หลักธรรม ของ นักบริหาร

13
1 หลักธรรมของนักบริหาร หลักธรรม หรือคําสั่งสอนของพระพุทธเจานั้น ถึงแมวาจะมีมาตั้งแตสมัยพุทธกาล นับถึงป จจุบันเปนเวลา 2540 กวาปแลว แตทุกหลักธรรมยังคงทันสมัยอยูเสมอ สามารถนําไปประยุกตใช เปนเครื่องดําเนินชีวิตและแนวทางในการบริหารงานไดเปนอย างดี ที่เปนเชนนีก็เพราะหลักธรรมดังกลาว เปนความจริงทีสามารถพิสูจนไดที่เรียกวา สัจธรรมปฏิบัติไดเห็นผลไดอยางแทจริงอยูที่เราจะนํา หลักธรรมขอใดมาใชใหเหมาะสมกับตัวเรามากที่สุด สําหรับนักบริหารก็มีหลักธรรมสําหรับยึดถือ และปฏิบัติอยางมากมาย ซึ่งไดนําเสนอไวบาง เรื่องที่สําคัญดังตอไปนีพรหมวิหาร 4 เปนหลักธรรมของผูใหญ (ผูบังคับบัญชา) ที่ควรถือปฏิบัติเปนนิตย มี 4 ประการ คือ 1. เมตตา ความรักใคร ปราถนาจะใหผูอื่นมีความสุข 2. กรุณา ความสงสาร คิดชวยเหลือผูอื่นใหพนทุกข 3. มุทิตา ความพลอยยินดีเมื่อผูอื่นไดดีมีสุข 4. อุเบกขา วางตนเปนกลาง ไมดีใจ ไมเสียใจ เมื่อผูอื่นถึงวิบัติ มีทุกข

Upload: panuwat-beforetwo

Post on 07-Dec-2014

4.639 views

Category:

Education


1 download

DESCRIPTION

รวม หลักธรรม ของ นักบริหาร หรือผู้ที่สนใจ และสำหรับ ทุกท่าน

TRANSCRIPT

Page 1: หลักธรรม ของ นักบริหาร

  1  

หลักธรรมของนักบริหาร

หลักธรรม หรือคําสั่งสอนของพระพุทธเจานั้น ถึงแมวาจะมีมาตั้งแตสมัยพุทธกาล นับถึงปจจุบันเปนเวลา 2540 กวาปแลว แตทุกหลักธรรมยังคงทันสมัยอยูเสมอ สามารถนําไปประยุกตใช เปนเครื่องดําเนินชีวิตและแนวทางในการบริหารงานไดเปนอยางด ี ที่เปนเชนนี ้ก็เพราะหลักธรรมดังกลาว เปนความจริงที ่ สามารถพิสูจนไดที่เรียกวา “สัจธรรม” ปฏิบัติไดเห็นผลไดอยางแทจริงอยูที่เราจะนํา หลักธรรมขอใดมาใชใหเหมาะสมกับตัวเรามากที่สุด สําหรับนักบริหารก็มีหลักธรรมสําหรับยึดถือ และปฏิบัติอยางมากมาย ซึ่งไดนําเสนอไวบาง เรื่องที่สําคัญดังตอไปนี ้

พรหมวิหาร 4 เปนหลักธรรมของผูใหญ(ผูบังคับบัญชา) ที่ควรถือปฏิบัติเปนนิตย ม ี4 ประการ คือ 1. เมตตา ความรักใคร ปราถนาจะใหผูอื่นมีความสุข 2. กรุณา ความสงสาร คิดชวยเหลือผูอื่นใหพนทุกข 3. มุทิตา ความพลอยยินดีเมื่อผูอื่นไดดีมีสุข 4. อุเบกขา วางตนเปนกลาง ไมดีใจ ไมเสียใจ เมื่อผูอื่นถึงวิบัต ิ มีทุกข

Page 2: หลักธรรม ของ นักบริหาร

  2  

อคติ 4 อคติ หมายความวา การกระทําอันทําใหเสียความเที่ยงธรรม มี 4 ประการ

1. ฉันทาคต ิ ลําเอียงเพราะรักใคร 2. โทสาคต ิ ลําเอียงเพราะโกรธ 3. โมหาคติ ลําเอียงเพราะเขลา 4. ภยาคต ิ ลําเอียงเพราะกลัว

อคติ 4 นี้ ผูบริหาร/ผูใหญ ไมควรประพฤติเพราะเปนทางแหงความเสื่อม

Page 3: หลักธรรม ของ นักบริหาร

  3  

สังคหวัตถ ุ4 เปนหลกัธรรมอันเปนเครื่องยึดเหนี่ยวน้ําใจของกันและกันเห็นเหตุใหตนเอง และหมูคณะกาวไปสูความเจริญรุงเรือง 1.ทาน ใหปนสิ่งของแกคนที่ควรให 2.ปยวาจา เจรจาดวยถอยคําไพเราะออนหวาน 3.อัตถจริยา ประพฤติในสิง่ที่เปนประโยชน 4.สมานนัตตตา วางตนใหเหมาะสมกับฐานะของตน

