หน วยที่ 1 ความรู...

69
1 หนวยที1 ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร รหัสวิชา 2104-2109 วิชาการโปรแกรมและควบคุมไฟฟา สอนครั้งที1 39สาระการเรียนรู 1) โปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร (Programmable Controller : PLC) 2) ชนิดของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร 3) โครงสรางของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร 4) หลักการทํางานของหนวยตาง ๆ ภายในโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร 5) รูปแบบการเขียนโปรแกรมของ PLC SIEMENS รุSIMATIC S7–200 6) อุปกรณตอรวม (Peripheral Devices) 39จุดประสงคทั่วไป 39เพื่อใหผูเรียนมี 39ความรูพื้นฐาน 39ชนิด หนาที่และโครงสราง 39ของ42โปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร 39 รูจัก รูปแบบการเขียนโปรแกรมของ39 PLC SIEMENS รุSIMATIC S7–200 รูจักอุปกรณตอรวม (Peripheral Devices) ที่ใชตอรวมกับ42โปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร 39 รวมถึงเปนผูมีคุณธรรม จริยธรรมและคุณลักษณะ อันพึงประสงค 39สอดคลองกับจรรยาบรรณวิชาชีพ 39จุดประสงคการเรียนรูประจําหนวย 39ดานความรู 1) บอกขอดีของการนําโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอรไปใชในงานอุตสาหกรรมไดถูกตอง 2) บอกคุณสมบัติของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอรไดถูกตอง 3) บอกโครงสรางของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอรไดถูกตอง 4) บอกหนาที่ของหนวยตาง ในโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอรไดถูกตอง 395) จําแนกอุปกรณดานอินพุตและเอาตพุตไดถูกตอง 396) บอกรูปแบบการเขียนโปรแกรมของ39 PLC SIEMENS รุSIMATIC S7–200 ได 39ถูกตอง 397) บอกหนาที่ของ39อุปกรณตอรวม (Peripheral Devices) ที่ใชตอรวมกับโปรแกรมเมเบิล คอนโทรลเลอร ได 39ถูกตอง ดาน39คุณธรรม จริยธรรม39และคุณลักษณะที่พึงประสงค 1) เพื่อใหมี 39คุณธรรม จริยธรรม39และคุณลักษณะที่พึงประสงคสอดคลองกับจรรยาบรรณวิชาชีพ 39สมรรถนะประจําหนวย 1) แสดงความรูพื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร 39 ได 39ถูกตอง 2) แสดงความรูการจําแนกชนิดของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร ได 39ถูกตอง 3) บอกโครงสรางและหลักการทํางานของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร 39 ได 39ถูกตอง 4) จําแนกรูปแบบการเขียนโปรแกรมของ39 PLC SIEMENS รุSIMATIC S7–200 ได 39ถูกตอง 5) จําแนก39ชนิดของอุปกรณตอรวม (Peripheral Devices) 39ได 39ถูกตอง

Upload: others

Post on 24-Jan-2020

7 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: หน วยที่ 1 ความรู พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร ... file/Research/Programmable_Controller_240360.pdf ·

1

หนวยท่ี 1 ความรูพืน้ฐานเก่ียวกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร

รหัสวิชา 2104-2109 วิชาการโปรแกรมและควบคุมไฟฟา สอนคร้ังท่ี 1

39สาระการเรียนรู

1) โปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร (Programmable Controller : PLC) 2) ชนิดของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร 3) โครงสรางของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร 4) หลักการทํางานของหนวยตาง ๆ ภายในโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร 5) รูปแบบการเขียนโปรแกรมของ PLC SIEMENS รุน SIMATIC S7–200 6) อุปกรณตอรวม (Peripheral Devices)

39จุดประสงคท่ัวไป 39เพื่อใหผูเรียนมี39ความรูพื้นฐาน 39ชนิด หนาท่ีและโครงสราง 39ของ42โปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร39 รูจัก

รูปแบบการเขียนโปรแกรมของ39 PLC SIEMENS รุน SIMATIC S7–200 รูจักอุปกรณตอรวม (Peripheral Devices) ท่ีใชตอรวมกับ42โปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร39 รวมถึงเปนผูมีคุณธรรม จริยธรรมและคุณลักษณะอันพึงประสงค39สอดคลองกับจรรยาบรรณวิชาชีพ

39จุดประสงคการเรียนรูประจําหนวย 39ดานความรู

1) บอกขอดีของการนําโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอรไปใชในงานอุตสาหกรรมไดถูกตอง 2) บอกคุณสมบัติของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอรไดถูกตอง 3) บอกโครงสรางของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอรไดถูกตอง 4) บอกหนาท่ีของหนวยตาง ๆ ในโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอรไดถูกตอง 395) จําแนกอุปกรณดานอินพุตและเอาตพุตไดถูกตอง 396) บอกรูปแบบการเขียนโปรแกรมของ39 PLC SIEMENS รุน SIMATIC S7–200 ได39ถูกตอง

397) บอกหนาท่ีของ39อุปกรณตอรวม (Peripheral Devices) ท่ีใชตอรวมกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร ได39ถูกตอง

ดาน39คุณธรรม จริยธรรม39และคุณลักษณะท่ีพึงประสงค 1) เพื่อใหมี39คุณธรรม จริยธรรม39และคุณลักษณะท่ีพึงประสงคสอดคลองกับจรรยาบรรณวิชาชีพ

39สมรรถนะประจําหนวย 1) แสดงความรูพื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร39 ได39ถูกตอง 2) แสดงความรูการจําแนกชนิดของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร ได39ถูกตอง 3) บอกโครงสรางและหลักการทํางานของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร39 ได39ถูกตอง 4) จําแนกรูปแบบการเขียนโปรแกรมของ39 PLC SIEMENS รุน SIMATIC S7–200 ได39ถูกตอง 5) จําแนก39ชนิดของอุปกรณตอรวม (Peripheral Devices) 39ได39ถูกตอง

Page 2: หน วยที่ 1 ความรู พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร ... file/Research/Programmable_Controller_240360.pdf ·

2

หนวยท่ี 1 ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับ42โปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร

1.1 42โปรแกรมเมเบลิคอนโทรลเลอร (Programmable Controller : PLC)

ในอดีตการควบคุมเครื่องจักรกลและระบบควบคุมแบบอัตโนมัติมักใชอุปกรณควบคุมแบบหนาสัมผัสเชิงกล มีรีเลยและแมกเนติกสคอนแทคเตอรเปนตัวควบคุมหลักของการทํางาน ซึ่งมีขอเสียอยูหลายประการ อาทิ ระบบควบคุมมีขนาดใหญทําใหส้ินเปลืองเนื้อท่ี การติดต้ังใชเวลานาน การเปล่ียนแปลงแกไขโปรแกรมทําไดยาก ไมเหมาะกับระบบท่ีมีการควบคุมแบบซับซอน

รูปท่ี 1.1 การควบคุมเครื่องจักรโดยใชอุปกรณรีเลยและแมกเนติกส

และเมื่อการแขงขันการผลิตภาคอุตสาหกรรมในตลาดโลกมีสูงข้ึน ความตองการของเจาของโรงงานอุตสาหกรรมท่ีจะสามารถผลิตไดครั้งละจํานวนมาก ๆ มีตนทุนการผลิต การจางแรงงานและงบประมาณดานการบํารุงรักษาตํ่า แตทํางานไดอยางรวดเร็ว มีความความปลอดภัยในการใชงานเครื่องจักร ควบคุมผลกระทบตอส่ิงแวดลอม สามารถควบคุมกระบวนการท่ีมีความยืดหยุนและทํางานในกระบวนการท่ีซับซอน จากความตองการดังกลาวระบบควบคุมอัตโนมัติสมัยใหมจึงเขามามีความสําคัญตอการพัฒนาอุตสาหกรรม

42โปรแกรมเมเบิลลอจิกคอนโทรลเลอร42 (Programmable Logic Controller : PLC)42 จึงเปนอุปกรณท่ีถูกคิดคนข้ึนเพื่อควบคุมการทํางานของเครื่องจักร และถูกพัฒนาอยางตอเนื่องใหตอบสนองความตองการของโรงงานอุตสาหกรรมสมัยใหม 42โปรแกรมเมเบิลลอจิกคอนโทรลเลอร42หรือ PLC จึงถือเปนหัวใจหลักท่ีใชควบคุมการทํางานของเครื่องจักรหรือระบบตาง ๆ อาทิ อุตสาหกรรมเหล็ก ผลิตอาหาร รถยนต แขนกลในงานอุตสาหกรรม ฯลฯ และจากเดิมท่ีโปรแกรมเมเบิลลอจิกคอนโทรลเลอรทํางานในลักษณะเลขฐานสอง หรือสัญญาณลอจิก (Logic คือมีสองสภาวะคือ สภาวะเปด39 (On) และสภาวะปด39 (Off) แตปจจุบันโปรแกรมเมเบิลลอจิกคอนโทรลเลอรไดรับการพัฒนา จนสามารถรับและสงสัญญาณอินพุตแบบตอเนื่องหรือสัญญาณอนาล็อก (Analog) ได จึงควรเรียกวา PC (ตัด L ในตัวยอ PLC ท่ีมาจากคําวา Logic ออก) แตเพื่อไมใหเกิดความสับสนกับ PC ท่ีเปนช่ือเรียกของ Personal Computer จึงยังคงเรียกตามความนิยมวา PLC หรือเรียกวา42 โปรแกรมเมเบลิคอนโทรลเลอร42 (Programmable Controller)

โปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร 4 2 (Programmable Controller : PLC) จึงหมายถึง การควบคุมอัตโนมัติดวยระบบคอมพิวเตอรสําหรับเครื่องจักร หรืออุตสาหกรรมท่ีตองการระบบอัตโนมัติและความแมนยําสูง สามารถโปรแกรมใหเปนไปตามท่ีตองการได โดยมีหนวยความจําในการเก็บโปรแกรมสําหรับควบคุมการทํางานของอุปกรณตาง ๆ

Page 3: หน วยที่ 1 ความรู พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร ... file/Research/Programmable_Controller_240360.pdf ·

3

1.1.1 ขอดีของการนําโปรแกรมเมเบลิคอนโทรลเลอรมาใชในงานอุตสาหกรรม 1) ใชการเขียนโปรแกรมแทนการเดินสายไฟฟาตอวงจรชวยลดจํานวนสายไฟฟา 2) ตัวโปรแกรมสามารถเปล่ียนแปลงและแกไขโปรแกรมไดงาย สะดวกและรวดเร็ว 3) มีฟงกช่ันทางคณิตศาสตร และคําส่ังในการแปลงขอมูลหลายแบบ 4) ตัวต้ังเวลา (Timer) และตัวนับ (Counter) จะเปนคําส่ังซึ่งอยูในรูปของซอฟแวร

ทําใหกําหนดคาตาง ๆ ไดงาย และสามารถเปล่ียนแปลงคาไดตลอดเวลา 5) การเพิ่มและขยายระบบสามารถทําไดงายและสะดวก 6) 42ใชควบคุมกระบวนการผลิตไดท้ังแบบอนาล็อก และแบบดิจิตอล 7) 42มีความทนทานตอสภาพแวดลอมของโรงงานอุตสาหกรรม 8) การติดต้ัง การดูแลรักษา การซอมบํารุงทําไดงาย ใชพื้นท่ีติดต้ังอุปกรณนอย 9) ขณะ PLC ทํางาน สามารถตรวจสอบสภาวะการทํางานและคาสถานะตาง ๆ ของอุปกรณได

รูปท่ี 1.2 การควบคุมการผลิตน้ําด่ืมโดยใช42 Programmable Controller : PLC ท่ีมา : https://thelocalbrand.com/category/food-beverage,2557

1.2 ชนิดของโปรแกรมเมเบลิคอนโทรลเลอร (Types of programmable controllers)

การนํา PLC ไปใชงานจะพิจารณาจากจํานวนอินพุตและเอาตพุตของงาน ท่ีนําไปควบคุมเปนหลัก ความหลากหลายของรุน PLC ท่ีบริษัทผูผลิตจําหนายออกมาจึงผลิตเพื่อตอบสนองความตองการใชงานท่ีตางกัน ท้ังนี้สามารถแบงชนิดโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร ตามลักษณะโครงสรางหรือลักษณะภายนอกไดดังนี ้

1.2.1 โปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอรชนิด Compact หรือ Block Programmable Controller : PLC ชนิด Compact หรือ Block จะมีสวนประกอบท้ังหมดอยูบน

โครงสรางเดียวกันท้ังหนวยประมวลผล หนวยความจํา หนวยอินพุตและเอาตพุต และหนวยแหลงจายพลังงาน เหมาะสําหรับงานท่ีมีจํานวนอินพุตและเอาตพุตท่ีแนนอนและไมตองการขยายระบบดังรปูท่ี 1.3 (แตในปจจุบัน PLC ชนิด Compact บางรุน บางยี่หอสามารถเพิ่มจํานวนหนวยอินพุตและเอาตพุตได โดยการตออุปกรณขยาย)

Page 4: หน วยที่ 1 ความรู พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร ... file/Research/Programmable_Controller_240360.pdf ·

4

1.2.2 โปรแกรมเมเบลิคอนโทรลเลอรชนิด Modular หรือ Rack Programmable Controller : PLC ชนิด Modular หรือ Rack จะมีมีลักษณะการติดต้ังโมดูลอยู

บน Rack สวนประกอบแตละสวนเปนโมดูลแยกออกจากกัน เชน โมดูลอินพุตและเอาตพุต โมดูลอนาล็อก หากมีโมดูลเสียหายสามารถถอดโมดูลไปซอมและระบบยังคงทํางานตอไปได จํานวนอนิพุตและเอาตพุตและโมดูลฮารดแวรอื่น ๆ มีความยืดหยุน นิยมใชโรงงานอุตสาหกรรมขนาดกลางและใหญ ดังรูปท่ี 1.4

(ก) Siemens รุน S7–400

ท่ีมา : https://www.siemens.com,2557

(ข) Allen-Bradley's รุน 1756 ท่ีมา : http://www.directindustry.com,2557

(ค) Mitsubishi รุน iQ Platform ท่ีมา :http://www.fareast-inter.com,2557

รูปท่ี 1.4 โปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอรชนิด Modular

(ก) SIEMENS รุน S7 – 200 (ข) TOSHIBA รุน T1

(ค) OMRON รุน CPM1L

รูปท่ี 1.3 42 Programmable Controller : PLC ชนิด compact หรือ Block

Page 5: หน วยที่ 1 ความรู พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร ... file/Research/Programmable_Controller_240360.pdf ·

5

CPU

Inputs Unit

MEMORY

Outputs Unit

Peripheral Devices

Power Supply

INPUT DEVICES

OUTPUT DEVICES

PLC

1.3 โครงสรางของโปรแกรมเมเบลิคอนโทรลเลอร โครงสรางของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร มีสวนประกอบหลักท่ีสําคัญ 4 หนวย คือ 1) หนวยประมวลผล (Central Processing Unit, CPU) 2) หนวยความจํา (Memory Unit) 3) หนวยแหลงจายพลังงาน (Power Supply Unit) 4) หนวยอินพุตและเอาตพุต (Inputs/Outputs Unit)

Computer Touch Screen

รูปท่ี 1.5 โครงสรางของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร

Proximity Sensor

Photoelectric Sensor

Encoder

Push button Switch

Pilot lamp

Magnetic Contactor

Motor

Solenoid Value

Page 6: หน วยที่ 1 ความรู พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร ... file/Research/Programmable_Controller_240360.pdf ·

6

1.4 หลักการทํางานของหนวยตาง ๆ ภายในโปรแกรมเมเบลิคอนโทรลเลอร 1.4.1 หนวยประมวลผล (Central Processing Unit, CPU) หนวยประมวลผลเปรียบเสมือนสวนมันสมอง ทําหนาท่ีควบคุมการทํางานและจัดการระบบท้ังหมด

โดยรับสัญญาณและปริมาณตาง ๆ จากหนวยอินพุตเพื่อใชเปนขอมูลในการประมวลผล จากนั้นทําการประมวลผลขอมูล แลวสงสัญญาณและปริมาณตาง ๆ ไปยังหนวยเอาตพุตเพื่อควบคุมอุปกรณทํางาน

การทํางานของหนวยประมวลผลจะทํางานวนเปนรอบ โดยหนึ่งรอบการทํางานเรียกวา 1 Scan time ซึ่งความเร็วของหนวยประมวลผลข้ึนอยูกับขนาดของหนวยความจํา จํานวนขอมูลท่ีปอนและความเร็วของ CPU

