หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการ ... ·...

70
หนวยที12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ อาจารย ดร.วิชญะ นาครักษ

Upload: others

Post on 22-May-2020

5 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการ ... · 2016-02-16 · หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจ

หนวยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ

อาจารย ดร.วิชญะ นาครักษ

Page 2: หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการ ... · 2016-02-16 · หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจ

หนวยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ อาจารย ดร.วิชญะ นาครักษ

2

หนวยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ

เคาโครงเนื้อหา

ตอนที่ 12.1 การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 12.1.1 ความรูท่ัวไปเกี่ยวกับระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 12.1.2 ระบบจัดการฐานขอมูล 12.1.3 ระบบคอมพิวเตอร 12.1.4 ระบบเครือขายคอมพิวเตอร

ตอนที่ 12.2 การพัฒนาและการประยุกตระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการทางธุรกิจ 12.2.1 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการโดยทั่วไป 12.2.2 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ 12.2.3 ระบบสารสนเทศสําหรับผูบริหารระดับสูง 12.2.4 ระบบผูเชี่ยวชาญ

แนวคิด 1. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการเปนระบบที่ใหขอมูลท่ีสัมพันธกับการดําเนินงานของหนวยงาน ท้ัง

ดานเจาของกิจการ ลูกจาง และคูคาท่ีเขามาเกี่ยวของกับองคกร การประมวลผลของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการจะชวยแบงเบาภาระการทํางาน และยังสามารถนําสารสนเทศที่ไดมาชวยในการตัดสินใจของผูบริหาร นอกจากนี้ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการในปจจุบันยังเปนระบบซึ่งรวมความสามารถของผูใชงานและคอมพิวเตอรเขาดวยกันเพื่อใหไดมาซึ่งสารสนเทศเพื่อการดําเนินงาน การจัดการ และการตัดสินใจในองคกรธุรกิจ การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการจึงจําเปนจะตองใชอุปกรณทางคอมพิวเตอร ฮารดแวร ซอฟตแวร รวมกับผูใช เพื่อกอใหเกิดความสําเร็จในการไดมาซึ่งสารสนเทศที่มีประโยชน

2. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการทางธุรกิจ เปนระบบที่ผสมผสานเทคโนโลยีสารสนเทศ และการทํางานของบุคลากรทุกระดับในองคกร เพื่อใหเกิดความคลองตัวในการทํางานและการใหบริการท่ีรวดเร็ว ตลอดจนใชเปนเครื่องมือในการชวยตัดสินใจดําเนินงานธุรกิจตางๆ ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการทางธุรกิจจึงเปนเรื่องท่ีทาทายสําหรับผูบริหาร

วัตถุประสงค

เมื่อศึกษาหนวยท่ี 12 จบแลว นักศึกษาสามารถ 1. อธิบายแนวคิดการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการได 2. อธิบายกระบวนการพัฒนาและการประยุกตระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการทางธุรกิจได

Page 3: หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการ ... · 2016-02-16 · หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจ

หนวยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ อาจารย ดร.วิชญะ นาครักษ

3

ตอนที่ 12.1 การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ

โปรดอานแผนการสอนประจําตอนที่ 12.1 แลวจึงศึกษาเนื้อหาสาระ พรอมปฏิบัติกิจกรรมในแตละเรื่อง

หัวเรื่อง

เรื่องท่ี 12.1.1 ความรูท่ัวไปเกี่ยวกับระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ เรื่องท่ี 12.1.2 ระบบจัดการฐานขอมูล เรื่องท่ี 12.1.3 ระบบคอมพิวเตอร เรื่องท่ี 12.1.4 ระบบเครือขายคอมพิวเตอร

แนวคิด 1. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ คือระบบที่รวบรวมและจัดเก็บขอมูลจากแหลงขอมูลตางๆ ท้ังภายใน

และภายนอกองคกรธุรกิจอยางมีหลักเกณฑ เพื่อนํามาประมวลผล และจัดรูปแบบใหไดสารสนเทศที่ชวยสนับสนุนการทํางานและการตัดสินใจในดานตางๆ ของผูบริหาร เพื่อใหการดําเนินงานขององคกรธุรกิจเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ

2. ระบบจัดการฐานขอมูล เปนชุดคําสั่งซึ่งทําหนาท่ีสราง ควบคุม และดูแลระบบฐานขอมูล เพื่อชวยใหผูใชสามารถเขาถึงขอมูล คัดเลือกขอมูล และสามารถนําขอมูลมาใชงานไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยท่ีระบบจัดการฐานขอมูลจะทําหนาท่ีเสมือนตัวกลางระหวางชุดคําสั่งสําหรับการใชงานตางๆ กับหนวยเก็บขอมูล

3. ระบบคอมพิวเตอรมีสวนประกอบพื้นฐานที่สําคัญ ไดแก หนวยรับขอมูล หนวยประมวลผลกลาง หนวยจัดเก็บขอมูล และหนวยแสดงผล

4. ระบบเครือขายคอมพิวเตอร เปนระบบสื่อสารที่เช่ือมโยงคอมพิวเตอรและอุปกรณตางๆ ตั้งแต 2 ระบบเขาดวยกัน เพื่อใหสามารถสื่อสารขอมูลระหวางกันหรือรวมกัน และทํากิจกรรมดานดานสารสนเทศอยางมีประสิทธิภาพ

วัตถุประสงค

เมื่อศึกษาตอนที่ 12.1 จบแลว นักศึกษาสามารถ 1. อธิบายแนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการได 2. อธิบายองคประกอบและความสําคัญของระบบจัดการฐานขอมูลได 3. อธิบายองคประกอบและความสําคัญของระบบคอมพิวเตอรได 4. อธิบายองคประกอบและความสําคัญของระบบเครือขายคอมพิวเตอรได

Page 4: หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการ ... · 2016-02-16 · หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจ

หนวยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ อาจารย ดร.วิชญะ นาครักษ

4

เร่ืองที่ 12.1.1 ความรูทั่วไปเกีย่วกับระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 1. ความหมายของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ

ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information System หรือ MIS) หมายถึง ระบบที่รวบรวมและจัดเก็บขอมูลจากแหลงขอมูลตางๆ ท้ังภายในและภายนอกองคกรธุรกิจอยางมีหลักเกณฑ เพื่อนํามาประมวลผล และจัดรูปแบบใหไดสารสนเทศที่ชวยสนับสนุนการทํางานและการตัดสินใจในดานตางๆ ของผูบริหาร เพื่อใหการดําเนินงานองคกรธุรกิจเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ

ดังนั้น ถาระบบใดประกอบดวยหนาท่ีหลัก 2 ประการคือ 1) สามารถเก็บรวบรวมขอมูลจากแหลงตางๆ ท้ังจากภายในและภายนอกองคกรธุรกิจมาไวดวยกันอยางเปนระบบ และ 2) สามารถทําการประมวลผลขอมูลเพื่อใหไดสารสนเทศที่ชวยสนับสนุนการปฏิบัติงานและการบริหารงานของผูบริหาร ระบบนั้นก็สามารถถูกจัดเปนระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ

ภาพที่ 12.1 หนาท่ีหลักของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการไมจําเปนตองสรางขึ้นจากอุปกรณคอมพิวเตอร ระบบสารสนเทศเพื่อการ

จัดการอาจสรางขึ้นมาโดยระบบอะไรก็ได แตตองปฏิบัติหนาท่ีหลักทั้ง 2 ประการขางตนได แตเหตุท่ีในปจจุบันคอมพิวเตอรเปนอุปกรณท่ีมีประสิทธิภาพในการจัดการขอมูลมากกวาอุปกรณชนิดอื่น สามารถทําการบันทึกขอมูลไดในปริมาณมาก หลากหลายรูปแบบ เปนระบบ รวดเร็ว ถูกตอง แมนยํา เชื่อถือได ทําใหในปจจุบันคอมพิวเตอรจึงกลายเปนอุปกรณหลักในการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ แตสําหรบในอนาคต ถามีผูใดสามารถสรางอุปกรณอื่นที่ไมไดเรียกวาคอมพิวเตอร และสามารถปฏิบัติหนาท่ีหลักในการจัดเก็บ คนหา และประมวลผลขอมูลไดอยางมีประสิทธิภาพ ระบบดังกลาวก็นับวาเปนระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการไดเชนกัน

สําหรับขอมูลและสารสนเทศนับไดวาเปนองคประกอบที่สําคัญของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ โดยมีผูใหคํานิยามของขอมูลไวมากมาย แตโดยทั่วไป “ขอมูล” หมายถึง ขอมูลดิบที่ถูกรวบรวมจากแหลงตางๆ ท้ังภายในและภายนอกองคกรธุรกิจ โดยขอมูลดิบจะยังไมมีความหมายในการนําไปใชประโยชนหรือตรงตามความตองการของผูใช ขณะที่ “สารสนเทศ” หมายถึง ผลลัพธท่ีไดจากการประมวลผลขอมูลดิบที่ถูกจัดเก็บไวอยางเปนระบบ โดยผลลัพธท่ีไดสามารถนําไปปฏิบัติงาน โดยเฉพาะการตัดสินใจแกปญหาหรือเลือกโอกาสทางธุรกิจ ดังนั้นสารสนเทศจึงเปนขอมูลท่ีมีความหมายหรือตรงตามความตองการของผูใช ขอมูลท่ีดียอมเปนวัตถุดิบที่มีคุณภาพสําหรับสารสนเทศ ขอมูลและสารสนเทศที่มีคุณภาพจะชวยใหไดระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการที่ดี ชวยผูบริหารในการตัดสินใจวางแผน กําหนดเปาหมาย และแกปญหาในการดําเนินงานที่เกิดข้ึนไดอยางดี

ระบบสารสนเทศ เพื่อการจัดการ

รวบรวมขอมูล

ประมวลผลขอมูล

Page 5: หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการ ... · 2016-02-16 · หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจ

หนวยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ อาจารย ดร.วิชญะ นาครักษ

5

ในการศึกษาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ นอกจากคําวาขอมูลและสารสนเทศแลว จะเปนตองมีความเขาใจกับคําวา “ความรู” ดวย โดยความรูหมายถึง สารสนเทศที่สามารถตีความ ทําความเขาใจ และนําไปใชในการแกปญหาหรือการตัดสินใจในการดําเนินธุรกิจใหประสบความสําเร็จ ซึ่งตองอาศัยประสบการณในการเลือกสารสนเทศมาใชในการแกไขปญหาไดอยางเหมาะสม

2. สาเหตุที่ทําใหเกิดระบบสารสนเทศเพื่อการจดัการ

ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการในปจจุบันเปนระบบที่ใหขอมูลท่ีสัมพันธกับการดําเนินงานของหนวยงาน ทั้งดานเจาของกิจการ ลูกจาง และคูคาที่เขามาเกี่ยวของกับองคกร การประมวลผลของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการจะชวยแบงเบาภาระการทํางาน และยังสามารถนําสารสนเทศที่ไดมาชวยในการตัดสินใจของผูบริหาร นอกจากนี้ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการในปจจุบันยังเปนระบบซึ่งรวมความสามารถของผูใชงานและคอมพิวเตอรเขาดวยกันเพื่อใหไดมาซึ่งสารสนเทศเพื่อการดําเนินงาน การจัดการ และการตัดสินใจในองคกรธุรกิจ ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการจึงจําเปนจะตองใชอุปกรณทางคอมพิวเตอร ฮารดแวร ซอฟตแวร รวมกับผูใช เพื่อกอใหเกิดความสําเร็จในการไดมาซึ่งสารสนเทศที่มีประโยชน สําหรับสาเหตุท่ีทําใหเกิดสารสนเทศเพื่อการจัดการ มีดังนี้

1. พัฒนาการของความรู สิ่งประดิษฐ หรือผลิตภัณฑใหมๆ เมื่อวิทยาการความรู สิ่งประดิษฐ หรือผลิตภัณฑใหมๆ เกิดข้ึน สารสนเทศก็จะเกิดข้ึนตามมาดวย จากนั้นก็จะมีการเผยแพรสารสนเทศไปยังแหลงตางๆ จึงตองทําใหมีการจัดการสารสนเทศตามมาดวย

2. พัฒนาการของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร เทคโนโลยีคอมพิวเตอรเปนเครื่องมือสําคัญของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ เมื่อเทคโนโลยีคอมพิวเตอรพัฒนาอยางรวดเร็ว มีประสิทธิภาพเพิ่มข้ึน ทําใหสามารถนําคอมพิวเตอรมาใชในการจัดการสารสนเทศไดสะดวกและรวดเร็วข้ึน

3. พัฒนาการของเทคโนโลยีการสื่อสาร การสื่อสารในปจจุบันชวยอํานวยความสะดวกในการเผยแพรสารสนเทศไปยังแหลงตางๆ ไดอยางรวดเร็ว ผูคนทั่วโลกสามารถรับทราบเหตุการณและขาวสารที่เกิดข้ึนไดในเวลาใกลเคียงกับเหตุการณท่ีเกิดข้ึนจริง ระบบการจัดการสนเทศจึงมีความจําเปนตอการนําสารสนเทศมาใชงาน

4. พัฒนาการของเทคโนโลยีการพิมพ เทคโนโลยีการพิมพนับเปนเทคโนโลยีดานหนึ่งท่ีมีการพัฒนาควบคูไปกับเทคโนโลยีคอมพิวเตอรและการสื่อสาร เทคโนโลยีการพิมพท่ีมีความสามารถและประสิทธิภาพสูงชวยใหการผลิตสารสนเทศกระทําไดในปริมาณมากในเวลาอันสั้น สงผลใหตองมีการจัดการกับปริมาณของสารสนเทศที่เพิ่มข้ึนอยางรวดเร็วดวยเชนกัน

3. คุณลักษณะของสารสนเทศสําหรับระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ

ในการดําเนินชีวิตประจําวัน หรือแมแตการปฏิบัติงานใดๆ ก็ตาม รวมไปถึงการศึกษาคนควาวิจัยตางๆ จําเปนจะตองใชสารสนเทศที่มีคุณคาเพื่อแกปญหาตางๆ รวมท้ังเปนขอมูลสําหรับการตัดสินใจ ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการจึงเกิดข้ึนเพื่อตอบสนองความตองการดังกลาว โดยสารสนเทศที่มีคุณภาพจะชวยใหระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการมีประโยชนตอผูบริหารยิ่งข้ึนตอการตัดสินใจไดอยางมีประสิทธิภาพ คุณลักษณะของสารสนเทศที่ดีมีคุณภาพควรจะมีลักษณะดังตอไปนี้

Page 6: หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการ ... · 2016-02-16 · หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจ

หนวยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ อาจารย ดร.วิชญะ นาครักษ

6

1. ถูกตองแมนยํา (accurate) สารสนเทศที่มีความถูกตองจะตองปราศจากขอผิดพลาดใดๆ อยางไรก็ตามถาขอมูลท่ีปอนเขาสูกระบวนการประมวลผลไมถูกตอง ก็อาจกอใหเกิดสารสนเทศที่ไมถูกตองได

2. สมบูรณครบถวน (complete) สารสนเทศที่มีความสมบูรณจะตองประกอบดวยขอเท็จจริงท่ีสําคัญอยางครบถวน

3. เขาใจงาย (simple) สารสนเทศที่มีคุณภาพจะตองเขาใจงาย ไมซ้ําซอนตอการทําความเขาใจ 4. ทันตอเวลา (timely) สารสนเทศที่ดีนอกจากจะมีความถูกตองแลว ขอมูลตองทันสมัย และรวดเร็วทัน

ตอเวลาและความตองการของผูใชในการตัดสินใจ 5. เชื่อถือได (reliable) สารสนเทศที่เชื่อไดข้ึนอยูกับความนาเชื่อถือของวิธีการรวบรวมขอมูลท่ีนําเขาสู

ระบบ 6. คุมคา (economical) สารสนเทศที่ผลิตควรจะตองมีความประหยัด เหมาะสม คุมคากับราคา ผูบริหาร

มักจะพิจารณาถึงคุณคาของสารสนเทศกับราคาที่จะตองจายเพื่อการไดมาซึ่งสารสนเทศนั้นๆ 7. ตรวจสอบได (verifiable) สารสนเทศจะตองตรวจสอบความถูกตองได ผูใชสามารถตรวจสอบขอมูล

เพื่อความมั่นใจวามีความถูกตองตอการนําไปตัดสินใจได ซึ่งอาจมีการตรวจสอบขอมูลโดยการเปรียบเทียบกับขอมูลลักษณะเดียวกันจากแหลงขอมูลหลายๆ แหง

8. ยืดหยุน (flexible) สารสนเทศที่มีคุณภาพนั้นจะสามารถนําไปใชไดในวัตถุประสงคท่ีแตกตางกันหลายๆ ดาน

9. สอดคลองกับความตองการ (relevant) สารสนเทศที่มีคุณภาพจะตองมีความสอดคลองกับความตองการ ตรงตามวัตถุประสงค และสนองความตองการของผูใชเพื่อการตัดสินใจ

10. สะดวกในการเขาถึง (accessible) สารสนเทศจะตองงายและสะดวกตอการเขาถึงขอมูลตามระดับสิทธิของผูใช เพื่อจะไดขอมูลหรือสารสนเทศที่ถูกตองตามรูปแบบและทันตอความตองการของผูใช

11. ปลอดภัย (secure) สารสนเทศจะตองถูกออกแบบและจัดการใหมีความปลอดภัยจากผูท่ีไมมีสิทธิในการเขาถึงขอมูลหรือสารสนเทศนั้น

4. ประโยชนของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ

ถาพิจารณายอนไปในอดีตจะพบวาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการไดเกิดข้ึนและนํามาใชงานมานานแลว แตอาจจะอยูในรูปแบบอื่น เชน การบันทึกขอมูลลงบนกระดาษ การจัดทําทะเบียนประวัติ แตเนื่องจากขอบเขตของการดําเนินธุรกิจยังจํากัด ปริมาณขอมูลไมมาก หรือยังไมตองการความรวดเร็วในการดําเนินการมากนัก สามารถจัดการไดโดยการบันทึกลงกระดาษและประมวลผลโดยใชแรงงานคน ก็สามารถทําใหธุรกิจที่ดําเนินอยูกระทําไดดวยดีและประสบผลสําเร็จได แตตอมาเมื่อธุรกิจไดมีการขยายตัวมากขึ้น จากระดับทองถิ่นไปสูระดับประเทศ หรือระดับชาติ ประกอบกับลูกคา รวมท้ังคูแขง ก็เพิ่มมากขึ้น ทําใหปริมาณขอมูลท่ีเกี่ยวของมีมากขึ้น การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการจึงมีความจําเปนที่จะตองมองหาอุปกรณอื่นเขามาแทนการบันทึกลงบนกระดาษ เพื่อใหทันกับปริมาณขอมูล และสามารถประมวลผลไดอยางรวดเร็ว รูปแบบและอุปกรณท่ีนํามาใชกับระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการจึงมีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงไปมาก และในทางกลับกันทําใหระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการพัฒนามากขึ้นไปดวย โดยระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการชวยสรางประโยชนตอการดําเนินงานขององคกรธุรกิจไดดังนี้

Page 7: หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการ ... · 2016-02-16 · หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจ

หนวยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ อาจารย ดร.วิชญะ นาครักษ

7

1. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการชวยใหผูใชสามารถเขาถึงสารสนเทศที่ตองการไดอยางรวดเร็วและทันตอเหตุการณ เนื่องจากขอมูลถูกจัดเก็บและบริหารอยางเปนระบบ ทําใหผูบริหารสามารถเขาถึงขอมูลไดอยางรวดเร็วในรูปแบบที่เหมาะสม และสามารถนําขอมูลมาใชประโยชนไดทันตอความตองการ

2. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการชวยใหการกําหนดเปาหมายกลยุทธและการวางแผนปฏิบัติการ โดยผูบริหารจะสามารถนําขอมูลท่ีไดจากระบบสารสนเทศมาชวยในการวางแผน และกําหนดเปาหมายในการดําเนินงาน เนื่องจากสารสนเทศถูกเก็บรวบรวมและจัดการอยางเปนระบบ ทําใหมีประวัติของขอมูลอยางตอเนื่อง สามารถที่จะบงช้ีแนวโนมของการดําเนินงานวา นาจะเปนไปในลักษณะใด

3. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการชวยผูใชในการตรวจสอบผลการดําเนินงาน เมื่อแผนงานถูกนําไปปฏิบัติในชวงระยะเวลาหนึ่ง ผูควบคุมจะตองตรวจสอบผลการดําเนินงานโดยนําขอมูลบางสวนมาประมวลผล เพื่อประกอบการประเมิน สารสนเทศที่ไดจะแสดงใหเห็นผลการดําเนินงานวาสอดคลองกับเปาหมายที่ตองการเพียงใด

4. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการชวยผูใชในการศึกษาและวิเคราะหสาเหตุของปญหา ผูบริหารสามารถใชระบบสารสนเทศประกอบการศึกษา และการคนหาสาเหตุหรือขอผิดพลาดที่เกิดข้ึนในการดําเนินงาน ถาการดําเนินงานไมเปนไปตามแผนที่วางไว โดยอาจจะเรียกขอมูลเพิ่มเติมมาจากระบบเพื่อใหทราบวาความผิดพลาดในการปฏิบัติงานเกิดข้ึนจากสาเหตุใด หรือจัดรูปแบบสารสนเทศในการวิเคราะหปญหาใหม

5. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการชวยใหผูใชสามารถวิเคราะหปญหาหรืออุปสรรคที่เกิดข้ึน เพื่อหาวิธีควบคุม ปรับปรุงและแกไขปญหา สารสนเทศที่ไดจากการประมวลผลจะชวยใหผูบริหารวิเคราะหไดวา การดําเนินงานในแตละทางเลือกจะชวยแกไขหรือควบคุมปญหาที่เกิดข้ึนไดอยางไร ธุรกิจตองทําอยางไรเพื่อปรับเปลี่ยน หรือพัฒนาใหการดําเนินงานเปนไปตามแผนงานหรือเปาหมาย

6. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการชวยลดคาใชจาย ระบบสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพจะชวยใหธุรกิจลดเวลา แรงงาน และคาใชจายในการทํางานลง เนื่องจากระบบสารสนเทศรับภาระงานที่ตองใชแรงงานจํานวนมาก ตลอดจนชวยลดขั้นตอนในการทํางาน สงผลใหธุรกิจสามารถลดจํานวนคนและระยะเวลาในการประสานงานใหนอยลง โดยผลงานท่ีออกมาอาจเทาหรือดีกวาเดิม ซึ่งจะเปนการเพิ่มประสิทธิภาพและศักยภาพในการแขงขันของธุรกิจ

เทคโนโลยีสารสนเทศจึงมีสวนชวยเพิ่มประสิทธิภาพในการดําเนินงาน และการแขงขันของธุรกิจทั้งในปจจุบันและอนาคต โดยท่ีระบบสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพจะจัดระบบสารสนเทศในหนวยงานใหสามารถตอบสนองความตองการของผูใช ซึ่งจะทําใหการปฏิบัติงานและการแกไขปญหาสะดวก รวดเร็ว และถูกตอง ซึ่งจะสงผลตอการเพิ่มประสิทธิภาพในการดําเนินงานของธุรกิจ

5. องคประกอบของระบบสารสนเทศเพื่อการจดัการ

ในอดีตสารสนเทศไมไดรับการยอมรับวาเปนทรัพยากรท่ีสําคัญมากนักทางธุรกิจดังเชนในปจจุบัน เมื่อกอนผูบริหารไมจําเปนตองเขาใจกระบวนการรวบรวม การจัดเก็บ การประมวลผล และการบริหารสารสนเทศขององคกรธุรกิจ ไมตองรูจักเทคโนโลยีการจัดการสารสนเทศ แตปจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทสําคัญตอการดําเนินงาน ธุรกิจตองการระบบสารสนเทศที่มีอยูอยางมีประสิทธิภาพเพื่อการดํารงอยูและเจริญเติบโตขององคกรธุรกิจ โดยที่เทคโนโลยีสารสนเทศไดแทรกตัวเขาไปอยูตามสวนตางๆ ของหนวยงาน เทคโนโลยีสารสนเทศมีสวนชวยธุรกิจให

Page 8: หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการ ... · 2016-02-16 · หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจ

หนวยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ อาจารย ดร.วิชญะ นาครักษ

8

ประสบความสําเร็จในอนาคต และสามารถแขงขันกับธุรกิจอื่นได ดังนั้นผูบริหารในปจจุบันจึงตองเขาใจวิธีการใชงานและโครงสรางของระบบสารสนเทศ ซึ่งระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการประกอบดวยสวนประกอบหลัก 5 สวนไดแก

1. ระบบจัดการฐานขอมูล เปนสวนสําคัญอยางยิ่งของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ มีคํากลาววา ขอมูล คือหัวใจของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ เพราะวาสารสนเทศที่มีคุณภาพมาจากขอมูลท่ีดี เชื่อถือได ทันสมัย และถูกจัดเก็บอยางเปนระบบ ซึ่งผูใชสามารถเขาถึงและใชงานไดอยางสะดวกและรวดเร็ว ดังนั้น ระบบจัดการฐานขอมูลจึงเปนสวนประกอบสําคัญที่ชวยใหระบบสารสนเทศมีความสมบูรณ และสามารถปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพ

2. ระบบคอมพิวเตอร คอมพิวเตอรเปนเครื่องมือท่ีใชจัดเก็บและประมวลผลขอมูล ปจจุบันระบบสารสนเทศจะใชเครื่องคอมพิวเตอรเปนอุปกรณหลักในการจัดการขอมูล ซึ่งจะประกอบดวยสวนประกอบที่สําคัญคือ

2.1 ฮารดแวร หมายถึง ตัวเครื่องหรือสวนประกอบของเครื่องคอมพิวเตอร อุปกรณตอพวงเพื่อใชในการจัดทําสารสนเทศ เชน แปนพิมพ เมาส จอภาพ เครื่องพิมพ และอุปกรณอื่นๆ

2.2 ซอฟตแวร หมายถึง ชุดคําสั่งท่ีทําหนาท่ีรวบรวมและจัดการเก็บขอมูล เพื่อใชในการบริหารงานหรือการตัดสินใจ

3. ระบบเครือขายคอมพิวเตอร เปนการเชื่อมตอคอมพิวเตอรเพื่อการสื่อสารและแลกเปลี่ยนขอมูลโดยผานสื่อนําขอมูลตางๆ เชน สายโทรศัพท สายเคเบิล หรือดาวเทียม เปนตน

4. บุคลากร เปนบุคคลที่จัดการใหคอมพิวเตอรทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ ตลอดจนทํางานรวมกับผูใชเพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศใหตรงกับความตองการของหนวยงาน

5. กระบวนการทํางาน เปนกฎเกณฑหรือขอบังคับ คําแนะนําในการใชโปรแกรม ซอฟตแวร ฮารดแวร และการกระทํากับขอมูล โดยท่ัวไปกระบวนการทํางานจะเขียนเปนเอกสารคูมือการปฏิบัติงาน หรือคูมือการใชงาน

ภาพที่ 12.2 องคประกอบของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ

ฮารดแวร

บุคลากร ระบบเครือขายคอมพิวเตอร MIS

ซอฟตแวร

กระบวนการทํางาน ระบบจัดการฐานขอมูล

Page 9: หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการ ... · 2016-02-16 · หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจ

หนวยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ อาจารย ดร.วิชญะ นาครักษ

9

6. บุคลากรที่เกี่ยวของกับระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ปจจุบันหนวยงานภาคธุรกิจตางนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชงานตามสวนงานตางๆ ของหนวยงาน

ตั้งแตการปฏิบัติการ การวางแผนงาน การควบคุม ตลอดจนถึงการตัดสินใจของผูบริหารระดับสูง การใชงานสารสนเทศจะชวยสงเสริมศักยภาพในการบริหารงานใหกับผูบริหาร โดยผูจัดการแตละระดับจะมีความตองการการใชงานสารสนเทศที่แตกตางกัน ซึ่งสามารถแบงบุคลากรที่เกี่ยวของกับระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการไดเปน 3 ระดับ

1. พนักงานระดับปฏิบัติการ เปนบุคคลท่ีปฏิบัติงานระดับลางสุด ปฏิบัติงานแบบวันตอวัน เกี่ยวของกับลูกคาอยางใกลชิด

2. ผูบริหารระดับตน เปนบุคคลท่ีมีหนาท่ีรับผิดชอบในการดูแลปฏิบัติงานของพนักงานระดับปฏิบัติการ ไดแก หัวหนางาน หัวหนาหนวย หัวหนาสวน หรือหัวหนาแผนก โดยผูบริหารระดับตนจะปฏิบัติงานเกี่ยวของกับพนักงานระดับปฏิบัติการอยางใกลชิด ปกติผูบริหารระดับตนจะตัดสินใจวางแผนและแกปญหางานประจําวัน จึงตองการขอมูลท่ีเกิดข้ึนอยางละเอียด

3. ผูบริหารระดับกลาง เปนบุคคลที่ทําหนาท่ีควบคุมและประสานงานระหวางผูบริหารระดับตนและผูบริหารระดับสูง เพื่อใหการประสานงานในหนวยงานราบรื่น ทําใหผูบริหารระดับตนและพนักงานระดับปฏิบัติการสามารถปฏิบัติงานตามนโยบายที่มาจากผูบริหารระดับสูงอยางถูกตองและสมบูรณ ตัวอยางของผูบริหารระดับกลาง เชน ผูจัดการสาขา ผูจัดการฝาย หรือผูอํานวยการฝาย เปนตน งานของผูบริหารระดับกลาง จะเกี่ยวของการนําผลสรุปของขอมูลท่ีเกิดจากการปฏิบัติงานของพนักงานระดับปฏิบัติการมาวิเคราะหปญหาและหาแนวทางปรับปรุงการดําเนินงาน เพื่อใหไดผลงานตรงตามเปาหมายและมีประสิทธิภาพ

4. ผูบริหารระดับสูง เปนกลุมบุคคลที่ทําการกําหนดวิสัยทัศน ทิศทาง วางนโยบาย และแผนงานระยะยาวขององคกรธุรกิจ โดยอาศัยขอสรุปและสารสนเทศจากกลุมผูบริหารระดับกลาง และผลการปฏิบัติงานของหนวยงาน ตลอดจนนําขอมูลสําคัญจากภายนอกองคกรธุรกิจเขามารวมในการวิเคราะห ตัวอยางของผูบริหารระดับสูงไดแก คณะผูบริหารระดับสูง ประธานบริษัท กรรมการผูจัดการ หรือผูวาการ เปนตน

7. การประยุกตใชงานระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการในทางธรุกิจ

ธุรกรรมพาณิชยอิเล็กทรอนิกส (electronic commerce หรือ e-commerce) เปนตัวอยางหนึ่งของการประยุกตใชระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการในทางธุรกิจ โดยพาณิชยอิเล็กทรอนิกส คือ การทําธุรกิจผานสื่ออิเล็กทรอนิกส โดยอาศัยบริการ EDI1 และ E-mail ซึ่งเปนบริการที่อาศัยระบบเครือขายอินเทอรเน็ต ขอดีของการพาณิชยอิเล็กทรอนิกสสําหรับผูบริโภค ไดแก การซื้อสินคาไดโดยไมตองเบียดเสียดกับผูคนตางๆ สามารถซื้อสินคาไดตลอดเวลาที่ตองการ และสามารถซื้อสินคาไดทุกทีไมวาจะอยูท่ีบานหรือท่ีทํางาน

1 การแลกเปลี่ยนขอมูลอิเล็กทรอนิกส (Electronic Data Interchange หรือ EDI) คือ การสื่อสารขอมูลในรูปแบบมาตรฐานหรือรูปแบบที่ไดรับการยอมรับจากกลุมผูแลกเปลี่ยนขอมูล เพื่อนําไปดําเนินการทางธุรกิจ โดยสงผานเครือขายส่ือสาร เชน โทรศัพท ดาวเทียม เปนตน การแลกเปลี่ยนขอมูลอิเล็กทรอนิกสมีประโยชนอยางมากในการทําการพาณิชยอิเล็กทรอนิกส เพราะชวยลดคาใชจาย ไดขอมูลที่ถูกตอง รวดเร็ว และชวยลดงานดานเอกสาร

Page 10: หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการ ... · 2016-02-16 · หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจ

หนวยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ อาจารย ดร.วิชญะ นาครักษ

10

ในโลกของธุรกรรมพาณิชยอิเล็กทรอนิกส องคกรธุรกิจจะมีการเชื่อมโยงขาวสารกับลูกคา ท้ังทางดานการประชาสัมพันธสินคา การซื้อขาย การบริการหลังการขาย ลักษณะการเชื่อมโยงขอมูลขาวสารดานนี้จะเนนในเรื่องการสรางความสัมพันธท่ีดีกับลูกคาหรือการบริหารความสัมพันธกับลูกคา (Customer Relationship Management หรือ CRM) หรือในทางกลับกัน ก็จะเปนการเชื่อมโยงทําการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารและดําเนินธุรกิจรวมกันทางดานการสั่งวัตถุดิบ การซื้อสินคาหรือการใชบริการดวยเชนกัน ดังนั้นโครงสรางการประกอบกิจกรรมอิเล็กทรอนิกสเพื่อแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารระหวางกันจะมีบทบาทและความสําคัญมาก แตอยางไรก็ตามพื้นฐานของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการขององคกรธุรกิจสวนใหญจะมีลักษณะคลายกัน เชน งานกิจกรรมการดําเนินการ การเงิน และการบัญชี เปนตน การเชื่อมโยงทํางานรวมกันระหวางกลุมเปนสิ่งท่ีตองใหความสําคัญ โดยเฉพาะเครือขายแลน (LAN) และแวน (WAN) ไดเขามามีบทบาทสําคัญตอการดําเนินการมากในปจจุบัน

ภาพที่ 12.3 ตัวอยางระบบงานดานธุรกรรมพาณิชยอิเล็กทรอนิกสของธนาคารพาณิชยแหงหนึ่ง

หลังจากศึกษาเนื้อหาเรือ่งท่ี 12.1.1 แลวโปรดปฏิบัติกิจกรรม 12.1.1

ในแนวการศึกษาหนวยท่ี 12 ตอนที่ 12.1 เรือ่งที่ 12.1.1

Page 11: หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการ ... · 2016-02-16 · หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจ

หนวยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ อาจารย ดร.วิชญะ นาครักษ

11

เร่ืองที่ 12.1.2 ระบบจัดการฐานขอมูล

1. พัฒนาการของการจัดระเบียบขอมูล เผาพันธุมนุษยถือกําเนิดและมีวิวัฒนาการมายาวนาน มนุษยสามารถดํารงเผาพันธุได และสามารถเอาชนะ

สัตวรายตางๆ ท้ังๆ ท่ีมนุษยไมมีเขี้ยว เล็บ หรือความวองไวเหมือนสัตวท่ัวไป แตสามารถเอาชนะสัตวและธรรมชาติตางๆ ดวยอาศัยการเรียนรู และสรางประสบการณใหกับตัวเอง อีกทั้งสืบทอดและถายทอดความรูจากรุนหนึ่งไปสูอีกรุนหนึ่งไดมาก เมื่อประมาณหาแสนปท่ีแลว มนุษยยังรวมกันอยูในถ้ํา ลาสัตวเปนอาหาร สังคมมนุษยเริ่มรูจักการสื่อสารดวยภาษาพูดเมื่อประมาณหาหมื่นปท่ีผานมา และเริ่มพัฒนาเรียนรู สื่อสารระหวางกันจนในที่สุดพัฒนาความคิด และความกาวหนาในดานตางๆ ไดมาก

ขอมูลเปนสิ่งท่ีจําเปนสําหรับการดํารงเผาพันธุ และการเอาชนะภัยอันตรายตางๆ อีกทั้งทําใหสภาพความเปนอยูดีข้ึน มนุษยจึงคิดคนตัวอักษรท่ีใชในการบันทึกเรื่องราว เหตุการณ หรือกลาวไดวาเปนการเก็บรวบรวมขอมูล ขาวสาร และ ความรูไวใช หรือถายทอดตอไป ตัวอักษรท่ีใชแทนคําพูดมีมาเมื่อประมาณหาพันปท่ีผานมา คือเมื่อวิทยาการตางๆ มีมากขึ้น ความสําคัญของการเรียนรูจึงมีความจําเปน การบันทึกความรอบรูและเรื่องราวตางๆ มีจํานวนมาก ดังนั้นจึงมีการคิดหาวิธีการบันทึกเรื่องราว และจัดการขอมูลขาวสารตางๆ เพื่อกอประโยชนตอการใชงาน ระบบการพิมพไดพัฒนาขึ้น มีการสรางหนังสือสิ่งพิมพตางๆ มากมาย วิทยาการที่เกิดข้ึนจากการบันทึกเปนหนังสือสําหรับเลาเรียนนั้นเกิดข้ึนในชวงหารอยปท่ีผานมา ครั้นถึงยุคอิเล็กทรอนิกส มีการคิดคนและพัฒนาอุปกรณการสงกระจายสัญญาณและการประมวลผล มีการสรางคอมพิวเตอรและระบบสื่อสารโทรคมนาคมสมัยใหม การสื่อสารรูปแบบใหม มีการเก็บบันทึกขอมูลขาวสารจํานวนมหาศาล ท้ังในรูปตัวหนังสือ รูปภาพ เสียง และภาพเคลื่อนไหวไวในสื่ออิเล็กทรอนิกส ในชวงหาสิบปหลังนี้ถือไดวามีพัฒนาการไดเร็วมากกวาหลายพันปกอนหนา มีระบบสื่อสารอินเทอรเน็ตเชื่อมโยงกันทั่วโลก การเขาถึงขอมูลขาวสารทําไดมากและรวดเร็ว มีระบบโทรศัพทไรสายที่ทําใหติดตอสื่อสารอยางสะดวกและคลองตัว ทําใหรูปแบบของการเรียนรูตองปรับเปลี่ยนไปจากเดิม ตองมีองคความรูท่ีตองเรียนรูมากขึ้น และจะตองเรียนรูตลอดตอไปจนชั่วชีวิต

