talk เปิดโลกหุ่นยนต์ไทยtalk 13 february-march 2013, vol.39...

3
Talk 12 Talk กองบรรณาธิการ นายแพทย์ภาริส วงศ์แพทย์ กรรมการบริหารและแพทย์สาขาเวชศาสตร์ฟื้นฟู โรงพยาบาลสำาโรงการแพทย์ เปิดโลกหุ ่นยนต์ไทย กรณีศึกษา: S ensible TAB โต๊ะหุ่นยนต์ฟื้นฟูการ เคลื่อนไหวแขน เป็นเครื่องมือที่พัฒนา และผลิตโดยฝีมือคนไทย เป็นตัวอย่างของ ความร่วมมือระหว่างผู้ใช้ที่มีความต้องการ และผู้พัฒนาที่มีโนว์ฮาว โดยใช้ระยะเวลา เพียง 1 ปี ในการออกแบบและพัฒนานวัต- กรรมดังกล่าว เพื่อศึกษาเรียนรู้ แนวคิดที่มา และ เส้นทางที่จะน�าสู ่ความส�าเร็จของการพัฒนา นวัตกรรมดังกล่าว เราได้รับการเปิดเผย จากบุคคลต้นเรื่อง คือ นายแพทย์ภาริส ฟื ้นฟูการเคลื่อนไหวแขน Sensible TAB โต๊ะหุ ่นยนต์ เครื่อง มือทางการแพทย์ ถือเป็นสินค้าน�าเข้าที่มีราคาแพง การที่จะทดแทนการน�าเข้า ด้วย การผลิตเองในประเทศถือเป็นเรื่องยากและท้าทายมาก นั่นเพราะเป็นอุปกรณ์ที่ต้อง ใช้เทคโนโลยีขั้นสูง แต่ทว่าวันนี้ด้วยความพยายามของคนไทยกลุ่มหนึ่ง ท�าให้ประเทศไทยเป็นเจ้าของ เทคโนโลยีที่มีชื่อว่า Sensible TAB โต๊ะหุ่นยนต์ฟื้นฟูการเคล่อนไหวแขน และได้รับรางวัลชนะเลิศ ด้านการ ออกแบบผลิตภัณฑ์ จากส�านักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (สนช.) ประจ�าปี 2555 วงศ์แพทย์ กรรมการบริหารและแพทย์ สาขาเวชศาสตร์ฟื้นฟู โรงพยาบาลส�าโรง การแพทย์ ในการบอกเล่าถึงความร่วมมือ กับทีมวิจัยจากฟีโบ้ หรือสถาบันวิทยาการ หุ่นยนต์ภาคสนาม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุรีว่า Sensible TAB เป็นโต๊ะหุ่นยนต์ที่ใช้ ในการฟื้นฟูสมรรถภาพในการเคล่อนไหว แขนของผู้ป่วยที่เป็นอัมพฤกษ์ เป็นอุปกรณ์ ที่สามารถตอบสนองสัญญาณการเคลื่อน- ไหวตามหลักการ Sensory Retraining ควบคู่กับการฝึกการรับความรู้สึกแบบ Per- fetti Method โดยนักกายภาพบ�าบัด เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพการให้บริการฟื ้นฟูสมรรถภาพ การเคลื่อนไหวแขนของผู้ป ่วยด้วยโรค อัมพาตครึ่งซีก สิ่งที่เป็นคุณสมบัติเด่นของอุปกรณ์ ดังกล่าวคือ มีเซนเซอร์ตรวจวัดแรงกระท�า

Upload: others

Post on 02-Dec-2020

0 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: Talk เปิดโลกหุ่นยนต์ไทยTalk 13 February-March 2013, Vol.39 No.227 อาจารย ปราการเก ยรต ย งคง และนายแพทย

