หน วยที่ 15 การประยุ กตการยศาสตร...

85
หนวยที15 การประยุกตการยศาสตรในสํานักงานและในโรงพยาบาล ตอนที15.1 การประยุกตการยศาสตรในสํานักงาน 15.2 การประยุกตการยศาสตรในโรงพยาบาล แนวคิด 1. สํานักงานเปนสถานที่ทํางานที่หลาย คนมักเขาใจวามีความปลอดภัย ไมมีสิ่งคุกคาม สุขภาพอนามัยที่ตองใหความสําคัญมากนัก แตในความเปนจริง ตั้งแตป .. 1980 เปนตนมา เทคโนโลยีคอมพิวเตอรไดเขามามีบทบาทสําคัญในการทํางานในสํานักงานเปนอยางมาก มีรายงาน การศึกษาวิจัยหลายฉบับในปจจุบันที่กลาวถึงผลกระทบตอสุขภาพเนื่องจากการทํางานกับ คอมพิวเตอร ทั้งนีประเภทของคอมพิวเตอรที่ตางกันก็สงผลกระทบตอสุขภาพที่แตกตางกันไปดวย ดังนั้น การทําความเขาใจ และการประยุกตใชหลักการยศาสตรในสํานักงาน อันไดแก การจัดสถานี งานที่เกี่ยวของกับคอมพิวเตอร การประเมินสถานีงานและทาทางการทํางานเพื่อการปรับปรุงแกไข สภาพการทํางานใหเหมาะสมยิ่งขึ้น จึงเปนสิ่งจําเปนที่จะชวยปองกันผลกระทบตอสุขภาพที่อาจ เกิดขึ้นไดจากการทํางานกับคอมพิวเตอรอยางตอเนื่องเปนเวลานาน 2. โรงพยาบาลควรเปนสถานที่ทํางานที่เปนตัวอยางที่ดีตอสาธารณชนและผูมารับบริการ ในเรื่องของการดูแลสุขภาพอนามัยของเจาหนาที่และบุคลากรทุกคน โดยเฉพาะอยางยิ่งการปองกัน และควบคุมโรคและภัยที่เกิดจากการทํางาน อยางไรก็ตามโรงพยาบาลจัดเปนสถานที่ทํางานที่มี ความเสี่ยงตอสุขภาพ หรือผลกระทบตอสุขภาพของผูปฏิบัติงานคอนขางมาก โดยพบวาบุคลากรใน โรงพยาบาลมีความเสี่ยงตอการเกิดโรคหรือความผิดปกติทางระบบกลามเนื้อและกระดูกโครงราง สูงกวาผูปฏิบัติงานในอาชีพอื่น เนื้อหาในบทนี้จึงใหความสําคัญในเรื่องปจจัยเสี่ยงและทาทางการ ทํางานของบุคลากรในโรงพยาบาล รวมไปถึงการดูแลและเคลื่อนยายผูปวยอยางปลอดภัย โดยจะ ไดอธิบายถึงการประยุกตการยศาสตรในแผนกที่มีปญหาการยศาสตรคอนขางมากในโรงพยาบาล ซึ่งไดแก แผนกซักฟอก และโรงครัว วัตถุประสงค เมื่อศึกษาหนวยที15 จบแลว นักศึกษาสามารถ 1. อธิบายหลักการประยุกตการยศาสตรในสํานักงานได โดยเฉพาะอยางยิ่งการจัดสถานี งานคอมพิวเตอรที่เหมาะสม 2. อธิบายหลักการประยุกตการยศาสตรในโรงพยาบาลได โดยเฉพาะอยางยิ่งในแผนก ซักฟอก และในโรงครัว

Upload: others

Post on 25-Jun-2020

9 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: หน วยที่ 15 การประยุ กตการยศาสตร ํานัในสกงานและในโรงพยาบาล › UserFiles › File

หนวยท่ี 15 การประยุกตการยศาสตรในสํานักงานและในโรงพยาบาล ตอนท่ี

15.1 การประยกุตการยศาสตรในสํานักงาน 15.2 การประยกุตการยศาสตรในโรงพยาบาล

แนวคิด 1. สํานักงานเปนสถานท่ีทํางานท่ีหลาย ๆ คนมักเขาใจวามีความปลอดภัย ไมมีส่ิงคุกคามสุขภาพอนามยัท่ีตองใหความสําคัญมากนัก แตในความเปนจริง ตั้งแตป ค.ศ. 1980 เปนตนมา เทคโนโลยีคอมพิวเตอรไดเขามามีบทบาทสําคัญในการทํางานในสํานักงานเปนอยางมาก มีรายงานการศึกษาวิจยัหลายฉบับในปจจุบันท่ีกลาวถึงผลกระทบตอสุขภาพเนื่องจากการทํางานกับคอมพิวเตอร ท้ังนี้ ประเภทของคอมพิวเตอรท่ีตางกันกส็งผลกระทบตอสุขภาพท่ีแตกตางกันไปดวย ดังนั้น การทําความเขาใจ และการประยุกตใชหลักการยศาสตรในสํานักงาน อันไดแก การจัดสถานีงานท่ีเกีย่วของกับคอมพิวเตอร การประเมินสถานีงานและทาทางการทํางานเพ่ือการปรับปรุงแกไขสภาพการทํางานใหเหมาะสมย่ิงข้ึน จึงเปนส่ิงจําเปนท่ีจะชวยปองกันผลกระทบตอสุขภาพท่ีอาจเกิดข้ึนไดจากการทํางานกับคอมพิวเตอรอยางตอเนื่องเปนเวลานาน

2. โรงพยาบาลควรเปนสถานท่ีทํางานท่ีเปนตัวอยางท่ีดีตอสาธารณชนและผูมารับบริการในเร่ืองของการดูแลสุขภาพอนามัยของเจาหนาท่ีและบุคลากรทุกคน โดยเฉพาะอยางยิ่งการปองกันและควบคุมโรคและภัยท่ีเกดิจากการทํางาน อยางไรก็ตามโรงพยาบาลจัดเปนสถานที่ทํางานท่ีมีความเส่ียงตอสุขภาพ หรือผลกระทบตอสุขภาพของผูปฏิบัติงานคอนขางมาก โดยพบวาบุคลากรในโรงพยาบาลมีความเส่ียงตอการเกิดโรคหรือความผิดปกติทางระบบกลามเนื้อและกระดูกโครงรางสูงกวาผูปฏิบัติงานในอาชีพอ่ืน เนื้อหาในบทนี้จึงใหความสําคัญในเร่ืองปจจัยเส่ียงและทาทางการทํางานของบุคลากรในโรงพยาบาล รวมไปถึงการดูแลและเคล่ือนยายผูปวยอยางปลอดภัย โดยจะไดอธิบายถึงการประยุกตการยศาสตรในแผนกท่ีมีปญหาการยศาสตรคอนขางมากในโรงพยาบาล ซ่ึงไดแก แผนกซักฟอก และโรงครัว

วัตถุประสงค เม่ือศึกษาหนวยท่ี 15 จบแลว นักศึกษาสามารถ 1. อธิบายหลักการประยุกตการยศาสตรในสํานักงานได โดยเฉพาะอยางยิ่งการจัดสถานีงานคอมพิวเตอรท่ีเหมาะสม

2. อธิบายหลักการประยุกตการยศาสตรในโรงพยาบาลได โดยเฉพาะอยางยิ่งในแผนกซักฟอก และในโรงครัว

Page 2: หน วยที่ 15 การประยุ กตการยศาสตร ํานัในสกงานและในโรงพยาบาล › UserFiles › File

2

ตอนท่ี 15.1 การประยุกตการยศาสตรในสํานักงาน หัวเร่ือง

15.1.1 การจัดสถานีงานคอมพิวเตอร 15.1.2 การจัดส่ิงแวดลอมและความปลอดภัยในสํานกังาน 15.1.3 ผลกระทบตอสุขภาพจากการทํางานคอมพิวเตอรและการปองกนั 15.1.4 การประเมินสถานีงานและทาทางการทํางาน

แนวคิด 1. การทํางานกับคอมพิวเตอรอยางตอเนือ่งเปนเวลานานในแตละวนัยอมสงผลกระทบตอสุขภาพของผูปฏิบัติงานได โดยเฉพาะอยางยิ่งเม่ือการจดัสถานีงานคอมพิวเตอรเปนไปอยางไมถูกหลักการยศาสตร ดังนั้นการมีความเขาใจในเร่ืองการจัดวางอุปกรณคอมพิวเตอร ดวยระดับความสูงท่ีเหมาะสมกบัขนาดรางกายของผูปฏิบัติงาน รวมไปถึงระดับความสูงของเกาอ้ี และการจัดระยะการมองท่ีเหมาะสม จะชวยปองกันและบรรเทาปญหาสุขภาพท่ีอาจเกดิข้ึนไดท่ีระบบกลามเนื้อและกระดูกโครงราง รวมไปถึงปญหาสายตาของผูปฏิบัติงาน

2. การจัดส่ิงแวดลอมและความปลอดภยัในการทํางานท่ีเกี่ยวของกับคอมพิวเตอร มีประเด็นท่ีควรพิจารณาใหความสําคัญเพราะสามารถสงผลกระทบตอสุขภาพไดโดยตรง ไดแก การจัดแสงสวาง เสียงในสํานักงาน และคุณภาพอากาศภายในอาคาร นอกจากนี้ การจัดระยะเวลาในการทํางานกับคอมพิวเตอรและระยะพักท่ีพอเหมาะ รวมไปถึงประเด็นดานการดแูลความปลอดภยัในสํานักงานกจ็ะชวยสนับสนุนใหคุณภาพชีวิตในการทํางานดีข้ึนดวย นอกเหนือจากการปองกันปญหาสุขภาพท่ีอาจเกิดข้ึนได

3. ผลกระทบตอสุขภาพจากการทํางานคอมพิวเตอร มีอยูหลายดานดวยกัน ไมวาจะเปนผลกระทบดานระบบกลามเนื้อและกระดูกโครงราง ดานสายตา และความเครียด ซ่ึงปจจัยเหตุจากการทํางานที่สําคัญ ไดแก การจัดสถานีงานท่ีไมเหมาะสมรวมไปถึงชุดอุปกรณคอมพิวเตอรท่ีใช ระยะเวลาในการทํางานท่ีตอเนื่องยาวนาน และส่ิงแวดลอมท่ีไมเอ้ือตอความสบายในการทํางาน นอกจากนี้ ปจจัยบุคคลก็มีสวนในการทําใหเกิดผลกระทบตอสุขภาพดวยเชนกัน ในบทนี้จึงอธิบายถึงแนวทางการปองกันผลกระทบตอสุขภาพจากการทํางานคอมพิวเตอร

4. การประเมินสถานีงานและทาทางการทํางานคอมพิวเตอร จะชวยใหทราบถึงความเหมาะสมของการจัดสถานีงานสําหรับผูปฏิบัติงานแตละคนได และผลท่ีไดจากการประเมินทาทางการทํางานกับคอมพิวเตอรกจ็ะเปนประโยชนตอการนําขอมูลมาวิเคราะหหาสาเหตุของการเกิดความผิดปกติของระบบกลามเนื้อและกระดูกโครงรางเนือ่งจากการทํางาน นําไปสูการปรับปรุงสถานีงานท่ีเหมาะสมตอไป ท้ังนี้ เพื่อใหเกดิความยั่งยืนในการปรับปรุงสถานีงาน ผูปฏิบัติงานควร

Page 3: หน วยที่ 15 การประยุ กตการยศาสตร ํานัในสกงานและในโรงพยาบาล › UserFiles › File

3

วัตถุประสงค เม่ือศึกษาตอนที่ 15.1 จบแลว นักศึกษาสามารถ

1. อธิบายหลักการจัดสถานีงานคอมพิวเตอรท่ีเหมาะสมได 2. อธิบายแนวทางการจัดส่ิงแวดลอมและความปลอดภัยในสํานกังานได 3. อธิบายผลกระทบตอสุขภาพจากการทํางานคอมพิวเตอรรวมท้ังแนวทางการปองกนั

ผลกระทบดังกลาวได 4. อธิบายวิธีการประเมินสถานีงานและทาทางการทํางานกับคอมพิวเตอรได

Page 4: หน วยที่ 15 การประยุ กตการยศาสตร ํานัในสกงานและในโรงพยาบาล › UserFiles › File

4

เร่ืองท่ี 15.1.1 การจัดสถานีงานคอมพิวเตอร การยศาสตรในสํานักงาน (Office ergonomics) หมายถึง การจัดสภาพการทํางานใน

สํานักงานใหเหมาะสมกับพนักงาน โดยใหความสําคัญกับการจัดวางตําแหนง และการใชอุปกรณเคร่ืองมือในสํานักงานท่ีสัมพันธกับพนกังานโดยตรง นําไปสูการลดความเส่ียงในการเกิดผลกระทบตอสุขภาพท้ังทางกายและใจ วิธีท่ีนาจะทําไดงายท่ีสุดก็คือ การจัดหาเฟอรนเิจอรสําหรับจดัวางชุดคอมพิวเตอรท่ีสามารถปรับระดับได เพื่อปองกันการบาดเจ็บท่ีเกิดจากการกระทําซํ้า ๆ และความเส่ียงอ่ืน ๆ ท่ีอาจเกิดข้ึนได โดยการปรับทาทางการทํางานใหเหมาะสม ซ่ึงนอกจากจะชวยใหเกิดความสะดวกสบายในการทํางานแลว ยงัชวยเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางานอีกดวย

หลายๆคนอาจเขาใจวา การทํางานท่ีไมตองสวมหมวกนิรภัยขณะปฏิบัตงิาน การไมตองยกของหนักหรือออกแรงทํางานมาก รวมไปถึงการไมตองทํางานควบคุมเคร่ืองจักรอันตราย เปนการทํางานท่ีปลอดภัย การไดแตงชุดทํางานท่ีสบาย ๆ นั่งทํางานอยูในสํานกังานต้ังแต 8 โมงเชาถึง 5 โมงเย็น ทุกวนัจันทรถึงวันศุกร และอุปกรณท่ีตองควบคุมขณะทํางานก็มีเพยีงเมาส และแปนพมิพเทานั้น เปนงานท่ีมีความม่ันคงและปลอดภัยจากการบาดเจ็บหรืออันตรายใด ๆ ความเขาใจเชนนี้นาจะเปนความเขาใจท่ีไมถูกตองนัก เนื้อหาในตอนท่ี 15.1 นี้จะไดอธิบายถึงผลกระทบตอสุขภาพท่ีเกิดจากการทํางานท่ีใชเทคโนโลยีสํานักงาน รวมไปถึงการจัดสถานีงานคอมพิวเตอรตามหลักการยศาสตรเพื่อปองกันผลกระทบดังกลาว

ปจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศเขามามีบทบาทตอการทํางานในสํานกังานอยางแพรหลาย โดยเร่ิมมีการนํามาใชตั้งแตป พ.ศ. 2503 ในการสํารองท่ีนั่งเคร่ืองบิน และการบริการอุตสาหกรรม เพื่ออํานวยความสะดวกในการประมวลผล และการบริหารจัดการธุรกจิสําหรับภูมิภาคเอเชีย สําหรับในประเทศไทยไดมีการนําเทคโนโลยีคอมพิวเตอรมาใชกันอยางแพรหลายต้ังแตป พ.ศ. 2527 ท้ังในภาคอุตสาหกรรมและธุรกิจบริการ รวมไปถึงหนวยงานท่ีมีการเก็บ ประมวล รวบรวมขอมูลดานประชากร การเกดิ การตาย การยายถ่ิน และการจดทะเบียนอ่ืนๆ ในสํานักทะเบียนราษฎร กรมการปกครอง นอกจากนี้ การบริหารงานสํานักงานกมี็การนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชคอนขางมาก เพื่อความไดเปรียบในการแขงขัน เทคโนโลยีสํานักงาน (Office Technology) ชวยใหเกิดความรวดเร็ว ความสะดวกสบาย ความคลองตัว สามารถตอบสนองผูใชไดดี มีความแมนยําในการใชขอมูลขาวสาร และนํามาซ่ึงการตัดสินใจท่ีดแีละถูกตอง มีประสิทธิภาพ และความประหยัด

การทํางานของคนในสํานักงานสวนใหญใชเวลารอยละ 70-80 ในการทํางานท่ีตองใชความรูและความสัมพันธกับขอมูล ดังนั้นการนําเทคโนโลยีสารสนเทศจึงถูกนํามาประยุกตใชในการชวยจัดการขอมูลภายในสํานักงาน ใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึน แตขณะเดียวกนัเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีเปล่ียนแปลงอยางรวดเร็วก็มีผลใหระบบงานไดรับผลกระทบเปนระยะ และตองมีการติดต้ังส่ิงใหม ตลอดจนสรางองคความรูเพิม่เติม เพื่อใหเกิดการเรียนรู ตลอดจนตองหาวิธีการบริหารจัดการใหเหมาะสม การท่ีระบบงานไดรับผลกระทบนั้นยอมมีความหมายรวมถึง

Page 5: หน วยที่ 15 การประยุ กตการยศาสตร ํานัในสกงานและในโรงพยาบาล › UserFiles › File

5

ในคริสตศตวรรษท่ี 21 การพัฒนาเทคโนโลยสีารสนเทศ มีแนวโนมท่ีจะพัฒนาคอมพิวเตอรใหมีความสามารถใกลเคียงกบัมนุษย เชน การเขาใจภาษาส่ือสารของมนุษย โครงขายประสาทเทียม ระบบจําลอง ระบบเสมือนจริง โดยพยายามนําไปใชใหเกิดประโยชนมากข้ึน ลดขอผิดพลาด และปองกันไมใหมีการนําไปใชในทางท่ีไมถูกตองเหมาะสม การใชคอมพิวเตอรในสํานักงาน คอมพิวเตอรท่ีใชกนัอยูท่ัวไปในสํานักงาน หมายถึงไมโครคอมพิวเตอร (Microcomputer) เปนเคร่ืองคอมพิวเตอรขนาดเล็ก มักเรียกกันอีกอยางหนึ่งวา เคร่ืองคอมพิวเตอรสวนบุคคล (Personal Computer หรือ PC) มีการพัฒนาข้ึนในป พ.ศ. 2518 และไดรับความนิยมเปนอันมาก แบงประเภทออกไดเปน

- คอมพิวเตอรแบบต้ังโตะ (Desktop Computer) - โนตบุคคอมพิวเตอร (Notebook Computer) - คอมพิวเตอรแทปเลท (Tablet Computer) มีลักษณะคลายโนตบุค คือ มี ขนาดเล็ก มี

น้ําหนกัเบา มีความบาง และสามารถเคล่ือนยายและพกพาไดสะดวก แตจะมีความแตกตางกันท่ี แทปเลทสามารถปอนขอมูลทางจอภาพไดตามเทคโนโลยีของผูผลิต เชน การใชปากกาชนดิพิเศษท่ีสามารถเขียนลงบนจอภาพ และใชโปรแกรมในการชวยแปลงตัวเขียนเหลานั้นใหเปนตัวอักษรท่ีเหมือนกับการพิมพจากคียบอรด