รูปท่ี 1.6 รูปแบบการทํางานของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร

1.4.2 หนวยความจํา (Memory Unit) หนวยความจําเปนสวนท่ีทําหนาท่ีเก็บโปรแกรมและขอมูลท่ีใชในการทํางาน ขนาดของหนวยความจํา

เปนส่ิงท่ีกําหนดความสามารถของระบบ หนวยความจําของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร จะแบงออกไดดังนี้ คือ

1) หนวยความจําประเภท RAM (Random Access Memory) เปนหนวยความจําท่ีเหมาะกับโปรแกรมของผูใชท่ีอยูในชวงพัฒนาหรือตองการเปล่ียนแปลงบอย สามารถเปล่ียนแปลงแกไขหรือลบขอมูลโปรแกรมไดตลอดเวลา มีแหลงจายไฟสํารองเล็ก ๆ เพื่อใชเปนไฟเล้ียงขอมูล (Battery Backup) สําหรับปองกันขอมูลไมใหสูญหายเมื่อไฟดับ

2) หนวยความจําประเภท ROM (Read Only Memory) เปนหนวยความจําท่ีเหมาะสําหรับโปรแกรมท่ีเขียนหรือพัฒนาจนสมบูรณและไมตองการแกไขโปรแกรมตออีก ไมมีแบตเตอรี่สํารองขอมูล แตตองใชเครื่องมือพิเศษในการเปล่ียนแปลงแกไขโปรแกรม

3) หนวยความจําประเภท EPROM (Erasable Programmable Read Only Memory) เปนหนวยความจําสําหรับจัดเก็บโปรแกรมท่ีมีความสมบูรณ ตองการเก็บโปรแกรมแบบถาวร สามารถลบโปรแกรมได โปรแกรมจะไมมีการสูญหายเมื่อไฟดับ การโหลดขอมูลลงหนวยความจําทําไดโดยใชเครื่องอัดโปรแกรมชนิดพิเศษและการลบโปรแกรมสามารถทําไดโดยการใชเครื่องลางโปรแกรม

4) หนวยความจําประเภท EEPROM (Electrically Erasable Programmable Read Only Memory) เปนหนวยความจําท่ีไดรับการพัฒนาเพื่อแกไขจุดบกพรองของหนวยความจํา RAM และ EPROM หนวยความจําประเภทนี้ไมตองอาศัยพลังงาน สามารถเปล่ียนแปลงโปรแกรมไดและเมื่อตองการลบสามารถใชเครื่องมือพิเศษลบออกได และเขียนโปรแกรมแทนท่ีลงไปใหม

ตรวจสอบสถานะ ของอินพุต

ประมวลผล โปรแกรม

ปรับปรุง สถานะของเอาตพุต

1 รอบการทํางาน = 1 Scan time

Page 7: หน วยที่ 1 ความรู พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร ... file/Research/Programmable_Controller_240360.pdf ·

7

1.4.3 หนวยแหลงจายพลังงาน (Power Supply Unit) หนวยแหลงจายพลังงาน (Power Supply Unit) ทําหนาท่ีจายพลังงานและรักษาระดับแรงดัน

ใหกับอุปกรณและวงจรภายในโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร และมีจุดจายพลังงานสําหรับการตอวงจรภาคอินพุตและเอาตพุต

1.4.4 หนวยอินพุตและเอาตพุต (Inputs/Outputs Unit) 1) หนวยอินพุต (Input Unit) จะทําหนาท่ีรับสัญญาณจากอุปกรณทางดานอินพุต ท้ังท่ีเปนสวิตช

หรือเซนเซอร (Sensor) แบบตาง ๆ โดยอุปกรณทางดานอินพุตจะถูกแปลงสัญญาณเพื่อสงเขาไปท่ี CPU หนวยอินพุตของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร แบงเปน 2 ประเภทใหญ คือ หนวยอินพุตแบบดิจิตอลและแบบอนาล็อก

1.1) หนวยอินพุตแบบดิจิตอล (Digital Input) หมายถึง อินพุตท่ีสามารถรับสัญญาณ ท่ีมีลักษณะการทํางานเพียง 2 สภาวะ คือ สภาวะทํางาน (On) และสภาวะหยุดทํางาน (Off) จากอุปกรณอินพุตแบบตาง ๆ เชน สวิตชแบบตาง ๆ เซนเซอรแสง (Photoelectric Sensor) เซนเซอรตรวจจับระยะส้ัน (Proximity Sensor) เปนตน โดยมีโครงสรางลักษณะการตอสายของวงจรอินพุตของ CPU ดังรูปท่ี 1.7

รูปท่ี 1.7 ไดอะแกรมการตอสายของวงจรภาคอินพุตแบบดิจิตอล

1.2) หนวยอินพุตแบบอนาล็อก (Analog Input) หมายถึง อินพุตท่ีสามารถรับสัญญาณท่ีมีลักษณะเปนสัญญาณตอเนื่อง ซึ่งบอกเปนปริมาณท่ีมีการเปล่ียนแปลง ไดแก สัญญาณมาตรฐานแบบตาง ๆ เชน สัญญาณกระแสมาตรฐาน 0–20 mA. สัญญาณกระแสมาตรฐาน 4–20 mA. สัญญาณแรงดันมาตรฐาน 0–10 V. สัญญาณแรงดันมาตรฐาน 1–5 V. สัญญาณเหลานี้มาจากอุปกรณ อาทิ เซนเซอรแบบอัลตราโชนิค (Ultrasonic Sensor) เซนเซอรตรวจวัดระดับ (Level Sensor) เซนเซอรตรวจวัดความดัน (Pressure Sensor) เซนเซอรตรวจวัดอุณหภูมิ (Temperature Sensor) เปนตน

Page 8: หน วยที่ 1 ความรู พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร ... file/Research/Programmable_Controller_240360.pdf ·

8

รูปท่ี 1.8 ไดอะแกรมการตอสายของวงจรภาคอินพุตแบบอนาล็อก

2) หนวยเอาตพุต (Output Unit) ทําหนาท่ี รับสัญญาณจากหนวยประมวลผล เพื่อสงสัญญาณออกไปควบคุมอุปกรณเอาตพุตแบบตาง ๆ เชน มอเตอร รีเลย หลอดไฟ เปนตน หนวยเอาตพุตมีอยูหลายแบบ ตองเลือกใชงานใหถูกตองเหมาะสมกับลักษณะของงาน เชน

2.1) หนวยเอาตพุตแบบดิจิตอล (Digital Output) เปนเอาตพุตท่ีใหสัญญาณออกมาเปนสัญญาณลักษณะ On-Off ท้ังนี้เอาตพุตแบบดิจิตอลสามารถแบงตามชนิดของอุปกรณอิเล็กทรอนิกส ท่ีนํามาผลิตเปนหนวยเอาตพุตไดดังนี้ คือ

ก) เอาตพุตชนิดรีเลย (Relay Output) เปนเอาตพุตชนิดท่ีไดรับความนิยมนําไปใชงาน เพราะสามารถนําไปขับโหลดท้ังท่ีเปนโหลดไฟฟากระแสสลับหรือโหลดไฟฟากระแสตรง โดยปกติเอาตพุตชนิดรีเลย สามารถขับโหลดท่ีกระแสประมาณไมเกิน 2-3 A. ท้ังนี้ข้ึนอยูบริษัทผูผลิต ในกรณีท่ีโหลดมีกระแสใชงานสูงมากกวาพิกัดกระแสของรีเลยท่ีโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร ตองนําเอาตพุตของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอรไปตอเขากับอุปกรณขับอื่น เพื่อใหสามารถขยายใหรับกระแสไดมากข้ึน เชน ตอกับรีเลยหรือแมกเนติกสคอนแทคเตอร เปนตน

ข) เอาตพุตชนิดทรานซิสเตอร (Transistor Output) ใชกับแรงดัน 24 VDC. แบงเปน เอาตพุตชนิดทรานซิสเตอรแบบ NPN และแบบ PNP เปนเอาตพุตท่ีมีความเร็วในการทํางานสูง เหมาะสําหรับใชงานท่ีมีการปด–เปดบอย ๆ หรือการควบคุมท่ีใชงานความถ่ีในการ Switch สูง เชน Stepping Motor Control, Servo Motor Control, PWM Control เปนตน

2.2) หนวยเอาตพุตแบบอนาล็อก (Analog Output) เปนเอาตพุตท่ีมีลักษณะเปนสัญญาณตอเนื่อง ไดแก สัญญาณมาตรฐานในรูปแบบตาง ๆ เชน สัญญาณกระแสมาตรฐาน 4–20 mA. สัญญาณกระแสมาตรฐาน 0–20 mA. สัญญาณแรงดันมาตรฐาน 0–10 V. สัญญาณแรงดันมาตรฐาน 1–5 V. เปนตน

Page 9: หน วยที่ 1 ความรู พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร ... file/Research/Programmable_Controller_240360.pdf ·

9

(ก) (ข) (ค)

รูปท่ี 1.9 (ก) ไดอะแกรมการตอสายของวงจรภาคเอาตพุตชนิดรีเลย (ข) ไดอะแกรมการตอสายของวงจรภาคเอาตพุตชนิดทรานซิสเตอร/24Vdc (ค) ไดอะแกรมการตอสายของวงจรภาคเอาตพุตแบบอนาล็อก

1.5 รูปแบบการเขียนโปรแกรมของ PLC SIEMENS รุน SIMATIC S7–200

PLC ของ SIEMENS รุน S7–200 สามารถเขียนโปรแกรมได 3 แบบ ดังนี้ 1.5.1 การเขียนโปรแกรมแบบ Ladder Logic Editor (LAD) การเขียนโปรแกรมแบบ Ladder Logic Editor (LAD) เปนแบบท่ีนิยมใชในงานควบคุมดวย

โปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร การเขียนจะมีลักษณะคลายวงจรควบคุม (Control Circuit) ในงานควบคุมมอเตอร คือ การนําหนาสัมผัสหรืออุปกรณตาง ๆ มาตอเปนวงจร ผูใชสามารถเห็นการทํางานไดจริงและเขาใจการทํางานไดงาย ทางเดินของ Ladder แตละแถวเรียกวา Network การเขียนโปรแกรมและพิจารณาการทํางานของโปรแกรมจะเริ่มจากทางซายไปทางขวาและพิจารณาจากขางบนลงขางลาง ดังรูปท่ี 1.10

รูปท่ี 1.10 ลักษณะการเขียนโปรแกรมแบบ Ladder Diagram

Page 10: หน วยที่ 1 ความรู พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร ... file/Research/Programmable_Controller_240360.pdf ·

10

1.5.2 การเขียนโปรแกรมแบบ Function Block Diagram (FBD) Function Block Diagram มีลักษณะคลายชุดคําส่ังของวงจรลอจิกเกต ไมมีสัญลักษณของ Contact และ Coil รูปแบบ Block ของคําส่ัง FBD จะมีความใกลเคียงกัน แตชุดคําส่ังในแตละบล็อกแตกตางกัน การเขียนโปรแกรม FBD จะเปนลักษณะการนํา Block มาเรียงตอกัน ดังรูปท่ี 1.11 (ก)

1.5.3 การเขียนโปรแกรมแบบ Statement List (STL) การเขียนโปรแกรมโดยใชภาษาแบบ Statement List ผูใชตองมีความชํานาญในการเขียนโปรแกรม

เพราะเปนภาษาเฉพาะของเครื่อง จะตองออกแบบโปรแกรมโดยใชภาษา Ladder Logic Editor (LAD) ใหถูกตองกอน จึงจะปรับภาษาจากภาษา LAD ใหเปนแบบ Statement List ดังรูปท่ี 1.11 (ข)

(ก) (ข)

รูปท่ี 1.11 (ก) ลักษณะการเขียนโปรแกรมแบบ Function Block Diagram (ข) ลักษณะการเขียนโปรแกรมแบบ Statement List (STL)

1.6 อุปกรณตอรวม (Peripheral Devices) อุปกรณตอรวมกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร ทําหนาท่ีชวยเพิ่มความสะดวกและความรวดเรว็ใน

การใชงาน ใชในการต้ังคาเพื่อปอนขอมูลการควบคุมเครื่องจักร มีซอฟแวรท่ีสามารถเขียนโปรแกรมผานคอมพิวเตอรรองรับเทคโนโลยีตาง ๆ มีฟงกช่ันการใชท่ีหลากหลาย อุปกรณตอรวมกับมีหลายชนิด เชน 1.6.1 Human Machine Interface (HMI) Human Machine Interface (HMI) เปน37อุปกรณท่ีใชในการติดตอส่ือสารระหวางผูใชกับเครื่องจักร ใชในการควบคุมและแสดงผล 37แสดงสถานะการทํางาน สภาวะของการควบคุม ฯลฯ มีฟงกช่ันการใชงานเพื่อความสะดวกใหกับผูใชงาน ตามเทคโนโลยีของบริษัทท่ีนํามาออกแบบและพัฒนาข้ึน อาทิ Text Display, Touch Screen เปนตน

รูปท่ี 1.12 Human Machine Interface ของ SIEMENS ท่ีมา : http://artelectro.ro/nou/en,2557

Page 11: หน วยที่ 1 ความรู พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร ... file/Research/Programmable_Controller_240360.pdf ·

11

1.6.2 Programming Console หรือ Hand Held Programmer Programming Console หรือ Hand Held Programmer เปนอุปกรณท่ีใชสําหรับการเขียน

โปรแกรมแบบมือถือ มีขนาดเล็ก สะดวกในการพกพาและใชงาน ซึ่งในอดีตนิยมใชในการเขียนโปรแกรม แตปจจุบันนิยมใชคอมพิวเตอรในการเขียนโปรแกรมมากกวา เนื่องจากคอมพิวเตอรมีราคาถูกลง และซอฟแวรท่ีใชในการเขียนโปรแกรมไดพัฒนาใหใชงานไดงายข้ึน

(ก) (ข) รูปท่ี 1.13 (ก) Programming Console สําหรับใชกับ PLC ของ OMRON

(ข) Programming Console สําหรับใชกับ PLC ของ TOSHIBA

1.6.3 คอมพิวเตอรและซอฟแวร (Computer and Software) คอมพิวเตอรใชสําหรับเขียนโปรแกรม แกไขโปรแกรมและแสดงสภาวะการควบคุม โดยใชรวมกับ

ซอฟแวรของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร ยี่หอนั้น ๆ เชน PLC ของ SIEMENS ใชโปรแกรม STEP 7 Micro/WIN หรือ PLC ของ ORMRON ใชโปรแกรม CX-Programmer ท้ังนี้แตละบริษัทจะพัฒนาซอฟแวรใหสามารถรองรับฟงกช่ันท่ีเพิ่มข้ึนตามการพัฒนาของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร

รูปท่ี 1.14 คอมพิวเตอร (Computer)และซอฟแวรโปรแกรม STEP 7 Micro/WIN

Page 12: หน วยที่ 1 ความรู พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร ... file/Research/Programmable_Controller_240360.pdf ·

12

บทสรุป โปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร42 (Programmable Controller : PLC) เปนอุปกรณท่ีถูกคิดคนข้ึนเพื่อควบคุมการทํางานของเครื่องจักร และถูกพัฒนาอยางตอเนื่องใหตอบสนองความตองการของโรงงานอุตสาหกรรมสมัยใหม การนํา PLC ไปใชงานจะพิจารณาจากจํานวนอินพุตและเอาตพุตของงาน ท่ีนําไปควบคุมเปนหลัก ความหลากหลายของรุน PLC ท่ีบริษัทผูผลิตจําหนายออกมาจึงผลิตเพื่อตอบสนองความตองการใชงานท่ีตางกัน ท้ังนี้สามารถแบงชนิดตามโครงสรางไดเปนชนิด Compact หรือ Block และ ชนิด Modular หรือ Rack

โครงสรางของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร มีสวนประกอบหลักท่ีสําคัญ 4 หนวย คือ 1. หนวยประมวลผล (Central Processing Unit, CPU) 2. หนวยความจํา (Memory Unit) 3. หนวยแหลงจายพลังงาน (Power Supply Unit) 4. หนวยอินพุตและเอาตพุต (Inputs/Outputs Unit)

PLC ของ SIEMENS รุน S7–200 สามารถเขียนโปรแกรมได 3 แบบ แตท่ีนิยมท่ีสุดคือ การเขียนโปรแกรมแบบ Ladder Logic Editor (LAD) และเราสามารถเขียนโปรแกรมโดยใช Programming Console หรือ Hand Held Programmer หรือ คอมพิวเตอรโดยใชซอฟแวรของ PLC แตละรุน และสามารถ37ติดตอส่ือสารกับ PLC โดยใช 37Human Machine Interface (HMI) ในการควบคุมและแสดงผล 37

แสดงสถานะการทํางาน สภาวะของการควบคุม

Page 13: หน วยที่ 1 ความรู พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร ... file/Research/Programmable_Controller_240360.pdf ·

13

แบบฝกหัดหนวยท่ี 1 ความรูพืน้ฐานเก่ียวกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร

จงพิจารณาขอความตอไปนี้ วาถูกหรือผิด ถาผิดจงเขียนเปนประโยคใหมใหถูกตอง 1. การนําโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอรมาใชในโรงงานอุตสาหกรรม แทนท่ีระบบควบคุมซึ่งใชรีเลย

และแมกเนติกส ทําใหระบบมีขนาดใหญส้ินเปลืองเนื้อท่ี การติดต้ังใชเวลานาน เปล่ียนแปลงแกไขโปรแกรมทําไดยาก

.................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................. 2. โปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร แบบ Compact เปนโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร ท่ีมีลักษณะเปน

โมดูล เช่ือมตอกันอยูบน Rack สามารถจะทําการถอดและเสียบโมดูลท่ีตองการใชงาน Rack ได มีความยืดหยุนในเรื่องของจํานวน อินพุตและเอาตพุต และโมดูลฮารดแวรท่ีใช

.................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................. 3. โปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร แบบ Modular หรือแบบ Rack จะเปนโปรแกรมเมเบิล

คอนโทรลเลอร ท่ีมีขนาดเล็ก กะทัดรัด มีหนวยอินพุตและเอาตพุต ประกอบรวมกันอยูภายในโครงสรางเดียวกัน เหมาะสําหรับอินพุตและเอาตพุต ท่ีแนนอนและมีจํานวนไมมาก

.................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................. 4. หนวยประมวลผล (CPU) เปนสวนท่ีสําคัญของระบบ เพราะใชเก็บโปรแกรมและขอมูลตาง ๆ ท่ีใช

ในการทํางาน ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................

