ก ก ก ก˘ ˇ ˆ˙ ˝˛eprints.utcc.ac.th/2331/2/2331fulltext.pdf · 2014-06-20 ·...

87
กกก- กกกกก กก 2556

Upload: others

Post on 29-Dec-2019

2 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

  • ก��������������������ก�������������ก����ก������������� ��������� ��-�����!�� �#$%������� &'�ก�(

    �)�*+ ��,+ )$�&+)��-

    ก��,.ก��������(���%�����/0��.�����ก��,.ก��%�����ก1%������,�%������23�%

    �����-�ก��%��&������

    ��23�%�������� �������������ก����� �� �4ก��,.ก�� 2556

    �������5����������������ก����� ��

  • หวัข้อการศึกษาค้นคว้าด้วยตวัเอง การประเมนิประสทิธผิลระบบการควบคุม

    ภายในเกีย่วกบัสนิคา้คงเหลอืของ

    บรษิทั ไทย-มาเลเซยี ปิโตรเลีย่ม จาํกดั

    ช่ือนักศึกษา นาย นิพฒัน์ วงศไ์พโรจน์พานิช

    ปริญญา วทิยาศาสตรมหาบณัฑติ

    สาขาวิชา การตรวจสอบภายใน

    อาจารยท่ี์ปรึกษา อาจารย ์ดร.สนันุด ีเสลารตัน์

    ปีท่ีสาํเรจ็การศึกษา 2555

    บทคดัย่อ

    การศกึษาค้นคว้าด้วยตนเองเรื่องการประเมนิระบบการควบคุมภายในเกี่ยวกบัสนิค้า

    คงเหลือของบรษิัท ไทย-มาเลเซีย ปิโตรเลี่ยม จํากัด มวีตัถุประสงค์เพื่อประเมนิระบบการ

    ควบคุมภายในของระบบการควบคุมภายในเกี่ยวกับสินค้าคงเหลือของบริษัท โดยได้นํา

    เสนอแนะแนวทางการแก้ไข โดยการทําการประเมนิการควบคุมภายใน 5 องค์ประกอบ

    ตามแนวทางของ COSO ซึ่งประกอบด้วย สภาพแวดล้อมการควบคุม ประเมนิความเสี่ยง

    กจิกรรมการควบคุม สารสนเทศและการสื่อสาร การตดิตามและการประเมนิผล โดยทําการเกบ็

    รวบรวมขอ้มลูจากแบบสอบถามทีใ่หก้บัผูป้ฏบิตังิานในส่วนงานทีเ่กี่ยวขอ้งกบัระบบการควบคุม

    ภายในเกี่ยวกบัสนิคา้คงเหลอืของบรษิทั ไทย-มาเลเซยี ปิโตรเลีย่ม จาํกดั จาํนวน �� คน และ

    นําขอ้มลูทีไ่ดม้าวเิคราะห ์โดยใชค้วามถี ่รอ้ยละ และค่าเฉลีย่

    จากการศึกษาพบว่า ระบบการควบคุมภายในของบรษิัทฯ มจีุดอ่อนในการควบคุม

    ภายใน 5 องคป์ระกอบ ตามแนวทางของ COSO ทีค่วรปรบัปรงุดงัต่อไปน้ี

    1.ด้านสภาพแวดล้อมการควบคุม ในเรื่องการขาดคณะกรรมการบริหารหรือ

    คณะกรรมการตรวจสอบ ควรจดัตัง้ให้มคีณะกรรมการบรหิาร หรอืคณะกรรมการที่มคีวามรู้

    ความสามารถอยา่งเพยีงพอต่อการปฏบิตังิาน

    2.ด้านการประเมนิความเสี่ยง เรื่องการวเิคราะห์ความเสี่ยง ควรจดัให้มกีารวเิคราะห์

    ความเสีย่งของระบบงานทีม่พีนกังานเกีย่วขอ้งกบัสนิคา้คงเหลอืมสี่วนร่วมในการวเิคราะหค์วาม

    เสีย่งทีอ่าจเกดิขึน้ในระบบการควบคุมภายใน

  • 3.ดา้นกจิกรรมการควบคุม ดา้นการจดัเรยีงสนิคา้คงเหลอื ควรจดัการใหค้วามรูเ้กี่ยวกบั

    การจดัเรยีงสนิคา้คงเหลอืในคลงัสนิคา้ เพื่อการปฏบิตังิานทีถู่กตอ้ง

    4.ด้านสารสนเทศ การจดัทําคู่มอื เอกสารและชี้แจ้งให้พนักงานที่เกี่ยวข้องทราบถึง

    วธิกีารใช้ระบบสารสนเทศ ควรจดัให้มกีารทําคู่มอืการปฏบิตังิาน โดยต้องแจง้ให้พนักงานต้อง

    ทราบถงึขอ้มลูดงักล่าว โดยการประกาศและใหพ้นกังานรบัทราบและปฏบิตัติาม

    5.ดา้นการตดิตามและประเมนิผล การพบขอ้ผดิพลาดในการปฏบิตังิานซํ้าขอ้ผดิพลาด

    ครัง้ก่อน ได้มปีระชุมเพื่อแก้ไขหรอืตรวจสอบอย่างเร่งด่วน ควรจดัใหม้กีารประเมนิผลเป็นราย

    ไตรมาส

  • ก���ก������ก�

    ก����ก�������������������ก������������������ก������������ก ��ก!������"���#��� "������!� %��-�����& � �'(��� ��� )*�ก!� �*���+)������ก��,�)�ก ��)���- ������� ������ ��)���-� ����ก�� � �%���#����ก��,�.�*� �)��.ก�%"

    ���)�#�ก*��!��)�ก����ก�������������)�*���+)���/�,- .��"�"��0����, ��.0����� ��,�ก�� �����ก���ก�� .���/�12������)���- ���) )!��-�+� ก���ก�����ก����ก�������������� ��#�����/�.���*�.�*�)�*��#�ก����ก�������������� ������/�,-���3�����"�4 )��"�"��0����,%� , (�ก�� 4 .��"�"����,�/����#��.��0!ก����ก�2������!� %��-�����& � �'(��� ��� )*�ก!� � �%���#����12��#���.���#�����2�������� �ก���#�"���/�� ���5���(�1-�ก����ก������� ������� 4#�ก� ���"��ก�ก0�2��#������0������ก���� �/���ก��"���!��"�����0���2��6 � ��ก��"�4�� , � � 4���

  • ������

    ����

    ������................................................................................................................... � ก����ก������ก��.................................................................................................... � ������...................................................................................................................... � ����������� ........................................................................................................... � ���������............................................................................................................... � �����

    1. ����� ��������������������ก����ก��..................................... 1

    ���������ก����ก��............................................................................... 3

    ������ก����ก��..................................................................................... 3

    !"ก����ก��.............................................................................................. 3

    ��#$%���"&�'(�)�*'+���.......................................................................... 4 2. �� ' �,�-" ������ )�$�ก"&$�+��......................................................... 5

    �� '�ก"&$ก��ก�����.�$/��� ��� *�$-�����0"$ 1#����"&$� )��ก�'.. 15

    ��� )�$�"&�ก"&$�+��................................................................................... 25

    3. ����"$� !"ก����ก��................................................................................ 27

    !"ก����ก��............................................................................................. 27

    ก���ก2������+��3�............................................................................... 27

    ก�� ����4��+��3������ � �"&/%+................................................................. 29

    ก����������+��3�..................................................................................... 30

    4. 5�ก����ก��............................................................................................. 31

    �+��3���&*���53+������������.......................................................... 31

    ���ก������ ���� �! 5�����ก�����.�$/��ก"&$ก��� �+���4�6� ���ก��- ��� �������ก�����.�$/��������� COSO

    .. 34

    �������ก��ก���ก������������������������...................................... 59

  • ������ (��)

    ����

    �����

    5. ���5�ก����ก�� ����+��������...................................................... 61

    ���5�ก����ก��................................................................................ 61