- คอมพิวเตอรพกพา (Handheld Computer) มีขนาดเล็กกวาโนตบุคและแทปเลท คือ มีขนาดเทาฝามือ ถือเพียงมือเดยีวได และใชอีกมอืถือปากกาท่ีเรียกวา สไตลลัส (Stylus) เขียนขอความบนจอเพื่อปอนขอมูลเขาสูเคร่ืองไดดวยเทคโนโลยีการรับรูลายมือ (Hand writing recognition) พกพาสะดวกมากกวา สามารถจัดเก็บขอมูลไดมาก คียบอรดและหนาจอมีขนาดเล็ก คอมพิวเตอรชนดินี้ถูกออกแบบมาเพ่ือทําหนาที่เปนอุปกรณจัดเก็บและจดัการสารสนเทศสวนบุคคล (Personal Information Manager: PIM หรือ Personal Organizer) เชน ตารางเวลา ปฏิทินนัดหมาย สมุดโทรศัพท และสมุดบันทึก เปนตน คอมพิวเตอรชนิดนี้นิยมเรียกวา PDA (Personal Digital Assistant) PDA ท่ีนยิมในปจจุบันมี 2 แบบ คือ พีดีเอในกลุมของปาลม (Palm) ซ่ึงใช Palm OS จากบริษัทตาง ๆ และ PDA ในกลุมของพอกเก็ตพีซี (Pocket PC)

Page 6: หน วยที่ 15 การประยุ กตการยศาสตร ํานัในสกงานและในโรงพยาบาล › UserFiles › File

6

ความหมายของ VDTs คอมพิวเตอร(Computer) หมายถึง อุปกรณอิเล็คทรอนิกสท่ีใชในการจัดการขอมูลท่ีมีหนวยประมวลผลกลาง (CPU:Central Processing Unit) ทําหนาท่ีในการประมวลผลขอมูล (คํานวณและตรรกะ) จากหนวยรับขอมูล (Input unit) แลวนําขอมูลไปเก็บไวในหนวยความจํา (Memory Unit) และนําขอมูลออกมาแสดงผลทางหนวยแสดงผลขอมูล (Output Unit) VDTs ยอมาจาก Visual (Video) Display Terminals หมายถึง อุปกรณปลายทางของคอมพิวเตอร มีสวนประกอบท่ีสําคัญคือ หนวยรับขอมูล และหนวยแสดงผลขอมูล โดยตอเขากับสวนท่ีเปนสมองกลหรือหนวยประมวลผลกลางของคอมพิวเตอร เปนอุปกรณท่ีใชสําหรับการจัดการประมวลผล และแสดงขอมูลตาง ๆ นอกจากนี้ยังรวมถึงแผงวงจรไฟฟา และตัวปอนกระแสไฟฟาดวย หนวยรับขอมูล (Input unit) หมายถึง กระบวนการปอนขอมูล คําส่ัง โปรแกรมเขาสูเคร่ืองคอมพิวเตอร ตลอดจนการโตตอบของผูใชโปรแกรมกับเคร่ืองคอมพิวเตอร รวมถึงอุปกรณซ่ึงสามารถปอนขอมูลและคําส่ัง หรือโปรแกรมเขาสูเคร่ืองคอมพิวเตอรได โดยผานทางอุปกรณรับขอมูล ซ่ึงไดแก แปนพมิพ (Keyboard) เมาส (Mouse) ลูกกลมควบคุม (Trackball) จอภาพสัมผัส (Touch Screen) ปากกาแสง (Light Pen) ซ่ึงเปนอุปกรณช้ีตําแหนงและวาดรูป (Pointing and drawing devices) และอุปกรณกวาดขอมูล (Scanning devices) ซ่ึงไดแก สแกนเนอร (Scanner) และเคร่ืองอานรหัสบารโคด (Bar code reader) เปนตน สําหรับหนวยแสดงผลขอมูล (Output unit) ทําหนาท่ีแสดงผลลัพธท่ีไดจากการประมวลผลขอมูล (data) ไดแก

- จอภาพคอมพวิเตอร (Display หรือ Monitor) มีลักษณะคลายจอโทรทัศน ใชเทคโนโลยีหลอดภาพ CRT (Cathode-ray tube) ท่ีนิยมใชในปจจุบันมีขนาด 14, 15, 17 นิ้ว หรือใหญกวานัน้ ถูกออกแบบมาเพ่ือใชกับงานพิมพตั้งโตะ งานกราฟก และงานวิศวกรรม เปนตน ลักษณะท่ีสําคัญของจอภาพคอมพิวเตอรมี 2 ประการ คือ ความละเอียด (Resolution) และจํานวนสีในการแสดงผล ลักษณะความละเอียดของภาพจะข้ึนอยูกับจํานวนจุด (Dot) หรือ Picture elements บนจอภาพที่เรียกวา พกิเซล (Pixels)

- จอภาพชนิดแบน (Flat panel displays) นิยมใชกับคอมพวิเตอรโนตบุคหรือ Laptop และปจจุบันนยิมใชกับเคร่ืองคอมพิวเตอรตั้งโตะดวย จอภาพชนิดแบนมีหลายประเภท แตท่ีนิยมใชกันท่ัวไปคือจอ LCD (Liquid crystal display)

Page 7: หน วยที่ 15 การประยุ กตการยศาสตร ํานัในสกงานและในโรงพยาบาล › UserFiles › File

7

- เคร่ืองพิมพ (Printers) เคร่ืองพิมพบางชนิดจะมีเสียงดังขณะทํางาน ซ่ึงเสียงดังก็จดัเปน Output ท่ีไมพงึประสงคดวย

ตัวอยางกลุมอาชีพท่ีทํางานเกี่ยวของกับ VDTs ไดแก งานปอนขอมูล งานตอโทรศัพท งานในหองควบคุม งานหนังสือพิมพ งานเขียนโปรแกรม งานออกแบบโดยใชคอมพิวเตอร (Computer aided design, CAD) และงานอ่ืนใดท่ีตองใชคอมพิวเตอรเปนอุปกรณในการทํางาน

การจัดสถานีงานคอมพิวเตอร (VDT workstation) ปจจุบันพนักงานสวนใหญท่ีทํางานในสํานกังาน มักตองใชเวลาเกือบตลอดท้ังวันนั่ง

ทํางานอยูหนาจอภาพคอมพิวเตอร การกดแปนพิมพหรือการใชเมาส และการนั่งทํางานอยูหนาจอภาพอยางตอเนื่องเปนเวลานานโดยไมไดมีการเคล่ือนไหวสวนตางๆของรางกาย ยอมสงผลตอความผิดปกติของระบบกลามเนื้อและกระดูกโครงรางได ไมวาจะเปนที่ขอมือ หวัไหล หลังหรือบ้ันเอว นอกจากนี้อาจพบปญหาสายตา และความเครียดอีกดวย ดังนัน้การปองกันไมใหเกิดผลกระทบดังกลาวยอมลดความสูญเสียขององคกรท่ีจะเกิดข้ึนได โดยการจดัหรือออกแบบสถานีงานคอมพิวเตอรใหเหมาะสมกบัขนาดรางกายของแตละบุคคล ดังนี้ 1. โตะหรือพื้นท่ีหนางาน (Desk or Work surface)

โตะควรมีขนาดใหญพอท่ีจะจัดวางเอกสารตางๆรวมถึงอุปกรณเคร่ืองมือท่ีใช โดยจัดวางอยางเหมาะสมและสะดวกตอการใชงาน ความสูงของโตะควรมากพอท่ีจะใหมีพื้นทีสํ่าหรับขาและหัวเขา (Leg room) เคล่ือนไหวไดสะดวก ถาเปนโตะท่ีปรับระดับไมไดควรสูงจากพืน้ 65 – 70 ซม. ถาเปนโตะท่ีปรับระดับไดควรสูงจากพื้น 60 – 75 ซม. นอกจากนีพ้ื้นผิวหนาโตะไมควรมีลักษณะใหการสะทอนแสงไดดี เพราะอาจทําใหเกิดแสงจาแบบสะทอนเขาตาได 2. เกาอ้ีท่ีมีพนักพิง (Supportive chair)

เกาอ้ีควรปรับระดับความสูงไดโดยปรับใหอยูในระดับท่ีทําใหเทาวางราบไดกับพื้น หรือมีความสูงอยูในระดับเดยีวกับหัวเขา อาจใชท่ีพักเทาชวยลดแรงอัดท่ีบริเวณหลังสวนลางได พนกังานบางคนอาจชอบน่ังในลักษณะเอนพิงหลังเพื่อลดแรงอัดบริเวณหลังสวนลางแมวาจะเปนการเพิ่มความเคนท่ีไหลและคอขณะท่ีตองเอ้ือมหยบิส่ิงของก็ตาม เกาอ้ีควรมีพนักพิงหลังสวนลางอยางเหมาะสม อาจมีท่ีทาวแขนหรือไมมีก็ได แตควรนั่งแลวใหแขนอยูขางลําตัวมากท่ีสุด เบาะท่ีรองนั่งควรทําดวยวัสดุท่ีระบายอากาศไดดี เกาอ้ีควรมีฐานม่ันคงแข็งแรง และควรมี 5 ขา สามารถเคล่ือนท่ีไดสะดวกโดยไมลม

Page 8: หน วยที่ 15 การประยุ กตการยศาสตร ํานัในสกงานและในโรงพยาบาล › UserFiles › File

8

3. จอภาพ (Display or Monitor) จอภาพควรอยูในตําแหนงตรงดานหนาของผูใชคอมพิวเตอร มีระยะหางจากตาประมาณ

50 – 70 ซม. ดานบนสุดของจอภาพควรอยูระดับเดยีวกันหรือตํ่ากวาระดับสายตาเปนมุม 10 – 20 องศา สามารถปรับความสูงของจอภาพไดโดยใชแทนวาง และสามารถปรับมุมเงยของจอภาพไดเพื่อใหแนวสายตาต้ังฉากกับจอภาพ จอภาพควรมีสัมประสิทธ์ิการสะทอนแสงอยูระหวาง 20 – 50% ผูใชสามารถปรับความสวาง (Brightness) ของจอภาพไดดวยตนเอง โดยปรับใหรูสึกสบายตามากท่ีสุด พื้นหลัง (Background) ของจอภาพควรมีความสวางไมต่ํากวา 10 แคนเดลา/ตารางเมตร (cd/m2) มีความแตกตาง (Contrast) ระหวางตัวอักขระกับพื้นหลังท่ีสามารถปรับไดและควรมีคาอยูระหวาง 3:1 – 15:1 (ชวงท่ีดคืีอ 6:1 – 10:1) โดยมี Positive polarity กลาวคือพื้นสวาง ตัวหนงัสือมืด เพื่อจะไดไมมีความแตกตางจากการอานเอกสาร และเปนสภาวะท่ีสบายตามากกวาจอภาพแบบ Negative polarity คือตัวหนงัสือสวาง พื้นมืด ซ่ึงลักษณะจอแบบนี้เหมาะสมกับการใชงานในหองคอนขางมืดเทานั้น นอกจากน้ี จอภาพควรมีคา Refresh rate (จํานวน Frames ตอวินาที) สูงพอท่ีจะทําใหผูทํางานไมรูสึกถึงการกระพริบ (Flicker) ของจอภาพ

นอกจากนี้ นกัวิชาการหลายๆทานไดใหความเหน็ตรงกนัวา แนวระดับการมองท่ีสบายตามากท่ีสุดคือ การมองลงในแนวท่ีต่ํากวาแนวระนาบ (Horizontal plane) 10 – 15 องศา ซ่ึงเรียกวาเปน Normal line of sight แสดงดังภาพท่ี 15.1 ดังนั้นจอภาพจึงควรจดัวางไวในชวงท่ีทําใหมุมในการมอง (Viewing angle) อยูระหวาง 5 องศาเหนือแนวระนาบ และ 30 องศาตํ่ากวาแนวระนาบ ซ่ึงสงผลใหชวงของการกลอกตาท่ีมีการเอนศีรษะไปดานหลังเพียงเล็กนอยเทานั้น

ภาพท่ี 15.1 มุมมองลงจากแนวระนาบ 10 – 15 องศา (Normal line of sight) ซ่ึงอยูในชวงของการกลอกตาท่ีสบาย

Page 9: หน วยที่ 15 การประยุ กตการยศาสตร ํานัในสกงานและในโรงพยาบาล › UserFiles › File

9

อยางไรก็ตาม เปนท่ีสังเกตไดวาเม่ือระยะเวลาการทํางานผานไป ผูทํางานกับคอมพวิเตอรก็มักเอนลําตัวไปดานหนา เปล่ียนทาทางบอยข้ึน คุณภาพงานแยลง ซ่ึงแสดงใหเห็นถึงความรูสึกไมสบาย (Discomfort) ในการทํางาน ระดับความสูงของจอภาพมีผลกระทบตอความบอยในการเปล่ียนทาทาง (ตัวช้ีวัดของความลาจากทาทางการทํางาน) และระดับความไมสบายในการทํางานนั่นเอง

4. แปนพิมพ (Keyboard) แปนพิมพควรเปนชนิดแยกออกจากจอภาพ มีมุมเอียงระหวาง 5 – 15 องศา ความสูงของ

แปนพิมพอยูในชวง 3 ซม. มีท่ีพักขอมือหรือฝามือ ระดับความสูงของแปนพิมพอยูสูงจากพ้ืน 75 ซม.โดยประมาณ และควรปรับระดับความสูงได เม่ือวางนิ้วมือลงบนแถวกลาง (Home row) ของแปนพิมพแลว ควรใหขอศอกเปนมุมฉากหรือมากกวาเล็กนอย โดยขอศอกแนบอยูใกลลําตัว

ปจจุบันมีการออกแบบแปนพิมพในหลากหลายรูปแบบ เชน รูปแบบโคงมน หรือการออกแบบแปนพิมพใหสามารถแยกออกไดเปน 2 สวน และสามารถปรับมุมและระยะหางไดตามความเหมาะสมของแตละบุคคล เพื่อชวยลดแรงเคนท่ีอาจเกิดข้ึนไดท่ีขอมือและนิ้วมือ แสดงดังภาพท่ี 15.2

ภาพท่ี 15.2 แปนพิมพท่ีออกแบบมาเพื่อใหสามารถปรับมุมและระยะหางไดตามความเหมาะสม เพื่อชวยลดแรงเคนท่ีอาจเกดิข้ึนไดท่ีขอมือและนิว้มือ

Page 10: หน วยที่ 15 การประยุ กตการยศาสตร ํานัในสกงานและในโรงพยาบาล › UserFiles › File

10

ท้ังนี้ ลักษณะการทํางานท่ีสงผลใหมีการกระดกขอมือข้ึนหรือลงขณะทํางาน หรือขอมือไมอยูในแนวตรง (Neutral position) ก็อาจสงผลใหเกิดการบาดเจ็บสะสมเร้ือรังท่ีขอมือและนิ้วมือได แสดงดังภาพท่ี 15.3

ภาพท่ี 15.3 ลักษณะการใชมือในทาทางท่ีไมเหมาะสม อาจสงผลใหเกิดการบาดเจบ็สะสมเร้ือรังท่ีขอมือและนิ้วมือได 5. เมาส (Mouse)

ควรจัดวางเมาสลงบนถาดวางแปนพิมพโดยใหอยูใกลแปนพิมพมากท่ีสุดเพื่อลดระยะเอ้ือมถึง นอกจากนี้การใชอุปกรณช้ี (Pointing device) ท่ีไมตองการการออกแรง หรือไมตองมีการเกร็งและเคล่ือนไหวมือมากนัก เชน การใช Trackball หรือ Touch pad ก็อาจทําใหผูใชรูสึกสบายมากกวาการใชเมาสในบางคน 6. ท่ีพักฝามือ (Palm rest)

ท่ีพักฝามือ (Palm rest) หรือท่ีพักขอมือ (Wrist rest) ควรปราศจากขอบท่ีแข็งหรือคม มีหนากวางเพยีงพอสําหรับพยุงขอมือและฝามือไมนอยกวา 5 ซม. โดยควรปรับความสูงใหไดเทากับขอบความสูงดานหนาของแปนพิมพ แสดงดังภาพท่ี 15.4 ท่ีพักฝามือบนถาดวางแปนพิมพจะชวยใหขอมืออยูในแนวตรง (Neutral position) และลดแรงกดทับท่ีขอมือได แมวาท่ีพักฝามือจะออกแบบมาเพือ่วางพักฝามือในระยะส้ันกต็าม แตก็มีหลายคนท่ีพบวาการวางฝามือลงบนท่ีพักฝา

Page 11: หน วยที่ 15 การประยุ กตการยศาสตร ํานัในสกงานและในโรงพยาบาล › UserFiles › File

11

ภาพท่ี 15.4 ท่ีพักฝามือ (Palm rest) ท่ีมีระดับความสูงเทากับดานหนาของแปนพิมพ 7. ท่ีวางเอกสาร (Document holder)

ควรออกแบบที่วางเอกสารใหเกิดความสะดวกสบายและมีสภาพการทํางานท่ีเหมาะสม โดยจัดวางใหอยูในแนวเดยีวกับจอภาพ และสามารถปรับความสูงไดอยางสะดวก ปรับมุมเอียงไดในชวง 15 – 75 องศา นอกจากนี้ ควรจดัใหระยะหางระหวางตากับเอกสาร แปนพิมพ และจอภาพอยูในระยะท่ีใกลเคียงกันมากท่ีสุด เพื่อลดภาระของตาในการปรับโฟกัสภาพ 8. ท่ีพักเทา (Foot rest) ท่ีพักเทาควรมีขนาดกวางเพยีงพอท่ีจะรองรับฝาเทาท้ัง 2 ขาง โดยมีพื้นผิวท่ีกวางประมาณ 30 – 40 ซม. และมีความยาวเพียงพอท่ีจะใหเทาเหยียบไดอยางสบาย และควรออกแบบใหมีมุมเอียงเล็กนอย ไมควรเกิน 15 องศา ท่ีพักเทาท่ีมีลักษณะเปนทอกลมหรือเปนแผนเล็กบางนัน้ไมใชการออกแบบท่ีพักเทาท่ีเหมาะสม ภาพท่ี 15.5 แสดงตัวอยางท่ีพักเทาท่ีสามารถปรับมุมเอียงได หรืออาจใชวัสดุทดแทนท่ีไมใชแลวก็ได เชน สมุดโทรศัพท หรือทอนไม

ภาพท่ี 15.5 ตวัอยางท่ีพกัเทา (Foot rest)

Page 12: หน วยที่ 15 การประยุ กตการยศาสตร ํานัในสกงานและในโรงพยาบาล › UserFiles › File

12

นอกจากนี้ การใชอุปกรณเสริมอ่ืนๆ ท่ีมีลักษณะเปนท่ีคาดศีรษะ หรือสายรัดศีรษะ (Telephone headset หรือ Speaker phone) แทนการถือหรือหนีบโทรศัพทไว (ภาพท่ี 15.6) ก็จะชวยลดทาทางการทํางานท่ีไมเปนธรรมชาติลงไดในขณะท่ีตองพูดโทรศัพทในเวลาเดียวกับการทํางานอ่ืนๆไปดวย เชน การพิมพหรือเขียน ท้ังนี้ การทํางานในทาทางท่ีเหมาะสมยอมสามารถปองกันการเกิดความผิดปกติของระบบกลามเนื้อและกระดูกโครงรางลงได

ภาพท่ี 15.6 การถือหรือหนีบโทรศัพทขณะปฏิบัติงานอ่ืนรวมดวย อาจสงผลตอการเกิดความผิดปกติของระบบกลามเนื้อและกระดูกโครงรางได

