รายงานการค้นคว้าอิสระ

33
รายงานการศึกษาคนควาอิสระ เรื่อง การศึกษาผลการใชรูปแบบการนิเทศแบบชี้แนะในการใชสื่อสังคมออนไลน (Social Media) ในการ จัดการเรียนรู :กรณีศึกษาโรงเรียนบานวังโพธิ์ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต 3 โดย นางสาววราภรณ เฉิดดิลก ผูฝกประสบการณนิเทศการศึกษา รายงานการศึกษาคนควาอิสระนี้ เปนสวนหนึ่งของการฝกประสบการณนิเทศการศึกษา เพื่อแตงตั้งใหดํารงตําแหนงศึกษานิเทศก สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 3 ศน. 2.6

Upload: waraporn-cherddilok

Post on 28-Jul-2015

5.218 views

Category:

Documents


11 download

TRANSCRIPT

Page 1: รายงานการค้นคว้าอิสระ

รายงานการศึกษาคนควาอิสระ

เรื่อง การศึกษาผลการใชรูปแบบการนิเทศแบบชี้แนะในการใชสื่อสังคมออนไลน (Social Media) ในการ

จัดการเรียนรู :กรณีศึกษาโรงเรียนบานวังโพธิ์ สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรเีขต 3

โดย

นางสาววราภรณ เฉิดดิลก

ผูฝกประสบการณนิเทศการศึกษา

รายงานการศึกษาคนควาอิสระน้ี เปนสวนหน่ึงของการฝกประสบการณนิเทศการศึกษา

เพ่ือแตงต้ังใหดํารงตําแหนงศึกษานิเทศก สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน

สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 3

ศน. 2.6

Page 2: รายงานการค้นคว้าอิสระ

คํานํา

การปฏิรูปการเรียนรูตามแนวพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 กําหนดใหการจัด

การศึกษาตองยึดหลักวาผูเรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรูและพัฒนาตนเองไดและถือวาผูเรียนมีความสําคัญ

ที่สุดกระบวนการจัดการศึกษาตองสงเสริมใหผูเรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ การ

จัดการศึกษา ทั้งการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย ตองเนนความสําคัญทั้ง

ความรู คุณธรรม กระบวนการเรียนรู และบูรณาการตามความเหมาะสมของแตละระดับการศึกษา ผูเรียนมี

สิ ท ธิ ไ ด รั บ ก า ร พั ฒ น า ขี ด ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร ใ ช เ ท ค โ น โ ล ยี เ พื่ อ ก า ร ศึ ก ษ า

ในโอกาสแรกที่ทําได เพื่อใหมีความรูและทักษะเพียงพอที่จะใชเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาในการแสวงหา

ความรูดวยตนเองไดอยางตอเน่ืองตลอดชีวิต

วราภรณ เฉิดดิลก

Page 3: รายงานการค้นคว้าอิสระ

สารบัญ

หนา

คํานํา....................................................................................................................................................................

สารบัญ................................................................................................................................................................

บทที่ 1 บทนํา................................................................................................................................. 1

ความเปนมาและความสําคัญของปญหา........................................................................................ 1

วัตถุประสงค....................................................................................................................... 2

วิธีดําเนินการศึกษา............................................................................................................. 2

ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ.................................................................................................. 2

บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยทเกี่ยวของ............................................................................................ 3

บทที่ 3 การนําไปพัฒนางาน/การเช่ือมโยงประยุกตใช...................................................................... 15

บทที่ 4 ผลที่เกิดข้ึน........................................................................................................................... 17

เอกสารอางอิง 18

ภาคผนวก

ผลงานบล็อกของคร.ู........................................................................................................... 20

รายช่ือเว็บบล็อกของคุณคร.ู................................................................................................ 25

ภาพกิจกรรม........................................................................................................................ 26

Page 4: รายงานการค้นคว้าอิสระ

บทที่ 1

บทนํา

การจัดการเรียนรูตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ครูผูสอนตอง

วิเคราะหมาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด สมรรถนะสําคัญของผูเรียนในการจัดการเรียนรูตามกลุมสาระการ

เรียนรูและคุณลักษณะอันพึงประสงค โดยมีหลักการจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ การจัดการเรียนรูที่

คํานึงถึงความแตกตางระหวางบุคคล การจัดการเรียนรูที่สอดคลองกับพัฒนาการทางสมอง และการจัดการ

เรียนรูที่เนนคุณธรรม จริยธรรม ซึ่งเชตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษาอาจเพิ่มเติมข้ึนได

ในการจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ ผูสอนตองจัดกระบวนการที่หลากหลาย เพื่อใหผูเรียนเกิด

การเรียนรูไดดี บรรลุตามเปาหมายของหลักสูตร กระบวนการเรียนรูที่จําเปนสําหรับผูเรียน เชน กระบวนการ

เรียนรูแบบบูรณาการ กระบวนการสรางความรู กระบวนการคิด กระบวนการทางสังคม กระบวนการเผชิญ

สถานการณและแกปญหา กระบวนการเรียนรูจากประสบการณจริง กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการจัดการ

กระบวนการวิจัย กระบวนการเรียนรู การเรียนรูของตนเอง และกระบวนการพัฒนาลักษณะนิสัย เปนตน ทั้งน้ี

ตองใหความสําคัญกับการใชสื่อ การพัฒนาสื่อ การใชแหลงเรียนรู ภูมิปญญาทองถ่ิน และการวัดและ

ประเมินผลที่หลากหลายเพื่อใหเกิดการพัฒนาผูเรียนอยางตอเน่ือง

สื่อการเรียนรูเปนเครื่องมือสําคัญในการพัฒนาผูเรียนใหเกิดการเรียนรูตามความมุงหวังของหลักสูตร

แกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ครูผูสอนมีบทบาทสําคัญย่ิงในการจัดทําหลักสูตรในการ

จัดทํา พัฒนาและเลือกใชสื่อการเรียนรูที่ดีและมีประสิทธิภาพเหมาะสมตามความแตกตางของผูเรียน ดวยเหตุ

น้ี สถานศึกษาความใหการสงเสริม สนับสนุนใหมีการนําสื่อไปใชในการพัฒนาการเรียนรูที่สงผลตอผูเรียนอยาง

หลากหลายและเพียงพอ โดยการจัดใหมีแหลงเรียนรู ศูนยการเรียนรู ระบบสารสนเทศ และเครือขายการ

เรียนรูที่มีประสิทธิภาพทั้งในสถานศึกษา และชุมชน รวมทั้งการศึกษา คนควาวิจัย พัฒนาสื่อการเรียนรูให

สอดคลองกับกระบวนการเรียนรูตามศักยภาพของผูเรียน

ปจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศไดพัฒนาไปอยางรวดเร็ว ทุกคนสามารถเขาถึงระบบอินเทอรเน็ต ไดงาย

ซึ่งมีผูใชงานที่มีจํานวนเพิ่มมากข้ึนทุกวัน ทุกคนมีอิสระที่จะเขาไปแบงปนความรูและเลือกเครื่องมือที่ดีที่สุด

เพื่อนําไปเผยแพรความรูดวยตัวเอง ตองการสื่อสาร และเสนอความคิดใหมๆ ไดโดยไมถูกปดกั้น นับเปนยุค

Page 5: รายงานการค้นคว้าอิสระ

2.0 ที่นักการศึกษาตองตระหนักกับการเปลี่ยนถายของ Content จาก Static Content เขาสูยุคของ

Dynamic Content

แนวคิดการนํา Social media มาประยุกตใชในการจัดการเรียนการสอน นับเปนกลยุทธที่สําคัญ ซึ่ง

จําเปนอยางย่ิงที่โรงเรียนควรสงเสริม สนับสนุนใหเกิดเปนรูปธรรมที่ชัดเจน เพราะปจจุบัน Social Media ได

กลายเปนเครื่องมือที่สําคัญในการสรางสื่อใหเกิดเปนเครือขายเช่ือมโยงกันในโลกออนไลน ที่เปดโอกาสใหทุก

