาราคาตามบัญชีของสินทรัพยนั้นมีมูลคาสูงกวามูลคาที่คาดวาจะไดรับคืน บริษัทฯจะลดมูลคาของสินทรัพยลงใหเทากับมูลคาที่คาดวาจะไดรับคืน และรับรูผลขาดทุนจากการดอยคาของสินทรัพยในงบกําไรขาดทุน (มูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนของสินทรัพยหมายถึงราคาขายสุทธิหรือมูลคาจากการใชของสินทรัพยนั้นแลวแตจํานวนใดจะสูงกวา)

รับรองสําเนาถูกตอง

(รอยโทสุชาย เชาววิศิษฐ, นายสมพร สืบถวิลกุล) กรรมการผูมีอํานาจ

บริษทั กลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ จาํกดั ๔๒

4.13 รายการธุรกิจกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน

บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกันกับบริษัทฯ หมายถึง บุคคลหรือกิจการที่มีอํานาจควบคุมบริษัทฯ หรือถูกควบคุมโดยบริษัทฯไมวาจะเปนทางตรงหรือทางออม หรืออยูภายใตการควบคุมเดียวกันกับบริษัท

นอกจากนี้บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกันยังหมายรวมถึงบริษัทรวมและบุคคลซึ่งมีอิทธิพลอยางเปนสาระสําคัญกับบริษัทฯ ผูบริหารสําคัญ กรรมการหรือพนักงานของบริษัทฯ ที่มีอํานาจในการวางแผนและควบคุมการดําเนินงานของบริษัทฯ

4.14 ผลประโยชนพนักงาน

บริษัทฯรับรูเงินเดือน คาจาง โบนัส เงินสมทบกองทุนประกันสังคมและกองทุนสํารองเลี้ยงชีพเปนคาใชจายเม่ือเกิดรายการ

4.15 ภาษีเงนิได

บริษัทฯบันทึกภาษีเงินไดโดยคํานวณจากกําไรสุทธิทางภาษีตามกฎหมายภาษีอากร

4.16 ประมาณการหนี้สิน

บริษัทฯจะบันทึกประมาณการหนี้สินไวในบัญชีเมื่อภาระผูกพันซึ่งเปนผลมาจากเหตุการณในอดีตไดเกิดขึ้นแลว และมีความเปนไปไดคอนขางแนนอนวาบริษัทฯจะเสียทรัพยากรเชิงเศรษฐกิจไปเพื่อปลดเปลื้องภาระผูกพันนั้น และบริษัทฯสามารถประมาณมูลคาภาระผูกพันนั้นไดอยางนาเชื่อถือ

4.17 การใชประมาณการทางบญัชี

ในการจัดทํางบการเงินตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป ในบางสถานการณฝายบริหารอาจตองใชการประมาณการและการตั้งสมมติฐาน ซึ่งมีผลกระทบตอจํานวนเงินที่แสดงในงบการเงินและหมายเหตุประกอบงบการเงิน ดวยเหตุนี้ผลที่เกิดขึ้นจริงจึงอาจแตกตางไปจากจํานวนที่ประมาณไว

รับรองสําเนาถูกตอง

(รอยโทสุชาย เชาววิศิษฐ, นายสมพร สืบถวิลกุล) กรรมการผูมีอํานาจ

๔๓ รายงานประจาํป

5. เงินลงทนุในหลักทรัพย (หนวย: บาท)

2550 2549

ราคาทุน ราคายุติธรรม ราคาทุน ราคายุติธรรม

หลักทรัพยเพ่ือคา ตราสารทุน - หนวยลงทุน 8,000,000 8,000,857 - - บวก: กําไรท่ียังไมเกิดขึ้นจากการ เปลี่ยนแปลงมูลคาหลักทรัพย 857 - -

ตราสารทุน - หนวยลงทุนสุทธิ 8,000,857 8,000,857 - -

รวมหลักทรัพยเพ่ือคาสุทธิ 8,000,857 8,000,857 - -

หลักทรัพยเผือ่ขาย พันธบัตรรัฐบาล - - 20,376,125 20,072,961 บวก: ขาดทุนที่ยังไมเกิดขึ้นจากการ - - (303,164) -

พันธบัตรรัฐบาลสุทธิ - - 20,072,961 20,072,961

ตราสารทุน - หนวยลงทุน 213,004,363 213,581,843 139,993,522 143,536,989 บวก: กําไร(ขาดทุน)ที่ยังไมเกิดขึ้น จากการเปลี่ยนแปลงมูลคา หลักทรัพย (408,120) - 3,543,467 -

ตราสารทุน - หนวยลงทุนสุทธิ 212,596,243 213,581,843 143,536,989 143,536,989

รวมหลักทรัพยเผื่อขายสุทธิ 212,596,243 213,581,843 163,609,950 163,609,950

รับรองสําเนาถูกตอง

(รอยโทสุชาย เชาววิศิษฐ, นายสมพร สืบถวิลกุล) กรรมการผูมีอํานาจ

บริษทั กลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ จาํกดั ๔๔

(หนวย: บาท)

2550 2549

ราคาทุน ราคายุติธรรม ราคาทุน ราคายุติธรรม

ตราสารหนี้ที่จะถือไวจนครบกําหนด

พันธบัตรรัฐบาล 21,242,331 19,975,973 ต๋ัวเงินคลังรัฐบาล 159,242,258 - ต๋ัวแลกเงิน 90,000,000 - ตราสารหนี้ภาคเอกชน - หุนกู 23,070,612 14,985,670 พันธบัตรรัฐวิสาหกิจสุทธิ - 20,000,000

รวมตราสารหนี้ที่จะถือไวจนครบกําหนด

293,555,201 54,961,643

รวมเงินลงทนุในหลักทรัพย 514,152,301 218,571,593

เงินลงทุนในตราสารหนี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 มีระยะเวลาครบกําหนดดังนี:้ -

(หนวย: บาท) ครบกําหนดภายใน

1 ป 2 - 5 ป มากกวา 5 ป รวม

ตราสารหนี้ที่จะถือไวจนครบกําหนด พันธบัตรรัฐบาล - - 21,242,331 21,242,331

ต๋ัวเงินคลังรัฐบาล 159,242,258 - - 159,242,258 ต๋ัวแลกเงิน 60,000,000 30,000,000 - 90,000,000 ตราสารหนี้ภาคเอกชน - หุนกู - 11,667,000 11,403,612 23,070,612

รวม 219,242,258 41,667,000 32,645,943 293,555,201

6. เงินสดและเงินฝากสถาบนัการเงนิ (หนวย: บาท)

2550 2549 เงินสด 2,305,000 2,263,151 เงินฝากธนาคารประเภทกระแสรายวัน 8,451,003 13,325,705 เงินฝากธนาคารประเภทออมทรัพย 52,580,989 48,061,068 เงินฝากธนาคารประเภทจายคืนเมื่อส้ินกําหนดระยะเวลา 363,605,504 443,601,485

รวมเงินสดและเงินฝากสถาบันการเงิน 426,942,496 507,251,409

รับรองสําเนาถูกตอง

(รอยโทสุชาย เชาววิศิษฐ, นายสมพร สืบถวิลกุล) กรรมการผูมีอํานาจ

๔๕ รายงานประจาํป

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 เงินฝากธนาคารจํานวน 3.5 ลานบาท (2549: 3.5 ลานบาท) ไดถูกนําไปวางไวกับนายทะเบียนกรมการประกันภัยเพื่อเปนหลักทรัพยค้ําประกันตามพระราชบัญญัติประกันวินาศภัย พ.ศ. 2535

เงินฝากธนาคารจํานวน 20 ลานบาท ไดถูกนําไปวางไวกับธนาคารพาณิชยแหงหนึ่งเพื่อค้ําประกันสินเชื่อวงเงินเบิกเกินบัญชีที่ไดรับจากธนาคาร