แรงผลักดันที่ทําใหสังคมเปลี่ยนแปลงไปมาจากพัฒนาการทางดานเทคโนโลยี มีผลิตภัณฑทางดานดิจิตอลมากมาย เชน การบริการขาวสาร หนังสือสิ่งพิมพอิเล็กทรอนิกส ซีดี และสื่อตางๆ ท่ีสงผานเครือขาย อีกทั้งมีการสงรับ แลกเปลี่ยนขอมูลทางดานดิจิตอล เพื่อดําเนินกิจกรรมตางๆ ทางธุรกิจมากมาย และหากพิจารณาสินคาและอุปกรณตางๆ ท่ีใชในบาน ในที่ทํางาน มีการทํางานแบบอัตโนมัติมากขึ้น โดยมีอุปกรณจําพวกไมโครโปรเซสเซอร เปนอุปกรณแฝงตัวอยูในอุปกรณและเครื่องมือตางๆ อุปกรณเหลานี้เปนสิ่งสําคัญในการเชื่อมโยงเขาสูเครือขายเพื่อทําใหเกิดการแลกเปลี่ยนขอมูลอยางอัตโนมัติระหวางกัน การปรับเปลี่ยนรูปแบบการทํางาน มีผลจากแรงผลักดันของอินเทอรเน็ต เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม รวมท้ังขีดความสามารถของเครื่องคอมพิวเตอรสวนบุคคลท่ีสูงข้ึน กอใหเกิดระบบงานอิเล็กทรอนิกสผานเว็บไซตเชน e-classroom, e-procurement, e-learning, e-meeting, e-office และกอใหเกิดกิจกรรมทางดานการศึกษาที่สําคัญบนเครือขายในรูปแบบ e-school, e-university การบริหารงานมีลักษณะการเชื่อมโยงที่กวางไกลข้ึนผาน World Wide Web กอใหเกิดการบริหารงานแบบสายใย (chain management) เพื่อการบริการบนเครือขาย

Page 12: หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการ ... · 2016-02-16 · หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจ

หนวยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ อาจารย ดร.วิชญะ นาครักษ

12

2. ความหมายของขอมูล ขอมูล คือขอความจริงเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง หรือสิ่งท่ีแสดงถึง สถานการณ สภาพ หรือปรากฏการณ

หนึ่ง โดยขอมูลอาจเปนตัวเลขหรือขอความซึ่งใหความรูในเรื่องนั้น ขอมูลเปนองคประกอบที่สําคัญของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ การจัดการขอมูลจึงเปนกลยุทธหนึ่ง

ในการบริหารองคกรใหมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะอยางยิ่งในยุคของเทคโนโลยีสารสนเทศคอมพิวเตอรท่ีเจริญกาวหนาไปอยางรวดเร็ว การจัดการและบริหารองคกรใหประสบความสําเร็จนั้น การตัดสินใจที่ถูกตอง รวดเร็ว และทันตอเหตุการณถือเปนหัวใจของการทําธุรกิจในยุคปจจุบัน ดังนั้นการจัดการขอมูลท่ีมีประสิทธิภาพจะนําไปสูการตัดสินใจที่ถูกตอง จะชวยใหองคกรสามารถอยูรอดไดในสภาวะการแขงขันปจจุบัน สําหรับการเตรียมขอมูลเพื่อการประมวลผล (data preparation) เปนการรวบรวมขอมูลดิบ (raw data) กอนที่จะนําไปผานขั้นตอนอื่นตอไป ข้ันตอนนี้จัดไดวาสําคัญมากข้ันตอนหนึ่ง เพราะถาไดขอมูลมาไมครบ หรือไมถูกตอง ก็ยอมเปนเหตุใหการประมวลผลออกมาไมครบถวน และไมถูกตอง

ขอมูลแบงออกเปนสองกลุมใหญ ไดแก ขอมูลท่ีเปนขอความ และขอมูลท่ีประมวลผลได นั่นเอง สําหรับขอมูลท่ีเปนขอความนั้น การนํามาสรางสารสนเทศหรือนํามาใชประกอบการตัดสินใจ มักจะเปนการนําเอาขอความนั้นมาทําความเขาใจตามเนื้อหาของขอความ เพื่อใชเปนกรอบของการพิจารณาหรือใชประกอบการตัดสินใจ การตีความขอมูลท่ีเปนขอความเพื่อนํามาใช มักจะอาศัยความรูในศาสตรนั้น แตไมเปนการนําขอมูลนั้นๆ มาประมวลผลตามวิธีการวิเคราะหเชิงสถิติ สําหรับการจัดเก็บขอมูลท่ีเปนขอความนั้น อาจใชเทคโนโลยีคอมพิวเตอรในการจัดเก็บและคนหาขอมูลเพื่อใหสามารถดําเนินงานไดอยางมีประสิทธิภาพ สะดวก และรวดเร็ว อันจะชวยใหมีสารสนเทศใชตามความตองการไดทันเวลา สําหรับขอมูลท่ีประมวลผลได โดยปกติจะตองอาศัยกระบวนการวิเคราะหขอมูลในการสรางสารสนเทศจากขอมูลนั้น หากพิจารณาในองคกรธุรกิจทั่วไป สารสนเทศของผูบริหารระดับตนซึ่งสวนใหญสรางขึ้นมาจากขอมูลภายในหนวยงาน ระดับความซับซอนของการวิเคราะหขอมูลอาจมีนอย ในขณะที่ถาเปนสารสนเทศของผูบริหารระดับสูงท่ีตองอาศัยขอมูลภายนอกในปริมาณมากและขอบขายกวาง รวมทั้งเปนขอมูลเชิงพยากรณดวย จะตองอาศัยการวิเคราะหเชิงสถิติข้ันสูง ซึ่งการวิเคราะหจะมีความซับซอนมากหรือนอยเพียงไรขึ้นอยูกับประเภทปญหาที่ตองการคําตอบ หรือตองการวิเคราะห และลักษณะของขอมูลดวย

การรวบรวมและการจัดระเบียบขอมูลอาจเปนงานที่ดูเรียบงาย ไมซับซอน สามารถจัดเก็บขอมูลลงในแฟมตามลําดับที่กําหนด และเก็บไวในตูเอกสาร เมื่อผูใชตองการใชขอมูลก็เปดตูเก็บเอกสารขึ้น ดูแฟมขอมูลในสวนที่สนใจ วิธีการนี้จะมีความเหมาะสมในชวงเริ่มตน แตเมื่อเวลาผานไป ขอมูลมีปริมาณมากขึ้น มีความหลากหลาย วิธีการดังกลาวจะกอใหเกิดความลาชาในการเลือกขอมูล เกิดความสับสน หรือมีความผิดพลาดในการประมวลผล 3. ความหมายและหลักการของระบบจัดการฐานขอมูล

ระบบจัดการฐานขอมูล (Database Management System หรือ DBMS) คือ ซอฟตแวรท่ีทําหนาท่ีเปนตัวกลางระหวางผูใชกับฐานขอมูล เพื่อจัดการและควบคุมความถูกตอง ความซ้ําซอน และความสัมพันธระหวางขอมูลตางๆ ภายในฐานขอมูล ซึ่งตางไปจากระบบแฟมขอมูลเพราะหนาท่ีดังท่ีกลาวมานี้จะเปนของนักเขียนโปรแกรมในการติดตอฐานขอมูล ทุกคําสั่งท่ีใชกระทํากับฐานขอมูลจะถูกระบบจัดการฐานขอมูลนํามาแปล (compile) เปนการกระทํา (operation) ตางๆ ภายใตคําสั่งนั้นๆ เพื่อนําไปกระทํากับตัวขอมูลใน ฐานขอมูลตอไป

Page 13: หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการ ... · 2016-02-16 · หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจ

หนวยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ อาจารย ดร.วิชญะ นาครักษ

13

ในปจจุบัน คอมพิวเตอรเปนอุปกรณท่ีชวยใหการจัดเก็บ เรียบเรียง ประมวลผล ทําใหการใชขอมูลเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ แตการจัดเก็บขอมูลดวยคอมพิวเตอรมิไดสะดวกตอการใชงานสําหรับทุกคน ผูใชตองมีความรูความเขาใจและทักษะทางคอมพิวเตอรในระดับที่สามารถใชงานคอมพิวเตอรอยางที่ตองการ คอมพิวเตอรไดเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา วิธีทางดานการจัดการฐานขอมูลก็ไดรับการพัฒนาใหกาวหนาข้ึนเปนลําดับ การจัดการฐานขอมูลจึงเปนศาสตรท่ีมีการศึกษาเลาเรียนกันในหลายๆ ระดับ แนวคิดในการจัดการขอมูลใหมีประสิทธิภาพจึงเปนการนําเทคโนโลยีฐานขอมูลมาใชการบริการจัดการขอมูล โดยฐานขอมูลเปนที่เก็บรวบรวมขอมูลและความสัมพันธระหวางขอมูล และมีซอฟตแวรระบบบริหารจัดการขอมูลชวยใหการจัดเก็บและคนหาขอมูลโดยโปรแกรมประยุกตตางๆ เปนไปอยางมีประสิทธิภาพ ซึ่งนําขอมูลมาเก็บไวท่ีเดียวกันชวยลดความซ้ําซอนของขอมูลได

ภาพที่ 12.4 ระบบจัดการฐานขอมูล โดยสรุปของระบบจัดการฐานขอมูลจะยึดหลักการที่สําคัญคือ 1. การลดปริมาณแฟมขอมูล หากในองคกรธุรกิจมีหลายหนวยงาน แตละหนวยงานพัฒนาโปรแกรมใช

งานเอง ซึ่งแตละโปรแกรมใชงาน มักจะตองมีแฟมขอมูลของตนเอง การท่ีจะตองมีแฟมขอมูลเพิ่มข้ึนเรื่อยๆ ตามจํานวนของโปรแกรมใชงานมักกอใหเกิดปญหาตางๆ ตามมา การจัดการฐานขอมูลท่ีดีจะชวยใหหนวยงานสามารถใชแฟมขอมูลรวมกัน ซึ่งจะเปนการลดปริมาณแฟมขอมูล

2. การลดความซ้ําซอนของขอมูล เมื่อมีแฟมขอมูลหลายแฟม จะกอใหเกิดการซ้ําซอนของขอมูล จะเห็นวาแตละแฟมขอมูลมีรายการขอมูลซ้ํากัน และผลของการมีรายการขอมูลซ้ําซอนกันกอใหเกิดผลท่ีตองเสียคาใชจายของขอมูลท่ีซ้ํากัน ขอมูลจริงอาจมีรวมกันทั้งหมดเพียง 1 หมื่นรายการ แตดวยเหตุท่ีตองมีหลายแฟมและมีความซ้ําซอนกัน อาจจะมีขอมูลรวมกันเปน 1 แสนรายการก็ได และตองใชสื่อเก็บขอมูลซึ่งมีราคาสูงมากขึ้น

3. การลดขั้นตอนการปรับปรุงแฟมขอมูล การมีแฟมขอมูลหลายแฟม จะทําใหการปรับปรุงแฟมขอมูลมีข้ันตอนมากขึ้นและตองปรับปรุงใหครบทุกแฟม ซึ่งเปนการเพิ่มงานการแกไขขอมูล เมื่อมีรายการขอมูลใดของบุคลากรคนใดตองการแกไขจะตองแกไขใหครบทุกแฟมขอมูลท่ีมีรายการขอมูลนั้นๆ มิฉะนั้นจะพบกับปญหาเกิดความซับซอนจะทําใหผูบริหารขอมูลทํางานไดยากขึ้น ซึ่งเปนการเพิ่มภาระงานโดยไมจําเปน

4. การกําหนดขอมูลเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน ทําใหขอมูลถูกตองตรงกัน การมีแฟมขอมูลหลายแฟม และจะตองมีการปรับปรุงขอมูลทุกแฟม แตเมื่อการแกไขไมครบทุกแฟม จะเกิดความไมถูกตองตรงกันของขอมูลไดงาย

ฐานขอมูล ระบบจัดการฐานขอมูล

ระบบงานตางๆ

ผูใช

Page 14: หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการ ... · 2016-02-16 · หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจ

หนวยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ อาจารย ดร.วิชญะ นาครักษ

14

(inconsistency) เนื่องจากมีระเบียนขอมูลเดียวกันหลายแหง ในการกําหนดขอมูลจะตองทําใหท้ังฐานขอมูลเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน หรือมีการกําหนดแบบเดียวกัน เชน การกําหนดขอมูลช่ือ ใหใสช่ือแลวเวนชองวางจึงเปนนามสกุล และมีตําแหนงตอทาย ไมใชตําแหนงข้ึนตน เชน ดร.วิชญะ นาครักษ ก็ใช วิชญะ นาครักษ ดร. เปนตน เมื่อมีการกําหนดรูปแบบขอมูลท่ีชัดเจนและถือปฏิบัติใชท้ังฐานขอมูลก็จะลดปญหาการจัดการฐานขอมูลลงไปไดมาก

5. การทําใหขอมูลใชงานรวมกันได ในฐานขอมูลนั้นจะตองใชงานไดกับผูใชหลายๆ ประเภท หรือหลายแบบ เชน ฐานขอมูลของกรม จะตองใชไดทุกกอง แตท่ีพบมักจะมีปญหาในเรื่องการกําหนดขอมูลของแตละหนวยงานไมเหมือนกัน แตความตองการของแตละหนวยงานตองการรายละเอียดท่ีตางกัน เชน ขอมูลลูกคา บางแผนกอาจตองการ ช่ือ ท่ีติดตอ เพื่อสงเสริมการขาย บางแผนกตองการไดรายละเอียดเกี่ยวกับประวัติหนี้สินที่คางอยู นอกจากนี้การเรียกชื่อขอมูลอาจจะเรียกแตกตางกัน เชน ช่ือ สินคา อาจเรียกไดหลายอยางในชื่อสินคาเดียวกัน

6. การลดปริมาณการเรียงลําดับขอมูล การมีแฟมขอมูลหลายแฟมตองมีการจัดเรียงลําดับของขอมูลในแฟมขอมูลอยูเสมอ ซึ่งเสียเวลาเครื่องคอมพิวเตอรมาก และบอยครั้งท่ีเวลาจัดเรียงลําดับขอมูลใชเวลาเครื่องคอมพิวเตอรมากกวาเวลาประมวลผลขอมูล

7. กําหนดขอมูลเปนมาตรฐาน ในการสรางฐานขอมูลจะตองพยายามใหขอมูลท่ีจัดเก็บเปนมาตรฐาน มีการกําหนดรหัสท่ีเปนมาตรฐาน มีการกําหนดคียเวิรดหรือคาท่ีใชแทนขอมูลอยางเดียวกัน เชน เฟอรนิเจอร อาจมีหลายอยาง เชน เฟอรนิเจอรหวาย เฟอรนิเจอรเหล็ก เฟอรนิเจอรไม จะกําหนดรหัสแทนสินคาอยางไร เพื่อใหไดความหมายตอการใชงานไดดี

8. กําหนดระบบปองกันความปลอดภัยของขอมูล ขอมูลท่ีจัดเก็บไวในฐานขอมูลจําเปนตองจัดแบงระดับความสําคัญของขอมูลเพื่อกําหนดผูใช มีการควบคุมขอมูล เพื่อบงบอกวา ใครจะเปนผูปรับปรุงขอมูลไดบาง มีการบันทึกประวัติการแกไขขอมูลเพื่อตรวจสอบขอมูลท่ีจัดเก็บนั้นอาจมีคุณภาพสูง ดังนั้นการแกไขหรือปรับปรุงขอมูลโดยรูเทาไมถึงการณอาจทําใหขอมูลเสียหายได

9. ขอมูลมีความอิสระจากโปรแกรม ระบบจัดการฐานขอมูลท่ีดีจะตองเปนระบบที่ตัวขอมูลมีความอิสระจากโปรแกรม ตัวฐานขอมูลจะเปนอิสระ และสามารถจะใชโปรแกรมจัดการฐานขอมูลหรือโปรแกรมอื่นใดจัดการฐานขอมูลก็ได ผูออกแบบที่ยึดหลักใหขอมูลเปนอิสระนี้จึงใชไดกับเครื่องคอมพิวเตอรทุกรูปแบบ

10. รวมขอมูลเปนฐานขอมูล แตเดิมนี้นิยมการประมวลผลแบบแบตซ เพราะที่เก็บขอมูลเปนแบบ secondary storage แบบออนไลนมีราคาแพง จึงตองประมวลผลดวยเทป แตปจจุบันสามารถรวมขอมูลเปนฐานขอมูลกลางใหระบบการทํางานใชขอมูลรวมกันที่ฐานขอมูลเดียวกันได

11. การบริหารขอมูลมีประสิทธิภาพ การมีแฟมขอมูลหลายแฟม กรณีท่ีขอมูลถูกทําลายหรือเสียหาย จะทําใหขาดประสิทธิภาพในการบูรณะขอมูลใหกลับสูสภาพปกติ (recovery system) ท้ังนี้เพราะแตละหนวยงานตางคนตางพัฒนาแฟมขอมูลของตนโดยไมเกี่ยวของกัน การบูรณะขอมูลใหกลับสูสภาพปกติจึงไมมีมาตรฐานตางคนตางทํา ถาการจัดทําระบบไมดีอาจจะมีปญหาอยางมากในการบูรณะขอมูลใหกลับสูสภาพปกติได ซึ่งในทางวิชาการคอมพิวเตอรแลวถือวาเรื่องนี้เปนเรื่องยากและสําคัญอยางยิ่ง

Page 15: หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการ ... · 2016-02-16 · หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจ

หนวยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ อาจารย ดร.วิชญะ นาครักษ

15

4. สวนประกอบของระบบจัดการฐานขอมูล จากจุดออนในระบบการประมวลผลขอมูลแบบใชแฟมขอมูลแบบตอเนื่องเปนหลัก นักวิชาการ

คอมพิวเตอรจึงไดพัฒนาระบบการจัดเก็บขอมูลใหมเปนระบบฐานขอมูล เพื่อแกจุดออนของการจัดเก็บขอมูลในระบบเดิม โดยที่ฐานขอมูลมีแฟมขอมูลมากมายปะปนกัน การบันทึกขอมูลดวยมือลงกระดาษเขาแฟมเก็บใสตูเอกสาร ยิ่งนานวันยิ่งมาก ยากตอการคนหาขอมูลและขอมูลไมเปนปจจุบัน ระบบจัดการฐานขอมูล จึงเกิดข้ึนเพื่อใหการใชขอมูลไดอยางมีประสิทธิภาพสมบูรณสูงสุดเปนสิ่งจําเปนอยางยิ่ง ซอฟตแวรระบบจัดการฐานขอมูลดังกลาวจะทําหนาท่ีจะอํานวยความสะดวกในเรื่องการสรางและการจัดเก็บขอมูลลงไฟล การเรียกใชขอมูลรวดเร็ว ขจัดขอมูลท่ีไมตองการไดงาย การทําใหขอมูลถูกตองเปนปจจุบันเสมอ หรือแมแตการออกรายงานก็เปนไปอยางสะดวกรวดเร็วกวาการทําดวยมือ โดยผูใชไมจําเปนตองทราบรายละเอียดภายในโครงสรางฐานขอมูล เพราะซอฟตแวรระบบจัดการฐานขอมูลจะเปนตัวกลางระหวางผูใชกับระบบตางๆ ท่ีเกี่ยวของ

ดังท่ีกลาวมาขางตน ระบบจัดการฐานขอมูล จึงเปนชุดคําสั่งซึ่งทําหนาท่ีสราง ควบคุม และดูแลระบบฐานขอมูล ชวยใหผูใชสามารถเขาถึงขอมูล คัดเลือกขอมูล และสามารถนําขอมูลมาใชงานไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยท่ีระบบจัดการฐานขอมูลจะทําหนาท่ีเสมือนตัวกลางระหวางชุดคําสั่งสําหรับการใชงานตางๆ กับหนวยเก็บขอมูล ระบบจัดการฐานขอมูลจะประกอบดวยสวนประกอบหลักที่สําคัญ 3 สวน คือ

1. ภาษาสําหรับนิยามขอมูล (Data Definition Language หรือ DDL) เปนสวนประกอบระบบจัดการฐานขอมูลท่ีผูเขียนโปรแกรมเขียนขึ้น เพื่อกําหนดรายละเอียดของเนื้อหาและโครงสรางของฐานขอมูล โดยที่ภาษาสําหรับนิยามขอมูลจะทําหนาท่ีกําหนดความหมายของแตละสวนประกอบขอมูลในฐานขอมูลนั้นๆ และผลท่ีไดจากการรวบรวมประโยคที่เขียนดวยภาษาสําหรับนิยามขอมูลจะถูกนํามาใชสรางพจนานุกรมขอมูล

2. ภาษาสําหรับการใชขอมูล (Data Manipulation Language หรือ DML) เปนภาษาที่ผูใชฐานขอมูลหรือผูเขียนชุดคําสั่งใชในการติดตอสั่งงานกับฐานขอมูล เพื่อนําขอมูลท่ีเก็บอยูในฐานขอมูลออกมาใชงาน

3. พจนานุกรมขอมูล (Data Dictionary หรือ DD) เปนเครื่องมือท่ีจัดเรียบเรียงความหมาย และอธิบายลักษณะที่สําคัญของขอมูลในฐานขอมูลเขาไวดวยกันอยางเปนระบบระเบียบ เพื่อใหงายตอการคนควาและนําไปใชอางอิง โดยพจนานุกรมขอมูลจะเปนประโยชนตอผูท่ีตองเกี่ยวของกับระบบจัดการฐานขอมูล เพราะจะชวยใหสามารถศึกษาและทําความเขาใจระบบไดงายข้ึน จะเห็นไดวาผูใชระบบไมจําเปนที่จะตองเขาไปเกี่ยวของกับรายละเอียดและขั้นตอนของการจัดการขอมูลท่ีเกิดข้ึน เนื่องจากระบบสารสนเทศในปจจุบันถูกพัฒนาขึ้น เพื่ออํานวยความสะดวกในการใชงานแกผูใชท่ีมีความรูจํากัดทางดานคอมพิวเตอร

ภาพที่ 12.5 สวนประกอบของระบบจัดการฐานขอมูล

ระบบจัดการฐานขอมูล

ภาษาสําหรับนิยามขอมูล

ภาษาสําหรับการใชขอมูล

พจนานุกรมขอมูล

Page 16: หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการ ... · 2016-02-16 · หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจ

หนวยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ อาจารย ดร.วิชญะ นาครักษ

16

5. หนาที่ของระบบจัดการฐานขอมูล หนาท่ีของระบบจัดการฐานขอมูลมีดังนี้ 1. ประสานงานกับผูจัดการแฟมขอมูลในการจัดเก็บ เรียกใช และแกไขขอมูล 2. ควบคุมความสมบูรณแนนอนของขอมูลใหอยูในสภาพที่เหมาะสมกับการใชงานตลอดเวลา 3. ควบคุมความปลอดภัยของขอมูลมิใหถูกจารกรรม กอการราย สูญหาย หรือถูกทําลายโดยไมตั้งใจ 4. ดูแลรักษาขอมูลใหอยูในสภาพที่เหมาะสม ตลอดจนสรางระบบขอมูลสํารองขึ้น เพื่อปองกันความ

เสียหายท่ีอาจจะเกิดข้ึนจากความผิดพลาด อุบัติเหตุ หรือการกระทําท่ีจงใจ 5. ควบคุมความตอเนื่องและลําดับในการทํางานที่เหมาะสม เพื่อใหการใชงานสะดวก รวดเร็ว และถูกตอง การนําระบบจัดการฐานขอมูลมาใชจะกอใหเกิดผลดีตอการดําเนินงานของหนวยงาน ฐานขอมูลจะชวย

พัฒนาศักยภาพในการดําเนินงานใหหนวยงาน เนื่องจากผูใชขอมูลตั้งแตผูบริหารระดับสูง ผูบริหารระดับกลาง ผูบริหารระดับตน และพนักงานระดับปฏิบัติการ สามารถใชขอมูลซึ่งเปนทรัพยากรรวมกันของหนวยงานไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยผูใชไมตองเสียเวลา คาใชจาย และแรงงานในการคนหาสารสนเทศที่มีความนาเชื่อถือได ทําใหสามารถใชเวลาในการปฏิบัติงานที่สําคัญตอความกาวหนาของธุรกิจ

6. การบริหารฐานขอมูล

การดําเนินงานของผูจัดการฐานขอมูลจะตองจัดการเตรียมขอมูล และการบริหารขอมูล คัดแบงแยกปรับปรุงขอมูล ตรวจสอบความถูกตอง การจัดเก็บขอมูล รวมท้ังการคํานึงถึงความปลอดภัยและเชื่อถือไดในเรื่องของขอมูล แตเดิมการจัดการฐานขอมูลจะใชภาษาคอมพิวเตอรเปนตัวจัดการ เชน การปอนขอมูลก็จะมีโปรแกรมชวยรับขอมูล มีการจัดเรียง การคนหา และการทํารายงาน การจัดเก็บฐานขอมูลดวยโปรแกรมคอมพิวเตอรมีใชกันเรื่อยมา การจัดการฐานขอมูล เปนเรื่องของการใชงานโปรแกรม ลองนึกสภาพการเขียนโปรแกรมภาษาระดับสูงท่ีคิดวางายท่ีสุด เชน ใชภาษาซี ปาสคาล และถาใหมีการจัดเรียงขอมูลก็ตองเขียนโปรแกรม sort เอง ถาตองการคนหาก็ตองมาเขียนโปรแกรม หรือถาตองการอะไรก็ตองเขียนโปรแกรมที่ตองการ สิ่งท่ีพบก็คือ ตองเสียเวลาและตองใชแรงงานในการจัดการขอมูลจํานวนมาก โปรแกรมที่เขียนถามีความสลับซับซอนมากก็ยิ่งยุงยากตอผูเขียนยิ่งข้ึน ดังนั้นจึงมีผูพยายามสรางเครื่องมือ หรือภาษาคอมพิวเตอรท่ีใชกับงานขอมูล ท่ีชวยในการเขียนโปรแกรมจัดการฐานขอมูลไดรวดเร็วและมีประสิทธิภาพยิ่งข้ึน และดวยเหตุนี้จึงเปนที่มาของโปรแกรมจัดการฐานขอมูลท่ีมีมากมาย โดยสรุปหนาท่ีหลักของผูบริหารฐานขอมูลมีดังนี้

1. การกําหนดและจัดระเบียบโครงสรางฐานขอมูล เนื่องจากธุรกิจปจจุบันมีความตองการสารสนเทศที่หลากหลาย ถาองคกรธุรกิจขาดการจัดการระบบการบริหารขอมูลอยางเปนระบบและมีหลักการ อาจทําใหการใชงานสารสนเทศขาดความสมบูรณและดอยประสิทธิภาพลง ตลอดจนอาจกอใหเกิดความผิดพลาดขึ้น

2. การพัฒนาขั้นตอนการรักษาความปลอดภัยของฐานขอมูล ผูบริหารฐานขอมูลมีหนาท่ีและความรับผิดชอบในการรักษาความปลอดภัยของระบบฐานขอมูล เนื่องจากระบบฐานขอมูลจะบรรจุขอมูลท่ีสําคัญตอการดําเนินงานของหนวยงาน โดยมีผูใชท่ีมีความตองการและระดับในการใชงานสารสนเทศที่หลากหลาย ถาเกิดความผิดพลาดขึ้นอาจกอใหเกิดความสูญเสียแกระบบขอมูลและการดําเนินงานของหนวยงาน นอกจากนี้ถาความลับขององคกรธุรกิจรั่วไหลไปอยูในมือของคูแขงหรือผูไมประสงคดี อาจกอใหเกิดผลรายตอการดํารงอยูของธุรกิจ

Page 17: หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการ ... · 2016-02-16 · หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจ

หนวยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ อาจารย ดร.วิชญะ นาครักษ

17

3. การจัดทําหลักฐานอางอิงของระบบฐานขอมูล ปกติระบบฐานขอมูลจะจัดเก็บขอมูลท่ีมีความแตกตางกัน เนื่องจากความหลากหลายในการใชงานสารสนเทศของหนวยงาน ตลอดจนการพัฒนาระบบฐานขอมูลใหมีความสอดคลองกับความตองการของงานอยูเสมอ ดังนั้นผูบริหารฐานขอมูลตองจัดทําหลักฐานอางอิง เพื่อท่ีจะสอบทานความถูกตองเมื่อเกิดความจําเปน

4. การดูแลรักษาระบบฐานขอมูลใหทํางานอยางปกติ เพื่อใหการใชขอมูลของหนวยงานเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชนแกหนวยงานอยางเต็มท่ี โดยเฉพาะองคกรธุรกิจที่มีความตองการและการใชงานขอมูลมาก ถาเกิดความผิดพลาดหรือขอบกพรองในระบบฐานขอมูล ยอมกอใหเกิดความสูญเสียข้ึนกับธุรกิจ

5. การประสานงานกับผูใช เพื่อความคลองตัวในการนําขอมูลไปใชงาน การแกปญหา และการพัฒนาระบบในอนาคต โดยเฉพาะการบริหารระบบฐานขอมูลในปจจุบันที่ใหความสําคัญกับการสรางระบบที่สะดวกและสนองความตองการของผูใช

งานบริหารฐานขอมูลเปนงานที่ประกอบดวยงานยอยหลายลักษณะ ซึ่งตองการรายละเอียดและความชํานาญเฉพาะ ดังนั้นองคกรธุรกิจที่มีระบบฐานขอมูลขนาดใหญและซับซอน จึงคัดเลือกบุคคลที่มีความรูเกี่ยวกับการจัดการฐานขอมูลและระบบสารสนเทศเขาดํารงตําแหนงผูบริหารฐานขอมูล เพื่อปฏิบัติหนาท่ีในการจัดการระบบฐานขอมูลใหมีประสิทธิภาพ ทันสมัย และสมบูรณอยูเสมอ

7. ระบบฐานขอมูลแบบรวมศูนยและแบบกระจายศูนย

ระบบฐานขอมูลแบบรวมศูนย (Centralized Database System) หมายถึง ระบบฐานขอมูลท่ีเก็บขอมูลไวท่ีศูนยกลางแหงเดียว โดยซอฟตแวรจัดการฐานขอมูล และหนวยความจําท่ีใชในการจัดเก็บฐานขอมูล ซึ่งอาจจะเปนจานบันทึก หรืออาจจะเปนแถบบันทึก เพื่อใชเปนหนวยเก็บสํารอง ระบบฐานขอมูลแบบนี้สามารถถูกเรียกใชงานไดจากจุดอื่นๆ ท่ีมีเครื่องคอมพิวเตอรปลายทางประจําอยู แตละฐานขอมูลและซอฟตแวรจะอยูรวมกันที่จุดเดียวเทานั้น ซึ่งเมื่อระบบคอมพิวเตอรเจริญมากขึ้น พรอมท้ังพัฒนาการในเรื่องเครือขาย

แตเดิมองคกรธุรกิจมักมีการระบบจัดการฐานขอมูลแบบรวมศูนย ท่ีเนนการสนับสนุนการทํางานทุกระดับ องคกรธุรกิจมีการสรางเครือขายหรือมีระบบขอมูลขาวสารรวม ใชทรัพยากรรวมกัน สะดวก และบริหารเครือขายหรือชวยในเรื่องการติดตอสื่อสารระหวางองคกรธุรกิจ ซึ่งเปนระบบที่ใชกันมาอยางตอเนื่องและยังคงไดรับความนิยมอยูในปจจุบัน แตอยางไรก็ตามเมื่อเทคโนโลยีโทรคมนาคมแบบเครือขายไดพัฒนาขึ้น ทําใหการสื่อสารขอมูลเปนไปอยางถูกตอง รวดเร็ว และปลอดภัย สงผลใหหนวยงานไมจําเปนตองทําการรวบรวมและประมวลผลขอมูลท่ีคอมพิวเตอรศูนยกลางอีกตอไป คอมพิวเตอรในสาขาตางๆ สามารถเรียกใช และนําขอมูลจากศูนยกลางผานระบบสื่อสารแบบเครือขายมาทําการประมวลผลดวยตนเอง ซึ่งการทํางานลักษณะนี้เรียกวาระบบจัดการฐานขอมูลแบบกระจายศูนย เปนองคกรธุรกิจท่ีสนับสนุนการทํางานที่มีเซิรฟเวอรของตนเอง แตละกลุมงานสามารถรับผิดชอบงานฐานขอมูลของตนเอง เชน ฝายบุคคล ตองดูแลฐานขอมูลพนักงานทั้งหมด ดูแลการดําเนินงานเพื่อการทํารายการเงินเดือน ฝายขายก็ตองดูแลฐานขอมูลลูกคา ฐานขอมูลสินคาคงคลังของตนเอง เปนตน ทําใหมีความสะดวกในการปฏิบัติงาน สามารถดําเนินงานดวยความคลองตัว

Page 18: หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการ ... · 2016-02-16 · หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจ

หนวยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ อาจารย ดร.วิชญะ นาครักษ

18

ภาพที่ 12.6 ระบบเครือขายคอมพิวเตอรแบบรวมศูนย

ระบบฐานขอมูลแบบกระจายศูนย (Distributed Database System) หมายถึง ระบบฐานขอมูลท่ีเก็บขอมูลไวในที่ตางๆ มากกวา 1 แหง โดยท่ีขอมูลสวนหนึ่งจะถูกเก็บไวในสถานที่หนึ่ง ขณะที่ขอมูลสวนที่เหลืออาจจะถูกเก็บรวมไวในอีกท่ีหนึ่ง หรือถูกแยกเก็บไวตามที่ตางๆ กันออกไป โดยท่ีขอมูลเหลานี้สามารถถูกเรียกมาประมวลผลและใชงานไดเชนเดียวกับการเก็บขอมูลไว ณ ท่ีแหงเดียวกัน

ภาพที่ 12.7 ระบบเครือขายคอมพิวเตอรแบบกระจายศูนย

กรุงเทพมหานคร

ขอนแกน

ชลบุรี

เชียงใหม

นครราชสีมา

สุราษฎรธาน ี

พิษณุโลก

นครสวรรค

เพชรบุรี

ภูเก็ต

ลําปาง

สระบุรี

นครศรีธรรมราช

หาดใหญ

อุดรธาน ี

อุบลราชธาน ี

Page 19: หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการ ... · 2016-02-16 · หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจ

หนวยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ อาจารย ดร.วิชญะ นาครักษ

19

รูปแบบของการทํางานในลักษณะระบบฐานขอมูลแบบกระจายศูนยธุรกิจไปยังหนวยงาน เปนไปไดท้ังตามสภาพภูมิศาสตรและทองท่ีท่ีอยูหางไกล หรือตามสภาพฟงกชันหนาท่ีการทํางานที่แยกแยะจากกัน การจัดองคกรธุรกิจท่ีใชระบบฐานขอมูลแบบกระจายศูนยนั้น การดําเนินในกลุมงานแตละกลุมมีโครงสรางเปนระบบเซิรฟเวอรท่ีเก็บฐานขอมูลบริการของกลุม มีการพัฒนาระบบงานใหใชไดกับกลุม ดังนั้นการจัดการของกลุมจึงตองมีผูมีความรูความสามารถทางดานการพัฒนาระบบสารสนเทศภายในกลุม การจัดองคกรธุรกิจยอยนี้ดําเนินการภายในเพื่อตอบสนองความตองการในเรื่องการปฏิบัติงานภายในกลุม สวนใหญจะเนนในเรื่องงานดําเนินการในแตละวัน ซึ่งงานบางสวนมีการรายงานและดําเนินการเฉพาะเพื่อสงตอในระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการขององคกรธุรกิจตอไป วิธีการแยกโครงสรางแบบกระจายตามสภาพการจัดองคกรธุรกิจเกิดข้ึนได เพราะความจําเปนของการใชสารสนเทศมีมากขึ้น มีเครื่องมือและเครือขายใหใชไดงายข้ึน ขีดความสามารถสูงข้ึน การจัดการระบบฐานขอมูลแบบกระจายศูนยมีความจํามากเพิ่มมากขึ้น ในเรื่องความคลองตัว และตองการบริการอยางรวดเร็วและทันที ดังนี้

