การเมืองการปกครองแบบประชาธิปไตยของไทยในปัจจุบัน...

12

Click here to load reader

Upload: ploypapat

Post on 27-Jul-2015

6.638 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: การเมืองการปกครองแบบประชาธิปไตยของไทยในปัจจุบัน

เอกสารประกอบการสอนรายวิชาสังคมศึกษา 2 MSHS 002 ( Humanities and Social Studies II )

เร่ือง การเมืองการปกครองแบบประชาธิปไตยของไทยในปจจุบัน การเปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 โดย คณะราษฎร ซ่ึงนําโดยพันเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา นับเปนการเปลี่ยนแปลงครั้งสําคัญที่สุดในการเมืองการปกครองของไทย เพราะเปนการเปลี่ยนจากระบอบการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย มาเปนระบอบการปกครองโดยรัฐธรรมนูญมีเปาหมายจะสถาปนาระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยเปนประมุข เปนหลักในการปกครอง

เม่ือคณะราษฎรทําการเปลีย่นแปลงการปกครองไดสําเร็จแลว ก็มีการประกาศใชพระราชบัญญัตธิรรมนูญการปกครองแผนดินสยามชั่วคราว พ.ศ. 2475 เม่ือวันที ่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ซ่ึงอาจถือไดวาเปนรัฐธรรมนูญฉบับแรก แมจะเปนกฎหมายที่ใชชัว่คราวก็ตาม และหลักจากนั้นประเทศไทยก็ปกครองโดยมีรัฐธรรมนูญเปนหลักมาโดยตลอด แมจะมีการยุบเลิกรัฐธรรมนูญบางก็เปนการชัว่ครั้งชั่วคราว ในที่สุดก็จะตองมีรัฐธรรมนูญฉบับใหมขึ้นมาทดแทนเสมอไป คงกลาวไดวา การปกครองของไทยนั้นพยายามที่จะยึดหลกัการปกครองโดยกฎหมาย คือ ใหมีบทบัญญัต ิ กฎเกณฑ กติกาที่แนนอนเปนแนวทางในการปกครอง

ประเทศไทยมกีารใชรัฐธรรมนูญและธรรมนูญการปกครอง จนกระทั่งถึงฉบับปจจุบันที่ประกาศใชเม่ือวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2534 รวมแลว 14 ฉบับ ทุกฉบับจะประกาศเจตนารมณทีจ่ะสรางการปกครองแบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตรยิเปนประมุขขึ้น แมบทบัญญัตขิองธรรมนูญแตละฉบับ จะเปนประชาธิปไตยไมสมบูรณตามหลักสากล เชน ในทกุ ฉบับจะตองมีสมาชิกรัฐสภาประเภทแตงตั้งเขามาทําหนาที่เปนผูแทนปวงชนชาวไทยรวมกันสมาชิกสภาผูแทนราษฎรที่มาจาการเลือกตั้งอยูเสมอ รัฐสภาบางสมัยมีสมาชิกที่มาจากการแตงตั้งทั้งหมด เปนตน ก็เปนเพราะเหตุผลและความจําเปนบางประการตามสถานการณในขณะน้ัน

การปกครองแบบประชาธิปไตยของไทย ตามที่กลาวมาแลววา รัฐธรรมนูญและธรรมนูญการปกครองทุกฉบับประกาศเจตนารมณไวชัดเจนวาตองการใหประเทศไทยมีการปกครองแบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยเปนประมุข ซ่ึงอาจวิเคราะหแยกแยะหลักการสําคัญๆ ของการปกครองแบบประชาธิปไตยของไทยไดดังน้ี 1 . อํานาจอธิปไตยและการใชอํานาจอธิปไตย รัฐธรรมนูญและธรรมนูญการปกครองทุกฉบับ กําหนดอํานาจอธิปไตยซึ่งถือเปนอํานาจสูงสุดในการปกครอง ใหมีการ

Page 2: การเมืองการปกครองแบบประชาธิปไตยของไทยในปัจจุบัน

2

แบงแยกการใชออกเปน 3 สวน คือ อํานาจนิติบัญญัต ิ หรืออํานาจในการออกกฎหมาย อํานาจบริหาร หรืออํานาจในการนํากฎหมายไปบังคับใช และบําบัดทุกขบาํรุงสุขประชาชนและอํานาจตุลาการ หรืออํานาจในการตัดสินคดีใหเปนไปตามกฎหมาย เม่ือมีขอขัดแยงเกิดขึ้น องคกรที่ใชอํานาจทั้ง 3 สวนนี ้คือ รัฐสภา เปนผูใชอํานาจนิตบิัญญัต ิ รัฐบาล หรือคณะรัฐมนตรเีปนผูใชอํานาจบริหาร และ ศาล เปนผูใชอํานาจตุลาการ โดยใชในพระปรมาภิไธยของพระมหากษัตริย การกําหนดใหมีการแยกการใชอํานาจอธิปไตยออกเปน 3 สวน และใหมีองคกร 3 ฝาย รับผิดชอบไปองคกรแตละสวนนี้ เปนไปตามหลักการประชาธิปไตย ที่ไมตองการใหมีการรวมอํานาจแตตองการใหมีการถวงดุลอํานาจซึ่งกันและกัน เพราะถาใหองคกรใดเปนผูใชอํานาจมากกวาหนึ่งสวนแลวอาจเปนชองทางใหเกิดการใชอํานาจแบบเผด็จการได เชน ถาใหคณะรัฐมนตรเีปนผูใชอํานาจนิติบัญญัติและอํานาจบริหาร คณะรัฐมนตรีก็อาจจะออกกฎหมายที่ไมสอดคลองกับความตองการของประชาชน และนํากฎหมายนั้นไปบังคบัใชเพ่ือประโยชนของตนเพียงฝายเดียว การแยกอํานาจนั้นเปนหลักประกันใหมีการคานอํานาจซึ่งกันและกัน และปองกันการใชอํานาจเผด็จการ

2 . รูปของรัฐ ประเทศไทยจัดวาเปนรฐัเด่ียว รัฐธรรมนูญและธรรมนูญการปกครองทุกฉบับกําหนดไววา ประเทศไทยเปนอาณาจักรอันหนึ่งอันเดียวจะแบงแยกมิได ศูนยอํานาจทางการเมืองและการปกครองมาจากแหลงเดียวกัน ประชาชนทั้งหมดอยูภายใตเอกรัฐ ซ่ึงจะตองปฏิบัตติามอํานาจหนึ่งอํานาจเดียว พรอมทั้งอยูภายใตรัฐธรรมนญูและกฎหมายเดียวกัน การใชอํานาจอธิปไตยทั้งภายในและภายนอกประเทศเปนอันหนึ่งอันเดียวกันทั้ง ประเทศ การปกครองภายในประเทศ แมจะมีการแบงอํานาจการปกครองไปตามเขตการปกครอง เชน จังหวัด อําเภอ ก็เปนเพียงการแบงอํานาจตามลักษณะการปกครองสวนภูมิภาค เพ่ือแบงเบาภาระของรัฐบาลในสวนกลางและความสะดวกของประชาชนในการรับบริการจากรัฐ อํานาจที่แทจริงยังคงอยูที่รัฐบาลในสวนกลาง หนวยงานในภูมิภาคเปนเพียงผูรับเอาไปปฏิบัติเทานั้น ไมสามารถที่จะกําหนดการดําเนินการในความรับผิดชอบของตนโดยอิสระ