Page 14: หน วยที่ 1 ความรู พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร ... file/Research/Programmable_Controller_240360.pdf ·

14

5. หนวยอินพุตแบบอนาล็อก (Analog Input) หมายถึง อินพุตท่ีสามารถรับสัญญาณท่ีมีสภาวะการ ทํางานเพียง 2 สภาวะ เทานั้นคือ สภาวะการทํางาน (On) และหยุดทํางาน (Off)

.................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................. 6. เอาตพุตชนิดรีเลยเปนเอาตพุต ท่ีมีความเร็วในการทํางานสูง เหมาะสําหรับใชงานโหลดท่ีมีการปด–

เปดบอย ๆ หรือการควบคุมท่ีใชงานความถ่ีในการ Switch สูง ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. 7. ภาษาท่ีใชในการเขียนโปรแกรมแบบ Function Block Diagram (FBD) เปนภาษาท่ีมีลักษณะคลาย

กับการนําเอาหนาสัมผัสหรืออุปกรณตาง ๆ มาตอเปนวงจรไฟฟา ทําใหผูใชสามารถเห็นการทํางานไดจริงและเขาใจไดงาย

.................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................

8. อุปกรณตอรวม (Peripheral Devices) เปนอุปกรณตอรวมกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร ทําหนาท่ีชวยเพิ่มความสะดวกในการใชงาน เพิ่มความรวดเร็ว ใชในการต้ังคาเพื่อปอนขอมูลการควบคุมเครื่องจักร

....................................................................................................................................................................

....................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................

Page 15: หน วยที่ 1 ความรู พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร ... file/Research/Programmable_Controller_240360.pdf ·

15

หนวยท่ี 2 ความรูพื้นฐานทางดิจิตอล รหัสวิชา 2104-2109 วิชาการโปรแกรมและควบคุมไฟฟา สอนคร้ังท่ี 2

39สาระการเรียนรูภาคทฤษฎี

1) ประเภทของขอมูลพื้นฐานภายในโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร 2) ระบบเลขฐานเบ้ืองตน 3) การแปลงเลขฐาน 4) พื้นฐานลอจิกเกต

39จุดประสงคท่ัวไป เพื่อใหผูเรียนมีความรูพื้นฐานทางดานดิจิตอล เขาใจและสามารถอธิบายประเภทของขอมูลพื้นฐาน

ภายในโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร สามารถแปลงเลขฐานเบ้ืองตนได เขาใจพื้นฐานลอจิกเกต รวมถึงเปนผูม3ี9คุณธรรมจริยธรรมและคุณลักษณะอันพึงประสงค39 สอดคลองกับจรรยาบรรณวิชาชีพ

39จุดประสงคการเรียนรูประจําหนวย 39ดานความรู 1) บอกประเภทของขอมูลพื้นฐานภายในโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร39ไดถูกตอง 2) บอกระบบเลขฐานเบ้ืองตน39ไดถูกตอง39 3) แปลงเลขฐาน39ไดถูกตอง 4) บอกหลักการพื้นฐานลอจิกเกต39ไดถูกตอง ดาน39คุณธรรม จริยธรรม39และคุณลักษณะท่ีพึงประสงค 1) เพื่อใหมี39คุณธรรม จริยธรรม39และคุณลักษณะท่ีพึงประสงคสอดคลองกับจรรยาบรรณวิชาชีพ

39สมรรถนะประจําหนวย 1) จําแนกประเภทของขอมูลพื้นฐานภายในโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอรไดถูกตอง 2) สามารถแปลงเลขฐานไดถูกตอง 3) เขียนสมการพื้นฐานลอจิกเกตไดถูกตอง

Page 16: หน วยที่ 1 ความรู พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร ... file/Research/Programmable_Controller_240360.pdf ·

16

หนวยท่ี 2 ความรูพื้นฐานทางดิจติอล

การทํางานของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร จะใชเลขฐานในการส่ือสารและประมวลผล มี

สภาวะการทํางานเปนแบบลอจิก คือ 0 และ 1 จึงมีความจําเปนท่ีจะตองศึกษาในเรื่องระบบเลขฐาน และวิธีการแปลงเลขฐาน เพื่อใหสามารถใชงาน PLC ไดงายและสะดวกมากข้ึน

2.1 ประเภทของขอมูลพื้นฐานภายในโปรแกรมเมเบลิคอนโทรลเลอร ขอมูลภายในของ PLC จะมีคําจํากัดความในการใชงานท่ีเรียกกันคือ Bit (บิต) Byte (ไบท)

Word (เวิรด) มีหลักการเรียกและเปรียบเทียบขอมูลแบบตาง ๆ ดังนี้คือ

215 214 213 212 211 210 29 28 27 26 25 24 23 22 21 20

.7 .6 .5 .4 .3 .2 .1 .0 .7 .6 .5 .4 .3 .2 .1 .0

1 Digit Byte 0 Byte 1

1 Word

= 1 Bit

= 1 Byte = 8 Bit 128 +64+32+16+8+4+2+1 = 255

= 1 Word = 1 word

2.2 ระบบเลขฐาน (Number System) ในการใชงาน PLC มีการใชงานระบบเลขฐานอยูดวยกัน 3 ระบบ คือ ระบบเลขฐานสอง (Binary System) เลขฐานสิบ (Decimal System) และเลขฐานสิบหก (Hexadecimal System)

2.2.1 ระบบเลขฐานสอง (Binary System : Bin) ใชจํานวนนับตัวเลข 0 และ 1

1 Digit = 4 Bit 1 Byte = 8 Bit 1 Word = 16 Bit

ตําแหนงบิตในแตละไบตมีคา 0 หรือ 1 บิตสามารถใชแยกแตละบิตหรือเปนกลุมท่ีเปนตัวแทนของจํานวนระหวาง 0 - 255

• ถาตําแหนงบิต มีสภาวะ 0 (ไมจริง) จะมีคา = 0 เพราะ 0 × 20 = 0 (สภาวะ × คาของตําแหนงบิต)

• ถาตําแหนงบิต มีสภาวะ 1 (จริง) จะมีคา = 1 เพราะ 1 × 20 = 1 (สภาวะ × คาของตําแหนงบิต)

Word ใน PLC สามารถแทนคา ตัวเลขจาก -32768 ถึง +32767

Page 17: หน วยที่ 1 ความรู พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร ... file/Research/Programmable_Controller_240360.pdf ·

17

2.2.2 ระบบเลขฐานสบิ (Decimal System : Dec) ใชจํานวนนับตัวเลข 0 – 9 หรือท่ีเรียกอีกช่ือหนึ่งวา Binary Code Decimal : BCD CODE

2.2.3 ระบบเลขฐานสบิหก (Hexadecimal System : Hex) ใชจํานวนนับตัวเลข 0 – 15 และใชอักษรภาษาอังกฤษ A – F แทนตัวเลขสองหลัก 10 – 15 ท้ังนี้สามารถกําหนดความสัมพันธของตัวเลขฐานสอง เลขฐานสิบและเลขฐานสิบหก ไดดังตารางท่ี 2.1

ตารางท่ี 2.1 ความสัมพันธของตัวเลขฐาน

เลขฐานสิบหก (Hexadecimal System)

เลขฐานสิบ (Decimal System)

เลขฐานสอง (Binary System) ขนาด 4 Bit

0 0 00002 1 1 00012 2 2 00102 3 3 00112 4 4 01002 5 5 01012 6 6 01102 7 7 01112 8 8 10002 9 9 10012 A - 10102 B - 10112 C - 11002 D - 11012 E - 11102 F - 11112

2.3 การแปลงเลขฐาน

2.3.1 การแปลงเลขฐานสองเปนเลขฐานสบิ ในการแปลงเลขฐานสองเปนเลขฐานสิบนั้น สามารถพิจารณาจากน้ําหนัก (Weight) ของเลขฐานใน

แตละบิต (Bit) จากตารางดานลาง

15 14 13 12 11 10 09 08 07 06 05 04 03 02 01 00 215 214 213 212 211 210 29 28 27 26 25 24 23 22 21 20

32768 16384 8192 4096 2048 1024 512 256 128 64 32 16 8 4 2 1

Bit

Weight

Data

Page 18: หน วยที่ 1 ความรู พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร ... file/Research/Programmable_Controller_240360.pdf ·

18

ตัวอยางท่ี 1 จงแปลงขอมูลเลขฐานสองขนาด 16 Bit ซึ่งมีคาขอมูลคือ 0000 0011 0110

11012 ใหเปนเลขฐานสิบ จะมีคาเทากับเทาใด

วิธีทํา ใหนําขอมูลเลขฐานสองขนาด 16 Bit ใสลงไปในชอง Data แลว พิจารณาน้ําหนักขอมูลในแตละบิต เฉพาะขอมูลในบิตท่ีเปน 1 เทานั้น แลวนําคาท่ีไดมาบวกกันจะไดผลลัพธเปนเลขฐานสิบ

15 14 13 12 11 10 09 08 07 06 05 04 03 02 01 00 215 214 213 212 211 210 29 28 27 26 25 24 23 22 21 20

32768 16384 8192 4096 2048 1024 512 256 128 64 32 16 8 4 2 1 0 0 0 0 0 0 1 1 0 1 1 0 1 1 0 1

0000 0011 0110 1101

ตอบ จากขอมูล จะไดคาออกมาดังนี้คือ 512 + 256 + 64 + 32 + 8 + 4 + 1 = 877

2.3.2 การแปลงเลขฐานสิบเปนเลขฐานสอง ในการแปลงเลขฐานสิบเปนเลขฐานสองนั้น สามารถทําไดโดยวิธีการหารส้ัน โดยการนําคา

เลขฐานสิบท่ีตองการแปลงหารดวยสอง แลวเขียนผลหารและเศษท่ีเหลือจากการหารในแตละครั้งไว ทําตอจนกระท่ังผลของการหารเปน 0 สุดทาย เขียนเศษท่ีไดจากการหาร โดยเขียนจากดานลางข้ึนดานบน

ตัวอยางท่ี 2 จงแปลงขอมูลเลขฐานสิบ 5510 ใหเปนเลขฐานสอง วิธีทํา การแปลงเปนเลขฐานสองโดยนําเลข 55 หารดวย 2 ตลอด แลวนําเศษท่ีไดจากการหาร

เขียนจากดานลางข้ึนดานบน 2 55 2 27 เศษ 1 2 13 เศษ 1 2 6 เศษ 1 2 3 เศษ 0 1 เศษ 1

ตอบ ดังนั้น 5510 แปลงใหเปนเลขฐานสอง จะมีคาเทากับ 1 1 0 1 1 12

Weight

Bit

Data

Page 19: หน วยที่ 1 ความรู พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร ... file/Research/Programmable_Controller_240360.pdf ·

19

2.3.3 การแปลงเลขฐานสองเปนเลขฐานสิบหก ในการแปลงเลขฐานสองเปนเลขฐานสิบหก ใหพิจารณาคาของเลขฐานสองเปนชวง โดยแตละชวงมี

ขนาดขอมูลเทากับ 4 Bit (คาของเลขฐานสองขนาด 4 Bit จะมีคาเทากับเลขฐาน 16 ขนาด 1 หลักหรือ 1 Digit)

Digit 3 Digit 2 Digit 1 Digit 0

15 14 13 12 11 10 09 08 07 06 05 04 03 02 01 00 215 214 213 212 211 210 29 28 27 26 25 24 23 22 21 20

32768 16384 8192 4096 2048 1024 512 256 128 64 32 16 8 4 2 1

ตัวอยางท่ี 3 จงแปลงขอมูลเลขฐานสอง 1011 0110 0111 00012 ใหเปนเลขฐานสิบหก วิธีทํา ใหนําคาของเลขฐานสองท่ีไดจากโจทย ใสลงไปในชอง Data จากนั้นพิจารณาคาน้ําหนัก

ของเลขฐาน 16 โดยแบงคาในการพิจารณาทีละ 4 Bit

Digit 3 Digit 2 Digit 1 Digit 0 15 14 13 12 11 10 09 08 07 06 05 04 03 02 01 00 215 214 213 212 211 210 29 28 27 26 25 24 23 22 21 20 8 4 2 1 8 4 2 1 8 4 2 1 8 4 2 1 1 0 1 1 0 1 1 0 0 1 1 1 0 0 0 1

Digit 3 คือ 8+2+1= 11= B Digit 2 คือ 4+2 = 6 Digit 1 คือ 4+2+1=7 Digit 0 คือ 1

ตอบ ดังนั้น ผลรวมเปนเลขฐานสิบหก เทากับ B67116

2.3.4 การแปลงเลขฐานสิบหกเปนเลขฐานสอง จะใชหลักการคลาย กับการแปลงเลขฐานสอง เปนเลขฐานสิบหก โดยใหพิจารณากลับจากคาของ

เลขฐานสิบหกในแตละหลัก แปลงออกออกเปนเลขฐานสอง

ตัวอยางท่ี 4 จงแปลงขอมูลเลขฐานสิบหก 5FB416 ใหเปนเลขฐานสอง วิธีทํา ใหนําคาของเลขฐานสิบหกท่ีไดจากโจทย ใสลงไปในแตละ Digit จากนั้นพิจารณาคาน้ําหนัก

ของเลขฐานสอง โดยแบงคาในการพิจารณาทีละ 4 Bit

Digit 3 Digit 2 = F Digit 1= B Digit 0 = 4 5 F B 4

15 14 13 12 11 10 09 08 07 06 05 04 03 02 01 00 215 214 213 212 211 210 29 28 27 26 25 24 23 22 21 20 8 4 2 1 8 4 2 1 8 4 2 1 8 4 2 1 0 1 0 1 1 1 1 1 1 0 1 1 0 1 0 0

0101 1111 1011 0100

ตอบ เลขฐานสิบหก 5FB416 แปลงเปนเลขฐานสองไดเทากับ 0101 1111 1011 01002

Weight

Bit

Weight Bit

Data

Weight

Bit เลขฐาน 16

Data

Page 20: หน วยที่ 1 ความรู พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร ... file/Research/Programmable_Controller_240360.pdf ·

20

2.3.5 การแปลงเลขฐานสิบหกเปนเลขฐานสบิ ในการแปลงเลขฐานสิบหกเปนเลขฐานสิบ ใหใชหลักการกระจายคาออกมาเปนผลรวมของ

เลขฐานสิบ

ตัวอยางท่ี 5 จงแปลงขอมูลเลขฐานสิบหก 4CA916 ใหเปนเลขฐานสิบ วิธีทํา 4CA916 = (4× 163) + (C× 162) + (A× 161) + (9× 160) = (4× 163) + (12× 162) + (10× 161) + (9× 160) = 16384 + 3072 + 160 + 9 ตอบ 4CA916 = 1962510