1. ดานความคลองตัวสะดวกตอการดําเนินการ ระบบฐานขอมูลแบบกระจายศูนยเหมาะสมในกรณีท่ี การดําเนินการขององคกรธุรกิจตองการความคลองตัว และการดําเนินงานที่รวดเร็ว หากมีการกระจายการทํางานจะทําใหเกิดความคลองตัว รวดเร็ว และการดําเนินงานตางๆ ตรงตามวัตถุประสงคของหนวยงานยอยนั้นๆ เพราะผูพัฒนาระบบงานยอมตองทําใหตรงกับสภาพการทํางานของตนเองมากที่สุด

2. ดานปญหากับระบบสื่อสารโทรคมนาคม ระบบฐานขอมูลแบบกระจายศูนยความเหมาะสมขึ้นอยูกับสภาพของระบบสื่อสารโทรคมนาคม กรณีท่ีผูใชตองการเรียกใชขอมูลผานเครือขายสื่อสารโทรคมนาคม หากระบบสื่อสารขัดของ เชน ธนาคารพาณิชย หากไมสามารถทํารายการ ผานบัญชี หรือไมยอมใหเบิกถอนตางสาขาได จะทําใหงานธนาคารติดขัดได

3. ดานสภาพความรับผิดชอบของขอมูลขาวสารชัดเจน ระบบฐานขอมูลแบบกระจายศูนยเหมาะสมในกรณีท่ีแตละศูนยแยกดูแลขอมูลขาวสารของตนเอง ซึ่งจะทําใหการดําเนินการดูแลขอมูลขาวสารของตนชัดเจน และรูไดวาจะอนุญาตใหใครใชไดเพียงไร ขอบเขตของอํานาจหนาท่ีและความรับผิดชอบสวนใหญไดกําหนดไวแลว

4. ดานใชทรัพยากรขนาดเล็กและกระจาย ระบบฐานขอมูลแบบกระจายศูนยเหมาะสมในกรณีท่ี ระบบใชทรัพยากรทางคอมพิวเตอรขนาดเล็ก ใชระบบเซิรฟเวอรขนาดเล็กที่ตอบสนองตอหนวยงานนั้นๆ การลงทุนใชทรัพยากรขนาดเล็กทําใหลงทุนไดงายและไมตองการเงินลงทุนมากนัก

5. เรื่องเทคโนโลยีสมัยใหมรองรับการเกี่ยวโยงฐานขอมูลแบบกระจาย ระบบฐานขอมูลแบบกระจายศูนยเปนการทํางานแบบกระจาย แตสามารถรวมกันทั้งองคกรธุรกิจและใชงานรวมกันได โดยเทคโนโลยีในเรื่องการจัดการฐานขอมูลสมัยใหมมีขีดความสามารถใหออกแบบระบบฐานขอมูลแบบกระจายได ฐานขอมูลเหลานั้นสามารถซิงโครไนซ2ขอมูลถึงกัน มีการปรับปรุงขอมูลระหวางกันได ระบบการทํางานทําในลักษณะแบบอัตโนมัติท่ีเชื่อมโยงถึงกัน ผูใชสามารถเชื่อมโยงขาวสารตางศูนยกันได

2 ในระบบคอมพิวเตอรขนาดใหญที่มีการทํางานหลายงานพรอมกัน หากงานเหลานั้นเปนอิสระไมข้ึนตอกันโดยสิ้นเชิง จะไมเกิดปญหาใดๆ แตในความเปนจริง งานเหลานั้นตองใชทรัพยากรรวมกันไมมากก็นอย ดังนั้นการทํางานของงานหนึ่ง อาจมีผลกระทบทางออมตออีกงานหนึ่ง โดยผานทางทรัพยากรที่ใชรวมกันนั้น เพื่อมิใหงานตางๆ สงผลกระทบกันในอันที่จะกอความเสียหายได ระบบปฏิบัติการตองทําการควบคุมการของเกี่ยว (interaction) ระหวางงานตางๆ หนาที่นี้เรียกวา การซิงโครไนซ (synchronization)

Page 20: หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการ ... · 2016-02-16 · หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจ

หนวยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ อาจารย ดร.วิชญะ นาครักษ

20

อยางไรก็ดีการดําเนินการศูนยขอมูลแบบกระจายจะมีปญหาสําคัญในเรื่องบุคลากร เพราะเครือขายคอมพิวเตอรแบบกระจายศูนยตองการบุคลากรท่ีมีความรูความเขาใจในเรื่องฐานขอมูลกระจายไปยังศูนยตางๆ และตองการผูดูแลรักษาความปลอดภัยของขอมูล โดยเฉพาะการออกแบบระบบฐานขอมูลจะมีบางสวนที่ทับซอนกันในองคกรธุรกิจ แตดวยความตองการและเหตุผลบางอยาง โดยเฉพาะระบบการใหบริการท่ีตองทําไดรวดเร็ว เชน ธนาคารพาณิชยจําเปนตองมีฐานขอมูลลูกคาเงินฝากและสินเชื่อกระจายไปยังทุกสาขาทั่วประเทศ เพื่อใหแตละสาขาสามารถบริการดานฝากถอน ตลอดจนใชขอมูลในการติดตามลูกคาไดดวยตนเอง งานการจัดการสารสนเทศจึงตองกระจายไปยังสาขาทุกสาขาของธนาคารดวย

8. การประยุกตใชงานระบบจัดการฐานขอมูล

ธนาคารพาณิชยในประเทศแหงหนึ่งประสบความสําเร็จในการนําหลักการของระบบจัดการฐานขอมูลมาดําเนินการในทางปฏิบัติ ภายใตช่ือโครงการ "การกํากับดูแลการบริหารจัดการขอมูล Data Governance" โดยพิจารณาจากองคประกอบ 3 ดาน ไดแก 1) การบริหารจัดการงานเทคโนโลยีสารสนเทศ 2) การจัดการขอมูล 3) ระบบและโครงสรางเทคโนโลยีท่ีเกี่ยวของ และไดดําเนินการครอบคลุมการจัดการขอมูลท้ังหมดของธนาคาร

Data Governance หรือ DG หมายถึง กระบวนการจัดการในองคกร เพื่อกํากับดูแลการบริหารจัดการขอมูลอยางเปนระบบ โดยการนําเอาเทคโนโลยีมาใชในการเก็บขอมูล มีการกําหนดขั้นตอนการทํางาน และบุคลากร เพื่อสรางมูลคาและความนาเชื่อถือใหแกขอมูลของธนาคาร

Data Management หรือ DM หมายถึง การบริหารจัดการขอมูลอยางเปนระบบ และมีการปฏิบัติท่ีรัดกุมตลอดทั้งกระบวนการจัดการขอมูล ตั้งแตจุดเริ่มตน ไดแก การเก็บรวบรวมขอมูล การจัดทํา Data Model การจัดการคลังขอมูล การควบคุมความถูกตองและคุณภาพขอมูล รวมท้ัง การปองกันความผิดพลาดของขอมูลดวยการตรวจสอบขอมูล การกําหนดความเปนเจาของขอมูล การปรับปรุงขอมูลใหเปนปจจุบัน และการควบคุมการเขาถึงขอมูล เพื่อใหมั่นใจวา มีขอมูลท่ีสามารถตอบสนองการใชงานของผูใชไดอยางถูกตองตรงตามวัตถุประสงค

ภาพที่ 12.8 โครงการ "การกํากับดูแลการบริหารจัดการขอมลู" ของธนาคารพาณิชยแหงหนึ่ง

Page 21: หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการ ... · 2016-02-16 · หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจ

หนวยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ อาจารย ดร.วิชญะ นาครักษ

21

หลักการของ Data Governance ประกอบไปดวย 1. Policy โดยกําหนดใหมีนโยบายและระเบียบการบริหารจัดการขอมูล ท่ีไดรับการอนุมัติจาก

คณะกรรมการธนาคารใหมีการประกาศใชอยางเปนทางการ และสื่อสารใหพนักงานที่เกี่ยวของรับทราบโดยทั่วกัน รวมท้ังมีการทบทวนและปรับปรุงใหเหมะสมตามสถานการณ

2. People /Organization Structure มีการกําหนดโครงสรางทั้งองคกรและคณะกรรมการกํากับดูแลนโยบาย ระเบียบ ข้ันตอนการปฏิบัติงานและสนับสนุนงานการบริหารจัดการขอมูล รวมท้ังกําหนดหนาท่ี ความรับผิดชอบ (job function) ของงานที่เกี่ยวของกับขอมูลและผูรับผิดชอบขอมูล (data responsibility) มีกระบวนการและผูรับผิดชอบในการประเมิน DG อยางโปรงใส และรายงานความคืบหนาตอผูบริหารระดับสูงอยางสม่ําเสมอ มีการพัฒนาความรูและสรางจิตสํานึกใหทุกคนรับผิดชอบตอคุณภาพของขอมูลรวมกัน เสมือนหนึ่งเปนทรัพยสินหนึ่งขององคกร

3. Data Quality Management มีการกําหนดมาตรฐานคุณภาพขอมูล เพื่อเปนแนวทางในการควบคุม ประเมินผล คุณภาพขอมูล มีการกําหนดจุดควบคุมคุณภาพขอมูลในแตละกระบวนการจัดการขอมูลอยางเปนระบบเพื่อใหขอมูลมีความถูกตอง เชื่อถือได และพรอมใชงาน มีการสอบทาน ประเมินผลคุณภาพของขอมูล และรายงานผลใหหนวยงานที่รับผิดชอบ ทราบอยางตอเนื่อง

4. Data Architecture กําหนดใหมีการออกแบบโครงสราง สถาปตยกรรมของขอมูล และ เตรียมการดานทรัพยากร โครงสรางเทคโนโลยีสารสนเทศ ของระบบงาน และระบบคลังขอมูล อยางเปนระบบ และ มีการปฏิบัติท่ีรัดกุมเพียงพอ เพื่อใหขอมูลมีความถูกตอง เชื่อถือได และสามารถนําไปใชงานอยางเหมาะสม มีเครื่องมือ และ กระบวนการกําหนดคํานิยามของขอมูลท่ีใชในธนาคาร เปนมาตรฐานเดียวกัน และประกาศใชภายในธนาคาร และ ผูเกี่ยวของ อยางเปนทางการ เพื่อใหการใชขอมูล สําหรับการรายงาน และการสื่อความหมาย เปนไปในแนวทางเดียวกัน มีการสอบทาน ความสอดคลอง และเปนปจจุบันของ โครงสรางเทคโนโลยีสารสนเทศ และขอมูล ของระบบงาน และระบบคลังขอมูล ท่ีเกิดจาก กระบวนการทบทวน ปรับปรุง แกไข โครงสรางเทคโนโลยีสารสนเทศ และขอมูล จากผูรับผิดชอบ

5. Information Security & Privacy กําหนดใหมีกระบวนการบริหารจัดการสิทธิในการเขาถึงขอมูล เพื่อรักษาความปลอดภัย และ ความลับของขอมูล ตามนโยบายการรักษาความปลอดภัยขอมูลสารสนเทศของธนาคาร มีการสอบทาน ทบทวนสิทธิการเขาถึงขอมูล และ รายงานผล กรณีมีการเขาถึงโดยมิไดรับอนุญาต ใหหนวยงานที่รับผิดชอบ ทราบเปนระยะๆ

6. Audit Information, Logging & Reporting กําหนดใหมีการกําหนดเปาหมายความถูกตอง ครบถวนของขอมูล ตามความจําเปนของการใชงานขอมูล และที่มีผลกระทบตอการดําเนินธุรกิจของธนาคาร มีกระบวนการตรวจสอบขอมูล และ กระบวนการแกไขขอบกพรองของขอมูล เพื่อใหขอมูลมีความ ถูกตอง และ ครบถวน เปนไปตามเปาหมายที่กําหนด มีการสอบทาน ผลการตรวจสอบขอมูล ตามความถี่ท่ีกําหนด และติดตามประสิทธิภาพของการดําเนินการแกไขขอบกพรองของขอมูลใหสําเร็จ

7. Data Risk Management & Compliance กําหนดใหมีการกําหนดความเสี่ยงและ ระดับความรุนแรงของผลกระทบ ท่ีเกิดข้ึนจากการใชขอมูลท่ีไมถูกตอง และ ครบถวน เพื่อกําหนด แนวทางบริหารจัดการความเสี่ยงดานขอมูล (Data Risk Management) อยางเปนระบบ มีการสอบทาน ติดตาม ผลการดําเนินงานตามแนวทางการบริหารความเสี่ยงดานขอมูล ตามความถี่ท่ีกําหนด เพื่อควบคุม ความเสี่ยงดานขอมูล ใหอยูในระดับความรุนแรงที่สามารถยอมรับได สรางวิธีการท่ีสามารถบงช้ี บอกปริมาณ ความสามารถในการยอมรับ การลดและ หลีกเลี่ยงความเสี่ยงของขอมูลท่ีเกิดข้ึนได ตลอดจน

Page 22: หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการ ... · 2016-02-16 · หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจ

หนวยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ อาจารย ดร.วิชญะ นาครักษ

22

สรางกฎระเบียบ เพื่อปองกันความเสี่ยงท่ีอาจจะเกิดข้ึนอยางมีประสิทธิภาพ มีการประเมินกระบวนการ และเครื่องมือท่ีใชในการบันทึก และการตรวจขอมูล โดยกําหนดมาตรการเพื่อลดและปองกันความเสี่ยงในการใชขอมูล

สําหรับหลักการของ Data Management ซึ่งเปนดานการบริหารจัดการขอมูล ประกอบไปดวย 1. การเก็บรวบรวมขอมูล (data collection) กําหนดขั้นตอนในการจัดหาแหลงขอมูล บันทึก ตรวจสอบ

และจัดเก็บขอมูลใหชัดเจน ตลอดเสนทางเดินของขอมูลเพื่อใหแนใจวามีความถูกตอง เชื่อถือไดของขอมูล สอดคลองกับพจนานุกรมขอมูล (Data Dictionary หรือ DD) โดยใหผูบริหารหนวยงาน ท่ีรับผิดชอบธุรกรรมนั้นๆ เปนผูควบคุมดูแลใหพนักงานที่รับผิดชอบบันทึกขอมูลธุรกรรมที่เกิดข้ึนตามเอกสารลูกคา/แบบฟอรมท่ีระเบียบกําหนด

2. การพัฒนาและปรับปรุงโมเดลขอมูล (data model development) จัดทําโครงสรางของขอมูลระบบตางๆ โดยกําหนด logical data model และ physical data model ใหสอดคลองกัน เพื่อรองรับความตองการใชขอมูล รวมท้ังกําหนดหลักเกณฑการทบทวน และปรับปรุง data model ใหชัดเจน

3. การพัฒนาคลังขอมูล (data warehouse development) พัฒนาคลังขอมูล ใหเปนศูนยกลางการเก็บรวบรวมขอมูล และรองรับความตองการการใชขอมูลอยางเพียงพอจากแหลงเดียวกันและกํากับดูแลคุณภาพของขอมูลใหมีความถูกตอง มีระบบรักษาความปลอดภัย และมีการควบคุมสิทธิการเขาถึงคลังขอมูล รวมท้ังมีหนวยงานที่รับผิดชอบควบคุมดูแลอยางชัดเจน

4. การปองกันความผิดพลาดของขอมูล (data error detection) กําหนดเงื่อนไขการ ตรวจเช็คขอมูล เพื่อพัฒนาโปรแกรมปองกันขอผิดพลาดกอนนําขอมูลเขาระบบ รวมท้ังใหมีข้ันตอนการปฏิบัติงานเพื่อปรับปรุงแกไข ขอผิดพลาดที่ตรวจพบ

5. การกําหนดความเปนเจาของขอมูล (data stewardship) กําหนดหนาท่ีความรับผิดชอบ (job function) และหนวยงานที่รับผิดชอบขอมูล (data responsibility) ทุกประเภทของธนาคาร เพื่อใหดูแลรับผิดชอบขอมูลตามหลักเกณฑท่ีกําหนด

6. การตรวจสอบขอมูล (data audit) กําหนดกระบวนการและเครื่องมือท่ีใชในการตรวจสอบขอมูลตั้งแตตนทางถึงการนําออกใชงาน กําหนดเปาหมาย data usability สําหรับแตละฐานขอมูล เพื่อใหทราบถึงขอมูลท่ีเปนลักษณะ missing, invalid และ unreliable เทียบกับเปาหมาย data usability สําหรับทุกฐานขอมูล กําหนดจุดควบคุมและแนวทางการแกไขขอบกพรองของขอมูล รวมท้ังใหมีการรายงานผลการตรวจสอบขอมูล ใหผูบริหารไดรับทราบ

7. การปรับปรุงขอมูลใหเปนปจจุบัน (data update) กําหนดขอมูลท่ีตองการปรับปรุงแตละรายการ แหลงท่ีมา รูปแบบ/วิธีการปรับปรุง และความถี่ใหเปนปจจุบันอยางสม่ําเสมอ พรอมกําหนดผูรับผิดชอบ ขอบเขตอํานาจหนาท่ีใหชัดเจน

8. การควบคุมการเขาถึงขอมูล (data access control) กําหนดสิทธิและควบคุมสิทธิในการเขาถึงขอมูลของผูใชงาน การเพิ่ม/ลบ และเปลี่ยนแปลงสิทธิในการเขาถึงขอมูลในระบบที่รัดกุม พรอมมีหลักฐานเพื่อใชในการติดตาม และตรวจสอบการใชงาน รวมท้ังกระบวนการทบทวนสิทธิการใชงานอยางตอเนื่อง สม่ําเสมอ

หลังจากศึกษาเนื้อหาเรือ่งท่ี 12.1.2 แลวโปรดปฏิบัติกิจกรรม 12.1.2

ในแนวการศึกษาหนวยท่ี 12 ตอนที่ 12.1 เรือ่งที่ 12.1.2

Page 23: หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการ ... · 2016-02-16 · หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจ

หนวยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ อาจารย ดร.วิชญะ นาครักษ

23

เร่ืองที่ 12.1.3 ระบบคอมพิวเตอร

คอมพิวเตอรเปนองคประกอบสําคัญของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ซึ่งปจจุบันกิจกรรมทางสารสนเทศเชน การจัดเก็บ การคนหา การจัดระเบียบ การประมวลผล การสื่อสารขอมูลท่ีเพิ่มปริมาณขึ้น ตองการความถูกตองและรวดเร็ว จึงมีความจําเปนที่จะตองนําระบบคอมพิวเตอรเขามาชวยสนับสนุน ใหการดําเนินงานคลองตัว คอมพิวเตอรจึงนับเปนความจําเปนสําหรับทั้งผูบริหาร บุคลากร และผูท่ีจะทํางานเกี่ยวของกับระบบสารสนเทศ ท่ีจะตองทําความเขาใจในหลักพื้นฐานรวมกัน คอมพิวเตอรเปนสวนประกอบหลักของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ถาไมมีการพัฒนาระบบคอมพิวเตอรก็จะไมมีการพัฒนาระบบสารสนเทศเชนในปจจุบัน ดังนั้นผูศึกษาเกี่ยวกับระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการจึงหลีกเลี่ยงไมพนที่จะตองเขาใจเกี่ยวกับพื้นฐานของระบบคอมพิวเตอรดวย สําหรับในเรื่องท่ี 12.1.3 นี้จะกลาวโดยท่ัวไปถึงสวนประกอบและการทํางานของคอมพิวเตอรไดแกท้ังฮารดแวรและซอฟตแวร สําหรับรายละเอียดสามารถศึกษาไดจากหนังสือคอมพิวเตอรท่ัวไป

1. คอมพิวเตอรฮารดแวร สวนประกอบสําคัญในการทํางานของคอมพิวเตอรฮารดแวรมีสวนประกอบพื้นฐานที่สําคัญ 4 สวน

ประกอบดวย 1. หนวยรับขอมูล (input unit) ทําหนาท่ีรับขอมูลท่ีถูกบันทึกไวในสิ่งตางๆ หรือรับขอมูลผานทาง

แปนพิมพหรือคียบอรด หรืออุปกรณอื่นเชน เมาส สแกนเนอร ไมโครโฟน กลองดิจิตอล แผนดิสก เทปแมเหล็ก หรือซีดีรอม เปนตน เพื่อนําเขาสูหนวยความจํา หนวยรับขอมูลเปนอุปกรณสําคัญที่ชวยในการนําขอมูลจากภายนอกเขาสูระบบคอมพิวเตอรอยางมีประสิทธิภาพ ถาขอมูลท่ีนําเขาผิดพลาด ขาดความสมบูรณ หรือลาชา ก็จะมีผลตอการประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร และความถูกตองของผลลัพธ

2. หนวยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit หรือ CPU) เปนสวนประกอบที่สําคัญที่สุดของเครื่องคอมพิวเตอร เนื่องจากหนวยประมวลผลกลางจะทําหนาท่ีควบคุมการทํางานและการประมวลผลของระบบคอมพิวเตอร สามารถเปรียบเทียบหนวยประมวลผลกลางไดกับสมองของมนุษย หนวยประมวลผลกลางมีหนาท่ีหลัก 2 ประการคือ ควบคุมการทํางานของคอมพิวเตอร และการคํานวณ

3. หนวยจัดเก็บขอมูล (memory unit) ทําหนาท่ีเก็บรวบรวมขอมูล ผลลัพธ และชุดคําสั่งตางๆ อยางเปนระบบ ลงในอุปกรณเก็บขอมูล เชน ฮารดดิสก แผนซีดีรอม เปนตน เพื่อรอการเรียกขอมูลเหลานั้นมาใชงาน

4. หนวยแสดงผล (output unit) ทําหนาท่ีแสดงผลลัพธท่ีไดจากการประมวลผล เพื่อใหผูใชสามารถทําความเขาใจและนําสารสนเทศไปใชงาน ซึ่งในปจจุบันมีอุปกรณท่ีทําหนาท่ีแสดงผลที่ใชกับอยางแพรหลาย เชน จอภาพ เครื่องพิมพ และลําโพง เปนตน

ภาพที่ 12.9 สวนประกอบของระบบจัดการฐานขอมูล

หนวยรับขอมูล หนวยประมวลผลกลาง

หนวยจัดเก็บขอมูล หนวยแสดงผล

Page 24: หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการ ... · 2016-02-16 · หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจ

หนวยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ อาจารย ดร.วิชญะ นาครักษ

24

2. ประเภทของคอมพิวเตอร คอมพิวเตอรสามารถจําแนกไดหลายประเภท ข้ึนอยูกับความแตกตางของเครื่องคอมพิวเตอร ความเร็วใน

การประมวลผล และราคา แตโดยท่ัวไปนิยมจําแนกประเภทคอมพิวเตอรออกเปน 4 ประเภท ดังนี้ 1. ซูเปอรคอมพิวเตอร (super computer) เปนคอมพิวเตอรขนาดใหญมาก ท่ีมีประสิทธิภาพในการ

ประมวลผล มีความเร็วสูง มีราคาสูงมาก ปกติซูเปอรคอมพิวเตอรจะถูกพัฒนาขึ้นโดยเฉพาะ และมักจะถูกนําไปใชในงานวิจัย และการพัฒนาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเปนสําคัญ ตลอดจนการประมวลผลและการควบคุมงานที่มีความซับซอนท่ีตองการความถูกตองและมีความละเอียดออนสูง

2. คอมพิวเตอรเมนเฟรม หรือคอมพิวเตอรขนาดใหญ (mainframe computer) เปนคอมพิวเตอรท่ีมีประสิทธิภาพรองจากซูเปอรคอมพิวเตอร สามารถรองรับการทํางานจากผูใชไดหลายรอยคนในเวลาเดียวกัน สามารถตอเขากับอุปกรณรับสงขอมูลไดเปนจํานวนมาก ประมวลผลดวยความเร็วสูง มีหนวยความจําหลักขนาดใหญ มีการจัดเก็บขอมูลไดเปนจํานวนมาก มีความสามารถในการทํางานที่ซับซอนในเวลาที่รวดเร็ว ปกติเมนเฟรมจะถูกนําไปใชในหนวยงานขนาดใหญท่ีใชฐานขอมูลแบบรวมศูนย ตองการความถูกตองและแนนอนในการประมวลผลขอมูล เชน งานธนาคาร หนวยงานราชการที่ตองประมวลผลขอมูลจํานวนมาก เปนตน

3. มินิคอมพิวเตอร หรือคอมพิวเตอรขนาดกลาง (minicomputer) หรือ mid-range server เปนคอมพิวเตอรท่ีมีประสิทธิภาพในการทํางานในดานความเร็วและความสามารถในการจัดเก็บขอมูลนอยกวาเมนเฟรม แตสูงกวาเครื่องไมโครคอมพิวเตอร และสามารถรองรับการทํางานจากผูใชไดหลายคนในการทํางานที่แตกตางกัน การพัฒนามินิคอมพิวเตอรเริ่มตนจากตองการใหมินิคอมพิวเตอรทํางานเฉพาะอยาง เชน การคํานวณทางดานวิศวกรรม แตดวยราคาท่ีต่ํากวาเมนเฟรม ทําใหการพัฒนามินิคอมพิวเตอรเติบโตอยางรวดเร็ว ปจจุบันธุรกิจขนาดกลางและองคกรหลายประเภท รวมท้ังสถาบันการศึกษาที่ตองการการประมวลผลขอมูลในระดับปานกลาง นิยมนํามินิคอมพิวเตอรมาใชในการใหบริการขอมูลแกลูกคา

4. ไมโครคอมพิวเตอร (microcomputer) หรือคอมพิวเตอรสวนบุคคล (personal computer) หรือท่ีนิยมเรียกวา PC เปนเครื่องคอมพิวเตอรท่ีมีขนาดเล็กมากเมื่อเปรียบเทียบกับซูเปอรคอมพิวเตอร เมนเฟรมคอมพิวเตอร หรือแมแตมินิคอมพิวเตอร ในระยะแรกไมโครคอมพิวเตอรจะมีศักยภาพคอนขางต่ํา ทําใหไมสามารถนําไปประยุกตในงานทางธุรกิจที่ซับซอนไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยไมโครคอมพิวเตอรในระยะนั้นจะถูกนําไปใชทํางานสวนบุคคล หรือเลนเกม แตอยางไรก็ตาม เนื่องจากความสะดวกในการใชงาน ทําใหไมโครคอมพิวเตอรไดรับความนิยมเพิ่มข้ึนเรื่อยๆ โดยไมโครคอมพิวเตอรเปนคอมพิวเตอรท่ีไดกระตุนใหเกิดการเปลี่ยนแปลงอยางมากในระบบคอมพิวเตอรปจจุบัน ซึ่งไมโครคอมพิวเตอรมีสวนทําใหบุคคลทั่วไปมีความคุนเคย และเห็นประโยชนจากการใชงานคอมพิวเตอร

การพัฒนาใหไมโครคอมพิวเตอรสูงข้ึน ขณะที่ราคาไมโครคอมพิวเตอรถูกลง ประกอบกับความกาวหนาของเทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคมที่มีสวนในการเพิ่มความสามารถและขอบเขตการทํางานของไมโครคอมพิวเตอรมากข้ึน ไมวาจะเปนงานสวนตัวหรืองานธุรกิจ ไมโครคอมพิวเตอรจึงไดรับความนิยมในการนํามาใชงานมากขึ้น หลายองคกรธุรกิจเลือกนําระบบเครือขายไมโครคอมพิวเตอรมาใชงานแทนระบบอื่น เนื่องจากความคลองตัวในการทํางาน ความสะดวกในการบํารุงรักษา และราคาที่ถูกกวาเครื่องคอมพิวเตอรขนาดใหญ ไมโครคอมพิวเตอรและระบบสื่อสารโทรคมนาคมที่ทันสมัยจึงเปนแรงผลักดันที่สําคัญที่กอใหเกิดการปรับตัวเขาสูสังคมสารสนเทศอยางแทจริง

Page 25: หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการ ... · 2016-02-16 · หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจ

หนวยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ อาจารย ดร.วิชญะ นาครักษ

25

ในปจจุบันมีอุปกรณอิเล็กทรอนิกสหรือเครื่องใชตางๆ ท่ีมีการควบคุมดวยระบบดิจิตอล แตไมเกี่ยวของกับคอมพิวเตอรเชน โทรศัพทมือถือ ตูเย็น ไมโครเวฟ รวมท้ังอุปกรณเครื่องใชในบานอื่น ฯลฯ ซึ่งไดมีการพัฒนาใหสามารถเชื่อมตอกับอินเทอรเน็ต เปนลักษณะของอุปกรณออนไลน ท้ังนี้อุปกรณอิเล็กทรอนิกสเหลานี้ถูกพัฒนาใหรองรับภาษา XML (eXtensible Markup Language) จึงทําใหสามารถรองรับการใชงานดังกลาวได อยางไรก็ตามอุปกรณดังกลาวไมไดถูกจัดใหอยูในประเภทของคอมพิวเตอร

การเลือกใชเทคโนโลยีคอมพิวเตอรฮารดแวรใหเหมาะสมตอการใชงานในหนวยงานมีความสําคัญตอประสิทธิภาพการดําเนินธุรกิจเปนอยางยิ่ง ดังนั้นผูบริหารจึงมีบทบาทสําคัญยิ่งในการจัดการทรัพยากรคอมพิวเตอรฮารดแวรใหเกิดการใชงานใหไดประโยชนสูงสุด ซึ่งในการจัดการกับทรัพยากรเทคโนโลยีสารสนเทศดานฮารดแวรนั้นมีประเด็นในการพิจารณาดังนี้

1. การกําหนดแนวทางจัดหาอุปกรณคอมพิวเตอรใหสอดคลองกับความจําเปนและการแขงขันของธุรกิจในยุคปจจุบัน ท้ังนี้เทคโนโลยีขาวสารและการขยายตัวของธุรกิจมีการเจริญเติบโตอยางรวดเร็ว พัฒนาการทางดานคอมพิวเตอรฮารดแวรมีการเติบโตอยางกาวกระโดดเพื่อสนองความตองการในการนํามาชวยงานทางธุรกิจ ดังนั้นการวางแผนระยะยาวในเรื่องความสามารถและประสิทธิภาพในอนาคตของฮารดแวรจึงเปนเรื่องท่ีตองพิจารณาอยางตอเนื่องเพื่อโอกาสทางธุรกิจ

2. การกําหนดมาตรฐานในการจัดซื้อจัดหาคอมพิวเตอรฮารดแวร เทคโนโลยีคอมพิวเตอรฮารดแวรสามารถที่จะชวยสนับสนุนการขยายขีดความสามารถของหนวยงานได ขณะเดียวกันหากขาดการวางแผนและมาตรฐานที่มีประสิทธิภาพแลวอาจเกิดผลเสียตอการดําเนินงานของหนวยงานไดเชนกัน ดังนั้นในการเลือกซื้อและจัดหาอุปกรณฮารดแวร จึงตองมีการพิจารณาอยางรอบคอบ เพื่อใหแนใจวาสิ่งท่ีจัดหานั้นสอดคลองกับความตองการของหนวยงานอยางแทจริง

3. การจัดทําระบบฐานขอมูลเกี่ยวกับคอมพิวเตอรฮารดแวร ระบบคอมพิวเตอรมีคุณคาตอการดําเนินงานธุรกิจ ตองมีงบประมาณในการจัดหา การจัดทําระบบฐานขอมูลเพื่อการดูแลรักษาอุปกรณตางๆ จึงเปนแนวทางที่ชวยใหการบริหารจัดการสะดวกและมีประสิทธิภาพ ซึ่งนอกจากจะจัดเก็บรายละเอียดอุปกรณตางๆ แลว ขอมูลเกี่ยวกับปญหาที่เกิดข้ึน ตลอดจนแนวทางการแกไขปญหาก็นับไดวาเปนขอมูลท่ีสําคัญในการนําระบบคอมพิวเตอรมาประยุกตใชงานในหนวยงานเชนกัน

3. ซอฟตแวรคอมพิวเตอร

คอมพิวเตอรฮารดแวรไมสามารถทํางานไดโดยปราศจากคําสั่งหรือโปรแกรมคอมพิวเตอรท่ีเรียกวา ซอฟตแวร คอมพิวเตอรมีลักษณะใกลเคียงกับมนุษยเชนกันกลาวคือ มีสวนประกอบสําคัญ 2 สวนคือ รางกายและจิตใจ ฮารดแวรจะทําหนาท่ีเหมือนรางกายที่ เคลื่อนไหวและทํากิจกรรมตางๆ ตามที่จิตใจตองการ ขณะที่ซอฟตแวรจะเปรียบเสมือนจิตใจของระบบคอมพิวเตอรท่ีรวบรวมหลักการคิด และการใชเหตุผลเขาไวดวยกัน โดยซอฟตแวรนับวามีความสําคัญตอระบบคอมพิวเตอรมาก เพราะคอมพิวเตอรไมสามารถทํางานไดโดยปราศจากซอฟตแวร หรือถาซอฟตแวรขาดความสมบูรณก็จะทําใหการทํางานของระบบคอมพิวเตอรขาดประสิทธิภาพ ดังนั้นผูท่ีศึกษาเกี่ยวกับระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ จึงควรตองมีความเขาใจเกี่ยวกับหลักการและคุณสมบัติของซอฟตแวรเพื่อใหสามารถใชงานระบบคอมพิวเตอรและสารสนเทศไดตามตองการ

Page 26: หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการ ... · 2016-02-16 · หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจ

หนวยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ อาจารย ดร.วิชญะ นาครักษ

26

ซอฟตแวร มีหนาท่ีในการควบคุมใหเครื่องคอมพิวเตอรทํางานใหไดตามผลลัพธท่ีตองการ ซอฟตแวรหรือโปรแกรมคอมพิวเตอรเขียนขึ้นดวยภาษาตางๆ และการเลือกใชโปรแกรมที่เหมาะสมกับลักษณะของงานนั้นๆ จะชวยใหการใชเทคโนโลยีสารสนเทศเกิดประสิทธิภาพไดอยางสูงสุด ซอฟตแวรแบงออกเปน 2 ประเภทคือ

1. ซอฟตแวรระบบ (system software) เปนโปรแกรมหรือคําสั่งท่ีทําหนาท่ีควบคุมการปฏิบัติงานของคอมพิวเตอร การสื่อสารขอมูลและเครือขาย และอุปกรณอื่นๆ ซอฟตแวรระบบเปนสวนติดตอระหวางผูใชกับโปรแกรมประยุกตและฮารดแวร ซอฟตแวรระบบจําแนกเปน 2 ประเภทคือ

1.1 ซอฟตแวรระบบปฏิบัติการ (Operating System หรือ OS) เปนชุดคําสั่งท่ีทําหนาท่ีเปนสื่อกลางของกิจกรรมตางๆ ระหวางโปรแกรมประยุกต อุปกรณคอมพิวเตอร และผูใช ตัวอยางของซอฟตแวรระบบปฏิบัติการท่ีใชในปจจุบัน ไดแก ระบบปฏิบัติการดอส (DOS) ระบบปฏิบัติการยูนิกส (UNIX) ระบบปฏิบัติการลีนุกซ (LINUX) และระบบปฏิบัติการวินโดวส เชน Window XP, Window 2000, Window 2003, Window Vista และ Window 7 เปนตน เมื่อผูใชเปดเครื่องคอมพิวเตอร ระบบปฏิบัติการจะถูกเรียกจากฮารดดิสกไปไวท่ีหนวยความจําหลัก และจะอนุญาตใหผูใชสื่อสารกับคอมพิวเตอรและโปรแกรมอื่นๆ ได

1.2 ซอฟตแวรอรรถประโยชน (utility programs) เปนซอฟตแวรระบบที่ชวยเพิ่มประสิทธิภาพการทํางานของเครื่องคอมพิวเตอร โปรแกรม และอุปกรณตางๆ เปนซอฟตแวรท่ีทําหนาท่ีดูแลความปลอดภัยและเสถียรภาพของเครื่องคอมพิวเตอร ตัวอยางซอฟตแวรอรรถประโยชนเชน โปรแกรมสําหรับสํารองขอมูล (backup) โปรแกรมตรวจสอบความถูกตองของขอมูล (scandisk) โปรแกรมที่ชวยในการจัดระเบียบขอมูลในฮารดดิสก (disk defragmenter) หรือโปรแกรมตรวจสอบไวรัส (virus scan) เปนตน ซอฟตแวรอรรถประโยชนเหลานี้ หลายโปรแกรมจะใหมาพรอมกับซอฟตแวรระบบปฏิบัติการ

2. ซอฟตแวรประยุกต (application software) เปนโปรแกรมที่พัฒนาขึ้นเพื่อใหคอมพิวเตอรทํางานดานตางๆ ตามความตองการของผูใช ซึ่งถาซอฟตแวรพัฒนาขึ้นเพื่อความตองการเฉพาะของหนวยงานใดหนวยงานหนึ่งจะเรียกซอฟตแวรประเภทนี้วา ซอฟตแวรเฉพาะงาน ซึ่งขอดีคือซอฟตแวรสามารถใชงานไดอยางมีประสิทธิภาพตามความประสงคของหนวยงาน แตขอเสียก็คือซอฟตแวรประเภทนี้จะใชเวลาในการพัฒนานานและคาใชจายคอนขางสูง และดวยเหตุผลนี้จึงไดมีการพัฒนาซอฟตแวรท่ีใชสําหรับงานทั่วๆ ไป หรือเรียกวาซอฟตแวรสําเร็จรูป ซึ่งเปนซอฟตแวรในเชิงพาณิชยท่ีผูใชสามารถซื้อไปประยุกตใชงานไดทันที