การปกครองระดับทองถิ่น อันไดแก องคการบริหารสวนจังหวัด เทศบาล สุขาภิบาล รวมทั้งการปกครองรูปกรุงเทพมหานคร และเมืองพัทยานั้น แมจะมีอิสระพอสมควรในการดําเนินการ และมีการเลือกตั้งเพ่ือใหประชาชนในทองถิ่นใหเขามามสีวนรวมในการปกครอง มีลักษณะในการกระจายอํานาจ การปกครองแตก็ยังไมเปนอิสระหรอืการปกครองตนเองอยางแทจริง รัฐบาลในสวนกลางยังมีสวนเขาไปควบคุมหรือรวมในการดําเนินการอยูดวย อยางไรก็ตามการปกครองระดับทองถิ่นน้ีมีสวนในการฝกประชาชน ใหรูจักการปกครอง ตนเองตามหลักการประชาธิปไตย

3. ประมุขแหงรัฐ รัฐธรรมนูญและธรรมนูญการปกครองทุกฉบับกําหนดรูปแบบการปกครองไววาเปน แบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยเปนประมุข และ กําหนด

Page 3: การเมืองการปกครองแบบประชาธิปไตยของไทยในปัจจุบัน

3

ไวอยางชัดแจง เทิดทูนพระมหากษัตริยเปนสถาบันสูงสุด ดํารงอยูในฐานะอันเปนที่เคารพสักการะผูใดจะละเมิดมิได รัฐธรรมนูญกําหนดวา ผูใดจะกลาวหาหรือฟองรองพระมหากษัตริยในทางใดๆ มิได พระราชอํานาจของพระมหากษัตริย จํามีกําหนดไวในรัฐธรรมนูญ โดยปกติ รัฐธรรมนูญกําหนดใหพระมหากษัตริยเปนผูใชอํานาจอธิปไตยซึ่งเปนของประชาชนโดยใชอํานาจนิติบัญญัติผานทางรัฐสภา อํานาจบริหารผานทางคณะรัฐมนตรี และอํานาจตุลาการผานทางศาล การกําหนดเชนน้ี หมายความวาอํานาจตางๆ จะใชในพระปรมาภิไธยของพระมหากษัตริยซ่ึงในความเปนจริงอํานาจเหลานี้มีองคกรเปนผูใช ฉะน้ันการที่บัญญัติวาพระมหากษัตริยเปนผูใชอํานาจนิติบัญญัติ อํานาจบริหาร และอํานาจตุลาการผานทางองคกรตางๆ น้ันจึงเปนการเฉลิมพระเกียรติ แตอํานาจที่แทจริงอยูที่องคกร ที่เปนผูพิจารณานําขึ้นทูลเกลาฯ ถวายเพื่อพระมหากษัตริยทรงลงพระปรมาภิไธย

ยางไรก็ตาม แมกระทั่งพระมหากษัตริยในระบอบรัฐธรรมนูญ จะไดรับการเชิดชูใหอยูเหนือการเมือง และกําหนดใหมีผูรับสนองพระบรมราชโองการในการปฏิบัติการทางการปกครองทุกอยาง แตพระมหากษัตริยก็ทรงมีพระราชอํานาจบางประการที่ไดรับการรับรองโดยรัฐธรรมนูญและเปนพระราชอํานาจที่ทรงใชไดตามพระราชอัธยาศัยจริงๆ ไดแก การตั้งคณะองคมนตรี การพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ เปนตน

พระราชอํานาจที่สงผลกระทบตอการเมืองการปกครองอยางแทจริง คือ พระราชอํานาจในการยับยั้งรางพระราชบัญญัติ ในกรณีที่พระมหากษัตริยทรงไมเห็นดวยกับรางพระราชบัญญัติที่ผานการเห็นชอบของรัฐสภามาแลว และนายกรัฐมนตรีนําขึ้นทูลเกลาฯ ถวายเพ่ือพระมหากษัตริยทรงลงพระปรมาภิไธยประกาศใช ก็อาจใชพระราชอํานาจยับยั้งเสียก็ได ซ่ึงรัฐสภาจะตองนํารางพระราชบัญญัติที่ถูกยับยั้งนั้นไปพิจารณาใหม แตในทางปฏิบัติไมปรากฏวา พระมหากษัตริยทรงใชพระราชอํานาจนี้

4. สิทธิเสรีภาพและหนาที่ของประชาชน รัฐธรรมนูญไดกําหนดสิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทยไวอยางกวางขวาง สิทธิ และเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ น้ีเปนไปตามแนวทางประชาธิปไตย คือ มีการระบุสิทธิและเสรีภาพขั้นพ้ืนฐานตางๆ ไวครบครัน เชน เสรีภาพในการแสดงออกในการชุมนุมโดยสงบ และปราศจากอาวุธในการสมาคมหรือรวมกลุม เปนตน รวมทั้งมีหลักประกัน ในเรื่องสิทธิตางๆ คือ การละเมิดสิทธิจะกระทํามิได เวนแตโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมายเทานั้น อยางไรก็ตามรัฐธรรมนูญมีขอจํากัดในเรื่องสิทธิและเสรีภาพ คือ จะตองไมใหเปนปฏิปกษตอชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย และรัฐธรรมนูญ เปนตน สวนหนาที่ของชนชาวไทยทุกคนตามรัฐธรรมนูญ มีดังน้ี (1) บุคคลมีหนาที่รักษาไวซ่ึง ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย และการปกครองระบอบประชาธิปไตยตามรัฐธรรมนูญน้ี (2) บุคคลมีหนาที่ที่จะใชสิทธิในการเลือกตั้งโดยสุจริต