2.4 พื้นฐานลอจิกเกต (Basic Logic Gate) PLC ประกอบข้ึนจากอุปกรณและวงจรทางดิจิตอล มีสวนประกอบพื้นฐานคือ ลอจิกเกต (Logic

Gate) และทํางานดวยหลักการระบบเลขฐานสองมีเลข 0 กับเลข 1 2.4.1 หลักการพื้นฐานของ AND Gate ถากําหนดให A และ B แทนตัวแปรอินพุต เมื่อตัวแปร A มากระทําการ AND กับตัวแปร B ได

ผลลัพธออกเปน Y สามารถเขียนสมการลอจิก (ทางดานเอาตพุต Y) ไดดังนี ้

Y = A . B

จากสมการลอจิก เครื่องหมาย ( . ) คือ การคูณแบบ AND สามารถเขียนตารางความจริง (16truth table) และสัญลักษณไดดังรูปท่ี 2.1

A B Y 0 0 0 0 1 0 1 0 0 1 1 1

รูปท่ี 2.1 ตารางความจริงและสัญลักษณของ AND Gate

2.4.2 หลักการพื้นฐานของ OR Gate ถากําหนดให A และ B แทนตัวแปรอินพุตท้ังสอง เมื่อตัวแปร A มากระทําการ OR กับตัวแปร B

ไดผลลัพธเปน Y ทําใหสามารถเขียน สมการลอจิก (ทางเอาตพุต) ไดดังนี ้

Y = A + B

จากสมการลอจิก เครื่องหมาย ( + ) ไมใชเปนการบวกเลขแบบธรรมดา แตจะเปนการบวกแบบ OR ซึ่งสามารถเขียนตารางความจริง (16truth table) และสัญลักษณไดดังรูปท่ี 2.2

A B

Y

Page 21: หน วยที่ 1 ความรู พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร ... file/Research/Programmable_Controller_240360.pdf ·

21

A B Y 0 0 0 0 1 1 1 0 1 1 1 1

รูปท่ี 2.2 ตารางความจริงและสัญลักษณของ OR Gate

2.4.3 หลักการพื้นฐานของ NOT Gate ตัวกระทํา NOT ใชกับตัวแปรอินพุตเดียว แตกตางจากตัวกระทํา OR และ AND เชน ถาให A แทน

ตัวแปรท่ีปอนอินพุตของตัวกระทํา NOT และไดผลลัพธเปน Y เขียนสมการลอจิก (ทางเอาตพุต Y) ไดดังนี ้

Y = A

สัญลักษณขีด (bar) บนตัว A แทนการกระทํา NOT สมการ Y = NOT A หรือ เทากับสวนกลับของ A หรือ เทากับ A bar สามารถเขียนตารางความจริงและสัญลักษณไดดังรูปท่ี 2.3

A Y = A 0 1 1 0

รูปท่ี 2.3 ตารางความจริงและสัญลักษณของ NOT Gate

2.4.4 หลักการพื้นฐานของ NOR Gate NOR Gate ท่ีมี 2 อินพุต การกระทําของ NOR Gate จะมีคาเทากับการนํา OR Gate มาตอ

รวมกับ NOT Gate สามารถเขียนสมการลอจิกเอาตพุตของ NOR Gate ไดดังนี ้

Y = A + B

จากสมการลอจิกจะเห็นวา NOR Gate มีการกระทําแรกเปน OR ของอินพุตและการกระทําท่ีสองเปนการกระทํา NOT บนผลบวกแบบ OR สามารถเขียนตารางความจริงและสัญลักษณไดดังรูปท่ี 2.4

A B Y = A + B 0 0 1 0 1 0 1 0 0 1 1 0

รูปท่ี 2.4 ตารางความจริงและสัญลักษณของ NOR Gate

A B

Y

A

Y

A

B

Y

Page 22: หน วยที่ 1 ความรู พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร ... file/Research/Programmable_Controller_240360.pdf ·

22

2.4.5 หลักการพื้นฐานของ NAND Gate NAND Gate ท่ีมี 2 อินพุต การกระทําของ NAND Gate จะมีคาเทากับการนํา AND Gate มาตอ

รวมกับ NOT Gate ดังนั้น สมการลอจิกสําหรับเอาตพุตของ NAND Gate จึงเขียนไดดังนี ้

Y = A . B

จากสมการลอจิกจะเห็นวา NAND Gate มีการกระทําแรกเปนการกระทํา AND ของอินพุตและการกระทําท่ีสองเปนการกระทํา NOT บนผลคูณแบบ AND สามารถเขียนตารางความจริงและสัญลักษณไดดังรูปท่ี 2.5

A B Y = A . B 0 0 1 0 1 1 1 0 1 1 1 0

รูปท่ี 2.5 ตารางความจริงและสัญลักษณของ NAND Gate

2.4.6 หลักการพื้นฐานของ Exclusive OR Gate Output ของ Exclusive OR Gate จะมีคาเปน Logical 1 ก็ตอเมื่อ Input มี Logical ตางกัน

และ Output จะมีคาเปน Logical 0 ก็ตอเมื่อ Input มี Logical เหมือนกัน ดังนัน้สมการลอจิกสําหรับเอาตพุตของ Exclusive OR Gate จึงเขียนไดดังนี้

Y = A + B

สามารถเขียนตารางความจริงและสัญลักษณของ Exclusive OR Gate ไดดังรูปท่ี 2.6

A B Y = A + B 0 0 0 0 1 1 1 0 1 1 1 0

รูปท่ี 2.6 ตารางความจริงและสัญลักษณของ Exclusive OR Gate

A

B

Y

A B

Y

Page 23: หน วยที่ 1 ความรู พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร ... file/Research/Programmable_Controller_240360.pdf ·

23

บทสรุป ขอมูลภายในของ PLC จะมีคําจํากัดความในการใชงานท่ีเรียกกันคือ Bit (บิต) Byte (ไบท)

Word (เวิรด) โดย 1 Digit = 4 Bit , 1 Byte = 8 Bit และ 1 Word = 16 Bit ในการใชงาน PLC มีการใชงานระบบเลขฐานอยูดวยกัน 3 ระบบ คือ

1. เลขฐานสอง (Binary System) ใชจํานวนนับตัวเลข 0 และ 1 2. เลขฐานสิบ (Decimal System) ใชจํานวนนับตัวเลข 0 – 9 3. เลขฐานสิบหก (Hexadecimal System) ใชจํานวนนับตัวเลข 0 – 15 และใชอักษร

ภาษาอังกฤษ A – F แทนตัวเลขสองหลัก 10 – 15 สรุปพื้นฐานของลอจิกเกต (Basic Logic Gate)

Gate สัญลักษณ สมการลอจิก ตารางความจริง

AND Gate

Y = A . B

OR Gate

Y = A + B

NOT Gate

Y = A

NOR Gate

Y = A +B

NAND Gate

Y = A . B

Exclusive OR Gate

Y = A + B

Page 24: หน วยที่ 1 ความรู พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร ... file/Research/Programmable_Controller_240360.pdf ·

24

แบบฝกหัดหนวยท่ี 2 ความรูพื้นฐานทางดานดิจิตอล

1. ขอมูลขนาด 64 Bit ถาเปล่ียนขนาดเปน Byte จะมีขนาดกี่ Byte ....................................................................................................................................................................... 2. ขอมูลขนาด 32 Bit ถาเปล่ียนขนาดเปน Word จะมีขนาดกี่ Word ....................................................................................................................................................................... 3. ระบบเลขฐานสอง (Binary Number System) เปนเลขฐานท่ีประกอบดวยตัวเลข ....................................................................................................................................................................... 4. ระบบเลขฐานท่ีประกอบดวยตัวเลข 0 – 9 คือระบบเลขฐาน.................................................................. 5. ระบบเลขฐานสิบหก (Hexadecimal Number System) เปนเลขฐานท่ีประกอบดวยตัวเลข ....................................................................................................................................................................... 6. จงแปลงขอมูลเลขฐานสอง ขนาด 16 Bit ซึ่งมีคาขอมูลคือ 1100 1100 1001 00102 เปนเลขฐานสิบ ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... 7. จงแปลงขอมูลเลขฐานสิบ ซึ่งมีคาเทากับ 264510 เปนเลขฐานสอง ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... 8. จงแปลงขอมูลเลขฐานสอง ขนาด 16 Bit ซึ่งมีคา 0001 1011 0111 01102 เปนเลขฐาน สิบหก ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... 9. จงแปลงขอมูลเลขฐานสิบหก ซึ่งมีคาเทากับ B4B516 เปนเลขฐานสอง ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... 10. จงแปลงขอมูลเลขฐานสิบหก ซึ่งมีคาเทากับ ABCD16 เปนเลขฐานสิบ ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................

Page 25: หน วยที่ 1 ความรู พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร ... file/Research/Programmable_Controller_240360.pdf ·

25

.......................................................................................................................................................................

Page 26: หน วยที่ 1 ความรู พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร ... file/Research/Programmable_Controller_240360.pdf ·

25

หนวยท่ี 3 คุณสมบัติของ PLC SIEMENS รุน SIMATIC S7–200 รหัสวิชา 2104-2109 วิชาการโปรแกรมและควบคุมไฟฟา สอนคร้ังท่ี 3

36สาระการเรียนรู

1) โครงสรางภายนอกของ PLC SIEMENS รุน SIMATIC S7–200 2) คุณลักษณะของ PLC SIEMENS รุน SIMATIC S7–200 3) อุปกรณตอขยาย (Expansion Modules) 4) อุปกรณส่ังงานและจอแสดงผล (Text Display and Touch Screen) 5) สาย PC/PPI cable 6) การอางตําแหนง Address ของ PLC SIEMENS 7) ชนิดของขอมูล (Type of Data)

36จุดประสงคท่ัวไป 36เพื่อใหผูเรียนมีความรู36เกี่ยวกับ PLC SIEMENS รุน SIMATIC S7–200 อาทิ ดานโครงสรางภายนอก

คุณลักษณะ เขาใจหนาท่ีของอุปกรณตอขยาย (Expansion Modules) อุปกรณส่ังงานและจอแสดงผล (Text Display and Touch Screen) และ 36สายเคเบ้ิล PC/PPI สามารถอธิบายการอาง Address และชนิดของขอมูล36ของ PLC SIEMENS รุน SIMATIC S7–200 ได36 รวมถึงเปนผูมีคุณธรรม จริยธรรมและคุณลักษณะอันพึงประสงค36สอดคลองกับจรรยาบรรณวิชาชีพ

36จุดประสงคการเรียนรูประจําหนวย 36ดานความรู 1) บอกคุณลักษณะของ PLC SIEMENS รุน SIMATIC S7–200 ได36ถูกตอง 2) บอกหนาท่ีของอุปกรณตอขยาย (Expansion Modules) ได36ถูกตอง 3) บอกหนาท่ีของอุปกรณส่ังงานและจอแสดงผล (Text Display and Touch Screen) ได36ถูกตอง 4) บอกหนาท่ี36และวิธีการใชงาน36สายเคเบ้ิล PC/PPI ได36ถูกตอง 5) บอกรปูแบบของการส่ือสารขอมูลจากคอมพิวเตอรไป PLC ได36ถูกตอง 6) บอกการอาง Address ของ PLC SIEMENS รุน SIMATIC S7–200ได36ถูกตอง 367) บอกขอมูล36พื้นฐาน(Elementary Data) ของ PLC SIEMENS รุน SIMATIC S7–200 ได36ถูกตอง ดาน36คุณธรรม จริยธรรม36และคุณลักษณะท่ีพึงประสงค 1) เพื่อใหมี36คุณธรรม จริยธรรม36และคุณลักษณะท่ีพึงประสงคสอดคลองกับจรรยาบรรณวิชาชีพ

36สมรรถนะประจําหนวย 1) ระบุโครงสรางภายนอกและคุณลักษณะของ PLC SIEMENS รุน SIMATIC S7–200 ไดถูกตอง 2) บอกหนาท่ีของอุปกรณตอขยาย อุปกรณส่ังงาน จอแสดงผลและสาย PC/PPI cable ไดถูกตอง 3) อาง Address และชนิดของขอมูล36ของ PLC SIEMENS รุน SIMATIC S7–200 ไดถูกตอง

Page 27: หน วยที่ 1 ความรู พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร ... file/Research/Programmable_Controller_240360.pdf ·

26

หนวยท่ี 3 คุณสมบัติของ PLC SIEMENS รุน SIMATIC S7–200

PLC SIEMENS รุน SIMATIC S7–200 เปน PLC ชนิด Compact ของบริษัท SIEMENS ท่ีสามารถ

เขียนโปรแกรมประยุกตการใชงานไดหลากหลาย ลักษณะของโครงสรางจึงถูกออกแบบใหมีขนาดกะทัดรัด รองรับฟงกช่ันการใชงานไดมาก

3.1 โครงสรางภายนอกของ PLC SIEMENS รุน SIMATIC S7–200 PLC SIEMENS รุน SIMATIC S7–200 โครงสรางภายนอกถูกออกแบบมาใหมีสวนประกอบท้ังหมด

อยูบนโครงสรางเดียวกัน ท้ังข้ัวตอทางดานอินพุตและเอาตพุต พอรต(Port) สําหรับขยายโมดูล จุดตอสายPC/PPI cable สวิตชเลือกโหมดการทํางาน(RUN. TERM. STOP) สัญญาณอนาล็อกแบบปรับคาได (0-255) แหลงจายไฟสําหรับสวิตช/เซนเซอร DC24V 180 mA. จุดจายไฟเขา CPU รวมถึงหลอดแสดงโหมดการทํางานของ PLC ดังรูปท่ี 3.1

รูปท่ี 3.1 PLC ของ SIEMENS รุน SIMATIC S7–200 CPU 224

3.2 คุณลักษณะของ PLC SIEMENS รุน SIMATIC S7–200 ในงานควบคุมแบบอัตโนมัติรูปแบบของงานควบคุม ขนาดของงานมีความแตกตางกัน ผูใชสามารถ

เลือกใช PLC ใหมีความเหมาะสมกับงานท่ีตองการควบคุม ท้ังนี้จํานวนอินพุตและเอาตพุตของ PLC ในรุน SIMATIC S7–200 สามารถดูรายละเอียดไดจากตารางท่ี 3.1

พอรต(Port) สําหรับ ขยายโมดูล

สัญญาณอนาล็อกแบบปรับคาได (0-255)

สวิตชเลือกโหมด RUN,TERM ,STOP

แหลงจายไฟสําหรับสวิตช/เซนเซอร DC 24V / 180 mA

ข้ัวตอทางดานอินพุต

จุดตอสายเคเบิ้ล PC/PPI Cable

จุดจายไฟ เขา CPU

หลอดแสดง โหมดการทํางาน

ข้ัวตอทางดานเอาตพุต

Page 28: หน วยที่ 1 ความรู พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร ... file/Research/Programmable_Controller_240360.pdf ·

27

ตารางท่ี 3.1 การเปรียบเทียบคุณสมบัติ ของ S7-200 รุน CPU 221, CPU 222, CPU 224, CPU 224XP, CPU 224XPsi และ CPU 226

จากตารางท่ี 3.1 ตัวอยางเชน CPU 224

• Integrated dig. Inputs/Outputs 14 DI/10 DO = มีจํานวนดิจิตอลอินพุต 14 จุด/ดิจิตอลเอาตพุต 10 จุด

• Digital Inputs/Outputs/max. number of channels with expansion modules 114/110/224 = สามารถขยายเพิ่มเปนดิจิตอลอินพุต 114 จุดและดิจิตอลเอาตพุต 110 จุด จํานวนสูงสุดในการขยายของโมดูลไมเกิน 224 จุด

• Analog Inputs/Outputs/max. number of channels with expansion modules 32/28/44

= สามารถขยายเพิ่มเปนอนาล็อกอินพุต 32 จุดและดิจิตอลเอาตพุต 28 จุด จํานวนสูงสุดในการขยายของโมดูลไมเกิน 44 จุด

Page 29: หน วยที่ 1 ความรู พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร ... file/Research/Programmable_Controller_240360.pdf ·

28

3.3 อุปกรณตอขยาย (Expansion Modules) อุปกรณตอขยาย (Expansion Modules) หมายถึง อุปกรณท่ีนํามาตอรวมกับ PLC เพื่อเพิ่มจํานวน