Talk

12

Talk

กองบรรณาธิการ

นายแพทย์ภาริส วงศ์แพทย ์กรรมการบริหารและแพทย์สาขาเวชศาสตร์ฟื้นฟู โรงพยาบาลสำาโรงการแพทย์

เปิดโลกหุน่ยนต์ไทยกรณศีกึษา:

Sensible TAB โต๊ะหุ ่นยนต์ฟื ้นฟูการเคลื่อนไหวแขน เป็นเครื่องมือที่พัฒนา

และผลิตโดยฝีมือคนไทย เป็นตัวอย่างของความร่วมมือระหว่างผู้ใช้ท่ีมีความต้องการ และผู้พัฒนาที่มีโนว์ฮาว โดยใช้ระยะเวลาเพียง 1 ปี ในการออกแบบและพัฒนานวัต-กรรมดังกล่าว

เพื่อศึกษาเรียนรู้ แนวคิดที่มา และเส้นทางทีจ่ะน�าสูค่วามส�าเรจ็ของการพฒันานวัตกรรมดังกล่าว เราได้รับการเปิดเผย จากบุคคลต้นเรื่อง คือ นายแพทย์ภาริส

ฟ้ืนฟกูารเคลือ่นไหวแขนSensible TAB โต๊ะหุน่ยนต์

เครื่องมือทางการแพทย์ ถือเป็นสินค้าน�าเข้าท่ีมีราคาแพง การท่ีจะทดแทนการน�าเข้า ด้วย

การผลิตเองในประเทศถือเป็นเรื่องยากและท้าทายมาก นั่นเพราะเป็นอุปกรณ์ที่ต้อง

ใช้เทคโนโลยีขั้นสูง แต่ทว่าวันนี้ด้วยความพยายามของคนไทยกลุ่มหนึ่ง ท�าให้ประเทศไทยเป็นเจ้าของ

เทคโนโลยีที่มีชื่อว่า Sensible TAB โต๊ะหุ่นยนต์ฟื้นฟูการเคลื่อนไหวแขน และได้รับรางวัลชนะเลิศ ด้านการ

ออกแบบผลิตภัณฑ์ จากส�านักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (สนช.) ประจ�าปี 2555

วงศ์แพทย์ กรรมการบริหารและแพทย์สาขาเวชศาสตร์ฟื้นฟู โรงพยาบาลส�าโรงการแพทย์ ในการบอกเล่าถึงความร่วมมือกับทีมวิจัยจากฟีโบ้ หรือสถาบันวิทยาการ หุ่นยนต์ภาคสนาม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรีว่า

Sensible TAB เป็นโต๊ะหุ่นยนต์ที่ใช้ในการฟื้นฟูสมรรถภาพในการเคลื่อนไหวแขนของผู้ป่วยที่เป็นอัมพฤกษ์ เป็นอุปกรณ์ที่สามารถตอบสนองสัญญาณการเคล่ือน-ไหวตามหลักการ Sensory Retraining ควบคู่กับการฝึกการรับความรู้สึกแบบ Per-

fetti Method โดยนกักายภาพบ�าบดั เพือ่เพิม่ประสทิธภิาพการให้บรกิารฟ้ืนฟสูมรรถภาพการเคลื่อนไหวแขนของผู ้ป ่วยด้วยโรคอัมพาตครึ่งซีก

สิ่งที่เป็นคุณสมบัติเด่นของอุปกรณ์ดังกล่าวคือ มีเซนเซอร์ตรวจวัดแรงกระท�า

Page 2: Talk เปิดโลกหุ่นยนต์ไทยTalk 13 February-March 2013, Vol.39 No.227 อาจารย ปราการเก ยรต ย งคง และนายแพทย