Page 4: การเมืองการปกครองแบบประชาธิปไตยของไทยในปัจจุบัน

4

(3) บุคคลมีหนาที่ปองกันประเทศ (4) บุคคลมีหนาที่รับราชการทหารตามที่กฎหมายบัญญัติ (5) บุคคลมีหนาที่ปฏิบัติตามกฎหมาย (6) บุคคลมีหนาที่เสียภาษีอากรตามที่กฎหมายบัญญัติ (7) บุคคลมีหนาที่ชวยเหลือราชการตามที่กฎหมายบัญญัติ (8) บุคคลมีหนาที่รับการศึกษาอบรมตามที่กฎหมายบัญญัติ (9) บุคคลมีหนาที่พิทักษและปองกันศิลปและวัฒนธรรมของชาติ (10) บุคคลมีหนาที่รักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมตามที่กฎหมายบัญญัติ

5. การปกครองแบบรัฐสภา รัฐธรรมนูฐกําหนดใหมีการปกครองระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา คือ ใหมีรัฐสภาเปนหลักในการปกครอง ซ่ึงนอกจากทําหนาที่พิจารณาบัญญัติกฎหมาย และเปนตัวแทนแสดงเจตนารมณแทนประชาชน แลว ยังเปนสถาบันที่มีบทบาทในการคัดเลือกนายกรัฐมนตรี และควบคุมการบริหารงานของรัฐบาล

5.1 องคประกอบของรัฐสภา รัฐสภาไทยเคยมีใชทั้งระบบสภาเดียวและระบบ 2 สภา แตรัฐธรรมนูญสวนใหญรวมทั้งฉบับปจจุบันมักใชระบบ 2 สภา คือ มีวุฒิสภา และสภาผูแทนราษฎร โดยมีลักษณะและหนาที่ดังตอไปน้ี 1. วุฒิสภา สมาชิกประกอบดวยบุคคลที่พระมหากษัตริยทรงแตงตั้งโดยคําแนะนําของนายกรัฐมนตรีซ่ึงเทากับใหนายกรัฐมนตรีเปนผูเลือกสรร วุฒิสภาทําหนาที่เปนสภาผูทรงคุณวุฒิ คอยกลั่นกรองรางพระราชบัญญัติที่ผานการเห็นชอบของสภาผูแทนราษฎรมาแลว และรวมกับสมาชิกสภาผูแทนราษฎรในการพิจารณาและตัดสินปญหาสําคัญๆ ของประเทศ เชน การสถาปนาพระมหากษัตริย การประกาศสงคราม เปนตน จํานวนของวุฒิสมาชิกขึ้นอยูกับรัฐธรรมนูญกําหนดแตสวนใหญมักกําหนดเปนสัดสวน และนอยกวาจํานวน สมาชิกสภาผูแทนราษฎร รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2534 แกไขเพ่ิมเติม พ.ศ. 2538 กําหนดใหมี 2 ใน 3 ของจํานวนสมาชิกสภาผูแทนราษฎร วาระในการดํารงตําแหนงของวุฒิสมาชิก คือ 4 ปอยางไรก็ตามที่มาของวุฒิสมาชิกอาจไดมาโดยวิธีการอื่นใดนอกเหนือจากนี้ก็ได ทั้งน้ีขึ้นอยูกับขอกําหนดในรัฐธรรมนูญฉบับน้ันๆ 2. สภาผูแทนราษฎร สมาชิกมาจากการเลือกตั้งโดยประชาชน รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2534 ซ่ึงแกไขเพ่ิมเติม พ.ศ. 2538 กําหนดใหมีสมาชิกสภาผูแทนราษฎรที่ไดรับเลือกตั้งจะมีวาระในการดํารงตําแหนง 4 ป เวนแตจะมีการยุบสภากอนครบวาระ สมาชิกสภาผูแทนราษฎรหรือ ส.ส. เปนตัวแทนของประชาชนในการใชอํานาจนิติบัญญัติ

Page 5: การเมืองการปกครองแบบประชาธิปไตยของไทยในปัจจุบัน

5

วุฒิสมาชิกและสมาชิกสภาผูแทนราษฎรถือเปนผูแทนของปวงชนชาวไทย แมวาฝายแรกจะมาจากการแตงตั้ง และฝายหลังมาจากการเลือกตั้ง แตการใชอํานาจนิติบัญญัติน้ันเม่ือพิจารณาจากบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญแลวจะเห็นวา สภาผูแทนราษฎรมีมากกวา เชน สมาชิกสภาผูแทนราษฎรมีสิทธิเสนอรางพระราชบัญญัติแตวุฒิสมาชิกไมมี สมาชิกสภาผูแทนราษฎรมีอํานาจยื่นญัตติขอเปดอภิปรายทั่วไปเพ่ือลงมติไมไววางใจรัฐมนตรีทั้งคณะหรือรายบุคคล แตวุฒิสมาชิกไมมี สวนอํานาจในการยับยั้งรางพระราชบัญญัติที่ผานความเห็นชอบจากสภาผูแทนราษฎรมาแลวของวุฒิสภาก็ไมใชอํานาจเด็ดขาด เพราะถาสภาผูแทนราษฎร โดยที่มีเสียงเกินครึ่งของจํานวนสมาชิกทั้งหมดยังยืนยันตามเดิม ก็ถือวารางพระราชบัญญัติน้ันผานความเห็นชอบของรัฐสภา ผูที่จะดํารงตําแหนงประธานรัฐสภานั้น รัฐธรรมนูญบางฉบับก็กําหนดใหประธานวุฒิสภาเปนบางฉบับก็ใหประธานสภาผูแทนราษฎรดํารงตําแหนง รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2534 ในตอนแรกกําหนดใหประธานวุฒิสภาเปนประธานรัฐสภา แตในป พ.ศ. 2535 ไดมีการแกไขรัฐธรรมนูญใหประธานสภาผูแทนราษฎรเปนประธานรัฐสภา ทั้งนี้ใหบังคับใชหลังมีการเลือกตั้งทั่วไปครั้งใหม และประธานวุฒิสภาเปนรองประธานรัฐสภา 5.2 หนาที่ของรัฐสภา รัฐสภาเปนสถาบันตัวแทนแสดงเจตนารมณแทนประชาชน มีหนาที่สําคัญ 2 ประการ คือ 1. การบัญญัติกฎหมาย ผูมีสิทธิเสนอรางกฎหมายหรือรางพระราชบัญญัติตอรัฐสภา คือ คณะรัฐมนตรีหรือสมาชิกสภาผูแทนราษฎร (ส.ส.) แตการเสนอโดยคณะรัฐมนตรีจะทําไดงายกวา ดังตัวอยางรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2534 กําหนดวา ในกรณีที่สมาชิกสภาผูแทนราษฎรเปนผูเสนอจะตองไดรับมติเห็นชอบจากพรรคการเมืองที่ผูเสนอสังกัดอยู และมี ส.ส. พรรคเดียวกันลงชื่อรวมสนับสนุน อีกอยางนอย 20 คน การพิจารณาจะแบงเปน 2 ขั้นตอน คือ สภาผูแทนราษฎรเปนผูพิจารณากอน หากเห็นชอบใหเสนอตอวุฒิสภาใหพิจารณาอีกครั้งหน่ึง หากวุฒิสภาใหความเห็นชอบดวย ถือวาผานความเห็นชอบของรัฐสภา ถาวุฒิสภาไมเห็นชอบดวยก็จะใชสิทธิยับยั้ง ซ่ึงสภาผูแทนราษฎรจะตองพิจารณาใหม หากยืนยันความเห็นเดิมโดยมติที่มีเสียงเกินครึ่งของจํานวนสมาชิกก็ถือวา พระราชบัญญัติน้ันผานความเห็นชอบของรัฐสภา เพราะฉะนั้นรางพระราชบัญญัติใดหากสภาผูแทนราษฎรไมเห็นดวย ก็ไมสามารถที่จะเปนกฎหมายขึ้นมาได 2. ควบคุมฝายบริหาร รัฐสภามีหนาที่ควบคุมการบริหารของคณะรัฐมนตรีทําไดหลายวิธี คือ 1. การพิจารณานโยบายของรัฐบาล คณะรัฐมนตรีกอนเขารับหนาที่บริหารประเทศ จะตองแถลงนโยบายตอรัฐสภาวา จะดําเนินการบริหารประเทศอยางไร ปกติรัฐสภาจะพิจารณาและลงมติวา สมควรใหความเห็นชอบไววางใจหรือไม หากไมใหความไววางใจ