7. อุปกรณ

(หนวย: บาท) เครื่องตกแตง

ติดต้ัง สวนปรับปรุง และอุปกรณ

อาคารเชา สํานักงาน ยานพาหนะ รวม

ราคาทุน 31 ธันวาคม 2549 26,278,947 76,990,921 9,643,197 112,913,065 ซื้อเพิ่ม 6,859,963 21,170,570 53,178 28,083,711 จําหนาย/ตัดจําหนาย (263,931) (6,905,547) (3,391,309) (10,560,787)

31 ธันวาคม 2550 32,874,979 91,255,944 6,305,066 130,435,989

คาเส่ือมราคาสะสม 31 ธันวาคม 2549 23,188,278 52,664,800 7,527,590 83,380,668 คาเส่ือมราคาสําหรับป 1,670,228 11,050,970 866,928 13,588,126 คาเส่ือมราคาสวนที่จําหนาย/ตัดจําหนาย (262,197) (6,523,506) (3,391,308) (10,177,011)

31 ธันวาคม 2550 24,596,309 57,192,264 5,003,210 86,791,783

มูลคาสุทธิตามบัญชี 31 ธันวาคม 2549 3,090,669 24,326,121 2,115,607 29,532,397

31 ธันวาคม 2550 8,278,670 34,063,680 1,301,856 43,644,206

คาเส่ือมราคาที่รวมอยูในงบกําไรขาดทนุสําหรับป 2549 9,811,535

2550 13,588,126

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 บริษัทมีอุปกรณและยานพาหนะจํานวนหนึ่งซึ่งตัดคาเส่ือมราคาท้ังจํานวนแลวแตยังคงใชงานอยู ราคาทุนกอนหักคาเส่ือมราคาสะสมของสินทรัพยดังกลาวมีจํานวนเงิน 66 ลานบาท (2549: 65 ลานบาท)

รับรองสําเนาถูกตอง

(รอยโทสุชาย เชาววิศิษฐ, นายสมพร สืบถวิลกุล) กรรมการผูมีอํานาจ

บริษทั กลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ จาํกดั ๔๖

8. เบี้ยประกันภยัคางรับ

เบี้ยประกันภัยคางรับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 สามารถแยกตามอายุหนี้ดังนี้: -

(หนวย: บาท)

ระยะเวลาคางชําระ 2550 2549

คางรับไมเกินระยะเวลา 90 วัน 35,153,080 43,832,993

9. ลูกหนี้และเจาหนี้บริษัทสมาชิกฯจากการปดบัญชีกองกลางฯ

ในที่ประชุมวิสามัญครั้งที่ 2/2548 เมื่อวันที่ 27 ธันวาคม 2548 บริษัทสมาชิกฯไดมีมติใหยกเลิกกองกลางรับประกันภัยรถจักรยานยนตภาคบังคับโดยใหมีผลต้ังแตวันที่ 1 มกราคม 2549 เปนตนไป ดังนั้น กองกลางฯ บันทึกเบี้ยประกันภัยตอจากบริษัทฯและบริษัทสมาชิกฯส้ินสุด ณ วันที่ 31 ตุลาคม 2548 ทั้งนี้ ใหรับรู เบี้ยประกันภัยที่ถือเปนรายได และคาสินไหมทดแทนสําหรับคาเสียหายที่เกิดเหตุถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2548

เมื่อวันที่ 13 กันยายน 2549 ที่ประชุมบริษัทสมาชิกฯของกองกลางฯ ไดทําการรับรองยอดปดบัญชีกองกลางฯ ดังนั้น บริษัทฯ จึงนําลูกหนี้คาเบี้ยประกันภัยตอคางรับไปหักจากรายการคางจายเกี่ยวกับการประกันภัยตอปรากฏเปนยอดลูกหนี้หรือเจาหนี้บริษัทสมาชิกฯจากการปดบัญชีกองกลางฯ เพื่อรับและจายคืนบริษัทสมาชิกฯ ตอไป

10. รายการธุรกิจกับกิจการที่เกี่ยวของกัน

บริษัทฯไดรับอนุมั ติจากคณะรัฐมนตรีใหประกอบธุรกิจประกันวินาศภัยเฉพาะการประกันภัย รถจักรยานยนต ตามพระราชบัญญัติคุมครองผูประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 โดยผูถือหุนของบริษัทฯ ประกอบดวยบริษัทประกันวินาศภัยที่ประกอบธุรกิจรับประกันภัยรถตามพระราชบัญญัติฯ รวมทั้งส้ิน 68 บริษัทซึ่งรายการธุรกิจสวนใหญประกอบดวย เงินทดรองจายคาสินไหมทดแทนท่ีบริษัทฯจะจายทดรองใหกับผูประสบภัยแทนบริษัทประกันภัยโดยบริษัทประกันภัยทั้งหมดจะตองสงเงินสมทบใหกับบริษัทฯ ในอัตรา รอยละ 2.25 ของเบี้ยประกันภัยรถยนตประเภทอื่นที่ไดรับจากผูเอาประกันภัยตามพระราชบัญญัติคุมครองผูประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 ของแตละบริษัทและตองจัดสรรเงินเพื่อสํารองจายคาสินไหมทดแทนเปนจํานวนสองเทาของคาเฉล่ียการจายเงินคาสินไหมทดแทนท่ีบริษัทฯไดจายใหแกบริษัทประกันภัยเหลานั้นเปนเงินสํารองจายคาสินไหมไวกับบริษัทฯ นอกจากนี้บริษัทฯจะไดรับคาธรรมเนียมในการจัดการสําหรับการดําเนินการจายคาสินไหมทดแทนลวงหนาแกบริษัทประกันภัยเหลานั้นกรณีละ 300 บาท

รับรองสําเนาถูกตอง

(รอยโทสุชาย เชาววิศิษฐ, นายสมพร สืบถวิลกุล) กรรมการผูมีอํานาจ

๔๗ รายงานประจาํป

รายการระหวางกันที่มีสาระสําคัญสามารถสรุปไดดังนี:้ -

(หนวย: บาท)

2550 2549

รายการธุรกิจกับบริษัทที่เกี่ยวของกัน

รายไดเงินสมทบรับ 226,371,974 214,813,729 รายไดคาธรรมเนียมการจัดการ 11,991,407 4,519,750

ยอดคงคางของรายการขางตนไดแสดงแยกตางหากในงบดุล

11. เงินสมทบคางรับ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 เงินสมทบคางรับสามารถแยกตามอายุหนี้ไดดังนี้

(หนวย: บาท)

2550 2549

คางรับไมเกินระยะเวลา 90 วัน 56,523,306 55,375,556 คางรับเกินระยะเวลา 90 วัน 5,432,249 10,162,235 คางรับเกินระยะเวลา 1 ป 12,921,571 111,780

74,877,126 65,649,571 หัก: คาเผื่อหนีส้งสัยจะสูญ (13,354,413) -

เงินสมทบคางรับ - สุทธิ 61,522,713 65,649,571

12. เงินทดรองจายคาสินไหมทดแทน

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 เงินทดรองจายคาสินไหมทดแทนสามารถแยกตามอายุหนี้ดังนี้: -

(หนวย: บาท)

ระยะเวลาคางชําระ 2550 2549

คางรับไมเกินระยะเวลา 30 วัน 102,256,942 82,530,924 คางรับไมเกินระยะเวลา 60 วัน 16,759,137 16,097,602 คางรับเกินระยะเวลา 60 วัน 67,861,335 96,156,566

186,877,414 194,785,092 หัก: คาเผื่อหนีส้งสัยจะสูญ (55,993,318) (70,552,614)