คนสามารถใชเปนชองทางในการเขาถึงกลุมเปาหมายไดอยางงายและสะดวกรวดเร็ว ซึ่งจะทําใหเกิดประโยชน

อยางมาก โดยไมเสียคาใชจายในการซื้อลิขสิทธ์ิแตอยางใด ดังน้ัน การนําเทคโนลี Social Media มาใชเปน

เครื่องมือในการจัดการเรียนการสอนเปนการผลักดันครูใหกาวทันโลกยุคปจจุบันและสามารถเขาถึงเยาวชนยุค

ใหมไดอยางทันทวงที ซึ่งจะทําใหเกิดระบบ Community แหงการเรียนรูบนเครือขายอินเทอรเน็ต

ผูวิจัยไดเล็งเห็นความสําคัญในการพัฒนาครูใหสามารถเขาถึงเทคโนโลยี Social Media และสามารถ

นํามาใชในการจัดการเรียนรูตามแนวทางการจัดการเรียนรูตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน

พุทธศักราช ๒๕๕๑ และยังเปนการสงเสริม สนับสนุนใหครูสามารถนําเครื่องมือออนไลนมาประยุกตใชในการ

จัดกิจกรรมการเรียนรูไดอยางเปนรูปธรรม

วัตถุประสงคการวิจัย

1. เพื่อพัฒนาครูใหมีความรูความเขาใจและมีความสามารถในการใช Social Media และสามารถ

นําไปใชในการจัดการเรียนรู

2. เพื่อสงเสริมใหครูสามารถเช่ือมโยงองคความรูบนอินเทอรเน็ตในการจัดการเรียนรู

เปาหมาย

ครผููสอน โรงเรียนบานวังโพธ์ิ อําเภอไทรโยค สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี

เขต 3 จํานวน 10 คน

Page 6: รายงานการค้นคว้าอิสระ

บทที่ 2

หลักการ ทฤษฎี แนวคิด

ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับการนิเทศแบบใหคําชี้แนะ (Coaching)

การนิเทศแบบใหคําชี้แนะ (Coaching)

การนิเทศแบบใหคําช้ีแนะ เปนกระบวนการหน่ึงที่มีความสําคัญในการชวยเหลือใหการจัดการเรียนรู

เปนไปอยางมีคุณภาพ ผูที่มีบทบาทสําคัญ คือ ศึกษานิเทศก รวมทั้งเครือขายการนิเทศที่เขามามีสวนรวมใน

การนิเทศการศึกษา การดําเนินการเพื่อเพิ่มศักยภาพในการจัดการเรียนรูใหแกครูและผูบริหารสถานศึกษา ให

สามารถจัดการเรียนรูไดอยางมีคุณภาพและไดมาตรฐาน ตลอดจนสามารถเสริมสรางการพัฒนาระบบการ

ประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาใหเขมแข็ง การนําเทคนิคการนิเทศแบบใหคําชี้แนะ (Coaching) มาใช

ในการนิเทศการศึกษา จึงเปนวิธีการหน่ึงที่จะชวยในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาใหมี

ประสิทธิภาพมากข้ึนได

การนิเทศแบบใหคําช้ีแนะ (Coaching) เปนวิธีการพัฒนาสมรรถภาพการทํางานของครู โดยเนนไปที่

การทํางานใหไดตามเปาหมายของงาน หรือการชวยใหสามารถนําความรูความเขาใจที่มีอยูและหรือไดรับการ

อบรมมา ไปสูการปฏิบัติไดอยางมีประสิทธิภาพ การใหคําช้ีแนะมีลักษณะเปนกระบวนการ มีเปาหมายที่

ตองการไปใหถึง 3 ประการ คือ การแกปญหาในการทํางาน การพัฒนาความรู ทักษะ หรือความสามารถใน

การทํางาน และการประยุกตใชทักษะหรือความรูในการทํางาน ที่ต้ังอยูบนหลักการของการเรียนรูรวมกัน (Co-

Construction) โดยยึดหลักวาไมมีใครรูมากกวาใคร จึงตองเรียนไปพรอมกันเพื่อใหคนพบวิธีการแกไขปญหา

ดวยตนเอง

ผูทําหนาท่ีนิเทศแบบใหคําชี้แนะ

ผูทําหนาที่นิเทศแบบใหคําช้ีแนะแกครูและผูบริหารสถานศึกษาที่เขารวมโครงการเพิ่มศักยภาพการ

จัดการเรียนรูแกครูและผูบริหารสถานศึกษาของสถานศึกษาที่ตํ่ากวาเกณฑมาตรฐาน แบงไดเปน 2 ระดับ

ดังน้ี

1. ระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ไดแก รองผูอํานวยการสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ผูอํานวยการกลุมนิเทศ

ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา และศึกษานิเทศก

Page 7: รายงานการค้นคว้าอิสระ

2. ระดับเครือขายของสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ไดแก ผูบริหารสถานศึกษา และครูที่มีความรู

ความสามารถ และประสบความสําเร็จในการปฏิบัติงาน

ข้ันตอนการนิเทศแบบใหคําช้ีแนะ (Coaching)

ข้ันตอนการนิเทศแบบใหคําช้ีแนะเพื่อเพิ่มศักยภาพครูและผูบริหารสถานศึกษาใหสามารถจัดการ

เรียนรูและยกระดับคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาใหสูงข้ึน มีข้ันตอนหลักสําคัญอยู 3 ข้ันตอน ดังน้ีคือ

ข้ันตอนที่ 1 การเตรียมการกอนการใหคําช้ีแนะ

ข้ันตอนที่ 2 การดําเนินการใหคําช้ีแนะ

ข้ันตอนที่ 3 การสรุปผลการใหคําช้ีแนะ

รายละเอียดการดําเนินงานแตละข้ันตอน มีดังน้ี

ข้ันตอนที่ 1 การเตรียมการกอนการใหคําช้ีแนะ

การเตรียมการกอนการใหคําช้ีแนะ เปนการเตรียมองคความรูในการนําไปใชในการช้ีแนะ โดยมี

วัต ถุประสงค เพื่ อช วยใหครูสามารถจัดกิจกรรมการ เรี ยนรู ใหกับผู เ รี ยนอยางมีประสิท ธิภาพ

ซึ่งผูนิเทศจะคอยแนะนํา ใหคําปรึกษา ชวยเหลือ ใหครูสามารถจัดกิจกรรมการเรียนรูอยางตอเน่ือง นอกจากผู

ช้ี แนะจะเสนอแนะแล ว ต อง ให ครู ได วิ เ คร าะห ตน เอง ให สามารถจั ดกิ จกรรม ก าร เ รี ยน รู ไ ด

อยางมีคุณภาพ ในสภาวะแวดลอมตาง ๆ และสามารถแกปญหาอุปสรรคในการจัดกิจกรรมการเรียนรูใหหมด

ไป การใหคําช้ีแนะจะชวยใหครูสามารถสะทอนภาพการปฏิบัติงานของครู เพื่อใหตระหนักวาการจัดกิจกรรมการ

เรียนรูน้ันจะตองใชวิธีการจัดการเรียนรูอยางไร เพื่อที่จะใหผูเรียนไดเรียนรูอยางมีคุณภาพจากการจัดกิจกรรม

การเรียนการสอนของคร ูขณะเดียวกันผูใหคําช้ีแนะจะไดขอมูล ความรูที่จําเปน ซึ่งครูยังขาดอยู ดังน้ัน การให

คําช้ีแนะที่มีประสิทธิภาพไมเพียงข้ึนอยูกับทักษะของผูนิเทศ และความสามารถในการรับการนิเทศ

(Receptiveness) ของครูเทาน้ัน แตยังข้ึนอยูกับองคประกอบแวดลอมหลายประการดวยกัน ผูช้ีแนะควร

จะตองเปนผูรักการอาน รักการแสวงหาความรู และจะตองมีการขวนขวายหาขอมูลความรูใหมอยูตลอดเวลา

