เรียนรู้ "ขยะ"

24
เรียนรู้ ขยะ

Upload: boom-pink

Post on 03-Jul-2015

341 views

Category:

Education


2 download

DESCRIPTION

มารู้จักการคัดแยกขยะกันนะคะ ^__^

TRANSCRIPT

Page 1: เรียนรู้ "ขยะ"

เรียนรู ้

“ขยะ”

Page 2: เรียนรู้ "ขยะ"

การคดัแยกขยะในแต่ละ

ประเทศอาจเหมือนหรือ

แตกต่างกนั ข้ึนอยู่กบั

นโยบายของประเทศนัน้ๆ

การคดัแยกขยะ

Page 3: เรียนรู้ "ขยะ"

การคดัแยกขยะ

ในประเทศไทย ทางกรุงเทพมหานคร

ไดมี้การแบ่งลกัษณะของขยะ

ออกเป็น 3 ประเภท ดงัน้ี

Page 4: เรียนรู้ "ขยะ"

การคดัแยกขยะ

1. ขยะเปียก เช่น เศษอาหาร เศษผกั

ผลไม ้หรือขยะท่ีย่อยสลาย เน่าเป่ือย

ไดง่้าย ขยะเหล่าน้ีมกัจะมีความช้ืน

สงูและส่งกล่ินเหม็นไดร้วดเร็ว

ท้ิงลงถงัขยะสีเขียว

Page 5: เรียนรู้ "ขยะ"
Page 6: เรียนรู้ "ขยะ"

การคดัแยกขยะ

2. ขยะแห้ง คือ ขยะท่ีน ากลับมา

ใชไ้ดใ้หม่ หรือท่ีเรียกว่าขยะรีไซเคิล

ไดแ้ก่ แกว้ กระดาษ โลหะ พลาสติก

เศษผา้ ฯลฯ

ท้ิงลงถงัขยะสีเหลือง

Page 7: เรียนรู้ "ขยะ"
Page 8: เรียนรู้ "ขยะ"

การคดัแยกขยะ

3. ขยะมี พิษ คือ ขยะ ท่ี มี พิษภัย

อั น ต ร า ย ไ ด้ แ ก่ ห ล อ ด ไ ฟ

ถ่ าน ไฟฉาย แบต เตอ ร่ี รถยนต ์

กระป๋องยาฆ่าแมลง ฯลฯ

ท้ิงลงถงัขยะสีเทาฝาสีสม้

Page 9: เรียนรู้ "ขยะ"
Page 10: เรียนรู้ "ขยะ"
Page 11: เรียนรู้ "ขยะ"

การลดปริมาณขยะ

ดว้ยวิธีการ 3R

การลดปริมาณขยะ

Page 12: เรียนรู้ "ขยะ"

1. Reuse การใชซ้ ้า เป็นการน าส่ิงท่ีใชแ้ลว้แต่ยงัอยู่ในสภาพดีมาใชอี้ก

เช่น น าถุงพลาสติกจากรา้นคา้มาใชใ้น

ครัง้ต่อไป

การลดปริมาณขยะ

Page 13: เรียนรู้ "ขยะ"

2. Reduce ลดการใช้ เป็นการลดการใชท้รพัยากรต่างๆ ใหน้อ้ยลง เช่น

ลดการใชส้ารเคมีปราบศตัรพืูช ดว้ย

การปลูกผกักางมุง้

การลดปริมาณขยะ

Page 14: เรียนรู้ "ขยะ"

3. Recycle การเวียนใช้ เป็นการน าส่ิงท่ีใชม้าแปรรปูใหใ้ชไ้ดอี้ก เช่น น า

พลาสติกท่ีใชแ้ลว้มาหลอมแลว้ผลิต

เป็นตะกรา้ ถงัน ้า

การลดปริมาณขยะ

Page 15: เรียนรู้ "ขยะ"

ลดการใช้ การใชซ้ ้า การเวียนใช้

Page 16: เรียนรู้ "ขยะ"
Page 17: เรียนรู้ "ขยะ"

1. โพลิเอทิลีนเทเรฟทาเลต (Polyethylene Terephthalate,PET,PETE) มีความใสความยืดหยุ่นสูงและป้องกันการซึมผ่านได้ ใช้ท าขวดบรรจนุ า้ดื่ม ขวดบรรจขุองดอง ขวดแยม ขวดน า้มันพืช ถาดอาหารส าหรับเตาอบและเคร่ืองส าอาง สามารถน ามารีไซเคิลเป็นเส้นใย ส าหรับท าเสื อ้กันหนาว พรม ใยสงัเคราะห์ส าหรับยดัหมอน ถงุหหูิว้ กระเป๋า ขวด

Page 18: เรียนรู้ "ขยะ"