กลาวโดยสรุป การจัดสถานีงานคอมพิวเตอร (VDT workstation) ตามหลักการยศาสตร จะสงผลใหทาทางการนั่งทํางานมีความเหมาะสม และลดโอกาสเกิดผลกระทบตอสุขภาพลงใหเหลือนอยท่ีสุด แสดงไดดังภาพที ่15.7 กลาวคือ นั่งหลังตรงพิงพนักพิง ผอนคลายไหล วางเทาราบลงกับพื้น หลีกเล่ียงการโนมตัวเขาหางานโดยการวางเอกสารใหอยูใกลลําตัว มีการปรับเปลี่ยนอิริยาบถเปนระยะ หากจําเปนใหใชการหมุนทั้งตัวแทนการบิดเอว จากภาพจะเห็นไดวา มุมระหวางขอศอกและไหลเปนมุมฉากหรือมากกวาไดเพยีงเล็กนอย ตามองลง 10 – 20 องศาจากแนวระนาบ และระยะการมองอยูในชวง 50 - 70 ซม. ขอมือและมืออยูในทาทางท่ีเปนธรรมชาติ ควรมีท่ีพักฝามือท่ีไมมีขอบแข็งและกดทับลงบนฝามือ พื้นที่ใตโตะมีเพยีงพอใหสามารถเคล่ือนไหวเทาไดโดยสะดวก

Page 13: หน วยที่ 15 การประยุ กตการยศาสตร ํานัในสกงานและในโรงพยาบาล › UserFiles › File

13

น่ังใหลึก

ภาพท่ี 15.7 การจัดสถานีงานและทาทางการนั่งท่ีเหมาะสมสําหรับการทํางานกับ VDT

สําหรับพนักพงิของเกาอ้ีท่ีดี ควรใหท่ีพิงหลังอยูในระดับบริเวณเอว และควรมีความโคงนูนพอเหมาะ ไมควรแบนราบ (Too flat) หรือโคงนูน (Too deep) มากเกนิไปซ่ึงจะทําใหรูสึกนั่งไมสบาย แสดงดงัภาพท่ี 15.8

ภาพท่ี 15.8 พนักพิงหลังสวนบ้ันเอว (Low back support) ในลักษณะตางๆกัน

นอกจากนี้ การศึกษาของ Chaffin (1984) ยังไดแสดงใหเห็นถึงมุมเอนหลังของพนักพิงท่ีมากข้ึน รวมกบัการมีสวนโคงนูนท่ียื่นออกมาจากพนักพิง (Lumbar pad) ขนาด 5 ซม. สามารถสงผลใหแรงกดอัดท่ีหมอนรองกระดูกสันหลังบริเวณเอว (L3/4) ขณะนั่ง ลดลงตามลําดับไปดวย เม่ือเปรียบเทียบกับพนักพิงท่ีไมมีสวนที่ยืน่นูนออกมา แสดงดังภาพท่ี 15.9 (Chaffin 1984)

Page 14: หน วยที่ 15 การประยุ กตการยศาสตร ํานัในสกงานและในโรงพยาบาล › UserFiles › File

14

ภาพท่ี 15.9 แรงกดอัดท่ีหมอนรองกระดกูสันหลังบริเวณเอว (L3/4) ข้ึนอยูกับมุมเอนหลังของพนักพิง และการมีสวนโคงนูนท่ียื่นออกมาจากพนักพิง โนตบุกคอมพวิเตอร (Notebook computer)

โนตบุกคอมพวิเตอร เปนไมโครคอมพิวเตอรท่ีมีขนาดเล็ก สามารถหิ้วพกพาไปในท่ีตางๆ ไดเหมือนกระเปา มีน้ําหนกัประมาณ 1.5 – 3 กิโลกรัม เคร่ืองคอมพิวเตอรประเภทนีม้ีประสิทธิภาพการทํางานเหมือนเคร่ืองคอมพิวเตอรแบบต้ังโตะท่ัวไป (Desktop computer) ลักษณะจอภาพแสดงผลเปนแบบจอแบนราบ (Flat panel display) สามารถนํามาวางไวบนตักขณะใชงานได จึงเรียกเปนแล็ปทอปคอมพิวเตอร (Laptop computer) อยางไรก็ตาม การออกแบบใหมีขนาดเล็กก็อาจสรางปญหาการยศาสตรไดในกรณีท่ีตองการใชงานอยางตอเนื่องเปนเวลานาน เนื่องจากแปนพิมพและจอภาพทีอ่ยูติดกนัจะสงผลใหการจัดทาทางในการทํางานใหเหมาะสมน้ันเปนไปไดยากอยางหลีกเล่ียงไมได การใชคอมพิวเตอรประเภทนี้ในเวลาส้ันๆ และไมบอย ก็ไมเกิดปญหาแตอยางใด แตถานํามาใชประจําท่ีและใชอยางตอเนื่องเปนเวลานาน โนตบุกคอมพิวเตอรนีก้็ไมใชอุปกรณท่ีเหมาะสม ในกรณีท่ีจําเปนตองใชก็ควรจดัเตรียมแปนพมิพท่ีแยกไวตางหาก รวมท้ังเมาสดวยเพื่อชวยใหทาทางของมืออยูในทา Neutral position นอกจากนี้ ในขณะท่ีตองใชโนตบุกคอมพิวเตอรเปนเวลานานควรระมัดระวงัไมใหมีการงอหรือบิดขอมือรวมไปถึงการกดทับของฝามือบริเวณขอบโตะหรืออุปกรณดวย

Page 15: หน วยที่ 15 การประยุ กตการยศาสตร ํานัในสกงานและในโรงพยาบาล › UserFiles › File

15

จะเห็นไดวา ตามหลักการยศาสตร นักวิชาการแนะนําใหใชจอภาพคอมพิวเตอรแบบต้ังโตะในลักษณะเปนงานหลัก (เปน Primary computer) และใหใชโนตบุกคอมพิวเตอรในลักษณะเปนงานรอง (เปน Secondary computer) หรือใชงานช่ัวคราว ยกเวนในกรณีท่ีจําเปนตองใชโนตบุกคอมพิวเตอรบอยๆ มีขอแนะนําดังนี ้

- ใหหยุดพักส้ันๆทุก 20 – 30 นาที โดยขณะพักอาจยืดเสนยืดสายเปนเวลา 3 – 5 นาที หรือเปล่ียนไปทํางานอ่ืนบางเพื่อใหรางกายไดมีโอกาสฟนตัวจากการทํางานในทาใดทาหนึ่งเปนเวลานาน

- จัดทาทางใหศีรษะและคออยูในแนวตรง (Neutral position) และอยูหางจากจอภาพประมาณ 50 – 70 ซม.

- จัดวางความสูงของแปนพิมพใหอยูในระดับขอศอก และพยายามใหขอมืออยูในแนวตรง นิ้วมือโคงเล็กนอยขณะทํางาน อาจมีท่ีทาวแขนชวยรองรับมือขณะพิมพงานก็ได

- ใหใชเมาสตอเขากับเคร่ืองแทนการใช Track ball หรือ Touch pad ท่ีมีอยูในโนตบุกคอมพิวเตอร

- เม่ือตองมีการเคล่ือนยายโนตบุกคอมพิวเตอร ใหปฏิบัติดงันี้ - ใหเคล่ือนยายไปเฉพาะอุปกรณท่ีจําเปนเทานั้น - ใหใชกระเปาหิ้วท่ีมีสายสะพาย โดยใหสะพายไหลแบบไขวเพื่อกระจายน้ําหนัก

และใหสะพายสลับขางบอยๆ - ถาเปนไปไดอาจใชกระเปาลากในกรณีท่ีตองเคล่ือนยายไปในระยะทางไกล

การใชคอมพิวเตอรในกลุมเด็กและเยาวชน

ผูปกครองสามารถประยุกตขอแนะนําตอไปนี้มาปรับใชไดหากพบวาเด็กๆจะตองใชคอมพิวเตอรอยูเสมอในการเรียน การปรับสถานีงานคอมพิวเตอรสําหรับเด็ก สามารถทําไดดังนี ้

- ปรับเกาอ้ีใหอยูในระดับสูงเพียงพอเพื่อใหเด็กสามารถมองจอภาพไดโดยไมตองแหงนคอ โดยอาจใชท่ีรองนั่งท่ีหนาและม่ันคง นอกจากน้ีไหลก็จะไดอยูในทาท่ีสบายขณะใชแปนพมิพดวย

- ใชท่ีพักเทาในกรณีท่ีเทาไมสามารถแตะไดถึงพื้นอยางสบาย - ใชหมอนอิงท่ีแข็งพอสมควรเพ่ือใหเด็กสามารถพิงหลังได - ปรับและจัดแปนพิมพ เมาส และอุปกรณนําเขาขอมูลอ่ืนๆ เพื่อใหขอมือเด็กอยูในแนว

ตรง - หลีกเล่ียงแสงจาท่ีสะทอนบนจอภาพ

Page 16: หน วยที่ 15 การประยุ กตการยศาสตร ํานัในสกงานและในโรงพยาบาล › UserFiles › File

16

ท้ังนี้ ผูปกครองควรใสใจกับระยะเวลาในการทํางานกับคอมพิวเตอรของเด็กและเยาวชนดวย โดยไมควรใหเด็กนั่งทํางานอยูหนาจอภาพตอเนื่องเปนเวลานาน ระยะการทํางานอยูหนาจอคอมพิวเตอรไมควรเกิน 1 ช่ัวโมงในแตละคร้ัง (ในบางรายงานแนะนําเพียง 30 นาทีเทานั้น) และไมควรจัดใหคอมพิวเตอรอยูในหองนอน เพราะจะไมสามารถดูแลเด็กไดอยางใกลชิด นอกจากนี้ การใชเคร่ืองพิมพในหองนอนก็จะทําใหเกดิผลกระทบตอสุขภาพเนื่องจากผงหมึกท่ีอาจปนเปอนอยูในหองนอนอีกดวย

กิจกรรม 15.1.1 จงบอกถึงหลักการจัดสถานงีานคอมพิวเตอรเพื่อปองกันผลกระทบตอสุขภาพจากการทํางานมาพอสังเขป แนวตอบ หลักการจัดสถานีงานคอมพิวเตอร มีดังนี้

- ระดับความสูงของเกาอ้ีพอดกีับระดับเขาเพื่อใหเทาวางราบกับพื้นได - ระดับความสูงของแปนพิมพคือ เม่ือวางมือลงบนแถวกลางของแปนพิมพแลวสงผลให

มุมระหวางขอศอกและไหลเปนมุมฉากหรือมากกวาเล็กนอย ขอมือและมืออยูในทาทางท่ีเปนธรรมชาติ

- ความสูงของจอภาพอยูในระดับท่ีสงผลใหตามองลง 10 – 20 องศาจากแนวระนาบ - ระยะหางของจอภาพจากตา ควรอยูในชวง 50 - 70 ซม. และควรเปนระยะการมองท่ี

ใกลเคียงกันกบัระยะการมองแปนพิมพ และเอกสารดวย เพื่อใหตาไมตองปรับระยะโฟกัสภาพอยูเสมอ

- ควรมีท่ีพักฝามือท่ีไมมีขอบแข็งและกดทับลงบนฝามือ - พื้นที่ใตโตะมีเพียงพอใหสามารถเคล่ือนไหวเทาไดโดยสะดวก

Page 17: หน วยที่ 15 การประยุ กตการยศาสตร ํานัในสกงานและในโรงพยาบาล › UserFiles › File

17

เร่ืองท่ี 15.1.2 การจัดส่ิงแวดลอมและความปลอดภัยในสํานักงาน

การจัดส่ิงแวดลอมและความปลอดภัยในสํานักงาน นอกจากจะสงผลดีตอสุขภาพและความปลอดภยัของผูทํางานแลว ยังทําใหเกิดความพึงพอใจในการทํางาน และความสบาย (Comfort) อันนําไปสูการเพิม่ผลผลิต (Productivity) อีกดวย เม่ือกลาวถึงความสบายในการทํางานในสํานักงานกมั็กเกีย่วของกบัปจจัยตางๆตอไปนี้คือ สภาพอากาศภายในอาคาร แสงสวาง เสียงดังรบกวน รวมไปถึงความเหมาะสมของอุปกรณตางๆท่ีใชในสํานักงาน และการจดัองคกรการทํางาน

1) สภาพอากาศภายในอาคาร

ปจจัยท่ีเปนตัวกําหนดความรูสึกสบายในสํานักงาน ประกอบดวย อุณหภูมิ (Temperature) ความแตกตางของแตละบุคคลในเร่ืองอุณหภูมิท่ีพอเหมาะเปนประเด็นท่ีควรใหความสําคัญ เพราะท่ีระดับอุณหภมิูหนึ่งยอมไมเหมาะสําหรับทุกคน ดังนัน้จึงควรมีการควบคุมอุณหภมิูของอากาศภายในสํานักงานใหอยูในเกณฑท่ีเหมาะสมโดยใหเปนท่ียอมรับของรอยละ 80 ของผูท่ีอยูในสํานักงานเดยีวกัน ท้ังนี้สมาคมวิศวกรรมปรับอากาศแหงประเทศไทยแนะนําระดับท่ีเหมาะสม คือ 24 องศาเซลเซียส หรือปรับใหอยูในชวง 23 – 26 องศาเซลเซียส นอกจากนี้ยังควรพิจารณาจัดวางสถานีงานโดยไมใหผูทํางานตองนั่งอยูใกลกับทางลมเปาออกจากเคร่ืองปรับอากาศดวย ความชื้นสัมพทัธ (Relative humidity) ความช้ืนสัมพทัธท่ีสูงเกินไปทําใหเหงื่อระเหยออกยาก เปนผลใหรูสึกรอนและอึดอัด ในขณะท่ีความช้ืนสัมพทัธท่ีนอยเกินไปทําใหเกิดความระคายเคืองตอผิวหนัง จมูก จนบางคร้ังอาจทําใหเขาใจผิดไดวา เกิดจากการระคายเคืองของสารเคมีในอาคาร ความช้ืนสัมพัทธท่ีเหมาะสมจึงควรอยูในชวงรอยละ 30 – 70 ความเร็วลม (Air velocity) ความเร็วลมท่ีสูงเกินไปทําใหรูสึกหนาวโดยเฉพาะอยางยิ่งหากอุณหภมิูต่ําดวย ในทางตรงกันขาม หากอากาศรอนและความเร็วลมตํ่า ลมก็จะพาความรอนออกจากรางกายไมดีเทาท่ีควร ทําใหเกิดความรูสึกรอน อบอาว อึดอัด องคการอนามัยโลกแนะนําใหความเร็วลมไมควรเกนิ 0.25 เมตร/วินาที การแผรังสคีวามรอน (Radiation)

Page 18: หน วยที่ 15 การประยุ กตการยศาสตร ํานัในสกงานและในโรงพยาบาล › UserFiles › File

18

การแผรังสีความรอนเกิดจากการท่ีวัสดุมีอุณหภูมิพื้นผิวสูงหรือตํ่ากวาอุณหภูมิของอากาศภายในหอง เชน ฝาเพดานท่ีเย็นจดัเนื่องจากเปนทางลมกลับของเคร่ืองปรับอากาศ รางกายมนษุยก็จะแผรังสีความรอนไปยังฝาเพดานทําใหรูสึกเย็น ในทางตรงกันขามกระจกดานท่ีถูกแสงแดดสองก็จะแผรังสีความรอนมายังผูท่ีนั่งทํางานอยู จงึทําใหผูนั้นรูสึกรอนกวาปกติ แมวาอุณหภูมิภายในหองจะอยูในเกณฑปกติก็ตาม 2) แสงสวาง

โดยท่ัวไป ระดับแสงสวางท่ีเขมหรือจาเกนิไป โดยเฉพาะอยางยิ่งบนจอภาพคอมพวิเตอรท่ีมีแสงจาสะทอนเขาตาผูปฏิบัติงาน มักนําไปสูความลาของสายตา หรืออาการปวดศีรษะ และมักสงผลใหผูทํางานกับคอมพิวเตอรมีทาทางการนั่งทํางานท่ีไมเหมาะสม เพราะตองพยายามปรับทานั่งใหสามารถมองเห็นไดดีข้ึน ในหลาย ๆ ประเทศจึงไดมีการกําหนดมาตรฐานในการจดัแสงสวางสําหรับการทํางานกับคอมพวิเตอร ดังนี ้

กระทรวงแรงงาน ประเทศไทยไดออก กฎกระทรวง กําหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการดานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางานเกี่ยวกบัความรอน แสงสวาง และเสียง พ.ศ. 2549 หมวด 2 เร่ืองแสงสวาง ตารางท่ี 3 มาตรฐานความเขมของแสงสวาง ณ ท่ีท่ีใหลูกจางคนใดคนหน่ึงทํางาน โดยในสวนของงานสํานักงาน กาํหนดใหคาความเขมของแสงสวางในหองคอมพิวเตอร สําหรับงานบันทึกขอมูล และบริเวณท่ีแสดงขอมูล (จอภาพและเคร่ืองพิมพ) มีคาไมต่ํากวา 600 ลักซ และแสงสวางในหองธุรการ สําหรับงานพิมพดดี การเขียน การอาน และการจัดเก็บเอกสารอ่ืน ๆ ท่ีเกี่ยวของ มีคาไมต่ํากวา 400 ลักซ ขอแนะนําของกระทรวงแรงงาน ประเทศญ่ีปุน (1985) แนะนําใหความสวางบนจอภาพไมควรเกิน 500 ลักซ ความสวางบนโตะอยูระหวาง 300 – 1,000 ลักซ และใหหลีกเล่ียงความแตกตาง (Contrast) ท่ีมากเกินไประหวางความสวางของจอภาพกบัความสวางของบริเวณโดยรอบจอภาพ ขอแนะนําดานสุขภาพ ความปลอดภัย และส่ิงแวดลอม (HSE Guidance) ของประเทศอังกฤษ (1983) แนะนําใหจดัแสงสวางในการทํางานกับคอมพิวเตอรอยูในชวง 300 – 500 ลักซ มาตรฐานของประเทศออสเตรเลีย The Australian Standard AS 1680, Standard AS 1680.2.2 - 1994 Interior lighting Part 2.2: Office and screen-based tasks แนะนําใหระดับแสงสวางในสํานักงานท่ีมีการใชคอมพิวเตอรเปนดงันี้

- งานท่ีใชสายตาท่ัวๆไป ควรจัดแสงสวางใหอยูในชวง 300 – 400 ลักซ - งานท่ีตองใชสายตามาก รวมถึงงานพิสูจนอักษร งานอานเอกสารท่ีคุณภาพไมคอยดี

ควรจัดแสงสวางใหอยูในชวง 600 ลักซ ผูทํางานสูงอายุ ควรไดรับการปรับปรุงแสงสวางเปนกรณพีิเศษ กลาวคืออาจตองการแสงสวางท่ีเพิม่ข้ึนกวาคนในวัยหนุมสาว

Page 19: หน วยที่ 15 การประยุ กตการยศาสตร ํานัในสกงานและในโรงพยาบาล › UserFiles › File

19

ดังนั้น ทางเลือกในการจัดแสงสวางใหเหมาะสมอาจทําไดโดย

- วางตําแหนงจอภาพใหแสงสวางจากหนาตาง หรือแสงสวางจากหลอดไฟเขาทางดานขาง ไมควรใหแสงเขาทางดานหนาหรือดานหลังผูปฏิบัติงาน เพราะอาจทําใหเกิดแสงจาท้ังทางตรงและทางออม แสดงดังภาพท่ี 15.10 นอกจากนี้ ในกรณท่ีีใชแสงสวางจากธรรมชาติ ก็ควรระวังไมใหแสงแดดสองถึงจอภาพหรือตัวผูทํางานโดยตรง โดยการติดต้ังมูล่ีหรือผามานปองกันแสงแดด