รวมทั้งจําเปนอยางย่ิงที่ผูใหคําช้ีแนะ จะตองมีความพรอมกอนการใหคําช้ีแนะดังตอไปน้ี

1. การสรางองคความรู

ผูทําหนาที่ใหคําช้ีแนะ ตองมีการสรางองคความรูเรื่องตาง ๆ ดังน้ี

1.1 การจัดการเรียนรูแบบคละช้ัน หลักสูตรและการออกแบบการเรียนรู

Page 8: รายงานการค้นคว้าอิสระ

1.2 การวิจัยในช้ันเรียน

1.3 การจัดการเรียนรูโดยใชโครงงาน

1.4 การใชสื่อเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน

1.5 เรื่องอื่น ๆที่เกี่ยวของ

2. การสรางทีมงาน

ปจจัยที่สําคัญในการทํางานใหประสบผลสําเร็จ คือ คน ซึ่งมีผลกระทบตอบรรยากาศในการทํางานของ

ก ลุ ม ว า จ ะ ร า บ รื่ น เ ป น ไ ป ใ น ท า ง ส ร า ง ส ร ร ค มี ก า ร ส นั บ ส นุ น เ กื้ อ กู ล ซึ่ ง กั น แ ล ะ กั น

การชวยเหลือกันในการแกไขปญหา อุปสรรค และขอยุงยากใหผานพนไปไดน้ัน ตองอาศัยการทํางานเปนทีม

ศักยภาพของคนในกลุม เพือ่การทํางานรวมกัน คิดรวมกัน วางแผนรวมกันและแกปญหารวมกัน นับวาเปนการ

รวมพลั ง ขอ ง ที ม ง าน ซึ่ ง จ ะ ส ง ผ ล ให ป ร ะส บผ ล สํ า เ ร็ จ ใ นก า รทํ า ง านม าก ย่ิ ง ข้ึ น ดั ง น้ั น

การทํางานเปนทีมจึงเปนวิธีการที่ไดผลมากที่สุด การมีสวนรวม มีความผูกพันและสรางความสัมพันธระหวาง

สมาชิกในทีมงานเปนอยางดี การสรางทีมงานที่ประสบผลสําเร็จ มีแนวทางการสรางทีมงานตามแนวของ

Katzenbach Hohn R. and Smith Doglas (www.wutthi.com/forum/index.) ดังน้ี

2.1 กําหนดทิศทางอยางเรงดวน สมาชิกทีมตองการความแนนอนในการต้ังวัตถุประสงค และความ

คาดหวังของทีม ซึ่งตองมีตัวบงช้ีที่ชัดเจนที่จะเปนแนวทางในการทํางานใหบรรลุผลสําเร็จ

2.2 การเลือกต้ังสมาชิกทีม ควรจัดใหอยูบนพื้นฐานของทักษะและศักยภาพที่มีอยู และทีมจําเปนตอง

มีทักษะที่จะทําใหเกิดความสมบูรณข้ึนภายใน 3 ประการ คือทักษะทางเทคนิคในหนาที่การงาน ทักษะในการ

แกไขปญหาเฉพาะหนา และทักษะความสัมพันธระหวางบุคคล

2.3 การประชุมหรือพบปะกันครั้งแรก ตองทําดวยความพิถีพิถันต้ังใจ เพื่อสรางความประทับใจให

เกิดข้ึน มีกําหนดระยะเวลาใหทุกคนรูแนนอน และมีการยํ้าเตือนโดยผูนําทีมหรือผูบริหารอาจใชอํานาจหนาที่

คอยดูแลภายในทีม

2.4 ต้ังกฎในทีมปฏิบัติใหชัดเจน การพัฒนาทีมที่แทจริงโดยนํากฎเกณฑมาชวยใหพบกับความสําเร็จ

ในเรื่องวัตถุประสงคและจุดมุงหมายในการปฏิบัติงาน จุดเนนที่ควรสนับสนุนคือ การเปดเผยจริงใจตอกัน

การสรางใหเกิดความไววางใจกันและกัน การมีขอตกลงรวมกันอยางมีความเหมาะสมตอการปฏิบัติงาน

Page 9: รายงานการค้นคว้าอิสระ

2.5 จุดมุงหมายและความเหมาะสมในการปฏิบัติงานที่ต้ังข้ึน จะไมยึดติดกับผูบริหาร แตจะต้ังข้ึนโดย

สมาชิกมีสวนรวม เพื่อใหเกิดความสําเร็จตามที่ไดต้ังจุดมุงหมาย

2.6 สรางความทาทายใหกับกลุมในการทํางาน ดวยการนําขอมูลขาวสารขอเท็จจริงใหมๆ มาชวย

สนับสนุนการทํางานของสมาชิกในทีม

2.7 ใหเวลาแกกันและกันใหมากที่สุด อาจเปนเวลาตามที่นัดหมายกันไวหรือไมไดนัดหมายก็ได

2.8 การใชอํานาจบารมีใหเกิดประโยชน เชน การใหขอมูลยอนกลับในทางบวก ความเอาใจใสซึ่งกันและ

กัน การใหรางวัล เปนตน

3. องคประกอบของทีมงานพัฒนาคุณภาพ

ทีมงานพัฒนาคุณภาพที่มีประสิทธิภาพควรมีลักษณะดังน้ี คือ เปนทีมงานที่ทํางานเพื่อเปาหมาย

รวมกัน มีความขัดแยงระหวางสมาชิกนอยมาก สมาชิกแตละคนมีพฤติกรรมสนับสนุนซึ่งกันและกัน การ

ติดตอสื่อสารเปนไปโดยเปดเผย และสมาชิกทํางานรวมกันอยางมีความสุข ดังน้ัน การทํางานเปนทีมจะ

สมบูรณได จําเปนตองใชความพยายามอยางเปนระบบและตอเน่ืองยาวนาน เปนที่ พึงพอใจของสมาชิกทุกคน

จะทําใหสมาชิกสามารถรักษาสถานภาพที่ดีของทีมไว เพื่อพัฒนางานใหเจริญกาวหนาตอไป โดยการสรางพลัง

ความสําเร็จของทีมจะตองสรางความเช่ือมั่น สรางเปาหมายรวมกัน สรางความภูมิใจและความเปนเจาของ

และสรางความศรัทธาและความไววางใจ ซึ่งองคประกอบของทีมงานพัฒนาคุณภาพ ควรประกอบดวย

3.1 ทีมนํา ประกอบดวย ผูเช่ียวชาญ ผูทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และ

นิเทศการศึกษา ผูอํานวยการสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา รองผูอํานวยการสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา

ประธานเครือขายฯ ประธานศูนยวิชาการ คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน

3.2 ทีมทํา ประกอบดวย ผูบริหารสถานศึกษา ครู ศึกษานิเทศก

4. การจัดทําขอมูลและสารสนเทศของสถานศึกษาเพ่ือใชในกระบวนการใหคําชี้แนะ

ปจจุบันขอมูลสารสนเทศมีความจําเปนอยางย่ิง สําหรับการบริหารการศึกษาโดยเฉพาะการบริหารสถานศึกษา

การมีขอมูลและระบบสารสนเทศที่ดี ถูกตอง เปนปจจุบัน จะทําใหผูบริหารสถานศึกษาตัดสินใจไดถูกตอง แมนยํา ทัน

กาลมากข้ึน โดยเฉพาะในการวางแผนการศึกษาและการยกระดับคุณภาพการศึกษา ซึ่งผูบริหารสถานศึกษานอกจาก

การปฏิบัติหนาที่ในงานที่ตองใชความรูความสามารถแลวยังตองใชขอมูลสารสนเทศเปนเครื่องมือในการบริหาร

จัดการโดยมีเปาหมายการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของผูเรียน และสถานศึกษาขนาดเล็กใหมีประสิทธิผลและ

Page 10: รายงานการค้นคว้าอิสระ

ประสิทธิภาพย่ิงข้ึน ขอมูลและระบบสารสนเทศที่ดีควรครอบคลุมองคประกอบพื้นฐานของการจัดการศึกษา และ