อินพุตหรือเอาตพุตของ PLC ใหมีจํานวนมากข้ึน มีใหเลือกเพิ่มไดท้ังแบบดิจิตอลและแบบอนาล็อก หรืออินพุตเอาตพุตแบบพิเศษเฉพาะงาน ดังแสดงในรูปท่ี 3.2 – 3.4

รูปท่ี 3.2 อุปกรณตอขยายสัญญาณอินพุต เอาตพุตแบบอนาล็อก รุน EM235

รูปท่ี 3.3 การตอขยายอินพุต เอาตพุต PLC S7–200 รวมกับ Expansion Modules

รูปท่ี 3.4 การตอขยายอินพุต เอาตพุต PLC S7–200 แบบใช 2 Expansion

Page 30: หน วยที่ 1 ความรู พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร ... file/Research/Programmable_Controller_240360.pdf ·

29

3.4 อุปกรณสั่งงานและจอแสดงผล (Text Display and Touch Screen) อุปกรณส่ังงานและจอแสดงผล (Text Display and Touch Screen) เปนอุปกรณท่ีทําหนาท่ีส่ือสารขอมูล กับ PLC โดยส่ือสารระหวางผูปฏิบัติงานกับเครื่องจักร สามารถแสดงผล ต้ังคาขอมูล ส่ังงาน กําหนดคา ปรับต้ังคา รวมถึงการตรวจสอบขอมูลของเครื่องจักร มี Port ส่ือสารไดหลายรปูแบบ เชน Series Port และ Ethernet Port เปนตน

(ก) (ข) รูปท่ี 3.5 (ก) Text Display Siemens TD 200 (ข) Touch Screen Siemens KTP600

ท่ีมา : https://support.industry.siemens.com,2557 ท่ีมา : http://www.ebay.com,2557

3.5 สาย PC/PPI cable สายเคเบ้ิล PC/PPI ใชในการเช่ือมตอเพื่อส่ือสารขอมูลระหวางคอมพิวเตอรกับ PLC ของ SIEMENS

รุน S7–200 ลักษณะของหัวตอสายเคเบ้ิล PC/PPI จะมีใหเลือกใช 2 แบบ คือ แบบหัวตอ USB และแบบ RS232 (COM Port) ดังแสดงในรูปท่ี 3.6 ในการเลือกใชสายเคเบ้ิล หากเปนสายเคเบ้ิลหัวตอสายแบบ USB ผูใชไมตองปรับต้ังอัตราความเร็วในการรับ-สงขอมูล (Baud Rate) แตหากเปนสายเคเบ้ิลหัวตอสายแบบ RS232 จะตองปรับต้ัง Dipswitch (Dual in-line package switch) เพื่อกําหนดอัตราความเร็วในการรับ-สงขอมูล ใหมีคามาตรฐานเทากับ 9.6 Kbyte

(ก) (ข) รูปท่ี 3.6 (ก) สายเคเบ้ิล PC/PPI หัวตอแบบ USB

(ข) หัวตอแบบ RS232 (COM Port)

Page 31: หน วยที่ 1 ความรู พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร ... file/Research/Programmable_Controller_240360.pdf ·

30

9.6 Kbyte = 0 1 0

Dipswitch หมายเลข 1 2 3 (ก) (ข)

รูปท่ี 3.7 (ก) รายละเอียดคาในการต้ัง Dipswitch เพื่อกําหนดคาอัตราความเร็วในการสงขอมูล (ข) Dipswitch ท่ี Adaptor สายเคเบ้ิล PC/PPI หัวตอแบบ RS232 (COM Port)

3.6 การอางตําแหนง Address ของ PLC SIEMENS ในการเขียนโปรแกรมควบคุมการทํางาน PLC จะตองศึกษาการอางตําแหนง Address ของ PLC จากคูมือการใชงานหรือเอกสารประกอบของบริษัทผูผลิต เพื่อใหรูตําแหนง Address ของอินพุตเอาตพุต รีเลยชวยในหนวยความจํา ตัวต้ังเวลาและตัวนับ ฯลฯ

3.6.1 การใชงาน Memory Address เพื่อเก็บขอมูล (Data) พื้นท่ีของหนวยความจําจะตองระบุ Address ประกอบดวยพื้นท่ีหนวยความจําท่ีเปน Byte

Address และ Bit ตัวอยางเชน

I 1 . 3 Bit of Byte , or Bit number 3 (0 to 7) Period separates the Byte address from the Bit number Byte Address : Byte 1 (the second Byte) Area identifier (I = Input)

รูปท่ี 3.8 รูปแบบการเขาถึงขอมูลในหนวยความจําของ CPU

ในการอางพื้นท่ีของหนวยความจํา CPU เขาถึงไดจากการกําหนดตัวอักษร I (Input) , Q (Output) , M (Bit Memory) , T (Timer) และ C (Counter) โดยมีขนาดของขอมูลเปน Byte, Word หรือ Double Word ใชรูปแบบการอางในตําแหนงเปน Byte-Address การเขาถึงขอมูลในหนวยความจําของ CPU จะตองระบุตําแหนง Address ในทํานองเดียวกันกับการระบุ bit – address ดังรูปท่ี 3.9

OFF ON OFF

Page 32: หน วยที่ 1 ความรู พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร ... file/Research/Programmable_Controller_240360.pdf ·

31

Data Size

รูปท่ี 3.9 การเปรียบเทียบขอมูลชนิด Byte , Word และ Double word

3.6.2 ขนาดของขอมูล (Data Size) ใน CPU ดังตารางท่ี 3.2

ตารางท่ี 3.2 ขนาดของขอมูล (Data Size) ใน CPU

Unsigned Integer Range Signed Integer Range Decimal Hexadecimal Decimal Hexadecimal

B (Byte) : 8 bit

0 to 255 0 to FF -128 to 127 80 to 7F

W (Word) : 16 bit

0 to 65,535 0 to FFFF -32,768 to 32,767

8000 to 7FFF

DW (Double word) :

32 bit

0 to 4,294,967,295

0 to FFFF -2,147,483,648 to

2,147,483,647

8000 0000 to 7FFF FFFF

Page 33: หน วยที่ 1 ความรู พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร ... file/Research/Programmable_Controller_240360.pdf ·

32

3.6.3 ตําแหนง Address ของอินพุต (Input :I) เปนตําแหนงเพื่อเขาถึงอินพุต (Input :I) ใชติดตอรับสัญญาณอินพุตจากภายนอก สามารถกําหนด

ขนาดเปน Bit, Byte, Word และ Double Word เชน I0.0 , IB10 สามารถกําหนดตําแหนงของอนิพุต ตามรูปแบบ ดังนี ้(ขอบเขตของอินพุต ข้ึนอยูกับขนาดของ CPU ในแตละรุน) ดังตารางท่ี 3.3

ตารางท่ี 3.3 ตําแหนง Address ของอินพุต (I)

Input (I) Byte 0 0.7 0.6 0.5 0.4 0.3 0.2 0.1 0.0 Byte 1 1.7 1.6 1.5 1.4 1.3 1.2 1.1 1.0

Byte 15 15.7 15.6 15.5 15.4 15.3 15.2 15.1 15.0

3.6.4 ตําแหนง Address ของเอาตพุต (Output : Q) เปนตําแหนงเพื่อเขาถึงเอาตพุต (Output : Q) ใชติดตอสงสัญญาณจาก PLC สูเอาตพุตภายนอก

สามารถกําหนดขนาดเปน Bit, Byte, Word และ Double Word เชน Q0.0 , QB8 สามารถกําหนดตําแหนงของเอาตพุต ตามรูปแบบ ดังนี้ (ขอบเขตของเอาตพุต ข้ึนอยูกับขนาดของ CPU ในแตละรุน) ดังตารางท่ี 3.4

ตารางท่ี 3.4 ตําแหนง Address ของเอาตพุต (Output : Q)

Output (Q) Byte 0 0.7 0.6 0.5 0.4 0.3 0.2 0.1 0.0 Byte 1 1.7 1.6 1.5 1.4 1.3 1.2 1.1 1.0

Byte 15 15.7 15.6 15.5 15.4 15.3 15.2 15.1 15.0

3.6.5 ตําแหนง Address ของ Bit Memory (M) เปนตําแหนงเพื่อเขาถึง Bit Memory (M) เปนรีเลยชวยในการเขียนโปรแกรมแตไมสามารถติดตอกับ

อินพุตและเอาตพุตภายนอกได สามารถกําหนดขนาดเปน Bit, Byte, Word และ Double Word เชน M0.0 , MB2 สามารถกําหนดตําแหนงของ Bit Memory ตามรูปแบบดังนี้ (ขอบเขตของ Bit Memory ข้ึนอยูกับขนาดของ CPU ในแตละรุน) ดังตารางท่ี 3.5 ตารางท่ี 3.5 ตําแหนง Address ของ Bit Memory (M)

Bit Memory (M) Byte 0 0.7 0.6 0.5 0.4 0.3 0.2 0.1 0.0 Byte 1 1.7 1.6 1.5 1.4 1.3 1.2 1.1 1.0

Byte 31 31.7 31.6 31.5 31.4 31.3 31.2 31.1 31.0

Page 34: หน วยที่ 1 ความรู พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร ... file/Research/Programmable_Controller_240360.pdf ·

33

3.6.6 ตําแหนง Address ของตัวต้ังเวลา (Timer : T) การกําหนดตัวแปรของตัวต้ังเวลา (Timer : T) มีรูปแบบการกําหนดดังนี้ คือ Timer Address (T +

Timer number) Timer จะมีคา Resolution ของการนับเปน 1 mS , 10 mS และ 100 mS โดยมีตัวแปรรวม 2 อยางดวยกัน คือ

Current Value : คาปจจุบัน Timer Bit : บิตของ Timer สามารถกําหนดตัวแปรของ Timer ตามรูปแบบดังนี ้ (แตท้ังนี้ตองดูรายละเอียดของ

Timer ดวย วาเปน Timer แบบใด (TON , TONR หรือ TOF)

Timer (T + Timer number) T0 - T255

3.6.7 ตําแหนง Address ของตัวนับ (Counter : C) การกําหนดตัวแปรตัวนับ (Counter : C) มีรูปแบบการกําหนดดังนี้ คือ Counter Address (C +

Counter number) Counter มี 3 ชนิด คือ CTU, CTD, CTUD มีตัวแปรรวม 2 อยางดวยกัน คือ Current Value : คาปจจุบัน Counter Bit : บิตของ Counter สามารถกําหนดตัวแปรของ Counter ตามรูปแบบดังนี ้

Counter (C + Counter number) C0 - C255

3.7 ชนิดของขอมูล PLC SIEMENS

3.7.1 ขอมูลพื้นฐาน (Elementary Data) ดังตารางท่ี 3.6

ตารางท่ี 3.6 ขอมูลพื้นฐาน (Elementary Data)

Elementary Description Rang BOOL Boolean 0 to 1 BYTE Unsigned Byte 0 to 255 BYTE

Signed Byte (SIMATIC mode for SHRB instruction only)

คา -128 to คา +127

WORD Unsigned Integer 0 to 65,535 INT Signed Integer คา -32,768 to คา +32,767

DWORD Unsigned Double Integer 0 to 4294967295 DINT Signed Double Integer คา -2147483648 to คา +2147483647 REAL IEEE 32 bit floating Point + 1.175495E-38 to +3.402823E+38

Page 35: หน วยที่ 1 ความรู พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร ... file/Research/Programmable_Controller_240360.pdf ·

34

3.7.2 ขอมูลเฉพาะ (Complex Data) ดังตารางท่ี 3.6

ตารางท่ี 3.7 ขอมูลเฉพาะ (Complex Data)

Complex Data Types Description Rang TON , TOF

On – Delay Timer Off – Delay Timer

1 mS T32 , T96 10 mS T33 – T36 , T97 – T100 100 mS T37 – T63 , T101 – T255

TONR

Retentive On – Delay Timer

1 mS T0 , T64 10 mS T1 – T4 , T65 – T68 100 mS T5 – T31 , T69 – T95

TP

Pulse Timer 1 mS T32 , T96 10 mS T33 – T36 , T97 – T100 100 mS T37 – T63 , T101 – T255

CTU Up Counter 0 - 255 CTD Down Counter 0 - 255 CTUD Up / Down Counter 0 - 255

3.7.3 ขอบเขตตําแหนงหนวยความจําภายใน CPU (CPU. Memory Address Ranges) ในการติดตอกับ CPU จะตองกําหนด Range ของหนวยความจํา หากปอนเกิน Range ท่ีกําหนด

โปรแกรมจะ Error Rang Memory สําหรับ CPU 224 & 226 ดังตารางท่ี 3.8

ตารางท่ี 3.8 ขอบเขตตําแหนงหนวยความจําภายใน CPU

Accessed by Memory Range Bit (Byte , Bit)

I Q M T C

0.0 - 15.7 0.0 - 15.7 0.0 - 31.7 0 - 255 0 - 255

Byte QB MB SMB

0 - 15 0 - 31

0 - 299 Word

IW QW MW SMW

T C

Constant 0 - 14 0 - 14 0 - 30

0 - 298 0 - 255 0 - 255

Page 36: หน วยที่ 1 ความรู พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร ... file/Research/Programmable_Controller_240360.pdf ·

35

ตารางท่ี 3.8 ขอบเขตตําแหนงหนวยความจําภายใน CPU (ตอ)

Accessed by Memory Range Double ID

QD MD SMD

0 – 12 0 – 28 0 – 28 0 – 296

PLC SIEMENS รุน SIMATIC S7–200 จะมีหนวยความจําพิเศษไวใหใชงาน เพื่อเปนเครื่องมือท่ีชวยใหเขียนโปรแกรมไดงายข้ึนและส้ันลง ตัวอยางหนวยความจําพิเศษท่ีนําไปใชงานบอย ๆ ดังตารางท่ี 3.9

ตารางท่ี 3.9 รายละเอียดของหนวยความจําพิเศษ

หนวยความจําพิเศษ ตําแหนง ความหมาย Always_On SM0.0 Always ON

First_Scan_On SM0.1 ON for the first scan cycle only Clock_60s SM0.4 Clock pulse that is ON for 30 s, OFF for 30 s, for a duty

cycle time of 1 min Clock_1s SM0.5 Clock pulse that is ON for 0.5 s, OFF for 0.5 s, for a duty

cycle time of 1 s. Mode_Switch SM0.7 Indicates the current position of the mode switch:

0 = TERM, 1 = RUN Pot0_Value SMB28 Set to value corresponding to analog adjustment 0 Pot1_Value SMB29 Set to value corresponding to analog adjustment 1

Page 37: หน วยที่ 1 ความรู พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร ... file/Research/Programmable_Controller_240360.pdf ·

36

บทสรุป PLC SIEMENS รุน SIMATIC S7–200 โครงสรางภายนอกถูกออกแบบมาใหมีสวนประกอบท้ังหมดอยูบนโครงสรางเดียวกัน มีอุปกรณตอขยาย (Expansion Modules) เพื่อเพิ่มจํานวนอินพุตหรอืเอาตพุตของ PLC มีใหเลือกเพิ่มไดท้ังแบบดิจิตอลและแบบอนาล็อก หรืออินพุตเอาตพุตแบบพิเศษเฉพาะงาน มีอุปกรณส่ังงานและจอแสดงผล (Text Display and Touch Screen) ชวยส่ือสารขอมูลกับ PLC และใชสายเคเบ้ิล PC/PPI ในการเช่ือมตอเพื่อส่ือสารขอมูลระหวางคอมพิวเตอรกับ PLC การอางพื้นท่ีของหนวยความจํา CPU เขาถึงไดจากการกําหนดตัวอักษร I (Input) , Q (Output) , M (Bit Memory) , T (Timer) และ C (Counter) โดยมีขนาดของขอมูลเปน Byte, Word หรือ Double Word

Page 38: หน วยที่ 1 ความรู พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร ... file/Research/Programmable_Controller_240360.pdf ·

37

แบบฝกหัดหนวยท่ี 3 คุณสมบัติของ PLC SIEMENS รุน SIMATIC S7–200

1. จากรูป จงบอกช่ือตําแหนงของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร (PLC) ลงในชองวางใหถูกตอง

ตําแหนง A คือ …...………………………………………………………………………………………………………………… ตําแหนง B คือ …...………………………………………………………………………………………………………………… ตําแหนง C คือ …...………………………………………………………………………………………………………………… ตําแหนง D คือ …...………………………………………………………………………………………………………………… ตําแหนง E คือ …...………………………………………………………………………………………………………………… ตําแหนง F คือ …...………………………………………………………………………………………………………………… ตําแหนง G คือ …...………………………………………………………………………………………………………………… ตําแหนง H คือ …...………………………………………………………………………………………………………………… ตําแหนง I คือ …...…………………………………………………………………………………………………………………

Page 39: หน วยที่ 1 ความรู พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร ... file/Research/Programmable_Controller_240360.pdf ·

38

2. จงตอบคําถามตอไปนี ้2.1 Digital input/output/max number of channels with expansion modules 48/46/94

หมายความวา.............................................................................................................................. .....................................................................................................................................................