Page 6: การเมืองการปกครองแบบประชาธิปไตยของไทยในปัจจุบัน

6

รัฐบาลก็ตองลาออก แตปจจุบันน้ีรัฐธรรมนูญ กําหนดใหรัฐสภาเพียงแตรับฟงและอภิปรายแสดงความคิดเห็นเทานั้น ไมมีการลงมติ 2. การตั้งกระทูถาม สมาชิกสภาผูแทนราษฎรและวุฒิสภา มีสิทธิตั้งกระทูถามรัฐบาล หรือรัฐมนตรีรายบุคคล เม่ือมีขอสงสัยเกี่ยวกับการปฏิบัติหนาที่ หรือเร่ืองที่อยูในหนาที่ แตรัฐบาลหรือรัฐมนตรีมีสิทธิที่จะไมตอบ ถาเห็นวาเรื่องที่ตั้งกระทูน้ันเกี่ยวกับความปลอดภัย หรือประโยชนสําคัญของแผนดินที่ยังไมควรเปดเผยการตอบกระทูถามในแตละสภาอาจตอบในหนังสือราชกิจจานุเบกษาก็ไดทั้งน้ีขึ้นอยูกับความประสงคของผูถาม 3. การยื่นญัติเปดอภิปรายทั่วไปเพ่ือลงมติไมไววางใจรัฐมนตรีเปนรายบุคคลหรือทั้งคณะ สมาชิกสภาผูแทนราษฎรจํานวนไมนอยกวา 1 ใน 5 ของจํานวนสมาชิกที่มีอยูมีสิทธิเขาชื่อเสนอญัตติขอเปดอภิปรายทั่วไป เพ่ือลงมติไมไววางใจรัฐมนตรีเปนรายบุคคลหรือทั้งคณะในกรณีที่เห็นวาดําเนินการบริหารเปนผลเสียตอสวนรวม ปกติการอภิปรายและลงมติน้ันกระทําในที่ประชุมสภาผูแทนราษฎรเทานั้น มติไมไววางใจจะตองมีคะแนนเสียงมากกวากึ่งหน่ึงของจํานวนสมาชิกทั้งหมดของสภาผูแทนราษฎรจึงจะมีผลบังคับตามรัฐธรรมนูญ การควบคุมฝายบริหารโดยการยื่นญัตติขอเปดอภิปรายทั่วไปนี้ถือวาเปนวิธีการควบคุมที่มีประสิทธิภาพที่สุด และจุดประสงคของรัฐธรรมนูญตองการใหเปดไดไมยากนัก เพ่ือให ส.ส. มีโอกาสตรวจสอบการบริหารงานของคณะรัฐมนตรี จะเห็นไดจากการกําหนดจํานวน ส.ส. ที่จะยื่นญัตติไวเพียง 1 ใน 5 ของจํานวน ส.ส. ทั้งหมดแมวาในการเปดอภิปรายแตละครั้ง เม่ือลงมติกันแลว คะแนนไมไววางใจมักจะไมเกินกึ่งหนึ่งของจํานวน ส.ส.เพราะการลงคะแนนจะเปนไปตามระบบพรรค ฝายรัฐบาลจะมี ส.ส. เกินครึ่งอยูแลว ทําใหไมมีผลที่จะทําใหรัฐมนตรีพนจากตําแหนงดวยมติ แตเน้ือหาถอยความในการอภิปรายนั้นจะไดรับการเผยแพรใหประชาชนรับทราบทําใหผูถูกอภิปรายอาจเสียคะแนนนิยมได ถาไมมีเหตุผลเพียงพอในการตอบโตขอบกพรองที่ถูกหยิบยกขึ้นมาอภิปราย อยางไรก็ตาม ส.ส. แตละคน จะมีสิทธิลงชื่อในการยื่นญัตติขอเปดอภิปรายนี้เพียงสมัยประชุมละครั้งเดียว 6. คณะรัฐมนตรี รัฐบาลหรือคณะรัฐมนตรี เปนผูใชอํานาจบริหาร รัฐมนตรีตองรับผิดชอบในหนาที่ของตน และตองรับผิดชอบรวมกันในนโยบายทั่วไปของคณะรัฐมนตรีตอสภาผูแทนราษฎร หมายความวา สภาผูแทนราษฎรมีสิทธิที่จะควบคุมการบริหารของคณะรัฐมนตรี เพราะสภาผูแทนราษฎรเปนสถาบันตัวแทนแสดงเจตจํานงของประชาชน ถาเห็นวา คณะรัฐมนตรีดําเนินการบริหารบกพรองหรือไมเปนไป เพ่ือประโยชนสุขของประชาชนก็อาจเปดอภิปรายทั่วไป เพ่ือลงมติไมไววางใจรัฐบาลเปนรายบุคคลหรือทั้งคณะไดซ่ึงถาทําสําเร็จก็จะมีผลใหรัฐมนตรีเปนรายบุคคลหรือทั้งคณะตองพนจากตําแหนงไป เม่ือรัฐธรรมนูญใหรัฐสภาควบคุมรัฐบาล ในทํานองเดียวกัน รัฐบาลมีสิทธิควบคุมสภาผูแทนราษฎรดวย เปนการถวงดุลแหงอํานาจ ไมใหฝายใดมีอํานาจมากกวาอีกฝายหน่ึงเกินไปเคร่ืองมือควบคุมสภาผูแทนราษฎรคือ การยุบสภา นายกรัฐมนตรีมีสิทธิทูลเกลาฯ