เงินทดรองจายคาสินไหมทดแทน - สุทธิ 130,884,096 124,232,478

รับรองสําเนาถูกตอง

(รอยโทสุชาย เชาววิศิษฐ, นายสมพร สืบถวิลกุล) กรรมการผูมีอํานาจ

บริษทั กลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ จาํกดั ๔๘

13. เบี้ยประกันภยัรับรับคืนจากกองกลางฯ

ในที่ประชุมวิสามัญครั้งที่ 2/2548 เมื่อวันที่ 27 ธันวาคม 2548 บริษัทสมาชิกฯไดมีมติใหยกเลิกกองกลางรับประกันภัยรถจักรยานยนตภาคบังคับโดยใหมีผลต้ังแตวันที่ 1 มกราคม 2549 เปนตนไป ดังนั้น กองกลางฯจะบันทึกเบ้ียประกันภัยตอจากบริษัทฯและบริษัทสมาชิกฯส้ินสุด ณ วันที่ 31 ตุลาคม 2548 โดยรับรูเบี้ยประกันภัยที่ถือเปนรายไดถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2548 และเบี้ยประกันภัยที่ยังไมถือเปนรายไดที่ตอชวงใหกับกองกลางฯต้ังแตวันที่ 1 มกราคม 2548 ถึงวันที่ 31 ตุลาคม 2548 จํานวน 346.3 ลานบาท เปนเบี้ยประกันภัยรับรับคืนจาก กองกลางฯ

14. หนี้สงสัยจะสูญ

บริษัทฯสมาชิกบางบริษัทไดบอกเลิกสัญญากับกองกลางฯ ทําใหบริษัทฯมีเงินคางรับเกี่ยวกับการประกันภัยตอและเงินทดรองจายคาสินไหมแทนบริษัทสมาชิกฯเปนจํานวนมาก ดังนั้น บริษัทฯไดบันทึก หนี้สงสัยจะสูญตามหลักเกณฑการสํารองหนี้ที่มียอดคางชําระ

15. ภาษีเงนิไดนติิบุคคล

ภาษีเงินไดนิติบุคคลสําหรับป 2550 และ 2549 คํานวณขึ้นในอัตรารอยละ 30 ของกําไรสุทธิหลังจากบวกกลับดวยคาใชจายตาง ๆ ที่ไมอนุญาตใหถือเปนรายจายในการคํานวณภาษี

16. กําไรตอหุน

กําไรตอหุนขั้นพื้นฐานคํานวณโดยการหารกําไรสุทธิสําหรับปดวยจํานวนถัวเฉล่ียถวงน้ําหนักของ หุนสามัญที่ออกอยูในระหวางป

17. งบกระแสเงินสด

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดตามที่แสดงอยูในงบกระแสเงินสดประกอบดวยรายการดังตอไปนี้: -

(หนวย: บาท) 2550 2549

เงินสดและเงินฝากสถาบันการเงิน 426,942,496 507,251,409 หัก: เงินฝากธนาคารท่ีถึงกําหนดจายคืนเกนิกวา 3 เดือน และที่นําไปค้ําประกัน (323,605,504) (333,601,485)

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด 103,336,992 173,649,924

18. ภาระผูกพัน

18.1 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 บริษัทฯมีภาระผูกพันตามสัญญาเชาระยะยาวเพื่อเชาพื้นที่อาคารสํานักงาน ทั้งสํานักงานใหญและสาขาจํานวน 76 แหง และคาบริการจํานวนเงินรวม 63.2 ลานบาท (2549: 13.8 ลานบาท)

18.2 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 บริษัทฯมีภาระผูกพันตามสัญญาเชารถยนตและสัญญาบริการตาง ๆ จาํนวนเงินรวม 3.5 ลานบาท (2549: 3.7 ลานบาท) รับรองสําเนาถูกตอง

(รอยโทสุชาย เชาววิศิษฐ, นายสมพร สืบถวิลกุล) กรรมการผูมีอํานาจ

๔๙ รายงานประจาํป

19. กองทนุสํารองเล้ียงชีพ

บริษัทฯและพนักงานบริษัทฯไดรวมกันจัดต้ังกองทุนสํารองเลี้ยงชีพขึ้นตามพระราชบัญญัติกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 โดยบริษัทฯและพนักงานจะจายสมทบเขากองทุนเปนรายเดือนในอัตรารอยละ 5 ของเงินเดือน กองทุนสํารองเลี้ยงชีพนี้บริหารโดยธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) และจะจายใหแกพนักงานเมื่อพนักงานนั้นออกจากงานตามระเบียบวาดวยกองทุนของบริษัทฯ ในระหวางป 2550 บริษัทฯจายเงินสมทบเขากองทุนฯเปนจํานวนเงินประมาณ 4.2 ลานบาท (2549: 4.1 ลานบาท)

20. หนังสือค้ําประกันจากธนาคาร

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 บริษัทฯมีหนังสือค้ําประกันที่ออกโดยธนาคารในนามบริษัทฯเหลืออยูเปนจํานวนเงิน 0.2 ลานบาท (2549: 0.2 ลานบาท) ซึ่งเกี่ยวเนื่องกับภาระผูกพันทางปฏิบัติบางประการตามปกติธุรกิจของบริษัทฯ

21. การเสนอขอมูลทางการเงนิจําแนกตามสวนงาน

บริษัทฯดําเนินกิจการในสวนงานทางธุรกิจเดียวคือธุรกิจประกันวินาศภัยและดําเนินธุรกิจในสวนงานทางภูมิศาสตรเดียวคือในประเทศไทย ดังนั้น รายได กําไรและสินทรัพยทั้งหมดที่แสดงในงบการเงินจึงเกี่ยวของกับสวนงานธุรกิจและสวนงานทางภูมิศาสตรตามท่ีกลาวไว

22. เครื่องมือทางการเงนิ

22.1 นโยบายการบริหารความเส่ียง

ตามมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 48 เรื่องการแสดงรายการและการเปดเผยขอมูลสําหรับเครื่องมือ ทางการเงิน บริษัทฯมีเครื่องมือทางการเงินที่สําคัญที่แสดงในงบดุลประกอบดวย เงินฝากสถาบันการเงิน เบี้ยประกันภัยคางรับ เงินคางรับ/คางจายบริษัทสมาชิกฯ เงินลงทุนในหลักทรัพยและเงินใหกูยืม บริษัทฯมีความเส่ียงที่เกี่ยวของกับเครื่องมือทางการเงินดังกลาว และมีนโยบายในการบริหารความเส่ียงดังนี้

ความเส่ียงดานการใหสินเช่ือ

ความเส่ียงเกี่ยวกับการกระจุกตัวของสินเชื่อซึ่งเกิดจากเบ้ียประกันภัยคางรับไมมีสาระสําคัญ เนื่องจากผูเอาประกันภัยของบริษัทฯกระจายอยูในอุตสาหกรรมที่แตกตางกันและภูมิภาคตางๆในประเทศ และมูลคาสูงสุดของความเส่ียงคือมูลคาตามบัญชีของสินทรัพยดังกลาวหักดวยคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญตามที่แสดงไวในงบดุล

ความเส่ียงดานอัตราดอกเบี้ย

บริษัทฯมีความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยที่ สําคัญอันเกี่ยวเนื่องกับเงินฝากสถาบันการเงินและ เงินลงทุนในหลักทรัพย อยางไรก็ตาม เนื่องจากสินทรัพยทางการเงินสวนใหญมีอัตราดอกเบี้ยที่ปรับ ขึ้นลงตามอัตราตลาด หรือมีอัตราดอกเบ้ียคงที่ซึ่งใกลเคียงกับอัตราตลาดในปจจุบัน บริษัทฯจึงมิไดใช ตราสารอนุพันธเพื่อบริหารความเส่ียงจากอัตราดอกเบี้ยดังกลาว