ภาพท่ี 15.10 การจัดวางตําแนงจอภาพท่ีดคืีอใหแสงสวางเขาทางดานขาง (ภาพลาง) เพื่อหลีกเล่ียงการเกิดแสงจาในกรณีแสงเขาทางดานหนาและดานหลัง (ภาพบน) (Grandjean 1987)

- ทําความสะอาดหลอดไฟและโคมไฟอยางสมํ่าเสมอ ความเส่ือมของหลอดไฟตามอายุการใชงานรวมไปถึงฝุนท่ีเกาะมากข้ึนสงผลใหแสงสวางลดลง และหากพบการกระพริบของหลอดไฟก็ควรเปล่ียนหลอดไฟ หรือสตารทเตอรตัวใหมตามสาเหตุของการกระพริบ

- แสงสวางโดยรอบสถานีงานคอมพิวเตอรก็มีความสําคัญเชนกัน การติดต้ังหลอดไฟเฉพาะท่ีเพิ่มเติม ควรคํานึงถึงความแตกตางของความสวางท่ีจุดปฏิบัติงานและความสวางของบริเวณโดยรอบ (Contrast) ท่ีอาจเกิดข้ึนดวย ท้ังนี้ความแตกตางของความสวางนี้ ไมควรแตกตางกันเกนิ 3:1 และไมควรใหเกดิแสงจาจากหลอดไฟสะทอนบนจอภาพดวย

ขอแนะนําเพื่อใหเกดิความสบายตาในการมอง (Visual comfort) และเพื่อใหผลการปฏิบัติงานท่ีใชสายตาเปนไปดวยดี ควรจดัระดับแสงสวาง ณ จุดปฏิบัติงานและจุดโดยรอบท่ีอยูถัดไป (Immediate surrounding) ไมใหเกดิความแตกตางกันมากนัก แสดงดังตารางท่ี 15.1 ตอไปนี ้

Page 20: หน วยที่ 15 การประยุ กตการยศาสตร ํานัในสกงานและในโรงพยาบาล › UserFiles › File

20

ตารางท่ี 15.1 ขอแนะนําระดับแสงสวาง ณ จุดปฏิบัติงานและบริเวณโดยรอบถัดไป

แสงสวาง ณ จุดปฏิบตังิาน (ลักซ) แสงสวางโดยรอบ (ลักซ)

> 750 500

500 300

300 200

< 200 < 200

- เม่ือการจัดการเร่ืองแสงจาท่ีสะทอนบนจอภาพไมเปนผลสําเร็จ อาจพิจารณาใชแผนกรองแสง (Filter) ท่ีเปนวัสดุปองกนัแสงจา (Anti-glare) ติดต้ังได แตควรทดสอบการใชงานเสียกอนเพื่อใหแนใจวาจะสามารถลดปญหาลงไดจริง และควรทําความสะอาดอยางสมํ่าเสมอดวย

นอกจากนี้ หลักการจัดแสงสวางเพื่อใชประโยชนของแสงสะทอนใหตกบนพื้นท่ีหนางานมากท่ีสุด และเพื่อปองกันแสงจาแบบสะทอนในอาคารสํานักงาน อาจพิจารณาการใชประโยชนของพ้ืนผิวท่ีสะทอนแสง (Reflectance) ภายในอาคาร โดยควรออกแบบใหสวนตาง ๆ ในอาคารมีความแตกตางกันของคาสัมประสิทธ์ิการสะทอนแสง โดยสวนท่ีเปนเพดานควรใหการสะทอนแสงไดดีท่ีสุด และสวนพื้นควรใหการสะทอนแสงตํ่าสุดเพื่อปองกันแสงสะทอนจากพ้ืนมาเขาตาผูปฏิบัติงาน แสดงดังตารางท่ี 15.2

ตารางท่ี 15.2 คาสัมประสิทธ์ิการสะทอนแสงท่ีสวนตาง ๆ ของอาคารสํานักงาน

สวนของอาคาร คาสัมประสิทธ์ิการสะทอนแสง

เพดาน 0.6 – 0.9

กําแพง 0.3 – 0.8

พื้นที่หนางาน 0.2 – 0.6

พื้น 0.1 – 0.5

3) เสียงดงัรบกวน

Page 21: หน วยที่ 15 การประยุ กตการยศาสตร ํานัในสกงานและในโรงพยาบาล › UserFiles › File

21

เสียงท่ีดังเกนิไปในสํานักงานอาจสงผลตอความเครียด ความลา และยังรบกวนการส่ือสารในสํานักงานดวย ระดับเสียงท่ีแนะนําในสํานักงานคือ 55 – 65 dB (A) ท้ังนี้ มาตรฐาน ISO 9921-1 ยังไดกําหนดระดับเสียงท่ีมีผลตอคุณภาพการส่ือสารในสํานักงานท่ีมีการใชอุปกรณส่ือสาร เชน โทรศัพท ไวดงัตารางท่ี 15.3 ตอไปนี ้

ตารางท่ี 15.3 ความสัมพันธระหวางระดับเสียงท่ีชวงคาตาง ๆ และคุณภาพการส่ือสารท่ีผานอุปกรณการส่ือสาร (Acoustic media เชน โทรศัพท) ในสํานกังาน จาก ISO 9921-1* ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ระดับเสียง dB (A) คุณภาพการส่ือสาร ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- <40 ดีเยีย่ม (Perfect) 40-45 ดีมาก (Very good) 45-50 ดี (Good) 50-55 พอใช (Satisfactory) 55-65 คอนขางจํากดั (Slightly restricted) 65-80 ยาก (Difficult) >80 ไมด ี(Unsatisfactory) ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- *ISO 9921: Ergonomic assessment of speech communication - Part 1: Speech interference level and communication distances for persons with normal hearing capacity in direct communication

สําหรับผนังหองท่ีทําดวยวัสดุท่ีแข็ง และเรียบ เชน กระจก (Glass walls) หรือ White boards จะชวยใหการสะทอนเสียงดีข้ึน จึงทําใหเกดิเสียงดังรบกวนมากขึ้นดวย การใชฉากกั้นท่ีทําดวยวัสดุดดูซับเสียงจะชวยแกปญหาเสียงดังรบกวนไดสําหรับสํานักงานท่ีเปดโลง และมีการพดูคุย หรือมีเสียงดังจากโทรศัพทอยูเสมอ นอกจากนี้ อุปกรณในสํานักงาน เชน เคร่ืองพิมพ (Printer) ท่ีมีเสียงสูง และดังอยางตอเนื่องยอมรบกวน และสรางความรําคาญใหกับผูทํางานไดมาก ดังนั้นการจดัวางตําแหนงอุปกรณและวางผังงานในสํานกังานอยางเหมาะสมก็จะชวยลดปญหานี้ได หรืออาจพิจารณาหลักการควบคุมเสียงดังท่ีตนกําเนิด เชน ตดิต้ังท่ีครอบเคร่ืองพิมพท่ีมีเสียงดัง และมีท่ีเปด-ปด เพื่อใหสามารถเปดหยิบเอกสารออกได (ภาพที่ 15.11)

Page 22: หน วยที่ 15 การประยุ กตการยศาสตร ํานัในสกงานและในโรงพยาบาล › UserFiles › File

22

ภาพท่ี 15.11 การติดต้ังท่ีครอบเคร่ืองพิมพท่ีมีเสียงดัง เปนการควบคุมเสียงท่ีแหลงกําเนิด

4) การแผรังสีคล่ืนแมเหล็กไฟฟา รังสีคล่ืนแมเหล็กไฟฟา (Electromagnetic Radiation) เปนพลังงานท่ีแผออกมาจากตน

กําเนิดในรูปของคล่ืนแมเหล็กไฟฟา ซ่ึงเปนช่ือเรียกโดยรวมของการเกิดรวมกนัระหวางคล่ืนแมเหล็กและคลื่นไฟฟาท่ีมีการเปล่ียนแปลงอยางสมํ่าเสมอตามหนวยของเวลา เกิดเปนความถ่ีท่ีคงท่ี การแบงชนิดของรังสีคล่ืนแมเหล็กไฟฟาจึงแบงไดตามชวงของความถ่ี ตั้งแตความถ่ีนอย ไปจนถึงความถ่ีสูงท่ีมีพลังงานมากพอจนทําใหโมเลกุลแตกตัวได เรียกปนรังสีท่ีกอใหเกดิการแตกตัว (Ionizing radiation) หากนํารังสีคล่ืนแมเหล็กไฟฟามาเรียงลําดับจากความถ่ีนอยไปหาความถ่ีมาก จะไดเปนสเปคตรัมของรังสีคล่ืนแมเหล็กไฟฟา (Electromagnetic spectrum) ไดแก รังสีท่ีความถ่ีต่ํายิ่งยวด คล่ืนวทิยุ ไมโครเวฟ อินฟราเรด แสงสวาง อุลตราไวโอเลต รังสีเอ็กซ รังสีแกมมา รังสีคอสมิค จากภาพท่ี 15.12 จะเห็นไดวารังสีอุลตราไวโอเลตในชวงความถ่ีสูงเปนรังสีท่ีกอใหเกิดการแตกตัว

Page 23: หน วยที่ 15 การประยุ กตการยศาสตร ํานัในสกงานและในโรงพยาบาล › UserFiles › File

23

The electromagnetic spectrumSt

atic

field ELF HF/RF

Micro-wave Infrared

Ligh

t

X-ray

Wavelength 100.000 km 100 km 1 km 1 m 1 mm 780 nm 10 nm

Frequency 3Hz 50/60Hz 3kHz 300kHz 300MHz 300GHz 3*1016Hz

Earth‘smagnetic field

AC line frequency

Microwave oven

Non-ionizing Ionizing

CO2laser

UV

ภาพท่ี 15.12 สเปคตรัมของรังสีคล่ืนแมเหล็กไฟฟา (Electromagnetic spectrum)

ความกังวลในเร่ืองผลกระทบตอสุขภาพเนื่องจากการแผรังสีคล่ืนแมเหล็กไฟฟาท่ีความถี่ต่ํายิ่งยวด (Extremely low frequency, ELF) ของเคร่ืองคอมพิวเตอร มักเกิดข้ึนไดเชนเดียวกับอุปกรณไฟฟาท่ัวไป เชน เคร่ืองรับโทรทัศน วิทยุ ตูเยน็ เคร่ืองถายเอกสาร โดยท่ัวไปแลวคล่ืนไฟฟามักถูกกีดขวางไดดวยวัสดุกอสราง เชน กําแพง ผนังหอง หรือแมแตเส้ือผา ดังน้ันหากจะมีผลกระทบเกิดข้ึนบาง สาเหตุนาจะมาจากคลื่นแมเหล็กมากกวา เพราะคล่ืนแมเหล็กสามารถทะลุผานวัสดุท่ัวไปได อยางไรกต็าม สนามแมเหล็กไฟฟาจะมีกําลังลดลงตามระยะทางท่ีหางจากแหลงกําเนิด และท่ีระยะ 3 – 5 ฟุตจากแหลงกําเนิด อาจตรวจไมพบสนามแมเหล็กไฟฟาเลยก็ได

สสิธร (2539) ไดทําการประเมินรังสีจากจอภาพคอมพวิเตอรในกรมอนามัยจํานวน 71 เคร่ือง โดยศึกษาเปรียบเทียบระดับรังสีจากจอภาพคอมพิวเตอรขณะติดแผนกรองแสงและไมติดแผนกรองแสง โดยใชเคร่ืองมือ VDT Radiation Survey Meter รุน MI 3600 ซ่ึงสามารถตรวจวัดระดับรังสีคล่ืนแมเหล็กไฟฟาในชวงความถ่ีท่ีจอภาพคอมพิวเตอรแผออกมาไดคือ ชวงความถ่ี 2 KHz – 300 KHz ของคล่ืนไฟฟา และชวงความถ่ี 8 KHz – 300 KHz ของคล่ืนแมเหล็ก (ตามคุณลักษณะของเคร่ือง) แสดงดังภาพ 15.13 ผลการประเมินพบวา ระดับรังสีคล่ืนแมเหล็กไฟฟาท่ีตรวจวดัไดมีคาลดลงตามระยะทางท่ีหางออกจากจอภาพ แสดงดังภาพท่ี 15.14 (รังสีคล่ืนไฟฟา)

Page 24: หน วยที่ 15 การประยุ กตการยศาสตร ํานัในสกงานและในโรงพยาบาล › UserFiles › File

24

นอกจากนี้ แผนกรองแสงยังมีคุณสมบัติอ่ืนท่ีนอกเหนือจากการกรองรังสี นั่นก็คือการลดแสงจา และแสงสะทอนท่ีจอภาพ ในกรณคีอมพิวเตอรโนตบุคนั้น ระดับรังสีท่ีแผออกจากจอภาพจะมีระดับท่ีต่ํากวาระดับรังสีท่ีแผจากจอภาพแบบต้ังโตะ เนื่องจากกลไกการทํางานของเคร่ืองเพื่อใหเกิดภาพบนจอภาพน้ันมีความแตกตางกันนัน่เอง

ภาพท่ี 15.13 การวัดรังสีคล่ืนแมเหล็กไฟฟาท่ีแผออกจากจอภาพคอมพวิเตอรโดยใชเคร่ืองมือ VDT Radiation Survey Meter รุน MI 3600

ภาพท่ี 15.14 ระดับรังสีคล่ืนไฟฟาท่ีวดัไดจากจอภาพคอมพิวเตอรท่ีระยะ 0 – 60 ซม. ท้ังขณะติดและไมติดแผนกรองแสง

Page 25: หน วยที่ 15 การประยุ กตการยศาสตร ํานัในสกงานและในโรงพยาบาล › UserFiles › File

25

ภาพท่ี 15.15 ระดับรังสีคล่ืนแมเหล็กท่ีวัดไดจากจอภาพคอมพิวเตอรท่ีระยะ 10 – 60 ซม. ท้ังขณะติดและไมตดิแผนกรองแสง ภาพท่ี 15.15 ระดับรังสีคล่ืนแมเหล็กท่ีวัดไดจากจอภาพคอมพิวเตอรท่ีระยะ 10 – 60 ซม. ท้ังขณะติดและไมตดิแผนกรองแสง

ดังนั้น ขอแนะนําท่ัวไปสําหรับการทํางานกับคอมพิวเตอรอยางปลอดภัย อาจสรุปไดดังนี ้ดังนั้น ขอแนะนําท่ัวไปสําหรับการทํางานกับคอมพิวเตอรอยางปลอดภัย อาจสรุปไดดังนี ้1. รักษาระยะหางจากจอภาพใหมากกวา 50 ซม. ไมควรนั่งอยูใกลจอภาพมากเกินไป 1. รักษาระยะหางจากจอภาพใหมากกวา 50 ซม. ไมควรนั่งอยูใกลจอภาพมากเกินไป 2. สนามแมเหล็กไฟฟาพบไดท่ีดานหลัง และดานขางของเคร่ืองคอมพิวเตอรดวยเชนกนั ไม

เฉพาะแตดานหนาเทานัน้ ดงันั้นการจดัวางสถานีงานคอมพิวเตอรควรใหหางจากเคร่ืองคอมพิวเตอรอ่ืนทางดานหลังและดานขางไมนอยกวา 3 – 5 ฟุตหากเปนไปได

2. สนามแมเหล็กไฟฟาพบไดท่ีดานหลัง และดานขางของเคร่ืองคอมพิวเตอรดวยเชนกนั ไมเฉพาะแตดานหนาเทานัน้ ดงันั้นการจดัวางสถานีงานคอมพิวเตอรควรใหหางจากเคร่ืองคอมพิวเตอรอ่ืนทางดานหลังและดานขางไมนอยกวา 3 – 5 ฟุตหากเปนไปได

3. ลดระยะเวลาการสัมผัสลงใหเหลือนอยท่ีสุดถาทําได และปดจอภาพหรืออุปกรณไฟฟาอ่ืนๆ เชน Laser printer หากไมมีการใชงานช่ัวครู

3. ลดระยะเวลาการสัมผัสลงใหเหลือนอยท่ีสุดถาทําได และปดจอภาพหรืออุปกรณไฟฟาอ่ืนๆ เชน Laser printer หากไมมีการใชงานช่ัวครู

4. ยิ่งจอภาพคอมพิวเตอรมีความละเอียด (Resolution) สูงเทาใด หรือมีขนาดใหญเทาใด สนามแมเหล็กไฟฟากจ็ะเกิดสูงข้ึนตามไปดวย นอกจากนี้การปรับความสวางของจอภาพใหลดลงอยางพอเหมาะก็จะสามารถลดความแรงของสนามแมเหล็กไฟฟาลงไดดวย

4. ยิ่งจอภาพคอมพิวเตอรมีความละเอียด (Resolution) สูงเทาใด หรือมีขนาดใหญเทาใด สนามแมเหล็กไฟฟากจ็ะเกิดสูงข้ึนตามไปดวย นอกจากนี้การปรับความสวางของจอภาพใหลดลงอยางพอเหมาะก็จะสามารถลดความแรงของสนามแมเหล็กไฟฟาลงไดดวย

5) เฟอรนิเจอรและการจัดวางวัสดุ อุปกรณ ขอแนะนําในการออกแบบพื้นท่ีในการจดัวางวัสดุ อุปกรณในสํานักงานมีดังนี ้

- การจัดพืน้ท่ีสําหรับแตละบุคคลและท่ีสําหรับจัดวางวัสดุ อุปกรณ ควรคํานึงถึงการปองกันความลาท่ีอาจเกิดข้ึนไดจากทาทางการทํางานและการเคล่ือนไหวรางกายท่ีจํากัดดวย ท้ังนี้ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข ท่ี 8/2538 เร่ือง กําหนดจํานวนคนตอจํานวนพ้ืนที่ของอาคารโรงงาน ระบุวา “อาคารโรงงานท่ีมีคนงานปฏิบัติงานมากกวา 1คนตอพื้นท่ี 3 ตารางเมตรถือวามีคนอยูมากเกนิไป”

- การจัดวางเฟอรนิเจอรในสํานักงาน ควรสงผลใหพนักงานไมตองเอ้ือมหรือบิดเอวขณะท่ีตองรับน้ําหนกัวัสดุเกนิ 4 กิโลกรัม

- หากเปนไปไดควรมีพื้นที่โดยรอบสถานีงานท่ีอยูนอกขอบเขตมือเอื้อมถึง เผ่ือในกรณีท่ีอาจจําเปนตองยืนข้ึนยกวสัดุท่ีไมสามารถยกขณะน่ังทํางานได

Page 26: หน วยที่ 15 การประยุ กตการยศาสตร ํานัในสกงานและในโรงพยาบาล › UserFiles › File

26

- การยืนข้ึนและเคล่ือนไหวรางกายในตําแนงท่ีเอ้ือมถึงวัสดุไดงาย ยอมดกีวาการนั่งอยูกับท่ีและเอ้ือมจนสุดระยะแขน

- การจัดใหมีช้ันวางวัสดุส่ิงของท่ีระดับความสูงท่ีเหมาะสมอยางเพยีงพอจะชวยลดความจําเปนในการกมและเอื้อมหยิบวัสด ุ