Page 7: การเมืองการปกครองแบบประชาธิปไตยของไทยในปัจจุบัน

7

เสนอเพื่อพระมหากษัตริย ทรงตราพระราชกฤษฎีกายุบสภาได การยุบสภา คือ การใหสมาชิกสภาผูแทนราษฎรพนจากตําแหนงและจัดใหมีการเลือกตั้งใหมภายใน 60 วัน เพราะฉะนั้นใน กรณีที่มีความขัดแยงระหวางรัฐบาลกับสภา สมาชิกสภาผูแทนราษฎรก็ตองระมัดระวังบทบาทพอสมควรเชนกัน เพราะแทนที่รัฐบาลจะเลือกเอาการลาออกหรือยอมใหเปดอภิปรายทั่วไปเพ่ือลงมติไมไววางใจ รัฐบาลอาจเลือกเอาการยุบสภามาใชก็ได โดยปกติตามหลักการประชาธิปไตย เม่ือมีขอขัดแยงระหวางฝายบริหารกับฝายนิติบัญญัติ เชน รัฐบาลตราพระราชกําหนดออกมาบังคับใช แตสภาสภาผูแทนราษฎรไมอนุมัติ เปนตน เม่ือเกิดขอขัดแยงขึ้น ปกติรัฐบาลจะลาออกเมื่อเห็นวาในขอขัดแยงนั้นประชาชนสวนใหญสนับสนุนสภาผูแทนราษฎร เพ่ือเปดโอกาสใหสภาผูแทนราษฎรจัดตั้งรัฐบาลใหม และรัฐบาลจะยุบสภาในกรณีที่เห็นวาประชาชนสนับสนุนรัฐบาลมากกวารัฐสภา เพ่ือเปดโอกาสใหประชาชนเลือกผูแทนราษฎรที่สนับสนุนรัฐบาลเขามาสนับสนุนรัฐบาลตอไป เร่ืองยุบสภานี้เปนการยุบสภาผูแทนราษฎรเทานั้น ไมเกี่ยวของกับวุฒิสภาแตอยางใด

6 . 1 องคประกอบของคณะรัฐมนตรี รัฐบาลประกอบดวยนายกรฐัมนตรีและคณะรัฐมนตรรีวมคณะ อีกจํานวนไมเกินที่รัฐธรรมนูญกําหนดไว ตามรัฐธรรมนญู พ.ศ. 2534 กําหนดไวใหมีรัฐมนตรีไมเกิน 48 คน นอกเหนือจากนายกรัฐมนตร ีปกตินายกรัฐมนตรีจะตองเปนผูไดรับเสยีงสนับสนุนสวนใหญจากสภาผูแทนราษฎร หรือสภาผูแทนราษฎรเปนผูคัดเลือกนายกรัฐมนตรีน่ันเอง และนายกรัฐมนตรีจะเปนผูคัดเลือกรัฐมนตรีรวมคณะซึ่งการคัดเลอืกมักจะตองคํานึงถึงเสียงสนบัสนุนของสมาชิกสภาผูแทนราษฎรเปนหลัก เพราะรัฐบาลตองไดรับเสียงขางมากของสมาชิกสภาผูแทนราษฎรสนับสนุน การแตงตั้งนายกรัฐมนตร ี ประธานรฐัสภาจะเปนผูรับสนองพระบรมราชโองการ และในการแตงตั้งรฐัมนตร ี นายกรัฐมนตรีเปนผูรับสนอง พระบรมราชโองการ 6.2 อํานาจและหนาที่ของคณะรัฐมนตรี อํานาจและหนาที่ของคณะรัฐมนตรี ตามที่กําหนดไวในรัฐธรรมนูญมีหลายประการ ไดแก อํานาจในการเสนอรางพระราชบัญญัติตอสภา การตราพระราชกําหนด การตราพระราชกฤษฎีกา เปนตน นายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีไดรับการกําหนดใหเปนผูรับสนองพระบรมราชโองการเกี่ยวกับบทกฎหมาย พระราชหัตถเลขา พระบรมราชโองการใดๆ อันเกี่ยวกับราชการแผนดิน นอกจากนี้ในฐานะเปนรัฐบาล คณะรัฐมนตรีตองทําหนาที่ประสานงาน ระหวางกระทรวง ทบวง กรมตางๆ วางระเบียบขอบังคับใหกระทรวง ทบวง กรม ถือปฏิบัติและพิจารณาลงมติเร่ืองตางๆ ที่กระทรวง ทบวง กรมเสนอมาและยังมีอํานาจหนาที่อีกหลายประการที่กําหนดไวในกฎหมายอื่นๆ 7. ตุลาการ อํานาจตุลาการหรืออํานาจในการตัดสินคดีใหเปนไปตามกฎหมาย อํานาจนี้เปนของศาลยุติธรรมทั้งหลาย เปนอํานาจที่สําคัญที่สุดอํานาจหนึ่ง เพราะเปนสวนหน่ึงของอํานาจอธิปไตย ดังน้ัน ฝายตุลาการจึงตองมีอิสระในการพิจารณาพิพากษาอรรถคดีให