ปจจุบันเทคโนโลยีซอฟตแวรไดพัฒนาขึ้นกวาในอดีตมาก ทําใหธุรกิจที่เกี่ยวของกับการพัฒนาซอฟตแวรสามารถทํารายไดมหาศาล และมีอิทธิพลตอธุรกิจอื่นมาก แมกระทั่งเมื่อเปรียบเทียบกับธุรกิจฮารดแวร เนื่องจากเครื่องคอมพิวเตอรในปจจุบันมีราคาลดลง แตมีศักยภาพสูงข้ึน ขณะที่ซอฟตแวรท่ีพัฒนาใหมีประสิทธิภาพสูง สามารถทํางานที่ซับซอน สรางความพอใจใหแกผูใช จะมีราคาแพงขึ้น ทําใหอุตสาหกรรมซอฟตแวรตองการบุคลากรที่มีความสามารถในการพัฒนาซอฟตแวรไดอยางมีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้นดวย

Page 27: หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการ ... · 2016-02-16 · หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจ

หนวยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ อาจารย ดร.วิชญะ นาครักษ

27

ภาพที่ 12.10 ซอฟตแวรคอมพวิเตอร 4. ภาษาคอมพิวเตอร

มนุษยทุกวันนี้สื่อสารกันดวยภาษาที่แตกตางกัน ข้ึนอยูกับความเปนมาและสภาพแวดลอมของแตละชาติ ภาษาที่นิยมใชสื่อสารกันในปจจุบันนี้ เชน ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาจีน และอื่นๆ การสื่อสารของคอมพิวเตอรก็มีลักษณะเชนเดียวกันกับการสื่อสารของมนุษยกลาวคือมีภาษาที่แตกตางกันจํานวนมากที่สามารถสั่งใหคอมพิวเตอรทํางานได ภาษาคอมพิวเตอรเปนสื่อกลางในการติดตอสื่อสารระหวางผูใชกับเครื่องคอมพิวเตอร เพื่อใหสามารถทํางานรวมกันไดอยางสะดวกราบรื่น โดยซอฟตแวรสําหรับใชงานและควบคุมระบบคอมพิวเตอร จะถูกเขียนขึ้นจากภาษาคอมพิวเตอร ในระยะเริ่มตนของการพัฒนาและการนําคอมพิวเตอรมาใชงาน ผูใชจําเปนที่จะตองทําการเรียนรูภาษาเครื่อง ซึ่งเปนภาษาเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอรแตละระบบ เพื่อใหสามารถทํางานรวมกับเครื่องคอมพิวเตอรไดอยางดี เชน ภาษาเบสิก ภาษาปาสคาล ภาษาโคบอล เปนตน แตอยางไรก็ตามภาษาคอมพิวเตอรโดยทั่วไปแลวจําแนกไดเปน 5 ประเภท คือ

1. ภาษาเครื่อง (machine language) เปนเพียงภาษาเดียวท่ีสามารถสื่อสารไดกับคอมพิวเตอรโดยตรง เรียกวาภาษาในยุคท่ีหนึ่ง คําสั่งในภาษาเครื่องจะเปนชุดคําสั่งท่ีประกอบดวยตัวเลขของเลขฐานสอง ท่ีใชเลข 0 และ 1 เปนสัญลักษณแทนสัญญาณไฟฟาปดและเปดตามลําดับ

2. ภาษาแอสแซมบลี (assembly language) เปนภาษาในยุคท่ีสอง เกิดข้ึนเนื่องจากความยุงยากของภาษาเครื่อง คําสั่งในภาษาเอสแซมบลีจะใชตัวยอท่ีมีความหมายเพื่อเขียนโปรแกรม ทําใหสามารถเรียนรูไดงายข้ึน และเร็วกวาการเขียนโปรแกรมดวยภาษาเครื่อง

3. ภาษาระดับสูง (high-level language) เปนภาษาในยุคท่ีสาม ภาษาระดับสูงเปนภาษาที่งายตอการเรียนรูและการนําไปประยุกตใชงานมากกวาภาษาแอสแซมบลี และเปนภาษาที่ไมผูกติดกับฮารดแวรสามารถทํางานบนเครื่องคอมพิวเตอรตางชนิดกันได โดยภาษาระดับสูงเปนชุดคําสั่งท่ีมีลักษณะเหมือนคําในภาษาอังกฤษ เชน ใชคําสั่ง add เพื่อสั่งใหคอมพิวเตอรบวก เปนตน แตภาษาระดับสูงจําตองมีตัวแปลภาษาเพื่อใหเปนภาษาเครื่องใหคอมพิวเตอรเขาใจได ภาษาระดับสูงไดแก ภาษาเบสิก ภาษาปาสคาล ภาษาโคบอล และภาษาฟอรแทรน เปนตน

4. ภาษาระดับสูงมาก (very high-level language) เปนภาษาในยุคท่ีสี่ ภาษาระดับสูงมากจะใชคําสั่งเปนภาษาอังกฤษเหมือนภาษาระดับสูง แตตางกันที่ภาษาระดับสูงมากไมตองมีตัวแปลภาษาเพื่อใหเปนภาษาเครื่อง ตัวอยางของภาษาระดับสูงมากเชน ภาษาที่ใชในโปรแกรม dBASE เปนตน ซึ่งเปนภาษาที่มีความยืดหยุนในการประยุกตใชงานมากกวาภาษาระดับสูง

5. ภาษาธรรมชาติ (natural language) เปนภาษาในยุคที่หา เปนภาษาที่ใกลเคียงกับโครงสรางของภาษาอังกฤษมากที่สุด ในปจจุบันภาษาธรรมชาติจะนํามาประยุกตใชกับระบบผูเชี่ยวชาญ (expert system) และ

ซอฟตแวร

ซอฟตแวรระบบ

ซอฟตแวรประยุกต

Page 28: หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการ ... · 2016-02-16 · หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจ

หนวยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ อาจารย ดร.วิชญะ นาครักษ

28

ปญญาประดิษฐ (artificial intelligence) ซึ่งนิยมใชในวงการธุรกิจ ตัวอยางภาษาในยุคท่ีหา ไดแก โปรแกรมเชิงวัตถุ (object oriented programming) เชน ภาษาจาวา ภาษา C++ หรือภาษาอื่นที่เหมาะสําหรับการพัฒนาโปรแกรมประยุกตบนเว็บ เชน ภาษา ASP (Active Server Page) เปนตน

ซอฟตแวรคอมพิวเตอรนับวามีคุณคาไมตางไปจากฮารดแวร การทํางานของซอฟตแวรและฮารดแวรจําเปนตองประสานสอดคลองกัน ดังนั้นการบริหารจัดการซอฟตแวรจึงมีความสําคัญเชนเดียวกับการบริหารจัดการฮารดแวร ในการตัดสินใจเลือกใชซอฟตแวรมาใชในหนวยงาน จึงจําเปนที่จะตองคํานึงถึงปจจัยหลายประการที่เกี่ยวเนื่องกัน ไดแก

1. มาตรฐาน ในแตละองคกรธุรกิจควรใชซอฟตแวรท่ีเปนมาตรฐานในการดําเนินการเพื่อความสะดวกในการดูแลและการบริหารงาน ซอฟตแวรมาตรฐานที่จัดหาควรสอดคลองกันและงายตอการเรียนรู

2. ความเหมาะสมและคุณสมบัติของซอฟตแวรนั้นๆ ซอฟตแวรคอมพิวเตอรท่ีองคกรธุรกิจเลือกใชงานควรพิจารณาถึงลักษณะงานและคุณสมบัติเฉพาะของซอฟตแวรท่ีนํามาใชดวยเชน งานดานธุรกิจ งานดานวิทยาศาสตร งานดานการวิจัย เปนตน

3. ความเขากันได ซอฟตแวรท่ีเลือกใชตองเขากันไดกับซอฟตแวรระบบปฏิบัติการและฮารดแวรท่ีใชงานอยูแลว เพื่อใหสามารถทํางานรวมกันไดอยางมีประสิทธิภาพ

หลังจากศึกษาเนื้อหาเรือ่งท่ี 12.1.3 แลวโปรดปฏิบัติกิจกรรม 12.1.3

ในแนวการศึกษาหนวยท่ี 12 ตอนที่ 12.1 เรือ่งที่ 12.1.3

Page 29: หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการ ... · 2016-02-16 · หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจ

หนวยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ อาจารย ดร.วิชญะ นาครักษ

29

เร่ืองที่ 12.1.4 ระบบเครือขายคอมพิวเตอร 1. องคประกอบของระบบเครือขายคอมพิวเตอร

ระบบเครือขายคอมพิวเตอร (computer networking system) เปนระบบสื่อสารที่เช่ือมโยงคอมพิวเตอรและอุปกรณตางๆ ตั้งแต 2 ระบบเขาดวยกัน เพื่อใหสามารถสื่อสารขอมูลระหวางกันหรือรวมกัน และทํากิจกรรมดานดานสารสนเทศอยางมีประสิทธิภาพ โดยในการเชื่อมตอนั้นประสิทธิภาพของเครือขายคอมพิวเตอรจะขึ้นอยูกับองคประกอบตางๆ ของระบบเครือขายคอมพิวเตอร ซึ่งประกอบดวย

1. จํานวนเครื่องคอมพิวเตอรในเครือขาย ประสิทธิภาพของเครือขายข้ึนอยูกับจํานวนเครื่องคอมพิวเตอรท่ีตอพวงภายในเครือขาย ถาจํานวนเครื่องคอมพิวเตอรท่ีตอพวงมีจํานวนมาก จะทําใหประสิทธิภาพของการสื่อสารต่ํา เหตุเพราะตองมีการแบงการใชงานของสื่อนําขอมูล แตถาจํานวนเครื่องคอมพิวเตอรในเครือขายมีจํานวนนอยจะทําใหระบบเครือขายนั้นมีประสิทธิภาพสูงข้ึน

2. สื่อนําขอมูล เครือขายคอมพิวเตอรท่ีใชสื่อนําขอมูลท่ีเหมาะสมกับระบบจะเปนเครือขายท่ีสามารถสื่อสารขอมูลกันไดอยางดี แตถามีการนําสื่อนําขอมูลท่ีไมเหมาะสมเชนความเร็วต่ํามาใชงานในเครือขายจะทําใหเครือขายคอมพิวเตอรนั้นมีประสิทธิภาพต่ําไปดวย นอกจากการเลือกสื่อนําขอมูลท่ีเหมาะสมแลว จะตองคํานึงถึงการจัดวางสื่อนําขอมูลเหลานั้นใหเหมาะสมกับสภาพแวดลอมและการใชงาน

3. คอมพิวเตอรฮารดแวร การสื่อสารขอมูลภายในเครือขายคอมพิวเตอร ฮารดแวรเปนเครื่องมือท่ีกระทําการเก็บรวบรวม จัดรูปแบบ และประมวลผลขอมูลในปริมาณมาก การสื่อสารขอมูลภายในเครือขายคอมพิวเตอรจะตองมีเครื่องคอมพิวเตอรตางๆ ทําหนาท่ีแตกตางกันไป เครื่องคอมพิวเตอรเหลานั้นจะมีผลตอประสิทธิภาพของเครือขายคอมพิวเตอรอยางยิ่ง ถาเครื่องคอมพิวเตอรเหลานั้นไมมีประสิทธิภาพจะทําใหเครือขายคอมพิวเตอรไมมีประสิทธิภาพ นอกจากเครื่องคอมพิวเตอรแลว อุปกรณอื่นๆ ท่ีเกี่ยวของกับการสื่อสารขอมูลระหวางเครื่องคอมพิวเตอร เชน โมเด็ม ก็สงผลตอประสิทธิภาพตอระบบเครือขายคอมพิวเตอรดวยเชนกัน

4. ซอฟตแวรคอมพิวเตอร ซอฟตแวรจะทําหนาท่ีประมวลผลขอมูลท่ีเครื่องคอมพิวเตอรท่ีทําหนาท่ีรับขอมูล สงขอมูล ควบคุมการนําขอมูลเขา ขอมูลออก ของระบบเครือขายอยางเปนระบบ ปลอดภัย มีประสิทธิภาพ หรือหมายถึงเครื่องคอมพิวเตอรท่ีเปนตัวกลางในการติดตอสื่อสาร ซอฟตแวรคอมพิวเตอรท่ีใชในการสื่อสารขอมูลท่ีดีสามารถทําใหสื่อสารขอมูลไดอยางเต็มประสิทธิภาพ

Page 30: หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการ ... · 2016-02-16 · หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจ

หนวยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ อาจารย ดร.วิชญะ นาครักษ

30

2. ประเภทของระบบเครือขายคอมพิวเตอร ปจจุบันองคกรธุรกิจตางติดตั้งระบบเครือขายคอมพิวเตอร เพื่อเช่ือมโยงและใชสารสนเทศรวมกัน โดย

การเชื่อมโยงของระบบเครือขายจะมีท้ังภายในและภายนอกองคกร ซึ่งสามารถจําแนกระบบเครือขายคอมพิวเตอรตามระยะหาง และการเชื่อมโยงอุปกรณออกเปน 4 ประเภท ดังนี้

1. เครือขายแพน (Personal Area Network หรือ PAN) หมายถึง เครือขายสวนบุคคล เปนเครือขายสําหรับการแลกเปลี่ยนขอมูลสารสนเทศ และการบริการ ตลอดจนการใชงานอุปกรณรวมกัน เทคโนโลยีท่ีนํามาใช เชน บลูทูธ ยกตัวอยางเครือขายแพน เชน การแลกเปลี่ยนขอมูลระหวางเครื่องพีดีเอกับเครื่องคอมพิวเตอรตั้งโตะสําหรับการใชอินเทอรเน็ตและอีเมล

2. เครือขายแลน (Local Area Network หรือ LAN) หมายถึง เครือขายเฉพาะพื้นที่ เปนระบบเครือขายท่ีใชเชื่อมโยงคอมพิวเตอรและอุปกรณตางๆ ท่ีอยูในระยะใกลเขาดวยกัน ระยะทางการเชื่อมตอประมาณไมเกิน 10 กิโลเมตร มีความเร็วในการแลกเปลี่ยนขอมูลสูง ประมาณ 10-100 Mbps สื่อท่ีใชมักจะเปนสื่อแบบสายสัญญาณ สวนใหญจะใชในหนวยงาน สํานักงาน เชน เครือขายภายในมหาวิทยาลัย หรือเครือขายภายในบริษัท เปนตน

3. เครือขายแมน (Metropolitan Area Network หรือ MAN) หมายถึง เครือขายคอมพิวเตอรขนาดใหญ เปนระบบเครือขายท่ีตอเชื่อมและครอบคลุมพื้นที่กวางทั้งตําบล หรือท้ังอําเภอ หรือท้ังจังหวัด เครือขายคอมพิวเตอรชนิดนี้เกิดจากการเชื่อมตอของเครือขายคอมพิวเตอรแบบแลนหลายๆ เครือขายเขาดวยกัน

4. เครือขายแวน (Wide Area Network หรือ WAN) หมายถึง เครือขายคอมพิวเตอรขนาดใหญมาก ภายในเครือขายประกอบไปดวยเครือขายแลน และแมน พื้นที่ของเครือขายแวนสามารถครอบคลุมไดท้ังประเทศ หรือท่ัวโลก เครือขายอินเทอรเน็ตท่ีใหบริการครอบคลุมท่ัวโลกก็เปนเครือขายแบบแวนเชนกัน

ภาพที่ 12.11 ประเภทของระบบเครือขายคอมพิวเตอร

ระบบเครือขาย

ระบบเครือขายสวนบุคคล

ระบบเครือขายคอมพิวเตอรขนาดใหญ

ระบบเครือขายเฉพาะพื้นที่

ระบบเครือขายคอมพิวเตอรขนาดใหญมาก

Page 31: หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการ ... · 2016-02-16 · หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจ

หนวยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ อาจารย ดร.วิชญะ นาครักษ

31

3. โครงสรางของระบบเครือขายคอมพิวเตอร (network topology) โครงสรางของระบบเครือขายคอมพิวเตอร (network topology) หมายถึง รูปแบบการเชื่อมตอคอมพิวเตอร

และอุปกรณคอมพิวเตอร เขาดวยกัน ใหเปนเครือขายคอมพิวเตอร ซึ่งในการกลาวถึงโครงสรางของระบบเครือขายคอมพิวเตอรจะกลาวถึงใน 2 ลักษณะ คือ โครงสรางของระบบเครือขายคอมพิวเตอรทางตรรกะ (logical topology) และโครงสรางของระบบเครือขายคอมพิวเตอรทางกายภาพ (physical topology)

โครงสรางของระบบเครือขายคอมพิวเตอรทางตรรกะ แสดงถึง การเชื่อมโยงระหวางอุปกรณตางๆ ของเครือขายเปนแผนภาพ สวนโครงสรางของระบบเครือขายคอมพิวเตอรทางกายภาพ หมายถึง การเชื่อมโยงทางกายภาพของเครื่องคอมพิวเตอรและอุปกรณตางๆ ซึ่งเปนการเชื่อมโยงทางวงจรอิเล็กทรอนิกส โครงสรางของระบบเครือขายคอมพิวเตอรท่ัวไปในเครือขายคอมพิวเตอรมักจะหมายถึงโครงสรางของระบบเครือขายคอมพิวเตอรทางตรรกะ ซึ่งมีรูปแบบการเชื่อมโยงหลายรูปแบบ รูปแบบที่สําคัญคือ การเชื่อมโยงแบบสมบูรณ (complete interconnect) ซึ่งเปนการเชื่อมโยงคอมพิวเตอรทุกเครื่องในเครือขายเขาดวยกันแบบจุดตอจุด การเชื่อมโยงแบบนี้ทําใหมีความเร็วในการสื่อสารขอมูลสูงโปรแกรมที่ใชในการควบคุม การสื่อสารก็เปนแบบพื้นฐานไมซับซอนมากนัก และไมจําเปนตองมีหนวยประมวลผลกลาง การสื่อสารในการเลือกเสนทางสื่อสารเนื่องจากเปนการเชื่อมโยงโดยตรงถึงเครื่องคอมพิวเตอร ทุกเครื่อง การเชื่อมโยงแบบนี้มีความเชื่อมั่นในการสื่อสารสูง และหากไดเพิ่มหนวยประมวลผลการสื่อสารเขาไปในระบบอีก จะทําใหการสื่อสารเปนไปอยางมีประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึน สําหรับการนําเครื่องคอมพิวเตอรมาเชื่อมตอกันเพื่อประโยชนของการสื่อสารนั้น สามารถกระทําไดหลายรูปแบบ ซึ่งแตละแบบก็มีจุดเดนที่แตกตางกันไป โดยทั่วไปแลวโครงสรางของเครือขายคอมพิวเตอรสามารถจําแนกตามลักษณะของการเชื่อมตอไดดังนี้

1. โครงสรางของระบบเครือขายคอมพิวเตอรแบบบัส (bus topology) เปนโครงสรางเครือขายคอมพิวเตอรท่ีไดรับความนิยมใชกันมากที่สุดมาตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน โครงสรางเครือขายคอมพิวเตอรแบบบัสจะประกอบดวย สายสงขอมูลหลัก ท่ีใชสงขอมูลภายในเครือขาย เครื่องคอมพิวเตอรแตละเครื่องจะเชื่อมตอเขากับสายขอมูลผายจุดเชื่อมตอ เมื่อมีการสงขอมูลระหวางเครื่องคอมพิวเตอรหลายเครื่องพรอมกันจะมีสัญญาณขอมูลสงไปบนสายสัญญาณและมีการแบงเวลาการใชสายสัญญาณของแตละเครื่อง

ขอดีของโครงสรางของระบบเครือขายคอมพิวเตอรแบบบัสคือ ใชสายสัญญาณนอย ชวยใหประหยัดคาใชจาย และถาเครื่องคอมพิวเตอรเครื่องใดเครื่องหนึ่งเสียก็จะไมสงผลตอการทํางานของระบบโดยรวม แตมีขอเสียคือ การตรวจจุดท่ีมีปญหากระทําไดคอนขางยาก และถามีจํานวนเครื่องคอมพิวเตอรในเครือขายมากเกินไปจะมีการสงขอมูลชนกันมากจนเปนปญหา

ภาพที่ 12.12 โครงสรางเครือขายคอมพิวเตอรแบบบัส

Page 32: หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการ ... · 2016-02-16 · หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจ

หนวยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ อาจารย ดร.วิชญะ นาครักษ

32

2. โครงสรางของระบบเครือขายคอมพิวเตอรแบบวงแหวน (ring topology) เปนการเชื่อมตอระหวางเครื่องคอมพิวเตอร โดยท่ีแตละการเชื่อมตอจะมีลักษณะเปนวงกลม การสงขอมูลภายในเครือขายนี้จะเปนวงกลมดวยเชนกัน ทิศทางการสงขอมูลจะเปนทิศทางเดียวกันจากเครื่องคอมพิวเตอรหนึ่งไปสูคอมพิวเตอรอีกเครื่องหนึ่งจนถึงปลายทาง

ขอดีของโครงสรางของระบบเครือขายคอมพิวเตอรแบบวงแหวน คือ การสงขอมูลสามารถสงไปยังเครื่องคอมพิวเตอรเครื่องอื่นๆ หลายๆ เครื่องพรอมกันได นอกจากนี้ การสงขอมูลเปนไปในทิศทางเดียวกัน จึงไมมีการชนกันของสัญญาณขอมูล แตขอเสียของระบบเครือขายคอมพิวเตอรแบบวงแหวน คือ ในกรณีท่ีมีเครื่องคอมพิวเตอรใดเครื่องหนึ่งชํารุดจะทําใหการสงขอมูลภายในเครือขายคอมพิวเตอรแบบวงแหวนไมสามารถทํางานตอไปได นอกจากนี้ เมื่อคอมพิวเตอรเครื่องหนึ่งตองการสงขอมูล คอมพิวเตอรเครื่องอื่นๆ ตองมีสวนรวมดวย ซึ่งจะทําใหเสียเวลา

ภาพที่ 12.13 โครงสรางเครือขายคอมพิวเตอรแบบวงแหวน

3. โครงสรางของระบบเครือขายคอมพิวเตอรแบบดาว (star topology) ภายในโครงสรางเครือขายคอมพิวเตอรแบบดาวจะตองมีศูนยกลางในการควบคุมเชื่อมตอคอมพิวเตอร หรือ ฮับ (hub) การสื่อสารระหวางเครื่องคอมพิวเตอรตางๆ จะสื่อสารผานฮับกอนที่จะสงขอมูลไปสูเครื่องคอมพิวเตอรเครื่องอื่นๆ

โครงสรางของระบบเครือขายคอมพิวเตอรแบบดาวมีขอดีคือ ถาตองการเชื่อมตอคอมพิวเตอรเครื่องใหมก็สามารถทําไดงายและไมกระทบตอเครื่องคอมพิวเตอรเครื่องอื่นในระบบ สวนขอเสียคือเมื่อฮับไมทํางาน การทํางานของระบบเครือขายคอมพิวเตอรแบบดาวนี้ก็จะหยุดการทํางานไปดวย

ภาพที่ 12.14 โครงสรางเครือขายคอมพิวเตอรแบบดาว

Page 33: หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการ ... · 2016-02-16 · หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจ

หนวยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ อาจารย ดร.วิชญะ นาครักษ

33

4. โครงสรางของระบบเครือขายคอมพิวเตอรแบบเมช (mesh topology) เปนการทํางานโดยเครื่องคอมพิวเตอรแตละเครื่องจะตองมีชองสงสัญญาณจํานวนมาก เพื่อท่ีจะเชื่อมตอกับเครื่องคอมพิวเตอรเครื่องอื่นๆ ทุกเครื่อง โครงสรางเครือขายคอมพิวเตอรแบบเมชนี้เครื่องคอมพิวเตอรแตละเครื่องจะสงขอมูลไดอิสระ ไมตองรอการสงขอมูลระหวางเครื่องคอมพิวเตอรเครื่องอื่นๆ ทําใหการสงขอมูลมีความรวดเร็ว

ขอดีของโครงสรางของระบบเครือขายคอมพิวเตอรแบบเมชคือ การเชื่อมตอคอมพิวเตอรแบบสมบูรณ คอมพิวเตอรทุกเครื่องในเครือขายจะเชื่อมตอถึงกันหมดโดยใชสายสัญญาณทุกการเชื่อมตอ วิธีนี้จะเปนการสํารองเสนทางเดินของขอมูลไดเปนอยางดี เชน ถาสายสัญญาณเสนใดเสนหนึ่งขาด ก็ยังมีเสนทางอื่นที่สามารถสงขอมูลได นอกจากนี้ยังเปนระบบที่มีความเชื่อถือไดสูง แตขอเสียก็คือ เครือขายแบบนี้จะใชสายสัญญาณมาก ดังนั้น คาใชจายในการติดตั้งระบบก็เพิ่มข้ึน นอกจากนี้ ในการเชื่อมตอจริงๆ นั้นการเชื่อมตอแบบนี้มีการใชงานนอยมาก เนื่องจากขอเสียก็คือการเชื่อมตอหลายจุด จึงไดมีการประยุกตใชการเชื่อมตอแบบเมชบางสวน หรือการเชื่อมตอแบบเมชที่ไมสมบูรณ กลาวคือ จะเชื่อมตอเฉพาะลิงคจําเปนหรือสําคัญเทานั้น

ภาพที่ 12.15 โครงสรางเครือขายคอมพิวเตอรแบบเมช 5. โครงสรางของระบบเครือขายคอมพิวเตอรแบบผสม (hybrid topology) เปนโครงสรางเครือขาย

คอมพิวเตอรท่ีผสมผสานความสามารถของโครงสรางเครือขายคอมพิวเตอรหลายๆ แบบรวมกัน ประกอบดวยเครือขายคอมพิวเตอรยอยๆ หลายเครือขายท่ีมีโครงสรางแตกตางกันมาเชื่อมตอกันตามความเหมาะสม ทําใหเกิดเครือขายท่ีมีประสิทธิภาพสูงในการสื่อสารขอมูล ระบบเครือขายคอมพิวเตอรแบบผสมนับวาเปนรูปแบบใหมท่ีเกิดจากการผสมผสานกันของโทโปโลยีแบบ STAR, BUS, RING เขาดวยกัน เพื่อเปนการลดขอเสียของรูปแบบที่กลาวมา และเพิ่มขอดี ข้ึนมา มักจะนํามาใชกับเครือขายแวนมาก ซึ่งการเชื่อมตอกันของแตละรูปแบบนั้น ตองใชตัวเชื่อมสัญญาณเขามาเปนตัวเชื่อม ตัวนั้นก็คือ router เปนตัวเชื่อมการติดตอกัน

ขอดีของโครงสรางของระบบเครือขายคอมพิวเตอรแบบผสมคือ ใชสายสงขอมูลนอยเมื่อเทียบกับระบบเครือขายคอมพิวเตอรแบบดาว เนื่องจากใชสายสงขอมูลนอย ทําใหประหยัดคาใชจาย แตขอเสีย คือ หากเกิดความเสียหายจุดใด จะทําใหระบบไมสามารถติดตอกันได จนกวาจะนําจุดท่ีเสียหายออกจากระบบ นอกจากนี้ หากเกิดความเสียหายจุดใดก็ยากตอการตรวจสอบหาขอผิดพลาด เพราะอาจตองหาทีละจุด และระบบเครือขายคอมพิวเตอรแบบผสมนั้น การจัดโครงสรางใหมคอนขางยุงยาก เมื่อตองตองการเพิ่มจุดสถานีใหม ซึ่งถาหากจะทําก็อาจจะตองตัดสายใหม ทําใหมีคาใชจายเพิ่มข้ึนตามไปดวย

Page 34: หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการ ... · 2016-02-16 · หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจ

หนวยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ อาจารย ดร.วิชญะ นาครักษ

34

ภาพที่ 12.16 โครงสรางเครือขายคอมพิวเตอรแบบผสม

หลังจากศึกษาเนื้อหาเรือ่งท่ี 12.1.4 แลวโปรดปฏิบัติกิจกรรม 12.1.4 ในแนวการศึกษาหนวยท่ี 12 ตอนที่ 12.1 เรือ่งที่ 12.1.4

Page 35: หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการ ... · 2016-02-16 · หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจ

หนวยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ อาจารย ดร.วิชญะ นาครักษ

35

ตอนที่ 12.2 การพัฒนาและการประยุกตระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการทางธุรกิจ

โปรดอานแผนการสอนประจําตอนที่ 12.2 แลวจึงศึกษาเนื้อหาสาระ พรอมปฏิบัติกิจกรรมในแตละเรื่อง

หัวเรื่อง

เรื่องท่ี 12.2.1 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการโดยทั่วไป เรื่องท่ี 12.2.2 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ เรื่องท่ี 12.2.3 ระบบสารสนเทศสําหรับผูบริหารระดับสูง เรื่องท่ี 12.2.4 ระบบผูเชี่ยวชาญ

แนวคิด

1. ข้ันตอนการพัฒนาระบบสารสนเทศโดยทั่วไปสามารถแบงออกไดเปนขั้นตอนใหญๆ ไดแก ข้ันตอนการออกแบบระบบ เปนการศึกษาระบบงานปจจุบันวา มีปญหาและอุปสรรคอยางไรตอการดําเนินงาน ข้ันตอนการพัฒนาระบบ เปนการเขียนโปรแกรมคําสั่งใหเครื่องคอมพิวเตอรทํางาน และขั้นตอนการนําระบบใหมเขามาใชงานแทนระบบเดิม

2. ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ เปนระบบสารสนเทศที่สามารถโตตอบกับผูใช โดยระบบจะรวบรวมขอมูลและแบบจําลองในการตัดสินใจที่สําคัญ เพื่อชวยผูบริหารในการตัดสินปญหาแบบกึ่งโครงสรางและไมมีโครงสราง

3. ระบบสารสนเทศสําหรับผูบริหารระดับสูง เปนระบบสนับสนุนการตัดสินใจประเภทหนึ่งซึ่งไดรับการพัฒนาโดยเฉพาะสําหรับผูบริหารระดับสูงเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจในการแกปญหาแบบไมมีโครงสราง

4. ระบบผูเชี่ยวชาญ เปนระบบหนึ่งของระบบปญญาประดิษฐ เปนระบบคอมพิวเตอรท่ีถูกพัฒนาใหสามารถรับรูและทํางานเฉพาะดานไดอยางเชี่ยวชาญ

วัตถุประสงค

เมื่อศึกษาตอนที่ 12.2 จบแลว นักศึกษาสามารถ 1. อธิบายกระบวนการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการโดยทั่วไปได 2. อธิบายกระบวนการพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจได 3. อธิบายกระบวนการพัฒนาระบบสารสนเทศสําหรับผูบริหารระดับสูงได 4. อธิบายกระบวนการพัฒนาระบบผูเช่ียวชาญได

Page 36: หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการ ... · 2016-02-16 · หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจ

หนวยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ อาจารย ดร.วิชญะ นาครักษ

36

คํานํา ในตอนที่ 12 จะเปนการศึกษาเกี่ยวกับการพัฒนาระบบสนเทศเพื่อการจัดการทางธุรกิจ โดยในเรื่องท่ี 12.1

เปนภาพรวมของการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการโดยทั่วไป แตสําหรับเรื่องท่ี 12.2 - 12.4 จะเปนระบบประยุกตเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจของผูบริหารในระดับตางๆ ท่ีเกิดข้ึนจริงในปจจุบัน ซึ่งนักศึกษาควรจะมีความเขาใจในเรื่องของการตัดสินใจกอนที่จะเขาสูเนื้อหา

การจัดการเปนกระบวนการที่ประกอบไปดวยหนาท่ี 5 ประการคือ การวางแผน (planning) การจัดองคกร (organizing) การประสานงาน (coordination) การตัดสินใจ (deciding) และการควบคุม (controlling) การจัดการที่มีประสิทธิภาพนั้น ผูบริหารจะตองสามารถนําเอาความรู ความเขาใจในหลักการบริหารมาประยุกตใชใหเหมาะสมกับการทํางาน สถานการณ และสิ่งแวดลอม โดยเฉพาะในสภาพแวดลอมทางธุรกิจที่มีการแขงขันกันสูง ผูบริหารจะตองรูจักเลือกและวิเคราะหขอมูลเพื่อใหไดสารสนเทศในรูปแบบที่งายตอความเขาใจและเปนประโยชนตอการบริหารและการตัดสินใจ ตลอดจนมองหาโอกาสและวางกลยุทธไดอยางชาญฉลาด รวดเร็ว และเหนือคูแขงขัน จึงจะสามารถนําพาองคกรใหเจริญกาวหนาตอไปได การตัดสินใจภายในองคกรโดยทั่วไปแบงออกเปน 3 ระดับ แบบรูปสามเหลี่ยมพีระมิด คือ

1. การตัดสินใจระดับกลยุทธ (strategic making) เปนการตัดสินใจของผูบริหารระดับสูงในองคกร ผูบริหารระดับสูงเปนผูกําหนดวิสัยทัศน นโยบาย เปาหมาย วัตถุประสงค รวมถึงการวางแผนกลยุทธและแผนระยะยาวขององคกร จึงมีความตองการสารสนเทศที่มีขอบเขตกวาง รวมถึงสารสนเทศเกี่ยวกับแนวโนมตางๆ จากทั้งภายในองคกรและสิ่งแวดลอมภายนอก สารสนเทศภายในองคกรแสดงผลสรุปในการดําเนินงานในแตละขอบเขตธุรกิจในองคกร สําหรับสารสนเทศจากสิ่งแวดลอมภายนอกองคกรที่อาจมีผลตอการดําเนินธุรกิจจะถูกนํามาเปนปจจัยรวมในการบริหารงาน เชน อัตราการเติบโตของอุตสาหกรรมหรือสวนแบงทางการตลาดของคูแขงขัน ฯลฯ ซึ่งระบบที่ชวยในการสนับสนุนการตัดสินใจของผูบริหารระดับสูงมักเรียกวา ระบบสารสนเทศสําหรับผูบริหารระดับสูง (Executive Support System หรือ ESS)

2. การตัดสินใจระดับยุทธวิธี (tactical making) เปนการตัดสินใจของผูบริหารระดับกลาง ซึ่งจะเกี่ยวกับการจัดการเพื่อใหการดําเนินงานบรรลุตามเปาหมายและวัตถุประสงคตามที่ผูบริหารระดับสูงกําหนดไว การตัดสินใจในการจัดการระดับยุทธวิธีนี้จะเกี่ยวของกับการกําหนดยุทธวิธีทางการตลาด การตัดสินใจในแผนการเงินระยะกลาง หรือการแกไขปญหาสําคัญที่เกิดข้ึนโดยไมไดคาดหวัง เปนตน ซึ่งระบบที่ชวยในการสนับสนุนการตัดสินใจของผูบริหารกลางมักเรียกวา ระบบสารสนเทศสําหรับผูบริหาร (Decision Support System หรือ DSS)

3. การตัดสินใจระดับปฏิบัติการ (operational decision making) เปนการตัดสินใจของผูบริหาร เจาหนาท่ี หรือพนักงานระดับปฏิบัติการซึ่งเกี่ยวของกับงานประจํา มักจะเปนการตัดสินใจเกี่ยวกับการปฏิบัติงานเฉพาะดานที่มีข้ันตอนซ้ําๆ และไดรับการกําหนดไวเปนมาตรฐาน โดยที่หัวหนางานจะพยายามควบคุมใหงานดําเนินไปตามแผนงานที่วางไว เชน การมอบหมายงานใหพนักงานแตละคน การวางแผนควบคุมการผลิตระยะสั้น การวางแผนเบิกจายพัสดุ หรือการดูแลยอดขายประจําวัน เปนตน ซึ่งก็จะไดแกการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการโดยทั่วไป

Page 37: หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการ ... · 2016-02-16 · หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจ

หนวยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ อาจารย ดร.วิชญะ นาครักษ

37

ภาพที่ 12.17 ระดับของการตัดสินใจ นอกจากนี้ การตัดสินใจของผูบริหารมักจะเกี่ยวของกับปญหาในลักษณะรูปแบบที่แตกตางกัน บางปญหา

อาจไมเคยเกิดข้ึนมากอน และไมมีวิธีการแนชัดในการแกปญหา แตโดยทั่วไปการตัดสินใจในปญหาจะถูกจัดออกไดเปน 3 รูปแบบ ดังตอไปนี้

1. การตัดสินใจแบบมีโครงสราง (structured decision) เปนการตัดสินใจเกี่ยวกับปญหาที่มีข้ันตอน หรือกระบวนการในการแกปญหาที่ชัดเจน การตัดสินใจในปญหาดังกลาวสามารถกําหนดโครงสรางหรือกฎเกณฑในการตัดสินใจ หรือเปนการตัดสินใจเชิงนาจะเปน (probabilistic decision) ท่ีผูตัดสินใจรูความนาจะเปนของผลที่จะเปนไปได การตัดสินใจในลักษณะนี้มักจะทํากันในระดับปฏิบัติการ เชน การตัดสินใจเกี่ยวกับการสั่งซื้อสินคาคงคลัง ซึ่งสามารถกําหนดขั้นตอน การคํานวณจุดสั่งซื้อ และทําการสั่งซื้อเมื่อจํานวนสินคาต่ํากวาระดับที่กําหนด เปนตน