    �. ��$5�........................................................................................ 61

    �+�)��ก�'/�ก����ก��.......................................................................... 64

    ���'2��"&���ก���7 &��� �................................................................ 64 �������ก��............................................................................................................ 65 ����� ก.................................................................................................................. 66 .�5�ก ก.����������76&�ก��+�+����� ���............................ 67 ���� 53+��ก��..................................................................................... 78

    0

  • �����������

    �������� ��

    1. ��������������������������ก������������������ก��������������� ��������� 31 !�����" 2555�����������������.�.. 23

    2. ��������������������������ก������������������������ 31 !�����" 2555���������������������.��.. 23

    3. ��������������������������ก������������������������ 31 !�����" 2555����������������������.�.. 24

    4. ����������................................................................................................ 31

    5. �#�������"$��ก������%"#����ก����ก�����"&������'�������!��"� 34

    6. �#�������"$��ก������%"#����ก����(�����"�)���"��"��* $���%���ก�������������������������.�� 36

    7. �#�������"$��ก������%"#����ก����ก���+�ก��"ก����������� �+�ก��"ก����������������������������.�� 37

    8. �#�������"$��ก������%"#�������,�������$�����'ก���..��.. 38

    9. �#�������"$��ก������%"#����ก����ก��ก��"��������������"���-������������������������������.�.. 38

    10. �#�������"$��ก������%"#��������,�������ก������������%���ก�����������������������.����.�. 40

    11. ��%.����#�������"ก������%"���������..�������. 42

    12. ก��.��"�����"�����������*%.�����'��������'ก��������.�� 43

    13. ก��.��"�����"�����������*%.�����'�����ก��ก��"����.���..� 43

    14. ก��.��"�����"��������ก�����%./���������������������. 45

    15. ก��.��"�����"��������ก���������'���"�������������..�.. 46

    16. ก��.��"�����"��������ก��ก�������!�ก������%"���.0��ก�����"����� 47

    17. ��%.���ก��.��"�����"���������������.����..���.. 48

    18. ก��ก��"ก������%"���ก���������������������..����. 49

  • ����������� (�)

    �������� ��

    19. ก��ก��"ก������%"���ก�����������������������������.. 50

    20. ก��ก��"ก������%"�����!�ก�����������������-�ก�������������� 51

    21. ก��ก��"ก������%"���ก�������1������ก2����ก���$���$����� 52

    22. ��%.���ก��ก��ก��"����%"����.������������........... 53

    23. ����������4���ก�������������������������.� 54

    24. ก�������".��"��-�............................................................................... 56

    25. ��%.ก��.��"��.�����!�-�$��ก������%"#������"������$�� COSO ����������������������������. 57

  • สารบญัภาพ

    ภาพท่ี หน้า

    1. โครงสรา้งของสาขาในประเทศไทย................................................................ 17

    2 กระบวนการขายสนิคา้.................................................................................. 19

    3. กระบวนการสัง่ซือ้สนิคา้…………………………………..…………………….. 20

  • 1

    บทท่ี 1

    บทนํา

    ความเป็นมาและความสาํคญัของปัญหา

    ในการดําเนินธุรกจิ สนิคา้คงเหลอื (Inventories) เป็นสนิทรพัยห์มุนเวยีนประเภทหน่ึงที่

    มคีวามสาํคญัโดยตรงต่อการดาํเนินงานของกจิการ กจิการจาํเป็นทีต่้องใชเ้งนิทุนหมุนเวยีนเพื่อ

    การจดัหาและเก็บรกัษาสนิค้าคงเหลอืที่มไีว้เพื่อขาย ภายใต้การดําเนินงานการขยายตวัของ

    ธุรกจิ ในโลกโลกาภวิฒัน์ การเปลีย่นแปลงดา้นเทคโนโลยเีกดิขึน้อย่างรวดเรว็ทําใหทุ้กองคก์ร

    ทัง้ภาครฐัและภาคเอกชนต้องปรบัตวัและกําหนดกลยุทธ์ในการทํางานใหม่ รวมถงึการจดัหา

    เครื่องมือทางด้านการจดัการเข้ามาช่วยในการบรหิารงานมากขึ้น ดงันัน้ระบบการควบคุม

    ภายในเกี่ยวกบัสนิค้าคงเหลอืที่มปีระสทิธภิาพ ถือเป็นเครื่องมอืที่สําคญัตวัหน่ึงที่จะสามารถ

    ป้องกนัและแก้ไขปญัหาเกี่ยวกบัรายการสนิคา้คงเหลอืทีไ่ม่ถูกต้อง เช่น การทุจรติ การสูญหาย

    การขาดการบนัทกึเกี่ยวกบัสนิค้าคงเหลอื เป็นต้น ปญัหาสนิค้าคงเหลอืดงักล่าวส่งผลกระทบ

    โดยตรงต่อกจิการ และอาจส่งผลต่อการรายงานทางการเงนิทีไ่ม่ถูกต้อง โดยปญัหาหลกัปญัหา

    หน่ึงที่ส่งผลกระทบมาก คอื รายงานยอดสนิคา้ทีต่รวจนับไม่ถูกต้องตามรายงานสนิคา้ในระบบ

    บญัช ีซึง่สาเหตุอาจเน่ืองมากจากไมไ่ดบ้นัทกึรายการสนิคา้คงเหลอืในระบบ หรอื สนิคา้เกดิการ

    สูญหายระหว่างการจดัเกบ็ การไม่สามารถระบุถึงสาเหตุหลกั ทําให้ไม่สามารถวางมาตรการ

    ป้องกนัไดอ้ยา่งถูกตอ้ง หรอือกีปจัจยัหน่ึงคอืมรีะบบการควบคุมภายในทีว่างไวด้แีลว้แต่ขาดการ

    ปฏบิตัติาม

    บริษัท ไทย-มาเลเซีย ปิโตรเลี่ยม จํากัด ดําเนินธุรกิจให้บริการขุดเจาะน้ํามันดิบ

    (ปิโตรเลี่ยม) โดยจดทะเบยีนก่อตัง้และจดทะเบยีนในตลาดหลกัทรพัย ์Bursa ของประเทศ

    มาเลเซยีในวนัที ่13 พฤษภาคม พ.ศ.2546 มทุีนจดทะเบยีน 1.97 พนัลา้นบาท ในปี พ.ศ.2552

    มพีนักงาน 5,000 คน ใน 29 ประเทศ เช่น ประเทศมาเลเซยี ประเทศไทย ประเทศเวยีดนาม

    ประเทศบงักลาเทศ ประเทศพม่า เป็นต้น ปจัจุบนับรษิทัฯสาขาในประเทศไทย มแีผนจะเตรยีม

    ความพรอ้มเขา้ตลาดหลกัทรพัยแ์ห่งประเทศไทยภายในปี พ.ศ. 2558 โดยตัง้เป้าหมายที่จะ

    ขยายฐานลูกค้าของบริษัทฯ ทัง้ภายในประเทศและต่างประเทศ ปจัจุบันบริษัทฯประสบ

    ความสาํเรจ็ในการประกอบธุรกจิโดยไดร้บัความไวว้างใจจากทางลูกคา้ใหค้วามเชื่อมัน่ใชบ้รกิาร

    โดยกลุ่มลูกค้าหลกัของบรษิัทฯ ได้แก่ บรษิัท การปิโตรเลี่ยมแห่งประเทศไทย (ปตท.) จํากดั

    (มหาชน) บรษิัท แพนออเลยีน (ประเทศไทย) จํากดั บรษิัท เชฟลอน (ประเทศไทย) จํากัด

    บรษิทั แดว ู(ประเทศเกาหล)ี จาํกดั และบรษิทั โทแทล (ประเทศฝรัง่เศส) จาํกดั เป็นตน้