รับรองสําเนาถูกตอง

(รอยโทสุชาย เชาววิศิษฐ, นายสมพร สืบถวิลกุล) กรรมการผูมีอํานาจ

บริษทั กลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ จาํกดั ๕๐

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 สินทรัพยทางการเงินที่สําคัญสามารถจัดตามประเภทอัตราดอกเบี้ยไดดังนี้

(หนวย: บาท) ราคาตามบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550

อัตราดอกเบี้ยปรับ ขึ้นลงตามอัตรา

ตลาด อัตราดอกเบี้ยคงที่

เงินฝากสถาบันการเงิน 63,325,210 363,617,286 เงินลงทุนในหลักทรัพย - สุทธิ - พันธบัตรรัฐบาล - 21,242,331 - ต๋ัวเงินคลังรัฐบาล - 159,242,258 - ต๋ัวแลกเงิน - 90,000,000 - ตราสารหนี้ภาคเอกชน - หุนกู - 23,070,612

รวม 63,325,210 657,172,487

สินทรัพยทางการเงินที่มีอัตราดอกเบี้ยคงที่สามารถแยกตามวันที่ครบกําหนดหรือวันที่มีการกําหนดอัตราดอกเบี้ยใหม (หากวันที่มีการกําหนดอัตราดอกเบี้ยใหมถึงกอน) ไดดังนี้

(หนวย: บาท)

ภายใน 1 ป 2 ป - 5 ป เกิน 5 ป รวม อัตราดอกเบ้ีย (รอยละตอป) เงินฝากสถาบันการเงิน 343,605,504 20,000,000 - 363,605,50

4 2.25% - 5.00%

เงินลงทุนในหลักทรัพย - สุทธิ - พันธบัตรรัฐบาล - - 21,242,331 21,242,331 5.40% - ตั๋วเงินคลังรัฐบาล 159,242,258 - - 159,242,25

8 3.10% - 5.50%

- ตั๋วแลกเงิน 60,000,000 30,000,000 - 90,000,000 3.25% - 4.75%

- ตราสารหน้ีภาคเอกชน - หุนกู 1,667,000 10,000,000 11,403,612 23,070,612 3.67% - 7.40%

รวม 564,514,762 60,000,000 32,645,943 657,160,705

รับรองสําเนาถูกตอง

(รอยโทสุชาย เชาววิศิษฐ, นายสมพร สืบถวิลกุล) กรรมการผูมีอํานาจ

๕๑ รายงานประจาํป

22.2 มูลคายุติธรรม

วิธีการกําหนดมูลคายุติธรรมขึ้นอยูกับลักษณะของเครื่องมือทางการเงิน มูลคายุติธรรมจะกําหนดจากราคาตลาดลาสุด แตหากไมสามารถหาราคาตลาดท่ีเหมาะสมได มูลคายุติธรรมจะกําหนดขึ้นโดยใชเกณฑการวัดมูลคาที่เหมาะสม

บริษัทฯใชวิธีการและขอสมมติฐานในการประมาณมูลคายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงินดังนี้: -

หลักทรัพยในความตองการของตลาด มูลคายุติธรรมถือตามราคาที่ซื้อขายกันในตลาด

เงินฝากสถาบันการเงิน พันธบัตร ต๋ัวเงินคลัง ต๋ัวเงินและหุนกู ซึ่งมีระยะเวลาครบกําหนดเหลือ นอยกวา 90 วัน มูลคายุติธรรมถือตามราคาที่แสดงในงบดุล สวนที่เกิน 90 วัน ประมาณโดยวิธีการหาสวนลดกระแสเงินสด โดยพิจารณาอัตราดอกเบี้ยปจจุบันและอายุสัญญาคงเหลือ

เงินคางรับ/คางจายบริษัทสมาชิกฯ มูลคายุติธรรมถือตามมูลคาสุทธิตามท่ีแสดงในงบดุล

23. การอนุมัติงบการเงิน

งบการเงินนี้ไดรับอนุมัติใหออกโดยคณะกรรมการของบริษัทฯเมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2551

รับรองสําเนาถูกตอง

(รอยโทสุชาย เชาววิศิษฐ, นายสมพร สืบถวิลกุล) กรรมการผูมีอํานาจ

บริษทั กลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ จาํกดั ๕๒

๕๓ รายงานประจาํป

ก ิจกรรมเดนในรอบป ๒๕๕๐ บริษัทกลางฯ รับพระราชทานรางวัล “เทพทอง”

พลอากาศเอก กําธน สินธวานนท องคมนตรี ผูแทนพระองค เปนประธานมอบรางวัล “เทพทอง” ประเภทองคกรดีเดน แก บริษัท

กลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ จํากัด โดยมีกรรมการผูจัดการ เปนผูรับมอบ ในพิธีพระราชทานรางวัลเทพทอง ครั้งท่ี 9 จัดโดยสมาคมนักวิทยุและโทรทัศนแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ ณ หอประชุมกรมประชาสัมพันธ เมื่อวันท่ี 11 มีนาคม 2551

บริษัทกลางฯ รวมเปดโครงการหมวกนิรภัยตราสัญลักษณ ๘๐ พรรษา

กรรมการผูจัดการ บริษัท กลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ จํากัด รับมอบโลประกาศเกียรติคุณของนายกรัฐมนตรี โดยมีพลตํ า ร ว จ โ ท ธี ร วุ ฒิ บุ ต ร ศ รี ภู มิ รั ฐ ม น ต รี ช ว ย ว า ก า รกระทรวงมหาดไทย เปนผูมอบในพิธี เปดโครงการ “ขับข่ีปลอดภัย รวมใสหมวกนิรภัย เพื่อเฉลิมฉลอง ๘๐ พรรษา” ณ ลานคนเมือง ศาลาวาการกรุงเทพมหานคร โดยความรวมมือของบริษัท กลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ จํากัด กับหนวยงานภาครัฐและเอกชน จํานวน 80 หนวยงาน ในการจัดทําหมวกนิรภัยสีเหลือง ติดตราสัญลักษณ ๘o พรรษา จํานวน 80,000 ใบ

จําหนายใหประชาชนทั่วประเทศ ในราคาใบละ 80 บาท รายไดท้ังหมดมอบใหมูลนิธิชัยพัฒนาโดยมิหักคาใชจาย

บริษัทกลางฯ รับรางวัลเกียรติยศ “รางวัลผูบําเพ็ญประโยชนตอสาธารณชนดานประกันภัย”

พลเอก สุรยุทธ จุลานนท นายกรัฐมนตรี เปนประธานมอบรางวัลแก บริษัท กลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ จํากัด โดยมี กรรมการผู จัดการ เปนผู รับมอบ รางวัลบริษัทผูบําเพ็ญประโยชนตอสาธารณชนดานประกันภัย ในพิธีประกาศเกียรติคุณและมอบรางวัลผูประกอบการธุรกิจประกันภัยดีเดน ประจําป 2549 ณ ตึกสันติไมตรี ทําเนียบรัฐบาล เมื่อวันท่ี 23 เมษายน 2550

บริษทั กลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ จาํกดั ๕๔ บริษทั กลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ จาํกดั ๕๔

บริษัทกลางฯ รวมงาน “สัมมนาอุบัติเหตุจราจรระดับชาติ คร้ังท่ี 8”

บริษัท กลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ จํากัด รวมกิจกรรมงานสัมมนาระดับชาติ เรื่องอุบัติเหตุจราจร ครั้งท่ี 8 “ทองถิ่น ชุมชน ถนนปลอดภัย รวมใจลดอุบัติเหตุ” โดยมีกรรมการผูจัดการ บรรยายใหความรูเกี่ยวกับเรื่องประสบภัยจากรถจะไดรับความคุมครองอยางไร และบริษัทกลางฯ รวมจัดบูธกิจกรรมประชาสัมพันธใหความรูเรื่องสิทธิประโยชนเกี่ยวกับ พ.ร.บ. คุมครองผูประสบภัยจากรถ ทําอยางไรเมื่อประสบภัยจากรถ รวมท้ังมีการรวมเลนเกมสแจกของรางวัลมากมาย บนเวทีใหญ ณ อิมแพคเมืองทองธานี เมื่ออวันท่ี 10-12 ตุลาคม 2550