2. การตัดสินใจแบบไมมีโครงสราง (unstructured decision) เปนการตัดสินใจเกี่ยวกับปญหาที่ไมสามารถกําหนดกระบวนการติดใจไวลวงหนา หรือเกี่ยวของกับองคประกอบหรือความสัมพันธท่ีไมทราบลวงหนา ไมไดเกิดข้ึนเปนประจํา เกี่ยวของกับปจจัยหลากหลาย ตลอดจนมีความสัมพันธกับอนาคต การตัดสินใจแบบไมมีโครงสรางนี้จะตองวิเคราะหแนวโนมจากสิ่งแวดลอมประกอบ และจําเปนที่จะตองอาศัยผูบริหารท่ีมีฝมือและประสบการณสูงมาเปนผูตัดสินใจ เชน การตัดสินใจผลิตสินคาใหม การตัดสินเขาเปดสาขาใหมในตางประเทศ เปนตน

3. การตัดสินใจแบบกึ่งโครงสราง (semistructured decision) เปนการตัดสินใจเกี่ยวกับปญหาที่สามารถระบุกระบวนการหรือวิธีการตัดสินใจไดลวงหนาบางสวน แตไมมากพอท่ีจะนําไปสูการตัดสินใจตามที่แนะนําไดอยางแนนอน อีกสวนหนึ่งจะตองใชประสบการณและวิจารณญาณของผูตัดสินใจและอาจตองอาศัยแบบจําลองตางๆ เชน แบบจําลองทางคณิตศาสตร ทางสถิติ หรือทางการเงิน เพื่อชวยใหการตัดสินใจมีคุณภาพมากขึ้น

ภาพที่ 12.18 ประเภทของการตัดสินใจ

การตัดสินใจระดับยุทธวิธ ี

การตัดสินใจระดับกลยุทธ

การตัดสินใจระดับปฏิบัติการ

การจัดการ ระดับสูง

การจัดการระดับกลาง

การจัดการระดับตน

การตัดสินใจ

การตัดสินใจแบบมีโครงสราง

การตัดสินใจแบบไมมีโครงสราง

การตัดสินใจแบบกึ่งโครงสราง

Page 38: หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการ ... · 2016-02-16 · หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจ

หนวยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ อาจารย ดร.วิชญะ นาครักษ

38

เร่ืองที่ 12.2.1 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการโดยทั่วไป

1. ความจําเปนในการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการเปนกระบวนการที่ใชเทคนิคการศึกษา การวิเคราะห และการ

ออกแบบระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการขององคกรธุรกิจใหสามารถดําเนินงานอยางมีประสิทธิภาพ ผูพัฒนาระบบตองศึกษาและวิเคราะหกระบวนการไหลเวียนของขอมูลตลอดจนความสัมพันธระหวางปจจัยนําเขา ทรัพยากรดําเนินงาน และผลลัพธ เพื่อทําการออกแบบระบบสารสนเทศใหม การพัฒนาระบบมิไดสิ้นสุดท่ีการออกแบบ ผูพัฒนาระบบจะตองดูแลการจัดหา การติดตั้ง การดําเนินงาน และการประเมินระบบวาสามารถดําเนินงานไดตามตองการหรือไม ตลอดจนกําหนดแนวทางในการพัฒนาระบบในอนาคต การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการจึงเปนการสรางระบบงานใหมหรือปรับปรุงระบบงานเดิมท่ีมีอยูใหดีกวาเดิมเพื่อแกปญหาในการดําเนินงานบางอยางที่ผูบริหารอาจไมไดรับขอมูลท่ีตองการเนื่องจากมีความตองการเพิ่มเติมหรือสิ่งแวดลอมเปลี่ยนแปลงไป เทคโนโลยีท่ีใชกับระบบปจจุบันลาสมัยและมีคาใชจายในการบํารุงรักษาสูง หรือผูบริหารตองการสรางโอกาสในการแขงขันในการดําเนินธุรกิจ โดยสรุปการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการมีความจําเปน เนื่องจาก

1. การเปลี่ยนแปลงกระบวนการบริหารและการปฏิบัติงาน ระบบเดิมไมสามารถใหขอมูลหรือทํางานไดตามตองการมีการดําเนินงานหลายขั้นตอน ยุงยากในการรวบรวมขอมูลเพื่อนํามาจัดทําขอมูลสรุปสําหรับการติดตามการปฏิบัติงานโดยรวมขององคการ และไมสามารถสนับสนุนขอมูลใหกับผูบริหารไดเปนอยางดี

2. การเปลี่ยนแปลงดานเทคโนโลยี เทคโนโลยีท่ีใชอยูในระบบสารสนเทศปจจุบันลาสมัย คาใชจายในการบํารุงรักษาระบบมีราคาสูง เมื่อมีอุปกรณหรือช้ินสวนบางอยางเสียไมสามารถซอมหรือหาอุปกรณทดแทนได

3. การปรับองคการและสรางความไดเปรียบในการแขงขัน ระบบที่ใชงานอยูปจจุบันมีข้ันตอนการทํางานท่ียุงยากซับซอนขาดเอกสารอางอิงหรือเอกสารที่มีอยูไมไดมาตรฐาน

การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการเปนการดําเนินการตามขั้นตอนเพื่อสรางระบบสารสนเทศที่มีประโยชนตอการบริหารจัดการของผูบริหาร เพื่อเพิ่มโอกาสและศักยภาพในการแขงขันใหกับองคกรธุรกิจ โดยทั่วไปการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการจะประกอบดวย

1. กระบวนการทางธุรกิจ (business process) เกี่ยวของกับวัตถุประสงค เปาหมาย และขั้นตอนการดําเนินธุรกิจขององคกรธุรกิจ ซึ่งเปนสิ่งท่ีกําหนดแนวทางของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการที่จะพัฒนา

2. บุคลากร (people) การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการใหประสบความสําเร็จจะตองไดรับความรวมมือ และการทํางานที่ประสานรวมมือกันอยางดีจากบุคลากรที่เกี่ยวของกับการพัฒนาระบบ ท้ังทีมพัฒนาระบบ ผูบริหาร และผูใชอื่น

3. วิธีการและเทคนิค (methodology and technique) วิธีการและเทคนิคตางๆ ในการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการมีขอดีและขอจํากัดแตกตางกัน การเลือกใชวิธีการและเทคนิคท่ีเหมาะสมกับลักษณะของระบบเปนสิ่งสําคัญซึ่งจะชวยใหสามารถพัฒนาระบบไดภายในระยะเวลาที่กําหนดและตรงกับความตองการของผูบริหาร

Page 39: หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการ ... · 2016-02-16 · หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจ

หนวยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ อาจารย ดร.วิชญะ นาครักษ

39

4. เทคโนโลยี (techonology) เนื่องจากเทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว จึงตองมีการพิจารณาอยางรอบคอบในการเลือกใชเทคโนโลยีสารสนเทศใหมีความเหมาะสมกับลักษณะและขอบเขตของระบบสารสนเทศและงบประมาณที่กําหนด โดยตองคํานึงถึงความงายตอการใชงาน คาใชจายในการบํารุงรักษา และประโยชนและความคุมคาท่ีจะไดรับ

5. งบประมาณ (budget) การพัฒนาระบบที่มีการจัดเตรียมงบประมาณไวรองรับลวงหนาอยางเพียงพอและเหมาะสมจะชวยใหการพัฒนาระบบเปนไปอยางตอเนื่องและราบรื่น

6. โครงสรางพื้นฐาน (infrastructure) ภายในองคกรธุรกิจ หนวยงานควรมีโครงสรางพื้นฐาน เชน ระบบฐานขอมูล ระบบคอมพิวเตอร ระบบเครือขายคอมพิวเตอร ระบบรักษาความปลอดภัย และมีการเตรียมขอมูลอยูในรูปแบบท่ีเหมาะสมกับระบบที่พัฒนาเพื่อสนับสนุนและอํานวยความสะดวกในการใชระบบ การใชขอมูลรวมกันและการติดตอสื่อสาร

7. การบริหารโครงการ (project management) การบริหารโครงการเปนสิ่งสําคัญในการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ โดยมีวัตถุประสงคเพื่อปองกันไมใหการพัฒนาระบบเสร็จลาชาและมีคาใชเกินงบประมาณที่กําหนด ดังนั้นการบริหารโครงการที่มีประสิทธิภาพนอกจากจะชวยใหติดตามความกาวหนาของโครงการพัฒนาระบบไดแลว ยังชวยใหมั่นใจไดวาระบบที่พัฒนาบรรลุตามความตองการและเสร็จทันตามกําหนดเวลา

2. ทีมงานพัฒนาระบบสารสนเทศ

การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการจะเกี่ ยวของกับบุคคลที่มีหนา ท่ีและรับผิดชอบในกระบวนการพัฒนาระบบหลายกลุมดวยกัน โดยท่ัวไปจะมีการทํางานเปนทีมท่ีตองอาศัยความรู ประสบการณ และทักษะจากกลุมบุคคลตอไปนี้

1. คณะกรรมการบริหารโครงการ (steering committee) มีหนาท่ีในการกํากับดูแล และกําหนดทิศทาง จัดลําดับความสําคัญของระบบงาน ตัดสินใจและวางแผนในการนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชใหครอบคลุมตามความตองการของสวนงานตางๆ ในองคกรธุรกิจ โดยคณะกรรมการบริหารโครงการจะประกอบดวยบุคคลหลายระดับ เชน ผูบริหารระดับสูง เจาของระบบงาน ผูเชี่ยวชาญดานสารสนเทศ และตัวแทนจากหนวยงานตางๆ ท่ีเกี่ยวของกับระบบ

2. ผูจัดการโครงการ (project manager) มีหนาท่ีในการควบคุมการดําเนินโครงการ กําหนดงาน และความสัมพันธของงานตางๆ มอบหมายงาน ใหคําปรึกษา แนะนํา ตลอดจนอํานวยความสะดวกในการทํางานใหกับสมาชิกในทีมงาน ประสานงาน และใหขอมูลขาวสารกับกลุมผูเกี่ยวของกับการพัฒนาระบบเพื่อใหเกิดความเขาใจตรงกันและทํางานในแนวเดียวกัน จัดสรรและควบคุมการใชทรัพยากร รวมถึงการบริหารความเปลี่ยนแปลงเพื่อใหสามารถดําเนินโครงการไดอยางราบรื่นและบรรลุตามวัตถุประสงค

3. ผูจัดการหนวยงานดานสารสนเทศ (management information system manager) เปนผูท่ีมีความรูความเขาใจระบบงานขององคกรธุรกิจ และรับนโยบายจากผูบริหารระดับสูงมาดําเนินการและประสานงานเกี่ยวกับโครงการและแผนงานดานระบบสารสนเทศ รวมถึงการจัดสรรทรัพยากรของหนวยงานใหกับโครงการพัฒนาระบบสารสนเทศตางๆ โดยทั่วไปผูจัดการหนวยงานดานสารสนเทศจะมีบทบาทในการสนับสนุนใหมีความตื่นตัวในการทํางาน การเรียนรู และติดตามการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี รวมถึงการอบรมบุคลากรตามความเหมาะสม

Page 40: หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการ ... · 2016-02-16 · หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจ

หนวยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ อาจารย ดร.วิชญะ นาครักษ

40

4. นักวิเคราะหระบบ (system analyst) เปนผูท่ีทําหนาท่ีในการวิเคราะหและออกแบบระบบ เปนตัวกลางในการติดตอสื่อสารระหวางผูใชและกลุมผูเกี่ยวของกับระบบสารสนเทศ นักวิเคราะหระบบตองศึกษาและรวบรวมขอเท็จจริงเกี่ยวกับระบบงานและความตองการของผูใช เพื่อนํามาวิเคราะหและออกแบบระบบใหมหรือปรับปรุงระบบงานเดิมใหมีประสิทธิภาพตรงตามความตองการของผูใช

5. นักเขียนโปรแกรม (programmer) เปนบุคคลสําคัญที่ทําหนาท่ีเกี่ยวกับการพัฒนาชุดคําสั่งการดําเนินงานใหกับระบบที่กําลังพัฒนาใหสอดคลองกับความตองการของระบบโดยพิจารณา ตัดสินใจ และประสานงานกับผูใช

6. เจาหนาท่ีรวบรวมขอมูล (information center personnel) ทําหนาท่ีชวยเหลือนักวิเคราะหระบบและนักเขียนโปรแกรมในการพัฒนาระบบ ในสวนท่ีเกี่ยวของกับขอมูลตางๆ ท่ีเกี่ยวกับการพัฒนาระบบ เพื่อนํามาใชงานไดตามตองการ โดยเจาหนาท่ีรวบรวมขอมูลจะจัดเก็บขอมูลอยางเปนระบบ เพื่อใหสะดวกและรวดเร็วตอการใชงาน

7. ผูใช (user) เปนบุคคลที่ใหขอมูลเกี่ยวกับปญหาที่เกิดข้ึนในระบบงานเดิม ซึ่งผูใชในระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ สวนใหญไดแกผูบริหารองคกรที่ชวยกําหนดความตองการในระบบแกทีมงานพัฒนาระบบ เพื่อพัฒนาระบบใหมีประสิทธิภาพและเปนที่พึงพอใจของผูบริหาร

3. วิธีพัฒนาระบบสารสนเทศ

การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการที่เหมาะสมกับแตละองคกรธุรกิจอาจใชวิธีการที่ตางกัน เพราะหนวยงานแตละแหงจะมีรูปแบบการดําเนินธุรกิจที่มีลักษณะเฉพาะของตนเอง โดยบางหนวยงานเพียงแคตองการปรับปรุงการดําเนินงานจากระบบเดิมท่ีมีอยูใหเปนระบบใหมท่ีสมบูรณข้ึน ขณะที่บางหนวยงานตองการระบบสารสนเทศใหมท้ังระบบ ปกติวิธีการพัฒนาระบบจะมีวิธีการพื้นฐานอยู 4 วิธี ดังนี้

1. วิธีการเฉพาะเจาะจง (ad hoc approach) คือวิธีการแกปญหาในงานใดงานหนึ่งโดยเฉพาะ ซึ่งตองดําเนินการอยางรวดเร็ว โดยการดําเนินการจะไมคํานึงถึงงานหรือปญหาอื่นๆ ท่ีเกิดข้ึน วิธีเฉพาะเจาะจงเหมาะสมกับหนวยงานที่มีการเปลี่ยนแปลงรวดเร็วและบอยครั้ง อยางไรก็ดีวิธีนี้มีขอจํากัดคือ อาจกอใหเกิดการซ้ําซอนของงานระบบประมวลผลขอมูล คาใชจายท่ีไมจําเปน และขาดมาตรฐานขององคกรธุรกิจ เพราะเมื่อแตละหนวยงานตองการระบบสารสนเทศเพื่อมาแกปญหาก็จะพัฒนาระบบและจัดเก็บขอมูลเอง ซึ่งอาจจะซ้ําซอนกับขอมูลท่ีมีอยูในฝายงานอื่นของหนวยงาน

2. วิธีการสรางฐานขอมูล (database approach) คือวิธีการท่ีนิยมใชในหลายองคกรธุรกิจที่ยังไมมีความตองการระบบสารสนเทศถึงข้ันนําไปกําหนดกลยุทธทางธุรกิจ โดยการพัฒนาใหความสําคัญกับการพัฒนาฐานขอมูล เพื่อใหสามารถรวบรวม จัดเก็บ และประมวลผลขอมูลไดอยางเปนระบบ ซึ่งงายตอการเรียกขอมูลกลับมาใช

3. วิธีการจากลางขึ้นบน (bottom up approach) คือวิธีการพัฒนาระบบสารสนเทศจากระบบเดิมท่ีมีอยูภายในหนวยงานไปสูระบบใหมท่ีตองการ โดยที่ทีมงานพัฒนาระบบจะทําการตรวจสอบวาสิ่งใดที่มีอยูแลวในระบบปจจุบัน จะสามารถนํามาแกไข พัฒนา ใหมีความสมบูรณและมีประสิทธิภาพเพิ่มข้ึน

Page 41: หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการ ... · 2016-02-16 · หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจ

หนวยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ อาจารย ดร.วิชญะ นาครักษ

41

4. วิธีการบนลงลาง (top down approach) คือวิธีการพัฒนาระบบจากความตองการของผูบริหารระดับสูง โดยไมคํานึงถึงระบบที่มีอยูในปจจุบันขององคกรธุรกิจ การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการวิธีนี้ จะเริ่มจากการสํารวจกลยุทธขององคกรธุรกิจ ความตองการ และปจจัยสําคัญที่สนับสนุนการทํางานของผูบริหารระดับสูงใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น จากนั้นทีมงานพัฒนาระบบจะเริ่มทําการพัฒนาระบบใหม ใหตรงกับความตองการของผูบริหาร หลังจากนั้นจึงทําการปรับปรุงระบบงานเดิมท่ีมีอยูภายในหนวยงาน ใหเปนไปตามแนวทางของระบบหลัก

4. ขั้นตอนการพัฒนาระบบสารสนเทศ

องคกรธุรกิจใดก็ตามที่ตองการจะนําคอมพิวเตอรมาชวยพัฒนาระบบสารสนเทศ ปรับปรุงระบบงานเดิมใหมีประสิทธิภาพเพิ่มมากยิ่งข้ึน องคกรนั้นจะตองวางแผนดําเนินการพัฒนาระบบงานใหดีอยางเปนขั้นเปนตอน ซึ่งกระบวนการพัฒนาระบบดังกลาวนี้ โดยทั่วไปสามารถแบงออกเปน 3 ข้ันตอน และจากในภาพขางลางจะเห็นวาข้ันตอนท้ัง 3 ข้ันตอนมีผลตอระยะเวลาในการพัฒนาอยางไร ดูไดจากแกนนอน และผลตอบุคลากรที่ตองใชวาจะใชจํานวนมากนอยเทาใดดูจากแกนตั้ง

ทรัพยากรบุคคล

ออกแบบระบบ พัฒนาระบบ นํามาใชงาน

ภาพที่ 12.19 โครงสรางของการพัฒนาระบบสารสนเทศในระบบคอมพิวเตอร

ความตองการ ออกแบบ ออกแบบ พัฒนาโปรแกรม ทดสอบ การนําระบบ ของระบบ ภายนอก ภายใน คําสั่งเครื่อง ระบบ งานใหมมาใช

เวลา

Page 42: หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการ ... · 2016-02-16 · หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจ

หนวยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ อาจารย ดร.วิชญะ นาครักษ

42

ข้ันตอนการพัฒนาระบบสารสนเทศสามารถแบงออกไดเปนขั้นตอนใหญๆ 3 ข้ันตอน คือ 1. ข้ันตอนการออกแบบระบบ (system design phase) เปนขั้นตอนการศึกษาระบบงานปจจุบันวา มีปญหา

และอุปสรรคอยางไรตอการดําเนินงาน เพื่อจะไดออกแบบระบบงานใหมใหตอบสนองวัตถุประสงคท่ีกําหนดไว และสามารถนําไปใชปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพตอไป ในขั้นตอนนี้สามารถแบงยอยออกเปน 3 สวน คือ

1.1 การกําหนดความตองการของระบบ (system requirement definition) นั้น นักวิเคราะหระบบจะตองศึกษาความตองการของผูใชวาครอบคลุมไปถึงงานดานใดบาง เปนการวิเคราะหเบื้องตน เพื่อกําหนดปญหาใหชัดเจนและสรางแผนการวิเคราะหในรายละเอียดตอไป โดยการเก็บรวบรวมขอมูลท่ีจําเปนเพื่อใหสามารถกําหนดผูใชประโยชน วัตถุประสงคหรือเปาหมาย ขอบขาย และลักษณะของระบบที่ตองการ รวมท้ังสารสนเทศที่ตองการจากระบบ และรวมถึงการศึกษาความเปนไปได ซึ่งเปนการศึกษาวาโครงการที่พัฒนานั้นจะมีความเปนไปไดและเหมาะสมในการดําเนินงานหรือไมอยางไร ดวยการพิจารณาทางเลือกตางๆ ท่ีเปนไปได พรอมท้ังเสนอทางเลือกที่เหมาะสมและวิธีการท่ีพึงกระทําอันจะนําไปสูความสําเร็จในการพัฒนาระบบสารสนเทศ ดังนั้น ผูวิเคราะหระบบจะตองมีความเขาใจในระบบการทํางานและเขาใจองคกรอยางถูกตองทุกดาน ประกอบเขากับความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญในการกําหนดสารสนเทศที่ตองการและขอมูลท่ีตองใชในการสรางสารสนเทศ รวมท้ังวิธีการวิเคราะหขอมูลใหเปนสารสนเทศ จึงจะสามารถวิเคราะหระบบไดดีและนําไปสูการออกแบบระบบที่ดีตอไป ผูวิเคราะหระบบจะตองสามารถระบุถึงเสนทางและรูปแบบการทํางานในระบบและองคกรปจจุบัน พรอมระบุเจาของขอมูลและผูใชขอมูลแตละกลุมในองคกร รวมท้ังทรัพยากรท่ีมีอยูในรูปของเครื่องมือ เครื่องใช วัสดุ ครุภัณฑ และบุคลากรที่ทํางานอยูในองคกรดวย การทําการวิเคราะหจึงเปนการทํางานลงในรายละเอียด พิจารณาวิธีการหาคําตอบเอกสาร แบบบันทึก วิธีการดําเนินงาน และการทํางานในระบบที่เปนอยู โดยขอความรวมมือจากผูเชี่ยวชาญและผูท่ีทํางานอยูในระบบซึ่งจะตองเปนผูใชระบบตอไป ผูวิเคราะหระบบจะตองสามารถกําหนดสิ่งท่ีตองการในองคกรอยางชัดเจนและเสนอกระบวนการสนองตอบความตองการนั้น ซึ่งตามปกติผูวิเคราะหระบบจะตองเสนอผลการศึกษาความเปนไปไดของระบบดวย กลาวคือ ตองแสดงดวยวา คําตอบหรือการแกปญหาที่เสนอนั้นมีความเปนไปไดหรือไมเพียงไร ภายใตขอจํากัดทางทรัพยากรและเงื่อนไขอื่นขององคกร โดยพิจารณาความเปนไปไดในสามดานคือ

1.1.1 ความเปนไปไดเชิงเทคนิค หมายถึง การพิจารณาวามีความเปนไปไดเพียงใดในการที่จะนําทรัพยากรท่ีองคกรมีมาใชกับระบบใหมไดหรือไมเพียงไร

1.1.2 ความเปนไปไดเชิงความคุมคาของการดําเนินงาน หมายถึง การพิจารณาวาผลที่จะไดรับจากการนําระบบใหมมาใชคุมคาท่ีจะลงทุนหรือไมเพียงไร

1.1.3 ความเปนไปไดเชิงปฏิบัติการ หมายถึง การพิจารณากระบวนใหมวาเปนสิ่งท่ีสามารถดําเนินการไดภายในกรอบการบริหารและองคกรที่เปนอยูหรือไมเพียงไร

ท้ังนี้ ผูวิเคราะหระบบควรจะนําเสนอคําตอบหรือทางแกไขปญหามากกวาหนึ่งทางเลือก พรอมขอสรุปความเปนไปได เพื่อใหผูบริหารมีทางเลือกในการพิจารณาตัดสินใจเลือกระบบใหมข้ึนมาแทนที่ สิ่งท่ีตองคํานึงถึงใหมากในขั้นตอนการวิเคราะหระบบก็คือ ขอกําหนดความตองการสารสนเทศของระบบ โดยจะตองระบุไดวาผูรับผิดชอบเปนใคร ท่ีใด เมื่อไร และอยางไร สามารถกําหนดวัตถุประสงคของระบบสารสนเทศและบทบาทหนาท่ีในรายละเอียดของระบบ โดยคํานึงถึงความเปนไปไดทางเทคนิค เงื่อนเวลา ความคุมคา และกระบวนการตัดสินใจในองคกร ซึ่งจะตองอาศัยความรูในเชิงการบริหารและดําเนินงานขององคกรและการคนควาเชิงวิชาการดวย เนื่องจากในบางหนวยงาน กระบวนการ

Page 43: หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการ ... · 2016-02-16 · หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจ

หนวยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ อาจารย ดร.วิชญะ นาครักษ

43

ทํางานในสวนตางๆ อาจมิใชกระบวนการที่เหมาะสมหรือเปนกระบวนการที่ดี หรืออาจไมมีระบบการทํางานเลยก็เปนได ในบางกรณีผูบริหารเองก็ไมสามารถบอกไดอยางชัดเจนวาตองการอะไรหรืออยางไร หรือสิ่งท่ีผูบริหารแตละคนตองการอาจขัดแยงกันก็ได ผูวิเคราะหระบบจะตองทํางานสวนนี้ดวยความระมัดระวังรอบคอบ เนื่องจากขอกําหนดความตองการที่ไมถูกตอง ไมสอดคลองกับความเปนจริงของผูบริหารอาจจะนําไปสูความลมเหลวของการพัฒนาระบบสารสนเทศในข้ันตอนตอไปได ซึ่งหากตองมาปรับปรุงแกไขหรือเปลี่ยนแปลงใหมในภายหลัง จะตองใชเวลาและตนทุนดานตางๆ รวมท้ังเวลาของผูเกี่ยวของและอาจสรางความเสียหายใหเกิดข้ึนไดอยางมากมาย จึงมีความจําเปนที่ผูวิเคราะหระบบจะตองมีความเขาใจและทุมเทในการใหไดมาซึ่งขอกําหนดความตองการอยางชัดเจนและเหมาะสม ในหลายกรณี ผูวิเคราะหระบบอาจเสนอเปนทางเลือกพรอมการวิเคราะหขอดีขอเสียและความเปนไปไดเสนอผูบริหารเพื่อตัดสินใจเลือกขอกําหนดความตองการได

1.2 การออกแบบภายนอก (external design) เปนการออกแบบระบบงานใหมวางานในระบบงานใหมมีลักษณะการดําเนินงานอยางไร ไดแก การออกแบบขอมูลท่ีใชในการปฏิบัติงาน (input) รายงาน (output) ตลอดจนข้ันตอนการปฏิบัติงาน (procedure) ซึ่งในการออกแบบในขั้นตอนนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อใหผูใชระบบใหมไดมองเห็นภาพและเขาใจวาการทํางานของระบบใหมจะมีรูปลักษณะอยางไร การออกแบบภายนอกเปนลักษณะของการออกแบบเชิงตรรก (logical design) ซึ่งหมายถึงการออกแบบสวนประกอบของระบบและความสัมพันธของสวนตางๆ ท่ีเกี่ยวกับขอมูลนําเขา ผลลัพธ กระบวนการประมวลผล การดําเนินงาน ตัวแบบขอมูลสารสนเทศ และการควบคุมในระบบ โดยที่ยังไมไดเปนการออกแบบรายละเอียดเชิงเทคนิคของฮารดแวรและซอฟตแวร โดยทั่วไปการออกแบบระบบภายนอกจะเริ่มตนจากการกําหนดแบบแผนและรูปแบบของระบบในรายละเอียดเพื่อสรางผลลัพธตามที่กําหนดในขอกําหนดความตองการของระบบสารสนเทศ การออกแบบระบบภายนอกจึงเปนขั้นตอนสืบเนื่องจากการกําหนดความตองการของระบบ โดยการออกแบบระบบจะตอบคําถามวา “ทําอยางไรจึงจะไดผลลัพธท่ีตองการ”

1.3 การออกแบบภายใน (internal design) หรือเรียกอีกอยางหนึ่งวาการออกแบบเชิงกายภาพ (physical design) ซึ่งเปนการออกแบบในสวนของรายละเอียดเชิงเทคนิคของการออกแบบภายนอกที่กําหนดไวแลว กลาวคือเปนการออกแบบรายละเอียดของฮารดแวร ซอฟตแวร ฐานขอมูล อุปกรณรับและแสดงผล และระบบควบคุมตางๆ ซึ่งไดแก การออกแบบอุปกรณคอมพิวเตอร (computer design) ออกแบบโปรแกรมระบบงาน (processing design) ออกแบบโปรแกรมคําสั่งเครื่อง (programming design) และการออกแบบแฟมขอมูล (database design) เพื่อใหคอมพิวเตอรสามารถทํางานไดตามวัตถุประสงคไดท่ีออกแบบไว ในการออกแบบภายในโดยทั่วไป ผูออกแบบจะนําเสนอทางเลือกใหผูบริหารตัดสินใจวาจะเลือกแบบใดในการสรางระบบสารสนเทศของตน โดยผูออกแบบจะตองใหขอมูลดานตนทุน ผลไดท่ีจะเกิดข้ึน และขอไดเปรียบเสียเปรียบของแตละแบบที่เสนอดวย แมวาการออกแบบระบบภายในจะเปนงานที่คอนขางเปนเชิงเทคนิค แตผูใชก็สมควรจะมีสวนรวมในขั้นตอนนี้ดวยเชนกัน เพื่อใหแนใจวาการออกแบบสามารถทําใหไดผลลัพธจากระบบตรงตามที่ตองการ และทราบกระบวนการเชิงบริหารใหเปนไปตามที่สมควรเปน ระดับการมีสวนรวมของผูใชอาจแตกตางกันได ข้ึนอยูกับลักษณะของระบบที่พัฒนา บทบาทของการมีสวนรวมของผูใชเปนสิ่งสําคัญ และหากขาดการมีสวนรวมนี้ อาจทําใหการพัฒนาระบบสารสนเทศลมเหลวไดในที่สุด

2. ข้ันตอนการพัฒนาระบบ (development phase) ภายหลังการออกแบบระบบ และผานความเห็นชอบของผูบริหารหรือผูท่ีเกี่ยวของแลว ข้ันตอนการดําเนินงานตอไปเปนการนํารายละเอียดท่ีไดกําหนดขึ้นในขั้นตอนออกแบบระบบ มาสรางขั้นตอนวิธีการทํางานโดยเขียนโปรแกรมคําสั่งใหเครื่องคอมพิวเตอรทํางาน (program development) รวมท้ังการทดสอบความถูกตองของโปรแกรมคําสั่งท่ีเขียนขึ้น (program/system test) ข้ันตอนนี้เปนการนํารายละเอียดท่ี

Page 44: หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการ ... · 2016-02-16 · หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจ

หนวยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ อาจารย ดร.วิชญะ นาครักษ

44

ไดออกแบบไวมาสรางซอฟตแวรหรือโปรแกรมขนาดใหญหรือชุดคําสั่งท่ีใหเครื่องคอมพิวเตอรและอุปกรณเชื่อมตอตางๆ ทํางานตามที่กําหนดเพื่อสรางผลลัพธท่ีตองการ การสรางโปรแกรมจะขึ้นอยูกับลักษณะของฮารดแวรและซอฟตแวรท่ีใช การใชระบบจัดการฐานขอมูลหนึ่งก็จะตองเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอรท่ีสามารถทํางานไดภายใตระบบจัดการขอมูลนั้น ข้ันตอนการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอรนี้เปนข้ันตอนที่สําคัญ เนื่องจากเปนขั้นตอนที่ถายทอดระบบที่ออกแบบไวใหอยูในรูปแบบที่ระบบคอมพิวเตอรและระบบสื่อสารสามารถเขาใจและปฏิบัติงานไดตามตองการ การสรางโปรแกรมจึงเปนงานละเอียดท่ีตองมีการตรวจสอบอยางรอบคอบ และอาจแบงออกเปนโปรแกรมยอยๆ จํานวนมากเพื่อใหการทํางานคลองตัวข้ึน รวมท้ังการจัดทีมงานที่รับหนาท่ีการพัฒนาโปรแกรมหรือสรางซอฟตแวรตามที่ตองการ โปรแกรมเหลานี้แตละโปรแกรมจะตองผานการทดสอบวาสามารถทํางานที่ตองการไดอยางไมผิดพลาด โดยทําการตรวจสอบทุกๆ กรณีท่ีสามารถทําใหเกิดขอผิดพลาดได และทําการแกไขกอนที่จะนําไปใชตอไป ดังนั้นในขั้นการพัฒนาระบบ ซึ่งในการพัฒนาระบบนี้แบงไดเปน 2 สวน คือ

2.1 การพัฒนาโปรแกรมคําสั่งเครื่อง (program development) เปนขั้นตอนการนํารายละเอียดท่ีไดกําหนดในการออกแบบระบบ มาเขียนโปรแกรมคําสั่งใหเครื่องคอมพิวเตอรทํางาน ซึ่งโดยทั่วไปแลว ภาษาที่ใชในการสื่อสารของคอมพิวเตอรก็มีลักษณะเชนเดียวกับภาษาที่ใชในการสื่อสารของมนุษย และมีภาษาที่แตกตางกันจํานวนมากที่สามารถสั่งในเครื่องคอมพิวเตอรทํางานได

2.2 การทดสอบระบบ (system test) เปนการทดสอบวา ระบบสารสนเทศที่พัฒนาขึ้นนั้นสามารถที่จะทํางานใหบรรลุวัตถุประสงคท่ีกําหนดไวหรือไม การทดสอบระบบจะประกอบดวยการทดสอบวา โปรแกรมตางๆ สามารถทํางานรวมกันไดโดยไมมีจุดขัดแยงกัน หรือหากมีก็จะตองทําการปรับแกใหถูกตอง การทดสอบระบบจะทําการศึกษาดวยวาระยะเวลาที่ใชในการปฏิบัติการเปนอยางไร ความสามารถในการจัดเก็บขอมูลไวในระบบเปนเชนไร การจัดการในกรณีท่ีมีขอมูลมากกวาภาวะปกติจะทําไดอยางไร การกลับสูสภาพเดิมและการเริ่มตนใหมทําไดหรือไมอยางไร รวมท้ังสวนที่ตองปฏิบัติการดวยมือดวย ในการทดสอบจะตองนําระบบมาปฏิบัติงานในสภาพของงานจริงโดยทําการวางแผนอยางรัดกุมทุกขั้นตอน หากระบบผานการทดสอบได ก็จะไดรับการยอมรับใหนําไปติดตั้งเพื่อใชงานตอไป โดยปกติแตละระบบงานที่พัฒนาขึ้นนั้น มักมีข้ันตอนการทํางานมากมายหลายขั้นตอน ดังนั้น จึงมีโปรแกรมคําสั่งเครื่องหลายโปรแกรมดวยกัน จําเปนตองมีการทดสอบความถูกตองของโปรแกรมแตละโปรแกรมวา ถูกตองหรือไม โดยทดสอบกับขอมูลท่ีเตรียมไว (test data) ตลอดจนนําโปรแกรมมาทดสอบกับระบบงานทั้งระบบ (system test) วาในการปฏิบัติงานตั้งแตตนจนจบเปนไปตามขอกําหนด และความตองการของระบบงานหรือไม การทดสอบระบบกอนนําระบบไปติดตั้งเปนสิ่งสําคัญมาก ท้ังนี้เพื่อเปนการปองกันขอผิดพลาดที่อาจจะเกิดข้ึนเมื่อนําไปใชจริง ซึ่งหากมีขอผิดพลาดเชนนั้นขึ้นยอมกอใหเกิดผลเสียหาย ซึ่งบางครั้งไมอาจที่จะเสี่ยงใหเกิดข้ึนได ผูใชจะตองเขามามีสวนรวมในการทดสอบระบบเนื่องจากเปนผูท่ีเขาใจเรื่องขอมูล เงื่อนไขและกระบวนการตางๆ ในระบบดีท่ีสุด ในขณะที่นักเขียนโปรแกรมอาจเขาใจเงื่อนไขที่กําหนดในการเขียนโปรแกรมเทานั้น หรือการกําหนดขอมูลท่ีนํามาทดสอบอาจไมครอบคลุมขอมูลสวนใหญเพียงพอ รวมท้ังอาจไมคุนเคยกับกรณีเฉพาะตางๆ ท่ีอาจเกิดข้ึนได

3. ข้ันการนําระบบงานใหมมาใช ภายหลังทําการทดสอบความถูกตองของระบบแลว ในขั้นตอนสุดทายของการพัฒนาระบบงานใหม คือ การนําระบบงานใหมมาใชงานจริง (system installation) ข้ันตอนนี้เปนการนําระบบใหมเขามาใชงานแทนระบบเดิม การปรับสูระบบใหมนี้ตองมีการกําหนดแผนงานอยางรอบคอบและถี่ถวนวาจะดําเนินการอยางไร เพื่อมิใหมีขอขัดของเมื่อปฏิบัติงานจริง ซึ่งในขั้นตอน แบงไดเปน 4 สวนยอยดวยกัน ไดแก

Page 45: หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการ ... · 2016-02-16 · หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจ

หนวยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ อาจารย ดร.วิชญะ นาครักษ