ตองมีการจัดเก็บอยางเปนระบบ งายตอการนําไปใชอันจะสงผลใหเกิดประโยชนสูงสุดตามนโยบายการจัดการศึกษา

ซึ่งอาจแบงไดดังน้ี

4.1 ขอมูลและสารสนเทศพ้ืนฐานของสถานศึกษา ไดแก ขอมูลทั่วไปของสถานศึกษาและชุมชน

อาคารเรียน อาคารประกอบ และสิ่งอํานวยความสะดวกที่มีอยูในสถานศึกษา เชน หองเรียน หองปฏิบัติการ

วัสดุ อุปกรณการเรียนการสอน หองสมุด ตลอดถึงแหลงเรียนรูทั้งในและนอกสถานศึกษา เปนตน

4.2 ขอมูลและสารสนเทศท่ีเก่ียวกับผูเรียน ผูเรียนเปนองคประกอบที่สําคัญของสถานศึกษา การเก็บ

รวบรวมขอมูลของผูเรียนรายบุคคล เชน ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน คือ NT /O-NET แลวยังตองเก็บรวบรวมขอมูล

เกี่ยวกับดานภูมิหลังทางครอบครัวและชุมชนที่นักเรียนอาศัยอยู

4.3 ขอมูลและสารสนเทศท่ีเก่ียวกับครูและการจัดการเรียนการสอน เชน จํานวนครู คุณวุฒิ

การศึกษา ตําแหนงหนาที่ วิชาที่สอน ผลงานทางวิชาการ การจัดแผนการเรียน/ช้ันเรียน อุปกรณการสอน

แหลงขอมูลเรียนรู ระเบียนสะสม ตารางสอน และผลการปฏิบัติงานของครู รวมถึงบุคคลภายนอกที่มีความรู

ความสามารถพิเศษในดานตางๆสามารถเปนวิทยากร ผูทรงคุณวุฒิหรือครูภูมิปญญาไทย เปนตน ขอมูลในดาน

กระบวนการเรียนการสอน ไดแก ลักษณะของวิธีการสอน ตารางสอน การมีสวนรวมของนักเรียน การใชตําราเรียน

สื่อการสอน การประเมินผลการเรียนการสอน การรายงานผลการเรียน การสอนซอมเสริม วิธีและการใชเครื่องมือ

ประเมิน การวางแผนการวัดและประเมินผลการเรียนนําไปพัฒนาผูเรียน การพิจารณากิจกรรมแนะแนว กิจกรรม

พัฒนาผูเรียน การวิจัยในช้ันเรียน เปนตน

4.4 ขอมูลและสารสนเทศท่ีเก่ียวกับการบริหารงานวิชาการ ซึ่งจัดเปนหัวใจของงานดานการศึกษา

ผูปกครอง ชุมชนและหนวยงานตางๆ ใหความสนใจและตองการทราบขอมูลที่ถูกตองรวดเร็ว เช่ือถือได เชน

หลักสูตร แผนการสอน คูมือ การพัฒนาหลักสูตรการสํารวจความตองการของชุมชน และการใชตําราเรียนของครู

และนักเรียน การจัดทําคลังขอมูล คลงัขอสอบที่เปนระบบและเปนปจจุบัน เปนตน (ดูตัวอยางที่ภาคผนวก หนา

26)

5. แผนการนิเทศและเครื่องมือการนิเทศ

การวางแผนเพื่อการใหคําช้ีแนะ จะตองกําหนดเปาหมายและตัวช้ีวัดในการช้ีแนะใหครอบคลุม ชัดเจน

ตอการยกระ ดับคุณภาพการ ศึกษา ใช ก ระบวนการรวม คิด ร วมทํ า ในการวางแผน การ ช้ีแนะ

หานวัตกรรมที่เกี่ยวของและสอดคลองกับความตองการของสถานศึกษา ซึ่งทําใหสามารถรวมกันกําหนดแนวทาง

Page 11: รายงานการค้นคว้าอิสระ

ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา และทุกคนรูสึกเปนเจาของที่จะพัฒนา และรวมกันพัฒนาอยางเต็มที่ ซึ่งจะสงผล

ใหการดําเนินการการยกระดับคุณภาพการศึกษาสูงข้ึน

แผนการใหคําช้ีแนะจะตองมุงพัฒนาเจาะลึก และเปนแผนใหคําช้ีแนะที่สามารถในการนําไปใชในการ

ยกระดับคุณภาพการศึกษา แผนและเครื่องมือการช้ีแนะสามารถนําไปใชในการแกปญหาและพัฒนาคุณภาพ

การศึกษาไดอยางมีประสิทธิภาพ ซึ่งมีองคประกอบของแผนการใหคําช้ีแนะ (ดูตัวอยางที่ภาคผนวก หนา 25) ดังน้ี

วัตถุประสงค

เปาหมาย

ประเด็นการใหคําช้ีแนะ/กิจกรรม

- การจัดการเรียนรูแบบคละช้ัน หลักสูตรและการออกแบบการเรียนรู

- การวิจัยในช้ันเรียน

- การจัดการเรียนรูแบบโครงงาน

- การใชสื่อเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน

- เรื่องอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ

ระยะเวลา

ผูช้ีแนะ/ผูรับการใหคําช้ีแนะ

สื่อ/เครื่องมือ

สรุป ประเมินผล การนิเทศ

ขั้นตอนท่ี 2 การดําเนินการใหคําชี้แนะ

ข้ันตอนการดําเนินงานใหคําช้ีแนะเปนข้ันตอนที่ศึกษานิเทศกหรือผูช้ีแนะ ชวยใหครูนําความรูความ

เขาใจที่มีอยู หรือที่ไดรับจากการอบรมไปปฏิบัติใหเกิดผลสําเร็จตามศักยภาพหรือความสามารถของครูแตละ

คน เปนการพัฒนากลุมครูจํานวนนอยหรือรายบุคคลอยางเขมขน ทํางานรวมกันอยางใกลชิด เชน การสังเกต

การสอนในช้ันเรียน พิจารณาผลงานนักเรียนรวมกันกับครู เปนการพัฒนาในบริบทการทํางานในสถานศึกษา

ข้ันตอนการใหคําช้ีแนะประกอบดวย 3 ข้ันตอนยอย ดังน้ี

2.1 การศึกษาตนทุนเดิม เปนข้ันที่ศึกษานิเทศกหรือผูใหคําช้ีแนะทําความเขาใจวิธีคิด วิธีการทํางาน

และผลที่เกิดข้ึนจากการทํางานของคุณครูวาอยูในระดับใด เพื่อเปนขอมูลในการตอยอดประสบการณในระดับที่

เหมาะสมกับครูแตละคน ซึ่งในข้ันน้ีอาจใชวิธีการตางๆ กันไปตามสถานการณ ไดแก

1) การใหครูบอกเลา อธิบายวิธีการทํางานและผลที่เกิดข้ึน

Page 12: รายงานการค้นคว้าอิสระ

2) การพิจารณารองรอยการทํางานรวมกัน เชน แผนการสอน ช้ินงานของนักเรียน

3) การสังเกตการสอนในช้ันเรียน

2.2 การใหครูประเมินการทํางานของตนเอง เปนข้ันที่ชวยใหครูไดทบทวนการทํางานที่

ผานมาของตนเอง โดยใชตัวอยางที่เปนรูปธรรม ไดแก การสอนที่เพิ่งสอนจบไปแลว ช้ินงานที่นักเรียนทําเสร็จ

มาใชประกอบการประเมิน จัดใหครูมีโอกาสได “นึกยอนและสะทอนผลการทํางาน” ชวยใหครูไดทบทวน

และไตรตรองวาตนเองไดใชความรู ความเขาใจไปสูการปฏิบัติอยางไร มีอุปสรรคปญหาใดเกิดข้ึนบาง คําถามที่

มักใชกันในข้ันน้ีมี 2 คําถามหลัก คือ “อะไรท่ีทําไดดี..” “จะใหดีกวาน้ี ถา...”