พิธีลงนามความรวมมือ e – Claim ระบบสินไหมอัตโนมัติ

บริษัท กลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ จํากัด โดย

กรรมการผูจัดการ เปนตัวแทนลงนามบันทึกขอตกลงเรื่อง “ความรวมมือเพื่อพัฒนาการจายคาสินไหมทดแทนผานสื่อ

อิเล็คทรอนิกสสําหรับการประกันภัย” รวมกับกรมการประกันภัย กรมการแพทย สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ สมาคมโรงพยาบาลเอกชน สมาคมประกันวินาศภัยและกรุงเทพมหานคร ณ สโมสรทหารบก เมื่อวันท่ี 29 มีนาคม 2550 โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือยกระดับมาตรฐานการ

ใหบริการประชาชนดวยการนําระบบการจายคาสินไหมทดแทน

ผานส่ืออิเล็คทรอนิกสท่ีเรียกวา “ระบบสินไหมอัตโนมัติ หรือ

e – Claim System” ใหแกผูประสบภัย บริษัทกลางฯ รวมพัฒนาระบบบริการการแพทยฉุกเฉิน

บริษัท กลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ จํากัด โดย กรรมการผูจัดการ รวมกับกรมการประกันภัย กระทรวงพาณิชย สมาคมประกันวินาศภัย และสํานักการแพทย กรุงเทพมหานคร ลงนามขอตกลงความรวมมือ (MOU) พัฒนาระบบบริการก า รแพทย ฉุ ก เ ฉิ น และผู ป ร ะ สบภั ย จ าก รถ ใน เ ขต

กรุงเทพมหานคร ณ ศาลาวาการกรุงเทพมหานคร เมื่อวันท่ี 28

พฤษภาคม 2550 เพ่ือใหการชวยเหลือผูประสบภัยใหไดรับสิทธิ

ดานการรักษาอยางทันทวงที และไดรับการบริการท่ีดีท่ีสุด ภายใตความรวมมือดานการบริการ ระบบการจายสินไหมทดแทน และระบบขอมูลขาวสาร

๕๕ รายงานประจาํป

บริษัทกลางฯ รวมงาน “ประกันภัยหวงใยประชาชน ชวงเทศกาลสงกรานต”

กรมการประกันภัย รวมกับสมาคมประกันวินาศภัย และบริษัท กลางคุ มครองผู ประสบภัยจากรถ จํ ากัด จัดงาน “ประกันภัยหวงใยประชาชน ชวงเทศกาลสงกรานต 2550” โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือเตรียมความพรอมสําหรับความปลอดภัยของประชาชนและสนับสนุนมาตรการปองกันและลดอุบัติเหตุในชวงเทศกาลสงกรานต จัดขึ้นท่ีจังหวัดนครราชสีมา ขอนแกน ชลบุรี และท่ีกระทรวงพาณิชย ในชวงเดือนมีนาคม – เมษายน

2550

บริษัทกลางฯ สนับสนุนหมวกนิรภัยโครงการตํารวจสัมพันธ

กรรมการผูจัดการ มอบหมวกนิรภัยเด็กเพ่ือสนับสนุนกิจกรรมอาสาจราจรและชุดตํารวจจราจรสัมพันธ ของกองบังคับการตํารวจจราจร ท่ีจัดเพ่ือใหความรูความเขาใจในดานการจราจร การบังคับใชกฎหมาย แก เยาวชนในสถานศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร โดยมี พันตํารวจโทสงคราม เสง่ียมพักตร รองผูบังคับการ 5 กองบังคับการตํารวจจราจร เปนผูรับมอบ ณ บริษัท กลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ จํากัด สํานักงานใหญ เมื่อวันท่ี16 กรกฎาคม 2550

มอบหมวกนิรภัยใหตํารวจโครงการพระราชดําริ

บริษัท กลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ จํากัด โดย กรรมการผูจัดการ มอบหมวกนิรภัยจากโครงการ “ขับขี่ปลอดภัย

รวมใสหมวกนิรภัย เพ่ือเฉลิมฉลอง ๘๐ พรรษา” ใหกับตํารวจ

โครงการพระราชดําริ เพ่ือนําไปใชในการปฏิบัติราชการ โดยมี พันตํารวจเอกอํานวย นอยประเทศ เปนตัวแทนรับมอบ ณ สยามพารากอน เมื่อวันท่ี 5 ธันวาคม 2550

บริษทั กลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ จาํกดั ๕๖ บริษทั กลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ จาํกดั ๕๖

บริษัทกลางฯ รวมประชุมระหวางประเทศ

กรรมการผูจัดการ รวมกับผูแทนกรมการประกันภัย รวมประชุม The 8th Council of Bureaux Meeting ในระหวางวันท่ี 14- 17 พฤศจิกายน 2550 ท่ีกรุงกัวลาลัมเปอร

ประเทศมาเลเซีย

กรรมการผูจัดการ เปนตัวแทนประเทศไทย เขารวมการประชุมสัมมนา GRSP ASEAN ROAD SAFETY

SEMINAR ในระหวางวันท่ี 5 – 7 กันยายน 2550 ท่ีประเทศ

อินโดนีเซีย

บริษัทกลางฯ จัดกิจกรรมสรางสรรคประโยชนใหกับสังคม

เน่ืองในโอกาสครบรอบ 9 ปของบริษัทกลางฯ และเพื่อเปนการทําความดีถวายเปนพระราชสักการะ เน่ืองในวโรกาสมหามงคลท่ีพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงเจริญพระชนมพรรษา ๘๐ พรรษา

สมาคมชาวบริษัทกลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ จัดงานโบวล่ิงการกุศลเพื่อนําเงินรายไดมอบใหกับมูลนิธิ เ ด็กพิการซ้ํ าซอน เหย่ือเมาแลวขับ และสรางหองสมุดเด็กยากจนท่ีอําเภอปาย จังหวัดแมฮองสอน

กรรมการผูจัดการ เปนประธานเปดโครงการหองสมุดกลางฯ เฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา ท่ีชุมชนหมูบานทรายขาว ตําบลแมฮี้ อําเภอปาย จังหวัดแมฮองสอน เมื่อวันท่ี 10 พฤศจิกายน 2550

๕๗ รายงานประจาํป

ส าขาและสถานทีต่ั้ง

ภาคกรุงเทพ และปริมณฑล ผูจัดการภาค : นายกิตติศักดิ์ ทองอยู

โทร. 081-830-8982

สาขากรุงเทพมหานคร สาขานนทบุรี ผูจัดการสาขา คุณกิตตินันท ศิริศัพท ผูจัดการสาขา คุณเกียรติศักดิ์ สุวรรณพิมล 44/1 อาคารรุงโรจนธนกุล 104/43 ม.3 ถ.นนทบุรี 1 ชั้น11 ถ.รัชดาภิเษก แขวง-เขตหวยขวาง กทม.10310 ต.บางกระสอ อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000 โทร. 0-2643-0280 โทร. 0-2968-0057-8,0-2526-5677

โทรสาร. 0-2643-0293-4 โทรสาร. 0-2968-0059

สาขานครนายก สาขาสระบุรี ผูจัดการสาขา คุณกานต ไกรฤกษ ผูจัดการสาขา คุณวลีพร ดํานิล 74/20 ม.7 ถ.สุวรรณศร ต.บานใหญ อ.เมือง 158/15 ซ.1 ถ.พิชัยรณรงคสงคราม ต.ปากเพรียว จ.นครนายก 26000 อ.เมือง จ.สระบุรี 18000 โทร. 0-3732-0478-9 โทร. 0-363-14577,0-3631-4585