45

3.1 การอบรมบุคลากร (personnel training) เปนการอบรมบุคลากรทุกกลุม ท้ังกลุมผูบริหาร และเจาหนาท่ี ท่ีมีสวนเกี่ยวของใหรูจักและเขาใจการทํางานแตละข้ันตอนของระบบเปนอยางดี กอนจะนําระบบใหมมาใช สิ่งท่ีสําคัญมากประการแรกในการปรับสูระบบใหมคือ การฝกอบรมผูใชใหสามารถใชระบบใหมไดดี ซึ่งจําเปนจะตองมีเอกสารหรือคูมือการใชท่ีตองพัฒนาขึ้นเพื่ออธิบายระบบทั้งในสวนของเทคนิคและการใชงาน เพื่อใหผูใชรวมท้ังผูปฏิบัติมีความเขาใจที่ถูกตองและสามารถทํางานได การปรับเขาระบบใหมจะตองพิจารณาถึงการนําขอมูลท่ีมีอยูเดิมเขามาใสในระบบใหมวาจะจัดการไดอยางไรจึงจะครบถวนและคงความถูกตองตามเดิมโดยไมมีการขาดตอน นอกจากนี้ การปรับเขาระบบใหมอาจมีปญหาอุปสรรคไดโดยเฉพาะในกรณีท่ีระบบใหมกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในกระบวนการทํางานที่กระทบกระเทือนการทํางานของบุคลากรบางสวน ซึ่งไมใชแคการปรับลักษณะงานที่ทํา แตอาจตองเปลี่ยนหนาท่ีโดยสิ้นเชิง ในกรณีเชนนี้จะตองดําเนินการอยางรอบคอบ ท้ังในการสรางความเขาใจและการฝกอบรมในหนาท่ีใหม การตรวจสอบระบบเมื่อนํามาใชแลวเปนสิ่งสําคัญมากอีกประการหนึ่ง เพื่อสรางความแนใจในคุณภาพของระบบและสารสนเทศที่ไดจากระบบ ปกติแลวบุคลากรท่ีจะอบรมควรแยกเปน 2 กลุมดวยกัน คือ

3.1.1 กลุมบุคลากรผูใชรายงานของระบบใหม กลุมบุคลากรกลุมนี้ คือ ผูบริหารและผูใชรายงานในระบบเดิมกอน การอบรมก็เพื่อใหสามารถใชระบบงานใหมไดอยางมีประสิทธิภาพ

3.1.2 กลุมบุคลากรผูปฏิบัติงาน (operating personnel) นั้นๆ โดยตรง กลุมบุคลากรกลุมนี้ยังแบงออกไดเปน 2 ประเภท คือ

1) ผูใชเครื่องคอมพิวเตอรในการปฏิบัติงานประจําวัน โดยใชเครื่องคอมพิวเตอรเปนอุปกรณ

2) ผูควบคุมการทํางานของเครื่องคอมพิวเตอร (control operators) คือกลุมบุคลากร ท่ีทําหนาท่ีควบคุมเครื่องคอมพิวเตอรใหสามารถปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพตามที่ไดออกแบบไว ในขั้นตอนนี้ตองมีการจัดทําคูมือการปฏิบัติงานเพื่อใชประกอบการฝกอบรม และปฏิบัติงานตอไป

3.2 การเปลี่ยนแปลงระบบขอมูลเกาเปนระบบขอมูลใหม (data conversion) เปนขั้นตอนที่สําคัญข้ันตอนหนึ่งในการเปลี่ยนระบบ คือ มีการเปลี่ยนแปลงระบบขอมูลเดิมใหเปนระบบขอมูลใหม โดยนําขอมูลท่ีอยูในเอกสารทั่วไป ใหเปลี่ยนมาเปนขอมูลท่ีคอมพิวเตอรอานได (computer readable data) เพื่อเตรียมไวใชงานในระบบใหมตอไป

3.3 การติดตั้งระบบคอมพิวเตอร (computer installation) เมื่อจะนําระบบงานใหมมาใชงานจริงนั้น จําเปนตองนําระบบงานใหมมาติดตั้งเพื่อใชงานตอไป โดยในขั้นตอนนี้ เปนการนําโปรแกรมคําสั่งเครื่องท่ีเขียนขึ้นกับเครื่องคอมพิวเตอร มาติดตั้งเพื่อใชงานจริงตามระบบงานที่ออกแบบไว

3.4 การปรับปรุงระบบ (system tuning) โดยปกติระบบงานคอมพิวเตอรทุกระบบ ภายหลังการติดตั้งเพื่อใชงานจริง มักจะยังคงมีขอบกพรองอยูอีก ซึ่งจะมากหรือนอยข้ึนอยูกับความสามารถของผูออกแบบ และความรวมมือของเจาของระบบงาน ดังนั้น จึงเกือบจะหลีกเลี่ยงไมไดท่ีจะตองมีการปรุงแตงหรือปรับปรุงแกไข เพื่อใหการทํางานของระบบงานใหมมีประสิทธิภาพ ตรงตามวัตถุประสงคท่ีตองการ กระบวนการปรับเขาระบบใหมนี้อาจกระทําไดหลายวิธี โดยอาจใชรูปแบบที่ปรับระบบอยางคอยเปนคอยไปหรืออยางระมัดระวังจนถึงรูปแบบที่ปรับเปลี่ยนอยางฉับพลัน ซึ่งผูบริหารจะตองมีสวนในการตัดสินใจเลือกวิธีการปรับเขาระบบใหมจากวิธีการดังตอไปนี้

Page 46: หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการ ... · 2016-02-16 · หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจ

หนวยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ อาจารย ดร.วิชญะ นาครักษ

46

3.4.1 การใชระบบคูขนาน เปนวิธีการท่ีนําระบบใหมมาใชโดยในขณะเดียวกัน ยังคงใชระบบเดิมอยูอยางเต็มรูป จนกระทั่งมั่นใจวาระบบใหมสามารถทํางานไดอยางดี จึงยกเลิกระบบเกา ระบบนี้แมจะเปนระบบที่ปลอดภัย คือไมมีความเสี่ยงเลย เนื่องจากหากมีขอผิดพลาดเกิดข้ึน ระบบเดิมยังคงทําหนาท่ีอยูและสามารถใหผลลัพธท่ีตองการได แตก็มีขอเสียคือ คาใชจายท่ีเกิดข้ึนจะสูงมาก จากการที่ตองมีกลุมทํางานซอนกันสองกลุมในขณะที่ทํางานคูขนาน

3.4.2 การใชระบบใหมเฉพาะบางสวน วิธีนี้นําระบบใหมมาใชเฉพาะในบางสวนขององคกร เพื่อใหแนใจวาระบบใหมสามารถทํางานในสวนนั้นไดดีพอ ในกรณีท่ีเปนเชนนั้น จึงนําระบบใหมท้ังหมดมาใช

3.4.3 การใชระบบใหมเปนลําดับขั้น เปนการนําระบบใหมมาใชทีละข้ันตอน โดยนํามาใชเฉพาะสวนยอยในงานบางอยาง หากประสบผลสําเร็จก็ขยายไปสูข้ันตอนอื่นออกไป

3.4.4 การใชระบบใหมทันที เปนการตัดจากระบบเดิมเขาสูระบบใหมโดยไมมีชวงของการทํางานคูขนาน วิธีนี้ แมจะเสียคาใชจายนอย แตก็มีความเสี่ยงสูงจากการที่ระบบใหม อาจมีขอผิดพลาดหรือลมเหลวได และเมื่อติดตั้งระบบเรียบรอยแลว ผูใชระบบรวมทั้งผูพัฒนาจะตองทําการประเมินระบบวาสามารถใชงานไดดีเพียงไร หรือสามารถตอบสนองความตองการไดดีเพียงไร จะตองมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงใดๆ บางหรือไม เพื่อทําการบํารุงรักษาตอไป แมในกรณีท่ีระบบสารสนเทศดังกลาวสามารถใชงานไดอยางดียิ่งในระยะเริ่มแรก แตเมื่อเวลาผานไป ความตองการขององคกรอาจเปลี่ยนไปตามเวลาและสถานการณ ก็อาจมีความจําเปนที่จะตองปรับปรุงหรือบํารุงรักษาระบบ ท้ังนี้ การบํารุงรักษาระบบหมายถึง การบํารุงรักษาในระบบฮารดแวร ซอฟตแวร คูมือ หรือกระบวนการตางๆ เพื่อใหสอดคลองกับสภาพปจจุบันและความตองการที่เปลี่ยนไปในการดําเนินงานทั้งหมดนี้ จะตองมีการตรวจสอบประเมินผลเปนระยะๆ ดวยเพื่อรักษาระดับประสิทธิภาพของระบบหรือพัฒนาใหดียิ่งข้ึน โดยการประเมินประโยชนของระบบ ตนทุนการดําเนินงานของระบบ สารสนเทศผลลัพธของระบบ บุคลากรในระบบ รวมท้ังการมีสวนรวมของผูบริหารในการตรวจสอบดวย ผลจากระบบการตรวจสอบจะเปนสิ่งสําคัญเพื่อชวยในการตัดสินใจของผูบริหารวาสมควรเปลี่ยนระบบสารสนเทศนี้หรือไม ซึ่งจะนําไปสูการยกเลิกระบบหรือนําระบบใหมมาใชตอไป

7. การประยุกตใชงานระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการโดยทั่วไป

ภาพท่ี 12.20 เปนตัวอยางการพัฒนาระบบงานสารสนเทศของธนาคารพาณิชยแหงหนึ่ง ท้ังนี้เพื่อใหนักศึกษาไดเห็นภาพรวมของการพัฒนาระบบงาน การประยุกตใช ซึ่งไดแกระบบสมุดโทรศัพทอิเล็กทรอนิกส ซึ่งเปนระบบงานสารสนเทศที่ไดพัฒนาขึ้นเพื่อแกปญหาใหกับเจาหนาท่ีรับโทรศัพท ซึ่งแตเดิมการคนหาหมายเลขโทรศัพทกระทําโดยวิธีการเปดจากเอกสารเทานั้น การพัฒนาในระยะแรกไดพัฒนาฐานขอมูลสมุดโทรศัพทโดยโปรแกรมสําเร็จรูป Microsoft Access ซึ่งก็ใชงานไดดีกับเครือขายขนาดเล็ก ภายในหองโอเปอรเรเตอรของอาคารสํานักงานใหญ ในระยะตอมาจึงไดพัฒนาระบบงานดังกลาวในรูปของเว็บเบส โดยเปลี่ยนไปใชฐานขอมูล Microsoft SQL Server เชนเดิม โดยในปจจุบันพนักงานของธนาคารทุกคน ทุกหนวยงานทั่วประเทศ สามารถใชงานระบบสมุดโทรศัพทอิเล็กทรอนิกสได ผานเครือขายอินทราเน็ตภายในธนาคาร

Page 47: หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการ ... · 2016-02-16 · หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจ

หนวยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ อาจารย ดร.วิชญะ นาครักษ

47

ภาพที่ 12.20 ตวัอยางระบบงานสารสนเทศเพื่อการจัดการของธนาคารพาณิชยแหงหนึ่ง ระบบสมุดโทรศัพทอิเล็กทรอนิกสใชเครือขายแลนภายในธนาคาร โดยมีหลักการทํางาน 2 สวนหลัก

ไดแก 1) การนําเสนอขอมูลผานโปรแกรมบราวเซอร คือ โปรแกรม Microsoft Internet Explorer หรือโปรแกรม Netscape Navigator 2) การรับและสงขอมูล เปนขั้นตอนการทํางาน เริ่มตนจากผูใชไดรองขอขอมูลมายังเครื่องเซิรฟเวอร จากนั้นขอมูลจากเซิรฟเวอรก็จะถูกสงกลับมายังผูใชอีกครั้ง โดยอาศัยเครือขายสื่อสารบริการโปรโตรคอลที่เรียกวา hypertext transfer protocal หรือ HTTP สําหรับโครงสรางภาษาหลักที่ใชในการพัฒนาไดแก HTML ซึ่งเปนภาษาที่มีโครงสรางไมสลับซับซอน แตตองการความเขาใจในการใชงานของผูใชเทานั้น อยางไรก็ตาม ระบบสมุดโทรศัพทอิเล็กทรอนิกสท่ีไดพัฒนาขึ้น เปน dynamic web page จะมีชุดคําสั่งท่ีเรียกวา “โปรแกรมสคริปต” ซึ่งสามารถสราง HTML tag ท่ีตอบสนองตอการกระทําตางๆ ท่ีเกิดข้ึนของผูใช ท่ีสามารถควบคุมหรือกําหนดการทํางานในรูปแบบตางๆ ตามการกระทําตางๆ ของผูใชท่ีเกิดข้ึน ภาษาที่ใชไดแก Active Server Page หรือ ASP

หลังจากศึกษาเนื้อหาเรือ่งท่ี 12.2.1 แลวโปรดปฏิบัติกิจกรรม 12.2.1

ในแนวการศึกษาหนวยท่ี 12 ตอนที่ 12.2 เรือ่งที่ 12.2.1

Page 48: หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการ ... · 2016-02-16 · หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจ

หนวยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ อาจารย ดร.วิชญะ นาครักษ

48

เร่ืองที่ 12.2.2 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ

การตัดสินใจเปนบทบาทของผูบริหารท่ีมีความสําคัญตอการดําเนินธุรกิจ ความมั่นคง และพัฒนาการขององคกร เนื่องจากผูบริหารจะตองตัดสินใจจัดสรรทรัพยากรขององคกรที่มีอยูอยางจํากัดเพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุดในการใชงาน มีการพัฒนาระบบสารสนเทศที่ดี และเครื่องมือในการเขาถึงขอมูล รวบรวม และวิเคราะหขอมูล ท่ีชวยใหผูบริหารสามารถพิจารณาทางเลือกตางๆ ไดอยางรวดเร็ว สามารถคาดการณลวงหนา และแกไขปญหาไดอยางมีประสิทธิภาพ ซึ่งเรียกระบบสารสนเทศดังกลาวนี้วา "ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ" (Decision Support Systems หรือ DSS) 1. ความหมายของระบบสนับสนุนการตัดสินใจ

ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ หมายถึง ระบบสารสนเทศที่สามารถโตตอบกับผูใช โดยท่ีระบบนี้จะรวบรวมขอมูลและแบบจําลองในการตัดสินใจท่ีสําคัญ เพื่อชวยผูบริหารในการตัดสินปญหาแบบกึ่งโครงสรางและไมมีโครงสราง ตามปกติระบบสนับสนุนการตัดสินใจจะชวยเพิ่มประสิทธิภาพในการตัดสินใจของผูบริหารโดย ประการแรก จะชวยประมวลผลและเสนอขอมูลการตัดสินใจแกผูบริหาร เพื่อใชทําความเขาใจ และเปนแนวทางในการตัดสินใจ และประการตอมาคือ ชวยประเมินทางเลือกที่เหมาะสมภายใตขอจํากัดของแตละสถานการณ ซึ่งจะชวยผูบริหารในการวิเคราะห และเปรียบเทียบทางเลือกใหสอดคลองกับปญหาหรือกับสถานการณท่ีสุด

2. สวนประกอบของระบบสนับสนุนการตัดสินใจ

การพัฒนาของเทคโนโลยีสารสนเทศและการขยายตัวขององคกรธุรกิจในชวงทศวรรษที่ 1970 ทําใหหนวยงานตางๆ ไดเริ่มพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อใชในการรวบรวมขอมูลและสรางแบบจําลองในการตัดสินใจตางๆ ตลอดจนพัฒนาใหระบบสารสนเทศสื่อสารตอบโตอยางฉับพลันกับผูใช โดยแนวความคิดนี้ไดกลายเปนรากฐานของการพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจในปจจุบัน

ระบบสนับสนุนการตัดสินใจจะชวยผูบริหารทดสอบทางเลือกในการตัดสินใจ โดยตั้งคําถามในลักษณะ What ... if หรือ ถา ... แลว ซึ่งจะชวยใหผูบริหารมีทางเลือกที่จะตอบสนองตอปญหาไดอยางหลากหลายทางเลือก โดยมิตองถูกจํากัดดวยเทคนิคการวิเคราะหขอมูลท่ีซับซอน หรือขอจํากัดของระยะเวลาที่ทําใหตองพิจารณาเฉพาะทางเลือกที่เปนไปไดบางทางเลือกเทานั้น ขณะที่ผูบริหารจะตองตัดสินใจโดยใชสติปญญา เหตุผล ประสบการณ และความคิดของตนเปนหลักระบบสนับสนุนการตัดสินใจประกอบดวยสวนประกอบหลัก 4 สวน คือ อุปกรณ ระบบการทํางาน ขอมูล และบุคลากร

2.1 อุปกรณ เปนสวนประกอบแรกและเปนโครงสรางพื้นฐานของระบบสนับสนุนการตัดสินใจ โดยอุปกรณท่ีเกี่ยวของกับระบบสนับสนุนการตัดสินใจสามารถแบงออกเปน 3 กลุมดังตอไปนี้

2.1.1 อุปกรณประมวลผล ประกอบดวยระบบคอมพิวเตอร ซึ่งในสมัยเริ่มแรกจะใชคอมพิวเตอรเมนเฟรมเปนหลัก แตในปจจุบันองคกรสวนมากหันมาใชระบบคอมพิวเตอรเครือขายของไมโครคอมพิวเตอรแทน เนื่องจากมีราคาถูก มีประสิทธิภาพดี และสะดวกตอการใชงาน ตลอดจนผูใชมีความรู ความเขาใจ และทักษะในงานสารสนเทศสูงข้ึน โดยเฉพาะผูบริหารรุนใหมท่ีมีความรูเกี่ยวกับเทคโนโลยีคอมพิวเตอรและสารสนเทศ สามารถที่จะ

Page 49: หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการ ... · 2016-02-16 · หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจ

หนวยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ อาจารย ดร.วิชญะ นาครักษ

49

พัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจขึ้นบนคอมพิวเตอรสวนบุคคล โดยใชชุดคําสั่งประเภทฐานขอมูลและสเปรดซีต (spread sheet) ประกอบ

2.1.2 อุปกรณสื่อสาร ประกอบดวยระบบสื่อสารตางๆ เชน ระบบเครือขายเฉพาะพื้นที่ (ระบบแลน) ไดถูกนําเขามาประยุกต เพื่อทําการสื่อสารขอมูลและสารสนเทศของระบบสนับสนุนการตัดสินใจ โดยในบางครั้งอาจจะใชการประชุมโดยอาศัยสื่อวิดีโอ (video conference) หรือการประชุมทางไกล (teleconference) ประกอบ เนื่องจากผูมีหนาท่ีตัดสินใจอาจอยูกันคนละพื้นที่

2.1.3 อุปกรณแสดงผล ระบบสนับสนุนการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพจําเปนตองมีอุปกรณแสดงผล เชน จอภาพที่มีความละเอียดสูง เครื่องพิมพอยางดี และอุปกรณประกอบอื่นๆ เพื่อชวยถายทอดขอมูลสารสนเทศ ตลอดจนสรางความเขาใจในสารสนเทศใหแกผูใช และชวยใหการดําเนินงานมีประสิทธิภาพ

ภาพที่ 12.21 อปุกรณท่ีเกี่ยวของกับระบบระบบสนับสนุนการตัดสินใจ

2.2 ระบบการทํางาน ระบบการทํางานเปนสวนประกอบหลักที่สําคัญอยางหนึ่งของระบบสนับสนุนการตัดสินใจ เพราะถือวาเปนสวนประกอบสําคัญในการที่จะทําใหระบบสนับสนุนการตัดสินใจทํางานไดตามวัตถุประสงคและความตองการของผูใช ซึ่งระบบการทํางานจะประกอบดวยสวนประกอบสําคัญ 3 สวนดังตอไปนี้

2.2.1 ฐานขอมูล (database) เนื่องจากระบบสนับสนุนการตัดสินใจจะไมมีหนาท่ีสราง คนหา หรือปรับปรุงขอมูลในฐานขอมูลขององคกร เนื่องจากระบบฐานขอมูลขององคกรเปนระบบขนาดใหญ มีขอมูลหลากหลายและเกี่ยวของกับขอมูลหลายประเภท แตระบบสนับสนุนการตัดสินใจจะมีฐานขอมูลของตัวเอง ซึ่งจะมีหนาท่ีรวบรวมขอมูลท่ีสําคัญจากอดีตถึงปจจุบันแลวนํามาจัดเก็บ เพื่อใหงายตอการคนหา ซึ่งขอมูลเหลานี้จะถูกเก็บไวอยางสมบูรณ ครบถวน และแนนอน เพื่อรอการนําไปประมวลผลประกอบการตัดสินใจ ขณะเดียวกัน ระบบสนับสนุนการตัดสินใจอาจตอเชื่อมกับระบบฐานขอมูลขององคกร เพื่อดึงขอมูลสําคัญบางประเภทมาใชงาน

2.2.2 ฐานแบบจําลอง (model base) มีหนาท่ีรวบรวมแบบจําลองทางคณิตศาสตร และแบบจําลองในการวิเคราะหปญหาที่สําคัญ เพื่ออํานวยความสะดวกตอผูใช ตามปกติ ระบบสนับสนุนการตัดสินใจจะถูกพัฒนาขึ้นมาตามจุดประสงคเฉพาะอยาง ดังนั้น ระบบสนับสนุนการตัดสินใจจะประกอบดวยแบบจําลองท่ีตางกันตามวัตถุประสงคในการนําไปใชเชน

- แบบจําลองทางสถิติ (statistic model) ใชในการวิเคราะหขอมูลรูปแบบตางๆ เชน การวิเคราะหสมการถดถอย หรือการหาความสัมพันธระหวางตัวแปรตางๆ

อุปกรณประมวลผล

อุปกรณสื่อสาร

อุปกรณแสดงผล

อุปกรณ

Page 50: หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการ ... · 2016-02-16 · หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจ

หนวยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ อาจารย ดร.วิชญะ นาครักษ

50

- แบบจําลองทางการเงิน (financial model) เพื่อใชเปนขอมูลในการวางแผนการเงิน วิเคราะหรายได รายจาย และกระแสการไหลเวียนของเงินสด เปนตน

- แบบจําลองเพื่อหาจุดเหมาะสม (optimization model) เปนการหาคาเหมาะสมที่สุดของตัวแปรตามเงื่อนไขที่กําหนด โดยจะทําการเปลี่ยนคาตัวแปรตางๆ หลายๆ คา จนกระทั่งตัวแปรนั้นใหคาท่ีเหมาะสมที่สุด ตัวอยางแบบจําลองเชนนี้ เชน แบบจําลองเชิงเสนตรง เปนตน

- แบบจําลองสถานการณ (simulation model) เปนตัวแบบทางคณิตศาสตรท่ีใชการสรางชุดของสมการเพื่อแทนสภาพของระบบที่จะทําการศึกษา และทําการทดลองจากตัวแบบเพื่อศึกษาสิ่งท่ีจะเกิดข้ึนกับระบบ

2.2.3 ขอมูล เปนองคประกอบที่สําคัญอีกสวนหนึ่งของระบบสนับสนุนการตัดสินใจ ไมวาระบบสนับสนุนการตัดสินใจจะประกอบดวยอุปกรณท่ีทันสมัย และไดรับการออกแบบระบบการทํางานใหสอดคลองกันและเหมาะสมกับการใชงานมากเพียงใด ถาขอมูลท่ีนํามาใชในการประมวลผลไมมีคุณภาพเพียงพอ แลวก็จะไมสามารถชวยสนับสนุนการตัดสินใจของผูใชไดอยางเหมาะสม ซึ่งยังอาจจะสรางปญหาหรือความผิดพลาดในการตัดสินใจขึ้นได ขอมูลท่ีจะนํามาใชกับระบบสนับสนุนการตัดสินใจจะแตกตางจากขอมูลในระบบสารสนเทศอื่น โดยท่ีขอมูลระบบสนับสนุนการตัดสินใจที่เหมาะสมควรจะมีปริมาณพอเหมาะตอการนําไปใชงาน มีความถูกตองและทันสมัยในระดับท่ีเหมาะสมกับความตองการ สามารถนํามาใชไดสะดวก รวดเร็ว ครบถวน มีความยืดหยุน และสามารถนํามาจัดรูปแบบเพื่อการวิเคราะหไดอยางเหมาะสม

2.2.4 บุคลากร เปนสวนประกอบที่สําคัญอีกสวนหน่ึงของระบบสนับสนุนการตัดสินใจ เนื่องจากบุคคลจะเกี่ยวของกับระบบสนับสนุนการตัดสินใจ ตั้งแตการกําหนดปญหาและความตองการ การพัฒนา การออกแบบ และการใชระบบสนับสนุนการตัดสินใจซึ่งสามารถแบงบุคลากรที่เกี่ยวของกับระบบสนับสนุนการตัดสินใจได 2 กลุมคือ กลุมผูใช เปนผูใชงานโดยตรงของระบบสนับสนุนการตัดสินใจ เชน ผูบริหารในระดับตางๆ ตลอดจนนักวิเคราะหท่ีตองการขอมูลสําหรับประกอบการตัดสินใจ และกลุมผูสนับสนุน ไดแก ผูควบคุมดูแลรักษาอุปกรณตางๆ ผูพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจ ผูจัดการขอมูล และที่ปรึกษาระบบ เพื่อใหระบบสนับสนุนการตัดสินใจมีความสมบูรณ และสามารถดําเนินงานไดอยางเต็มประสิทธิภาพตรงตามความตองการของผูใช

ภาพที่ 12.22 สวนประกอบของระบบสนับสนุนการตัดสินใจ

ชุดคําสั่งของระบบสนับสนุนการตัดสินใจ

ฐานขอมูล

ฐานแบบจําลอง

Page 51: หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการ ... · 2016-02-16 · หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจ

หนวยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ อาจารย ดร.วิชญะ นาครักษ

51

3. ลักษณะของระบบสนับสนุนการตัดสินใจ พัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศในปจจุบัน ทําใหระบบสนับสนุนการตัดสินใจสามารถชวยผูบริหาร

ในการตัดสินใจแกปญหา โดยนําแบบจําลองในการตัดสินใจที่สําคัญ และชุดคําสั่งท่ีงายตอการใชงานรวมเขาเปนระบบเดียว เพื่อสะดวกตอในการใชงานของผูใช โดยระบบสนับสนุนการตัดสินใจที่เหมาะสมจะมีความสามารถดังตอไปนี้

1. สนับสนุนการตัดสินใจท้ังในสถานการณแบบกึ่งโครงสรางและไมมีโครงสราง โดยจะนําวิจารณญาณของผูทําการตัดสินใจและสารสนเทศที่ไดจากระบบมาใชประกอบการตัดสินใจ ซึ่งจะแตกตางกับระบบสารสนเทศสําหรับการปฏิบัติงานที่จัดการขอมูลสําหรับงานประจําวันเทานั้น

2. สนับสนุนการทํางานผูบริหารไดหลายระดับ และสนับสนุนการตัดสินใจทั้งแบบเฉพาะบุคคลและแบบกลุมไดเนื่องจากปญหามีความแตกตางกัน บางปญหาอาจใชการตัดสินใจของบุคคลเพียงคนเดียว แตบางปญหาอาจเกี่ยวของกับหลายฝายในองคกร จึงตองอาศัยการตัดสินใจจากหลายคนรวมกัน

3. สนับสนุนการตัดสินปญหาที่เกี่ยวพันซึ่งกัน ปญหาแบบตอเนื่อง รวมทั้งสนับสนุนทุกขั้นตอนของกระบวนการตัดสินใจ และสนับสนุนการตัดสินใจหลากหลายรูปแบบ

4. สามารถปรับขอมูลเพื่อจัดการเงื่อนไขตางๆ ท่ีเปลี่ยนแปลงได มีความยืดหยุนสูง ผูใชสามารถเพิ่ม ลบ รวม เปลี่ยนแปลง คาตางๆ ไดงาย และสามารถโตตอบกับผูใชไดอยางรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ มีความยืดหยุนที่จะสนองความตองการที่เปลี่ยนแปลงไปของผูใช เนื่องจากลักษณะของปญหาที่มีความไมแนนอนและเปลี่ยนแปลงตามสถานการณ นอกจากนี้ผูใชจะตองเผชิญกับปญหาในหลายลักษณะ จึงตองการระบบสารสนเทศที่ชวยจัดรูปขอมูลท่ีไมซับซอนและงายตอการตัดสินใจ ระบบสนับสนุนการตัดสินใจที่ดีตองสามารถกับผูใชอยางฉับพลัน โดยตอบสนองความตองการและโตตอบกับผูใชไดทันเวลา โดยเฉพาะในสถานการณปจจุบันที่ตองการความรวดเร็วในการแกปญหา

5. สามารถใชงานไดงาย โดยระบบระบบสนับสนุนการตัดสินใจไดรับการสรางใหมีสวนติดตอกับระบบดวยภาษาที่งายตอการเขาใจ มีภาพประกอบ เพื่อใหผูใชท่ีไมมีความชํานาญในการใชคอมพิวเตอรสามารถเขาใจการทํางานของระบบและใชงานได ประกอบกับผูใชอาจมีทักษะทางสารสนเทศที่จํากัด ตลอดจนความเรงดวนในการใชงานและความตองการของปญหา ทําใหระบบสนับสนุนการตัดสินใจตองมีความสะดวกตอผูใช

6. เพิ่มประสิทธิภาพในการตัดสินใจ ท้ังในดานความถูกตองแมนยํา ความรวดเร็ว และคุณภาพของการตัดสินใจ

7. ผูทําการตัดสินใจสามารถควบคุมทุกขั้นตอนในการตัดสินใจแกปญหาเนื่องจากระบบสนับสนุนการตัดสินใจมีเปาหมายในการสนับสนุนการตัดสินใจ ไมใชตัดสินใจแทนผูทําการตัดสินใจ

8. ผูใชสามารถสรางและปรับปรุงระบบสนับสนุนการตัดสินใจขนาดเล็กที่มีการทํางานแบบงายๆ ไดดวยตนเอง

9. มีการใชแบบจําลองตางๆ ชวยในการวิเคราะหสถานการณการตัดสินใจ มีขอมูลและแบบจําลองสําหรับสนับสนุนการตัดสินใจที่เหมาะสม และสอดคลองกับลักษณะของปญหา

10. สามารถเขาถึงขอมูลจากหลายแหลงได ท้ังภายในและภายนอกองคกร

Page 52: หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการ ... · 2016-02-16 · หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจ

หนวยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ อาจารย ดร.วิชญะ นาครักษ

52

4. การพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจ ระบบสนับสนุนการตัดสินใจสามารถจําแนกออกเปน 2 ประเภท คือ ระบบสนับสนุนการตัดสินใจที่ใช

ขอมูลเปนหลัก (data-driven DSS) และระบบสนับสนุนการตัดสินใจที่ใชแบบจําลองเปนหลัก (model-driven DSS) 1. ระบบสนับสนุนการตัดสินใจที่ใชขอมูลเปนหลัก เปนระบบที่ชวยใหผูใชสามารถดึงขอมูลท่ีเปน

ประโยชนจากแหลงตางๆ เพื่อนํามาวิเคราะห เชน ขอมูลจากฐานขอมูลขององคกร ขอมูลท่ีอยูในคลังขอมูล ซึ่งมีขอมูลเก็บอยูจํานวนมหาศาล ขอมูลจากระบบงานอื่นๆ ขององคกร และขอมูลจากเว็บไซตตางๆ มาชวยในการคนหาความสัมพันธระหวางขอมูลท่ีมีประโยชนตอการวางแผนการตลาดหรือการคาดการณในอนาคต

2. ระบบสนับสนุนการตัดสินใจที่ใชแบบจําลองเปนหลัก เปนระบบที่ใชการจําลองสถานการณ และรูปแบบการวิเคราะหตางๆ โดยเฉพาะแบบจําลองพื้นฐานทางคณิตศาสตร และแบบจําลองการวิจัยเชิงปฏิบัติการ ซึ่งชวยใหผูใชสามารถวิเคราะหปญหาและปรับตัวแปรที่เกี่ยวของ เพื่อพิจารณาเลือกทางเลือกที่เหมาะสมที่สุด

สําหรับการพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจ ก็เชนเดียวกับการพัฒนาระบบสารสนเทศโดยทั่วไป แตจะมีความแตกตางจากการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการโดยทั่วไปบางในรายละเอียด เนื่องจากระบบสนับสนุนการตัดสินใจถูกออกแบบขึ้นสําหรับผูใชเฉพาะกลุม โดยระบบสนับสนุนการตัดสินใจจะตองการขอมูลในปริมาณที่เหมาะสมและตรงตามความตองการของผูใชซึ่งมีปริมาณนอย แตมีความตองการที่เจาะจงมากกวา นอกจากนี้ ระบบสนับสนุนการตัดสินใจตองอาศัยแบบจําลองการวิเคราะหปญหา ซึ่งสลับซับซอนกวาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการโดยทั่วไปมาก และ ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ สวนมากจะถูกออกแบบมาอยางเฉพาะเจาะจง เพื่อใชในการสนับสนุนและการแกปญหาเฉพาะอยาง ซึ่งตองการความยืดหยุนในการปรับตัวใหเขากับสถานการณทีเหมาะสม ดังนั้นการพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจ จึงจําเปนที่จะตองใหผูใชมีสวนรวมในการพัฒนาดวย ซึ่งข้ันตอนการพัฒนาระบบระบบสนับสนุนการตัดสินใจ มีดังตอไปนี้

1. การออกแบบระบบ (system design phase) เปนขั้นตอนแรกในการพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจ โดยมีเปาหมายเพื่อท่ีจะกําหนดถึงปญหา ตลอดจนวิเคราะหหาข้ันตอนที่สําคัญในการตัดสินใจแกปญหานั้นๆ โดยผูท่ีจะใชระบบควรที่จะมีสวนรวมในขั้นตอนนี้เปนอยางยิ่ง เนื่องจากผูใชจะทราบและเกี่ยวของกับปญหาตางๆ ท่ีเกิดข้ึนในการทํางาน จึงสามารถกําหนดและสรุปปญหาอยางครอบคลุม จากนั้นกลุมผูวิเคราะหระบบจะศึกษาถึงความเหมาะสมและความพอเพียงของขอมูลท่ีจะนํามาวิเคราะห ตลอดจนลักษณะของปญหาวาเหมาะกับการใชระบบสนับสนุนการตัดสินใจหรือไม กอนท่ีถึงข้ันตอนตอไป

2. การพัฒนาระบบ (development phase) ระบบสนับสนุนการตัดสินใจเปนระบบสารสนเทศที่มีความพิเศษในตัวเองที่สามารถเปลี่ยนแปลงและพัฒนาไปเรื่อยๆ ผูออกแบบควรจะออกแบบใหระบบมีความยืดหยุนสูง สามารถปรับตัวไดตามความเหมาะสม และมีความสะดวกตอผูใช ประการสําคัญ ระบบสนับสนุนการตัดสินใจจะเกี่ยวของกับปญหากึ่งโครงสรางหรือไมมีโครงสราง ซึ่งยากตอการกําหนดรายละเอียดและกําหนดแนวทางการตัดสินใจลวงหนา โดยเฉพาะการกําหนดคุณสมบัติของระบบและตรรกะของการตัดสินใจ การพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจ จึงนิยมใชวิธีการพัฒนาการจากตนแบบ โดยสรางตนแบบ (prototype) ข้ึน เพื่อการศึกษาและทดลองใชงานในขณะเดียวกัน จากนั้นจึงพัฒนาใหระบบตนแบบมีความสมบูรณข้ึน ประการสําคัญ การทําตนแบบขึ้นมาทดลองใชงานทําใหการออกแบบรัดกุม และชวยลดความผิดพลาดเมื่อนําระบบไปประยุกตใชงานจริง

Page 53: หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการ ... · 2016-02-16 · หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจ

หนวยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ อาจารย ดร.วิชญะ นาครักษ

53

3. การนําไปใช (implementation phase) ระบบสนับสนุนการตัดสินใจจะแตกตางจากระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการทั่วไปตรงที่ผูใชจะมีสวนรวมในการพัฒนาระบบจากแรกเริ่มจนถึงสภาวะปจจุบัน และการพัฒนาตอไปในอนาคต ดังนั้นนักพัฒนาระบบสมควรที่จะเก็บรายละเอียดและขอมูลของระบบไวอยางดี เพื่อท่ีจะนํามาอางอิงในอนาคต นอกจากนี้ การติดตาม ตรวจสอบ และการประเมินผลการทํางานของระบบก็นับเปนสิ่งสําคัญในการตรวจสอบการทํางานของระบบหลังจากการนําไปใชงาน โดยที่ผูออกแบบสมควรจะประเมินปญหาที่เกิดข้ึน เพื่อนําไปใชปรับปรุงแกไขระบบในอนาคต

ปจจุบันความกาวหนาของเทคโนโลยีสารสนเทศไดชวยใหผูใชสามารถพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจบนไมโครคอมพิวเตอร โดยใชชุดคําสั่งพื้นฐาน โดยสรางแบบจําลองการตัดสินใจและปรับเปลี่ยนขอมูลของตัวแปรแตละตัว เพื่อทดสอบผลลัพธท่ีเกิดข้ึน เชน การปรับอัตราดอกเบี้ยและอัตราแลกเปลี่ยนจะสงผลตอการลงทุนในการตั้งสาขาใหมอยางไร เปนตน ซึ่งผูใชสามารถนําแบบจําลองสําหรับการตัดสินใจมาทดลองปฏิบัติในสถานการณจําลอง จนกวาจะสามารถใหผลลัพธท่ีพอใจ ซึ่งจะสงผลตอรูปแบบและพัฒนาการของระบบสนับสนุนการตัดสินใจ สําหรับการใชงานทางธุรกิจ

ภาพที่ 12.23 การพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจ

5. การประยุกตใชงานระบบสนับสนุนการตัดสินใจ ธนาคารพาณิชยแหงหนึ่งไดนําระบบสนับสนุนการตัดสินใจเกี่ยวกับการตัดสินใจเลือกคูคา (supplier) ใน