  • 2

    บรษิทัฯ ประกอบธุรกจิโดยมสีํานักงานใหญ่ในประเทศไทยตัง้อยู่ทีก่รุงเทพฯ และมสีาขา

    อยู่ในต่างจงัหวดัจาํนวน 3 สาขา จากการดําเนินงานของสาขาทัง้หมด 3 สาขาของบรษิทัฯอนั

    ได้แก่ สาขาในจงัหวดักําแพงเพชร สาขาในจงัหวดัสงขลา และสาขาในจงัหวดัระนอง พบว่า

    รายงานผลต่างจากการตรวจนบัของสาขาในจงัหวดักําแพงเพชร มรีายการสนิคา้คงเหลอืทีไ่ม่ได้

    บนัทกึบญัชแีละต้องปรบัปรุงมมีูลค่าสูงที่สุด เมื่อเปรยีบเทยีบกบัสาขาในจงัหวดัสงขลา และ

    จงัหวดัระนอง โดยปญัหาหลกัของธุรกิจรายงานการตรวจนับสินค้าคงเหลอืสาขาจงัหวดั

    กําแพงเพชรในคลงัสนิค้า ณ วนัที ่31 ธนัวาคม 2555 พบว่ายอดทีต่รวจนับไม่ถูกต้องตรงกบั

    รายงานสนิคา้คงเหลอืในระบบบญัช ีเน่ืองมาจาก 3 สาเหตุหลกัดงัต่อไปน้ี

    1.รายการสนิค้าที่มอียู่จรงิเป็นยอดยกมา 2551 แต่ไม่ได้บนัทกึในระบบบญัชี จํานวน

    414,200 บาท

    2.รายการสนิค้าที่มอียู่จรงิแต่ไม่ได้บนัทกึในระบบบญัชีในปี 2555 จํานวน 8,194,796

    บาท

    3.รายงานสินค้าที่รบัคืนและมอียู่จรงิ แต่ ไม่ได้บนัทึกในระบบบญัชีจํานวน 700,000

    บาท

    โดยสรุปรายการสินค้าคงเหลือที่ไม่ได้บันทึกบัญชีและต้องปรับปรุงมีจํานวน

    19,308,996 บาท ซึง่ส่งผลกระทบใหร้ายงานทางบญัชเีกี่ยวกบัสนิคา้คงเหลอืผดิพลาดรอ้ยละ

    30 ของยอดสนิคา้คงเหลอืทัง้หมด 64,696,653 บาท

    จากรายการตรวจนับดงักล่าว พบว่าสาขาในจงัหวดักําแพงเพชร จาํเป็นต้องปรบัปรุง

    ระบบการจดัการสนิคา้คงเหลอื เพื่อใหม้กีระบวนการจดัการสนิคา้คงเหลอืทีม่ปีระสทิธภิาพและ

    ประสทิธผิลมากขึน้ ซึ่งในปจัจุบนับรษิทัไม่สามารถตรวจพบ สาเหตุของการสูญหายของสนิค้า

    และบรษิทัฯไม่ได้บนัทกึบญัชสีนิคา้คงเหลอืในระบบ SAP ใหถู้กต้องทนัเวลาและเป็นปจัจุบนั

    ทาํใหบ้รษิทัฯไมท่ราบชดัเจนว่าผลต่างทีเ่กดิขึน้เกดิจากกจิกรรมการทีเ่กี่ยวขอ้งกบัจดัการสนิคา้

    คงเหลอื กิจกรรมใด จากน้ีผลต่างอาจมาจากนโยบายและวธิกีารปฏบิตัิงานที่ไม่ชดัเจน หรอื

    ระบบการควบคุมภายในยงัไม่เพยีงพอ หรอือาจเกดิจากบุคลากรขาดความรูค้วามเขา้ใจในการ

    ปฏบิตังิานและการสอบทานจากผูบ้รหิารไมเ่พยีงพอ

    จากขอ้ผดิพลาดขา้งต้นพบว่าผลต่างดงักล่าวมสีาระสําคญัทําให้งบการเงนิไม่สามารถ

    สะทอ้นผลการดาํเนินงานทีถู่กตอ้ง ปจัจุบนับรษิทัฯไดพ้ยายามเพิม่มาตรการในดา้นการควบคุม

    ภายในเกีย่วกบัสนิคา้คงเหลอืเพื่อแกไ้ขปญัหาเบือ้งตน้

  • 3

    ดงันัน้ผูศ้กึษาจงึมคีวามสนใจทีจ่ะศกึษาระบบการควบคุมภายในเกี่ยวกบัสนิค้าคงเหลอื

    เพื่อหาขอ้บกพร่องของระบบและแนวทางแก้ไข ปญัหาดงักล่าว โดยการศกึษาประสทิธผิลของ

    ระบบการควบคุมภายในกระบวนการจดัการสนิคา้คงเหลอืโดยเฉพาะ

    1.การรบัสนิคา้

    2.การจดัเรยีงสนิคา้ในคลงัสนิคา้

    3.การตรวจนบัสนิคา้และผลการนบัสนิคา้

    4.การตรวจนบัสนิคา้ก่อนออกและเขา้คลงัสนิคา้

    โดยการศึกษาในครัง้น้ี ผู้ศึกษาใช้การประเมนิประสิทธิผลของการควบคุมภายในตามแนว

    COSO ในเรือ่งระบบการควบคุมภายในเกีย่วกบัสนิคา้คงเหลอื

    วตัถปุระสงคข์องการศึกษา

    1. เพื่อประเมนิประสทิธผิลระบบการควบคุมภายในเกีย่วกบัสนิคา้คงเหลอืในปจัจบุนั 2. เพื่อเสนอแนะแนวทางการพฒันาระบบควบคุมภายในเกีย่วกบัสนิคา้คงเหลอื

    ขอบเขตการศึกษา

    การศกึษาคน้ควา้ด้วยตนเองฉบบัน้ี เป็นการศกึษาเกี่ยวกบัการประเมนิประสทิธผิลระบบ

    การควบคุมภายในเกี่ยวกบัสนิคา้คงเหลอืของบรษิทั ไทย-มาเลเซยี ปิโตรเลีย่ม จาํกดั ซึง่จะทํา

    การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพที่ได้มาจากการใช้แบบสอบถามและการค้นคว้าเอกสารที่

    เกี่ยวขอ้ง ขอ้มูลที่ศกึษาประกอบไปด้วย ขอ้มูลจากผู้บรหิาร พนักงานสถานประกอบการของ

    สํานักงานใหญ่ทีก่รุงเทพฯ และสาขาใน ตําบลลานกระบอื จงัหวดักําแพงเพชร จาํนวน 36 คน

    และการเก็บรวบรวมข้อมูลตามแบบสอบถาม จดัทําในช่วง 1 มกราคม พ.ศ. 2556 ถงึ 31

    มนีาคม พ.ศ.2556

    วิธีการศึกษา

    1.ขอ้มลูปฐมภมู ิการประเมนิประสทิธผิลระบบการควบคุมภายในเกี่ยวกบัสนิคา้คงเหลอื

    รวบรวมขอ้มูลโดยใช้แบบสอบถามความคดิเหน็ของผูบ้รหิารและพนักงานที่ปฏบิตังิานในส่วน

    เกี่ยวขอ้งกบัสนิค้าคงเหลอืทีส่ํานักงานใหญ่ และสาขาในตําบลลานกระบอื จงัหวดักําแพงเพชร

    จาํนวน 36 คน โดยการนําหลกัการควบคุมภายใน 5 องคป์ระกอบตามแนว COSO มาใชใ้นการ

    สรา้งแบบสอบถาม

    2.ขอ้มลูทุตยิภมู ิเป็นการศกึษาจากระเบยีบปฏบิตังิาน ตําราและบทความวชิาการ

  • 4

    การวเิคราะห์ข้อมูลทําโดยการนําข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้จากแบบสอบถามทัง้หมดมาทําการ

    วเิคราะหแ์ละประเมนิระบบการควบคุมภายในเกี่ยวกบัสนิคา้คงเหลอืของบรษิทัฯ โดยใชค้่าสถติิ