อิทธิบาท 4 เปนหลักธรรมถือใหเกิดความสําเร็จ 1.ฉันทะ ความพึงพอใจในงาน 2.วิริยะ ความขยันมั่นเพียร 3.จิตตะ ความมีใจฝกใฝเอาใจใสในงาน 4.วิมังสา ไตรตรองหาเหตุผล

Page 4: หลักธรรม ของ นักบริหาร

  4  

ทศพิธราชธรรม 10 ประการ เปนหลักธรรมสําหรับพระมหากษัตริยจะพึงถือปฏิบัติมาแตโบราณกาลแดนักบริหาร เชน สรรพสามิตจังหวัด สรรพสามิตอําเภอ ก็นาจะนําไปอนุโลมถือปฏิบัติได หลักทศพิธราชธรรม 10 ประการ มีอยูดังนี ้ 1. ทาน คือ การใหปน ซึ่งอาจเปนการใหเพื่อบูชาคุณหรือใหเพื่อเปนการอนุเคราะห 2. ศีล ไดแกการสํารวม กาย วาจา ใจ ใหเรียบรอยสะอาดดีงาม 3. บริจาค ไดแก การใหทรัพยสิ่งของเพื่อเปนการชวยเหลือหรือความทุกขยากเดือดรอน

ของผูอื่นหรือเปนการเสียสละเพื่อหวังใหผูรับไดรับความสุข 4. อาชวะ ไดแก ความมีอัธยาศัยซื่อตรงมั่นในความสุจริตธรรม 5. มัทวะ ไดแก ความมีอัธยาศัยดีงาม ละมุนละไม ออนโยน สุภาพ 6. ตบะ ไดแก การบําเพ็ญเพียรเพื่อขจัดหรือทําลายอกุศลกรรมใหสิ้นสูญ 7. อโกรธะ ไดแก ความสามารถระงับหรือขจัดเสียไดซึ่งความโกรธ 8. อวิหิงสา ไดแก การไมเบียดเบียนคนอื่น 9. ขันต ิ ไดแก ความอดกลั้นไมปลอยกาย วาจา ใจ ตามอารมณหรือกิเลสที่เกิดมีขึ้นนั้น 10. อวิโรธนะไดแก การธํารงครักษาไวซึ่งความยุติธรรม

Page 5: หลักธรรม ของ นักบริหาร

  5  

บารมี 6 เปนหลักธรรมอันสําคัญที่จะนิยมมาซึ่งความรักใครนับถือ นับวาเปนหลักธรรมที่เหมาะมาก สําหรับนักบริหารจะพึงยึดถือปฎิบัต ิ มีอยู 6 ประการคือทาน 1. ทาน การใหเปนสิ่งที่ควรให 2. ศีล การประพฤติในทางที่ชอบ 3. ขันต ิ ความอดทนอดกลั้น 4. วิริยะ ความขยันหมั่นเพียร 5. ฌาน การเพงพิจารณาใหเห็นของจริง 6. ปรัชญา ความมีปญญารอบรู

ขันติโสรัจจะ เปนหลักธรรมอันทําใหบุคคลเปนผูงาม (ธรรมทําใหงาม) 1. ขันต ิ คือ ความอดทน มีลักษณะ 3 ประการ 1.1 อดใจทนไดตอกําลังแหงความโกรธแคนไมแสดงอาการ กาย วาจา ที่ไมนารัก ออกมาใหเปนที่ปรากฏแกผูอื่น

1.2 อดใจทนไดตอความลําบากตรากตรําหรือความเหน็ดเหนื่อย 2. โสรัจจะ ความสงบเสงี่ยม ทําจิตใจใหแชมชื่นไมขุนหมอง

Page 6: หลักธรรม ของ นักบริหาร

  6  

ธรรมโลกบาล เปนหลกัธรรมที่ชวยคุมครองโลก หรือมวลมนุษยใหอยูความรมเย็นเปนสุข มี 2 ประการคือ 1. หิร ิ ความละอายในตนเอง

2. โอตัปปะ ความเกรงกลัวตอทุกข และความเสื่อมแลวไมกระทําความชั่ว

อธิฐานธรรม 4

เปนหลักธรรมที่ควรตั้งไวในจติใจเปนนิตย เพื่อเปนเครื่องนิยมนําจิตใจใหเกิดความรอบรูความจริง รูจักเสียสละ และบังเกิดความสงบ มี 4 ประการ 1. ปญญา ความรูในสิ่งที่ควรรู รูในวิชา 2. สัจจะ ความจริง คือประพฤติสิ่งใดก็ใหไดจริงไมทําอะไรจับจด