โทรสาร. 0-3732-0480 โทรสาร. 0-3631-4594

สาขาสมุทรปราการ สาขาพระนครศรีอยุธยา ผูจัดการสาขา คุณไตรศักดิ์ ชีวาลักขณาลิขิต ผูจัดการสาขา คุณธนพล ตะเพียนทอง 1/471 ม.2 ต.ทายบาน อ.เมือง 27/5 ม.2 ต.ธนู อ.อุทัย จ. สมุทรปราการ 10270 จ.พระนครศรีอยุธยา 13000 โทร. 0-2709-1567-8 โทร. 0-3534-5064-5

โทรสาร. 0-2709-1569 โทรสาร. 0-3534-5066

สาขาปทุมธานี ผูจัดการสาขา คุณเรณู สิงโตคาบแกว 52/43 ถ.ปทุมสามโคก ต.บางปรอก อ.เมือง จ.ปทุมธานี 12000 โทร. 0-2593-3770,0-2593-3772

โทรสาร. 0-2593-3771

บริษทั กลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ จาํกดั ๕๘

ภาคตะวันออก (ชลบุรี) ผูจัดการภาค : คุณสุภาพ ประดับการ

โทร. 081-752-2051

สาขาชลบุรี สาขาปราจีนบุรี ผูจัดการสาขา คุณเฉลิมชนม กวางวิริยะไพบูลย ผูจัดการสาขา คุณเพ็ญนภา วัฒนกิจวิชัย

7/4-5 ม.6 ถ.สุขุมวิท ต.นาเกลือ อ.บางละมุง 281/1 ถ.ราษฎรดําริ ต.หนาเมือง อ.เมือง

จ.ชลบุรี 20150 จ.ปราจีนบุรี 25000

โทร. 0-3837-0187-9,0-3837-0191 โทร. 0-3720-0086-7

โทรสาร. 0-3837-0663-4 ตอ 126 โทรสาร. 0-3720-0088

สาขาตราด สาขาระยอง ผูจัดการสาขา คุณกันยา บุญชากร ผูจัดการสาขา คุณบรรณกร รังษีสุวรรณ

70/1 ถ.ทาเรือจาง ต.วังกระแจะ อ.เมือง 6/30 ถ.สุขุมวิท ต.ทาประดู อ.เมือง

จ.ตราด 23000 จ.ระยอง 21000

โทร. 0-3953-0844-5 โทร. 0-3801-1512-3

โทรสาร. 0-3953-0846 โทรสาร. 0-3801-1514

สาขาสระแกว สาขาจันทบุรี ผูจัดการสาขา คุณฉัตรณรงค สมขุนทด ผูจัดการสาขา คุณสมเจต สงขาว 97/31 ถ.สุวรรณศร ต.หนาเมือง อ.เมือง 43/170 ถ.ตรีรัตน ม.6 ต.จันทนิมิต อ.เมือง จ.สระแกว 27000 จ.จันทบุรี 22000 โทร. 0-3722-0744,0-3722-0746 โทร. 0-3934-0291-2

โทรสาร. 0-3722-0745 โทรสาร. 0-3930-1832

สาขาฉะเชิงเทรา ผูจัดการสาขา คุณคุณัญญา แยมสรวล

476 ถ.ฉะเชิงเทรา-บางปะกง ต.หนาเมือง อ.เมือง

จ.ฉะเชิงเทรา 24000

โทร. 0-3881-2904-5

โทรสาร. 0-3881-2906

๕๙ รายงานประจาํป

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลาง (นครราชสีมา) ผูจัดการภาค : คุณสายจิตร สินปรุ

โทร. 081-975-2712

สาขานครราชสีมา สาขาอุบลราชธานี ผูจัดการสาขา คุณสมศรี คาทันเจริญ ผูจัดการสวน คุณพิบูลย คันธจันทร 1188-1190 ถ.มิตรภาพ ต.ในเมือง อ.เมือง 409/6-7 ถ.อุปลีสาน ต.ในเมือง อ.เมือง จ.นครราชสีมา 30000 จ.อุบลราชธานี 34000 โทร. 0-4426-3680-6 โทร. 0-4526-2676-7

โทรสาร. 0-4426-3680-6 ตอ 135 โทรสาร. 0-4526-2678

สาขายโสธร สาขาศรีสะเกษ ผูจัดการสาขา คุณบุญธรรม ศรีลําโกน ผูจัดการสาขา คุณกฤษฎา รัตนโกเศศ 58 ถ.วารีราชเดช ต.ในเมือง อ.เมือง 1579/12 ถ.ศรีสุมังค ต.เมืองใต อ.เมือง จ.ยโสธร 35000 จ.ศรีสะเกษ 33000 โทร. 0-4572-0980-1 โทร. 0-4562-0453-4

โทรสาร. 0-4572-0982 โทรสาร. 0-4562-0455

สาขาบุรีรัมย สาขาชัยภมูิ ผูจัดการสาขา คุณสวรส คําเจริญ ผูจัดการสาขา คุณธนดล สลิดชัย 491/1 ถ.จิระ ต.ในเมือง อ.เมือง 5/4 ม.8 ต.ในเมือง อ.เมือง จ.บุรีรัมย 31000 จ.ชัยภูมิ 36000 โทร. 0-4462-1108-9 โทร. 0-4483-4062-3

โทรสาร. 0-4462-1110 โทรสาร. 0-4483-4064

สาขาอํานาจเจริญ สาขาสุรินทร ผูจัดการสาขา คุณกรรณิการ เอกคณิต ผูจัดการสาขา คุณนภัสวรรณ บรรจงอักษร

328/22 ม.4 ถ.ชยางกูร ต.บุง อ.เมือง 13/8 ถ.หลักเมือง ต.ในเมือง อ.เมือง

จ.อํานาจเจริญ 37000 จ.สุรินทร 32000

โทร. 0-4527-0761-2 โทร. 0-4453-1688-9 โทรสาร. 0-4527-0763 โทรสาร. 0-4453-1690

สาขามุกดาหาร ผูจัดการสาขา คณุธวัชชัย แสงทอง 78/4 ถ.วิวิธสุรการ ต.มุกดาหาร อ.เมือง จ.มุกดาหาร 49000 โทร. 0-4263-2435-6 โทรสาร. 0-4263-2437

บริษทั กลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ จาํกดั ๖๐

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน (ขอนแกน) ผูจัดการภาค : คุณวรัิช วิสุทธ์ิวัฒนศักดิ์

โทร. 089-202-1690

สาขาขอนแกน สาขาเลย ผูจัดการสาขา คุณณรงค วงศกอ ผูจัดการสาขา คุณสมชาย ประกอบแกว 355/5-6 ม.17 ถ.มิตรภาพ ต.ในเมือง อ.เมือง 23/20 ถ.มะลิวัลย ต.กุดปอง อ.เมือง จ.ขอนแกน 40000 จ.เลย 42000 โทร. 0-4332-5580-4 โทร. 0-4283-3673-4

โทรสาร. 0-4332-5583 ตอ 149 โทรสาร. 0-4283-3675

สาขากาฬสินธุ สาขาหนองคาย ผูจัดการสาขา คุณชัยวัฒน ชุมมณเทียร ผูจัดการสาขา คุณนงลักษณ พิทักษกุล 45/5 ถ.กาฬสินธุ ต.กาฬสินธุ อ.เมือง 60/1 ม.5 ต.โพธิ์ชัย อ.เมือง จ.กาฬสินธุ 46000 จ.หนองคาย 43000 โทร. 0-4382-1472-3 โทร. 0-4246-5040-1