- หลีกเล่ียงทาทางการทํางานท่ีตองบิดเอว โนมตัวไปดานขาง หรือกมลงบอยๆ เพื่อหยิบวัสดุจากล้ินชัก

- จัดวางวัสดุท่ีมีน้ําหนกัมาก เชน ขวดน้ํา กระดาษเปนรีมไวบนช้ันวางของท่ีระดับเอว โดยท่ัวไปมักพบการจัดวางของหนักไวท่ีระดับตํ่าสุดซ่ึงไมเหมาะสมตามหลักการยศาสตร

- หลีกเล่ียงการจัดวางของท่ีตองใชบอยๆไวใกลระดับพืน้ หรือเหนือระดับไหล - น้ําหนกัท่ียอมรับใหยกไดขณะนั่งทํางานคือ 4.5 กิโลกรัม

6) ความปลอดภัยในการใชเคร่ืองถายเอกสาร ในปจจุบัน เคร่ืองถายเอกสารมีใชกันอยางแพรหลายในสํานักงานท่ัวไป นอกจากเคร่ือง

ถายเอกสารแลวกย็ังมีเคร่ืองพิมพเลเซอร เคร่ืองโทรสาร เคร่ืองปรุกระดาษไข และเคร่ืองโรเนียว ซ่ึงมักเปนท่ีกังวลกันวาจะเปนอันตรายตอสุขภาพของผูทํางานท่ีเกี่ยวของในสํานักงานตลอดท้ังวันหรือไม โดยหลักการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยนัน้ การทํางานกับอุปกรณดังกลาวอยางปลอดภัยยอมทําไดโดยปฏิบัติตามคําแนะนําเพื่อความปลอดภัยในการใชงานท่ีจะกลาวถึงตอไป รวมไปถึงการจัดวางอุปกรณในตําแหนงท่ีเหมาะสม ในท่ีท่ีมีการระบายอากาศท่ีดี และมีการบํารุงรักษาอุปกรณอยางสมํ่าเสมอ ส่ิงท่ีอาจกอใหเกิดอันตรายจากเคร่ืองถายเอกสาร มีดังนี้คือ - โอโซน เกิดจากการใชอุปกรณไฟฟาท่ีมีแรงดันไฟฟาสูง โอโซนสวนใหญเกิดจากการอัดและปลอยประจุไฟฟาท่ีลูกกล้ิงและกระดาษ โอโซนบางสวนเกดิจากการปลอยรังสีเหนือมวง (UV) จากหลอดไฟพลังงานสูงของเคร่ืองถายเอกสาร ซ่ึงรังสีเหนือมวงนี้จะทําใหกาซออกซิเจนในอากาศรวมตัวกัน เกดิเปนโอโซนงายข้ึน อยางไรก็ตาม ในสภาวะปกติหรือในสํานักงานท่ัวไป โอโซนจะสลายตัวเปนกาซออกซิเจนไดภายใน 2 – 3 นาที โอโซนจะสลายตัวไดดีในท่ีท่ีมีอุณหภูมิสูง และสลายตัวไดหมดเม่ือผานผงถานกัมมันต (Activated carbon) เคร่ืองถายเอกสารสวนใหญในปจจุบันจึงมีแผนกรองประเภทผงถานกัมมันตตดิอยูดวย เพื่อสลายโอโซนกอนปลอยออกภายนอกเคร่ืองถายเอกสาร ดงันั้น ผูท่ีมีโรคระบบทางเดินหายใจ เชน โรคหอบหืด ก็ไมควรทํางานสัมผัสโอโซนเลย - ผงหมึก ใชสําหรับเคร่ืองถายเอกสารระบบแหง ประกอบดวยผงคารบอนดํา (Carbon black) 10% ผสมกับพลาสติกเรซิน ผงคารบอนดําเปนท่ีเขาใจกันวาเปนสารกอมะเร็ง จึงควร

Page 27: หน วยที่ 15 การประยุ กตการยศาสตร ํานัในสกงานและในโรงพยาบาล › UserFiles › File

27

- สารเคมี ท่ีใชเคลือบลูกกล้ิงในเคร่ืองถายเอกสาร มีลักษณะเปนสารนําแสง (Photoconductor) ไดแก เซเลเนียม แคดเมียมซัลไฟด ซิงคออกไซด และโพลิเมอรบางตัว สารเคมีเหลานี้จะถูกปลอยออกมาสูบรรยากาศในลักษณะไอระเหยระหวางกระบวนการถายเอกสาร ซ่ึงเกิดในขณะท่ีลูกกล้ิงไดรับประจุไฟฟาดวยความดันไฟฟาแรงสูง โดยปกติ สารเคมีเหลานี้มักมีนอยกวาเกินกวาท่ีจะตรวจสอบได อาการท่ีอาจเกิดข้ึนไดเม่ือสูดหายใจเอาไอระเหยของสารเคมีเหลานี้เขาไปคือ การระคายเคืองระบบทางเดินหายใจสวนตน ตา หรืออาการวิงเวียนศีรษะ - รังสีเหนือมวง ในกระบวนการถายเอกสาร แสงสวางท่ีเรามองเห็นได และรังสีเหนือมวงจะถูกแผออกจากหลอดไฟพลังงานสูงภายในเคร่ือง รังสีเหนือมวงทําใหเกิดการอักเสบของกระจกตา และผ่ืนคันตามผิวหนังได ขณะถายเอกสารทุกคร้ังจึงควรปดฝาครอบ หรือหลีกเล่ียงการมองแสงจาโดยตรงท่ีทะลุผานกระจกของเคร่ืองถายเอกสารออกมา เพื่อเปนการปองกันอาการปวดศีรษะ และอาการแสบตา - เสียงดงั เคร่ืองถายเอกสารสวนใหญมีเสียงคอนขางดัง โดยเฉพาะเคร่ืองขนาดใหญอาจดังถึง 80 dB (A) จึงควรแยกเคร่ืองถายเอกสารออกจากหองทํางานท่ัวไป หากไมมีหองเฉพาะก็ควรใชฉากปดกั้นหรือลอมรอบเคร่ืองถายเอกสารดวยวัสดุดดูซับเสียงก็ได - ความรอน การทํางานของหลอดไฟพลังงานสูงในกระบวนการถายเอกสารจะปลอยความรอนออกมาดวย เปนสาเหตุของความรูสึกไมสบายหากตองทํางานถายเอกสารเปนระยะเวลานาน ๆ ภายในหองท่ีจดัการระบายอากาศท่ีไมเหมาะสม ดังน้ัน การระบายอากาศท่ีดีจึงเปนเร่ืองสําคัญในการทํางานกับเคร่ืองถายเอกสาร ท้ังนี้ เพื่อใหเกดิความปลอดภัยในการทํางาน จึงควรปฏิบัติตามคําแนะนําในการถายเอกสารอยางปลอดภัย ดังนี ้ 1. การถายเอกสารทุกคร้ัง ควรปดฝาครอบใหสนิท ในกรณีท่ีไมสามารถปดใหสนิทได ควรหลีกเล่ียงการมองไปที่เคร่ืองถายเอกสาร 2. ควรมีการตดิต้ังพัดลมดูดอากาศเฉพาะที่ในหองถายเอกสาร 3. ควรสวมถุงมือขณะเติมหรือเคล่ือนยายผงหมึก (ภาพท่ี 15.16) และในกรณีท่ีจําเปนควรสวมอุปกรณปองกันระบบทางเดินหายใจดวย นอกจากนี้ ควรขอรับเอกสารเร่ืองขอมูลความปลอดภัยของสารเคมี หรือผงหมึก จากบริษัทผูผลิตหรือผูจําหนายเคร่ืองถายเอกสารดวย

Page 28: หน วยที่ 15 การประยุ กตการยศาสตร ํานัในสกงานและในโรงพยาบาล › UserFiles › File

28

ภาพท่ี 15.16 การสวมถุงมือขณะเติมหรือเคลื่อนยายผงหมึก และขณะซอมบํารุงเคร่ือง 4. ผงหมึกท่ีใชแลว หรือท่ีหกเลอะเทอะ หรือท่ีฟุงกระจายออกมาขณะทําการเติมผงหมึก ควรนําไปกําจดัโดยใสลงในภาชนะที่ปดมดิชิด 5. เม่ือซ้ือเคร่ืองถายเอกสารเคร่ืองใหม ควรตรวจสอบใหแนใจวา - เคร่ืองมีระบบการเติมผงหมึกท่ีปลอดภยั และมีภาชนะบรรจุเศษผงหมึกอยูในเคร่ือง - เคร่ืองถายเอกสารนี้จะไมทํางาน หรือเครื่องจะดับอัตโนมัติ เม่ือภาชนะบรรจุเศษผงถานในเคร่ืองเต็มแลว 6. ควรแนใจวาเคร่ืองถายเอกสารน้ี ไดรับการบํารุงรักษาเปนประจํา 7. ไมควรจัดวางเคร่ืองถายเอกสารไวในหองทํางาน ควรจดัแยกไวเปนหองถายเอกสารโดยเฉพาะ (ภาพท่ี 15.17) หรือวางไวในมุมหองท่ีไกลออกไปจากผูทํางาน และควรแนใจวามีการระบายอากาศท่ีเหมาะสมภายในหองนั้น

ภาพท่ี 15.17 การจัดแยกงานถายเอกสารออกจากงานสํานกังานอ่ืน ๆ เพือ่ลดการสัมผัสส่ิงคุกคามอันตรายตอสุขภาพ 8. สําหรับผูท่ีมีหนาท่ีใหบริการซอมหรือบํารุงรักษาเคร่ืองถายเอกสาร ควรสวมถุงมือยางแบบใชแลวท้ิงขณะทํางาน รวมท้ังหลีกเล่ียงการสัมผัสโดยตรงกับลูกกล้ิงดวย 9. ไมควรมีผูใดตองทํางานถายเอกสารตลอดท้ังวัน โดยเฉพาะอยางยิ่งผูท่ีมีปญหาระบบทางเดินหายใจอยูแลว 10. ควรมีพื้นที่วางรอบ ๆ เคร่ืองถายเอกสารอยางเพียงพอ เพื่อการไหลเวียนของอากาศท่ีดี และเพื่อความสะดวกในการซอมบํารุงเคร่ือง

Page 29: หน วยที่ 15 การประยุ กตการยศาสตร ํานัในสกงานและในโรงพยาบาล › UserFiles › File

29

11. ควรจัดวางเคร่ืองถายเอกสารใหระดับความสูงของหนางานอยูในระดับสบายสําหรับผูใชงานท่ัวไป โดยใหอยูท่ีระดับขอศอกหรือตํ่ากวาเล็กนอย

12. ในกรณีท่ีจาํเปน ควรจดัเตรียมโตะสําหรับวางเอกสารที่มีระดับความสูงท่ีสบายตอการใชงาน 7) การจัดองคกรการทํางานและการออกแบบงาน

การจัดองคกรการทํางาน (Work organization) จะสงผลกระทบโดยตรงตอสุขภาพของผูปฏิบัติงานท้ังทางกายภาพและจิตใจ ซ่ึงรวมไปถึงผลการปฏิบัติงานดวย การออกแบบการทํางานอาจชวยเสริมการออกแบบสถานีงานคอมพิวเตอรท่ีดหีรืออาจสงผลในทางตรงกันขามก็ได ท้ังนี้เพราะการออกแบบสถานีงานท่ีดีไมสามารถกําจัดปญหาท้ังหมดท่ีผูปฏิบัติงานตองทํางานในลักษณะซํ้าๆตลอด 8 ช่ัวโมงการทํางาน/วัน เปนเวลานานๆได โดยท่ัวไปแลวการแกไขปญหาสุขภาพท่ีเกิดข้ึนสามารถทําไดโดยออกแบบใหมีการทํางานท่ีหลากหลาย และใหโอกาสผูปฏิบัติงานควบคุมการทํางานของตนเองได การจดัหรือปรับกิจกรรมการทํางานเสียใหมจะสามารถลดความลาและความเบ่ือหนายลงได ดังนัน้ผูปฏิบัติงานจึงควรไดมีสวนเกี่ยวของในการออกแบบงาน และลักษณะงานท่ีเหมาะสมก็คือลักษณะงานท่ีออกแบบใหผูปฏิบัติทําแลวเกดิความพึงพอใจในงานสูงสุดนั่นเอง แมวาอาจมีความเปนไปไมไดในการออกแบบใหเหมาะกับแตละคนสําหรับทุกงาน แตอยางนอยท่ีสุดก็ควรไดพิจารณาประเด็นตอไปนี ้- ความหลากหลายและความเหมือนในแตละงาน - ความสําคัญของงาน - การควบคุมงานไดดวยตนเอง - การสะทอนกลับของขอมูล - จังหวะกาวในการทํางาน - ระยะเวลาทํางาน และระยะพัก - ระยะเวลาในการปรับตัว - การฝกอบรม และการใหความรู 8) ความปลอดภัยในสํานักงาน

ปจจุบัน ความเขาใจเดิมๆท่ีวาการทํางานในสํานักงานไมมีส่ิงคุกคามอันตรายตอสุขภาพนั้นไดเปล่ียนไปแลว แมวาอันตรายในสํานกังานจะเทียบไมไดกับอันตรายในการทํางานเหมืองแร หรือโรงงานอุตสาหกรรมกต็าม ผูท่ีทํางานในสํานกังานก็ควรตระหนักถึงส่ิงคุกคามสุขภาพท่ีมีอยูในส่ิงแวดลอมการทํางานในสํานักงาน อันตรายหรือการบาดเจ็บท่ีอาจเกิดข้ึนไดมีดงันี้ - การตกหลนหรือลมลงของวัสดุ อุปกรณสํานักงาน และเฟอรนิเจอร

Page 30: หน วยที่ 15 การประยุ กตการยศาสตร ํานัในสกงานและในโรงพยาบาล › UserFiles › File

30

- การยกเคล่ือนยายวัสดุ อุปกรณ และเฟอรนิเจอร (ดูตัวอยางทายบท) - การบาดเจ็บจากเคร่ืองมือ อุปกรณท่ีมีความแหลมคม - พื้นล่ืน หรือสะดุดลมได - บันได หรือบันไดปนท่ีไมม่ันคง แข็งแรง - อันตรายจากอุปกรณ เคร่ืองมือ หรือเฟอรนิเจอรท่ีเสียหาย แตกหัก - อุปกรณ เคร่ืองมือท่ีไมมีการด หรือสายดินอยางเหมาะสม - อันตรายจากไฟฟาลัดวงจร - ความเส่ียงจากอัคคีภัย

ดังนั้น สํานักงานแตละแหงจงึควรตระหนัก และใหความสําคัญกับการปองกันอุบัติเหตุท่ีเกิดจากการทํางาน โดยมีการจัดการดานความปลอดภัยในสํานักงาน มีการจัดเตรียมอุปกรณชุดปฐมพยาบาลไวอยางเพียงพอ พนกังานทุกคนควรทราบถึงสถานท่ีจัดวางอุปกรณดังกลาว นอกจากนี้ ช่ือ เบอรโทรศัพท และสถานท่ิติดตอของผูรับผิดชอบดานสุขภาพและความปลอดภัยในสํานักงาน ควรมีติดไวใกลๆกบัสถานท่ีจัดวางอุปกรณดวย นอกจากนี้ ควรมีการรายงานอุบัติเหตุ หรืออันตรายท่ีเกิดข้ึนตอหัวหนางาน หรือเจาหนาท่ีดานสุขภาพและความปลอดภยัดวย

ตอไปนี้เปนตัวอยางการยกเคล่ือนยายวัสดใุนสํานักงานท่ีพบบอย คือการยกเคล่ือนยายถังน้ําดื่ม โดยแนะนําใหมีการจดัเตรียมอุปกรณชวยเคล่ือนยายแทนการออกแรงยก ภาพท่ี 15.18 แสดงการใชรถเข็นท่ีมีถาดล็อกกันตกในการยกเคล่ือนยายถังน้ําดื่มท่ีมีระยะทาง ในกรณีท่ีไมสามารถใชอุปกรณชวยเคล่ือนยายได กอ็าจยกข้ึนบา โดยควรใชวัสดุรองไหล (Pad) ดังภาพท่ี 15.19 เพื่อชวยลดแรงเคนท่ีกดทับบนไหล และควรยกสลับซาย ขวาบาง นอกจากนี้ อาจพิจารณาจัดเตรียมภาชนะชวยยกเคล่ือนยายวัสดุท่ีมีท่ีจับท่ีสะดวก (ภาพท่ี 15.20) โดยยกใหอยูใกลลําตัวมากท่ีสุด (NIOSH 2007)

ภาพท่ี 15.18 การใชรถเข็นท่ีมีถาดกันตกในการยกเคล่ือนยายถังน้ําดื่ม

Page 31: หน วยที่ 15 การประยุ กตการยศาสตร ํานัในสกงานและในโรงพยาบาล › UserFiles › File

31

ภาพท่ี 15.19 การใชวัสดุรองไหลเพื่อชวยลดแรงเคนท่ีกดทับบนไหลขณะยก

ภาพท่ี 15.20 การใชภาชนะชวยยกเคล่ือนยายวัสดุท่ีมีท่ีจบัท่ีสะดวก กิจกรรม 15.1.2 1. การจัดส่ิงแวดลอมและความปลอดภยัในสํานักงาน ควรคํานึงถึงปจจัยอะไรบาง 2. ส่ิงท่ีอาจกอใหเกดิอันตรายจากเคร่ืองถายเอกสาร มีอะไรบาง 3. อุบัติเหตุท่ีอาจเกิดข้ึนไดในสํานักงาน มีอะไรบาง แนวตอบ 1. การจัดส่ิงแวดลอมและความปลอดภยัในสํานักงาน ควรคํานึงถึง สภาพอากาศภายในอาคาร แสงสวาง เสียงดัง การจัดสถานีงาน การจัดวางเฟอรนิเจอรและวัสดุ อุปกรณ การจัดองคกรการทํางาน และการปองกนัอุบัติเหตแุละการบาดเจ็บในสํานักงาน

2. ส่ิงท่ีอาจกอใหเกดิอันตรายจากเคร่ืองถายเอกสาร ไดแก โอโซน ผงหมึก รังสีเหนอืมวง ไอระเหยของสารเคมีท่ีใชเคลือบลูกกล้ิง เสียงดัง ความรอน

3. อุบัติเหตุท่ีอาจเกิดข้ึนไดในสํานักงาน ไดแก การตกหลนหรือลมลงของวัสดุ อุปกรณสํานักงาน การยกเคล่ือนยายวัสดุ การล่ืนหรือสะดุดลม อันตรายจากไฟฟาลัดวงจร ความเส่ียงในการเกดิอัคคีภัย เปนตน

Page 32: หน วยที่ 15 การประยุ กตการยศาสตร ํานัในสกงานและในโรงพยาบาล › UserFiles › File

32

เร่ืองท่ี 15.1.3 ผลกระทบตอสุขภาพจากการทํางานคอมพิวเตอรและการปองกัน

ดังท่ีไดกลาวมาแลววา ในปจจุบันการทํางานในสํานกังานมักหมายถึงการทํางานกับคอมพิวเตอรโดยสวนใหญ ปญหาสุขภาพท่ีเกิดข้ึนไดกบัผูท่ีทํางานในสํานักงาน ไดแก

- อาการปวดเม่ือยไหล คอ และแขนสวนบน

- อาการปวดเม่ือย มือ ขอมือ ขอศอก

- อาการปวดหลังสวนลาง

- การบาดเจ็บสะสมเร้ือรัง (Cumulative Trauma Disorders)