2.3 ขั้นตอยอดประสบการณ เปนข้ันที่ศึกษานิเทศกหรือผูใหคําช้ีแนะมีขอมูลจากการสังเกต การ

ทํางานและฟงครูอธิบายความคิดของตนเอง แลวจึงลงมือตอยอดประสบการณในเรื่องเฉพาะน้ันเพิ่มเติม ซึ่ง

ศึกษานิเทศกหรือผูช้ีแนะตองอาศัยปฏิภาณในการวินิจฉัยใหไดวาครูตองการความชวยเหลือในเรื่องใด หาก

ไมแนใจก็อาจใชวิธีการสอบถามขอขอมูลเพิ่มเติม ในข้ันตอยอดประสบการณมักมีการดําเนินการใน 2 ลักษณะ

ดังน้ี

1) เมื่อพบวาคุณครูมีความเขาใจที่ผิดพลาดบางประการ หรือมีปญหา ก็จําเปนตองแกไข

ปรับความรูความเขาใจใหถูกตองและชวยเหลือในการแกไขปญหา

2) เมื่อพบวาคุณครูเขาใจหลักการสอนดี แตยังขาดประสบการณในการออกแบบการเรียน

การสอน ก็จําเปนเพิ่มเติมความรู แบงปนประสบการณ

ขั้นตอนท่ี 3 การสรุปผลการใหคําชี้แนะ

การสรุปผลการใหคําช้ีแนะเปนข้ันตอนที่ศึกษานิเทศก หรือผูใหคําช้ีแนะเปดโอกาสใหครูไดสรุปผล

การใหคําช้ีแนะเพื่อใหไดหลักการสําคัญไปปรับปรุงหรือพัฒนาการเรียนการสอนของตนเองตอไป มีการ

วางแผนที่จะกลับมาช้ีแนะรวมกันอีกครั้งวา ความรูความเขาใจใหมที่ไดรับการช้ีแนะครั้งน้ีจะเกิดผลในทาง

ป ฏิ บั ติ เ พี ย ง ใ ด ร ว ม ไ ป ถึ ง ก า ร ต ก ล ง ร ว ม กั น เ รื่ อ ง ใ ห ค ว า ม ช ว ย เ ห ลื อ อื่ น ๆ เ ช น

หาเอกสารมาใหศึกษา ประสานงานกับบุคคลอื่น ๆ แนะนําแหลงเรียนรูเพิ่มเติม เปนตน

การทํา AAR หรือการตรวจสอบผลหลังการปฏิบัติงาน

AAR ยอมาจากคําวา After Action Review ซึ่งเปนเครื่องมืออยางหน่ึงที่ใชในการทบทวนความรูที่ได

หลังจากการใหคําช้ีแนะ (Coaching) เสร็จสิ้นแตละครั้ง เนนการแสดงความคิดเห็นอยางเปนอิสระ ไมมีถูก –

ผิด เปนการทบทวนเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ เพื่อแกปญหาที่เกิดข้ึน หรือไมใหเกิดปญหาข้ึนอีก ใน

ขณะเดียวกันก็คงไวซึ่งวิธีการที่ดีที่สุด โดยศึกษานิเทศกหรือผูใหคําช้ีแนะ ควรกระตุนใหครูตอบคําถามใหกับ

ตัวเอง ดังน้ี

Page 13: รายงานการค้นคว้าอิสระ

1) สิ่งที่คาดวาจะไดรับจากการนิเทศ คืออะไร

2) สิ่งทีเ่กิดข้ึนจริง คืออะไร

3) ทําไมสิ่งที่คาดหวังกับสิ่งที่เกิดข้ึนจริงจึงแตกตางกัน เพราะเหตุใด

4) สิ่งที่ไดเรียนรูและวิธีการลดหรือแกไขความแตกตาง คืออะไร

เมื่อศึกษานิเทศกหรือผูใหคําช้ีแนะไดทําการใหคําช้ีแนะใหกับครูและผูบริหารสถานศึกษาในแตละเรื่อง

เพื่อใหเห็นภาพของความสําเร็จในการใหคําช้ีแนะ จึงมีความจําเปนที่จะตองทํา AAR เพื่อใหไดคําตอบตามขอ

คําถามดังกลาวขางตน จะชวยใหครู ผูบริหารสถานศึกษาไดรับรูวาผลการช้ีแนะในครั้งน้ีเปนอยางไร แตผลที่

ไดรับน้ันไมใชคําตอบสุดทาย เพราะเมื่อเวลาผานไปยอมทําใหเกิดปญหาใหมไดตลอดเวลา

การทํา AAR ควรคํานึงถึงหลักในการดําเนินการดังน้ี

1) ควรทํา AAR ทันทีหลังจากจบสิ้นการใหคําช้ีแนะ

2) ไมมีการกลาวโทษ ซ้ําเติม ตอกยํ้าซึ่งกันและกัน โดยใหมีบรรยากาศเปนกันเอง

3) คอยอํานวยความสะดวก กระตุน ต้ังคําถามใหครู ผูบริหารสถานศึกษาไดแสดงความคิดเห็น

ขอเสนอแนะของตน

4) ควรถามตัวเองวาสิ่งที่ไดรับคืออะไร

5) หันกลับมาดูวาสิ่งที่เกิดข้ึนจริงคืออะไร

6) ความแตกตางคืออะไร ทําไมจึงแตกตางกัน

7) จดบันทึกเพื่อเตือนความจําวาวิธีการใดบางที่ศึกษานิเทศกหรือผูใหคําช้ีแนะไดเคยนํามาแกปญหา

แลว

3.1 การสรุปผลการใหคําชี้แนะ

ข้ันตอนตอมาหลังจากศึกษานิเทศกหรือผูใหคําช้ีแนะไดดําเนินการทํา AAR แลว คือ การสรุปผลการใหคํา

ช้ีแนะที่ ศึ ก ษา นิ เทศก และครู ผู ส อนหรื อ ผู บ ริ ห า รส ถาน ศึกษาได มี ก า ร เ รี ยน รู ร ว มกั น เ ช น

การจัดการเรียนรูแบบคละช้ัน การจัดการเรียนรูแบบโครงงาน และการใชสื่อเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาศักยภาพ

การเรียนรู ตามแนวทางการยกระดับคุณภาพผูเรียนของโครงการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในของ

สถานศึกษาใหเขมแข็ง โดยใชกระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการในช้ันเรียน และควรสรุปผลการใหคําช้ีแนะใน

ประเด็นตาง ๆ เชน

1) ระดับการรับรูในเน้ือหา สาระ รายละเอียดของวิธีการจัดการเรียนรู

2) ความสามารถในการจัดการเรียนรู

Page 14: รายงานการค้นคว้าอิสระ

3) การใชสื่อ/แหลงเรียนรู

4) ปญหา อุปสรรค และขอเสนอแนะ

3.2 การวางแผนการใหคําชี้แนะครั้งตอไป

การใหคําช้ีแนะเปนกระบวนการที่ชวยใหครูไดคนพบพลัง หรือวิธีการทํางาน สามารถพึ่งพา

ความสามารถของตนเองได เปาหมายของการใหคําช้ีแนะ คือ การใหครูสามารถพัฒนาการจัดกระบวนการเรียนรูไดดวยตนเอง ดังน้ัน การใหคําชี้แนะของศึกษานิเทศกหรือผูใหคําชี้แนะเพียงครั้งเดียวจึงไมสามารถบรรลุผลได ศึกษานิเทศกหรือผูใหคําช้ีแนะจําเปนตองวางแผนการใหคําช้ีแนะในครั้งตอไปรวมกับครู ผูบริหารส ถ า น ศึ ก ษ า เ พื่ อ เ ช่ื อ ม โ ย ง ต อ ย อ ด ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น รู ใ น แ ต ล ะ เ รื่ อ ง ตามบริบทของสถานศึกษาเพื่อใหเกิดผลสําเร็จที่เปนรูปธรรม ผูเรียนเกิดการเรียนรูอยางมีคุณภาพและยก ร ะ ดับ คุณภาพการ ศึ กษาขอ ง ส ถาน ศึกษา ให สู ง ข้ึ น มี คุณภาพตามม าตร ฐ าน ก า ร ศึ กษา ซึ่งสถานศึกษาควรดําเนินการ ดังน้ี