13 Talk 13

February-March 2013, Vol.39 No.227

อาจารย์ปราการเกียรติ ยังคง และนายแพทย์ภาริส วงศ์แพทย ์

แพทย์เวชศาสตร์ฟื ้นฟู จึงมองเห็นความจ�าเป็นของเครือ่งมอืทีใ่ช้งานเวชศาสตร์ฟ้ืนฟู โดยเฉพาะโดยส่วนตัวผมเอง สนใจเรื่องการฟื้นฟูทางสมองเป็นพิเศษ จึงได้น�าเข้าเครื่องมือแพทย์ด้านเวชศาสตร์ฟื้นฟู เช่น หุ่นยนต์ฝึกเดิน หุ่นยนต์ฝึกแขน เครื่องตรวจไฟฟ้ากล้ามเนื้อ เครื่องกระตุ้นสมอง เครื่องกระตุ้นคลื่นแม่เหล็กสมอง ฯลฯ แต่ทว่าอุปกรณ์ท้ังหมดที่น�าเข้ามาก็ยังมีข้อจ�ากัด กล่าวคือ ไม่สามารถตอบสนองความต้องการในการฟื้นฟูในระดับสูง ที่มีความจ�าเพาะเจาะจงได้”

ทั้งนี้คุณหมอภาริส ได้ยกตัวอย่าง การท�ากายภาพบ�าบัดให้กับผู ้ป ่วยโดย นักกายภาพบ�าบัดเมื่อประคองแขนคนไข้หากสัมผัสได ้ว ่ าคนไข ้มีการออกแรง นดิหน่อย กจ็ะรูส้กึได้ กจ็ะคอยเชยีร์ให้คนไข้พยายามออกแรง ซึง่แตกต่างจากการท�างานของหุ่นยนต์ฝึกแขนที่อย่างมากก็แค่ช่วยประคองแขนผู้ป่วยให้เอ้ือมไปเอ้ือมมา แต่ไม่มีความไว และไม่สามารถรับรู้ความรู้สึกของผู้ป่วยได้

“เนื่องจากคนที่ป่วยเป็นอัมพาตครึ่งซีก แขนข้างที่ไม่ดีจะไม่มีความรู้สึก เมื่อความรูส้กึไม่ม ีการจะฝึกเรือ่งการเคลือ่นไหวย่อมไม่เกดิผลด ีจ�าเป็นต้องฝึกการรบัรูค้วามรู้สึกก่อน แต่ก็ไม่มีเครื่องมือไหนเลยที่ถูกออกแบบขึน้มาเพือ่ฝึกการรบัรูค้วามรูส้กึ จงึ

ของมือผู้ป่วยด้วยความไวสูง อีกทั้งสามารถจ�าลองสภาพแวดล้อมเสมือนในการฝึก ผู้ป่วยได้หลากหลายและสามารถใช้งานกับผู้ป่วยได้เกือบทุกระดับความรุนแรง

แนวคิดและที่มาในประเด็นนี้ คุณหมอภาริส เล่าให้

เราฟังว่า ในวงการแพทย์เราทราบกันดีว่า เคร่ืองมอืแพทย์เป็นอปุกรณ์ทีต้่องน�าเข้าจากต่างประเทศ และมีราคาสูง ประกอบกับประเทศไทยเองมงีบประมาณในด้านนีจ้�ากัด การจะจัดซื้อจัดหาอุปกรณ์การแพทย์มาใช้ในโรงพยาบาลจึงค่อนข้างมีจ�ากัด กล่าวคือ ซื้อคร้ังหนึ่งก็ใช้ต่อไปอีกนานหลายปี ส่งผลให้วงรอบการทดแทนค่อนข้างห่าง และความต้องการเซอร์วิสหลังการขายจึงค่อนข้างมีความจ�าเป็นมาก ทั้งหมดนี้เป็นปัจจัยหนึ่งที่ท�าให้เราเองที่อยู่ในฐานะของแพทย์ อ ย า ก จ ะ มี เ ค รื่ อ ง มื อ แ พ ท ย ์ ที่ ผ ลิ ต ใ นประเทศไทยใช้บ้าง