3. จาคะ สละสิ่งที่เปนขาศึกแหงความจริงใจ คือ สละความเกียจคราน หรือความหวาดกลัว ตอความยุงยาก ลําบาก 4. อุปสมะ สงบใจจากสิ่งที่เปนขาศึกตอความสงบ คือ ยับยั้งใจมิใหปนปวนตอความพอใจ รักใคร และความขัดเคืองเปนตน

Page 7: หลักธรรม ของ นักบริหาร

  7  

คหบดีธรรม 4 เปนหลักธรรมของผูครองเรือนพึงยึดถือปฏิบัต ิ มี 4 ประการ คือ 1. ความหมั่น 2. ความโอบออมอารี 3. ความไมตื่นเตนมัวเมาในสมบัต ิ 4. ความไมเศราโศกเสียใจเมื่อเกิดภัยวิบัต ิ

ราชสังคหวัตถ ุ4 เปนหลักธรรมอันเปนเครื่องชวยในการวางนโยบายบริหารบานเมืองใหดําเนินไปดวยด ีมี 4 ประการ คือ 1. ลัสเมธัง ความเปนผูฉลาดปรีชาในการพิจารณาถึงผลิตผลอันเกิดขึ้นในแผนดิน แลวพิจารณาผอนผันจัดเก็บเอาแตบางสวนแหงสิ่งนั้น

Page 8: หลักธรรม ของ นักบริหาร

  8  

2. ปุริสเมธัง ความเปนผูฉลาดในการดูคนสามารถเลือกแตงตั้งบุคคลใหดํารงตําแหนงในความถูกตองและเหมาะสม 3. สัมมาปาลัง การบริหารงานใหตองใจประชาชน

4. วาจาเปยยัง ความเปนบุคคลมีวาจาไพเราะรูจักผอนสั้นผอนยาวตามเหตุการณ ตามฐานะและตามความเปนธรรม

สติสัมปชญัญะ เปนหลักธรรมอันอํานวยประโยชนแกผูประพฤติเปนอันมาก 1.สต ิ คือ ความระลึกไดกอนทํา กอนบูชา กอนคัด คนมีสติจะไมเลินเลอ เผลอตน 2.สัมปชัญญะ คือ ความรูตัวในเวลากําลังทํา กําลังพูด กําลังคิด อกุศลมูล 3 อกุศลมูล คือ รากเหงาของความชั่ว มี 3 ประการคือ 1. โลภะ ความอยากได 2. โทสะ ความคิดประทุษรายเขา 3. โมหะ ความหลงไมรูจริง

นิวรณ 5 นิวรณ แปลวา ธรรมอันกลั้นจิตใจไมใหบรรลุความด ี มี 5 ประการ 1. กามฉันท พอใจรักใครในอารมณ มีพอใจในรูป เปนตน

Page 9: หลักธรรม ของ นักบริหาร

  9  

2. พยาบาท ปองรายผูอื่น 3. ถีนมิทธะ ความที่จิตใจหดหูและเคลิบเคลิ้ม 4. อุธัจจะกุกกุจจะ ความฟุงซานและรําคาญ 5. วิจิกิจฉา ความลังเลไมตกลงใจได ผูกําจัดหรือบรรเทานิวรณได ยอมไดนิสงส 5 ประการคือ 1. ไมของติดอยูในกายตนหรือผูอื่นจนเกินไป 2. มีจิตประกอบดวยเมตตา 3. มีจิตอาจหาญในการประพฤติความด ี 4. มีความพินิจและความอดทน 5. ตัดสินใจในทางดีไดแนนอนและถูกตอง

เวสารัชชกรณะ 5 เวสารัชชกรณะ แปลวา ธรรมที่ยังความกลาหาญใหเกิดขึ้นม ี 5 ประการ คือ 1. ศรัทธา เชื่อในสิ่งที่ควรเชื่อ 2. ศีล ประพฤติการวาจาเรยีบรอย 3. พาหุสัจจะ ความเปนผูศึกษามาก 4. วิริยารัมภะ ตั้งใจทําความพากเพียร 5. ปญญา รอบรูสิ่งที่ควรรู

Page 10: หลักธรรม ของ นักบริหาร

  10  

อริยทรัพย 7 1. ศรัทธา เชื่อในสิ่งที่ควรเชื่อ 2. ศีล ประพฤติการวาจาเรียบรอย 3. หิร ิ ความละอายตอบาปทุจริต 4. โอตัปปะ ความสะดุงกลัวตอบาปทุจริต 5. พาหุสัจจะ ความเปนคนไดยินไดฟงมามาก 6. จาคะ การใหปนสิ่งของแกคนที่ควรให