3.2.1 วางแผนการพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยผูใหคําช้ีแนะและสถานศึกษาวางแผนการทํางานรวมกัน ดังน้ี

1) การจัดทําแผนพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาใหมองเห็นทิศทางในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่

ชัดเจน สอดคลองกับสภาพปญหาและความจําเปนอยางเปนระบบ มีแผนปฏิบัติการประจําป ที่มีโครงการ กิจกรรมรองรับ

2) การกําหนดสภาพความสําเร็จของการพัฒนาไวอยางตอเน่ือง ชัดเจนเปนรูปธรรม 3) การกําหนดวิธีการดําเนินงานที่มีหลักการ มีผลการวิจัยหรือขอมูลเชิงประจักษที่อางอิงได

ครอบคลุมการพัฒนาหลักสูตร การจัดกระบวนการเรียนรู การสงเสริมการเรียนรู การวัดและประเมินผลการเรียนรู การพัฒนาบุคลากร และการบริหารจัดการ

4) ควรสงเสริมใหเกิดการมีสวนรวมของครู ผูบริหารสถานศึกษา บิดามารดา ผูปกครอง บุคลากรในชุมชน โดยเฉพาะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐานของสถานศึกษาซึ่งมีบทบาทในการกํากับ ติดตาม และใหความเห็นชอบตอแผนการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ซึ่งจะชวยใหการคุณภาพการจัดการศึกษาบรรลุผลตามเจตนารมณ

3.2.2 นําเสนอผลการปฏิบัติงานท่ีเปนเลิศ (Best Practices)

หลังจากสถานศึกษาไดพัฒนาการจัดการเรียนรูที่สงผลใหผูเรียนเกิดการเรียนรูอยางมีคุณภาพ และทําใหสถานศึกษามีคุณภาพการศึกษาสูงข้ึน เพื่อใหเกิดความภูมิใจในการปฏิบัติงาน สถานศึกษาควรคัดเลือกผลการปฏิบัติงานที่เปนเลิศ นําเสนอและเผยแพร โดยมีประเด็นที่ควรนําเสนอดังน้ี

1) ช่ือผลงาน Best Practice

2) หลักการ/ แนวคิด/ทฤษฎี

3) วัตถุประสงค

Page 15: รายงานการค้นคว้าอิสระ

4) กลุมเปาหมาย

5) การดําเนินการ

6) ปจจัยสูความสําเร็จ

7) ผลการดําเนินการ

3.3.3 สรุปรายงานผลการวิจัย

ครู และผูบริหารสถานศึกษาที่ไดรับการพัฒนาศักยภาพในการจัดการเรียนรูจากการเขารวมการ

อบรม และนําความรูความสามารถ ทักษะไปจัดการเรียนรูและไดรับการช้ีแนะจากศึกษานิเทศกหรือผูช้ีแนะ จนมี

ผลสําเร็จที่เกิดข้ึนกับผูเรียนอยางเปนรูปธรรม ครู ผูบริหารสถานศึกษา ควรสรุปผลการทํางานเปนรายงาน

ผลการวิจัย ซึ่งทําไดทั้งเปนแบบไมเปนทางการและเปนทางการ เชน

การเขียนรายงานการวิจัย

แบบไมเปนทางการ

การเขียนรายงานการวิจัย

แบบเปนทางการ

เขียนรายงานการวิจัยตาม

ประเด็นท่ีสําคัญ เชน

ช่ือเรื่อง / ประเด็นที่ทําการ

วิจัย

ที่มาของปญหาหรือสิ่งที่

ตองการพัฒนา

วัตถุประสงค/เปาหมายการ

วิจัย

วิธีการหรือข้ันตอนสําคัญของ

การแกปญหาหรือการพัฒนา

ผลการแกไขหรือพัฒนา

ขอเสนอแนะ

เขียนรายงานตามรปูแบบการวิจัย ที่ยอมรับในวงวิชาการ

โดยมีองคประกอบของรายงานการวิจัย เชน

สวนหนาของเอกสาร ประกอบดวย ปก คํานํา บทคัดยอ

กิตติกรรมประกาศ สารบัญ

สวนเน้ือหา ประกอบดวย บทที่ 1 บทนํา (ความสําคัญ/

ความเปนมา วัตถุประสงค ขอบเขตที่ศึกษา นิยามศัพทเฉพาะ

ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ) บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่

เกี่ยวของ บทที่ 3 วิธีดําเนินการ (ประชากร/กลุมตัวอยาง

เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล การเก็บรวบรวมขอมูล

สถิติที่ใชวิเคราะหขอมูล) บทที่ 4 ผลการวิเคราะหขอมูล บทที่ 5

สรุป อภิปรายผลและขอเสนอแนะ

สวนอางอิง ประกอบดวย บรรณานุกรม ภาคผนวก

Page 16: รายงานการค้นคว้าอิสระ

เง่ือนไขความสําเร็จของการใหคําชี้แนะ

การใหคําช้ีแนะเปนวิธีการที่มีสวนชวยใหครูและผูบริหารสถานศึกษาไดรับการพัฒนาสมรรถภาพการ

ทํางานในหนาที่ใหสําเร็จตามเปาหมาย หรือชวยใหครู ผูบริหารสถานศึกษา สามารถนําความรู ความเขาใจที่มี

อยูและหรือที่ไดรับการอบรมมาสูการปฏิบัติได เพื่อใหการใหคําช้ีแนะประสบผลสําเร็จ ศึกษานิเทศกหรือผูทํา

หนาที่ใหคําช้ีแนะ ควรมีหลักการใหคําช้ีแนะดังน้ี

1. มีความรูในเน้ือหาสาระที่จะทําการใหคําช้ีแนะ การใหคําช้ีแนะในแตละครั้งผูใหคําช้ีแนะควรมี

การศึกษาคนควาและทําความเขาใจในเน้ือหาสาระที่จะทําการช้ีแนะ และเติมเต็มความรูในสวนที่ยังขาด

ความรูความเขาใจ เพื่อพรอมที่จะใหคําช้ีแนะแกครูและผูบริหารสถานศึกษาใหไดรับความรู ที่ถูกตอง

สมบูรณ

2. มีขอมูลเกี่ยวกับความรูความเขาใจของผูรับการใหคําช้ีแนะ ผูใหคําช้ีแนะจะช้ีแนะ และ ถายทอด

ค ว า ม รู ไ ป ยั ง ผู รั บ ก า ร ใ ห คํ า ช้ี แ น ะ ไ ด ดี จ ะ ต อ ง มี ข อ มู ล เ กี่ ย ว กั บ ผู รั บ ก า ร ใ ห คํ า ช้ี แ น ะ ว า

ณ ขณะน้ีมีระดับความรูแคไหน จะไดสามารถเติมเต็ม พัฒนาสมรรถภาพใหสามารถจัดการเรียนรูไดอยางมี

คุณภาพ และยังชวยใหการช้ีแนะดําเนินไปดวยความราบรื่น มีประสิทธิภาพ

3. ใหคําช้ีแนะแบบมีเปาหมายและมีจุดเนนรวมกัน ผูใหคําช้ีแนะและผูรับการใหคําช้ีแนะควรมีการตก

ลงรวมกันวาเปาหมายสุดทายที่ตองการใหเกิดคืออะไร ชวยกันหายุทธวิธีตาง ๆ เพื่อจะนําไปสูเปาหมายน้ัน

4. มีระบบการติดตาม นิเทศ ประเมินผลการทํางานของครู ผูบริหารสถานศึกษาควรมีขอมูลที่สะทอน

ผลการทํางานเพื่อจะไดนําไปคิดทบทวนการทํางานใหสามารถพัฒนาใหดีข้ึน การติดตาม นิเทศ ประเมินผลเปน