Page 8: การเมืองการปกครองแบบประชาธิปไตยของไทยในปัจจุบัน

8

เปนไปตามกฎหมาย สําหรับการปกครองไทย หลักประกันสําหรับตุลาการที่จะมีอิสระในการวินิจฉัยคดีโดยปราศจากอิทธิพลจากฝายอ่ืนที่บีบบังคับเปลี่ยนคําพิพากษา คือ กําหนดใหมีคณะกรรมการตุลาการ (ก.ต.) ซ่ึงประกอบดวยบุคคลในวงการตุลาการทั้งสิ้น ทั้งจากการเลือกตั้งโดยตุลาการดวยกัน และโดยตําแหนง มีประธานศาลฎีกาเปนประธานคณะกรรมการตุลาการโดยตําแหนง คณะกรรมการตุลาการเปนองคกรอิสระในการดําเนินการใหความเห็นชอบเกี่ยวกับการแตงตั้ง ยาย ถอดถอน เลื่อนตําแหนงและเลื่อนเงินเดือนผูพิพากษา หมายความวา การใหคุณใหโทษกับผูพิพากษานั้นขึ้นอยูกับคณะกรรมการตุลาการ ฝายบริหารหรือรัฐมนตรีจะดําเนินการตามใจชอบไมได การกําหนดเชนนี้ทําใหฝายบริหารไมสามารถใชอิทธิพลแทรกแซงการตัดสินคดีของผูพิพากษาได และทําใหอํานาจตุลาการเปนอํานาจอิสระ สามารถที่จะถวงดุลกับอํานาจนิติบัญญัติและอํานาจบริหารได ตามหลักการแบงแยกอํานาจอธิปไตย 8. ตุลาการรัฐธรรมนูญ ความเปนกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ ในการปกครองของไทยจะเห็นไดจากการจัดตั้งใหมี คณะตุลาการรัฐธรรมนูญ เพ่ือทําหนาที่ตรวจสอบพิจารณาวา การกระทําหรือกฎหมาย ที่ยกรางขึ้นนั้นขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญหรือไม ถาขัดหรือแยงก็กระทําไมไดหรือเปนโมฆะ เพราะรัฐธรรมนูญเปนบทบัญญัติสูงสุด คณะตุลาการรัฐธรรมนูญตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2534 ประกอบดวยประธานรัฐสภาเปนประธาน ประธานวุฒิสภา ประธานศาลฎีกา อัยการสูงสุด เปนกรรมการโดยตําแหนง มีผูทรงคุณวุฒิสาขานิติศาสตร หรือ รัฐศาสตรอีก 6 คน ที่วุฒิสภาและสภาผูแทนราษฎรแตงตั้งมาสภาละ 3 คน (ซ่ึงจะตองไมไดเปนสมาชิกสภาทั้งระดับรัฐและทองถิ่น ขาราชการประจําพนักงานรัฐวิสาหกิจ และพนักงานทองถิ่น) รวมเปนกรรมการดวย ผูมีสิทธิรองขอใหคณะกรรมการตุลาการรัฐธรรมนูญพิจารณาการกระทําใดๆ หรือรางพระราชบัญญัติ และกฎหมายที่ใชบังคับคดีวาขัดแยงตอบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญหรือไม คือ นายกรัฐมนตรี สมาชิกสภา (ตามจํานวนและเง่ือนไขที่รัฐธรรมนูญกําหนด) และศาล

9. การปกครองทองถิ่น การปกครองของไทยใหความสําคัญตอการปกครองทองถิ่น และใชหลักการกระจายอํานาจ จะเห็นไดจากการที่รัฐบาลไดแถลงนโยบายตอรัฐสภาวา รัฐพึงสงเสริมทองถิ่นใหมีสิทธิปกครองตนเองไดตามที่กฎหมายบัญญัติ ปจจุบันมีการจัดหนวยการ ปกครองทองถิ่นหลายแบบและหลายระดับ คือ กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา องคการบริหารสวนจังหวัด เทศบาล สุขาภิบาล เปนตน แตละแบบก็ใหสิทธิประชาชนในทองถิ่นมีสวนรวมในการดําเนินการตามลักษณะการกระจายอํานาจใหทองถิ่น สามารถดําเนินการของตนเองได อยางไรก็ตามในพฤติกรรมความเปนจริงรัฐบาลในสวนกลาง หรือฝายบริหารก็มีสวนรวมในการบริหารและควบคุมการปกครองทองถิ่นอยูมาก โดยเฉพาะในบางรูป

Page 9: การเมืองการปกครองแบบประชาธิปไตยของไทยในปัจจุบัน

9

เชน องคการบริหารสวนจังหวัด สุขาภิบาล และสภาตําบล และบางรูป คือ กรุงเทพมหานครและเมืองพัทยา ในบางสมัยก็ใชวิธีการแตงตั้งแทนการเลือกตั้ง เปนตน

10. พรรคการเมือง โดยปกติในการปกครองแบบประชาธิปไตย จําเปนตองมีพรรคการเมืองเพราะพรรคการเมืองเปนที่สรางพลังใหกับอุดมการณ เปนที่ที่อาจคนหาเสียงสวนใหญของมหาชน และเปนสถาบันที่ทําใหคนตางทองถิ่นสามารถรวมมือกันทางการเมืองได ในไทยพรรคการเมืองก็มีบทบาทสําคัญไมนอย โดยเฉพาะแตละครั้งที่เปดโอกาสใหมีการเลือกตั้งจะมีการรวมกลุมจัดตั้งพรรคการเมืองเสมอ แมในบางสมัยจะไมมีกฎหมายพรรคการเมืองก็ตาม แตรัฐธรรมนูญก็เปดโอกาสใหมีเสรีภาพในการจัดตั้งพรรคการเมืองได จึงมีการรวมกลุมกันเปนพรรคการเมือง แมจะไมไดรับการรับรองจากกฎหมายเปนทางการก็ตาม อยางไรก็ตามพรรคการเมืองของไทยมีบทบาทในวงแคบ คือ มีผูเขารวมสวนใหญ เปนนักการเมือง ประชาชนโดยทั่วไปมีสวนรวมกับพรรคการเมืองไมมากนัก 11. การเลือกตั้ง เปนวิธีการสําคัญในการปกครองระบอบประชาธิปไตนเพราะเปนกระบวนการคัดเลือกผูทําหนาที่เปนผูแทนประชาชนประเทศไทยเริ่มมีการเลือกตั้งสมาชิกสภา ผูแทนราษฎรครั้งแรกเม่ือ 15 พฤศจิกายน 2476 แตการเลือกตั้งไมไดมีประจําสม่ําเสมอมีวางเวนในระยะที่ใชรัฐธรรมนูญปกครองชั่วคราวภายหลังการปฏิวัติ อยางไรก็ตามการเลือกตั้งเทาที่เคยมีมาก็มีลักษณะแบบประชาธิปไตย ใหประชาชนมีสิทธิเสรีภาพและความสะดวก ตลอดจนหลักประกันในการใชสิทธิใชเสียง ระบบการเลือกตั้งเปนแบบโดยตรง คือ ประชาชนเลือก ส.ส. โดยมีครั้งแรกเพียงครั้งเดียวที่เปนการเลือกตั้งโดยออม คือ ประชาชนเลือกผูแทนตําบล และผูแทนตําบลไปเลือก ส.ส. อีกทีหน่ึง การเลือกตั้งที่มีมาเคยใชทั้งรวมเขตและแบงเขต ระยะหลังมีแนวโนมที่ใชระบบผสมคือ จังหวัดไหนมี ส.ส. จํานวนมากก็ใชวิธีแบงเขต โดยมีการกําหนดจํานวนสูงสุดที่เขตหนึ่งจะพึงมีเอาไว เกินจากนั้นตองใชวิธีแบงเขต สวนพฤติกรรมการลงคะแนนเสียงนั้น เม่ือกอนมีผูไปลงคะแนนมักจะไมถึงครึ่งของจํานวนผูมีสิทธิ แตในระยะหลัง มีแนวโนมดีขึ้น คือ มีผูใชสิทธิกวาครึ่งประมาณรอยละ 60 อยางไรก็ตามการเลือกตั้งก็ยังมีจุดออน กลาวคือ มีการซื้อเสียงและใชเงินในการหาเสียงเกินกวาที่กฎหมายเลือกตั้งกําหนดไว ทําใหถูกวิพากษวิจารณวาทําใหไมได ผูที่เปนตัวแทนประชาชนที่แทจริงและแนวทางประชาธิปไตยกลายเปนประโยชนสําหรับนายทุนและนักธุรกิจแทนที่จะเปนประชาชน

