บทที่ 3

8
บทที3 ภาษามือหมวด จานวนและตัวเลข จำนวนและตัวเลขเป็นสิ่งที่จำเป็น ซึ่งทุกคนต้องพบเจอทุกวัน สำหรับเด็กที่มีควำมบกพร่อง ทำงกำรได้ยิน ตัวเลขยังเป็นสัญลักษณ์ที่ใช้แทนจำนวนสิ่งของต่ำงๆ ที่พบเจอในชีวิตประจำวัน โดยใช้ สัญลักษณ์ดังกล่ำวเป็นภำษำมือ ซึ่งง่ำยต่อกำรนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน กำรทำภำษำมือตัวเลขนั้นเหมือนกันกับกำรนับเลขด้วยปำกเปล่ำ สำมำรถนับหนึ่งถึงหนึ่งร้อย ก็ได้ หรือจะนับหนึ่งถึงหนึ่งล้ำนก็ได้ แต่ใช้สัญลักษณ์ภำษำมือในกำรบอกจำนวนตัวเลขต่ำงๆ ดังจะ เห็นได้ดังนี1. การนับจานวน 1 – 10 กำรนับจำนวน 1- 10 เป็นพื้นฐำนของตัวเลขที่ใช้ในกำรเรียนคณิตศำสตร์ กำรนับจำนวน ต่ำงๆในชีวิตประจำวันของเด็กที่มีควำมบกพร่องทำงกำรได้ยิน ซึ่งเริ่มจำกเลข 1 กำมือและชูนิ้วชี้ขึ้น เลข 2 กำมือและชูนิ้วชี้กับนิ้วกลำง ดังภำพ หนึ่ง กำมือและชูนิ้วชีสอง กำมือและชูนิ้วชี้กับนิ้วกลำง ส่วนกำรทำภำษำมือเลข 3 นั้นไม่เหมือนกับกำรทำมือนับเลข 3 ของคนหูดี คือกำมือและชูหัว แม่มือ ชูนิ้วชี้นิ้วกลำง นั่นคือเลขสำมของเด็กที่มีควำมบกพร่องทำงกำรได้ยิน ส่วนเลข 6 ถึง เลข 9 นั้น ใช้กำรแตะนิ้วโดยเริ่มตั้งแต่นำนิ้วหัวแม่มือไปแตะที่ปลำยนิ้วก้อย นั่นคือเลข 6 ส่วนเลขเจ็ดแตะทีนิ้วก้อย เลข 7 แตะที่นิ้วนำง เลข 8 แตะที่นิ้วกลำง เลข 9 แตะที่นิ้วชี้ เลขสิบกำมือและบิดมือดังภำพ

Upload: pop-jaturong

Post on 09-Aug-2015

17 views

Category:

Education


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: บทที่ 3

บทท่ี 3 ภาษามือหมวด จ านวนและตัวเลข

จ ำนวนและตัวเลขเป็นสิ่งที่จ ำเป็น ซึ่งทุกคนต้องพบเจอทุกวัน ส ำหรับเด็กที่มีควำมบกพร่องทำงกำรได้ยิน ตัวเลขยังเป็นสัญลักษณ์ที่ใช้แทนจ ำนวนสิ่งของต่ำงๆ ที่พบเจอในชีวิตประจ ำวัน โดยใช้สัญลักษณ์ดังกล่ำวเป็นภำษำมือ ซึ่งง่ำยต่อกำรน ำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจ ำวัน

กำรท ำภำษำมือตัวเลขนั้นเหมือนกันกับกำรนับเลขด้วยปำกเปล่ำ สำมำรถนับหนึ่งถึงหนึ่งร้อยก็ได้ หรือจะนับหนึ่งถึงหนึ่งล้ำนก็ได้ แต่ใช้สัญลักษณ์ภำษำมือในกำรบอกจ ำนวนตัวเลขต่ำงๆ ดังจะเห็นได้ดังนี ้