ด้วยบทบาทของคุณหมอภาริส ที่เป็นทั้งแพทย์สาขาเวชศาสตร์ฟื ้นฟู และ ผูบ้ริหารบรษิทั ทเีอม็จไีอ จ�ากดั ซึง่เป็นบรษิทัน�าเข้าและจัดจ�าหน่ายอุปกรณ์การแพทย์มากว่า 19 ปี อยากท�าให้แนวคิดนี้ เกิดเป็นความจริงขึ้นมาได้ แต่ทว่าความฝันนี้ก็ติดตรึงอยู่ในความคิดมากว่า 10 ปี ก่อนที่จะมีทีมวิจัยจากฟีโบ้ มาช่วยสานต่อความฝันให้เป็นจริงขึ้นมาได้

“บริษัท ทีเอ็มจีไอ จ�ากัด เป็นบริษัททีค่ณุพ่อของผมก่อตัง้ขึน้มาเมือ่ประมาณ 19 ปีที่แล้ว เดิมท�าธุรกิจเกี่ยวกับห้องผ่าตัดปลอดเชือ้ ต่อมาเมือ่ผมเข้ามารบัช่วงสานต่องานจากคุณพ่อ ด้วยบทบาทหนึ่ง ที่ผมเป็น

เป็นที่มาว่า ท�าไมเราจึงเลือกที่จะคิดค้นเครื่องมือฝึกแขน โดยใช้เทคโนโลยีหุ่นยนต์เข้ามาช่วย”

แนวคดินี ้คณุหมอภารสิบอกกบัเราว่า เป็นแนวคดิทีห่าทางออกไม่ได้มากว่า 10 ปี นับต้ังแต่เรียนอยู่ที่เยอรมัน ได้รู้จักและใกล้ชดิกบัโปรเฟสเซอร์ท่านหนึง่ทีท่�าหุน่ยนต์ฟ้ืนฟ ูซึง่คณุหมอเองกไ็ด้น�าหุน่ยนต์ดงักล่าวเข้ามาจ�าหน่ายในประเทศไทยด้วย

“ผมมไีอเดีย อยากท�า แต่กไ็ม่รูว่้าจะมีใครท�าให้ได้บ้าง ก็เก็บไอเดียเอาไว้ เพราะยังไม่มีทางออกสถานการณ์ประมาณนี้เกิดขึ้นประมาณ 10 ปี จนกระทั่งได้มาเจอกับ อาจารย์ปราการเกียรติ ยังคง และทีมวิจัยจากฟีโบ้ ขณะนั้นอาจารย์ก�าลังจะท�าขาเทยีม อาจารย์ก็ไปคุยกับทมีเวชศาสตร์ฟ้ืนฟูว่าต้องการขาเทียมแบบไหน อย่างไร ผมก็มีโอกาสได้พบกับอาจารย์ และได้แชร์ไอเดียและความต้องการให้อาจารย์ฟัง อาจารย์ก็บอกว่าน่าจะท�าได้ ก็เป็นความร่วมมอืเกดิขึน้ ตรงนีผ้มมองว่าเป็นจดุเปลีย่นทีส่�าคญัทเีดยีว เนื่องจากการท�าเทคโนโลยีให้ประสบความส�าเรจ็ จะต้องเป็นการท�างานร่วมกนัระหว่างสหสาขา ซึ่งไม่เพียงแต่มีผมเข้าไปร่วมในฐานะที่เป็นแพทย์ที่ต้องการใช้เทคโนโลยี ยงัมทีมีวจิยัและนกัวศิวกรจากฟีโบ้แล้ว และมีทีมโปรดักส์ดีไซน์เข้ามาท�างานร่วมกันด้วย”

Page 3: Talk เปิดโลกหุ่นยนต์ไทยTalk 13 February-March 2013, Vol.39 No.227 อาจารย ปราการเก ยรต ย งคง และนายแพทย