การเมืองระบอบประชาธิปไตยในปจจุบัน ประชาชนไทยมีเสรีภาพทางการเมืองพอสมควร สามารถที่จะแสดงออกทางการเมืองได ไมวาจะเปนการรวมกลุมกันจัดตั้งพรรคการเมือง แมจะยังไมมีกฎหมายพรรคการเมืองมารองรับ เชน ในกาเลือกตั้งหลายครั้งแมไมมีกฎหมายพรรคการเมือง แตใน

Page 10: การเมืองการปกครองแบบประชาธิปไตยของไทยในปัจจุบัน

10

พฤติกรรมความเปนจริงน้ัน ก็มีการจัดตั้งพรรคการเมืองขึ้นพลายพรรค โดยอาศัยเสรีภาพที่ไดรับการยอมรับโดยรัฐธรรมนูญอันเปนกฎหมายแมบทการรวมกลุมเปนสมาคมสหภาพ ก็สามารถทําไดตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย การเคลื่อนไหวทางการเมือง เชน การเดินขบวน หรือการชุมนุมกันเพ่ือยื่นขอเสนอตอรัฐบาล ก็มีปรากฏและไมไดรับการขัดขวางในการแสดงออก ตราบเทาที่ไมมีการละเมิดกฎหมาย เสรีภาพในการพูด การพิมพและโฆษณา ซ่ึงเปนไปอยางกวางขวาง จนนาจะเปนที่ยอมรับวาประเทศไทยนั้น ใหเสรีภาพทางการเมืองแกประชาชน ตามหลักประชาธิปไตย ถึงแมวาจะมีการประกาศใหกฎอัยการศึก และมีประกาศหรือคําสั่งและกฎหมายบางฉบับจํากัดเสรีภาพในทางการเมืองบาง แตในทางปฏิบัติก็มีการผอนผันและไมเครงครัดในการบังคับใชจนกระทั่งเปนอุปสรรคตอการแสดงออกทางการเมือง

ถาพิจารณาจากรัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2534 และรัฐธรรมนูญบางฉบับที่ใชมากอนหนานั้น จะเห็นไดวาเปาหมายของการพัฒนาทางการเมืองของไทยตองการสรางระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยเปนประมุขโดยมีระบบพรรคการเมือง ซ่ึงจะเห็นไดจากการที่บทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญ ใหความสําคัญกับพรรคการเมืองมาก เปนตนวาผูสมัครรับเลือกตั้งตองสังกัดพรรคการเมือง รัฐธรรมนูญฉบับปจจุบันยังกําหนดวา เม่ือไดรับเลือกตั้งแลวจะพนจากการเปน ส.ส.ทันทีที่ลาออกหรือถูกขับไลออกจากพรรค จึงทําใหพรรคการเมืองมีบทบาทสําคัญในการดําเนินการในสภา นอกจากนี้ พะราชบัญญัติพรรคการเมือง พ.ศ. 2524 ยังพยายามวางแนวทางใหพรรคการเมืองมีลักษณะเปนพรรคที่มีฐานสนับสนุนจากมวลชนอยางกวางขวาง กลาวคือตองมีสมาชิกไมนอยกวา 5,000 คน และตองอยูในทุกภาค ภาคละไมนอยกวา 5 จังหวัด จังหวัดหนึ่งตองมีสมาชิกไมนอยกวา 50 คน

การเมืองระดับทองถิ่น อันไดแก เทศบาล และองคการบริหารสวนจังหวัด ซ่ึงเปนระดับ และรูปแบบที่สําคัญน้ันก็ไดมีการเปดโอกาสใหมีการเลือกตั้ง สมาชิกสภาเทศบาล และสมาชิกสภาจังหวัด เม่ือตนป พ.ศ. 2523 เปนตนมา หลังจากที่ไดงดเวนมานาน ปจจุบันนี้ก็ไดใหมีการดําเนินการ การปกครองระดับทองถิ่นในแบบประชาธิปไตย ทําใหประชาชนมีสวนรวมในกิจกรรมการเมืองระดับทองถิ่น อยางไรก็ตามการเมืองระดับทองถิ่นนี้ก็ยังไมสูไดรับการสนใจจากประชาชนอยางกวางขวางนัก จะเห็นไดจากการไปใชสิทธิเลือกตั้งผูแทนระดับทองถิ่นยังอยูในอัตราที่ต่ํามาก รูปแบบลักษณะของหนวยการปกครองทองถิ่นก็ยังคอนขางเปนไปแบบเดิม คือ ไมสูอิสระในการดําเนินการมากนัก ทางการยังเขาไปมีสวนรวมในการควบคุมและดําเนินการอยูและยังไดรับความสนใจอยูในวงจํากัดเทานั้น

อยางไรก็ตามการที่จะเห็นรูปการเมืองการปกครองไทยพัฒนาไปสูรูปแบบความเปนประชาธิปไตยที่แทจริงนั้นขึ้นอยูกับประชาชนเปนสวนประกอบที่สําคัญ หากประชาชนมีความตื่นตัวและมีความสํานึกทางการเมืองสามารถใชวิจารณญาณทางการเมืองไดถูกตอง สนใจที่จะใชสิทธิทางการเมืองลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง และเลือกผูแทนราษฎรที่ดีเขาสูสภา บทบาท และ

Page 11: การเมืองการปกครองแบบประชาธิปไตยของไทยในปัจจุบัน

11

พฤติกรรมทางการเมืองของนักการเมือง และกลุมการเมืองตางๆ ก็จะตองพัฒนาดีขึ้นเร่ือยๆ และสามารถแกไขปญหาของประเทศชาติได ทําใหความศรัทธาในระบอบประชาธิปไตยแพรหลายขึ้นและเม่ือใดประชาชนสวนใหญ มีความรูความเขาใจและศรัทธาในระบอบประชาธิปไตยแลว ก็เปนที่แนนอนวาระบอบประชาธิปไตยจะตองมีเสถียรภาพม่ันคงอยูคูกับการปกครองไทยตลอดไป