1. การนับจ านวน 1 – 10 กำรนับจ ำนวน 1- 10 เป็นพื้นฐำนของตัวเลขท่ีใช้ในกำรเรียนคณิตศำสตร์ กำรนับจ ำนวน

ต่ำงๆในชีวิตประจ ำวันของเด็กที่มีควำมบกพร่องทำงกำรได้ยิน ซึ่งเริ่มจำกเลข 1 ก ำมือและชูนิ้วชี้ขึ้น เลข 2 ก ำมือและชูนิ้วชี้กับนิ้วกลำง ดังภำพ

หนึ่ง ก ำมือและชูนิ้วช้ี

สอง ก ำมือและชูนิ้วช้ีกับน้ิวกลำง

ส่วนกำรท ำภำษำมือเลข 3 นั้นไม่เหมือนกับกำรท ำมือนับเลข 3 ของคนหูดี คือก ำมือและชูหัวแม่มือ ชูนิ้วชี้นิ้วกลำง นั่นคือเลขสำมของเด็กที่มีควำมบกพร่องทำงกำรได้ยิน ส่วนเลข 6 ถึง เลข 9 นั้นใช้กำรแตะนิ้วโดยเริ่มตั้งแต่น ำนิ้วหัวแม่มือไปแตะที่ปลำยนิ้วก้อย นั่นคือเลข 6 ส่วนเลขเจ็ดแตะที่นิ้วก้อย เลข 7 แตะที่นิ้วนำง เลข 8 แตะที่นิ้วกลำง เลข 9 แตะที่นิ้วชี้ เลขสิบก ำมือและบิดมือดังภำพ

Page 2: บทที่ 3

24

สำม ก ำมือและชูหัวแมม่ือ ชูนิ้วช้ี น้ิวกลำง

สี่ ก ำมือและชูนิ้วช้ี น้ิวกลำง น้ิวนำง น้ิวก้อย

หก แบมือและน ำนิ้วหัวแม่มือไปแตะทีป่ลำยนิ้วก้อย

เจ็ด แบมือและน ำนิ้วหัวแม่มือไปแตะทีป่ลำยนิ้วนำง

เก้ำ แบมือและน ำนิ้วหัวแม่มือไปแตะทีป่ลำยนิ้วช้ี

สิบ ก ำมือและสะบดัมือ

เมื่อท ำภำษำมือจ ำนวน 1 – 10 ได้คล่องแล้ว กำรท ำภำษำมือกำรนับเลขต่อไปก็ไม่ยำกเนื่องจำกใช้ภำษำมือนั้นมำเรียงกัน เช่น ตัวเลข 11 ในจังหวะแรกจะท ำภำษำมือเลข 10 และตำมด้วยภำษำมือเลข 1 โดยใช้มือข้ำงเดียวกัน ดังภำพ

Page 3: บทที่ 3

25

สิบเอ็ด ก ำมือแล้วสะบัดมือและท ำท่ำมือเลขหนึ่ง

สิบเจ็ด ก ำมือแล้วสะบัดมือและท ำท่ำมือเลขเจ็ด

2. การนับจ านวนเพิ่มทีละ 10 กำรนับจ ำนวนเพ่ิมทีละ 10 ซึ่งกำรนับสิบให้ก ำมือแล้วสะบัดมือ กำรนับยี่สิบให้ก ำมือชู

นิ้วตำมภำพและน ำนิ้วมำชิดกัน กำรนับสำมสิบถึงเก้ำสิบนั้นจะใช้กำรนับเลขพ้ืนฐำนเข้ำมำช่วย เช่น กำรนับจ ำนวนสำมสิบ จังหวะที่ 1 จะท ำภำษำมือเลขสำม จังหวะที่สองจะน ำนิ้วที่ชูขึ้นหุบมำชิดกัน ถ้ำเป็นกำรนับเลขเจ็ดสิบ จังหวะที่ 1 ท ำภำษำมือเลขเจ็ด จังหวะที่สองจะน ำนิ้วที่ชูขึ้นหุบมำชิดกัน ท ำเช่นนี้ตั้งแต่กำรนับจ ำนวนสำมสิบจนถึงเก้ำสิบ ตำมภำพ