โทรสาร. 0-4382-1474 โทรสาร. 0-4246-5042

สาขาหนองบัวลําภู สาขานครพนม ผูจัดการสาขา คุณจิรพล เกณฑกิจ ผูจัดการสาขา คุณพัชรา วัฒนกุล 175/35 ม.2 ถ.วิไสยอุดรกิจ ต.หนองบัว อ.เมือง 133/3 ถ.บํารุงเมือง ต.ในเมือง อ.เมือง จ.หนองบัวลําภู 39000 จ.นครพนม 48000 โทร. 0-4236-0950-1 โทร. 0-4252-1223-4

โทรสาร. 0-4236-0952 โทรสาร. 0-4252-1225

สาขาสกลนคร สาขามหาสารคาม ผูจัดการสาขา คุณปรียา ฉัตรวิจิตร ทองมาก ผูจัดการสาขา คุณศิริมาศ ชูประสูติ 1604/106 ถ.สุขเกษม ต.ธาตุเชิงชุม อ.เมือง 345/2 ถ.ถีนานนท ต.ตลาด อ.เมือง จ.สกลนคร 47000 จ.มหาสารคาม 44000 โทร. 0-4273-6155-6 โทร. 0-4374-3256-7

โทรสาร. 0-4273-6157 โทรสาร. 0-4374-3258

สาขาอุดรธานี สาขารอยเอ็ด ผูจัดการสาขา คุณเรณู คงวิญญา ผูจัดการสาขา คุณอภิสิทธ์ิ ศรีเพ็งตา

599/31 ม.2 (หมูบานไพลินวิลลา) ถ.โพธิ์ศรี 264 ม.11 ต.เหนือเมือง อ.เมือง

ต.หมากแขง อ.เมือง จ.อุดรธานี จ.รอยเอ็ด 45000 โทร. 0-4234-8252-3 โทร. 0-4352-2272-3

โทรสาร. 0-4234-8254 โทรสาร. 0-4352-2274

๖๑ รายงานประจาํป

ภาคเหนือตอนบน (เชียงใหม) ผูจัดการภาค : คุณธานินทร วงศรักไทย

โทร. 081-785-6982

สาขาเชียงใหม สาขาเชียงราย ผูจัดการสาขา คุณบรรลือ พักนา ผูจัดการสาขา คุณประสิทธ์ิ จินะ 168/3-4 ถ.เชียงใหม-ลําปาง ต.ปาตัน อ.เมือง 766/18 ม.3 ถ.หนองบัว ต.รอบเวียง อ.เมือง จ.เชียงใหม 50300 จ.เชียงราย 57000 โทร. 0-5321-8165-7 โทร. 0-5374-2900-1

โทรสาร. 0-5335-8224 โทรสาร. 0-5374-2902

สาขาแพร สาขาลําพูน ผูจัดการสาขา คุณอภิชญา วรรณภัย ผูจัดการสาขา คุณคณัญญา นันจันทร 400/252 ม.2 ถ.กาดน้ําทอง ต.นาจักร อ.เมือง 269/4 ม.4 ต.ปาสัก อ.เมือง จ.แพร 54000 จ.ลําพูน 51000 โทร. 0-5462-8056-7 โทร. 0-5353-7722-3

โทรสาร. 0-5462-8058 โทรสาร. 0-5353-7724

สาขาแมฮองสอน สาขาลําปาง ผูจัดการสาขา คุณชาคริต ทวีวัฒน ผูจัดการสาขา คุณเอกพงศ ปติจะ 22/7-8 ถ.ปางลอนิคม ต.จองคํา อ.เมือง 138/101-102 ถ.พหลโยธิน ต.สวนดอก จ.แมฮองสอน 58000 อ.เมือง จ.ลําปาง 52100 โทร. 0-5362-0670-1 โทร. 0-5431-7442-3

โทรสาร. 0-5362-0672 โทรสาร. 0-5431-7454

สาขาพะเยา สาขาตาก ผูจัดการสาขา คุณวัชรี เต็มพันธ ผูจัดการสาขา คุณเนตรนภิศ แกวปองปก 15/6 ถ.ประตูชัย ต.เวียง อ.เมือง 2/84 ถ.มหาดไทยบํารุง ต.หนองหลวง อ.เมือง จ.พะเยา 56000 จ.ตาก 63000 โทร. 0-5441-1320-1 โทร. 0-5554-0400,0-5554-0460

โทรสาร. 0-5441-1325 โทรสาร. 0-5554-0466

สาขานาน ผูจัดการสาขา คุณกิตติเดช กองยักษี 531 ม.4 ถ.นาน-พะเยา ต.ไชยสถาน อ.เมือง จ.นาน 55000 โทร. 0-5474-1967,0-5474-1970

โทรสาร. 0-5474-1971

บริษทั กลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ จาํกดั ๖๒

ภาคเหนือตอนลาง (พิจติร) ผูจัดการภาค : คุณสุรัตน รุงอาร ี

โทร. 084-751-1409

สาขาพิจิตร สาขาพิษณุโลก ผูจัดการสาขา คุณศิริชัย จันทรมณี ผูจัดการสาขา คุณสิงหนาท นาคอาจหาญ 4/238-239 ถ.สระหลวง ต.ในเมือง อ.เมือง 793/13 ถ.บรมไตรโลกนาถ 2 ต.ในเมือง จ.พิจิตร 66000 อ.เมือง จ.พิษณุโลก 65000 โทร. 0-5665-6033 โทร. 0-5521-7222,0-5521-7916

โทรสาร. 0-5665-6033 ตอ163 โทรสาร. 0-5528-4528

สาขาอุทัยธานี สาขาเพชรบูรณ ผูจัดการสาขา คุณนวลจันทร เมืองแกว ผูจัดการสาขา คุณสมภพ ภูพิพัฒนวิบูลย 90/36 ถ.เติบศิริ ต.อุทัยใหม อ.เมือง 3/44 ถ.สามัคคีภัย ต.ในเมือง อ.เมือง จ.อุทัยธานี 61000 จ.เพชรบูรณ 67000 โทร. 0-5652-4901-2 โทร. 0-5674-4285-6

โทรสาร. 0-5652-4903 โทรสาร. 0-5674-4287

สาขาสุโขทัย สาขาชัยนาท ผูจัดการสาขา คุณเยาวเรศ นะสุข ผูจัดการสาขา คุณสายันณ โทดวง 133/10 ถ.สิงหวัฒน ต.ธานี อ.เมือง 302/4 ม.5 ถ.พหลโยธิน ต.บานกลวย อ.เมือง จ.สุโขทัย 64000 จ.ชัยนาท 17000 โทร. 0-5562-2264-5 โทร. 0-5642-1664-5

โทรสาร. 0-5562-2266 โทรสาร. 0-5642-1666

สาขานครสวรรค สาขาอุตรดิตถ ผูจัดการสาขา คุณกานตพิชชา มีสิงห ผูจัดการสาขา คุณนารีรัตน สุขเอม

434/44 ม.10 ต.นครสวรรคตก อ.เมือง 9/2 ถ.พาดวารี ต.ทาอิฐ อ.เมือง

จ.นครสวรรค 60000 จ.อุตรดิตถ 53000

โทร. 0-5631-3485-6 โทร. 0-5544-0960,0-5544-0921

โทรสาร. 0-5631-3487 โทรสาร. 0-5544-0964

สาขากําแพงเพชร ผูจัดการสาขา คุณลัดดาวัลย นาสมกบ 73 ถ.กําแพงเพชร ต.ในเมือง อ.เมือง จ.กําแพงเพชร 62000 โทร. 0-5572-2744-5