    ที่ใช้การวเิคราะห์ คอื ค่าร้อยละ (Percentage) และค่าเฉลี่ย (Mean) โดยนําเสนอขอ้มูลที่

    วเิคราะหไ์ดใ้นลกัษณะขอ้มลูเชงิพรรณนา (Descriptive Statistics)

    ประโยชน์ท่ีคาดว่าจะได้รบั

    1. เพื่อเป็นขอ้มูลสําหรบัผู้บรหิารในการปรบัปรุงระบบการควบคุมภายในของระบบปฏบิตังิานของสนิคา้คงเหลอื

    2. เพื่อให้ผู้สนใจศึกษาเกี่ยวกับระบบควบคุมภายในในระบบปฏิบตัิงานของสินค้าคงเหลอื นําผลการศกึษาเป็นแนวทางการศกึษาต่อไป

  • บทท่ี 2

    แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจยัท่ีเก่ียวข้อง

    การศึกษาค้นคว้าเพื่อประเมนิประสทิธผิลระบบควบคุมภายในเกี่ยวกบัสนิค้าคงเหลอื

    ของบรษิัท ไทย-มาเลเซีย ปิโตรเลี่ยม จํากัด เพื่อประเมนิประสิทธิผลระบบควบคุมภายใน

    เกี่ยวกบัสนิค้าคงเหลอื โดยมทีฤษฎแีละแนวคดิเกี่ยวข้องกบัการควบคุมภายในตามแนวทาง

    COSO และแนวคดิการจดัการสนิคา้คงเหลอื ดงัต่อไปน้ี

    แนวคิดเก่ียวกบัการควบคมุภายใน (จนัทนา สาขากร, นิพนัธ ์เหน็โชคชยัชนะ , ศลิปพร ศรี

    จ ัน่เพชร การตรวจสอบและการควบคุมภายใน , 2554 : 2 – 3 ถงึ 2 – 13)

    1.ความหมายของการควบคมุภายใน

    การควบคุมภายใน คอื กระบวนการปฏบิตัิงานที่ถูกกําหนดร่วมกนัโดยคณะกรรมการ

    ผูบ้รหิาร ตลอดจนพนกังานขององคก์รทุกระดบัชัน้ เพื่อใหเ้กดิความมัน่ใจอย่างสมเหตุสมผลว่า

    วธิกีารหรอืการปฏบิตังิานตามทีก่ําหนดไวจ้ะทาํใหบ้รรลุวตัถุประสงคข์องการควบคุม

    2.วตัถปุระสงคข์องการควบคมุภายใน

    วตัถุประสงคข์องระบบการควบคุมภายใน มดีงัน้ี

    2.1 ความมปีระสทิธภิาพและประสิทธิผลของการดําเนินงาน (Effectiveness and

    Efficiency of Operation : ใชต้วัย่อ O) เป็นวตัถุประสงคท์ีมุ่่งเน้นใหม้กีารใชท้รพัยากรอย่างมี

    ประสทิธภิาพและบรรลุเป้าหมายที่กําหนดไว้ขององคก์ร การดําเนินงานที่มปีระสทิธภิาพและ

    ประสทิธผิลยอ่มหมายถงึ มกีารใชท้รพัยากรอย่างคุม้ค่ามกีารดูแลรกัษาทรพัยส์นิใหอ้ยู่ในสภาพ

    ที่พร้อมจะใช้งานได้เสมอ มีการป้องกันมิให้เกิดการสูญเสียหรือสูญหาย ดังนัน้ เมื่อการ

    ดําเนินงานอย่างมปีระสทิธภิาพและประสทิธผิลจงึส่งผลให้เกดิการป้องกนัดูแลรกัษาทรพัยส์นิ

    ขององคก์รไปพรอ้มกนั

    2.2 ความเชื่อถอืไดข้องรายงานทางการเงนิ (Reliability of Financial Reporting: ใชต้วั

    ย่อ F) รายงานทางการเงนิที่มคีวามเชื่อถือได้ มคีวามสําคญัต่อผู้ใช้ไม่ว่าจะเป็นบุคคลภายใน

    หรอืบุคคลภายนอกองค์กร ผู้ใช้ควรได้ข้อมูลที่ถูกต้องเพื่อใช้ในการตดัสนิใจและวางแผนใน

    อนาคต ผูล้งทุน เจา้หน้ี ลูกค้า นักวเิคราะห ์และหน่วยราชการ ซึง่เป็นบุคคลภายนอกองคก์รก็

    ตาม ผู้ใช้ควรได้ขอ้มูลที่ถูกต้องเพื่อใช้ในการตดัสนิใจและวางแผนในอนาคต ผู้ลงทุน เจา้หน้ี

    ลูกคา้ นักวเิคราะห ์และหน่วยราชการ ซึ่งเป็นบุคคลภายนอกองคก์ร ดงันัน้ผู้บรหิารจงึมหีน้าที่

  • 6

    และความรบัผดิชอบเพื่อใหเ้กดิความมัน่ใจไดว้่างบการเงนินัน้ ใหข้อ้มลูทีม่คีุณภาพและเป็นไป

    ตามหลกัการบญัชทีีร่บัรองทัว่ไป หรอืมาตรฐานการรายงานทางการเงนิ

    2.3 การปฏบิตัติามกฎหมาย ขอ้กําหนด กฎ ระเบยีบ และขอ้บงัคบั (Compliance with

    Laws and Regulations : ใชต้วัยอ่ C) เพื่อป้องกนัมใิหเ้กดิความเสยีหายใดๆ จากการละเวน้ไม่

    ปฏบิตั ิหรอื ปฏบิตัผิดิกฎหมาย และขอ้กําหนดทีเ่กี่ยวขอ้งกบัองคก์ร ตลอดจนกฎระเบยีบและ

    ขอ้บงัคบัขององคก์รเอง

    3.องคป์ระกอบของการควบคมุภายใน

    ตามแนวคดิของ COSO มอีงคป์ระกอบทีส่ําคญัในการควบคุมภายใน 5 ประการ (ณฐพร

    พนัธุอุ์ดม และคณะผูเ้ขยีน ,แนวทางการจดัระบบการควบคุมภายใน 2549:4-18) ดงัน้ี

    องคป์ระกอบการควบคมุภายในตามหลกัการของ COSO มี 5 ประการดงัน้ี

    1. สภาพแวดลอ้มของการควบคุม (Control Environment) 2. การประเมนิความเสีย่ง (Risk Assessment) 3. กจิกรรมการควบคุม (Control Activities) 4. ขอ้มลูขา่วสารและการสื่อสารในองคก์ร (Information and Communication) 5. การตดิตามและประเมนิผล (Monitoring and Evaluation)

    องคป์ระกอบท่ี 1 สภาพแวดล้อมการควบคมุ (Control Environment)

    เป็นปจัจยัซึ่งร่วมกนัส่งผลให้เกดิมาตรการหรอืวธิกีารควบคุมขึน้ในองคก์ร หรอืทําใหบุ้คลากร

    ใหค้วามสาํคญักบัการควบคุมมากขึน้ หรอืทาํใหก้ารควบคุมทีม่อียู่นัน้ไดผ้ลตามวตัถุประสงคท์ีด่ ี