สิบ ก ำมือและสะบดัมือ

ยี่สิบ ก ำมือชูนิ้วตำมภำพและน ำนิ้วมำชิดกัน

สำมสิบ ท ำท่ำมือเลขสำมและน ำนิ้วมำชิดกัน

สี่สิบ ท ำท่ำมือเลขสี่และหุบนิ้วลง

ห้ำสิบ หกสิบ ท ำท่ำมือเลขหกและหุบนิ้วลงโดยปลำยนิ้วทั้งหมด

รวมกัน

Page 4: บทที่ 3

26

ท ำท่ำมือเลขห้ำและหุบนิ้วลงโดยปลำยนิ้วท้ังหมด

รวมกัน

เจ็ดสิบ ท ำท่ำมือเลขเจด็และหุบนิ้วลงโดยปลำยนิ้วท้ังหมด

รวมกัน

แปดสิบ ท ำท่ำมือเลขแปดและหุบนิ้วลงโดยปลำยนิ้วท้ังหมด

รวมกัน

เก้ำสิบ ท ำท่ำมือเลขเก้ำและหุบนิ้วลงโดยปลำยนิ้วท้ังหมด

รวมกัน

3. การนับจ านวนเพิ่มทีละ 100

จ ำนวนหนึ่งร้อยถึงเก้ำร้อยสำมำรถท ำได้โดยกำรท ำท่ำมือที่ 1 เป็นตัวเลข ท่ำมือที่สองเป็นค ำศัพท์ค ำว่ำ ร้อย เช่น 100 สำมำรถท ำภำษำมือได้คือ ท่ำมือที่ 1 ท ำภำษำมือเลขหนึ่ง (ก ำมือและชูนิ้วชี้) ท่ำมือที่ 2 ท ำภำษำมือค ำว่ำ ร้อย (ท ำมือเป็นตัว c โดยหันฝ่ำมือออกและลำกเบำๆไปด้ำนข้ำง) ส่วนภำษำมือ 200 ในท่ำมือที่ 1 เปลี่ยนเป็นเลขสอง ท่ำมือที่ 2 ให้ท ำค ำว่ำร้อย ท ำเช่นนี้ไปจนถึงเลขเก้ำร้อย

หนึ่งร้อย สองร้อย

Page 5: บทที่ 3

27

ท ำท่ำมือเลขหนึ่งและท ำมือเป็นตวั c โดยหันฝ่ำมือออก

และลำกเบำๆ ไปด้ำนข้ำง

ท ำท่ำมือเลขสองและท ำมือเป็นตัว c โดยหันฝ่ำมือออกและลำกเบำๆ ไปด้ำนข้ำง

เจ็ดร้อย ท ำท่ำมือเลขเจด็และท ำมือเป็นตัว c โดยหันฝ่ำมือออก

และลำกเบำๆ ไปด้ำนข้ำง

เก้ำร้อย ท ำท่ำมือเลขเก้ำและท ำมือเป็นตัว c โดยหันฝ่ำมือออก

และลำกเบำๆ ไปด้ำนข้ำง

4. การนับจ านวนหนึ่งพัน หนึ่งหม่ืน หนึ่งแสน หนึ่งล้าน

จ ำนวนนับหนึ่งพัน หนึ่งหมื่น หนึ่งแสน หนึ่งล้ำน สำมำรถท ำภำษำมือได้โดยท ำท่ำมือตัวเลขในจังหวะที่ 1 ส่วนในจังหวะที่ 2 จะท ำตัวอักษรภำษำไทย เช่น หนึ่งพัน (ท ำท่ำมือเลขหนึ่งและท ำท่ำมือ พ ) หนึ่งหมื่น (ท ำท่ำมือเลขหนึ่งและท ำท่ำมือ ห) หนึ่งแสน (ท ำท่ำมือเลขหนึ่งและท ำท่ำมือ ส )หนึ่งล้ำน (ท ำท่ำมือเลขหนึ่งและท ำท่ำมือ ล) ดังภำพ