2. โพลิเอทิลีนชนิดความหนาแน่นสูง (High Density polyethylene, HDPE) ใช้ท าขวดนม น า้ ผลไม้ โยเกิร์ต บรรจุภัณฑ์ส าหรับน า้ยาท าความสะอาด แชมพูสระผม แป้งเด็ก และถุงหูหิว้ สามารถน ามารีไ ซ เ คิ ล เ ป็นขวด ใส่ น า้ ย าซัก ผ้ า ข วดน า้มนัเคร่ือง ท่อ ลงัพลาสติก ไม้เทียมเพ่ือใช้ท ารัว้หรือม้านัง่ในสวน

Page 19: เรียนรู้ "ขยะ"

3. โพลิไวนิลคลอไรด์ (Polyvinyl Chloride, PVC) สามารถท าเป็นสีได้ไม่จ ากดั และทนน า้ได้ดี ใช้ท าท่อน า้ประปา สายยางใส แผ่นฟิล์มส าหรับห่ออาหาร ม่านในห้องอาบน า้ แผ่นกระเบือ้งยาง แผ่นพลาสติกปโูต๊ะ ขวดใส่แชมพูสระผม ประตู หน้าต่าง วงกล และหนังเทียมสามารถน ามารีไซเคิลเป็นท่อน า้ประปาหรือรางน า้ส าหรับการเกษตร กรวยจราจร เฟอร์นิเจอร์ ม้านัง่พลาสติก ตลบัเทป เคเบิล แผ่นไม้เทียม

Page 20: เรียนรู้ "ขยะ"

4. โพลิเอทิลีนชนิดความหนาแน่นต ่า(Low Density polyethylene, LDPE) มีความยืดหยุ่นสงู เหนียว ไม่มีกลิ่น ไม่มีสี ใช้ท าฟิล์มห่ออาหารและห่อของ ถุงใส่ขนมปัง ถุง เย็นส าหรับบรรจุอาหาร สามารถน ามารีไซเคิลเป็นถุงด าส าหรับใส่ขยะ ถุงหูหิว้ ถังขยะ กระเบือ้งปูพืน้ เฟอร์นิเจอร์ แทง่ไม้เทียม

Page 21: เรียนรู้ "ขยะ"

5. โพลิโพรพิลีน (Polypropylene, PP) มีความยืดหยุ่นสงู ทนสารเคมี และสามารถใช้งานกับอุณหภูมิท่ีสงูถึง 175 องศาเซลเซียส ใช้ท าภาชนะบรรจุอาหาร เช่น กล่อง ชามจาน ถัง ตะกร้า กระบอกใส่น า้แช่เย็น ขวดซอส แก้วโยเกิร์ต ขวดบรรจุยา สามารถน ามารีไซเคิลเป็นกล่องแบตเตอร่ีในรถยนต์ ชิน้ส่วนรถยนต์ เช่น กันชน กรวยส าหรับน า้มนั ไฟท้าย ไม้กวาดพลาสติก แปรง

Page 22: เรียนรู้ "ขยะ"

6. โพลิสไตรีน (Polystyrene, PS) ง่ายต่อการขึน้รูป สามารถพิมพ์สีสนัลวดลายให้สวยงามได้และสามารถใช้งานกบัอณุหภมูิตัง้แต่ -10 องศาเซลเซียส ถึง -80 องศาเซลเซียส ใช้ท าภาชนะบรรจุของใช้ เช่น เทปเพลง ส าลี หรือของแห้ง เช่น หมูแผ่น หมูหยอง และคุกกี ้ท าโฟมใส่อาหาร ซึง่จะเบามาก สามารถน ามารีไซเคิลเป็นไม้แขวนเสือ้ กล่องวิดีโอ ไม้บรรทัด กระเปาะเทอร์โมมิเตอร์ แผงสวิตช์ไฟ ฉนวนความร้อน ถาดใสไ่ข ่เคร่ืองมือเคร่ืองใช้ตา่งๆ

Page 23: เรียนรู้ "ขยะ"

7. พลาสติกชนิดอ่ืนท่ีไม่ใช่พลาสติกทัง้ 6 กลุ่มข้างต้น หรือเป็นผลิตภัณฑ์ท่ีท าจากพลาสติกหลายชนิดในขัน้ตอนของการบดพลาสติกเพ่ือให้ มีขนาดเล็กลง ไม่ไปอดุตนัในกระบวนการรีไซเคิลนัน้ จะท าให้พลาสติกรีไซเคิลมีสมบัติค วามแข็งแรงทางกายภาพลดลง เน่ืองจากแรงเฉือนเชิงกล (Mechanical Shear)ในเคร่ืองบด ไปท าลายโซ่ของโพลิเมอร์ให้แตกออก ท าให้ความยาวของโมเลกุลและน า้หนักโมเลกุลลดลง ซึ่ งสง่ผลให้สมบตัิเชิงกลของพลาสติกลดลง

Page 24: เรียนรู้ "ขยะ"