- อาการลาของสายตา (eye strain)

- อาการปวดศีรษะ

- ความลา และความเครียด

ท้ังนี้ ผูท่ีทํางานกับคอมพิวเตอรเปนประจาํ มีลักษณะการทํางานท่ีเดนชัดอยู 3 ลักษณะ คือ - มีการเคล่ือนไหวรางกาย และอวัยวะสวนตาง ๆ อยางคอนขางจํากัด (Restricted

movement) - สายตามักเพงอยูท่ีจอภาพตลอดเวลา (Concentrated on the screen) - มือของผูปฏิบัติงานวางอยูท่ีแปนพิมพ หรือควบคุมเมาส ตลอดเวลา

ดังนั้น ผลกระทบตอสุขภาพท่ีอาจเกิดข้ึนไดจากการทํางานกับคอมพิวเตอรอยางตอเนื่อง

เปนเวลานาน จึงมีหลายลักษณะซ่ึงพอสรุปไดดังนี้

1. ความผดิปกติของระบบกลามเนื้อและกระดูกโครงราง ความผิดปกติของระบบกลามเนื้อและกระดูกโครงรางจากการทํางานกบัคอมพิวเตอร มักมี

ปจจัยเหตุมาจาก 1.1 การจัดสถานีงาน และการจัดวางวัสดุอุปกรณการทํางานท่ีไมเหมาะสมตามหลักการย

ศาสตร หรือไมเหมาะกับขนาดรางกายของผูปฏิบัติงาน สงผลใหทาทางการทํางานไมเหมาะสม นอกจากนี้ เม่ือมีการจัดสถานีงาน และจัดวางอุปกรณอยางเหมาะสมแลว ก็ยังมีโอกาสเกิดปญหาความผิดปกติของระบบกลามเนื้อและกระดูกโครงรางไดหากผูปฏิบัตงิานไมจัดทาทางการนั่ง

Page 33: หน วยที่ 15 การประยุ กตการยศาสตร ํานัในสกงานและในโรงพยาบาล › UserFiles › File

33

ภาพท่ี 15.21 แสดงใหเห็นถึงการนั่งหลังตรง (ซาย : Upright trunk) ซ่ึงสงผลดีตอระบบกระดูกโครงราง แตกลามเนือ้สวนตาง ๆ ของหลังกลับพบมีคาคล่ืนไฟฟากลามเนื้อ (EMG) ท่ีสูงกวาการนั่งใหลําตัวโนมไปดานหนาเล็กนอย (ขวา) ซ่ึงโอกาสเกิดความลาของกลามเนื้อหลังในกรณีโนมไปดานหนาเล็กนอยนี้จงึมีนอยกวามากเพราะพบคาคล่ืนไฟฟากลามเนื้อมีคานอยมาก (Lundervold 1958) อยางไรกต็าม การนั่งหลังไมตรงก็อาจสรางปญหาใหกับระบบกระดูกโครงรางได และน่ีก็คือเหตุผลท่ีมีการแนะนาํใหนั่งหลังตรง และพิงพนักพิงอยูเสมอในการนั่งทํางานกับคอมพิวเตอรเปนเวลานาน (ดูรายละเอียดไดในภาพท่ี 14.7) ท้ังนี้ นักศึกษาท่ีไดศึกษาในเร่ืองท่ี 11.2.2 การประเมินความลา ก็จะเขาใจไดวา คล่ืนไฟฟาของกลามเนื้อท่ีวัดไดมีคาสูง แสดงถึงการออกแรงกลามเน้ือนั้นมาก โอกาสเกิดความลาของกลามเนื้อนั้นก็จะมีมากตามไปดวย

ภาพท่ี 15.21 เปรียบเทียบคาคล่ืนไฟฟาของกลามเนื้อหลังสวนตาง ๆ ขณะน่ังหลังตรง และน่ังโนมไปขางหนาเล็กนอย

1.2 การปฏิบัติงานโดยมีการเคล่ือนไหวสวนตาง ๆ ของรางกายอยางจํากัด และทํางานในลักษณะเดิมซํ้า ๆ รวมไปถึงระยะเวลาในการทํางานท่ีตอเนื่องโดยไมหยดุพัก เชน การกดแปนพิมพเปนเวลานาน ๆ ในงานปอนขอมูลดวยทาทางของมือท่ีไมเปนธรรมชาติ หรือการนั่งอยูกับท่ีเปนเวลานาน ๆ โดยไมไดเคล่ือนไหวรางกาย สงผลใหการไหลเวียนของโลหิตเปนไปไดไมสะดวก ออกซิเจนไปเล้ียงกลามเนื้อสวนตาง ๆ ของรางกายไมเพยีงพอ ทําใหเกดิปญหาความลาของกลามเนื้อ และอาการปวดเม่ือย บริเวณท่ีพบปญหาไดบอยคือ กลามเนื้อคอ ไหล แขน และหลัง

ภาพท่ี 15.22 เปนผลการศึกษาของ Hagberg, 1982 (อางอิงใน Grandjean 1988) ซ่ึงไดทําการวิเคราะหคาคล่ืนไฟฟาของกลามเนื้อ Trapezius (กลามเนื้อยกไหล) กลามเนื้อ Deltoid (กลามเนื้อยกตนแขน) และกลามเนื้อ Interosseus dorsalis (กลามเนื้อบริเวณสวนกลางฝามือดานหลัง ทําหนาท่ีเคล่ือนไหวน้ิวมือ) ขณะทํางานพิมพดดีท่ีระดับความสูงของเคร่ืองพิมพดีดท่ี

Page 34: หน วยที่ 15 การประยุ กตการยศาสตร ํานัในสกงานและในโรงพยาบาล › UserFiles › File

34

ภาพท่ี 15.22 คาคล่ืนไฟฟาของกลามเนื้อสวนตาง ๆ ท่ีบันทึกได ขณะน่ังทํางานท่ีระดับความสูงของเคร่ืองพิมพดีดท่ีระดับตาง ๆ กัน

1.3 ปจจัยดานจิตสังคม ไดแก ปริมาณงาน ความเบ่ือหนายและความซํ้าซาก การขาดการดูแลเอาใจใสจากผูบังคับบัญชา ภาระรับผิดชอบตอครอบครัว ความเครียดทางจิตใจ ท้ังนี้ มีรายงานวาคนไขท่ีมีประวัติอยูในสภาพจิตใจหดหู ติดแอลกอฮอล หยาราง ระดับการศึกษาตํ่า มีปญหาครอบครัว ไมมีความพึงพอใจในงาน ไมมีกิจกรรมสันทนาการ มักมีความสัมพันธกบัปญหาการบาดเจ็บท่ีหลังแบบเร้ือรัง (Andersson 1981, Gentry et al 1974, Nachemson 1976)

1.4 ปจจัยบุคคลไดแก อายุ ประวัติการบาดเจ็บของระบบกลามเนื้อและกระดูกโครงราง ความแข็งแรง และความยืดหยุนของรางกาย เปนตน

Page 35: หน วยที่ 15 การประยุ กตการยศาสตร ํานัในสกงานและในโรงพยาบาล › UserFiles › File

35

ท้ังนี้ หากมีการปรับปรุงสถานท่ีทํางานใหเหมาะสม มีการปรับปรุงการใหบริการสุขภาพ การปรับแกกฎระเบียบในการทํางาน รวมทั้งการใหคําแนะนําในการทาํงานอยางปลอดภัย ก็จะชวยลดปญหาความผิดปกติของระบบกลามเนือ้และกระดูกโครงรางลงได (Ong, 1995)

Krapac (1994) ไดรายงานวาความลาและอาการเจ็บปวดของรางกายในกลุมคนทํางานกับ VDT มีอาการไดมากถึงรอยละ 59 ส่ิงท่ีควรคํานึงถึงคือ การผอนคลายกลามเนื้อ การออกกําลังกายในท่ีทํางาน และการนําหลักการยศาสตรมาใชในการออกแบบปรับปรุงสถานีงาน ไดแก โตะทํางาน เกาอ้ี ท่ีวางเอกสาร ท่ีวางเทา ตลอดจนช่ัวโมงการทํางานท่ีเหมาะสมจะชวยลดปญหาดังกลาวลงได

Tola (2002) ศึกษาถึงอาการผิดปกติของคอและไหลในการทํางานท่ีตองมีการนั่งนานๆและเคล่ือนไหวรางกายสวนรยางคบนในเพศชายประเทศฟนแลนด พบวาคนทํางานในสํานักงาน มีอุบัติการณการเกิดอาการทางคอและไหลสะสมประมาณรอยละ 57 โดยพบวาทาทางการทํางานท่ีมีการกม การบิดเอ้ียวรางกาย อายุและความพึงพอใจกับงานเปนปจจัยเส่ียงสําคัญตอการทําใหเกดิความผิดปกติของคอและไหล

นอกจากนี้ Carter (1994) ก็ไดรายงานวา การลดความผิดปกติของระบบกลามเนื้อและกระดูกโครงรางในกลุมพนกังานท่ีทํางานกับ VDT สามารถทําไดโดยการออกแบบปรับปรุงสถานีงานคอมพิวเตอรใหมีความสะดวกสบาย นอกจากนีก้ารฝกฝนทาทางการทํางาน และการจัดใหมีระยะพักอยางเหมาะสมสามารถลดปญหาดังกลาวได ผูท่ีมีความสําคัญในการรวมมือกนัดําเนนิการก็คือนักการยศาสตรและผูจัดการในองคกรนั้น 2. ความลาของตา (Visual strain or Asthenopia)

งานคอมพิวเตอร เปนงานท่ีตองใชสายตามากในการเพงมองสวนตาง ๆ สลับไปมา 3 สวนหลัก ไดแก จอภาพ แปนพมิพ และเอกสาร ปญหาความลาของตาจึงเกดิข้ึนไดงาย โดยเฉพาะอยางยิ่งเม่ือตองเพงมองท่ีจอภาพเปนเวลานาน หรือตลอดท้ังวัน ท้ังนีเ้พราะจอภาพจัดเปนแหลงของแสงสวางโดยตรงที่ตาตองเพงมองซ่ึงตางไปจากงานในสํานกังานอ่ืน ๆ ท่ีไมใชคอมพิวเตอร นอกจากนี้ การจัดแสงสวางท่ีไมเหมาะสม กลาวคือระดับแสงสวางไมสมํ่าเสมอกันในสถานีงาน หรือระยะการมองวัตถุตาง ๆ ไดแก แปนพิมพ จอภาพ และเอกสาร มีความแตกตางกันมาก ก็จะสงผลใหตาตองปรับตัวตลอดเวลาขณะท่ีตองมองวัตถุท้ังสาม ท้ังการปรับรูมานตา และการปรับระยะโฟกัสภาพ นอกจากนี้ คุณสมบัติของจอภาพท่ีไมดี เชน มีการกระพริบของจอภาพ จอภาพไมมีความคมชัด หรือจอภาพท่ีใหการสะทอนแสงไดดีซ่ึงสงผลใหเกิดแสงจาแบบสะทอน (Reflected glare) ก็เปนสาเหตุรวมกนัสงผลใหเกิดความลาของตาได

Page 36: หน วยที่ 15 การประยุ กตการยศาสตร ํานัในสกงานและในโรงพยาบาล › UserFiles › File

36

นอกจากปญหาความลาของตาแลว การจดัแสงสวางท่ีไมเหมาะสมท้ังมืดไป หรือจาเกนิไป การเกิดเงามืด หรือการท่ีตาตองปรับตัวจากท่ีสวางไปยังท่ีมืด อาจสงผลใหเกดิขอผิดพลาดในการทํางานมากข้ึน คุณภาพงานและผลผลิตลดลง รวมไปถึงอุบัติเหตุจากการทํางานดวย

ภาพท่ี 15.23 แสดงใหเห็นถึงระดับความสองสวาง (Brightness or Luminance) ท่ีมีความแตกตางกนัมากเกินไป (Excessive contrast) ท่ีพื้นผิวของวัตถุท่ีตองมองขณะทํางานกบัคอมพิวเตอร เปนสาเหตุของการเกิดความลาของตาได ปญหานี้พบไดท่ัวไปในกรณท่ีีมีการใชแสงสวางจากธรรมชาติคือแสงจากหนาตาง และจัดวางสถานีงานอยางไมเหมาะสมคือหันหนาเขาหาหนาตาง หรือไมมีการใชผามานปดกัน้แสงท่ีจามากเกินไป ความสองสวางแสดงโดยตัวเลขในภาพซ่ึงวัดเปนหนวย แคนเดลา/ตารางเมตร (Cd/m2) จะเหน็ไดวาความแตกตางระหวางจอภาพกับเอกสารคิดเปนอัตราสวน 1:50 (10 : 520 Cd/m2) หรือ ความแตกตางระหวางจอภาพกับหนาตางคิดเปนอัตราสวน 1:450 (10 : 4,500 Cd/m2)

ภาพท่ี 15.23 ความแตกตางของการสองสวางท่ีมากเกินไป (Excessive luminance contrast) ในงาน VDT

ท้ังนี้ ขอแนะนาํโดยท่ัวไปสําหรับการจัดแสงสวางท่ีเหมาะสมเพ่ือไมใหเกิดความแตกตางของการสองสวางมากเกินไปคือ ในบริเวณจุดปฏิบัติงาน (Middle field) ควรมีความแตกตางกนัไมเกิน 1:3 ความแตกตางระหวางจุดปฏิบัติงานกับบริเวณโดยรอบ และความแตกตางกนัภายในบริเวณโดยรอบ ควรอยูในชวง 1:10 แสดงดังภาพท่ี 15.24

ภาพท่ี 15.24 ความแตกตางของการสองสวาง (Luminance contrast) ในระดับท่ียอมรับไดในสถานีงานและบริเวณโดยรอบ (Grandjean 1988)

Page 37: หน วยที่ 15 การประยุ กตการยศาสตร ํานัในสกงานและในโรงพยาบาล › UserFiles › File

37

ปญหาของตาท่ีพบไดโดยท่ัวไปในสํานักงานท่ีใชคอมพิวเตอร สามารถเกิดไดท้ังจากแสง

สวางท่ีมากเกนิไปและนอยเกินไป ดังท่ีไดกลาวมาแลว อาการท่ีพบบอยไดแก - ปวดตา และระคายเคืองตา

- ตาแดง น้ําตาไหล เปลือกตาบวม - การมองเห็นภาพซอน - ความสามารถในการปรับโฟกัสภาพลดลง หรือมองเห็นภาพไมชัด - ปวดศีรษะเน่ืองจากตองเพงมอง - ปวดคอและหลัง เนื่องจากตองเกร็งกลามเน้ือเพ่ือเพงมองวัตถุ

การศึกษาท่ีเกีย่วกับความลาของตาเร่ิมมีข้ึนในประเทศสวีเดนในปค.ศ. 1970 โดยมีการรายงานเปนคร้ังแรกวา การทํางานกับ VDT กอใหเกดิปญหาความลาของตาได และ Rossignal (1987) รายงานวาพนักงานท่ีปฏิบัติงานกบัเคร่ืองคอมพิวเตอร > 4 ช่ัวโมง/วัน มีอัตราการเกิดความผิดปกติของสายตามากกวาพนักงานท่ีไมไดปฏิบัติงานกับเคร่ืองคอมพิวเตอร และอาการความผิดปกติของสายตามีความสัมพันธกับจํานวนช่ัวโมงท่ีปฏิบัติงานกับคอมพิวเตอร นอกจากนี้ Ruta and Vidmantas (2006) ก็พบวาผูท่ีปฏิบัติงานกับเคร่ืองคอมพิวเตอรมีปญหาความลาของตา โดยมีอาการมองเห็นภาพไมชัดเจน ปวดตา ตาแดง มองเห็นภาพซอน ตาพรา น้ําตาไหล และระคายเคืองตา นอกจากน้ี รชยา และวิโรจน (2549) พบวา เจาหนาท่ีท่ีปฏิบัติงานกับเคร่ืองคอมพิวเตอรมีระยะเวลากอนเกิดกลุมอาการทางตาเนื่องจากงานคอมพวิเตอร (Computer Vision Syndrome) คือ 2.5 + 1.8 ช่ัวโมง

กลุมอาการทางตาเน่ืองจากงานคอมพิวเตอร (Computer Vision Syndrome) หมายถึง กลุมอาการที่เกิดจากความลาของตาเน่ืองจากการมองระยะใกลและมีความเกี่ยวของกับการใชคอมพิวเตอรอยางตอเนื่องเปนเวลานาน โดยสวนใหญปญหานี้มักเกิดจากความตองการของงานท่ีใชสายตา (Visual demand) เกินกวาความสามารถของบุคคลที่จะปฏิบัติงานนั้นไดอยางสบาย อาการแสดงมีดังนี้คือ ตาลา ปวดตา การมองเห็นระยะใกลไมชัดเจนเปนระยะ การมองเห็นระยะไกลไมชัดเจนเปนบางคร้ัง ปวดศีรษะ ตาแหง แสบตา ตาแดง ตาสูแสงไมได น้าํตาไหลมาก ปวดคอ ไหล และหลัง ท้ังนี ้การสํารวจผลกระทบตอสุขภาพเนื่องจากคอมพิวเตอรมักพบปญหาสายตามากกวาปญหาอ่ืน ๆ

สสิธร และคณะ (2537) ไดดาํเนินการศกึษาผลกระทบตอสุขภาพเนื่องจากการทํางานกับคอมพิวเตอรในหลาย ๆ หนวยงานที่มีการใชคอมพิวเตอรมาก พบวาสภาพการทํางานสวนใหญไมเหมาะสมตอการทํางาน โดยเฉพาะอยางยิ่งการจัดสถานีงาน นอกจากนีย้ังพบวา รอยละ 92 ทราบถึง

Page 38: หน วยที่ 15 การประยุ กตการยศาสตร ํานัในสกงานและในโรงพยาบาล › UserFiles › File

38

ในประเทศคานาดา มีการศึกษาถึงผลกระทบตอสุขภาพท่ีเกิดข้ึนกับการทํางานกับ VDT ดวยระยะเวลาตางๆกันโดยไมหยุดพัก และพบวาเม่ือระยะเวลาในการทํางานเพ่ิมข้ึน อาการปวดแสบตา (Burning eyes) ปวดศีรษะ และปวดหลังสวนลางก็เพิ่มข้ึนตามไปดวย โดยเฉพาะอยางยิ่งเม่ือตองทํางานตอเนื่องกนันาน 2 ช่ัวโมงข้ึนไป แสดงดงัภาพท่ี 15.25 (Josefina 1985)

ระยะเวลาท่ีทํางานกับ VDT โดยไมหยดุพัก

ภาพท่ี 15.25 ผลกระทบตอสุขภาพท่ีเกดิข้ึนเม่ือทํางานกับ VDT ดวยระยะเวลาทํางานตางๆโดยไมหยุดพัก