หนึ่งพัน ท ำท่ำมือเลขหนึ่งและท ำท่ำมือ พ

หนึ่งหมื่น ท ำท่ำมือเลขหนึ่งและท ำท่ำมือ ห

หนึ่งแสน หนึ่งล้ำน

Page 6: บทที่ 3

28

ท ำท่ำมือเลขหนึ่งและท ำท่ำมือ ส ท ำท่ำมือเลขหนึ่งและท ำท่ำมือ ล

5. การสนทนาในหมวดจ านวนและตัวเลข

หมวดจ ำนวนและตัวเลข เป็นภำษำมือที่ใช้ในกำรในกำรสนทนำและกำรจัดกำรเรียนกำรสอน ดังจะยกตัวอย่ำงต่อไปนี้

ครู : ตัวเลขอะไร นักเรียน : หนึ่งพันครับ

สรุป กำรนับเลขเริ่มจำกกำรนับจ ำนวนหนึ่งถึงสิบ โดยกำรท ำท่ำมือนั้นใช้มือเพียงข้ำงเดียวและจังหวะมือเพียงหนึ่งจังหวะเท่ำนั้น ส่วนกำรนับเพ่ิมทีละสิบ ทีละร้อย ทีละพันทีละหมื่น ทีละแสนจนถึงหนึ่งล้ำนนั้น ใช้มือข้ำงเดียวเช่นกันแต่จังหวะมือมีสองจังหวะโดยส่วนใหญ่แล้วจังหวะที่1 จะเป็นท่ำมือตัวเลขและจังหวะที่ 2 จะเป็นกำรบอกหลัก ซึ่งกำรบอกหลักในภำษำมือนั้นใช้ตัวพยัญชนะ เช่น หนึ่งร้อย จังหวะที่ 1 ท ำท่ำมือหนึ่ง จังหวะที่ 2 ท ำท่ำบอกหลักคือหลักร้อย หนึ่งพัน จังหวะที่ 1 ท ำท่ำมือเลขหนึ่ง จังหวะที่ 2 ท ำท่ำมือ พ เป็นต้น

แบบฝึกท้ายบท 1. ให้นักศึกษำดูที่ภำษำมือและหำค ำตอบค ำต่อไปนี้

1.1 1.2

Page 7: บทที่ 3

29

1.3 1.4

1.5 1.6

1.7 1.8

1.9 1.10

2. ให้นักศึกษำท ำภำษำมือตำมที่ก ำหนด 2.1 จ ำนวน 12 , 26 , 39 , 41 , 57 , 68 , 72 , 84 , 72 , 84 , 90 , 98 2.2 จ ำนวน 103 , 1,100 , 10,126 ,112 , 306 , 1,234,561

3. นักศึกษำจับคู่สนทนำภำษำมือในสถำนกำรณ์ที่ก ำหนดให้

สถำนกำรณ์ : บุคคลที่มีควำมบกพร่องทำงกำรได้ยินซื้อเสื้อยืดในร้ำนค้ำโดยถำมรำคำเสื้อยืด ห้ำแบบ ยังเลือกไม่ได้ แต่ละตัวก็มีรำคำแตกต่ำงกัน

Page 8: บทที่ 3

30

เอกสารอ้างอิง กรมสำมัญศึกษำ. (2547). เอกสารประกอบการสอนภาษามือไทย ระดับ 1. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภำ ลำดพร้ำว . กระทรวงศึกษำธิกำร. (2544). เอกสารประกอบการอบรมครูการศึกษาพิเศษ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภำ ลำดพร้ำว. ปทำนุกรมภำษำมือไทย. (2533). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษามือไทยเล่ม 1. ไทยวัฒนำพำนิช : กรุงเทพฯ.