2.2 อุปกรณตอขยาย (Expansion Modules) หมายถึง..................................................................... .....................................................................................................................................................

2.3 อุปกรณส่ังงานและจอแสดงผล (Text Display and Touch Screen) คืออุปกรณท่ีทําหนาท่ี.....................................................................................................................................................

2.4 สาย PC/PPI Cable คือ ............................................................................................................... .....................................................................................................................................................

2.5 การอางตําแหนง Address เพื่อเขาถึงตําแหนงอินพุต เอาตพุต สามารถกําหนดขนาดขอมูลเปนแบบใด...........................................................................................................................................

2.6 การอางตําแหนง Address เพื่อเขาถึงตําแหนงอินพุต ในหนวยความจํา PLC SIEMENS รุน SIMATIC S7–200 เขียนแทนดวยตัวอักษรใด.............................................................................

2.7 ชนิดของขอมูลแบบ BYTE มีขนาดของขอมูล เทากับ................................................................... 2.8 ชนิดของขอมูลแบบ INT มีขนาดของขอมูล เทากับ....................................................................... 2.9 ชนิดของขอมูลแบบ WORD มีขนาดของขอมูล เทากับ................................................................. 2.10 หนวยความจําพิเศษ ตําแหนง SM 0.5 มีคุณสมบัติคือ...............................................................

Page 40: หน วยที่ 1 ความรู พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร ... file/Research/Programmable_Controller_240360.pdf ·

39

หนวยท่ี 4 โปรแกรม STEP 7 Micro/WIN รหัสวิชา 2104-2109 วิชาการโปรแกรมและควบคุมไฟฟา สอนคร้ังท่ี 4

42สาระการเรียนรู

1) ขอแนะนํากอนการติดต้ังโปรแกรม STEP 7 – Micro/WIN 2) การติดต้ังโปรแกรม STEP 7 – Micro/WIN 3) สวนประกอบของโปรแกรม STEP 7 – Micro/WIN 4) การติดตอส่ือสาร (Communication) ระหวางคอมพิวเตอรกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร 5) การเปล่ียนคาพารามิเตอร (Parameter) ของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร 6) ขอกําหนดในการเขียนโปรแกรม 7) การเขียนโปรแกรมเบ้ืองตน

42จุดประสงคท่ัวไป เพื่อใหผูเรียนมีความรูเกี่ยวกับโปรแกรม STEP 7 – Micro/WIN อาทิ การติดต้ังโปรแกรม

สวนประกอบของโปรแกรม STEP 7 – Micro/WIN สามารถติดตอส่ือสารระหวางคอมพิวเตอรกับ PLC เปล่ียนคาพารามิเตอรของ PLC อธิบาย42ขอกําหนด และเขียนโปรแกรมเบื้องตน42โดยใชคําส่ังพื้นฐานได42 รวมถึงเปนผูมีคุณธรรม จริยธรรมและคุณลักษณะอันพงึประสงค42 สอดคลองกับจรรยาบรรณวิชาชีพ

42จุดประสงคการเรียนรูประจําหนวย 42ดานความรู 1) บอกความหมายของสวนประกอบและสัญลักษณของโปรแกรม STEP 7 – Micro/WIN ได42

ถูกตอง 2) บอกการติดตอส่ือสารระหวางคอมพิวเตอรกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอรได42ถูกตอง 3) บอกจุดประสงคของเปล่ียนคาพารามิเตอรของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอรได42ถูกตอง 4) บอกขอกําหนดในการเขียนโปรแกรมไดถูกตอง 5) บอกการเขียนโปรแกรม42เบ้ืองตน42โดยใชกลุมคําส่ังพื้นฐานได42ถูกตอง 6) บอกข้ันตอนการทํางานของโปรแกรม42เบ้ืองตน42ได42ถูกตอง ดานทักษะ 1) ติดตอส่ือสารระหวางคอมพิวเตอรกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอรไดถูกตอง 2) เขียนโปรแกรม42เบ้ืองตน42โดยใชคําส่ังพื้นฐานไดถูกตอง 3) ตออุปกรณอินพุตของเครื่องโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอรไดถูกตอง ดาน42คุณธรรม จริยธรรม 42และคุณลักษณะท่ีพึงประสงค 1) เพื่อใหมี42คุณธรรม จริยธรรม42และคุณลักษณะท่ีพึงประสงคสอดคลองกับจรรยาบรรณวิชาชีพ

42สมรรถนะประจําหนวย 1) ติดต้ังโปรแกรม STEP 7 – Micro/WIN ตามข้ันตอนไดถูกตอง 2) บอกสวนประกอบของโปรแกรม STEP 7 – Micro/WIN ไดถูกตอง

Page 41: หน วยที่ 1 ความรู พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร ... file/Research/Programmable_Controller_240360.pdf ·

40

3) แสดงวิธีการติดตอส่ือสาร(Communication) ระหวางคอมพิวเตอรกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร ไดถูกตอง 4) เปล่ียนคาพารามิเตอร (Parameter) ของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอรไดถูกตอง 5) บอกขอกําหนดในการเขียนโปรแกรมไดถูกตอง 6) แสดงวิธีการเขียนโปรแกรมเบ้ืองตนโดยใชคําส่ังพื้นฐานไดถูกตอง 7) แสดงวิธีการตออุปกรณอินพุตของเครื่องโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอรไดถูกตอง

คําแนะนํา หนวยท่ี 4 โปรแกรม STEP 7 Micro/WIN ใชรวมกับ 1) ใบงานท่ี 1 การทํางานแบบ On-Off (1) 2) ใบงานท่ี 2 การตออุปกรณอินพุต

Page 42: หน วยที่ 1 ความรู พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร ... file/Research/Programmable_Controller_240360.pdf ·

41

หนวยท่ี 4 โปรแกรม STEP 7 Micro/WIN

การเขียนโปรแกรมเพื่อส่ังงาน PLC SIEMENS S7–200 ตองใชซอฟแวร STEP 7 Micro/WIN ใน

การเขียนโปรแกรม สําหรับผูท่ียังไมมีโปรแกรมจะตองทําการติดต้ังโปรแกรม STEP 7 Micro/WIN กอน การติดต้ังสามารถทําไดโดยเตรียมอุปกรณสําหรับการติดต้ังและทําตามลําดับข้ันตอน ซึ่งในหนวยนี้เปนการอธิบายข้ันตอนในการติดต้ังโปรแกรม STEP 7 Micro/WIN V4.0 SP9

4.1 ขอแนะนํากอนการติดต้ัง โปรแกรม STEP 7 Micro/WIN - เครื่องคอมพิวเตอรท่ีมีระบบปฏิบัติการ Windows 7 (32 bit หรือ 64 bit) - CD โปรแกรม STEP 7 Micro/WIN V4.0 SP9

กอนการติดต้ังโปรแกรม STEP 7 Micro/WIN V4.0 SP9 จะตองติดต้ังโปรแกรม STEP 7 V4.0 SP7 กอน เมื่อติดต้ัง V4.0 SP7 เสร็จ ถึงจะสามารถติดต้ังโปรแกรม V4.0 SP9 ได หากขามข้ันตอนไปติดต้ังโปรแกรม V4.0 SP9 โดยไมติดต้ังโปรแกรม V4.0 SP7 ระบบจะแสดงขอความ ดังรูปท่ี 4.1

รูปท่ี 4.1 ขอความระบบไมสามารถดําเนินการติดต้ังโปรแกรม SP9 ได

ใหติดต้ังโปรแกรม STEP 7 Micro/WIN V4.0 SP7 โดยทําตามข้ันตอนการติดต้ังไปเรื่อย ๆ จนครบ ระบบจะให Restart เครื่อง รอจนระบบ Restart เครื่องเสร็จ จากนั้นจึงเริ่มข้ันตอนการติดต้ังโปรแกรม STEP 7 Micro/WIN V4.0 SP9

4.2 การติดต้ังโปรแกรม STEP 7 Micro/WIN V4.0 SP9 ข้ันตอนการติดต้ัง โปรแกรม STEP 7 Micro/WIN V4.0 SP9 มีข้ันตอนดังนี ้1) ใสแผน CD โปรแกรม STEP 7 Micro/WIN SP9 ลงใน Drive CD – ROM 2) เปด Windows Explorer คลิกเลือก Drive CD – ROM จากนั้น ดับเบ้ิลคลิก ท่ีไอคอน Setup

ดังรูปท่ี 4.2

รูปท่ี 4.2 ไอคอน Setup

Page 43: หน วยที่ 1 ความรู พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร ... file/Research/Programmable_Controller_240360.pdf ·

42

3) จะปรากฏหนาตางเลือกภาษาท่ีใชในโปรแกรมติดต้ังข้ึนมา ใหคลิก (1) เลือก English (United States) จากนั้น คลิก (2) ปุม NEXT ดังรูปท่ี 4.3

รูปท่ี 4.3 หนาตาง เลือกภาษาท่ีใชในการติดต้ัง

4) ระบบจะเริ่มดําเนินการ ข้ันตอนในการติดต้ัง ดังรูปท่ี 4.4

รูปท่ี 4.4 หนาตางข้ันตอนในการติดต้ัง

5) จะมีขอความให Uninstall โปรแกรม STEP 7 Micro/WIN V4.0 SP7 ใน Add / Remove Programs ใหคลิกปุม OK ดังรูปท่ี 4.5

รูปท่ี 4.5 หนาตางใหถอนการติดต้ังโปรแกรม STEP 7 Micro/WIN V4.0 SP7

(1)

(2)

Page 44: หน วยที่ 1 ความรู พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร ... file/Research/Programmable_Controller_240360.pdf ·

43

6) จากนั้นใหไปท่ีเมนู Start > Control Panel > คลิกท่ี 7) คลิก (1) เลือก SIMATIC STEP 7 Micro/WIN V4.0.7.10 แลวคลิก (2) Uninstall

ดังรูปท่ี 4.6

รูปท่ี 4.6 ข้ันตอนการถอนการติดต้ังโปรแกรม STEP 7 Micro/WIN V4.0 SP7

8) ระบบจะเริ่มข้ันตอนถอนการติดต้ัง เมื่อเสร็จส้ินระบบจะส่ัง Restart เครื่อง ให Restart ตามคําแนะนํา จากนั้นจึงเริ่มข้ันตอนในการติดต้ังโปรแกรม STEP 7 Micro/WIN V4.0 SP9 ใหมอีกครั้ง โดยให Double Click ท่ีไฟล Setup ในแผน CD โปรแกรม STEP 7 Micro/WIN V4.0 SP9 ดังรูปท่ี 4.7

รูปท่ี 4.7 ไอคอน Setup

9) จะปรากฏหนาตางเลือกภาษาท่ีใชในโปรแกรมติดต้ังข้ึนมา ใหคลิก (1) เลือก English (United States) จากนั้น คลิก (2) ปุม NEXT ดังรูปท่ี 4.8

รูปท่ี 4.8 หนาตางเลือกภาษาท่ีใชในการติดต้ัง

(2)

(1)

Page 45: หน วยที่ 1 ความรู พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร ... file/Research/Programmable_Controller_240360.pdf ·

44

10) จะปรากฏหนาตาง เริ่มตนข้ันตอนการติดต้ังใหคลิก Next ดังรูปท่ี 4.9

รูปท่ี 4.9 หนาตางเริ่มตนข้ันตอนการติดต้ัง

11) จะปรากฏหนาตางสวน License Agreement ใหคลิกปุม Yes ดังรูปท่ี 4.10

รูปท่ี 4.10 สวน License Agreement คลิก Yes

Page 46: หน วยที่ 1 ความรู พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร ... file/Research/Programmable_Controller_240360.pdf ·

45

12) เลือกตําแหนงโฟลเดอรปลายทาง (Destination Folder) ท่ีจะติดต้ังโปรแกรม หากตองการเปล่ียนแปลง คลิก Browse เพื่อเลือกตําแหนงใหม หรือถายอมรับตําแหนงโฟลเดอรปลายทาง การติดต้ังตามท่ีโปรแกรมกําหนด ใหคลิกเลือก Next ดังรูปท่ี 4.11

รูปท่ี 4.11 หนาตาง Select folder where Setup will install files คลิกเลือก Next

13) ระบบจะเริ่มดําเนินการติดต้ัง ดังรูปท่ี 4.12

รูปท่ี 4.12 หนาตางเริ่มดําเนินการติดต้ัง

Page 47: หน วยที่ 1 ความรู พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร ... file/Research/Programmable_Controller_240360.pdf ·

46

14) การติดต้ังจะดําเนินตอไป ใหรอจนกระท่ังปรากฏหนาตาง InstallShield Wizard Complete แสดงวาข้ันตอนในการติดต้ังสมบูรณ จากนั้น คลิก Finish ดังรูปท่ี 4.13

รูปท่ี 4.13 หนาตาง InstallShield Wizard Complete คลิกเลือก Finish

15) เมื่อเปดเครื่องคอมพิวเตอร และเขาสูหนาตางปกติของระบบ Windows ใหสังเกต Icon โปรแกรม V4.0 STEP 7 Micro/WIN SP9 บนหนาตาง Desktop ใหดับเบ้ิลคลิกเมาสทางซาย ท่ี Icon โปรแกรม STEP 7 รอสักครู หนาตางแรกของโปรแกรม จะปรากฏข้ึนดังรูปท่ี 4.14

รูปท่ี 4.14 หนาตางแรกของโปรแกรม V4.0 STEP 7 Micro/WIN SP9

Page 48: หน วยที่ 1 ความรู พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร ... file/Research/Programmable_Controller_240360.pdf ·

47

4.3 สวนประกอบของโปรแกรม STEP 7 Micro/WIN สวนประกอบของโปรแกรม V4.0 STEP 7 Micro/WIN SP9 รายละเอียดดังรูปท่ี 4.15

รูปท่ี 4.15 หนาตางโปรแกรม V4.0 STEP7 Micro/WIN SP9

สวนประกอบของโปรแกรม V4.0 STEP 7 Micro/WIN SP9 มีความหมายดังนี้

1) Menu bar เปนแถบเมนซูึ่งแสดงคําส่ังของโปรแกรม ไดแก กลุมคําส่ัง File, Edit, View, PLC, Debug, Tool, Windows, Help

2) Tool bars เปนแถบเครื่องมือ ซึ่งแสดงรูป ของไอคอนคําส่ัง ท่ีเรียกใชงานบอย 3) Navigation bar เปนแถบนําทาง ซึ่งแสดงกลุมของการควบคุมไดแก (1) กลุม View ปุมควบคุมสําหรับ Program Block, Symbol Table, Status Chart

Data block, Cross Reference, Communication และ Set PG/PC Interface (2) กลุม Tool ปุมควบคุมสําหรับคําส่ัง Wizard 4) Instruction Tree เปนสวนแสดงกลุมคําส่ังท่ีใชในการเขียนโปรแกรม สามารถคลิกเมาสท่ี

เครื่องหมาย + หนาโฟลเดอรเพื่อเปดชุดคําส่ัง โดยสามารถลากหรือดับเบ้ิลคลิก คําส่ังท่ีตองการ เพื่อมาวางในสวนพื้นท่ีเขียนโปรแกรม Program Editor

5) Output Windows เปนสวนแสดงหนาตางเอาตพุตท่ีแสดงขอมูล เมื่อติดตอส่ือสารกับ PLC เชน การตรวจสอบโปรแกรม (Compile) โปรแกรมจะแสดงขอความบอกรายละเอียดในการตรวจสอบ

6) Status bar เปนแถบสถานะแสดงการทํางานของโปรแกรม STEP 7 Micro/WIN 7) Program Editor หรือ Main Program เปนสวนพื้นท่ีในการเขียนโปรแกรม

Page 49: หน วยที่ 1 ความรู พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร ... file/Research/Programmable_Controller_240360.pdf ·

48

4.3.1 แถบเคร่ืองมือมาตรฐาน (Standard Toolbar) แถบเครื่องมือมาตรฐานดังรูปท่ี 4.16 มีสัญลักษณ ช่ือและความหมายตามตารางท่ี 4.1 ดังนี้

รูปท่ี 4.16 สวนแถบเครื่องมือมาตรฐาน (Standard Toolbar)