3. ความเครียด (Mental stress) ความเครียดทางจิตใจท่ีเกิดข้ึนขณะทํางานกับคอมพิวเตอร อาจสังเกตไดจาก อาการหงุดหงิด ขาดสมาธิ หรือความรูสึกออนลาทางจิตใจ แมวาการทํางานกดแปนพิมพจะไมใชงานท่ีตองใชแรงกายมากก็ตาม แตการเพงมองคอมพิวเตอรเปนเวลานาน หรืองานท่ีตองใชความคิดและความชํานาญมากเปนพิเศษ กเ็ปนสาเหตุใหสมองตองทํางานหนกัอยูตลอดเวลา ทําใหเกิดความลาและความเครียดได นอกจากนี้ ส่ิงแวดลอมในการทํางาน เชน เสียงดัง กเ็ปนสาเหตุของความเครียดเชนกัน เนื่องจากเสียงดังในสํานักงานนั้น สงผลเสียตอสมาธิในการทํางาน เสียงท่ีดังเพียงเล็กนอยในสํานักงานกอ็าจลดประสิทธิภาพในการทํางานได อาจทําเกิดแรงตึง (Tension) ของกลามเนื้อ หรือเอ็น นําไปสูปญหากลามเนื้อและขอตอไดดวย

Page 39: หน วยที่ 15 การประยุ กตการยศาสตร ํานัในสกงานและในโรงพยาบาล › UserFiles › File

39

แหลงของเสียงดังในสํานกังาน ไดแก เสียงเคร่ืองพิมพ เคร่ืองโทรสาร เคร่ืองโทรศัพท เคร่ืองถายเอกสาร หรือแมแตเสียงพูดคุยกนั เสียงรองเทาเดินไปเดินมา โดยเฉพาะอยางยิ่งในกรณท่ีีมีพนักงานอยูอยางหนาแนนในพืน้ท่ีใกลเคียงกัน รวมไปถึงเสียงท่ีมาจากแหลงภายนอกอาคารสํานักงานดวย

แนวทางปองกนัเสียงดัง สามารถทําไดโดยการหามาตรการลดเสียงดังท่ีแหลงกําเนิดในเบ้ืองตน ในกรณีท่ีแหลงกําเนิดมีเสียงดังมากและไมสามารถปองกันได ก็ควรแนะนําใหพนกังานใชท่ีอุดหูตามความเหมาะสม นอกจากนี้ควรพิจารณาใชวสัดุสําหรับผนังหรือฝาเพดานท่ีสามารถดูดซับเสียงได จัดหรือปรับตําแหนงของอุปกรณสํานักงานท่ีมีเสียงดังใหหางออกจากผูปฏิบัติงาน และกั้นดวยผนังดดูซับเสียง (Partition) อาจพิจารณาติดต้ังท่ีครอบเคร่ืองพิมพท่ีมีเสียงดังมากในกรณีท่ีไมสามารถยายออกจากบริเวณท่ีทํางานได พื้นทางเดินในสํานักงานกอ็าจใชวัสดุท่ีไมกอใหเกิดเสียงดังขณะเดิน นอกจากนี้ เพือ่ใหเกดิความสบายในการทํางานและผอนคลายความเครียดท่ีอาจเกิดข้ึนได ก็ควรจัดใหอุณหภูมิในหองทํางานไมรอนจัด หรือเย็นจดัจนเกินไป รวมไปถึงการระบายอากาศท่ีเหมาะสม และควรมีโปรแกรมการบริหารรางกาย เพื่อยดืเสนยืดสาย ขณะหยุดพักดวย 4. ผื่นแดงตามผิวหนัง (Skin rash)

ปญหาผ่ืนแดงตามผิวหนังท่ีมีสาเหตุจากการทํางานกับคอมพิวเตอร จดัเปนผลกระทบตอสุขภาพท่ีมีโอกาสเกิดข้ึนไดนอยมาก สาเหตุเกิดจากการท่ีมีฝุนระคายเคืองในบริเวณที่ทํางาน เชน ฝุนจากพรม หรือฝุนท่ีปนเปอนเขาไปจากภายนอกหอง และเม่ือฝุนเหลานี้ถูกดึงดูดใหไปติดอยูท่ีหนาจอภาพดวยไฟฟาสถิต ฝุนระคายเคืองเหลานี้อาจไปติดอยูท่ีบริเวณใบหนา ลําคอ ของผูปฏิบัติงานได เกิดเปนผ่ืนแดง หรือความรูสึกคัน ระคายเคือง นอกจากนี้ ผ่ืนแดงตามผิวหนังอาจมีสาเหตุมาจากรังสีคล่ืนแมเหล็กไฟฟากไ็ด ในกรณีนี้จะเกดิข้ึนในกลุมบุคคลท่ีมีความไวรับสูงตอคล่ืนแมเหล็กไฟฟา (Hypersensitivity) เทานั้น อาการแสดงท่ีอาจพบไดนอกเหนือจากผ่ืนแดงก็คือ อาการคล่ืนไส วิงเวยีน ดังนัน้ ผูท่ีทํางานกบัคอมพิวเตอรจึงควรสังเกตความผิดปกติของตนเองดวยวา มีปญหาไวรับตอคล่ืนแมเหล็กไฟฟาหรือไม และควรหลีกเล่ียงการทํางานคอมพิวเตอรอยางตอเนื่องเปนเวลานาน โดยควรพักบอย ๆ หรือเปล่ียนไปทํางานอ่ืนบาง การปองกันผลกระทบตอสุขภาพจากการทํางานกับคอมพิวเตอร

หลักการออกแบบและปรับปรุงสถานีงานคอมพิวเตอรเพื่อปองกันผลกระทบตอสุขภาพจากการทํางานกับคอมพิวเตอร จึงควรพจิารณาจากสาเหตุท่ีตรวจพบ และเม่ือทราบสาเหตุแลวก็ควรปรับปรุงแกไขใหปญหานั้นหมดไปโดยเร็ว โดยไมตองรอใหมีการรองบน หรือเกิดผลกระทบตอสุขภาพเสียกอน สาเหตุของปญหาท่ีพบไดบอยโดยท่ัวไป มีดังน้ีคือ

Page 40: หน วยที่ 15 การประยุ กตการยศาสตร ํานัในสกงานและในโรงพยาบาล › UserFiles › File

40

- มุมในการมองจอภาพไมเหมาะสม เชน จอภาพอยูสูงเกินไป - ระดับความสูงของโตะ และเกาอ้ีไมเหมาะกับขนาดรางกายของผูปฏิบัติงาน - สถานีงาน เชน โตะ เกาอ้ี จอภาพ แปนพิมพ ไมสามารถปรับระดับความสูงหรือมุมเอียงได - แปนพิมพอยูสูงเกินไป รวมท้ังปญหาการกดทับบริเวณขอมือบนขอบโตะ (ภาพท่ี 15.26) - ไมมีท่ีวางเอกสารท่ีเหมาะสม - การนั่งนานๆโดยไมมีการเปล่ียนอิริยาบถ - ไมมีท่ีพักขอมือหรือแขน - ไมมีท่ีพักเทา - ไมมีท่ีสําหรับขา และเขาอยางเพียงพอขณะนั่งทํางาน - ผูปฏิบัติงานตองมองหลายส่ิงขณะทํางาน เชน จอภาพ แปนพิมพ เอกสาร ในขณะท่ี

ระยะหางจากสายตา และความสวางท่ีแตละจุดไมเทากัน ทําใหตาตองมีการปรับโฟกสัและปรับรูมานตาตลอดเวลา เปนสาเหตุหนึ่งของความลาทางตา (ภาพท่ี 15.27)

- การสวมแวนตาท่ีไมเหมาะสมกับสภาพสายตา และไมเหมาะกับงานคอมพิวเตอร

ในกรณีท่ีมีการสวมใสแวนตาขณะทํางาน โดยเฉพาะอยางยิ่งแวนตาท่ีมี 2 เลนส (Bifocal lens) ก็ควรปรับจอภาพใหแหงนข้ึนเล็กนอยเพื่อปองกนัการเงยคอไปดานหลังในการอานจอภาพ หากเปนไปไดควรเลือกใชแวนตาท่ีมีเลนสเดียวในการทํางานกับคอมพวิเตอรจะเหมาะสมกวา นอกจากนี้หากใชแวนตาประเภท Progressive lens สําหรับสายตาผูสูงอายุ (Presbyopia) ซ่ึงเลนสแกวตาสูญเสียความยืดหยุนไปแลว ทําใหไมสามารถปรับโฟกัสภาพท่ีระยะใกลได ทําใหมองวตัถุท่ีระยะใกลไมชัดเจน เลนสท่ีใชสําหรับอานหนังสือจึงควรอยูดานลางสุด เลนสตรงกลางเหมาะสําหรับงานคอมพิวเตอร และเลนสสําหรับมองระยะไกลควรอยูดานบนสุด โดยชวงรอยตอของเลนสท้ังสามควรปรับใหมีความราบเรียบ (Smooth) หรือไรรอยตอ นอกจากนี้ ผูปฏิบัติงานกับคอมพิวเตอรเปนประจําก็ควรมีการตรวจสายตาเปนประจําทุกป โดยตรวจความคมชัดของตา กลามเนื้อตา การปรับโฟกัสของตา และอ่ืน ๆ ตามท่ีจักษุแพทยเหน็สมควร

Page 41: หน วยที่ 15 การประยุ กตการยศาสตร ํานัในสกงานและในโรงพยาบาล › UserFiles › File

41

ภาพท่ี 15.26 แสดงการวางขอมือบนแปนพิมพท่ีสูงเกินไป และสังเกตเห็นแรงกดอัดท่ีบริเวณขอมือบนขอบโตะดวย

ภาพท่ี 15.27 แสดงใหเห็นถึงส่ิงท่ีผูทํางานกับคอมพิวเตอรตองมอง (Viewing objects) ตลอดเวลาทํางาน ซ่ึงทําใหตาตองปรับตัวตลอดเวลา

Sasitorn and Saito (1993) ไดทําการศึกษาถึงสภาวะพักของสายตา (Resting states of the eye) เพื่อนําขอมูลมาใชในการเสนอแนะการจัดสถานีงานคอมพิวเตอร เพื่อใหเกิดความสบายตาในการทํางาน โดยไดศึกษาระบบสายตา 3 ระบบคือ การปรับของรูมานตา (Pupil system) การ

Page 42: หน วยที่ 15 การประยุ กตการยศาสตร ํานัในสกงานและในโรงพยาบาล › UserFiles › File

42

1) ระยะการมองจากตาถึงจอภาพท่ีสบายตา อยูในชวง 50 - 70 ซม. 2) จอภาพควรอยูต่ํากวาระดับสายตา จะทําใหเกดิความสบายตาในการมอง 3) จอภาพชนดิ Positive polarity (ตัวอักษรมืดบนพื้นสวาง) ทําใหเกิดความสบายตา

มากกวาจอภาพชนิด Negative polarity (ตวัอักษรสวางบนพ้ืนมืด) อยางไรก็ตามในกรณีท่ีเปนหองทํางานท่ีคอนขางมืด จําเปนตองใช จอภาพชนิด Negative polarity เพือ่ปองกันไมให Contrast ของจอภาพลดลง

4) ความสวางในหองทํางานกับคอมพิวเตอรควรอยูในชวง 500 ลักซ กิจกรรมท่ี 15.1.3

1. จงบอกถึงผลกระทบตอสุขภาพท่ีอาจเกดิข้ึนไดจากการทาํงานกับคอมพิวเตอรอยางตอเนื่องเปนเวลานานวามีอะไรบาง

2. สาเหตุของความผิดปกติของระบบกลามเนื้อและกระดูกโครงรางจากการทํางานกับคอมพิวเตอรมีอะไรบาง

3. สาเหตุของความลาของตาเน่ืองจากการทํางานกับคอมพิวเตอรมีอะไรบาง แนวตอบ

1. ผลกระทบตอสุขภาพจากการทํางานกบัคอมพิวเตอร มีดังนี้ - ความผิดปกติของระบบกลามเนื้อและกระดูกโครงราง - ความลาของตา - ความเครียดทางจิตใจ - ผ่ืนแดงตามผิวหนัง

2. ความผิดปกติของระบบกลามเนื้อและกระดูกโครงรางจากการทํางานกับคอมพิวเตอร มีสาเหตุมาจาก

- การจัดสถานงีาน และการจดัวางวัสดุอุปกรณการทํางานท่ีไมเหมาะสม - การปฏิบัติงานโดยมีการเคล่ือนไหวสวนตาง ๆ ของรางกายอยางจํากดั หรือการทํางานในลักษณะซํ้า ๆ รวมถึงระยะเวลาในการทํางานท่ีตอเนื่องโดยไมหยุดพกั

Page 43: หน วยที่ 15 การประยุ กตการยศาสตร ํานัในสกงานและในโรงพยาบาล › UserFiles › File

43

- ปจจยัดานจิตสังคม ไดแก ปริมาณงาน ความเบื่อหนาย การขาดการดแูลเอาใจใสจากผูบังคับบัญชา ภาระรับผิดชอบตอครอบครัว ไมมีความพงึพอใจในงาน - ปจจยับุคคลไดแก อายุ ประวัตกิารเจ็บปวย ความแข็งแรง และความยดืหยุนของรางกาย

3. ความลาของตามีสาเหตุมาจาก

- คุณสมบัติของจอภาพท่ีไมดี เชน มีการกระพริบของจอภาพ จอภาพไมมีความคมชัด หรือมีแสงจาสะทอนอยูท่ีจอภาพ

- มุมในการมองจอภาพไมเหมาะสม เชน จอภาพอยูสูงเกินไป - การใชสายตามากในการเพงมองสวนตาง ๆ ไดแก จอภาพ แปนพิมพ และเอกสาร - ระยะในการมอง และระดับความสวางท่ีจอภาพ แปนพมิพ และเอกสาร ไมมีความ

สมํ่าเสมอกัน - ปญหาสายตาท่ีไมไดรับการแกไขท่ีด ี

เร่ืองท่ี 15.1.4 การประเมินสถานีงานและทาทางการทํางาน

เม่ือนักศึกษาไดทําความเขาใจถึงหลักการจดัส่ิงแวดลอมและความปลอดภัยในสํานกังาน รวมท้ังการจัดสถานีงานคอมพิวเตอรอยางเหมาะสมแลว ในเร่ืองนี้จะไดกลาวถึงการประเมินสถานีงานและทาทางการทํางาน เพื่อใหเกิดความม่ันใจไดวา สภาพการทํางานไมไดแยลงกวาตอนท่ีจัดสถานีงานตั้งแตแรกเร่ิม การประเมินสถานงีานควรทําควบคูไปกับการตรวจส่ิงแวดลอมในการทํางานดวย โดยหากเปนไปไดควรมีกําหนดการตรวจเช็คทุก ๆ 6 เดือน 1. การตรวจสิ่งแวดลอมในการทํางาน

1.1 แสงสวาง ควรตรวจวัดระดับแสงสวาง ใหเปนไปตาม กฎกระทรวงแรงงาน กําหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการดานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางานเกีย่วกบัความรอน แสงสวาง และเสียง พ.ศ. 2549 ตารางท่ี 3 มาตรฐานความเขมของแสงสวาง ณ ท่ีท่ีใหลูกจางคนใดคนหนึ่งทํางาน สําหรับงานในหองคอมพวิเตอร และหองธุรการภายในสํานักงาน กําหนดให

- งานบันทึกขอมูล มีคาความเขมของแสงสวางไมนอยกวา 600 ลักซ - บริเวณท่ีแสดงขอมูล (จอภาพและเครื่องพิมพ) มีคาไมนอยกวา 600 ลักซเชนกัน

Page 44: หน วยที่ 15 การประยุ กตการยศาสตร ํานัในสกงานและในโรงพยาบาล › UserFiles › File

44

- งานในหองธุรการ ไดแก งานพิมพดดี การเขียน การอาน และการจดัเกบ็เอกสารอ่ืน ๆ ท่ีเกี่ยวของ มีคาไมนอยกวา 400 ลักซ

1.2 เสียงดัง ควรตรวจวัดระดับเสียงดัง โดยกําหนดใหเสียงดังในสํานักงานไมควรเกนิ 55 – 65 dB(A)

1.3 อุณหภูมิหอง ควรตรวจดวูาอุณหภูมิอยูในชวง 23 – 26 องศาเซลเซียส และมีความสมํ่าเสมอกันภายในหองหรือไม

1.4 ความช้ืนสัมพัทธ ควรตรวจดวูาความช้ืนสัมพัทธอยูในชวงรอยละ 30 – 70 หรือไม 1.5 การระบายอากาศ ควรตรวจดูวามีฝุน หรือมลพิษปนเปอนอยูในอากาศหรือไม และหาก

เปนไปได ควรมีการตรวจวดัคุณภาพอากาศภายในอาคารดวย 2. การตรวจสถานีงานคอมพิวเตอร 2.1 จอภาพคอมพิวเตอร ควรตรวจดูวา มีแหลงแสงจาสะทอนอยูท่ีจอภาพหรือไม 2.2 ความสวางของจอภาพ ควรตรวจดวูา ความสวาง และ Contrast ของจอภาพอยูในระดับท่ีสบายตาของผูใชหรือไม 2.3 ระยะหางในการมอง ควรตรวจดูวา ระยะหางระหวางตากับจอภาพ แปนพิมพ และเอกสาร อยูในระยะท่ีเหมาะสม คือ ประมาณ 50 ซม. และอยูในระยะท่ีใกลเคียงกันหมดหรือไม 2.4 ความสูงของแปนพิมพ ควรตรวจดวูา เม่ือวางนิว้มือลงบนแถวกลางของแปนพิมพแลว ขอมืออยูในทาทางท่ีเปนธรรมชาติ และมุมศอกเปนมุมฉากหรือมากกวาเล็กนอยหรือไม 2.5 ความสูงของเกาอ้ี ควรตรวจดูวาความสูงของเกาอ้ีสงผลใหผูนั่งวางเทากบัพื้นไดโดยมีระดับความสูงของเกาอ้ีใกลเคียงกับระดับความสูงของเขาหรือไม นอกจากนี้ควรตรวจดดูวยวาทาทางการนั่งเปนธรรมชาติหรือไม 2.6 ความสูงของโตะ ควรตรวจดูวาความสูงของโตะอยูในระดับท่ีพอเหมาะ สงผลใหเทาสามารถเคล่ือนไหวไดสะดวกหรือไม ความกวางของโตะเพยีงพอตอการจัดวางเอกสารและอุปกรณท่ีจําเปนตอการใชงานหรือไม

นอกจากนี้ หากไดมีการสํารวจผลกระทบตอสุขภาพเนื่องจากการทํางานกับคอมพิวเตอร

โดยสอบถามความรูสึกหรือประวัติความเจ็บปวยจากผูปฏิบัติงาน เพื่อเปรียบเทียบกบัผลการสํารวจส่ิงแวดลอม สถานีงาน และทาทางการทํางาน ก็จะทําใหทราบถึงสาเหตุของผลกระทบตอสุขภาพนั้นไดในเบ้ืองตน ในท่ีนี้จึงไดใหตวัอยางแบบสํารวจสภาพการทํางานกบัคอมพิวเตอร เพื่อใหสะดวกตอการประเมินสถานงีาน ทาทางการทํางาน และผลกระทบตอสุขภาพท่ีอาจเกดิข้ึนได โดยผูประเมินสามารถนําไปปรับใชไดตามความเหมาะสม ท้ังนี้ คําตอบวา “ใช” ในแบบสํารวจขอใด

Page 45: หน วยที่ 15 การประยุ กตการยศาสตร ํานัในสกงานและในโรงพยาบาล › UserFiles › File

45

แบบสํารวจสภาพการทํางานกับคอมพิวเตอร

วันท่ีทําการสํารวจ..............................................

ช่ือหนวยงาน..................................................... 1. ขอมูลท่ัวไป

1.1 ช่ือ .............................................................. แผนกงาน ........................................................