Talk

14

ด้วยระยะเวลาเพียง 1 ปี ของการท�างานร่วมกัน จนก่อให้เกิดนวัตกรรมที่สามารถใช้งานได้จริง นับเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นได้ไม่บ่อยนัก

“หากถามถึงกระบวนการในการท�างานตลอด 1 ปีที่ผ่านมา ต้องบอกว่า เราใช้เวลาในการคุยกันเยอะมาก เพราะสิ่งส�าคญัคอื โจทย์ต้องชดั ว่าเราต้องการโซลชูัน่แบบไหน อย่างไร เช่น เราต้องการความไว ไวสักประมาณไหน หรือไวด้วยน�้าหนักสักก่ีกรัม รวมถึงความเร็วในการเคลื่อนที่ จะต้องเร็วสักขนาดไหนในการฝึกคนไข้ หรือเร็ว มากแค่ไหนที่เกินความจ�าเป็น รวมทั้งต้องสามารถ Feedback ได้ในลักษณะไหน อย่างไร เป็นต้น ทั้งหมดเราจะต้องคุยกันให้จบ ก่อนที่ทีมวิศวกรจะตีโจทย์ออกมาเป็นโซลูชันที่ตอบโจทย์การใช้งานมากที่สุด ทั้งหมดเราใช้เวลาคุยกับประมาณครึ่งหนึ่งอีกครึ่งหนึ่งท�า ผลงานก็ส�าเร็จออกมา”

สิ่งที่พบภายหลังจากน�าไปให้คนไข้ได้ทดลองใช้ คอื ผูป่้วยชอบ โดยเฉพาะผูป่้วยที่เป็นโรคอัมพฤกษ์เรื้อรัง ซึ่งเป็นประเภทท่ียากต่อการบ�าบดัฟ้ืนฟ ูสามารถเล่นต่อเนือ่งได้คนละ 30-45 นาที อย่างสนุกและมีสมาธิ ผู้ป่วยรู้สึกผ่อนคลาย และลดอาการเกร็งลงได้ ซึ่งถือเป็นความส�าเร็จในระดับหนึ่ง ที่ยังต้องพัฒนาต่อไป

“หากให้วัดความส�าเร็จ ผมมองว่า เราประสบความส�าเร็จแล้วประมาณ 80-90 เปอร์เซ็นต์ ในแง่ของความพึงพอใจ และสามารถใช้งานได้จริง แต่ในแง่ของ Per-formance ยังต้องพัฒนาต่อไป เพราะยังมีจุดท่ีเป็นปัญหา ท่ีเกิดจากความต้องการให้เครื่องมือนี้มี Performance สูง และจะต้องมีการปรับและจูนจนกว่าจะได้ Perfor-mance นั้น เป็นประเด็นทางเทคนิค ที่เราไม่สามารถเห็นได้ตั้งแต่ตอนเริ่มต้น

ขณะนี้เราก�าลังหาทุนวิจัยต่อเนื่อง เพื่อ Proof Concept ซึ่ ง เป ็นหนึ่ งในยุทธศาสตร์ที่ว่า หากเราจะผลิตเพื่อขาย ในเชิงพาณิชย์ เราจะต้องมีข ้อมูลทางวิทยาศาสตร์ยืนยัน เพื่อให้ผู ้ใช้เกิดความมั่นใจ ปัจจุบันเราผลิตเป็นเครื่องต้นแบบ

จ�านวน 1 เครือ่ง ส่วนเครือ่งที ่2 จะเป็นเครือ่งที่มีการปรับเปล่ียนบ้างเล็กน้อย และคงจะไม ่มีการเปลี่ยนแปลงไปจากนี้มากนัก ยกเว้นว่าเป็นโครงการระยะ 5 ปีขึน้ไป ทีอ่าจจะมีการเปลี่ยนโฉมใหม่อีกครั้ง” คุณหมอ ภาริส กล่าว