    ขึน้ หรอืในกรณีตรงขา้มสภาพแวดล้อมอาจทําให้การควบคุมย่อหย่อนลง สภาพแวดล้อมของ

    การควบคุมภายในสะท้อนให้เหน็ทศันคต ิและการรบัรูถ้ึงความสําคญัของการควบคุมภายใน

    ของบุคลากรระดบัต่างๆ ในองค์กร นับตัง้แต่คณะกรรมการบรษิัท ฝ่ายบรหิาร เจ้าของ และ

    พนกังานทัว่ไป

    สภาพแวดลอ้มของการควบคุม ประกอบดว้ยปจัจยัต่างๆ ดงัต่อไปน้ี

    1.ความซื่อสตัยส์ุจรติและจรรยาบรรณในการดาํเนินธุรกจิ

    2.การสรา้งแรงผลกัดนัโดยระบบการใหผ้ลประโยชน์ และการใชส้ิง่จงูใจ

    3.การพฒันาความรูค้วามสามารถของบุคลากร

    4.การสรา้งขวญัและกําลงัใจใหก้บับุคลากรในองคก์ร

    5.คณะกรรมการบรษิทัและคณะกรรมการตรวจสอบ

    6.ปรชัญาและแนวทางการปฏบิตังิานของผูบ้รหิาร

  • 7

    7.การจดัโครงสรา้งองคก์ร

    8.การกําหนดอํานาจหน้าทีแ่ละความรบัผดิชอบ

    9.นโยบายและวธิบีรหิารงานบุคคล

    สภาพแวดลอ้มของการควบคุม ประกอบดว้ยปจัจยัต่างๆ ดงัต่อไปน้ีจรรยาบรรณในการ

    ดาํเนินธุรกจิ

    สภาพแวดลอ้มของการควบคุมภายในองคก์ร จะเป็นตวักําหนดแนวทางขององคก์รและ

    มอีทิธผิลเหนือจติสาํนึกเกีย่วกบัการควบคุมภายในใหก้บับุคลากรในองคก์ร สภาพแวดลอ้มของ

    การควบคุมให้ความสําคญักบัการควบคุมภายในที่มุ่งให้เกิดจติสํานึก (หรอืการควบคุมแบบ

    Soft Control) เช่น ความซือ่สตัย ์จรยิธรรม ความโปรง่ใส นอกเหนือไปจากการควบคุมภายในที่

    กําหนดเป็นโครงสร้าง นโยบาย และระเบยีบวธิปีฏบิตั ิ(หรอืการควบคุมแบบ Hard Control)

    สภาพแวดล้อมการควบคุมจงึถอืเป็น “ฐานราก“ ทีส่ําคญัของการควบคุมภายใน และวนิัยของ

    บุคลากรในการยอมรบั และปฏบิตัใิห้เป็นไปตามวตัถุประสงค์ของมาตรการและวธิกีารควบคุม

    ภายใน ซึง่ผูบ้รหิารจดัขึน้ในองคก์รนัน้

    องคป์ระกอบท่ี 2 การประเมินความเส่ียง (Risk Assessment) ฝ่ายบรหิารต้องให้

    ความสาํคญัและประเมนิความเสีย่ง ซึง่มผีลกระทบต่อผลสาํเรจ็ตามวตัถุประสงคข์องหน่วยตรวจ

    ทีเ่กดิจากปจัจยัภายในและภายนอกดว้ยวธิกีารทีเ่ป็นระบบอยา่งเพยีงพอและเหมาะสม

    ความเส่ียง หมายถงึ เหตุการณ์หรอืสถานการณ์ทีม่คีวามไม่แน่นอน ซึง่อาจเกดิขึน้และ

    มผีลใหห้น่วยรบัตรวจเกดิความผดิพลาด ความเสยีหาย การรัว่ไหล ความสูญเปล่าไม่สามารถ

    ดาํเนินงานใหบ้รรลุผลสาํเรจ็ตามวตัถุประสงคห์รอืเป้าหมายทีต่ ัง้ไวไ้ด ้

    การประเมินความเส่ียง หมายถงึ กระบวนการที่สําคญัที่ใช้ในการระบุและวเิคราะห์

    ความเสี่ยงที่มผีลกระทบต่อการบรรลุวตัถุประสงค์ของหน่วยรบัตรวจ รวมทัง้การค้นหาและ

    นําเอาวธิกีารควบคุม เพื่อป้องกนัหรอืลดความเสีย่งมาใชใ้หเ้กดิประสทิธภิาพและประสทิธผิลต่อ

    หน่วยรบัตรวจ

    ตามมาตรฐานการตรวจสอบ กําหนดใหผู้บ้รหิารต้องประเมนิความเสีย่ง เพื่อใหท้ราบว่า

    การดําเนินงานของหน่วยรบัตรวจมคีวามเสี่ยงที่สําคญัในเรื่องใด และในขัน้ตอนใดของการ

    ปฏบิตังิาน มรีะดบัความสําคญัและโอกาสทีจ่ะเกดิมากน้อยเพยีงใด การทีห่น่วยรบัตรวจไดร้บัรู้

    ปจัจยัเสีย่งทีส่าํคญัจะเป็นประโยชน์ในการกําหนดแนวทางการควบคุมเพื่อป้องกนัหรอืลดความ

    เสี่ยง ซึ่งจะทําให้เกดิความมัน่ใจตามสมควรว่าความเสยีหายหรอืความผดิพลาดจะไม่เกดิขึน้

    หรอืหากเกดิขึน้จะอยูใ่นระดบัทีไ่มเ่ป็นอุปสรรคต่อการดาํเนินงาน

  • 8

    ขัน้ตอนในการประเมินความเส่ียง ประกอบดว้ย

    2.1 ระบุปัจจยัเส่ียง (Event Identification) ความเสีย่งมสีาเหตุจากปจัจยัทัง้ภายใน

    และภายนอก ปจัจยัเหล่าน้ีมผีลกระทบต่อวตัถุประสงคแ์ละเป้าหมายของหน่วยงานรบัตรวจหรอื

    ผลการปฏิบตัิงาน ทัง้ในระดบัหน่วยรบัตรวจและระดบักิจกรรม ในการระบุปจัจยัเสี่ยงฝ่าย

    บรหิารจาํเป็นตอ้งตัง้คาํถาม ว่ามเีหตุการณ์ใดหรอืกจิกรรมใดของกระบวนการปฏบิตังิาน ทีอ่าจ

    เกดิความผดิพลาด ความเสยีหาย และการไม่บรรลุวตัถุประสงคท์ีก่ําหนด รวมทัง้มทีรพัยส์นิใด

    ที่จําเป็นจะต้องได้รบัการดูแลป้องกนัรกัษา เช่นความเสี่ยงจากการจดัซื้อจดัจ้างในราคาแพง

    ความเสีย่งจากการจดัซือ้พสัดุทีม่คีุณภาพตํ่ากว่าขอ้กําหนด เป็นตน้

    2.2 วิเคราะห์ความเส่ียง (Risk Analysis) หลงัจากระบุปจัจยัเสีย่งแลว้ ขัน้ตอนต่อไป

    คอื การวเิคราะหค์วามเสีย่ง เทคนิคการวเิคราะหค์วามเสีย่งมหีลายวธิ ีการวดัความเสีย่งทีเ่ป็น

    ตวัเลข ว่ามผีลกระทบต่อหน่วยรบัตรวจเท่าไรนัน้เป็นสิง่ทีท่าํไดย้าก โดยทัว่ไปจะวเิคราะหค์วาม

    เสี่ยง โดยประมาณโอกาส และความถี่ที่ความเสี่ยงอาจเกิดขึ้นว่ามมีากน้อยเพียงใด เพื่อ

    พจิารณาผลกระทบจากความเสี่ยงและจดัลําดบัความสําคญัของความเสี่ยงที่มผีลต่อหน่วยรบั

    ตรวจ โดยการใชว้ธิกีารใหค้ะแนน

    ผูบ้รหิารควรให้ความสําคญัต่อความเสีย่งทีม่รีะดบัสูงและมโีอกาสเกดิขึน้สูง แต่อาจลด

    ความสนใจต่อความเสี่ยงที่มรีะดบัตํ่าและโอกาสจะเกิดความเสี่ยงมน้ีอย การวเิคราะห์ความ

    เสี่ยงของสองจุดน้ีต้องใช้วจิารณญาณอย่างมากว่าควรอยู่ในระดบัใด เพราะการวดัผลความ

    เสี่ยงทําได้ยาก โดยอาจพิจารณาจากความสําพนัธ์ระหว่างโอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง และ