ตารางท่ี 4.1 ความหมายแถบเคร่ืองมือมาตรฐาน (Standard Toolbar)

สัญลักษณและช่ือคําสั่ง ความหมาย

New Project

สราง Project ใหม

Open Project

เปด Project ท่ีสรางไวแลว

Save Project

บันทึก Project ท่ีกําลังทําอยู

Print

ส่ังพิมพ ออกทางเครื่องพิมพ

Print Preview

ดู Project กอนส่ังพิมพ

Cut

ตัดขอมูลสวนท่ีเลือกไว ออกจาก Project และสามารถนําขอมูลในสวนท่ีถูกตัด นําไปวางไวในตําแหนงท่ีตองการ

Copy คัดลอกขอมูลสวนท่ีเลือกไวจาก Project และวางไวในตําแหนงท่ีตองการ

Paste

วางขอมูลในสวนท่ีเลือกไว จากคําส่ัง Cut หรือ Copy มาวางไวใน Project ในตําแหนงท่ีตองการ

Undo

ยกเลิกคําส่ังท่ีเพิ่งกระทํากอนหนา หรือท่ีเพิ่งกระทําลาสุด

Compile

ตรวจสอบขอผิดพลาดในหนาท่ีกําลังเขียนอยูในปจจุบัน

Compile All

ตรวจสอบขอผิดพลาดท้ังหมด ท้ัง Program Block , Data Block และ System Block ในการออกแบบโปรแกรม Project ปจจุบัน

Upload

ดึงขอมูลหรือโปรแกรมจาก PLC ข้ึนมายังโปรแกรม STEP 7 Micro/WIN ใน Project ใหม

Download

นํา Project ท่ีออกแบบในโปรแกรม STEP 7 Micro/WIN Download ลงใน PLC

Sort Ascending

เรียงลําดับช่ือ หรือ Address จากอักษร A – Z ในหนา Symbol Table และ Status Chart

Sort Descending

เรียงลําดับช่ือ หรือ Address จากอักษร Z – A ในหนา Symbol Table และ Status Chart

Option

เปดหนาตางขอกําหนด (Option) เพื่อเขาไปแกไข คาตาง ๆ

Page 50: หน วยที่ 1 ความรู พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร ... file/Research/Programmable_Controller_240360.pdf ·

49

4.3.2 แถบเคร่ืองมือตรวจสอบแกไข (Debug Toolbar) แถบเครื่องมือตรวจสอบแกไข ดังรูปท่ี 4.17 มีสัญลักษณ ช่ือและความหมายตามตารางท่ี 4.2 ดังนี ้

รูปท่ี 4.17 แถบเครื่องมือตรวจแก (Debug Toolbar) ตารางท่ี 4.2 ความหมายแถบเคร่ืองมือตรวจแก (Debug Toolbar)

สัญลักษณและช่ือคําสั่ง คําสั่ง : ความหมาย

RUN

เริ่มตนข้ันตอนส่ังการทํางานของ PLC

STOP

หยุดข้ันตอนส่ังการทํางานของ PLC

Program Status

ดูสภาวะการทํางานของโปรแกรมภายใน PLC

Pause Program Status หยุดดูสภาวะการทํางานของโปรแกรมภายใน PLC ช่ัวคราว

Chart Status ดูคาภายใน Address ของ PLC ท่ีตองการบนหนา Status Chart แบบ Real time

Pause Trend View หยุดแสดงคากราฟ แผนภูมิสถานะ คาภายใน Address ของ PLC ท่ีตองการใหคางคางสภาวะปจจุบัน

Single Read ดูคาภายในAddress ของ PLC ท่ีตองการบนหนา Status Chart ท่ีคาปจจุบันแคครั้งเดียวเทานั้น

Write All เขียนคาตาง ๆ ลงไปใน Address ท่ีตองการของ PLC

Force บังคับสถานะ การทํางาน Input , Output ให On–Off โดยไมข้ึนกับโปรแกรม

Unforce ยกเลิกการบังคับสถานะกานทํางานInput , Output เฉพาะสวนท่ีเลือกเทานั้น

Unforce All ยกเลิกการบังคับสถานะกานทํางาน Input , Output ท้ังหมด

Read All Forced ใชในการอาน Contact หรือ Coil ท่ีถูกบังคับสถานะท้ังหมด โดยแสดงท่ีหนา Status Chart

Trend View : แสดงคากราฟ แผนภูมิสถานะ คาภายใน Address ตาง ๆ ของ PLC

Page 51: หน วยที่ 1 ความรู พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร ... file/Research/Programmable_Controller_240360.pdf ·

50

4.3.3 แถบเคร่ืองมือท่ัวไป (Common Toolbar) แถบเครื่องมือท่ัวไป ดังรูปท่ี 4.18 มีสัญลักษณ ช่ือและความหมายตามตารางท่ี 4.3 ดังนี ้

รูปท่ี 4.18 แถบเครื่องมือท่ัวไป (Common Toolbar) ตารางท่ี 4.3 ความหมายแถบเคร่ืองมือท่ัวไป (Common Toolbar)

สัญลักษณและช่ือคําสั่ง ความหมาย

Insert Network

แทรก Network เพิ่มเขาไปในพื้นท่ีการออกแบบโปรแกรมบน Project

Delete Network

ลบ Network ออกจากพื้นท่ีการออกแบบโปรแกรมบน Project

Toggle POU Comments

เปด / ปด การแสดงขอความอธิบายโปรแกรม POU (Program Organizational Unit)

Toggle Network Comments

เปด / ปด การแสดงขอความอธิบายบน Network

Toggle Symbol Information Table

เปด / ปด หนาตางรายละเอียดขอความของ Symbol , Address และ Comment

Toggle Bookmark

เปด / ปดการเลือกท่ีค่ัน Network ท่ีตองการดูสถานการณทํางานตาง ๆ

Next Bookmark

การเคล่ือนยายท่ีค่ัน Network ถัดไปบนโปรแกรม

Previous Bookmark

การเคล่ือนยายท่ีค่ัน Network ท่ีผานมาบนโปรแกรม

Remove All Bookmarks

ยกเลิกการใชงานท่ีค่ัน Network ท้ังหมด

Apply All Symbol in Project

ปรับปรุงการแกไขรายช่ือของ Symbol ในตารางแสดงรายละเอียดของขอความของ Symbol , Address และ Comment

Create Table Undefined Symbols

ตรวจเช็คการกําหนดรายช่ือของ Symbol ถามีขอผิดพลาด (Error) จะสรางหนา Symbol Table เพิ่มข้ึนมาทันที

Page 52: หน วยที่ 1 ความรู พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร ... file/Research/Programmable_Controller_240360.pdf ·

51

4.3.4 แถบเคร่ืองมือคําสั่ง (Instruction Toolbar) แถบเครื่องมือคําส่ังดังรูปท่ี 4.19 มีสัญลักษณ ช่ือและความหมายตามตารางท่ี 4.4 ดังนี้

รูปท่ี 4.19 แถบเครื่องมือคําส่ัง (Instruction Toolbar)

ตารางท่ี 4.4 แถบเคร่ืองมือคําสั่ง (Instruction Toolbar)

สัญลักษณและช่ือคําสั่ง ความหมาย

Line Down การเช่ือมตอเสนลงดานลาง

Line Left

การเช่ือมตอเสนไปทางซาย

Line Right

การเช่ือมตอเสนไปทางขวา

Contact ชุดคําส่ังท่ีอยูในรูปแบบ Contact เชน Normally Open , Compare , Positive Transition

Coil ชุดคําส่ังท่ีอยูในรูปแบบ Coil เชน Output , Jump – Label , Set , Reset

Box ชุดคําส่ังท่ีอยูในรูปแบบ Box เชน Timer , Counter , Move

4.3.5 แถบดําเนินการ (Navigation Bar) เปนแถบท่ีใชเลือกคําส่ังตาง ๆ ของโปรแกรม เชน คําส่ัง Program Block, Symbol Table, Status Chart และ Communication เปนตน มีสัญลักษณ ช่ือและความหมายตามตารางท่ี 4.5

ตารางท่ี 4.5 สวนประกอบตาง ๆ บนแถบดําเนินการ (Navigation Bar)

สัญลักษณและช่ือคําสั่ง ความหมาย

Program Block เปดหนาตางท่ีใชสรางโปรแกรมหรือจัดการในสวนของโปรแกรม

Symbol Table

ใชสําหรับกําหนดช่ือคําส่ังหรือสัญลักษณและรายละเอียดตาง ๆ

Status Chart

ใชแสดงคาสถานะของ Address ตาง ๆ ภายใน PLC เชน Timer , Counter , V Memory

Data Block ใชในกําหนดขอมูลใหกับ PLC

System Block เปนการกาํหนดแกไขคาระบบตาง ๆ ของ PLC

Cross Reference ใชในการดูรายละเอียดตาง ๆ ท้ังหมดของ Address

Communications ใชในการติดตอส่ือสารระหวางคอมพิวเตอรกับ PLC

Set PG/PC Interface

การกําหนดรูปแบบการเช่ือมตอท่ีใชในการติดตอขอมูล

Page 53: หน วยที่ 1 ความรู พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร ... file/Research/Programmable_Controller_240360.pdf ·

52

4.3.6 สวนประกอบตาง ๆ ของ Instruction Tree ในโปรแกรม STEP 7 Micro/WIN

รูปท่ี 4.20 สวนประกอบตาง ๆ ใน Instruction Tree

4.4 การติดตอสื่อสาร (Communication) ระหวางคอมพิวเตอรกับโปรแกรมเมเบลิคอนโทรลเลอร การติดตอส่ือสาร (Communication) สามารถทําไดดังนี ้1) ในสวนของ Navigation bar จะมี Icon Communication ท่ีใชสําหรับติดตอส่ือสารขอมูล

ระหวางคอมพิวเตอรกับ PLC ได โดยเล่ือนเมาสไปช้ีท่ี Communication คลิกเมาสซาย 1 ครั้ง ดังรูป ท่ี 4.21

รูปท่ี 4.21 วิธีการ Communication

(ก) สวนของขอมูลและรายละเอียด ของ Project เชน Program Block, Symbol Table, Tool เปนตน

(ข) สวนของชุดคําส่ัง ของ STEP 7 Micro/WIN เชน กลุมคําส่ัง Bit Logic, Counters, Timers เปนตน

Page 54: หน วยที่ 1 ความรู พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร ... file/Research/Programmable_Controller_240360.pdf ·

53

2) จะปรากฏหนาตาง Communications ข้ึนมา ใหเล่ือนเมาสไปช้ีท่ีขอความ Double Click to Refresh จากนั้นดับเบ้ิลคลิกเมาสซาย 1 ครั้ง ดังรูปท่ี 4.22

รูปท่ี 4.22 ข้ันตอนการ Communication

3) หากติดตอส่ือสารขอมูลระหวาง PLC กับ Computer สําเร็จ จะปรากฏรูป PLC พรอมขอความบอกขนาด CPU ของ PLC ข้ึนมา ดังรูปท่ี 4.23

รูปท่ี 4.23 การติดตอขอมูลระหวางคอมพิวเตอรกับ PLC ท่ีสมบูรณ

4) หากการติดตอส่ือสารขอมูลระหวาง PLC กับ Computer ไมสําเร็จ จะแสดงขอความวา Error: Communications time – out ดังรูปท่ี 4.24 แสดงถึงการเช่ือมตอมีขอผิดพลาด ใหตรวจสอบการเช่ือมตอสายเคเบ้ิล ความเร็ว Baud Rate และการต้ังคา Port ท่ี Set PG/PC Interface ทําไดโดยการเล่ือนเมาสไปท่ี Set PG/PC Interface คลิกเมาสซาย 1 ครั้ง ดังรูปท่ี 4.24

Page 55: หน วยที่ 1 ความรู พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร ... file/Research/Programmable_Controller_240360.pdf ·

54

รูปท่ี 4.24 หนาตาง Communication

5) เล่ือนเมาสไปท่ีปุม Properties คลิกเมาสซาย 1 ครั้ง ดังรูปท่ี 4.25

รูปท่ี 4.25 หนาตาง Set PG/PC Interface 6) จะปรากฏหนาตาง Properties – PC/PPI Cable (PPI) ข้ึนมา คลิกท่ี Tap หัวขอ Local

Connection ดังรูปท่ี 4.26

Page 56: หน วยที่ 1 ความรู พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร ... file/Research/Programmable_Controller_240360.pdf ·

55

รูปท่ี 4.26 หนาตาง Properties คลิกท่ี Local Connection

7) ตรวจสอบการเช่ือมตอ Port ท่ี Connection to วากําหนด Port ถูกตองหรือไม ถาสายเคเบ้ิลเปนหัวตอแบบ USB ตองต้ังเปนตําแหนง USB หรือถาเปนหัวตอแบบ Serial ตองต้ังเปนตําแหนง COM Port เชน Com 1 หรือ Com 2 ใหตรงกับหมายเลขของ Port ท่ีตออยู ดังรูปท่ี 4.27

รูปท่ี 4.27 หนาตาง Properties – PC/PPI cable (PPI)

8) หากการติดตอส่ือสารขอมูล (Communication) แลว ปรากฏขอความ Error ใหตรวจ Error เบ้ืองตน ดังนี้ คือ

(1) เช่ือมตอสาย PC/PPI cable ระหวาง คอมพิวเตอรกับ PLC แลวหรือไม (2) จายไฟเขาเครื่อง PLC แลวหรือไม (3) ต้ังคา Dipswitch กําหนดคา Baud Rate ถูกตองหรือไม (หัวตอ RS232) (4) ไดกําหนด Port หัวตอสายเคเบ้ิล ถูกตองแลวหรือไม

9) หลังทําการตรวจเช็ค Error เบ้ืองตน ให Communication อีกครั้ง ดังรูปท่ี 4.28

Page 57: หน วยที่ 1 ความรู พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร ... file/Research/Programmable_Controller_240360.pdf ·

56

รูปท่ี 4.28 การ Communication 4.5 การเปลี่ยนคาพารามิเตอร (Parameter) ของโปรแกรมเมเบลิคอนโทรลเลอร

การเปล่ียนคาพารามิเตอร (Parameter) ของ PLC สามารถทําไดดังนี ้1) คลิก (1) เปดท่ีเมนู View เล่ือนลงมาท่ี Component เลือก System Block หรือคลิก (2) ท่ี

ไอคอน System Block บน Navigation Bar หรือ ดังรูปท่ี 4.29

รูปท่ี 4.29 วิธีเปล่ียนคาพารามิเตอร

(2)

(1)

Page 58: หน วยที่ 1 ความรู พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร ... file/Research/Programmable_Controller_240360.pdf ·

57

2) จะปรากฏหนาตาง System Block คลิก (1) ท่ี Communication Port (2) คา PLC Address จะต้ังไวท่ี 2 และคลิก (3) คา Baud Rate ของ PLC จะต้ังไวท่ี 9.6 Kbps คลิกปุม OK ถาตองการเปล่ียนคาใหใชเมาสคลิกเพื่อเปล่ียน จากนั้นคลิก (4) ปุม OK ดังรูปท่ี 4.30

รูปท่ี 4.30 วิธีต้ังคาพารามิเตอรท่ี Communication Ports

3) คลิกท่ีไอคอนคําส่ัง Download เพื่อ load คาพารามิเตอรเขา PLC ดังรูปท่ี 4.31

รูปท่ี 4.31 ไอคอนคําส่ัง Download

(4)

(2)

(3)

(1)

Page 59: หน วยที่ 1 ความรู พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร ... file/Research/Programmable_Controller_240360.pdf ·

58

4.6 ขอกําหนดในการเขียนโปรแกรม 1) จํานวนคอนแทคของ Inputs/Outputs , Auxiliary Relay (M) , TIM , CNT สามารถนํามาใช

ไดตามความตองการของผูเขียนโปรแกรม แตการเขียนโปรแกรมท่ีดี ตองพยายามเขียนโปรแกรมใหส้ัน หรือนอยท่ีสุด เพื่อจะทําใหความเร็วในการประมวลผลการทํางาน (Scan time) มีคานอยลง

2) การเขียนโปรแกรมเพื่อตอ Coil ใหกับ Bus ทางซายโดยตรงไมสามารถทําได ในกรณีท่ีตองการ ใหมีลักษณะการทํางานเหมือนกับตอกับ Bus ทางซายโดยตรง ใหนํารีเลยพิเศษ SM0.0 (Bit Always On) มีสภาวะเปน “ On” เมื่อ Run โปรแกรมมาใชงาน