ระบบจัดซื้ออิเล็กทรอนิกส กลาวคือ ธนาคารพาณิชยดังกลาวไดพัฒนาระบบบริการอิเล็กทรอนิกสในดานการจัดซื้อผานเว็บไซต e-service เปนการดําเนินกิจกรรมองคกรธุรกิจเสมือนจริง ภายใตช่ือ ระบบจัดซื้ออิเล็กทรอนิกส

ท้ังนี้การพัฒนาระบบจัดซื้ออิเล็กทรอนิกส ในดานความสามารถสงผานแลกเปลี่ยนขอมูล หรือดานการประกาศหาผูจัดจําหนาย รวมท้ังในดานการประกาศขอกําหนดของผูวาจาง (TOR) การประชาสัมพันธเอกสาร การตรวจสอบ ช้ีแจง อบรมผูจัดจําหนาย การจาย “รหัสผาน” ใหกับผูรวมประมูล การยืนยันการรับเชิญ การชี้แจงเอกสารการประมูล การประมูลทางอิเล็กทรอนิกส การประกาศผูชนะทางเว็บไซต การทําสัญญา การรับสินคา การจายเงิน รวมถึงลงบัญชี และลงทะเบียนทรัพยสิน สิ่งตางๆ เหลานี้ เปนการใชงานระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการโดยทั่วไป ซึ่งระบบสามารถทํางานตลอดยี่สิบสี่ช่ัวโมงไมมีวันหยุด เปนกลไกการทํางานแบบอัตโนมัติ ในโลกธุรกิจปจจุบัน

การนําไปใช

การออกแบบระบบ

การพัฒนาระบบ

ข้ันตอน การพัฒนา

Page 54: หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการ ... · 2016-02-16 · หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจ

หนวยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ อาจารย ดร.วิชญะ นาครักษ

54

อยางไรก็ตาม ภายใตระบบจัดซื้ออิเล็กทรอนิกสนี้ ธนาคารพาณิชยแหงนี้ไดพัฒนาโมดูลสนับสนุนการตัดสินใจขึ้นมา โดยมีช่ือวา Intelligence Analysis Module หรือ IA เนื่องจากแตเดิมธนาคารประสบปญหาเกี่ยวกับคูคา ท้ังในดานการละทิ้งงาน การสงมอบสินคาไมทันเวลา การสงสินคาไมถูกตอง สินคาไมไดมาตรฐาน หรือไมสงมอบสินคา และอื่นๆ เปนตน ซึ่งสงผลทําใหธุรกิจของธนาคารประสบความเสียหาย ธนาคารจึงไดนําระบบสนับสนุนการตัดสินใจมาชวยในการตัดสินใจเพื่อลดปญหาดานคูคาท่ีเกิดจากความผิดพลาด ยุงยาก ลาชา และเสียหาย โดยองคประกอบหลักของระบบสนับสนุนการตัดสินใจเกี่ยวกับคูคานี้ ประกอบไปดวยฐานขอมูลดานขอมูลคูคา ขอมูลสินคา ขอมูลการสงมอบสินคา เปนตน ซึ่งขอมูลเหลานี้จะถูกเก็บไวอยางสมบูรณ ครบถวน และแนนอน เพื่อรอการนําไปประมวลผลประกอบการตัดสินใจ นอกจากนี้ยังเชื่อมตอกับระบบฐานขอมูลของหลักดานอื่นของธนาคาร ไดแก ขอมูลหนวยงานธนาคาร และขอมูลดานการพนักงานที่ติดตอกับลูกคา ขอมูลดานการเงินของธนาคาร เพื่อดึงขอมูลสําคัญดังกลาวมาใชงาน

สําหรับฐานแบบจําลอง (model base) ประกอบไปตัวแปรทางดาน การผิดเงื่อนไขสัญญา ความลาชา คุณภาพสินคาและบริการ เปนตน ขอมูลดังกลาวจะถูกรวบรวมทุกครั้งท่ีมีธุรกรรมการจัดซื้อดวยระบบอิเล็กทรอนิกสของธนาคาร จะถูกนํามาประมวลผลตามแบบจําลองทางคณิตศาสตร และแบบจําลองในการวิเคราะหปญหาที่สําคัญ เพื่ออํานวยความสะดวกตอผูบริหารระดับกลาง ในการพิจารณาจัดเกรดสําหรับคูคาของธนาคาร ซึ่งจะชวยใหผูบริหารระดับกลางลดความเสี่ยงในการที่จะพิจารณาดําเนินธุรกรรมกับคูคาตางๆ ไดสะดวก รวดเร็ว ยิ่งข้ึน

ภาพที่ 12.24 ตัวอยางระบบงานสนับสนุนการตัดสินใจของธนาคารพาณิชยแหงหนึ่ง

หลังจากศึกษาเนื้อหาเรือ่งท่ี 12.2.2 แลวโปรดปฏิบัติกิจกรรม 12.2.2 ในแนวการศึกษาหนวยท่ี 12 ตอนที่ 12.2 เรือ่งที่ 12.2.2

Page 55: หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการ ... · 2016-02-16 · หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจ

หนวยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ อาจารย ดร.วิชญะ นาครักษ

55

เร่ืองที่ 12.2.3 ระบบสารสนเทศสําหรับผูบริหารระดับสูง ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อชวยผูใชซึ่งสวนใหญมักจะเปนบริหารระดับกลาง ในการ

ชวยตัดสินใจแกปญหาและสถานการณท่ีเกิดข้ึนอยางมีประสิทธิภาพ ตามปกติผูใชระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (DSS) มักจะมีความรูทางคอมพิวเตอรในระดับที่สามารถเรียกใช และจัดการขอมูลใหอยูในรูปแบบที่ชวยใหการใชงานเกิดประโยชนสูงสุด แตสําหรับผูบริหารระดับสูง มักเปนกลุมบุคคลที่มีความตองการทักษะและการใชงานสารสนเทศที่แตกตางจากกลุมสมาชิกที่ใชงานระบบสนับสนุนการตัดสินใจ เนื่องจากผูบริหารจะมีลักษณะการปฏิบัติงานเฉพาะของตน เชน ระยะเวลาในการแกปญหาที่จํากัดและไมแนนอน ลักษณะของงานที่ซับซอน การตองการขอมูลท่ีชัดเจนและรวดเร็ว ตลอดจนผูบริหารสวนใหญจะไมชํานาญการใชทักษะเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศเพราะผูบริหารไมมีเวลาติดตาม และฝกฝนทักษะการปฏิบัติงานกับคอมพิวเตอรไดอยางตอเนื่อง

1. ความหมายของระบบสารสนเทศสําหรับผูบริหารระดับสูง

ระบบสารสนเทศสําหรับผูบริหารระดับสูง (Executive Support System หรือ ESS) หมายถึง ระบบที่

สนับสนุนการตัดสินใจสําหรับผูบริหารระดับสูง เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจในปญหาแบบไมมีโครงสราง โดยระบบจะใหขอมูลท่ีถูกตอง ทันสมัยตามความตองการเพื่อใชในการกําหนดวิสัยทัศน ภารกิจ กลยุทธ วัตถุประสงค และเปาหมาย การวางแผนระยะยาว ระบบ ESS บางครั้งเรียกวาระบบ Executive Information System หรือ EIS

ระบบสารสนเทศสําหรับผูบริหารระดับสูง เปนระบบสารสนเทศที่มีพื้นฐานการทํางานดวยระบบคอมพิวเตอรท่ีชวยใหผูบริหารระดับสูงสามารถเขาถึง รวบรวม วิเคราะห และประมวลผล สารสนเทศ ท้ังภายในและนอกองคกรตามตองการไดอยางสะดวก รวดเร็วยิ่งข้ึน เชน การกําหนดนโยบาย การวางแผน การจัดตั้งงบประมาณ เปนตน นอกจากนี้ยังมีการเพิ่มเติมความสามารถ เชน ใชอินเทอรเน็ตเพื่อคนหาสารสนเทศได สามารถประชุมทางไกล หรือการมีระบบสํานักงานอัตโนมัติรวมอยูดวย เปนตน

2. ผูบริการกับการตัดสินใจ

ผูบริหารระดับสูงเปนผูท่ีกําหนดทิศทางในอนาคตขององคกร การวางแผนและการตัดสินใจของผูบริหารจึงมีความสําคัญตอการอยูรอดและเติบโตขององคกร การบริหารงานในปจจุบันนอกจากจะอาศัยความชํานาญและประสบการณแลว ผูบริหารจําเปนตองรูจักการใชเทคโนโลยีสารสนเทศบาง สําหรับการติดตามขาวสาร วิเคราะห คาดการณอนาคต เพื่อชวยสนับสนุนการตัดสินใจไดอยางถูกตองและทันตอเหตุการณ ท้ังนี้ผูบริหารระดับสูงมีบทบาทหลัก 3 ดาน คือ

1. บทบาทในการสรางสัมพันธภาพที่ดี ผูบริหารนอกจากจะเปนผูนํามีหนาท่ีในการดูแลสั่งการผูใตบังคับบัญชาแลว ยังมีหนาท่ีในการประสานงานกับบุคคลภายในและภายนอกองคกร จึงควรมีมนุษยสัมพันธท่ีดีท้ังกับผูบริหารดวยกันเอง ผูรวมงาน ผูใตบังคับบัญชา และบุคคลภายนอก

Page 56: หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการ ... · 2016-02-16 · หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจ

หนวยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ อาจารย ดร.วิชญะ นาครักษ

56

2. บทบาทดานขอมูลขาวสาร ผูบริหารเปนทั้งผูรับและผูเผยแพรขอมูลขาวสารขององคกรสูภายนอกจึงตองมีการตรวจสอบความถูกตองและนาเชื่อถือของขอมูล ผูบริหารควรมีความรูในเรื่องขององคกรเปนอยางดี มีความสามารถในการถายทอดขอมูลเพื่อใหเกิดภาพพจนท่ีดีตอองคกร

3. บทบาทดานการตัดสินใจ ผูบริหารตองมีความสามารถในการตัดสินใจ และคาดการณลวงหนา สามารถควบคุมสถานการณหรือแกไขปญหาไดอยางถูกตองและทันตอเหตุการณ

การตัดสินใจของผูบริหารสามารถจําแนกไดเปน 4 ลักษณะ ไดแก การตัดสินใจเชิงกลยุทธ การตัดสินใจทางยุทธวิธี การแกปญหาเฉพาะหนา และการตรวจสอบและควบคุม ดังนี้

1. การตัดสินใจเชิงกลยุทธ เปนการตัดสินใจที่เกี่ยวกับอนาคตขององคกร ตั้งแต การกําหนดวิสัยทัศน ทิศทาง และภารกิจในการดําเนินธุรกิจ เพื่อใหองคกรมีตําแหนงเชิงกลยุทธและความไดเปรียบในการแขงขัน ซึ่งจะเปนผลตอความมั่นคงและการเจริญเติบโตขององคกร โดยการกําหนดแผนกลยุทธจะเปนแนวทางสําหรับการตัดสินใจในดานสําคัญและเปนแนวทางปฏิบัติสําหรับบุคลากรทุกระดับภายในองคกร

2. การตัดสินใจทางยุทธวิธี เปนการตัดสินใจวาองคกรจะทําอะไร ท่ีไหน เมื่อไร อยางไร เพื่อใหสามารถบรรลุถึงภารกิจและวัตถุประสงคท่ีกําหนดไวในแผนกลยุทธ แผนยุทธวิธีจะกําหนดยุทธวิธีการดําเนินงานเฉพาะเรื่อง เพื่อสรางเอกลักษณการดําเนินงานและความไดเปรียบตอคูแขงขัน อยางไรก็ตาม ผูบริหารระดับสูงจะไมเจาะลึกถึงรายละเอียดในการปฏิบัติงาน ผูบริหารระดับสูงอาจมีสวนรวมในแผนยุทธวิธี โดยจะกําหนดแนวทางในการดําเนินงานแตจะไมเขาไปลงในรายละเอียดของการปฏิบัติงาน เพียงแตจะมุงถึงการกําหนดแนวทางการดําเนินงาน เพื่อใหบุคลากรในระดับตอไปรับมาปฏิบัติใหบรรลุความสําเร็จตามที่ผูบริหารกําหนดเอาไว เชน การตัดสินใจของผูบริหารระดับสูงวาองคกรจะทําอะไร เมื่อใด เพื่อใหสามารถบรรลุตามสิ่งท่ีกําหนดไวในแผนกลยุทธ

3. การแกปญหาเฉพาะหนา เปนการตัดสินใจแกปญหาหรือวิกฤติท่ีเกิดข้ึนเฉพาะหนา ปญหาลักษณะนี้จะเกิดข้ึนกะทันหันโดยผูบริหารระดับสูงมิไดคาดการณไวลวงหนา บางครั้งผูบริหารระดับสูงตองตัดสินใจที่จะดําเนินกิจกรรมทางธุรกิจตอไป หรือยุติการดําเนินธุรกิจในสวนใดสวนหนึ่งหรือท้ังหมด ซึ่งจะตองทําการตัดสินใจแกปญหาเพื่อมิใหเกิดความเสียหายอยางรุนแรงตอภาพพจนและการดําเนินธุรกิจ เชน พนักงานนัดหยุดงาน บริษัทถูกฟองลมละลายทางกฎหมาย เกิดภัยธรรมชาติอยางรุนแรงมีผลกระทบตอผลิตภัณฑขององคกร หรือเกิดความผันผวนทางเศรษฐกิจ เปนตน

4. การตรวจสอบและควบคุม การตรวจสอบและควบคุมผลการปฏิบัติงานใหเปนไปตามแผนงานที่วางไว เปนหนาท่ีสําคัญทางการจัดการที่ผูบริหารระดับสูงตองตรวจสอบและควบคุมการปฏิบัติงานของผูใตบังคับบัญชา ใหเปนไปตามความเหมาะสมและสอดคลองกับแผนงานและสถานการณ เนื่องจากการปฏิบัติงานอาจเบี่ยงเบนจากแผนงานที่กําหนด ซึ่งเปนผลมาจากการวางแผนที่คลาดเคลื่อน ขอจํากัดของทรัพยากรบุคคลหรือทรัพยากรการดําเนินงานอื่นๆ ตลอดจนความผันผวนของสถานการณ ผูบริหารระดับสูงตองทําการตัดสินใจเกี่ยวกับผลการดําเนินงานของธุรกิจ หลังจากท่ีองคกรไดเริ่มปฏิบัติงานตามแผนที่วางไวไประยะหนึ่งแลว ผูบริหารระดับสูงยอมมีความสนใจตองการจะทราบวาผลการดําเนินงานนั้นเปนอยางไร มีแนวโนมวาจะบรรลุความสําเร็จตามที่ตองการหรือไม หรือตองปรับปรุงอยางไรใหสอดคลองกับสถานการณจริง ดังนั้นผูบริหารระดับสูงจะตองมีการตรวจสอบขอมูลท่ีไดจากการปฏิบัติงานเปนระยะๆ แลวนํามาทําการเปรียบเทียบกับแผนที่วางเอาไว เพื่อจะไดแกไขปรับปรุง หรือพัฒนาใหเหมาะสมกับเหตุการณตอไป

Page 57: หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการ ... · 2016-02-16 · หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจ

หนวยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ อาจารย ดร.วิชญะ นาครักษ

57

ภาพที่ 12.25 ลกัษณะการตัดสินใจของผูบริหารระดับสูง

3. สารสนเทศและแหลงขอมูลสําหรับผูบริหารระดับสูง ผูบริหารระดับสูงจําเปนตองใชขอมูลสารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ ขอมูลไดมาจากแหลงภายใน

และภายนอกองคกรที่มีผลตอการดําเนินธุรกิจ ซึ่งขอมูลท่ีรวบรวมมาเหลานี้จะตองถูกกลั่นกรองและคัดเลือกกอนที่จะนํามาวิเคราะหเปนสารสนเทศสําหรับผูบริหารระดับสูงท้ังในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ จากนั้นผูบริหารระดับสูงจะนําผลท่ีไดจากการวิเคราะหมาพิจารณาถึงการดําเนินงานขององคกรวาเปนเชนไร จะตองทําการปรับปรุงหรือมีปญหาใดที่ตองทําการแกไขหรือไม รวมถึงมีความเปนไปไดในการสรางโอกาสใหมๆ ใหกับองคกรไดหรือไม ในขั้นตอไปจึงจะไดทําการตัดสินใจแกปญหา ปรับกลยุทธ หรือวางแผนการดําเนินงานตอไป ดังนั้นความตองการสารสนเทศของผูบริหารระดับสูงจึงตางกับความตองการของบุคลากรกลุมอื่นขององคกร ซึ่งปกติสารสนเทศที่ผูบริหารระดับสูงใชประกอบการตัดสินใจจะมีคุณสมบัติท่ีสําคัญดังตอไปนี้

1. ไมมีโครงสราง การตัดสินใจของผูบริหารระดับสูงสวนใหญจะเกี่ยวของกับปญหาที่มีโครงสรางไมชัดเจน ขาดความแนนอนของขอมูล สถานการณความซับซอน มองไมเห็นถึงรายละเอียดท่ีชัดเจนของสิ่งท่ีจะตองกระทํา ถึงแมวาจะเปนเรื่องประเภทเดียวกัน แตตางเวลา หรือตางสถานการณ ก็จะมีรายละเอียดของสารสนเทศที่แตกตางกันได ซึ่งจะทําใหสารสนเทศที่จะนํามาประกอบการตัดสินใจมีความหลากหลาย คลุมเครือ และไมชัดเจน ผูบริหารระดับสูงตองใชวิจารณญาณในการวิเคราะห ประเมิน และสรุปปญหา

2. ไมแนนอน หลายครั้งการตัดสินใจของผูบริหารระดับสูงจะเกี่ยวของกับเหตุการณท่ีไมเคยเกิดข้ึนมากอน หรือเหตุการณท่ีเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว ผูบริหารระดับสูงจึงตองตัดสินใจโดยไมมีแบบอยางที่เปนแนวทาง หรือไมสามารถใชขอมูลจากการคาดการณโดยหลักการเชิงปริมาณมาประกอบการตัดสินใจเพียงดานเดียว ผูบริหารระดับสูงตองสามารถบูรณาการสารสนเทศ ประสบการณ และความรูสึกในการวิเคราะหและแกไขปญหาที่องคกรกําลังเผชิญ เพื่อใหผลลัพธท่ีเกิดข้ึนจากการตัดสินใจมีความถูกตอง และเหมาะสมกับความตองการของสถานการณมากที่สุด

3. ใหความสําคัญกับอนาคต เพื่อท่ีจะใหองคกรสามารถบรรลุถึงวัตถุประสงคท่ีวางไว องคกรตองมีการปรับตัวเพื่อรองรับสถานการณท่ีเกิดข้ึนในอนาคต การตัดสินใจของผูบริหารระดับสูงจะเกี่ยวของกับการกําหนดวิสัยทัศน วัตถุประสงค ภารกิจ ทิศทาง การดําเนินงาน การแขงขันทางธุรกิจ และการกําหนดแนวทางการแกไขปญหา ซึ่งเปนเรื่องของอนาคตที่ยังไมเกิดข้ึน

การตัดสินใจเชิงกลยุทธ

การตัดสินใจทางยุทธวิธี การแกปญหาเฉพาะหนา

การตรวจสอบและควบคุม

การตัดสินใจของผูบริหาร

Page 58: หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการ ... · 2016-02-16 · หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจ

หนวยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ อาจารย ดร.วิชญะ นาครักษ

58

4. ขอมูลท่ีไมเปนทางการ ผูบริหารระดับสูงตองการขอมูลประกอบการตัดสินใจจากหลายแหลง เพราะปญหาที่ผูบริหารระดับสูงเกี่ยวของมีความหลากหลาย ไมแนนอน ซึ่งบางครั้งขอมูลท่ีนําเสนออยางเปนทางการเพื่อประกอบการตัดสินใจไมเพียงพอ ผูบริหารระดับสูงจึงอาจตองการขอมูลท่ีไมเปนทางการประกอบ เชน การสนทนา การสัมภาษณ เปนตน ซึ่งขอมูลท่ีไดจากแหลงเหลานี้จะมีหลากหลายรูปแบบ และมีไดถูกบันทึกลงสื่อแตอยางใด

5. ไมแสดงรายละเอียด การตัดสินใจของผูบริหารระดับสูงสวนใหญจะมองถึงอนาคต เปนภาพรวม ดังนั้น สวนใหญจะไมเจาะลึกลงรายละเอียดของการดําเนินงาน

ภาพที่ 12.26 ลกัษณะสารสนเทศสําหรับผูบริหาร โดยทั่วไปผูบริหารระดับสูงจะไดรับขอมูลจาก 3 แหลงดังตอไปนี้ 1. ขอมูลภายในองคกร ซึ่งประกอบดวยขอมูลจากกระบวนการดําเนินงาน ขอมูลสวนนี้ไดจากระบบ

ประมวลผลรายงานตางๆ ซึ่งจะแสดงผลการปฏิบัติงานขององคกร การควบคุม การตรวจสอบ และการแกปญหาโดยทั่วไป อีกสวนหนึ่งคือขอมูลท่ีแสดงใหเห็นถึงเปาหมายหรือผลการดําเนินงานของแตละสวนงานในองคกร ไดแก งบประมาณ แผนรายจาย การคาดการณยอดขายและรายได และแผนทางการเงิน เปนตน

2. ขอมูลภายนอกองคกร เปนขอมูลภายนอกที่เกี่ยวของ หรือมีผลกระทบตอการดําเนินงานขององคกร ผูบริหารระดับสูงมักใชขอมูลท่ีมาจากแหลงภายนอกมาประกอบในการตัดสินใจของผูบริหารในดานตางๆ เสมอ

3. ขาวสารที่ใชติดตอสื่อสารระหวางกัน เปนขาวสารที่ใชติดตอสื่อสารระหวางผูบริหารระดับสูงดวยกัน หรือระหวางผูบริหารกับพนักงาน หรือระหวางพนักงานดวยกัน หรือระหวางองคกรอื่น เชน ขาวสารจากสื่อมวลชน และขาวสารเพื่อการประชาสัมพันธ เปนตน

4. คุณสมบัติของระบบสารสนเทศสําหรับผูบริหารระดับสูง

ดังท่ีกลาวมาวา ระบบสารสนเทศสําหรับผูบริหารระดับสูงเปนระบบสนับสนุนการตัดสินใจประเภทหนึ่งซึ่งไดรับการพัฒนาโดยเฉพาะสําหรับผูบริหารระดับสูงเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจในการแกปญหาแบบไมมีโครงสราง ผูบริหารระดับสูงใช ระบบสารสนเทศสําหรับผูบริหารระดับสูงเปนเครื่องมือท่ีชวยอํานวยความสะดวกรวดเร็วในการบริหารและตัดสินใจ โดยระบบจะใหขอมูลท่ีถูกตอง ทันสมัยตามความตองการเพื่อใชในการกําหนดวิสัยทัศน ภารกิจ กลยุทธ วัตถุประสงค และเปาหมาย รวมถึงการวางแผนระยะยาว นอกจากนี้ยังชวยอํานวยความสะดวกในการติดตอสื่อสารระหวางผูบริหารและบุคลากรในองคกรและระหวางองคกรดวย ระบบสารสนเทศสําหรับผูบริหารระดับสูงไดรับการพัฒนา

สารสนเทศสําหรับผูบริหาร

ไมแนนอน

ขอมูลท่ีไมเปนทางการ

ไมมีโครงสราง

ใหความสําคัญกับอนาคต

ไมแสดงรายละเอียด

Page 59: หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการ ... · 2016-02-16 · หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจ

หนวยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ อาจารย ดร.วิชญะ นาครักษ

59

ใหมีความเหมาะสมและงายตอการใชงาน สอดคลองกับความตองการ ทักษะ รวมถึงความสามารถในการเขาถึงขอมูลของผูบริหาร ระบบสารสนเทศสําหรับผูบริหารระดับสูงมีคุณสมบัติท่ีสําคัญดังนี้

1. สนับสนุนการวางแผนกลยุทธ ระบบสารสนเทศสําหรับผูบริหารระดับสูงจะตองสามารถใหขอมูลท่ีสําคัญและเปนประโยชนตอการวางแผนและตัดสินใจของผูบริหารระดับสูง เพราะผูบริหารระดับสูงจะใหความสําคัญตอการวางแผนกลยุทธขององคกร

2. งายตอการเรียนรูและใชงาน ระบบสารสนเทศสําหรับผูบริหารระดับสูงควรไดรับการพัฒนาเพื่อใหใชงานไดงายโดยผูใชไมจําเปนตองมีความรูลึกซึ้งหรือมีทักษะสูงดานคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ เนื่องจากผูบริหารระดับสูงจะมีกิจกรรมที่หลากหลายทั้งภายในและภายนอก ผูบริหารจึงมีเวลาในการตัดสินใจในแตละงานนอย ดังนั้นการพัฒนา ระบบสารสนเทศสําหรับผูบริหารระดับสูงควรจะเลือกรูปแบบการแสดงผลที่งายตอการใชงานในเวลาที่สั้น เชน ตาราง กราฟ ภาษาที่งาย และการตอบโตท่ีรวดเร็ว

3. เชื่อมโยงกับแหลงขอมูลภายนอก เหตุการณตางๆ ท่ีเกิดข้ึนภายนอกองคกรมีความสําคัญตอการวางแผนและการตัดสินใจของผูบริหารระดับสูง ดังนั้น ระบบสารสนเทศสําหรับผูบริหารระดับสูงนอกจากจะเชื่อมโยงขอมูลเขากับระบบตางๆ ขององคกรแลว จะตองสามารถเชื่อมโยงกับแหลงขอมูลภายนอกองคกร โดยเฉพาะขอมูลและขาวสารที่เกิดข้ึนกับสิ่งแวดลอมภายนอกองคกรเปนสิ่งท่ีผูบริหารตองการเพื่อประกอบการตัดสินใจ

4. สามารถประมวลผลในรูปแบบที่ไมไดกําหนดไวลวงหนา การตัดสินใจของผูบริหารระดับสูงสวนใหญเกี่ยวของกับปญหาที่ไมมีโครงสราง โครงสรางไมแนนอน และขาดความชัดเจน โดยสวนใหญจะมองถึงภาพโดยรวมของระบบแบบกวางๆ ไมลงลึกในรายละเอียด ดังนั้นการคํานวณที่ผูบริหารตองการจึงเปนลักษณะงายๆ ชัดเจน เปนรูปธรรม และไมซับซอนมาก ระบบสารสนเทศสําหรับผูบริหารระดับสูงจะตองมีการจัดเตรียมขอมูลและเครื่องมือเพื่อใหผูบริหารระดับสูงสามารถเรียกดูขอมูลในลักษณะภาพรวมแบบกวาง และสามารถเรียกดูสารสนเทศในลักษณะเฉพาะเจาะจงในรายละเอียดของขอมูลเปนลําดับๆ ลงมาไดตามตองการ ไมวาจะเปนขอมูลจากภายในหรือภายนอกองคกร ขอมูลในอดีตและปจจุบัน หรือการคํานวณทางสถิติและการคาดการณแนวโนมในอนาคต ระบบสารสนเทศสําหรับผูบริหารระดับสูงตองสามารถวิเคราะหขอมูลเฉพาะกิจไดอยางรวดเร็ว และนําเสนอรายงานใหกับผูบริหารระดับสูงไดหลายรูปแบบ เชน การใชกราฟ มีภาพประกอบคําอธิบาย การนําเสนอดวยภาพสามมิติ หรือภาพเคลื่อนไหวมีเสียงประกอบ เปนตน

5. มีระบบการรักษาความปลอดภัย ระบบสารสนเทศโดยทั่วไปจะมีระบบรักษาความปลอดภัยเพื่อปองกันการเขาถึงขอมูลจากผูไมมีสิทธิ ระบบสารสนเทศสําหรับผูบริหารระดับสูงก็ไมตางจากระบบสารสนเทศอื่นที่จะตองจัดเตรียมระบบรักษาความปลอดภัยเชนกัน เนื่องจากเปนระบบที่เก็บขอมูลสําคัญเกี่ยวกับการดําเนินงานขององคกรและถูกพัฒนาใหกับผูบริหารระดับสูงโดยเฉพาะ การเขาถึงขอมูลจากผูไมไดรับสิทธิ์ รวมถึงการรั่วไหลของขอมูลท่ีมีความสําคัญขององคกรอาจสงผลตอความสามารถในการแขงขันได

6. พัฒนาเฉพาะสําหรับผูบริหาร ระบบสารสนเทศสําหรับผูบริหารระดับสูงไดรับการออกแบบใหเหมาะสมกับลักษณะการใชงานและทักษะของผูบริหาร โดยระบบควรไดรับการออกแบบเฉพาะสําหรับผูบริหารเพื่อใหผูบริหารสามารถเขาถึงขอมูลท่ีตองการไดอยางสะดวกและรวดเร็ว ขอมูลใดท่ีมีการเรียกดูบอยจะตองมีข้ันตอนเขาถึงไดงาย โดยไมตองจดจําคําสั่งและใชเวลามากในการทํางาน

Page 60: หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการ ... · 2016-02-16 · หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจ

หนวยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ อาจารย ดร.วิชญะ นาครักษ

60

5. ความแตกตางระหวางระบบสารสนเทศสําหรับผูบริหารระดับสูง กับระบบสนับสนุนการตัดสินใจ ระบบสารสนเทศสําหรับผูบริหารระดับสูงชวยสนับสนุนใหผูบริหารระดับสูงสามารถทําความเขาใจปญหา

อยางชัดเจน และสามารถตัดสินใจเลือกแนวทางแกไขปญหาไดอยางมีประสิทธิภาพ จะเห็นไดวาระบบสารสนเทศสําหรับผูบริหารระดับสูงมีหลักการคลายกับระบบสนับสนุนการตัดสินใจ แตก็มีความแตกตางกันบางดังนี้

1. ระบบสารสนเทศสําหรับผูบริหารระดับสูงไดรับการออกแบบและพัฒนาขึ้นสําหรับจัดเตรียมสารสนเทศที่เหมาะสมในการตัดสินใจของผูบริหารระดับสูง ใหสารสนเทศที่เปนประโยชนดานกลยุทธ การคาดการณลวงหนา ขณะที่ ระบบสนับสนุนการตัดสินใจถูกพัฒนาขึ้นเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจของผูบริหารระดับกลาง นักวิชาชีพ ผูเชี่ยวชาญ หรือนักวิเคราะห ใหสารสนเทศที่เปนรายงานเพื่อการพยากรณ และการตอบขอซักถาม เปนตน

2. ระบบสารสนเทศสําหรับผูบริหารระดับสูงไดรับการออกแบบและพัฒนาใหงายตอการใชงาน โดยมีตาราง รูปภาพ แบบจําลอง ระบบสื่อผสมที่อธิบายขอมูลอยางชัดเจนและเปนรูปธรรม ขณะที่ ระบบสนับสนุนการตัดสินใจจะใหขอมูลการตัดสินใจตามลักษณะของงาน โดยผูใชอาจตองปรับแตงขอมูลท่ีตนสนใจใหอยูในลักษณะที่เหมาะสมกับการใชงาน

3. ระบบสารสนเทศสําหรับผูบริหารระดับสูงไดรับการออกแบบและพัฒนาใหสามารถนําสารสนเทศมาใชงานโดยตรง โดยใชขอมูลสนับสนุนการตัดสินใจที่ไมมีกฎเกณฑแนนอนตายตัวข้ึนอยูกับการเลือกนําขอมูลไปใช มีการปรับเปลี่ยนโครงสรางบอย รูปแบบไมชัดเจนหรือไมมีโครงสราง และเปนปญหาเฉพาะหนา ขณะที่ผูใชระบบสนับสนุนการตัดสินใจอาจจะตองนําสารสนเทศมาจัดการใหอยูในรูปแบบที่เหมาะสมกับการตัดสินใจ หรือใชเทคนิคในการประมวลผลขอมูลบาง ดังนั้นผูใชระบบสนับสนุนการตัดสินใจตองมีทักษะดานคอมพิวเตอรและสารสนเทศในระดับที่สามารถใชงานใหจัดการขอมูลใหอยูในรูปแบบที่ตองการอยางมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ ระบบสนับสนุนการตัดสินใจจะใชขอมูลสนับสนุนการตัดสินใจในสถานการณเฉพาะดานหรือเฉพาะเรื่อง รูปแบบของการตัดสินใจจะเปนแบบกึ่งโครงสรางเปนสวนใหญ

6. การประยุกตใชงานระบบสารสนเทศสําหรับผูบริหารระดับสูง

ธนาคารพาณิชยแหงหนึ่งไดใหความสําคัญตอการประยุกตใชงานระบบสารสนเทศสําหรับผูบริหาร

ระดับสูงโดยไดกําหนดหนวยงานที่ปฏิบัติงานดานดังกลาวนี้โดยตรงไดแก ฝายสารสนเทศเพื่อการบริหาร (Management Information Department) โดยฝายงานดังกลาวทําหนาท่ีในการสนับสนุนการตัดสินใจของผูบริหารระดับสูง ดวยการเปนศูนยกลางในการจัดทําและบริหารจัดการระบบขอมูลเพื่อการบริหาร เปนศูนยกลางในการจัดทํารายงานการวัดผลกําไรของธนาคาร เปนศูนยกลางในการจัดทําขอมูลทางการเงิน เพื่อชวยในการตัดสินใจและแกไขปญหาที่มีผลกระทบตอการดําเนินงานของธนาคาร เปนตน

Page 61: หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการ ... · 2016-02-16 · หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจ

หนวยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ อาจารย ดร.วิชญะ นาครักษ

61

ภาพที่ 12.27 ตัวอยางระบบงานสารสนเทศสําหรับผูบริหารระดับสูงของธนาคารพาณิชยแหงหนึ่ง ระบบสารสนเทศสําหรับผูบริหารระดับสูงของธนาคาร เปนระบบที่จัดทําข้ึนสําหรับผูบริหารระดับสูง

โดยเฉพาะ และชวยผลักดันและสนับสนุนดานทรัพยากรตางๆ ผูบริหารระดับสูงสามารถนําความรูความเขาใจและมองเห็นประโยชนของการนําสารสนเทศที่ไดจากระบบระบบสารสนเทศสําหรับผูบริหารระดับสูงไปใช ซึ่งธนาคารไดนําระบบดังกลาวมาใชในธนาคารไดอยางมีประสิทธิภาพ รวมกับการวางแผลกลยุทธสารสนเทศที่ดี สอดคลองกับนโยบายและแผนกลยุทธของธนาคาร

หลังจากศึกษาเนื้อหาเรือ่งท่ี 12.2.2 แลวโปรดปฏิบัติกิจกรรม 12.2.2 ในแนวการศึกษาหนวยท่ี 12 ตอนที่ 12.2 เรือ่งที่ 12.2.2

Page 62: หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการ ... · 2016-02-16 · หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจ

หนวยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ อาจารย ดร.วิชญะ นาครักษ

62

เร่ืองที่ 12.2.3 ระบบผูเชี่ยวชาญ

1. ระบบผูเชี่ยวชาญ

ระบบผูเชี่ยวชาญเปนสาขายอยสาขาหนึ่งของปญญาประดิษฐ3 ซึ่งใชชวยในการสรุปหาคําตอบแกไขปญหาเฉพาะดาน ซึ่งเปนปญหาที่ยุงยากขนาดที่ตองใชประสบการณความชํานาญของมนุษยจึงจะแกได ในปจจุบันนี้มี ระบบผูเชี่ยวชาญหลายรอยระบบอยูในงานอุตสาหกรรมและธุรกิจตางๆ ไมวาจะเปนทวีปยุโรป, อเมริกาเหนือ ในไทยก็ไดมีการพัฒนาและนํามาใชงานจริงแลว ระบบผูเชี่ยวชาญจะมีการทํางานเหมือนกับผูเชี่ยวชาญที่เปนมนุษยไดดีขนาดไหน นาเชื่อถือขนาดไหนขึ้นอยูกับความถูกตองและปริมาณความรูท่ีใสเขาไปในระบบ ยิ่งมีปริมาณความรูมาก การวิเคราะหปญหาก็จะมีความแมนยําและใกลเคียงกับผูเชี่ยวชาญมากขึ้น ระบบผูเชี่ยวชาญเปนโปรแกรมคอมพิวเตอรชนิดหนึ่ง ซึ่งมีโครงสรางและเทคนิคท่ีใชในการสรางหรือพัฒนาตางจากโปรแกรมอื่นๆ และเปาหมายในการประยุกตใชงานก็แตกตางกัน ปญหาที่ระบบผูเชี่ยวชาญจะแก สวนใหญจะเปนปญหาที่ยุงยากและไมคอยมีโครงสราง คําตอบที่ไดอาจจะมีไดหลายคําตอบขึ้นอยูกับสภาพของปญหาในขณะนั้นและขอมูลท่ีเขามา ยกตัวอยางเชน โปรแกรม Prospector สําหรับชวยระบุแหลงแรท่ีสําคัญมูลคากวา 100 ลานเหรียญสหรัฐ โปรแกรมที่ชวยในการวินิจฉัยโรค การวิเคราะหโครงสรางสารอินทรียเคมี ท่ีปรึกษาทางดานกฎหมาย ผูชวยสอนที่มีความสามารถ