อะไรคือ ปัจจัยสู่ความสำาเร็จส�าหรับปัจจัยที่น�าความส�าเร็จมาสู่

ทีมวิจัยคืออะไร คุณหมอภาริส เปิดเผยว่า ปัจจยัส�าคญัประการหนึง่คอื การท�างานร่วมกันของคนต่างสาขาวิชา แต่ก็ถือเป็นความยากท่ีคนต่างสาขาวิชาจะได้พบปะแลกเปล่ียนแนวคิด ประสบการณ์ จึงเกิดเป็นความร่วมมือระหว่างกัน เพื่อสร้างผลงานบางอย่างขึ้นมา ประเทศไทยเองยังไม่มีแพลตฟอร์มอะไรทีจ่ะดงึดดูให้คนทีเ่ชีย่วชาญในสาขาที่ต่างกันมาเจอกัน และท�างานร่วมกันได้ เกิดเป็นเครือข่ายความร่วมมือขึ้น ผมมองว่า แพลตฟอร์มนี้จะเป็นตัวกระตุ้นให้เกิดการจุดประกายความคิดและท�าอะไรบางอย่างที่เป็นประโยชน์ขึ้นมา

นอกจากนี้การที่จะท�าให้ไอเดียหรือแนวคดิเกดิเป็นนวตักรรมขึน้มาได้นัน้ จะต้องมปัีจจยัทีเ่อือ้ให้เกดิ เช่น ต้องมโีจทย์ทีด่ ีและต้องมีการเข้าคู่ที่ดีระหว่างเทคโนโลยีและความต้องการ (requirements) และทีส่�าคญัจะต้องมีกลไกในการผลักดันจากภาครัฐที่

ควรให้การสนับสนุนด้านงบประมาณและการลงทุนด้านการวิจัยอย่างต่อเนื่อง เพื่อสร้างอนาคตให้กบัประเทศไทย เพราะหากรฐัไม่มกีารลงทนุในด้านนีแ้ล้ว โอกาสทีช่าตจิะก้าวหน้านัน้ยากมาก

สดุท้ายนี ้คณุหมอภารสิ กล่าวให้แง่คิดเกี่ยวกับการลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างความก้าวหน้าด้านเทคโน- โลยแีละนวตักรรมของประเทศว่า การลงทนุมีความเส่ียง เพราะการลงทุนคือการคาด-การณ์อนาคต สิ่งหนึ่งที่ท�าให้เรากล้าลงทุน คอื ความเชือ่ร่วมกนัในความส�าเรจ็ หากผมเชื่อว่าไปได้ พาร์ทเนอร์เชื่อว่าท�าได้ และแหล่งทนุของผมเชือ่ว่ามอีนาคต เรากพ็ร้อมจะเดนิหน้าท�าต่อไป

นอกจากนี้สิ่งที่ท�าให้เรากล้าที่จะ เป็นผูพ้ฒันาเทคโนโลยใีหม่ ๆ เพราะเราเชือ่ว่า หุน่ยนต์เป็นอนาคต อกีทัง้เป็นโอกาสทองของตลาดที่ก�าลังเปิดรับเทคโนโลยีหุ่นยนต์ ใครทีก่ล้ากม็กัจะได้ก้าวก่อนอยูเ่สมอ ส�าคญัว่าเราจะก้าวไปทางไหน อยากฝากถึงนัก-พฒันาทกุท่าน วนันีเ้ทคโนโลยหีุน่ยนต์ถกูใช้อยู่ในทุกมิติของสังคมโลก ท�าให้ยังพอมีโอกาสและช่องทางใหม่ ๆ ส�าหรบัเรา ซึง่เป็นมือใหม่ในโลกเทคโนโลยีเสมอ เมื่อท่านพบเจอโอกาสนั้นให้รีบยึดหัวหาดเอาไว้ และขยายผลออกไป ซึง่เชื่อว่าจะเปน็ผลดทีัง้กบัเศรษฐกจิ สงัคม และตวัของผูพ้ฒันาเอง