รูปท่ี 4.32 (ก) Ladder Diagram ท่ีถูกตอง (ข) Ladder Diagram ท่ีไมถูกตอง

3) ไมสามารถเขียนโปรแกรมโดยท่ีมีคอนแทคอยูทางขวาของเอาตพุต Coil ได

รูปท่ี 4.33 (ก) Ladder Diagram ท่ีถูกตอง (ข) Ladder Diagram ท่ีไมถูกตอง

4) จํานวนคอนแทคท่ีใชในการตออนุกรม หรือขนานสามารถใชไดไมจํากัดจํานวน ข้ึนอยูกับความตองการใชของผูเขียน

5) Output ทุก Output มีคอนแทคชวยสามารถใชคอนแทคชวยไดไมจํากัดจํานวน 6) Output Coil สามารถเขียนโปรแกรมใหขนานกันไดเพื่อรับสัญญาณจากอินพุตตําแหนง

เดียวกัน

รูปท่ี 4.34 Ladder Diagram ท่ีถูกตอง

7) ไมสามารถเขียนโปรแกรมใหมีการทํางานของ Output Coil 2 จุด ท่ีทํางานแยกจากกัน

Page 60: หน วยที่ 1 ความรู พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร ... file/Research/Programmable_Controller_240360.pdf ·

59

ใน 1 Network ได

รูปท่ี 4.35 (ก) Ladder Diagram ท่ีถูกตอง (ข) Ladder Diagram ท่ีไมถูกตอง 4.7 การเขียนโปรแกรมเบื้องตน ใหทดลองเขียนโปรแกรมตาม Ladder Diagram ดังรูปท่ี 4.32

รูปท่ี 4.36 Ladder Diagram

4.7.1 ข้ันตอนการเขียนโปรแกรม 1) เปดเครื่องคอมพิวเตอร เมื่อเขาสูหนาตางปกติของระบบ Windows ดับเบ้ิลคลิกท่ี Icon ของ

โปรแกรม STEP 7 Micro/WIN version 4.0 SP9 เพื่อเขาสูโปรแกรม 2) ตรวจสอบการต้ังคา Baud rate เทากับ 9.6 Kbyte (กรณีท่ีสายแบบหัวตอ RS232)

เช่ือมตอสายเคเบ้ิลระหวาง PLC กับ Computer ตรวจสอบ Mode Selector Switch ใหต้ังอยูตําแหนง TERM

3) ทําการติดตอส่ือสาร (Communication) ระหวางคอมพิวเตอรกับ PLC 4) เขียนโปรแกรมตาม Ladder โดยเล่ือนเมาสไปช้ีท่ีคําส่ัง Bit Logic ใน Instruction Tree

จากนั้นดับเบ้ิลคลิกเมาสซาย

Page 61: หน วยที่ 1 ความรู พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร ... file/Research/Programmable_Controller_240360.pdf ·

60

รูปท่ี 4.37 คําส่ัง Bit Logic

5) จะปรากฏคําส่ัง ท่ีใชในการเขียนโปรแกรม

รูปท่ี 4.38 คําส่ังท่ีใชในการเขียนโปรแกรม

6) การเลือกใชคําส่ังท่ีตองการใชงาน ใหเล่ือนเมาสไปช้ีท่ีคําส่ังนั้น ๆ จากนั้นดับเบ้ิลคลิกเมาสซาย

รูปท่ี 4.39 ข้ันตอนการเรียกคําส่ังท่ีตองการใช 7) หนาสัมผัสท่ีเรียกใชจะเขามาใน Main Program

คําส่ังท่ีใชในการเขียนโปรแกรม

Page 62: หน วยที่ 1 ความรู พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร ... file/Research/Programmable_Controller_240360.pdf ·

61

.

รูปท่ี 4.40 หนาสัมผัสท่ีตองการเขามาใน Main Program

8) เล่ือนเมาส เพื่อเลือกคําส่ังตอไป เขียนโปรแกรมตอตาม Ladder

รูปท่ี 4.41 ข้ันตอนการเขียนโปรแกรม

9) เขียนโปรแกรมตาม Ladder ตัวอยางจนครบ 10) การเรียกใชคําส่ังเพื่อเขาสูหนาจอหลัก (Main Program) มีวิธีลัด โดยไมตองดับเบ้ิลคลิกท่ี

คําส่ังทุกครั้ง แตใชวิธีคลิกเพื่อเรียกคําส่ังโดยตรง คือเล่ือนเมาสไปช้ีท่ี Bit Logic คลิกเมาสขวา 1 ครั้ง จะปรากฏหนาตางการต้ังคา ใหเล่ือนตัวเลือกลงมาท่ีคําส่ัง Single–Click to Open an Item ดังรูปท่ี 4.42 คลิกเมาสซาย 1 ครั้ง เพื่อเลือกใชงาน

รูปท่ี 4.42 ข้ันตอนการออกแบบโปรแกรม โดยวิธีลัด

คลิกเมาสขวา

เลือก

Page 63: หน วยที่ 1 ความรู พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร ... file/Research/Programmable_Controller_240360.pdf ·

62

11) เมื่อคลิกเลือกใชคําส่ัง Single–Click to Open an Item เวลาเลือกใชงานคําส่ังใด ๆ ก็เพียงคลิกเมาสซายท่ีคําส่ังหนาสัมผัสท่ีตองการ 1 ครั้ง คําส่ังนั้นจะเขามาใน Main Program ทันที (ไมตองใชวิธีดับเบ้ิลคลิกเมาสซาย ทําใหสามารถเขียนโปรแกรมไดรวดเร็วยิ่งข้ึน)

รูปท่ี 4.43 การออกแบบโปรแกรมหลังจากต้ังคา Single – Click to Open an Item

12) เมื่อเขียนโปรแกรม Ladder ครบตามท่ีกําหนด ใหพิมพตัวอักษรเพื่อกําหนดตําแหนงอินพุต เอาตพุต โดยการเล่ือนเมาสไปช้ีท่ีคําส่ังท่ีตองการพิมพกําหนดตําแหนง คลิกเมาสซาย 1 ครั้ง จะปรากฏสวนพื้นท่ีใหพิมพ พิมพตําแหนงใหตรงตามโปรแกรม แลวกด Enter เคอรเซอรจะเล่ือนไปคําส่ังถัดไป ใหพิมพตําแหนงอินพุต เอาตพุตจนครบตามโปรแกรมตัวอยาง

รูปท่ี 4.44 ข้ันตอนในการพิมพกําหนดตําแหนงอินพุต เอาตพุต

13) จะไดโปรแกรมตรงตามท่ีกําหนด ดังรูปท่ี 4.45

รูปท่ี 4.45 ข้ันตอนในการออกแบบโปรแกรม

Page 64: หน วยที่ 1 ความรู พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร ... file/Research/Programmable_Controller_240360.pdf ·

63

14) ข้ันตอนตอไป คือการตรวจสอบโปรแกรม (Compile) กอนจะ Download โปรแกรมเขาเครื่อง PLC และทดสอบโปรแกรม (RUN) ตามลําดับตอไป ในท่ีนี้ใหผูใชเลือกวิธีการตรวจสอบโปรแกรมท้ังหมด (Compile All) เพื่อตรวจสอบโปรแกรมและคาตาง ๆ ท่ีมีการกําหนดเรียกใชโดยเล่ือนเมาสไปช้ีท่ีคําส่ัง Compile All คลิกเมาสซาย 1 ครั้งดังรูปท่ี 4.46

รูปท่ี 4.46 คําส่ังตรวจสอบโปรแกรมท้ังหมด (Compile All)

15) จะปรากฏขอความจากการ Compile ข้ึนมา ในสวนของ Output Windows เชน Total Errors = 0 แสดงวาในการตรวจสอบท้ังหมดไมมีขอผิดพลาด แตถามีขอผิดพลาด (Error) จะมีขอมูลแสดงใหทราบทันที เชน Total Errors = 1 หรือ 2 พรอมแสดงรายละเอียดวาผิดพลาดในจุดใด แถวใด สวนใดดังรูปท่ี 4.47

รูปท่ี 4.47 ขอความในการ Compile ในสวนของ Output Windows

16) หาก Compile ผานไมมี Error (Error = 0) ข้ันตอนตอไปคือ การ Download ขอมูลไปยังหนวยความจําของ PLC (หากมีการแกไขหรือเปลี่ยนแปลงโปรแกรมจะตอง Compile Program และ Download ใหมทุกคร้ัง)

17) การ Download ใหเล่ือนเมาสไปช้ีท่ีคําส่ัง Download บน Tool Bars คลิกเมาส ดังรูปท่ี 4.48

รูปท่ี 4.48 คําส่ัง Download

Page 65: หน วยที่ 1 ความรู พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร ... file/Research/Programmable_Controller_240360.pdf ·

64

18) จะปรากฏหนาตาง Download ข้ึนมา เล่ือนเมาสไปช้ีท่ีคําส่ัง Download คลิกเมาสซาย 1 ครั้งดังรูปท่ี 4.49

รูปท่ี 4.49 หนาตาง Download

19) ข้ันตอนการ Download จะเริ่มข้ึน ดังรูปท่ี 4.50 รอจนกระท่ัง การ Download เสร็จสมบูรณ

รูปท่ี 4.50 ข้ันตอนขณะทําการ Download

Page 66: หน วยที่ 1 ความรู พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร ... file/Research/Programmable_Controller_240360.pdf ·

65

20) หาก Download เสร็จสมบูรณจะปรากฏขอความในสวน Output Windows ขอความวา Download to PLC Download was Successful (Download ไปท่ี PLC Download เสร็จส้ินสมบูรณ) ดังรูปท่ี 4.51

21) ข้ันตอนตอไปคือ การทดสอบการทํางานของโปรแกรม (Run Program) ใหเล่ือนเมาสไปช้ีท่ีคําส่ัง Run บนแถบ Tool bars คลิกเมาสซาย 1 ครั้ง ดังรูปท่ี 4.52

รูปท่ี 4.51 ขอความการ Compile รูปท่ี 4.52 คําส่ัง Run บน Tool bars

22) จะปรากฏหนาตาง RUN ข้ึนมา พรอมคําถาม Place the PLC in RUN mode (ตองการเปล่ียนโหมดเปนโหมด RUN หรือไม) ถาตองการเปล่ียนใหตอบ Yes ถาไมตองการเปล่ียนใหตอบ No (ในท่ีนี้ใหตอบ Yes) ดังรูปท่ี 4.53

23) สังเกตหลอดไฟแสดงโหมดการใชงานท่ี PLC จะเล่ือนไปติดท่ีโหมด RUN ข้ันตอนตอไป เล่ือนเมาสไปช้ีท่ีคําส่ัง Program Status บน Tool Bars จากนั้นคลิกเมาสซาย 1 ครั้ง เพื่อแสดงสถานะการทํางานของโปรแกรม ควบคูไปดวย ดังรูปท่ี 4.54

รูปท่ี 4.53 เลือก Yes รูปท่ี 4.54 การทํา Program Status บน Tool Bars

24) โปรแกรมจะปรากฏเปนเสนสีน้ําเงินเพื่อแสดงสถานะการทํางาน ทําใหรูสถานะของอินพุตและเอาตพุต และมองโปรแกรมไดชัดเจนยิ่งข้ึน ขณะทดสอบโปรแกรมดังรูปท่ี 4.55

รูปท่ี 4.55 สถานะของโปรแกรม

Page 67: หน วยที่ 1 ความรู พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร ... file/Research/Programmable_Controller_240360.pdf ·

66

25) การเปล่ียนโหมด PLC กลับไปท่ีโหมด STOP กรณีท่ีโปรแกรมท่ีเขียนเกิดขอผิดพลาด ตองการแกไขโปรแกรมหรือตองการหยุดการทํางานของเครื่อง ทําไดโดยการยกเลิกการทํางาน Program Status กอน คือการเล่ือนเมาสไปช้ีท่ีคําส่ัง Program Status คลิกเมาสซาย 1 ครั้ง เสนสีของโปรแกรมจะกลับเขาสูรูปปกติ ดังรูปท่ี 4.56

รูปท่ี 4.56 การยกเลิกการทํางาน Program Status สงผลใหเสนสีของโปรแกรมกลับเขาสูปกติ

26) ข้ันตอนตอไปคือ การเปล่ียนโหมด PLC กลับไปเปนโหมด STOP ทําไดโดยการเล่ือนเมาสไปช้ีท่ี คําส่ัง STOP ดังรูปท่ี 4.57

รูปท่ี 4.57 คําส่ัง STOP

27) คลิกเมาสซาย 1 ครั้ง จะปรากฏหนาตาง STOP พรอมกับคําถามวาตองการเปล่ียนเปนโหมด STOP หรือไม ถาตองการเปล่ียนใหตอบ Yes ถาไมตองการเปล่ียนใหตอบ No (ในท่ีนี้ใหตอบ Yes) ดังรูปท่ี 4.58

รูปท่ี 4.58 หนาตาง STOP เลือก Yes สังเกตไฟแสดงโหมดท่ีตัวเครื่องจะเปล่ียนเปน STOP

28) เมื่อเปล่ียนโหมดกลับไปท่ีโหมด STOP แลว สามารถแกไขเปล่ียนแปลงโปรแกรมไดตามตองการและเมื่อแกไขโปรแกรมเสร็จสมบูรณ ใหเริ่มตามข้ันตอนเดิมคือ การ Compile All, Download, RUN และ Program Status ตามลําดับตอไป

Page 68: หน วยที่ 1 ความรู พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร ... file/Research/Programmable_Controller_240360.pdf ·

67

บทสรุป การเขียนโปรแกรมเพื่อส่ังงาน PLC SIEMENS S7–200 ตองใชซอฟแวร STEP 7 Micro/WIN ซึ่ง

ควรติดต้ังตามข้ันตอน และโปรแกรม V4.0 STEP 7 Micro/WIN SP9 มีสวนประกอบดังนี ้1. แถบเครื่องมือมาตรฐาน (Standard Toolbar)

2. แถบเคร่ืองมือตรวจสอบแกไข (Debug Toolbar)

3. แถบเคร่ืองมือท่ัวไป (Common Toolbar)

4. แถบเคร่ืองมือคําสั่ง (Instruction Toolbar)

5. แถบดําเนินการ (Navigation Bar)

การใชงานโปรแกรม STEP 7 Micro/WIN ใหเปดโปรแกรมแลว Communication เพื่อติดตอส่ือสารขอมูลระหวางคอมพิวเตอรกับ PLC หากมีขอความวา Error: Communications time – out ใหตรวจสอบการเช่ือมตอสายเคเบ้ิล ความเร็ว Baud Rate และการต้ังคา Port ท่ี Set PG/PC Interface เมื่อเขียนโปรแกรม Ladder ครบตามท่ีกําหนดใหตรวจสอบโปรแกรม Compile All, Download, RUN และ Program Status ตามลําดับ

Page 69: หน วยที่ 1 ความรู พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร ... file/Research/Programmable_Controller_240360.pdf ·

68

แบบฝกหัดหนวยท่ี 4 โปรแกรม STEP 7 – Micro/WIN

จงตอบคําถามจากโจทยตอไปนี้ โดยเติมตัวเลือกท่ีถูกตองลงในวงเล็บ ตัวอยางเชน คําตอบขอ 1 คือ ขอ E

สัญลักษณ ตัวเลือก ความหมาย

1. ( E ) A Download : นํา Project ท่ีออกแบบในโปรแกรม STEP 7 Micro/WIN Download ลงใน PLC

2. ( ) B Compile All : ตรวจสอบขอผิดพลาดท้ังหมด ทุกสวนท้ัง Program Block , Data Block และ System Block

3. ( ) C STOP : หยุดข้ันตอนส่ังการทํางานของ PLC

4. ( ) D Delete Network : ลบ Network ออกจากพื้นท่ีการออกแบบโปรแกรมบน Project

5. ( ) E Save Project : บันทึก Project ท่ีกําลังทําอยู

6. ( ) F Program Block : เปดหนาตางท่ีใชสรางโปรแกรม หรือจัดการในสวนของโปรแกรม

7. ( ) G Undo : ยกเลิกคําส่ังท่ีเพิ่งกระทํากอนหนา หรือท่ีเพิ่งกระทําลาสุด

8. ( ) H Force : บังคับสถานการณทํางาน Input , Output ให On – Off โดยไมข้ึนกับโปรแกรม

9. ( ) I RUN : เริ่มตนข้ันตอนส่ังการทํางานของ PLC

10. ( ) J Upload : ดึง ขอมูลหรือโปรแกรม จาก PLC ข้ึนมายังโปรแกรม STEP 7 Micro/WIN ใน Project ใหม