ข้ันตอนสําคัญที่ผูใหคําช้ีแนะหรือเครือขาย เขามาติดตาม นิเทศ ประเมินผลผูรับการช้ีแนะอยางตอเน่ือง ยอม

สงผลใหการจัดการเรียนรูของครู และผูบริหารสถานศึกษามีประสิทธิภาพ

สังคมออนไลน (Social Media) คืออะไร

Social Media หมายถึง สื่อสังคมออนไลนที่มีการตอบสนองทางสังคมไดหลายทิศทาง โดยผาน

เครือขายอินเทอร เ น็ต น่ันหมายถึงเ ว็บ ไซตที่บุคคลบนโลกน้ีสามารถมีป ฏิสัมพันธโตตอบกันได

แนวทางในการสงเสริมการเรียนรูโดยใช Social Media มาใชในการจัดการเรียนการสอน และเปนสื่อ

ที่เขาถึงผูเรียนซึ่งปจจุบันใหความสนใจเกี่ยวกับ Social Media หรือสื่อสังคมออนไลนมากข้ึน เปนสื่อที่เขาถึง

นักเรียนไดรวดเร็ว และนาสนใจใหผูเรียนฝกในการศึกษาหาความรูใหกับตัวเองไดอยางดี

Page 17: รายงานการค้นคว้าอิสระ

ความเปนมาของสังคมออนไลน

พื้นฐานการเกิด Social Media ก็มาจากความตองการของมนุษยหรือคนเราที่ตองการติดตอสื่อสาร

หรือมีปฏิสัมพันธกัน จากเดิมเรามีเว็บยุค 1.0 คือเว็บที่แสดงเน้ือหาอยางเดียวของบุคคลแตละคนไมสามารถ

ติดตอหรือโตตอบกันได แตเมื่อเทคโนโลยีเว็บ 2.0 ไดมีการพัฒนาเว็บไซตที่เรียกวา Web Application คือ

เว็บไซตมีแอพลิเคชันหรือโปรแกรมตาง ๆ ที่มีการโตตอบกับผูใชงานมากข้ึน ในขณะเดียวกันผูใชแตละคน

สามารถโตตอบกนัไดผานหนาเว็บ

ประเภทของ Social Media

1.ประเภทบล็อก (Blog)

1.1 MicroBlog เชน Twitter , GoogleBuzz , FmyLife , Foursquare , jaiku , Plurk ,

Posterous , Tumble

1.2 General Blog เชน Blogger , Blogspot.com , Wordpress , Xanga , Vox

2.ประเภทสื่อสาร

ขาวสังคม เชน Digg , Mixx , Reddit

3.ประเภทเครือขายสังคม (Social Networking)

3.1 เครือขายสังคมทั่วโลก Facebook , Twitter , MySpace , Hi5 , Linkedin

3.2 เครือขายสังคมเฉพาะถ่ิน เชน Foursquare , Gowalla , Facebook places , The Hotlist

4.ประเภทศูนยความรู

4.1 สําหรับการอางอิง เชน Wikipedia

4.2 ความรูทั่วไป

5.ประเภทกระแสชีวิต (lifestreaming) เชน Collectedin , Facebook , Twitter , Orkut , AIM

Lifestream , Chi.mp , Google Buzz etc.

6.ประเภทระบบจัดการคอนเทนท (CMS) เชน Wordpress

7.ประเภทบันเทิง

7.1 สังคมเสมือน เชน mvnu , Active Worlds , Forterra Systems , Second Life , The Sims

Online

7.2 แพลทฟอรมบันเทิง Cisco Eos

8.ประเภทเฝาประเมินความนิยม เชน Attensity , Statsit , Sysomos , Vocus

Page 18: รายงานการค้นคว้าอิสระ

กฎของสังคมออนไลน (The Rules of Social Media)

1. การมีสวนรวม (Participation)

2. การเช่ือมตอ (Connections)

3. การสนทนากัน (Conversation) การพูดคุยกัน (Chat)

4. การมีสังคมรวมกัน (Community)

5. ฟงการนิเทศของคุณ (Listen to your supervision place)

กลาวโดยสรุป Social Media คือ สื่อดิจิตอลที่เปนเครื่องมือในการปฏิบัติการทางสังคมที่ใชในการ

สื่อสารเหมือนสื่อประเภทอื่นๆ ทั้งวิทยุ โทรทัศน และหนังสือพิมพ แต Social Media สามารถมีปฏิสัมพันธ

(Interactive) กับผูรับสารไดทันที นอกจากน้ียังสามารถแบงปน แลกเปลี่ยนและแชรขอมูลขาวสารทั้งขอความ

ภาพน่ิง และภาพเคลื่อนไหวระหวางกันภายในเครือขายไดอยางรวดเร็ว ซึ่งจุดน้ีถือเปนจุดเปลี่ยนสําคุญของ

วงการสื่อสารมวลชนไทย คือ มีลักษณะของการผสมผสานของสื่อ (Convergent Media)

Social Media จะแตกตางจากสื่อด้ังเดิม ทั้งวิทยุ โทรทัศน และหนังสือพิมพ ตรงที่มีลักษณะของการ

สื่อสาร 2 ทาง (2 – way communication) ซึ่ง Social Media มีขอบขายกวางกวา Facebook และ

Twitter ทั้งน้ี Social Media มีต้ังแต Blog , Micro-Blog เชน ทวิตเตอร Social Networking Facebook

Hi5, Online VDO Youtube, Photo Sharing , Wiki , Wikipedia , Bookmarking Cloud Sourcing

แมแตเว็บ pantip.com เองก็ถือเปน Social media

“ทั้งน้ีลักษณะเดนและเสนหของ Social Media คือ “การมีสวนรวม” เพราะผูใชสื่อหรือผูรับสาร

สามารถแปรสภาพเปนผูสงสารไดในเวลาเดียวกัน”

Page 19: รายงานการค้นคว้าอิสระ

บทท่ี 3

การนําไปพัฒนางาน/การเชื่อมโยงประยุกตใช

การดําเนินการในการนิเทศการศึกษา โดยใชกระบวนการ PIDRE

1.ข้ันการวางแผน (Plan)

1.1.รางแผนการดําเนินการ

1.2 ขายความคิด โดยการสัมภาษณครุผูสอน ถึงการจัดกิจกรรมการเรียนรูตาพระราชบัญญัติ

การศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2542 หมวด 4 แนวการจัดการศึกษา มาตรา 23 เกี่ยวกับการจัดการศึกษา

ตองยึดหลักวาผูเรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรูและพัฒนาตนเองได และถือวาผูเรียนมีความสําคัญที่สุด

กระบวนการจัดการศึกษาตองสงเสริมใหผูเรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ 1.3 จัดทํากําหนดการนิเทศ เพื่อใหความรู และเก็บขอมูลในเรื่องการสงเสริมการจัดกิจกรรม

การเรียนรูโดยใชสื่อสังคมออนไลน ( Social Media )

2.ข้ันใหการความรูกอนการนิเทศ (Informing)

2.1 จัดการใหความรูแกคณะครู ในเรื่องการจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยใชสื่อสังคมออนไลน (

Social Media )

2.2 ศึกษานิเทศก กํากับ ดูแล การดําเนินการการจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยใชสื่อสังคม

ออนไลน ( Social Media )

3.ข้ันการดําเนินการนิเทศ (Doing)

3.1 ครูดําเนินการสรางบล็อกดวยเว็บไซต wordpress.com ตามข้ันตอนที่ไดรับความรูจาก

คูมือการใชงาน

3.2 ศึกษานิเทศก สังเกต สัมภาษณ ตรวจผลงานบล็อกของครูในการจัดกิจกรรมการเรียนรู

โดยใชสื่อสังคมออนไลน ( Social Media ) ตามข้ันตอนที่ที่ไดรับความรู

4.ข้ันการสรางขวัญและกําลังใจแกผูรับการนิเทศ (Reinforcing)