ปจจุบันนี้จากการพิจารณาบรรยากาศการเมืองไทย อาจกลาวไดวา มีแนวโนมไปในทางที่ดีขึ้นกวาเดิมมาก ประชาชนมีความตื่นตัวและมีจิตสํานึกทางการเมืองมากขึ้น จะเห็นไดจากสถิติผูไปลงคะแนนเสียงเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรในระยะหลังมีจํานวนเกินครึ่งทุกครั้ง (การเลือกตั้งเมื่อ 18 เมษายน พ.ศ. 2526 มีผูไปลงคะแนนจํานวนรอยละ 50.76 การเลือกตั้งเม่ือ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 รอยละ 61.43 การเลือกตั้งเม่ือ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2531 รอยละ 63.56 และการเลือกตั้งเม่ือ 13 กันยายน พ.ศ. 2535 รอยละ 61.59) มีการเผยแพรขาวสารการเมืองอยางกวางขวางโดยสื่อมวลชนทุกประเภททั้งหนังสือพิมพ วิทยุ และโทรทัศนทําใหประชาชนสนใจและเขาใจการเมืองมากขึ้น แมวาจะยังมีจุดออนหรือขอบกพรองอยูบาง เชน การวิพากษวิจารณเร่ืองเงินที่เขามามีบทบาทสูงในการเลือกตั้ง หรือการที่นักการเมืองบางคน มีบทบาทเปนนักธุรกิจการเมืองแตในการเมืองระบบเปด และในยุคที่ขาวสารที่แพรหลายไดกวางขวางเชนทุกวันนี้ ก็คงพอที่จะใหความเชื่อม่ันไดวา ประชาชนจะมีสวนชวยควบคุมใหการเมืองพัฒนาไปในทางสรางสรรคประโยชนสุขใหกับประชาชนโดยสวนรวมมากขึ้น เพราะการกระทําที่ไมชอบมาพากลของนักการเมืองจะถูกเปดเผยใหทราบตอสาธารณะทําใหผูที่เปนนักการเมืองตองระมัดระวัง พฤติกรรมของตนตามสมควร

อยางไรก็ตาม เปนที่ยอมรับกันวาในระบอบประชาธิปไตย นอกจากกลุมนักการเมืองที่รวมตัวกันเปนพรรคการเมืองในระดับชาติ หรือกลุมการเมืองในระดับทองถิ่นที่รวมตัวกันเพ่ือเขาสมัครรับเลือกตั้งในระดับตางๆ แลวยังตองการใหมีการรวมกลุมของประชาชนในลักษณะกลุมผลประโยชน เชน กลุมอาชีพ กลุมอุดมการณ กลุมอาสาสมัครตางๆ ที่ไมตองการเขามามีตําแหนงทางการเมือง แตทําหนาที่แสดงความคิดเห็น วิพากษวิจารณถึงปญหาหรือประเด็นการเมืองที่เกิดขึ้น แสงดความตองการใหผูปกครองรับทราบ ทําใหผูปกครองไดรับทราบขอมูลและขาวสารที่ถูกตองของกลุมเพ่ือประกอบการตัดสินใจ ซ่ึงปจจุบันน้ีในการเมืองไทยก็มีกลุมผลประโยชนตางๆ ทั้งที่จัดตั้งเปนทางการ เชน สหภาพ สมาคม หรือจัดตั้งอยางไมเปนทางการ เชน กลุม ชมรมตางๆ รวมทั้งการรวมกลุมเฉพาะกิจ หรือเฉพาะกาลเปนครั้งคราว เขามามีบทบาทในทางการเาองเพื่อเรียกรองใหรัฐบาลมีนโยบายตามที่กลุมชนตองการ เชน การขึ้นคาแรงขั้นต่ํา นักศึกษา กรรมกร ชาวไร ชาวนา ก็มีการชุมนุมหรือเดินขบวนเพื่อใหทางการไดรับรูปญหาที่เกิดขึ้นกับกลุมหรือกับสวนรวมอยูเสมอ เชน ปญหาสิ่งแวดลอม ปญหาพืชผลราคาตกต่ํา ทําใหรัฐบาลตองตื่นตัวอยูเสมอในอันที่จะ

Page 12: การเมืองการปกครองแบบประชาธิปไตยของไทยในปัจจุบัน

12

ดําเนินการแกไขปญหาของประชาชน การเคลื่อนไหวทางการเมืองนอกสภาเชนนี้ ถือเปนเรื่องปกติธรรมดาในระบอบประชาธิปไตย ตราบเทาที่ไมมีการกระทําที่ละเมิดกฎหมาย เพราะเปนการใชสิทธิและเสรีภาพของประชาชนในการพยายามสรางความเปนธรรมใหเกิดขึ้นในสังคม

ยังมีสิ่งสําคัญอีกประการหนึ่งในระบอบประชาธิปไตยที่จะขาดเสียมิได คือ ประชาชนทุกคนตองมี ขันติธรรม กลาวคือ สมาชิกในสังคมประชาธิปไตยจะตองเปนผูมีความอดกลั้น อดทนอยางยิ่ง ตองสามารถรับฟงความคิดเห็นของผูอ่ืนที่ไมตรงกับความเห็นของตนได ตองรอฟงความเห็นสวนใหญจากบรรดาผูเกี่ยวของในการที่จะดําเนินการ หรือแกไขปญหาใดๆ ที่เกิดขึ้นในสังคม ทั้งตองทนตอสิ่งทั้งหลายที่เกิดขึ้นตามความตองการของคนสวนใหญได กระบวนการของประชาธิปไตยจึงจําเปนตองอาศัยเวลา ตองคอยเปนคอยไปและตองมีการกระทําอยางตอเน่ือง สมาชิกของสังคมนี้จึงตองไดรับการปลูกฝงคุณสมบัติดังกลาวตั้งแตเยาววัยและพัฒนาขึ้นตามลําดับ ดังนั้น การปฏิวัติ (การหมุนกลับ การเปลี่ยนแปลงระบบ) หรือการรัฐประหาร (มีการใชกําลังเปลี่ยนแปลงคณะรัฐบาลโดยฉับพลัน) จึงเปนวิธีการซึ่งขัดกับหลักการของระบอบประชาธิปไตยและไมเปนผลดีตอการพัฒนาการปกครองระบอบนี้อยางแนนอน เพราะทุกครั้งที่มีการปฏิวัติรัฐประหารจะตองมีการลมเลิกกฎหมายรัฐธรรมนูญ คณะรัฐมนตรี และสภาผูแทนราษฎร ดังน้ันจึงตองมีการรางรัฐธรรมนูญเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎร และการจัดตั้งรัฐบาลกันใหมทุกครั้งไป เปนเหตุใหผลประโยชนของชาติบานเมืองและของประชาชนตองชะงักงันไป