ระบบผูเชี่ยวชาญเปนระบบที่ชวยในการแกปญหาหรือทําการตัดสินใจ โดยจะเกี่ยวของกับการจัดการความรู (knowledge) มากกวาสารสนเทศทั่วไป และถูกออกแบบใหชวยในการตัดสินใจโดยใชวิธีเดียวกับผูเช่ียวชาญที่เปนมนุษย ระบบผูเชี่ยวชาญจัดเปนงานทางดานปญญาประดิษฐท่ีมีการปฏิบัติและติดตั้งใชงานมากที่สุด ระบบจะทําการโตตอบกับผูใช โดยมีการถามขอมูลเพิ่มเติมเพื่อความกระจาง ใหขอแนะนํา และชวยเหลือในกระบวนการตัดสินใจ กลาวคือ การทํางานคลายกันกับเปนมนุษยผูเชี่ยวชาญในการแกปญหานั้นๆ เนื่องจากระบบนี้คือ การจําลองความรูของผูเชี่ยวชาญมาไวในระบบคอมพิวเตอร โดยผูเชี่ยวชาญอาจเปนไปไดท้ังผูเชี่ยวชาญในการบริหาร ผูเชี่ยวชาญในเรื่องการเงิน ผูเชี่ยวชาญในเรื่องการธนาคาร เปนตน อยางไรก็ตาม ระบบผูเชี่ยวชาญจะมีความสามารถเฉพาะดานตอปญหาเฉพาะทาง และการจะดัดแปลงไปใชแกปญหาอื่นทําไดยาก โดยสรุปกลาวไดวา ระบบผูเชี่ยวชาญ หมายถึง ระบบสารสนเทศที่ใหคําปรึกษาที่ลอกเลียนกระบวนการใชเหตุผลของผูเชี่ยวชาญในสาขาความรูนั้น สําหรับองคประกอบของ ระบบผูเชี่ยวชาญจะประกอบไปดวย 2 องคประกอบหลัก ไดแก

1. ฐานความรู (knowledge base) เปนสวนของความรูของผูเช่ียวชาญ ซึ่งจะเก็บไวในฐานขอมูลของระบบ ความรูในสวนนี้จะรวมถึง ขอเท็จจริงท่ีเปนความรูท้ังหมด และกฎที่ผูเช่ียวชาญใชในการตัดสินใจ

2. โปรแกรมระบบผูเชี่ยวชาญ (expert system software) ซึ่งจะแบงออกเปน 2 สวนที่สําคัญคือ สวนที่ใชในการประมวลผลความรูจากฐานความรู และสวนที่ใชในการติดตอสื่อสารกับผูใช

3 ปญญาประดิษฐ (Artificial Intelligence หรือ AI) คือ ศาสตรแขนงหนึ่งทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เปนระบบคอมพิวเตอรที่ถูกพัฒนาใหมีความสามารถที่จะเรียนรู ใชเหตุผล พัฒนา และปรับปรุงขอบกพรองของตนใหดีข้ึน หรือเปนการพัฒนาใหระบบคอมพิวเตอรมีลักษณะการทํางานใกลเคียงกับระบบการประมวลผล และการตอบสนองของมนุษยที่มีตอแตละสถานการณ เพื่อใหคอมพิวเตอรสามารถปฏิบัติงานแทนที่มนุษยไดอยางมีประสิทธิภาพ เปาหมายของปญญาประดิษฐคือ การพัฒนาระบบคอมพิวเตอรใหมีพฤติกรรมเลียนแบบมนุษย ตั้งแต การเห็น การฟง การเดิน การพูด และความรูสึก รวมทั้งเลียนแบบความเปนอัจฉริยะของมนุษย

Page 63: หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการ ... · 2016-02-16 · หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจ

หนวยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ อาจารย ดร.วิชญะ นาครักษ

63

ระบบผูเชี่ยวชาญจะทําหนาท่ีเสมือนที่ปรึกษาใหกับผูใช โดยระบบจะถามคําถามกับผูใช แลวไปคนหาคําตอบหรือกฎที่ใชในการหาคําตอบจากความรูท่ีมีในฐานความรู สุดทายจึงจะใหคําตอบในลักษณะของที่ปรึกษากับผูใช นอกจากนี้ระบบยังสามารถแสดงเหตุผลประกอบการตัดสินใจดวย

2. ประโยชนของระบบผูเชี่ยวชาญ

ในปจจุบันการพัฒนาระบบผูเชี่ยวชาญในแตละสาขามีวัตถุประสงคท่ีจะใชงานตามหนาท่ีเปนสําคัญ แตหลังจากการนําระบบผูเชี่ยวชาญมาใช ผูพัฒนามักจะเรียนรูวาระบบผูเชี่ยวชาญมีประโยชนมาก โดยสามารถสรุปประโยชนท่ีธุรกิจจะไดรับจากระบบผูเชี่ยวชาญ ดังนี้

1. ระบบผูเชี่ยวชาญชวยในการปองกันและรักษาความรู เก็บความรูของผูเชี่ยวชาญในดานหนึ่งดานใดโดยเฉพาะไว ทําใหไมสูญเสียความรู ซึ่งความรูอาจสูญหายไปขณะทําการเรียกขอมูลหรือการยกเลิกการใชขอมูล ตลอดจนการสูญหายเนื่องจากขาดการเก็บรักษาความรูอยางเปนระบบเปนระเบียบแบบแผน เชน การสั่งสมความรูในธุรกิจแบบเถาแกท่ีนิยมถายทอดใหแกลูกหลานผูใกลชิดโดยใชการจําเปนสําคัญ เปนตน ระบบผูเช่ียวชาญสามารถนําความรูนั้นมาใชงาน เมื่อผูเชี่ยวชาญเสียชีวิต หรือออกจากองคกรไป หรือไมอาจปฏิบัติงาน หรือไมสามารถถายทอดความรูใหแกทายาทไดอยางอยางสมบูรณ

2. ระบบผูเชี่ยวชาญชวยขยายขีดความสามารถในการตัดสินใจใหผูบริหารจํานวนมากพรอมๆ กัน ท้ังนี้เพราะ ระบบผูเชี่ยวชาญจะจัดเตรียมขอมูลใหอยูในลักษณะที่พรอมสําหรับนําไปใชงาน และมักจะถูกพัฒนาใหสามารถตอบสนองตอปญหาในทันทีท่ีเกิดความตองการ ระบบผูเชี่ยวชาญจะถูกออกแบบใหมีการจัดระเบียบ รักษาความรูในลักษณะที่สะดวกตอการใชงาน และรองรับการใชงานตอผูบริหารหลายคนพรอมๆ กัน

3. ระบบผูเชี่ยวชาญสามารถเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลใหกับผูใชระบบในการตัดสินใจไดเปนอยางมาก เนื่องจากการออกแบบ ระบบผูเชี่ยวชาญมักจะคํานึงถึงการบันทึกความรูในแตละสาขาใหเพียงพอและเหมาะสมกับการใชงาน ซึ่งจะทําใหระบบสามารถปฏิบัติงานแทนผูเชี่ยวชาญอยางมีประสิทธิภาพ สงผลใหผลลัพธท่ีไดมีความคงที่และสามารถใชงานไดตลอดเวลา

4. ระบบผูเชี่ยวชาญชวยใหการตัดสินใจในแตละครั้งมีความใกลเคียงและไมขัดแยงกัน ท้ังนี้ ระบบผูเชี่ยวชาญนับเปนเครื่องมือเชิงกลยุทธของธุรกิจ โดยเฉพาะองคกรสมัยใหมท่ีตองการสรางความไดเปรียบในการแขงขัน เชน การวางแผนการตลาด การวิเคราะหตนทุน หรือการพัฒนาผลิตภัณฑ เปนตน

5. ระบบผูเชี่ยวชาญชวยลดการพึ่งพาบุคคลใดบุคคลหนึ่ง เนื่องจาก ระบบผูเชี่ยวชาญสามารถตัดสินปญหาอยางแนนอน ระบบถูกพัฒนาใหสามารถปฏิบัติงานโดยปราศจากผลกระทบทางรางกายและอารมณท่ีมีอยูในตัวมนุษย ไมวาจะเปนความเครียด ความเจ็บปวย หรือความเมื่อยลา เปนตน

Page 64: หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการ ... · 2016-02-16 · หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจ

หนวยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ อาจารย ดร.วิชญะ นาครักษ

64

ภาพที่ 12.27 ประโยชนของระบบผูเช่ียวชาญ

3. การพัฒนาระบบผูเชี่ยวชาญ การพัฒนาระบบผูเชี่ยวชาญจะมีข้ันตอนการดําเนินงานใกลเคียงกับการพัฒนาระบบสนับสนุนการ

ตัดสินใจ (DSS) แตระบบผูเชี่ยวชาญจะถูกพัฒนาขึ้นโดยมีวัตถุประสงคใหทําหนาท่ีมากกวาการวิเคราะห การประมวลผล และการแกปญหาทางคณิตศาสตร การพัฒนาระบบผูเชี่ยวชาญเปนกระบวนการตอเนื่องท่ีมีความละเอียดออนและซับซอน ซึ่งผูพัฒนาระบบตองใชความรู ทักษะ ความสามารถ ความเขาใจ และประสบการณอยางมาก ตลอดจนตองใชเวลาและคาใชจายในการดําเนินงาน สามารถแบงกระบวนการพัฒนาระบบผูเช่ียวชาญออกไดเปน 5 ข้ันตอน ดังนี้

1. ข้ันตอนการวิเคราะห ผูพัฒนาระบบความฉลาดจะดําเนินการพิจารณาถึงความตองการ ความเหมาะสม และความเปนไปได

ของการนําระบบไปใชงานในสถานการณจริง โดยทําความเขาใจกับปญหา จัดข้ันตอนในการแกปญหา การกําหนดรูปแบบของการใหคําปรึกษา ตลอดจนรวบรวมความรูและความเขาใจสาระสําคัญที่จะนํามาประกอบการพัฒนาระบบ

ระบบผู เชี่ยวชาญมิใชระบบสารสนเทศที่สามารถนํามาใชแกปญหาไดทุกประเภท โดยระบบผูเชี่ยวชาญจะถูกพัฒนาใหเหมาะสมกับปญหาเฉพาะรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง แตไมสามารถนําไปใชงานกับปญหาในลักษณะอื่น นอกจากนี้ ระบบผูเชี่ยวชาญยังมีความเหมาะสมกับปญหาซึ่งมีคุณสมบัติเฉพาะ กลาวคือ ลักษณะปญหาของ ระบบผูเชี่ยวชาญเปนปญหาที่มีโครงสรางนอยหรือไมมีโครงสราง ซึ่งไมสามารถวิเคราะหและแกปญหาดวยสูตรสําเร็จ

ทางคณิตศาสตร เหมาะสําหรับการวิเคราะหหรือวินิจฉัยโดยวิธีการอนุมาน4 การวิเคราะหปญหาจะมีความสัมพันธกับ

4 การอนุมาน หมายถึง การคาดคะเนตามหลักเหตุผล

เพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผล

ขยายขีดความสามารถในการตัดสินใจ

การตัดสินใจ ไมขัดแยงกัน

ลดการพึ่งพา บุคคล

ปองกันและ รักษาความรู

ประโยชนของระบบผูเช่ียวชาญ

Page 65: หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการ ... · 2016-02-16 · หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจ

หนวยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ อาจารย ดร.วิชญะ นาครักษ

65

ความไมแนนอน หรือมีลักษณะ Heuristic5 ระบบผูเช่ียวชาญสามารถแกปญหาภายใตขอกําหนดของความรูหรือตรรกะที่มีภายในระยะเวลาที่แนนอน นอกจากนี้ การพัฒนาระบบผูเชี่ยวชาญถูกดําเนินการใหแกปญหาที่มีโครงสรางแบบ "ถา ... แลว (If ... then ...)"

2. ข้ันตอนการเลือกอุปกรณ ผูพัฒนาระบบตองพิจารณาเลือกอุปกรณท่ีใชเปนสวนประกอบของระบบผูเช่ียวชาญ ซึ่งแตละสวนจะมี

ความตองการอุปกรณท่ีมีความเหมาะสมแตกตางกัน โดยพิจารณาความเหมะสมของสวนประกอบดังนี้ 2.1 การแสดงความรู การแสดงความรูเปนสิ่งสําคัญในการพัฒนาระบบความฉลาด อุปกรณแสดง

ความรูจะถูกออกแบบใหการแสดงความรูนั้นงายและครบถวนตามลักษณะของงาน โดยท่ีการแสดงความรู ท่ีมีประสิทธิภาพควรมีลักษณะดังนี้

- โครงสรางเหมาะสม (structure) ระบบแสดงความรูท่ีดีตองสามารถแสดงความรูท่ีเกี่ยวของท้ังความรูในลักษณะที่มีโครงสรางและไมมีโครงสราง โดยจัดเรียงความสัมพันธอยางสอดคลอง งายตอการทําความเขาใจและใชงาน

- สัดสวนเหมาะสม (modularity) ระบบแสดงความรูท่ีดีตองจัดกลุมความรูเปนหมวดหมู โดยความรูสามารถแยกออกเปนสวน หรือมีความเปนสวนยอย เพื่อใหเกิดความยืดหยุนและสะดวกในการนําไปใชงาน การแกไข หรือเพิ่มเติมขอมูลในฐานความรู

- สะดวก (convenience) ระบบแสดงความรูท่ีมีประสิทธิภาพตองสะดวกตอการจัดการและการควบคุม เพื่อลดปญหาความผิดพลาด ความซ้ําซอน และความขัดแยงกันของขอมูล

- เขาใจงาย (easy to understand) ระบบแสดงความรูท่ีดี การแสดงความรูตองถูกจัดใหอยูในรูปแบบที่ผูใชสามารถเขาใจงาย ทําใหผูใชสนใจที่จะใชงาน ซึ่งจะสงผลใหเกิดความชํานาญ และกอใหเกิดการใชงานที่มีประสิทธิภาพ

- เหมาะสม (Appropriate) ระบบแสดงความรู ท่ีดี การจัดเรียงความรูตองสอดคลองกับกระบวนการอนุมานและลักษณะของการใชงาน เพื่อใหสามารถดําเนินการอยางถูกตองตามกฎเกณฑตรรกะและมีประสิทธิภาพ

2.2 อุปกรณอนุมาน ผูพัฒนาระบบความฉลาดตองคํานึงถึงวิธีการอนุมาน การคนหาและตรวจสอบกฎขอท่ีเหมาะสม การคํานวณทางคณิตศาสตร การประมวลผลทางตรรกะ และการเชื่อมโยงกับชุดคําสั่งอื่นอยางสะดวกและเหมาะสม เพื่อท่ีจะนํามาใชในการแกปญหาตางๆ ท่ีเขามาในระบบ

2.3 อุปกรณติดตอกับผูใช การพัฒนาระบบผูเชี่ยวชาญจะมีสวนที่ผูใชสามารถติดตอสื่อสารกับระบบไดงาย ระบบมีการโตตอบและแสดงผลที่ชัดเจน และงายตอการเขาใจและการใชงาน ดังนั้นผูพัฒนาระบบตองพิจารณาในเรื่องของวิธีการโตตอบระหวางระบบกับผูใช การเก็บรวบรวมความรู และการแสดงผลโดยรูปภาพ

5 Heuristic หรือวิทยาการศึกษาสํานึก หมายถึง วิธีการแกปญหาที่ดูเหมือนวาจะไมมีแนวทางหรือกฎเกณฑที่ชัดเจนตายตัว เชน ในเกมหมากรุก คงมีแตการทดลองหรือคาดเดาหลายๆ ทางใหตัดสินเลือกทางที่คิดวาจะไดผลดีที่สุด ซ่ึงมักจะใชผลจากประสบการณที่ผานมา ตรงขามกับกับ "สามัญสํานึก" หรือ common sense

Page 66: หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการ ... · 2016-02-16 · หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจ

หนวยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ อาจารย ดร.วิชญะ นาครักษ

66

2.4 ซอฟตแวร ลักษณะของซอฟตแวรจะบงช้ีธรรมชาติและคุณสมบัติของระบบผูเชี่ยวชาญวามีขอดีหรือขอจํากัดอยางไร สิ่งสําคัญที่ผูพัฒนาระบบจะตองพิจารณาสําหรับการสรางซอฟตแวรคือ ภาษาคอมพิวเตอร ซึ่งถูกสรางขึ้นใหมีความเหมาะสมกับงานตางกัน โดยภาษาคอมพิวเตอรท่ีนิยมนํามาใชในการพัฒนาระบบความฉลาดสวนใหญ

ไดแก โปรล็อก6 (Prolog) และลิสป (Lisp)7 เปนตน นอกจากนี้ ผูพัฒนาระบบยังตองคํานึงถึงความสามารถในการแปลขอมูล ความสามารถในการขยายระบบ และการใชงานรวมกับภาษาอื่นเพื่อใหการพัฒนาระบบและการตอเชื่อมเกิดประโยชนสูงสุด ในปจจุบันไดมีการพัฒนาระบบกึ่งสําเร็จรูปสําหรับการพัฒนาระบบผูเช่ียวชาญที่เรียกวา ระบบ

ผูชํานาญการ (Expert System Shell)8 ซึ่งเปนระบบที่ถูกพัฒนาขึ้นไวสําหรับสรางระบบผูเช่ียวชาญในดานตางๆ ไดงายข้ึน 2.5 ความยั่งยืน ผูพัฒนาระบบตองคํานึงถึงความยั่งยืน และการปรับปรุงใหระบบมีประสิทธิภาพสูงข้ึน

ในอนาคต โดยคํานึงถึงปจจัยดานความสามารถในการติดตอกับผูพัฒนาระบบ วิธีการสรางและพัฒนาฐานความรู เครื่องมือท่ีใชในการแกไขฐานความรู ความสามารถในการสรางสวนควบคุมการอนุมาน และการสรางสวนที่ติดตอกับผูใช

3. ข้ันตอนการถอดความรู การถอดความรูเปนกระบวนการสําคัญในการพัฒนาระบบผูเชี่ยวชาญ ซึ่งสามารถกลาววา เปนหัวใจของการพัฒนาระบบความฉลาด โดยท่ีผูพัฒนาระบบตองทําการสังเกต ศึกษา และทําความเขาใจกับความรูท่ีจะนํามาพัฒนาเปนระบบผูเชี่ยวชาญจากแหลงอางอิงหรือผูเชี่ยวชาญในสาขานั้น เพื่อการกําหนดขอบเขตท่ีเหมาะสมของระบบ โดยเรียกกระบวนการนี้วา วิศวกรรมความรู (knowledge engineering) ซึ่งตองอาศัย วิศวกรความรู

6 ภาษาโปรล็อก (Prolog) เปนภาษาสําหรับการเขียนโปรแกรมเชิงตรรกะ ไดชื่อมาจาก PROgrammation en LOGique (logic programming) สรางขึ้นโดย Alain Colmerauer ราว ค.ศ. 1972 ภาษาโปรล็อกเกิดจากความพยายามที่จะสรางภาษาที่อาศัยวิธีการทางตรรกศาสตร แทนที่จะกําหนดคําส่ังอยางละเอียดใหกับคอมพิวเตอร

ภาษาโปรล็อกถูกนําไปใชในโปรแกรมสําหรับปญญาประดิษฐ และภาษาศาสตรเชิงคํานวณ (computational linguistics) โดยเฉพาะการประมวลผลภาษาธรรมชาติ ไวยากรณและความหมายของภาษานั้นเรียบงายและชัดเจน (เปาหมายแรกของภาษาคือเปนเครื่องมือสําหรับนักภาษาศาสตรที่ไมรูคอมพิวเตอร) งานวิจัยจํานวนมากที่ทําใหเกิดการพัฒนาภาษาโปรล็อกในปจจุบันนั้น เปนผลมาจากโครงการระบบคอมพิวเตอรยุคที่หา (fifth generation computer systems project - FGCS) ซ่ึงเลือกรูปแบบหนึ่งของภาษาโปรล็อกเปนภาษาแกน (Kernel Language) ของระบบปฏิบัติการ

ภาษาโปรล็อกมีพื้นฐานมาจากแคลคูลัสภาคแสดง (predicate calculus) หรือเรียกเต็ม ๆ วา แคลคูลัสภาคแสดงอันดับที่หนึ่ง (first-order predicate calculus) โดยจํากัดใหใชเฉพาะอนุประโยคของฮอรน (Horn clause) การดําเนินการของโปรแกรมโปรล็อก ก็คือการประยุกตวิธีพิสูจนทฤษฎีบทโดยใชรีโซลูชันอันดับหนึ่ง (first-order resolution) แนวคิดพื้นฐานที่เกี่ยวของไดแก การทําใหเทากัน (unification), การเรียกซํ้าจากสวนทาย (tail recursion), การยอนรอย (backtracking)

7 ภาษาลิสป (Lisp Programming Language) เปนภาษาคอมพิวเตอรข้ันสูง นอกจากนําไปใชในการเขียนโปรแกรมทั่วไปแลวยังสามารถใชไดดีในการประมวลผลสัญลักษณ ดังนั้นจึงถูกใชอยางแพรหลายทางดานปญญาประดิษฐ นอกจากนี้ ในภาษาลิสป ไมจําเปนตองประกาศชนิดตัวแปรที่ใชในโปรแกรม ดังนั้นจึงงายในการเขียนและเรียนรู

8 ระบบผูชํานาญการ คือ โปรแกรมคอมพิวเตอรหรือระบบสารสนเทศซึ่งไดจําลองเทคนิคการแกปญหาของผูเชี่ยวชาญที่เปนมนุษย ซ่ึงใชความรูของผูเชี่ยวชาญในสาขาใดสาขาหนึ่ง เพื่อใหสามารถแกปญหาไดอยางมีประสิทธิภาพ

ผูชํานาญการ คือ ผูที่มีความเชี่ยวชาญในเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะ มีความรูและความเชี่ยวชาญพิเศษที่คนสวนใหญทําไมได โดยอาศัยประสบการณการฝกฝนที่ผานมา ผูเชี่ยวชาญที่เปนมนุษย (Human expert) จะทําหนาที่ใหความรูกับระบบ เชน ขอเท็จจริงและกฎตางๆ โดยความรูที่ไดมาจากประสบการณที่ส่ังสมมาของตัวผูเชี่ยวชาญเอง

Page 67: หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการ ... · 2016-02-16 · หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจ

หนวยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ อาจารย ดร.วิชญะ นาครักษ

67

(knowledge engineer)9 ซึ่งมีความแตกตางจากนักวิเคราะหระบบ (system analyst) ท่ีไดกลาวมาแลว เนื่องจากวิศวกรความรูจะใชเวลาในการรวบรวมขอมูลของการวิเคราะหและตัดสินใจในปญหาทั้งจากเอกสารและจากผูเชี่ยวชาญ โดยขอมูลท่ีไดจะยากตอการอธิบายเหตุผลในการตัดสินใจของบุคคลในแตละครั้ง ขณะที่นักวิเคราะหระบบจะพัฒนาระบบสารสนเทศจากขอมูลทางตรรกะและคณิตศาสตร

4. ข้ันตอนการสรางตนแบบ ผูพัฒนาระบบผูเชี่ยวชาญจะนําเอาสวนประกอบตางๆ ท่ีกลาวมาขางตนประกอบสรางตนแบบ (prototype) ของระบบผูเชี่ยวชาญโดยผูพัฒนาระบบจะเริ่มตนจากการนําแนวความคิดท้ังหมดที่เกี่ยวของกับระบบที่ตองการพัฒนามาจัดเรียงลําดับ โดยเริ่มจากเปาหมายหรือคําตอบของการประมวลผล การไหลเวียนทางตรรกะของปญหา ข้ันตอนแสดงความรู การจัดของขั้นตอนที่จําเปน พรอมท้ังทดสอบการทํางานของตนแบบที่สรางข้ึนวาสามารถทํางานไดตามที่ไดวางแผนไวหรือไม

5. ข้ันตอนการทดสอบและบํารุงรักษา หลังจากที่ตนแบบไดถูกสรางขึ้นและสามารถผานการทดสอบการทํางานแลว เพื่อท่ีจะใหระบบสามารถนําไปใชในสภาวการณจริงไดก็จะตองทําการขยายระบบใหใหญข้ึนจากตนระบบ โดยเฉพาะสวนที่เปนฐานความรูซึ่งเปนสวนที่ใชอธิบายสวนที่ติดตอกับผูใช และตกแตงหนาจอใหมีความเหมาะสมในการใชงานมากขึ้น เมื่อระบบไดถูกขยายขึ้นแลวก็ตองมีการทดสอบระบบอีกครั้งหนึ่ง โดยใชเปนกรณีศึกษาที่ทีมพัฒนาพอรูคําตอบแลว เพื่อตรวจสอบการทํางานของระบบวาไดทํางานอยางถูกตองหรือไม เมื่อระบบไดผานการทดสอบแลว ก็พรอมท่ีจะนําไปใชจริงได ซึ่งก็จะมีหลักเกณฑหรือข้ันตอนในการบํารุงรักษา ปรับปรุง อยูเสมอ โดยเฉพาะอยางยิ่งในสวนของฐานความรู เพื่อใหระบบสามารถมีความรูเพียงพอในการแกปญหาตางๆ

ภาพที่ 12.28 ข้ันตอนการพัฒนาระบบผูเช่ียวชาญ

9 วิศวกรความรู (Knowledge engineer) เปนผูที่ทําหนาที่กลั่นกรองความรูที่ไดจากผูเชี่ยวชาญที่เปนมนุษยและนําความรูที่ไดจัดเก็บในฐานความรู (Knowledge base)

ข้ันตอนการวิเคราะห

ข้ันตอนการเลือกอุปกรณ

ข้ันตอนการถอดความรู

ข้ันตอนการสรางตนแบบ

ข้ันตอนการทดสอบและบํารุงรักษา

Page 68: หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการ ... · 2016-02-16 · หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจ

หนวยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ อาจารย ดร.วิชญะ นาครักษ

68

4. การประยุกตใชงานระบบผูเชี่ยวชาญ ในประเทศไทยยังไมคอยมีตัวอยางของการนําระบบผูเชี่ยวชาญไปประยุกตใชงานไดจริงในปจจุบันมาก

นัก เพราะยังมีขอจํากัดหลายประการ ท้ังเพราะหนวยงานที่จะนําระบบผูเชี่ยวชาญมาประยุกตใชตองมีความพรอมท้ังในดานโปรแกรมคอมพิวเตอรท่ีมีความฉลาด ตองมีการใชความรู กระบวนการอนุมาน การคาดคะเนตามหลักเหตุผล ถายทอดการแกปญหาที่ยุงยากดวยประสบการณความชํานาญการของมนุษยมาเก็บเปนโปรแกรมคอมพิวเตอร ท่ีจะตองเก็บทั้งความรูเกี่ยวกับปญหาที่จะแกไข และกระบวนการอนุมานเพื่อนําไปสูผลสรุปหรือคําตอบของปญหานั้น ความรูท่ีเก็บมีท้ังความรู ท่ีเปนความจริงท่ีอาจจะถูกบันทึกไวในรูปของตําราหรือเอกสารทางวิชาการ และความรู ท่ีไดจากประสบการณหรือผูเชี่ยวชาญที่มีประสบการณ

สาเหตุท่ีประเทศพัฒนาทั้งหลายสรางระบบผูเชี่ยวชาญเนื่องจาก แนวความคิดท่ีวาผูเชี่ยวชาญที่อยูในองคกรลวนแลวแตเปนทรัพยากรท่ีมีคุณคา บุคคลดังกลาวจะชวยตัดสินแกไขปญหาที่ยาก มีแนวคิดใหมๆ เพื่อพัฒนาระบบ ซึ่งทําใหผลผลิตโดยรวมขององคกรมีคุณภาพดีข้ึน และทําใหมีสวนแบงทางการตลาดเพิ่มข้ึน ท้ังนี้ ในดานเวลาสําหรับการทํางาน ระบบผูเชี่ยวชาญสามารถทํางานไดตลอดเวลา ในขณะที่มนุษยทํางานตามเวลาที่กําหนด ในดานสภาพแวดลอม ระบบผูเชี่ยวชาญสามารถทํางานที่ไหนก็ได ในขณะที่มนุษยตองปฏิบัติงานในพื้นที่ท่ีปลอดภัย กรณีเกิดความเสียหาย ระบบผูเชี่ยวชาญสามารถหาทดแทนได ในขณะที่ผูเชี่ยวชาญที่เปนมนุษยไมสามารถหาทดแทนได ในดานการเสื่อมสภาพ ไมมีผลสําหรับระบบผูเชี่ยวชาญ ในขณะที่ผูเชี่ยวชาญที่เปนมนุษยจะตองเขาสูการเกษียณอายุหรือตาย สําหรับในดานสมรรถนะการทํางาน ระบบผูเชี่ยวชาญมีสมรรถนะการทํางานสูง ในขณะที่มนุษยเปลี่ยนแปลงสมรรถนะการทํางานไดตลอดเวลา ในดานความรวดเร็ว ระบบผูเชี่ยวชาญมีความเร็วสูง ในขณะที่มนุษยเปลี่ยนแปลงชาเร็วไดตามอารมณ ระบบผูเช่ียวชาญก็เหมือนเครื่องจักรทั่วไปที่สามารถทํางานไดตลอดเวลา และยังสามารถนําระบบไปอยูในพื้นที่ หรือสิ่งแวดลอมท่ีไมเหมาะสม กับผูเชี่ยวชาญที่เปนมนุษยไดอีกดวย แตสําหรับผูเช่ียวชาญที่เปนมนุษยนั้น เมื่อถึงเวลาหนึ่งผูเชี่ยวชาญ ก็จะตองเกษียณออกจากงานหรือไมก็เสียชีวิตไปทําใหประสบการณท่ีอยูในผูเชี่ยวชาญสูญหายไปดวย ถาองคกรนั้นไมมีการเตรียมการ ถายถอดประสบการณหรืออบรมใหพนักงานรุนตอไป ซึ่งก็จะสงผลใหระบบเกิดการหยุดชะงักหรือเกิดปญหาระยะหนึ่ง ไมเพียงเทานั้นระบบ ผูเชี่ยวชาญ ยังสามารถตัดสินใจไดถูกตองกวา ผูเชี่ยวชาญที่เปนมนุษย เนื่องการตัดสินของมนุษย จะมีผลกระทบจากปจจัยหลายอยาง เชน ปญหาหรือความกังวลสวนตัว, การประมาท และมั่นใจในตัวเองมากเกินไป และในกรณีเรงดวน ฉุกเฉิน หรืออยูในสถานการณท่ีกดดัน หรือมีการจํากัดดวยเวลาสําหรับการแกปญหา ก็อาจจะทําใหผูเชี่ยวชาญ ท่ีเปนมนุษยตัดสินใจผิดพลาดได

การประยุกตใชงานระบบผูเชี่ยวชาญในประเทศพัฒนาแลวสวนใหญเปนปญหาที่ยุงยากและไมคอยมีโครงสราง ปญหาประเภทนี้คําตอบจะมีโอกาสเปนไดหลายอยาง ท้ังนี้ข้ึนอยูกับสภาพขณะนั้นของปญหาและขอมูลท่ีเขามา ปญหาประเภทนี้อาจจะอุปมาไดเหมือนกับการเลนหมากรุก การเดินหมากครั้งตอไปนั้นเดินไดหลายวิธีดวยกัน แตตัวหมากที่จะเดินดีท่ีสุดตัดสินใจจากสภาพของกระดานในขณะนั้น และหมากที่คิดวาคูตอสูจะเดินในครั้งตอไป ในการแกปญหาประเภทนี้เรามักไมสามารถ จะกําหนดขั้นตอนในการแกปญหาอยางชัดเจน ไวลวงหนาได แตจะตองอาศัยความรู ประสบการณ และสภาพของปญหาในขณะนั้นรวมกันจึงจะแกได ระบบผูเชี่ยวชาญถึงแมจะเปนโปรแกรมคอมพิวเตอรชนิดหนึ่ง แตโครงสรางและเทคนิคท่ีใชในการสรางหรือพัฒนาจะตางจากโปรแกรมที่มีใชในปจจุบันและเปาหมายในการประยุกตใชก็แตกตางกัน การประยุกตใชระบบผูเชี่ยวชาญที่ประสบความสําเร็จเทาท่ีมีมาไดแก การวินิจฉัยโรค, การสํารวจทรัพยากรธรณี, การวิเคราะหโครงสรางสารอินทรียเคมี

Page 69: หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการ ... · 2016-02-16 · หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจ

หนวยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ อาจารย ดร.วิชญะ นาครักษ

69

รูปที่ 1 จํานวนของการพัฒนาระบบผูเช่ียวชาญของอุตสาหกรรมประเภทตางๆ ในป 2535

ท่ีมา ศูนยเทคโนโลยอีิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ ในปจจุบันยังไมมีระบบผูเชี่ยวชาญสําเร็จรูปที่สามารถนําไปใชงานตามที่ตองการ เนื่องจากความรูเปนเรื่อง

ท่ีใหญ และกวางขวาง ซึ่งยากที่จะนําความรูตางๆ เหลานั้นมาทําเปนระบบผูเชี่ยวชาญสําเร็จรูปได ดังนั้นการนําระบบผูเชี่ยวชาญมาใช จะตองมีการพัฒนาระบบกอน การพัฒนาระบบผูเช่ียวชาญนั้นมีข้ันตอนตางๆ ท่ีมากมายและซับซอน ถาหากวาการพัฒนาระบบผูเชี่ยวชาญจะเริ่มตนที่ การพัฒนาระบบซอฟตแวร ซึ่งประกอบดวยเครื่องอนุมาน ฐานความรู หนวยติดตอกับผูใชและอื่นๆ ผูพัฒนาระบบจะตองเสียเวลามาก ในการออกแบบเขียนโปรแกรมและสรางความรูใหกับระบบ ในการพัฒนาระบบทางดานโปรแกรมนั้น ผูพัฒนาจะตองรูเทคโนโลยี ทางดานซอฟตแวรของปญญาประดิษฐ และ จะตองมีความรูความชํานาญในเรื่องท่ีจะสรางเปนระบบ ผูเชี่ยวชาญนั้นดวย ปจจุบันเทคโนโลยีทางดานซอฟตแวรไดทําให การพัฒนาระบบผูเชี่ยวชาญงายข้ึน

หลังจากศึกษาเนื้อหาเรือ่งท่ี 12.2.3 แลวโปรดปฏิบัติกิจกรรม 12.2.3

ในแนวการศึกษาหนวยท่ี 12 ตอนที่ 12.2 เรือ่งที่ 12.2.3

Page 70: หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการ ... · 2016-02-16 · หน วยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจ

หนวยที่ 12 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ อาจารย ดร.วิชญะ นาครักษ

70

บรรณานุกรม

ทัดดาว ศีลคุณ ระบบฐานขอมูลเบื้องตน กรุงเทพฯ : บริษัทเนติกุลการพิมพ (2541) จํากัด, 2544

ธีราวุธ ปทมวิบูลย ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับคอมพิวเตอร กรุงเทพฯ : โปรวิช่ัน, 2545

ไพบูลย เกียรติโกมล และณัฎฐพันธ เขจรนันทน ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2551

วิลาศ วูวงศ และบุญเจริญ ศิริเนาวกุล ระบบผูเชี่ยวชาญ ปทุมธานี : ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ กระทรวงวิทยาศาสตรเทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม, 2535

ศรีไพร ศักดิ์รุงพงศากุล เทคโนโลยีคอมพิวเตอรและสารสนเทศ กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2544

ศรีไพร ศักดิ์รุงพงศากุล และเจษฎาพร ยุทธนวิบูลยชัย ระบบสารสนเทศและเทคโนโลยีการจัดการความรู กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2549

สุโขทัยธรรมาธิราช มหาวิทยาลัย ประมวลสาระชุดวิชาการจัดเก็บและการคนคืนสารสนเทศ บัณฑิตศึกษา สาขาวิชาศิลปศาสตร นนทบุรี : สํานักพิมพ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 2545

ประมวลสาระชุดวิชาเทคโนโลยีเพื่อการจัดการสารสนเทศ บัณฑิตศึกษา สาขาวิชาศิลปศาสตร นนทบุรี : สํานักพิมพ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 2546

ประมวลสาระชุดสัมมนาการจัดการสารสนเทศ บัณฑิตศึกษา สาขาวิชาศิลปศาสตร นนทบุรี : สํานักพิมพ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 2546

สุชาดา กีระนันทน เทคโนโลยีสารสนเทศสถิติ : ขอมูลในระบบสารสนเทศ กรุงเทพฯ : โรงพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2543

Ahituv, N., Neumann, S. and Riley, H. N. Principles of Information Systems for Management. 4th ed. Dubuque : Wm. C. Brown Communication, Inc., 1994

Davydov, Mark M. e-Commerce Solutions for Business and IT Managers, Corporate Portals and e-Business Integration. New York: McGraw-Hill, 2001.

Goleniewski, Lillian. Telecommunications Essentials. Boston: Pearson Education, Inc., 2002.

Kroenke, David M. Database processing : Fundamentals, design and implementation. 6th ed. New Jersey : Prentice Hall International, Inc., 1998

Mannino, Michael V. Database Application Development and Design. New York : McGraw-Hill, 2001

Rolland, F.D. The essence of database. 1st ed. London : : Prentice Hall International, Inc., 1998