7. ปญญา ความรอบรูทั้งสิ่งที่เปนประโยชนและสิ่งที่เปนไท

สัปปุริสธรรม 7 เปนหลักธรรมอันเปนของคนด ี (ผูประพฤติชอบ) มี 7 ประการ 1. ธัมมัญุตา ความเปนผูรูวาเปนเหต ุ 2. อัตถัญุตา ความเปนผูรูจักผล 3. อัตตัญุตา ความเปนผูรูจักตน 4. มัตตัญุตา ความเปนผูรูจักประมาณ 5. กาลัญุตา ความเปนผูรูจักกาลเวลาอันเหมาะสม 6. ปุริสัญุตา ความเปนผูรูจักสังคม

Page 11: หลักธรรม ของ นักบริหาร

  11  

7. บุคคลโรปรัชญุตา ความเปนผูรูจักคบคน คุณธรรมของผูบริหาร 6 ผูบริหาร นอกจากจะมีคุณวุฒิในทางวิชาการตาง ๆ แลวยังจําเปนตองมีคุณธรรมอีก 6 ประการ 1. ขมา มีความอดทนเกง 2. ชาตริยะ ระวังระไว 3. อุฎฐานะ หมั่นขยัน 4. สังวิภาคะ เอื้อเฟอเผื่อแผ 5. ทยา เอ็นด ู กรุณา 6. อิกขนา หมั่นเอาใจใสตรวจตราหรือติดตาม

ยุติธรรม 5 นักบริหารหรือผูนํามักจะประสบปญหาหรือรองเรียนขอความเปนธรรมอยูเปนประจํา หลักตัดสินความเพื่อใหเกิดความ “ยุติธรรม” มี 5 ประการ คือ 1. สัจจวา แนะนําดวยความจริงใจ 2. บัณฑิตะ ฉลาดและแนะนําความจริงและความเสื่อม

Page 12: หลักธรรม ของ นักบริหาร

  12  

3. อสาหะเสนะ ตัดสินดวยปญญาไมตัดสินดวยอารมณผลุนผลัน 4. เมธาว ี นึกถึงธรรม (ยุติธรรม) เปนใหญไมเห็นแกอามิสสินจาง 5. ธัมมัฎฐะ ไมริษยาอาฆาต ไมตอเวร

ธรรมเครื่องใหกาวหนา 7 นักบริหารในตําแหนงตาง ยอมหวังความเจริญกาวหนาไดรับการเลื่อนชั้นเลื่อนตําแหนงสูงขึ้น พระพุทธองคทรงตรัสธรรมเครื่องเจริญยศ (ความกาวหนา) ไว 7 ประการ คือ 1. อุฎฐานะ หมั่นขยัน 2. สติ มีความเฉลียว 3. สุจิกัมมะ การงานสะอาด 4. สัญญตะ ระวังด ี 5. นิสัมมการ ี ใครครวญพิจารณาแลวจึงธรรม 6. ธัมมชีวี เลี้ยงชีพโดยธรรม 7. อัปปมัตตะ ไมประมาท

ไตรสิกขา เพื่อเปนการสนับสนุนใหเกิดความตั้งใจดีและมีมือสะอาด นักบริหารตองประกอบตนไวใน ไตรสิกขาขอที่ตองสําเหนียก 3 ประการ คือ 1. ศีล 2. สมาธิ

Page 13: หลักธรรม ของ นักบริหาร

  13  

3. ปญญา ทั้งนี้เพราะ ศีล เปนเครื่องสนับสนุนใหกาย (มือ) สะอาด สมาธิ เปนเครื่องสนับสนุนใหใจสงบ ปญญา เปนเครื่องทําใหใจสวาง รูถูก รูผิด

พระพุทธโอวาท 3 นักบริหารที่ทํางานไดผลด ี เนื่องจากได ”ตั้งใจด”ี และ “มือสะอาด” พระพุทธองคไดวางแนวไว 3 ประการ ดังนี ้ 1. เวนจากทุจริต การประพฤติชั่ว ทางกาย วาจา ใจ 2. ประกอบสุจริต ประพฤติชอบ ทางกาย วาจา ใจ 3. ทําใจของตนใหบริสุทธิ์สะอาด ไมโลภ ไมโกรธ ไมหลง การนําหลักธรรมที่ประเสริฐมาปฎิบัต ิ ยอมจักนําความเจริญ ตลอดจนความสุขกาย สบายใจ ใหบังเกิดแกผูประพฤติทั้งสิ้น สมดังพุทธสุภาษิตที่วา “ ธัมโม หเว รักขต ิ ธัมมจาริง” ธรรมะยอมคุมครองรักษาผูประพฤติธรรม