    ผลกระทบของความเสีย่งต่อองคก์รว่าก่อใหเ้กดิความเสีย่งในระดบัใด

    ในทางปฏิบตัิฝ่ายบรหิารควรพิจารณาถึงปจัจยัอื่นๆ ประกอบ เช่น ความเสี่ยงบาง

    ประเภทอาจมโีอกาสทีจ่ะเกดิสูงมาก ถงึแมผ้ลเสยีหายทีเ่กดิขึน้จากความเสีย่งดงักล่าวในแต่ละ

    ครัง้มจีาํนวนมลูค่าไมส่งูมาก แต่หากเกดิขึน้บ่อยครัง้ผลรวมอาจมจีาํนวนเงนิทีม่สีาระสําคญัและ

    ก่อใหเ้กดิผลเสยีหายต่อหน่วยรบัตรวจได ้

    2.3 การจดัการความเส่ียง (Risk Response) เป็นขัน้ตอนกําหนดวธิกีารจดัการเพื่อ

    ลดความเสี่ยง ซึ่งเมื่อทราบความเสี่ยงที่มนีัยสําคัญและโอกาสที่จะเกิดความเสี่ยงแล้วควร

    วเิคราะห์สาเหตุที่ทําให้เกดิความเสี่ยง และพจิารณาว่าจะจดัการกบัความเสี่ยงนัน้อย่างไร ใน

    การพจิารณาเลอืกดําเนินการ ผูบ้รหิารต้องพจิารณาถงึค่าใชจ้่ายหรอืต้นทุนในการจดัการความ

    เสีย่งนัน้ เปรยีบเทยีบกบัประโยชน์ทีจ่ะไดร้บัว่าเหมาะสมและคุม้ค่าหรอืไม ่

    ฝ่ายบรหิารควรพิจารณาว่า ความเสี่ยงที่เกิดขึ้นนัน้เป็นความเสี่ยงที่เกิดจากปจัจยั

    ภายใน เช่น ระบบการทํางานไม่เหมาะสม คุณภาพและความสามารถของบุคลากรขนาดและ

    โครงสรา้งขององค์กร เป็นต้น ปจัจยัภายนอก ได้แก่ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจการเมอืง

  • 9

    เทคโนโลย ีและกฎหมายใหม่ที่มผีลบงัคบัใช ้เป็นต้น รวมทัง้จะต้องพจิารณาว่าเป็นความเสี่ยง

    ดา้นใด

    กรณีเป็นความเส่ียงเก่ียวกบัหน่วยรบัตรวจโดยรวม มกัเกดิจากปจัจยัภายนอกซึ่ง

    มไิด้อยู่ภายใต้การควบคุมของฝ่ายบรหิาร การป้องกันหรอืลดความเสี่ยงกระทําได้โดยการ

    บรหิารความเสีย่งดงัน้ี

    2.3.1 การหลีกเล่ียง (Avoiding) การดําเนินการหลกีเลีย่งเหตุการณ์ทีก่่อใหเ้กดิความ

    เสีย่ง เช่น หลกีเลีย่งหรอืหยดุทาํธุรกจิ และ สนิคา้หรอืบรกิารทีไ่มถ่นดั

    2.3.2 การแบ่งปัน (Sharing) เป็นการแบ่งความรบัผดิชอบให้ผูอ้ื่นร่วมรบัความเสีย่ง

    เช่น การทาํประกนั การใชบ้รกิารภายนอก (Outsource) เป็นตน้

    2.3.3 การลด (Reducing) เป็นการลดหรอืควบคุมความเสีย่ง โดยการใชก้ระบวนการ

    ควบคุมภายใน เพื่อลดโอกาสทีจ่ะเกดิความเสีย่งและลดผลกระทบทีเ่กดิจากความเสีย่ง

    2.3.4 การยอมรบั (Accepting) หน่วยรบัตรวจยอมรบัความเสีย่งนัน้ในกรณีทีห่น่วย

    รบัตรวจ อาจมรีะบบการควบคุมภายในทีม่ปีระสทิธภิาพ มรีะบบขอ้มูลทีเ่พยีงพอทีจ่ะใชใ้นการ

    ตดัสนิใจ และมคีวามเขา้ใจความเสีย่งเป็นอย่างด ีรวมทัง้ประโยชน์ทีไ่ดร้บัจากการจดัการความ

    เสีย่งอาจน้อยกว่าตน้ทุนทีต่อ้งเสยีไป

    กรณีเป็นความเส่ียงเก่ียวกบัการควบคุมภายใน ที่เกิดจากปจัจยัภายในซึ่งอยู่

    ภายใต้การควบคุมของฝ่ายบรหิาร การป้องกนัหรอืลดความเสี่ยงกระทําไดโ้ดยจดัใหม้กีจิกรรม

    การควบคุมอย่างเพยีงพอและเหมาะสม เช่น ความเสี่ยงจากการจดัซื้อพสัดุในราคาที่แพงแต่

    คุณภาพตํ่า อาจจดัให้มกีิจกรรมควบคุมเกี่ยวกบัการจดัซื้อให้รดักุมมากขึ้น เช่นการกําหนด

    นโยบายการคดัเลอืกผู้ขายที่ดทีี่สุดทัง้ในเรื่องคุณภาพและราคา การกําหนดวงเงนิการอนุมตัิ

    จดัซือ้ใหเ้หมาะสม การจดัทาํทะเบยีนประวตัผิูข้าย รวมทัง้สถติริาคา และปรมิาณการจดัซือ้ การ

    แบ่งแยกหน้าที่ตามหลักการควบคุมภายในที่ดี การกําหนดให้มีการสับเปลี่ยนหมุนเวียน

    เจา้หน้าทีจ่ดัซือ้ เป็นตน้

    องค์ประกอบท่ี 3 กิจกรรมการควบคุม (Control Activities) หมายถงึ นโยบาย

    มาตรการ และวธิกีารต่างๆที่ฝ่ายบรหิารนํามาใช้เพื่อก่อให้เกิดความเชื่อมัน่ได้ว่า คําสัง่หรอื

    วธิกีารปฏบิตัต่ิางๆที ่ฝา่ยบรหิารกําหนดขึน้ไดม้กีารปฏบิตัติาม และมกีารดําเนินมาตรการต่างๆ

    ทีจ่ําเป็นในการที่จะจดัการกบัความเสี่ยงได้อย่างเหมาะสม เพื่อให้สามารถบรรลุวตัถุประสงค์

    ขององคก์รได ้

    กิจกรรมการควบคุมต้องมีอยู่ในทุกหน้าที่และทุกระดบัภายในองค์กร กิจกรรมการ

    ควบคุมมหีลายวธิทีี่กจิการใช้ เช่น การอนุมตั ิการมอบอํานาจ การตรวจทาน การกระทบยอด

  • 10

    การสอบทานผลการปฏบิตังิาน การป้องกนัและดแูลทรพัยส์นิ และการแบ่งแยกหน้าทีซ่ึง่การจดั

    ประเภทตามหน้าทีแ่ละวตัถุประสงคอ์อกเป็น 4 ประเภท ไดด้งัน้ี

    3.1 การป้องกนัแบบป้องกนั (Preventive Controls) เป็นวธิกีารควบคุมทีก่ําหนดขึน้

    เพื่อป้องกนัหรอืลดระดบัความน่าจะเกดิของขอ้ผดิพลาดไวก่้อน เช่น การใหค้วามเหน็ชอบ การ

    ใชร้หสัผ่านหรอืลดระดบัความน่าจะเกดิของขอ้ผดิพลาดไวก่้อน เช่น การใหค้วามเหน็ชอบ การ

    ใช้รหสัผ่านแบบเฉพาะ การจดัโครงสรา้งองคก์ารและการมอบอํานาจหน้าที่ทีเ่หมาะสม การใช้

    พนักงานที่มคีวามรู้และจรยิธรรม การแบ่งแยกหน้าที่ การควบคุมการเข้าถึง การเก็บรกัษา