โทรสาร. 0-5572-2746

๖๓ รายงานประจาํป

ภาคกลาง (สุพรรณบุรี) ผูจัดการภาค : คุณพิพิธ ภักดีไทย

โทร. 081-928-4222

สาขาสุพรรณบุรี สาขาลพบุรี ผูจัดการสาขา คุณพงศปณต ทองดวง ผูจัดการสาขา คุณประมวล สระสงฆ 222/1-2 ม.4 ถ.มาลัยแมน 92/5-6 ม.3 ถ.พหลโยธิน ต.ทาศาลา อ.เมือง ต.สนามชัย อ.เมือง จ.สุพรรณบุรี 72000 จ.ลพบุรี 15000 โทร. 0-3552-2802 โทร. 0-3661-6007-8

โทรสาร. 0-3550-0693 โทรสาร. 0-3661-6009

สาขาอางทอง สาขากาญจนบุรี ผูจัดการสาขา คุณอัชราช ผดุงเจริญ ผูจัดการสาขา คุณวัชรินทร โกงเหลง 82/4 ม.1 ต.ยานซื่อ อ.เมือง 593 ถ.แสงชูโตใต ต.ปากแพรก อ.เมือง จ.อางทอง 14000 จ.กาญจนบุรี 71000 โทร. 0-3562-6075-6 โทร. 0-3462-2825-6

โทรสาร. 0-3562-6073 โทรสาร. 0-3462-2827

สาขาสมุทรสาคร สาขานครปฐม ทําการแทนผูจัดการสาขา คุณพิพิธ ภักดีไทย ผูจัดการสาขา คุณนํ้าผึ้ง สกุลชีพวัฒนา 927/29 ถ.เศรษฐกิจ 1 ต.มหาชัย อ.เมือง 22/8 ม.6 ต.พระประโทน อ.เมือง จ.สมุทรสาคร 74000 จ.นครปฐม 73000 โทร. 0-3481-0568-9 โทร. 0-3421-2425-6

โทรสาร. 0-3481-0570 โทรสาร. 0-3421-2427

สาขาสมุทรสงคราม สาขาสิงหบุรี ผูจัดการสาขา คุณพรชัย นุตตะโร ผูจัดการสาขา คุณจินตนา ฮวดกระโทก 10/100 ถ.เอกชัย ต.แมกลอง อ.เมือง 153/18 ถ.นายแทน ต.บางมัญ อ.เมือง จ.สมุทรสงคราม 75000 จ.สิงหบุรี 16000 โทร. 0-3472-0601-2 โทร. 0-3653-0901-2

โทรสาร. 0-3472-0603 โทรสาร. 0-3653-0903

สาขาเพชรบุรี สาขาราชบุรี ผูจัดการสาขา คุณพัชราดิษฐ จันทรางกูร ผูจัดการสาขา คุณพนิตตา ปยนันทโรจนกุล 2/89-90 ม.1 ต.ไรสม อ.เมือง 159/25 ถ.เพชรเกษม ต.หนาเมือง อ.เมือง จ.เพชรบุรี 76000 จ.ราชบุรี 70000 โทร. 0-3241-0564-5 โทร. 0-3231-9872-3

โทรสาร. 0-3241-0566 โทรสาร. 0-3231-9874

บริษทั กลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ จาํกดั ๖๔

ภาคใตตอนบน (สุราษฎรธานี) ผูจัดการภาค : คุณพรชัย บุญศรีโรจน

โทร. 081-970-7280

สาขาสุราษฎรธานี สาขาชุมพร ผูจัดการสาขา คุณพิศิษฐ วิบูลยศิลป ผูจัดการสาขา คุณรจนา วิบูลยศิลป

1/57-58 ม.3 ถ.ศรีวิชัย ต.มะขามเตี้ย อ.เมือง 56/6 ม.11 ต.วังไผ อ.เมือง

จ.สุราษฎรธานี 84000 จ.ชุมพร 86000

โทร. 0-7726-4257-9 โทร. 0-7757-4899-900

โทรสาร. 0-7726-4257 ตอ 186 โทรสาร. 0-7757-4901

สาขานครศรีธรรมราช สาขากระบี่ ผูจัดการสาขา คุณอํานวย แกวมณี ผูจัดการสาขา คุณสมพงศ ศรีสะอาด

114 ,116 ถ.นคร-ปากพนัง ต.ในเมือง อ.เมือง 434/14 ถ.อุตรกิจ ต.กระบ่ีใหญ อ.เมือง

จ.นครศรีธรรมราช 80000 จ.กระบ่ี 81000

โทร. 0-7532-4913-4 โทร. 0-7563-2370-1

โทรสาร. 0-7532-4915 โทรสาร. 0-7563-2372

สาขาพังงา สาขาระนอง ผูจัดการสาขา คุณคุณอุไร หนูชัยแกว ผูจัดการสาขา คุณเพ็ญพิศ จันทรบุญแกว

315/3 ถ.เพชรเกษม ต.ทายชาง อ.เมือง 2/85 ม.1 ต.บางริ้น อ.เมือง

จ.พังงา 82000 จ.ระนอง 85000

โทร. 0-7644-0639-40 โทร. 0-7783-5907-8

โทรสาร. 0-7644-0641 โทรสาร. 0-7783-5909

สาขาประจวบคีรีขันธ สาขาภูเก็ต ผูจัดการสาขา คุณสุธิรา ปรียวาณิชย ผูจัดการสาขา คุณไพฑูรย ศิลปวิสุทธ์ิ

539/15 ม.2 ถ.เพชรเกษม ต.เกาะหลัก อ.เมือง 74/180 อาคารพูนผลไนทพลาซา ถ.พูนผล

จ.ประจวบคีรีขันธ 77000 ต.ตลาดเหนือ อ.เมือง จ.ภูเก็ต 83000

โทร. 0-3255-1152-3 โทร. 0-7624-6483-4

โทรสาร. 0-3255-1154 โทรสาร. 0-7624-6485

๖๕ รายงานประจาํป

ภาคใตตอนลาง (สงขลา) ผูจัดการภาค : คุณสามารถ สังขเกษม

โทร. 081-959-8452

สาขาสงขลา สาขานราธิวาส ผูจัดการสาขา คุณพิเชษฐ สุวรรณโณ ผูจัดการสาขา คุณอาแซ ประดู

229 , 231 ถ.นิพัทธอุทิศ 2 ต.หาดใหญ 75/7 ถ.วิจิตรไชยบูลย ต.บางนาค อ.เมือง

อ.หาดใหญ จ.สงขลา 90110 จ.นราธิวาส 96000

โทร. 0-7435-5466-9 โทร. 0-7352-2348-9

โทรสาร. 0-7435-5466 ตอ 193 โทรสาร. 0-7352-2350

สาขาพัทลุง สาขาตรัง ผูจัดการสาขา คุณพิชญะ เยาวนุน ผูจัดการสาขา คุณสหัสวรรษ หนูแมน 87 ถ.สายเอเชีย ต.คูหาสวรรค 463 ถ.พัทลุง ต.ทับเท่ียง อ.เมือง อ.เมือง จ.พัทลุง 93000 จ.ตรัง 92000 โทร. 0-7462-1856,0-7462-1925 โทร. 0-7522-6985,0-7522-6987

โทรสาร. 0-7462-1857 โทรสาร. 0-7522-6986

สาขายะลา สาขาปตตานี ผูจัดการสาขา คุณณัฐพล แสงศรี ผูจัดการสาขา คุณลมล เพ็งแกว 8/1 ถ.เทศบาล 1 ต.สะเตง อ.เมือง 400/20 ม.4 ต.รูสะมิแล อ.เมือง จ.ยะลา 95000 จ.ปตตานี 94000 โทร. 0-7325-5348-9 โทร. 0-7331-9087-8

โทรสาร. 0-7325-5350 โทรสาร. 0-7331-9089

สาขาสตูล ผูจัดการสาขา คุณถิรดา สวางแจง

1/18 ถ.สตูลธานี ต.พิมาน อ.เมือง

จ.สตูล 91000

โทร. 0-7473-0215-6

โทรสาร. 0-7473-0217