4.1 ครูช่ืนชมผลงานของกันและกันในการจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยใชสื่อสังคมออนไลน (

Social Media ) ตามข้ันตอนที่ไดรับความรู

4.2 ศึกษานิเทสก ตรวจผลงาน แนะนําใหความรูแกครูเพิ่มเติม และใหคําช่ืนชมยินดีใน

ความสําเร็จ

5.ข้ันการประเมินผลการนิเทศ (Evaluating)

5.1 ครู นําผลการจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยใชสื่อสังคมออนไลน ( Social Media ) ไป

ปรับปรุง พัฒนากิจกรรมการเรียนการสอน

Page 20: รายงานการค้นคว้าอิสระ

5.2 ศึกษานิเทศก สังเกตการจัดกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู รวบรวมแบบสอบถาม

จัดกระทําขอมูล สรุปผล

5.3 นําเสนอผลการดําเนินงานตอ ผูอํานวยการสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา

กาญจนบุรี เขต 3

5.4 จัดทําเอกสาร แผนพับ เผยแพรผลงาน ผานเว็บไซตสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา

ประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 3

ความสอดคลองของกระบวนการนิเทศจากกรณีศึกษากับกระบวนการนิเทศแบบ PDCA และ กระบวนการ

นิเทศแบบ PIDRE

กระบวนการจาก

กรณีศึกษา

สอดคลองกับ

กระบวนการ PDCA

สอดคลองกับ

กระบวนการ PIDRE

เหตุผลสนับสนุน

-ศึกษาสภาพปจจุบัน

-วางแผนการดําเนินการ

P = Plan P = Planning เพื่อรูขอมูลทั่วไปของ

สถานศึกษาที่จะ

ดําเนินการนิเทศเพื่อ

จัดลําดับการดําเนินการ

และข้ันตอนใหชัดเจน

การใหความรูกอนการ

นิเทศ

D = Do I = informing ดําเนินการตามข้ันตอนที่

ไดวางแผนไวอยางเปน

ระบบ

การดําเนินการนิเทศ D = Doing ดําเนินการตามข้ันตอนที่

ไดวางแผนไวอยางเปน

ระบบ

การเสริมสรางขวัญและ

กําลังใจ

C = Check R = Reinforcing ทําการตรวจสอบ แลว

พัฒนาปรับปรุง กระตุน

ใหมีขวัญและกําลังใจ

การประเมินผล A = Act E= Evaluating ประเมินผล ปรับปรุง

แกไข และเผยแพร

Page 21: รายงานการค้นคว้าอิสระ

บทท่ี 4

ผลท่ีเกิดขึ้น

จากการดําเนินการจัดกิจกรรมนิเทศการสงเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยใชสื่อสังคมออนไลน

( Social Media ) ของครูพบวา มีความรูความเขาใจในการจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยใชสื่อสังคมออนไลน

(Social Media) จํานวนทั้งสิ้น 10 คน คิดเปนรอยละ 100 น้ัน เน่ืองจาก

1.โรงเรียนบานวังโพธ์ิ ไดจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยเนนผูเรียนเปนสําคัญและครูไดผานการแนะนํา

มาแลว จึงทําใหครูมีความรูความเขาใจ อีกทั้งไดมีการทบทวน และรวมปรึกษากับผูวิจัยจึงทําใหเกิดการเรียนรู

เร็วย่ิงข้ึน

2.ค รู ส าม า ร ถ นํ าความ รู ที่ ไ ด รั บ ม า จั ด กิ จ ก ร ร มก า ร เ รี ยน รู โ ด ย ใ ช สื่ อ สั ง คมออน ไล น

( Social Media ) ทําใหผูเรียนเกิดการแลกเปลี่ยนสรางสังคมแหงการเรียนรูอยางตอเน่ือง อีกทั้งครูและ

ผูเรียนสามารถมีปฏิสัมพันธ (Interactive) ซึ่งกันและกันไดโดยตรงผานระบบกระดานขาวและการคุยแบบ

สวนตัว ซึ่งจะทําใหขอจํากัดดานเวลาและสถานที ่

Page 22: รายงานการค้นคว้าอิสระ

เอกสารอางอิง

การนิเทศแบบใหคําช้ีแนะ (Chaching) http:// bet.obec.go.th/eqa/images/2010/subject_4.doc

สงัด อุทรานันท. การนิเทศการศึกษา : หลักการ ทฤษฎี และปฏิบัติ. กรุงเทพฯ : ภาควิชาบริหารการศึกษา

คณะครุศาสตร, 2530.

สํานักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน สพฐ. . การพัฒนาศึกษานิเทศก ICT เพ่ือการเรียนการสอน .

กรุงเทพฯ. โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย จํากัด , 2554

Page 23: รายงานการค้นคว้าอิสระ

ภาคผนวก

Page 24: รายงานการค้นคว้าอิสระ

http://krughameng.wordpress.com/

http://krusopit.wordpress.com/

Page 25: รายงานการค้นคว้าอิสระ

http://kruboonsong.wordpress.com/

http://kruchutimon.wordpress.com/

Page 26: รายงานการค้นคว้าอิสระ

http://rongtoon.wordpress.com/

http://krupeeraya.wordpress.com/

Page 27: รายงานการค้นคว้าอิสระ

http://krupatay551.wordpress.com/

http://kruphut.wordpress.com/

Page 28: รายงานการค้นคว้าอิสระ

http://kruith.wordpress.com/

http://krupen.wordpress.com/

Page 29: รายงานการค้นคว้าอิสระ

รายช่ือเว็บบล็อกของคุณครูโรงเรียนบานวังโพธ์ิ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 3

http://krughameng.wordpress.com/

http://krupeeraya.wordpress.com/

http://rongtoon.wordpress.com/

http://krupatay551.wordpress.com/

http://krusopit.wordpress.com/

http://kruboonsong.wordpress.com/

http://kruchutimon.wordpress.com/

http://kruith.wordpress.com/

http://kruboonsong.wordpress.com/

http://kruphut.wordpress.com/

http://krupen.wordpress.com/

http://krunalina.wordpress.com/

Page 30: รายงานการค้นคว้าอิสระ

ภาพกิจกรรม

Page 31: รายงานการค้นคว้าอิสระ
Page 32: รายงานการค้นคว้าอิสระ

ประวัติผูวิจัย

Page 33: รายงานการค้นคว้าอิสระ

ประวัติผูวิจัย

ช่ือ : นางสาววราภรณ เฉิดดิลก

ที่อยูที่ทํางาน : โรงเรียนราชประชานุเคราะห ๒๗ จังหวัดหนองคาย

27 หมู 18 ตําบลจุมพล อําเภอโพนพิสัย จังหวัดหนองคาย

สํานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ

ประวัติการศึกษา :

พ.ศ.2538 – 2541 สําเร็จการศึกษาช้ันมัธยมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนอุดรพิชัยรักษพิทยา จังหวัดอุดรธานี

พ.ศ.2541 – 2545 สําเร็จการศึกษาปริญญาครุศาสตรบัณฑิต สถาบันราชภัฏอุดรธานี

พ.ศ.2550 – 2552 สําเร็จการศึกษาปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต

สาขาวิชานิเทศการศึกษาและพัฒนาหลักสตูร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

ประวัติการทํางาน :

พ.ศ.2546 – 2547 อาจารย 1 ระดับ 3 โรงเรียนเปรมประชา (สายหยุด-เกษมสงเคราะห)

สํานักงานเขตดอนเมือง กรุงเทพมหานคร

พ.ศ.2547 – 2549 อาจารย 1 ระดับ 3 โรงเรียนบานนํ้าพุ อําเภอศรีสวัสด์ิ

สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษากาญจนบรุี เขต 3

พ.ศ.2549 – 2552 ครู โรงเรียนสมเด็จพระปยมหาราชรมณียเขต

สํานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ

พ.ศ.2552 – ปจจุบัน ครู โรงเรียนราชประชานุเคราะห ๒๗ จังหวัดหนองคาย

สํานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