    ทรพัยส์นิใหป้ลอดภยั การควบคุมการจดัเกบ็เอกสารทีด่ ี

    3.2 การควบคมุแบบค้นพบ (Detective Controls) เป็นวธิกีารควบคุมทีก่ําหนดขึน้

    เพื่อค้นพบขอ้ผดิพลาดที่เกิดขึน้โดยเรว็ให้เกดิผลกระทบน้อยที่สุด เช่น การสอบทานผลลพัธ ์

    การวเิคราะหค์วามผดิพลาดคลาดเคลื่อน การยนืยนัยอด การตรวจนับ การรายงานขอ้บกพร่อง

    การรายงานสิง่ผดิปกตยิกเวน้ การตรวจสอบทุกประเภท

    3.3 การควบคมุแบบส่งเสริม (Detective Controls) เป็นวธิกีารควบคุมทีส่่งเสรมิหรอื

    กระตุ้นให้เกิดความสําเร็จในวัตถุประสงค์ที่ต้องการ เช่น การกําหนดนโยบาย และ วิธี

    ปฏบิตังิาน แผนการฝึกอบรม มาตรการจงูใจและการใหร้างวลัหากทําไดต้ามเป้าหมายหรอืดชันี

    การวดัผล ซึง่นิยมว่าเป็นวธิกีารควบคุมทีด่ ีและทนัสมยั เพราะมผีลกระทบทางดา้นบวกต่อขวญั

    และกําลงัใจของผูป้ฏบิตังิาน

    3.4 การควบคมุแบบแก้ไข (Corrective Control) เป็นวธิกีารควบคุมทีก่ําหนดขึน้เพื่อ

    แก้ไขขอ้ผดิพลาด อาจเป็นวธิกีารควบคุมใหม่ เช่น การควบคุมด้วยระบบอตัโนมตัแิทนคนการ

    จดัการกระบวนการปฏบิตังิานใหม่ การรวมหรอืยกเลกิการกระทําบางอย่างหรอืการใช้วธิกีาร

    ชดเชยการควบคุมปกตทิีไ่มอ่าจปฏบิตัไิดเ้พราะตน้ทุนสงู

    ต่อไปน้ีเป็นตวัอย่างกจิกรรมควบคุมที่ปฏบิตัโิดยทัว่ไป ผู้บรหิารอาจพจิารณานําไปใช้

    ใหเ้หมาะสมกบัหน่วยงานทีร่บัผดิชอบและสามารถแทรกในกระบวนการปฏบิตังิานไดแ้ก่

    นโยบายและแผนงาน ( Policies and Plans) ผูบ้รหิารระดบัสูงเป็นผูก้ําหนดนโยบาย

    และแผนงาน เพื่อแสดงให้เห็นถึงทิศทางของหน่วยงาน ส่วนผู้บรหิารระดบัรองลงมาเป็นผู้

    กําหนด ระเบยีบ วธิกีารปฏบิตัิ เพื่อใช้ในการดําเนินงานด้านต่างๆ ที่ตนเองรบัผดิชอบ โดย

    ระเบยีบวธิปีฏบิตัินัน้จะต้องสอดคล้องและรองรบั ตามนโยบายหรอืแผนงาน และปรบัปรุงให้

    เหมาะสมกบัสภาพแวดล้อมอยู่เสมอ รวมทัง้ จดัให้มรีะบบการรายงานผลการปฏบิตังิาน เป็น

    ระยะๆ เพื่อวดัผลการดาํเนินงานทีผ่่านมา และนํามาปรบัปรงุใหด้ยีิง่ขึน้

    การสอบทานโดยผู้บริหารสูงสุด (TOP Management Review) หมายถงึกจิกรรม

    การควบคุมที่ผู้บริหารสูงสุดเป็นผู้ใช้ เช่น การใช้วิธีวิเคราะห์เปรียบเทียบระหว่างผลการ

    ปฏบิตังิานจรงิกบัแผนงาน งบประมาณ หรอืประมาณการ ซึง่ไดจ้ดัทําหรอืกําหนดขึน้ไวเ้ป็นการ

  • 11

    ล่วงหน้า การสอบทานโดยผูบ้รหิารสูงสุดเป็นการสอบทานในภาพรวม รวมทัง้การสอบทานโดย

    เปรยีบเทยีบกบัขอ้มลูของคู่แข่งว่าการดําเนินการนัน้มปีญัหาใหญ่ๆดา้นใดบา้ง เพื่อใหผู้บ้รหิาร

    สูงสุดได้รบัทราบระดบัปญัหา ทิศทางการแข่งขนั และเตรียมรบัสถานการณ์ในอนาคตได้

    ถูกตอ้งมากขึน้

    การสอบทานโดยผู้บริหารระดบักลาง (Functional Management Review)

    หมายถงึ ผู้บรหิารที่มหีน้าที่รบัผดิชอบงานด้านใดด้านหน่ึงภายในองค์กร เช่น การจดัหา การ

    ผลติ การขาย การเงนิ การบญัชี เป็นต้น ผู้บรหิารระดบักลางควรสอบทาน รายงานผลการ

    ปฏบิตังิานของเจา้หน้าทีผู่ป้ฏบิตังิานดา้นต่างๆ ในหน่วยงานทีต่นรบัผดิชอบ การสอบทานอาจ

    กระทาํกบัขอ้มลูเป้าหมายทีจ่ดัทาํขึน้ตามแผนงานหรอืนโยบายขององคก์ร นอกจากนัน้ผูบ้รหิาร

    ระดบักลางยงัจาํเป็นต้องสอบทานวธิกีารปฏบิตัจิรงิกบัระเบยีบปฏบิตังิาน ตวัเลขสถติ ิผลการ

    ปฏบิตังิานในอดตีและเป้าหมายของหน่วยอกีด้วย ระดบัการสอบทานโดยผูบ้รหิารระดบักลาง

    ควรเขม้งวดหรอืกระทําบ่อยครัง้มากน้อยเพยีงใดย่อมขึน้อยู่กบัลกัษณะของความเสีย่งของงาน

    เช่น กรณีของธนาคาร หรอืสถาบนัการเงนิซึ่งระดบัความเสี่ยงค่อนขา้งสูง บางเรื่องอาจต้องมี

    การสอบทานเป็นประจาํทุกวนัหรอืทุกสปัดาห ์

    การประมวลผลข้อมูล (Information Processing) ผูบ้รหิารต้องใชข้อ้มลูสารสนเทศ

    ภายในหน่วยรบัตรวจประกอบการตดัสนิใจในการบรหิารจดัการทัง้ขอ้มลูทางบญัชกีารเงนิและ

    ข้อมูลอื่นที่สําคญั ดังนัน้ข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลทัง้ในรูปของสารสนเทศหรือรายงาน

    จะตอ้งมคีวามถูกต้อง ครบถ้วน ทนัเวลา และใหเ้น้ือหาทีเ่ป็นประโยชน์ต่อการตดัสนิใจกจิกรรม

    การควบคุมที่ควรมีเพื่อให้ได้สารสนเทศและรายงานที่มีความสมบูรณ์ ได้แก่ มีการอนุมตัิ

    รายการทุกรายการก่อนการบนัทึกบัญชี ทะเบียนหรือแฟ้มหลักฐานอื่น การสอบทานหรือ

    เปรยีบเทยีบขอ้มูลก่อนการบนัทกึรายการนัน้การสอบทานหรอืการเปรยีบเทยีบขอ้มูลระหว่าง

    กนั การใชเ้ทคโนโลยทีีเ่หมาะสมช่วยในการประมวลผลขอ้มลูทัง้อุปกรณ์ รายงานและบุคลากร

    การควบคมุทางกายภาพ (Physical Controls) หมายถงึ การดูแลป้องกนัทรพัยส์นิที่

    มรีปูรา่งทีม่ตีวัตน ไดแ้ก่ เครื่องมอื เครื่องใช ้สนิคา้คงเหลอื เงนิสดหลกัทรพัย ์เอกสารสทิธิแ์ละ

    เอกสารสําคัญอื่น รวมถึงการตรวจนับ การจัดเวนยามรักษาการณ์ การประกันภัย การ

    เปรยีบเทยีบจาํนวนทีม่จีรงิกบัทะเบยีนหรอืหลกัฐานการบญัช ี

    การแบ่งแยกหน้าท่ี (Segregation of Duties) การจดัแบ่งหน้าทีร่ะหว่างบุคคลหรอื

    หน่วยงาน เพื่อใหม้กีารสอบยนัความถูกต้องสมบูรณ์ระหว่างกนั การแบ่งแยกหน้าทีค่วรใชก้รณี

    ที่งานมีลักษณะเสี่ยงต่อความความผิดพลาดหรือความเสียหาย เน่ืองจากการกระทําที่ไม่

    เหมาะสม หรอืไมสุ่จรติไดโ้ดยงา่ย หากจดัใหบุ้คคลเดยีวหรอืหน่วยงานเดยีวเป็นผูป้ฏบิตังิานนัน้

    ตามลําพงัตัง้แต่ต้นจนสิ้นสุด ตวัอย่างลกัษณะงานที่จําเป็นต้องจดัแบ่งแยกกนัทําได้แก่ การ

  • 12

    อนุมตัริายการ การจดบนัทกึการ การรบั การจ่าย การเกบ็รกัษาทรพัยสนิทีอ่นุมตัแิละจดบนัทกึ

    นัน้

    การใช้ดชันีวดัผลการดาํเนินงานท่ีสาํคญั (Performance Indicators) ดชันีวดัผล

    การดําเนินงานที่นิยมใช้มกัอยู่ในรูปอตัราส่วนต่างๆ ที่แสดงความสมัพนัธ์ระหว่างข้อมูลทาง

    การเงนิหรอืการดําเนินงานอย่างหน่ึง การติดตามวเิคราะห์ความเคลื่อนไหวของอตัราส่วนที่

    คาํนวณขึน้จะช่วยใหท้ราบถงึ “อาการ “ บางอยา่งของธุรกจิว่าอยูใ่นภาวะอยา่งไร

    การจดัทาํหลกัฐานเอกสาร (Documentation) การดําเนินงานหรอืระบบงานใดที่มี

    ความสาํคญั ควรมกีารจดัทาํหลกัฐานทีเ่ป็นเอกสารหรอืเป็นหนงัสอืไว ้

    องคป์ระกอบท่ี 4 สารสนเทศและการส่ือสาร (Information and Communication)

    สารสนเทศ หมายถึง ขอ้มูลข่าวสารที่ใช้ในการบรหิารซึ่งเป็นขอ้มูลเกี่ยวกบัการเงนิและไม่ใช่

    การเงนิ รวมทัง้ขอ้มลูขา่วสารอื่นๆทัง้จากแหล่งภายในและภายนอก

    การส่ือสาร หมายถงึ การรบัและการส่งข่าวสารระหว่างกนัเพื่อใหเ้กดิความเขา้ใจอนัดี

    ระหว่างบุคคลที่มหีน้าทีค่วามรบัผดิชอบในงานทีส่มัพนัธ์กนัการสื่อสารจะเกดิไดท้ัง้ภายในและ

    ภายนอกหน่วยงานระบบการสื่อสารที่ดแีละมปีระสทิธภิาพควรเป็นการสื่อสารแบบ สอง ทาง

    และตดิต่อระหว่างหน่วยงานอยา่งทัว่ถงึครบถว้น

    สารสนเทศ มคีวามสําคญัต่อการปฏบิตัิงานของบุคลากรไม่ว่าจะเป็นผู้บรหิารหรอืผู้

    ปฏิบตัิในทุกระดบัองค์กรจะต้องระบุสารสนเทศที่จําเป็นต้องใช้และสื่อสารในรูปแบบและใน

    ช่วงเวลาทีเ่หมาะสมทีจ่ะทาํใหบุ้คลากรต่างๆสามารถปฏบิตังิานสําเรจ็ลุล่วงได ้ระบบสารสนเทศ

    ก่อใหเ้กดิรายงานทีใ่หข้อ้มลูซึง่เป็นไปไดท้ัง้ขอ้มลูทางการเงนิขอ้มลูการปฏบิตังิานและขอ้มลูการ

    ปฏบิตัติามกฎระเบยีบต่างๆ ทีจ่ะช่วยควบคุมใหธุ้รกจิดําเนินไปไดล้กัษณะขอ้มลูสารสนเทศที่ดี

    ควรมลีกัษณะดงัน้ี

    4.1 ความเหมาะสมกบัการใช้หมายถึงข้อมูลสารสนเทศบรรจุเน้ือหาสาระที่จําเป็น

    สาํหรบัการตดัสนิใจ

    4.2 ความถูกตอ้งสมบรูณ์หมายถงึขอ้มลูสารสนเทศทีส่ะทอ้นผลตามความเป็นจรงิและมี

    รายละเอยีดทีจ่าํเป็นครบถว้น

    4.3 ความเป็นปจัจุบนัหมายถึงข้อมูลสารสนเทศที่ให้ตวัเลขและข้อเท็จจรงิล่าสุดหรอื

    ใกลเ้คยีงวนัทีใ่ชต้ดัสนิใจมากทีสุ่ด

    4.4 ความทนัเวลาหมายถงึจะทําอย่างรวดเรว็เพื่อใหผู้้ตดัสนิใจได้รบัทนัเวลาทีต่้องการ

    ขอ้มลูขา่วสารนัน้

  • 13

    4.5 ความสะดวกในการเขา้ถงึหมายถงึความยากง่ายในการเขา้ถงึซึง่ควรง่ายสําหรบัผูท้ี่

    มอีํานาจเกี่ยวข้องและมรีะบบรกัษาความปลอดภยัมใิห้ผู้ที่ไม่มหีน้าที่เกี่ยวข้องเข้าถึงข้อมูล

    สารสนเทศได ้

    การสื่อสารที่มปีระสทิธผิลจาํเป็นต้องกระทําในเชงิกว้างไม่ว่าจะเป็นการสื่อสารจากบน

    ลงล่างหรอืจากล่างขึน้สู่บน หรอืจากการสื่อสารใหก้ระจายทัว่ถงึทัง้องคก์รบุคลากรทัง้หลายควร

    จะต้องได้รบัข้อมูลข่าวสารที่ชดัเจนจากผู้บรหิารระดบัสูงและต้องเข้าใจบทบาทของตนเองใน

    ระบบการควบคุมภายในรวมทัง้ความเกี่ยวเน่ืองของกจิกรรมควบคุมต่างๆที่ตนต้องกระทํากบั

    งานของบุคลากรจะต้องมช่ีองทางที่สามารถสื่อสารข้อมูลที่มคีวามสําคญัไปยงัผู้บรหิารที่อยู่

    เหนือขึน้ไปนอกจากการสื่อสารภายในองคก์รแลว้ยงัจาํเป็นทีจ่ะต้องมกีารสื่อสารทีม่ปีระสทิธผิล

    กบับุคคลภายนอกซึง่ไดแ้ก่ลกูคา้ผูข้ายเจา้หน้าทีร่ฐัดว้ย

    องค์ประกอบท่ี 5 การติดตามประเมินผล (Monitoring) เป็นวิธีการที่ช่วยให้ฝ่าย

    บรหิารมคีวามมัน่ใจว่าระบบการควบคุมภายในมกีารปฏบิตัิตาม ฝ่ายบรหิารต้องจดัให้มกีาร

    ติดตามประเมนิผล โดยการติดตามผลในระหว่างการปฏบิตัิงานและประเมนิผลเป็นรายครัง้

    อย่างต่อเน่ืองและสมํ่าเสมอ เพื่อให้ความมัน่ใจว่าระบบการควบคุมภายในที่กําหนดหรือ

    ออกแบบไวเ้พยีงพอ เ