1.2 อายุ ....................... ป 1.3 เพศ ( ) หญิง ( ) ชาย

1.4 ทานมีโรคหรือความผิดปกติเกีย่วกับตา หรือไม ( ) ไมมี ( ) มี โปรดเลือกตอบ ( ) สายตาส้ัน ( ) สายตายาว ( ) สายตาเอียง ( ) อ่ืน ๆ โปรดระบุ ........................................................

1.5 ทานมีโรคหรือความผิดปกติเกีย่วกับระบบกลามเนื้อและกระดูกโครงราง หรือไม ( ) ไมมี ( ) มี โปรดระบุ ............................................................................

1.6 ทานเคยไดรับการฝกอบรมใหความรูเกีย่วกับการปฏิบัติงานกับคอมพิวเตอรอยางเหมาะสมเพ่ือปองกันผลกระทบตอสุขภาพ หรือไม ( ) ไมเคย ( ) เคย

2. ขอมูลลักษณะงาน 2.1 ลักษณะงานของทานคือ ( ) งานปอนขอมูล ( ) งานบริการขอมูล ( ) งานเขียนโปรแกรม ( ) งานออกแบบ ( ) อ่ืน ๆ ระบุ .............................................................................

2.2 ทานทํางานอยูหนาจอคอมพิวเตอร โดยเฉล่ียสัปดาหละ ................วัน วันละ ............... ช่ัวโมง

2.3 โดยท่ัวไปทานทํางานอยางตอเนื่องอยูหนาจอคอมพวิเตอรโดยไมหยุดพัก เปนเวลา ( ) นอยกวา 1 ช่ัวโมง ( ) นอยกวา 1.5 ช่ัวโมง

Page 46: หน วยที่ 15 การประยุ กตการยศาสตร ํานัในสกงานและในโรงพยาบาล › UserFiles › File

46

( ) 1.5 – 2 ช่ัวโมง ( ) มากกวา 2 ช่ัวโมง

2.4 โดยท่ัวไปทานหยดุพักจากคอมพิวเตอรแตละคร้ังนาน ( ) นอยกวา 15 นาที ( ) 15 - 30 นาที ( ) มากกวา 30 นาที

2.5 ระหวางหยุดพกัจากคอมพิวเตอร ทานทํากิจกรรมอะไรบาง ( ) นั่งอยูท่ีเดมิ สลับไปทํางานอ่ืน ( ) ลุกจากท่ีนัง่ เพื่อเปล่ียนอิริยาบท ( ) อ่ืน ๆ ระบุ ......................................................................................................

3. สถานีงานคอมพิวเตอร (ใหกาเคร่ืองหมาย ในชอง “ใช” หรือ “ไมใช”)

สถานีงาน / ทาทางการทํางาน ใช ไมใช

สํารวจขอ 1 – 5 ขณะที่เกาอ้ีอยูหางออกจากแปนพิมพ ขณะนั่ง 1. เทาวางราบไดกับพืน้ หรือมีท่ีพักเทา

2. ท่ีรองนั่งไมมีมุมท่ีแข็ง กดทับท่ีขาออนดานหลังเขา 3. ความกวางและความลึกของท่ีนั่งมีขนาดพอเหมาะกับตัวทาน (ไมแคบ หรือลึกเกินไปทําใหพิงหลังไมได)

4. ขณะนั่งพิงหลัง มุมระหวางลําตัวกับขาออนเปนมุม 90 องศาหรือมากกวาเล็กนอย (ไมตองโนมตัวไปขางหนา)

5. พนักพิงหลังมีสวนโคงท่ีรองรับหลังสวนลางไดพอด ี สํารวจขอ 6 – 19 ขณะนั่งทํางานท่ีสถานีงานคอมพิวเตอร 6. ขาและเทามีพื้นท่ีมากพอ ทําใหลําตัวเขาใกลแปนพิมพ/เมาส ไดในทาทางท่ีเปนธรรมชาติ

7. โตะสูงพอท่ีจะไมทําใหขาออนติดอยูใตโตะ หรือถาดแปนพิมพ 8. แขนสวนบนไมยื่นไปขางหนา ขอศอกวางอยูใกลลําตัว ไมกางออก และไหลอยูในทาสบาย (ไมยกไหล)

9. แขนสวนลางขนานกับพืน้ หรือมุมขอศอกเปนมุม 90 องศาหรือมากกวาเล็กนอย

10. มือและขอมือเปนแนวตรง ไมกระดกข้ึน ลง หรือเบนออกดานขาง 11. ท่ีพักฝามือ ไมมีขอบแข็ง คม กดทับท่ีฝามือ 12. ไมมีการวางพักฝามือ ขอมือ หรือแขนสวนลางบนขอบท่ีแข็ง คม ขณะทํางาน

13. เมาสหรืออุปกรณนําเขาอ่ืนๆ วางอยูใกลกับแปนพิมพ เพื่อปองกันการ

Page 47: หน วยที่ 15 การประยุ กตการยศาสตร ํานัในสกงานและในโรงพยาบาล › UserFiles › File

47

14. ไมมีการบิดคอ ศีรษะ และลําตัว 15. ไมมีการกมคอ หรือเงยคอไปดานหลัง 16. จอภาพอยูในแนวตรงดานหนา ในกรณีท่ีตองอานเอกสารมากกวา เอกสารก็ควรอยูในแนวตรงดานหนา

17. ตาและจอภาพอยูในระยะท่ีไมทําใหตองโนมลําตัวหรือศีรษะไปขางหนา 18. ขอบบนของจอภาพอยูท่ีระดับสายตาหรือตํ่ากวา โดยไมทําใหตองกมหรือเงยคอ

19. เอกสารจัดวางไวท่ีระดับความสูง และระยะหางท่ีใกลเคียงกับจอภาพ 4. ส่ิงแวดลอมในการทํางาน (ใหกาเคร่ืองหมาย ในชอง “ใช” หรือ “ไมใช”)

ส่ิงแวดลอม / อุปกรณ ใช ไมใช

20. ความสวางของจอภาพอยูในระดับท่ีทําใหสบายตา 21. ระดับแสงสวางในพ้ืนท่ีทํางานไมจาหรือมืดเกินไป 22. ไมมีแสงจา (จากหนาตาง หรือหลอดไฟ) สะทอนอยูท่ีจอภาพจนทําใหยากตอการอาน

23. จอภาพ และแผนกรองแสงจา (ถามี) อยูในสภาพที่สะอาด 24. ไมมีแหลงของเสียงดังในบริเวณท่ีทํางานจนทําใหรูสึกรบกวนการทํางาน

5. ลักษณะการปฏิบตัิงาน

การปฏิบตัิงาน ใช ไมใช

25. มีกิจกรรมการทํางานท่ีหลากหลาย และสามารถหยุดพักไดขณะเปล่ียนไปทํากจิกรรมอ่ืนท่ีสถานีงานของตน

26. มีการปรับเปล่ียนทาทางการทํางานตลอดท้ังวันเพื่อบรรเทาปญหาการทํางานของกลามเนื้อแบบสถิต

27. วัสดุ อุปกรณท่ีใชบอยๆ จัดวางไวในระยะใกลเพื่อสะดวกในการใชงาน 28. มีการยืดเสนยืดสายขณะหยุดพัก 29. ไมมีการเอนลําตัว หรือวางแขนลงบนขอบท่ีคมและแข็งขณะทํางาน 30. ไมมีลักษณะการใชฝามือ ออกแรงกดหรือกระแทกบนวัสดุท่ีแข็ง

Page 48: หน วยที่ 15 การประยุ กตการยศาสตร ํานัในสกงานและในโรงพยาบาล › UserFiles › File

48

หมายเหตุ : คําตอบวา “ใช” ในแตละขอ แสดงวามีสภาพการทํางานท่ีเหมาะสม

6. อาการลาของตา ทานมีอาการตอไปนี้ขณะทํางาน หรือไม

ระดับความรุนแรง อาการ มากท่ีสุด มาก ปานกลาง นอย นอยท่ีสุด

1. แสบตา 2. ปวดตา 3. ระคายเคืองตา 4. คันตา 5. ตาแดง 6. น้ําตาไหล 7. ปวดศีรษะ 8. มองเห็นภาพไมชัด 9. มองเห็นภาพซอน 10. กระพริบตาบอย ๆ 11. หนังตากระตุก 7. อาการปวดเมื่อยกลามเนื้อตามสวนตางๆของรางกาย ทานมีอาการตอไปนี้ขณะทํางาน หรือไม

ระดับความรุนแรง อาการปวดเมือ่ยบริเวณ มากท่ีสุด มาก ปานกลาง นอย นอยท่ีสุด

1. คอ 2. ไหล 3. แขนสวนบน 4. ขอมือ 5. นิ้วมือ 6. หลังสวนบน 7. หลังสวนลาง 8. ขา 9. หัวเขา 10. เทา กิจกรรมท่ี 15.1.4

Page 49: หน วยที่ 15 การประยุ กตการยศาสตร ํานัในสกงานและในโรงพยาบาล › UserFiles › File

49

1. จงบอกถึงหลักการประเมินสถานีงานคอมพิวเตอรและทาทางการทํางาน มาพอสังเขป

2. การประเมินสถานีงานคอมพิวเตอรควรตรวจอะไรบาง แนวตอบ

1. การประเมินสถานีงานคอมพิวเตอรและทาทางการทํางาน ควรกระทําควบคูไปกบัการตรวจส่ิงแวดลอมในการทํางาน โดยหากเปนไปไดควรประเมินทุก ๆ 6 เดือน เพื่อใหเกิดความมัน่ใจไดวา สภาพการทํางานไมไดแยลงกวาตอนท่ีจัดสถานีงานตั้งแตแรกเร่ิม

2. ส่ิงท่ีควรตรวจ ขณะประเมินสถานีงานคอมพิวเตอรคือ 2.1 สถานีงาน

- จอภาพคอมพิวเตอร มีแสงจาสะทอนอยูหรือไม - ความสวางของจอภาพ มีความสวาง และ Contrast ท่ีพอเหมาะ และสบายตาหรือไม - ระยะหางในการมอง - ความสูงของแปนพิมพ - ความสูงของโตะ และเกาอ้ี 2.2 ทาทางในการทํางาน

2.3 อาการ หรือผลกระทบตอสุขภาพท่ีเกิดข้ึนจากการทํางาน

Page 50: หน วยที่ 15 การประยุ กตการยศาสตร ํานัในสกงานและในโรงพยาบาล › UserFiles › File

50

ตอนท่ี 15.2 การประยุกตการยศาสตรในโรงพยาบาล หัวเร่ือง

15.2.1 ปจจัยเส่ียงและทาทางการทํางานของบุคลากรในโรงพยาบาล 15.2.2 การดูแลและเคล่ือนยายผูปวยอยางปลอดภัย 15.2.3 การยศาสตรในแผนกซักฟอก 15.2.4 การยศาสตรในโรงครัว

แนวคิด 1. การทํางานในโรงพยาบาลมีโอกาสสัมผัสส่ิงคุกคามสุขภาพอนามยัหลายชนิด ไมวาจะเปนส่ิงแวดลอมทางกายภาพ เคมี ชีวภาพ และการยศาสตรซ่ึงไดแก การทํางานเปนกะ การยกเคล่ือนยายผูปวย ทาทางการทํางานท่ีไมเหมาะสม การยนืทํางานเปนเวลานานๆ และความเครียดจากการทํางาน หากบุคลากรในโรงพยาบาลมีความเขาใจในปจจัยเส่ียงตาง ๆ เหลานี้แลว ก็จะสามารถหาแนวทางการปองกันควบคุมไดอยางเหมาะสม นับเปนการลดความเส่ียงตอการเกิดโรคและการบาดเจบ็จากการทํางานในโรงพยาบาลได

2. การดูแลและการเคล่ือนยายผูปวย เปนกจิกรรมการทํางานของบุคลากรในโรงพยาบาลท่ีสงผลใหเกิดปญหาโรคระบบกลามเนื้อและกระดูกโครงรางคอนขางสูง การทําความเขาใจในเร่ืองหลักการดแูลผูปวย รวมท้ังการเคลื่อนยายผูปวยอยางเหมาะสม ก็จะชวยลดความสูญเสียและคาใชจายท่ีเกิดจากปญหาดังกลาวไดมาก

3. แผนกซักฟอกในโรงพยาบาล เปนแผนกงานท่ีมีปญหาการยศาสตรคอนขางมาก ไมวาจะเปนการเข็นรถรับผา การยกของหนกั การนั่งพับผาช้ินใหญ ๆ จํานวนมาก นอกจากนี้กย็ังมีปญหาเร่ืองส่ิงแวดลอมในการทํางาน และอุบัติเหตุจากการถูกเข็มตํา หรือของมีคมบาด ขณะคัดแยกผาดวย การประยุกตหลักการยศาสตรในแผนกซักฟอกจึงมีความสําคัญอยางยิ่งในการลดการเจ็บปวย และการบาดเจ็บของพนักงานในโรงพยาบาลได

4. โรงครัวในโรงพยาบาลเปรียบเสมือนเปนโรงงานอุตสาหกรรมการผลิตแหงหนึ่งที่มีปญหาการยศาสตรคอนขางหลากหลาย ท้ังการยกของหนัก การเข็นรถสงอาหาร การยืนเปนเวลานาน การใชมือ ไหล แขนทํางานหนักในการปรุงประกอบอาหารปริมาณมาก ๆ นอกจากนี้กย็ังมีปญหาเร่ืองส่ิงแวดลอมในการทํางาน และโอกาสเกิดอุบัติเหตุจากการทํางานดวย การประยุกตหลักการยศาสตรในโรงครัวจึงมีความสําคัญอยางยิ่งในการลดการเจ็บปวย และการบาดเจ็บของพนักงานในโรงพยาบาลได

Page 51: หน วยที่ 15 การประยุ กตการยศาสตร ํานัในสกงานและในโรงพยาบาล › UserFiles › File

51

วัตถุประสงค เม่ือศึกษาตอนที่ 15.2 จบแลว นักศึกษาสามารถ 1. อธิบายปจจยัเส่ียงและทาทางการทํางานของบุคลากรในโรงพยาบาลท่ีสงผลเสียตอสุขภาพและความปลอดภยัได 2. อธิบายหลักการดูแลและเคล่ือนยายผูปวยอยางปลอดภยัได

3. อธิบายการประยุกตการยศาสตรในแผนกซักฟอกได 4. อธิบายการประยุกตการยศาสตรในโรงครัวได

Page 52: หน วยที่ 15 การประยุ กตการยศาสตร ํานัในสกงานและในโรงพยาบาล › UserFiles › File

52

เร่ืองท่ี 15.2.1 ปจจัยเส่ียงและทาทางการทํางานของบุคลากรในโรงพยาบาล

การทํางานในโรงพยาบาลเปรียบเสมือนการทํางานในโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ ท่ีมีแผนกงานตาง ๆ ท่ีหลากหลาย หนวยงานหลักในโรงพยาบาลมีหนาท่ีใหการรักษาพยาบาล เชน หองฉุกเฉิน หอผูปวย หองผาตัด หองคลอด ในขณะท่ีหนวยงานสนับสนุนมีหนาท่ีเสริมใหหนวยงานหลักดําเนนิการไปไดอยางมีประสิทธิภาพ เชน แผนกซักฟอก โรงครัว หนวยจายกลาง แผนกซอมบํารุง บุคลากรในโรงพยาบาลจึงมีโอกาสสัมผัสกับส่ิงคุกคามตอสุขภาพอนามัย หรืออันตรายจากส่ิงแวดลอมในการทํางานหลายอยาง เนื่องจากแผนกงานตางๆ ก็มีบทบาทหนาท่ีรับผิดชอบ สภาพแวดลอมในการทํางาน และลักษณะงานท่ีแตกตางกนัไป

หากจะแบงกลุมปจจัยเส่ียงท่ีเกิดข้ึนไดกับบุคลากรในโรงพยาบาล ก็สามารถแบงออกได ตามกลุมของส่ิงคุกคามสุขภาพอนามยั 4 กลุมดังนี ้

1. ส่ิงคุกคามดานกายภาพ ไดแก - เสียงดัง พบในโรงซักรีด โรงครัว หองปฏิบัติการ แผนกวิศวกรรม เปนตน - แสงสวางไมเพียงพอ - ความรอน พบในโรงซักรีด โรงครัว หองติดตั้งหมอไอน้ํา - ความเย็น - ความส่ันสะเทือน - รังสีท่ีไมแตกตัว (Non-ionized radiation) ไดแก รังสีเหนือมวง พบในบริเวณท่ีมีการใช

หลอดไฟฆาเช้ือโรค การรักษาโรคผิวหนัง รังสีใตแดง พบในการใชอุปกรณไฟฟา ตูเพาะเช้ือ (Incubator)

- รังสีท่ีกอใหเกิดการแตกตัว (Ionized radiation) ไดแก รังสีเอ็กซ รังสีแกมมาท่ีใชในการบําบัดรักษาผูปวยมะเร็ง

- อุบัติเหตุจากการทํางาน ไดแก การล่ืนและหกลม การถูกบาด ตําจากวตัถุแหลมคม เชน เข็มฉีดยา ใบมีด เศษแกวแตก การถูกไฟฟาดูด การระเบิดและการรัว่ไหลของสารเคมีซ่ึงเกิดจากการเคล่ือนยายสารเคมี หรือถังอัดบรรจุกาซภายใตความดัน (Compressed gas) พบไดใน หนวยจายกลางท่ีมีการใชกาซเอทธิลีนออกไซด หองผาตัดท่ีมีการใชกาซดมยา หองผูปวยฉุกเฉินท่ีมีการใชกาซออกซิเจน แผนกซอมบํารุงท่ีมีการใชกาซอะเซทธิลีน เปนตน

2. ส่ิงคุกคามดานชีวภาพ ไดแก เช้ือโรคตาง ๆ เชน - วณัโรค พบไดใน หองผูปวยในซ่ึงเกิดจากการหายใจเอาเช้ือจากผูปวยโดยตรงขณะไอ

โรงซักรีดซ่ึงเกิดจากการหายใจเอาเช้ือท่ีตดิอยูกับเส้ือผา ผาปูท่ีนอนของผูปวย

Page 53: หน วยที่ 15 การประยุ กตการยศาสตร ํานัในสกงานและในโรงพยาบาล › UserFiles › File

53

- เอ็ชไอวี (HIV) พบไดเกือบทุกจุดของการทํางานท่ีมีผูปวยดวยโรคนี้ เชน หองผาตัด หนวยจายกลาง หองผูปวยฉุกเฉิน ผูปวยอบัุติเหตุ หอพักผูปวย หองปฏิบัติการ โรงซักรีด เปนตน หากผูปฏิบัติงานมีแผลทิ่ม ตํา ก็มีโอกาสติดเช้ือนี้ได

- ไวรัสตับอักเสบ (Hepatitis) เชนเดยีวกับเอ็ชไอวี เพราะเปนโรคท่ีสามารถติดตอไดทางเลือด (Blood - borne disease)

เช้ือโรคเหลานี้สวนหนึ่งมีแหลงมาจากผูปวยดวยโรคติดเช้ือท่ีมารับบริการของโรงพยาบาล หากโรงพยาบาลไมไดวางระบบการปองกนัควบคุมเช้ือโรคท่ีดีพอ หรือผูปฏิบัติงานขาดความระมัดระวัง กอ็าจมีโอกาสรับเช้ือจากผูปวย และแพรกระจายไปยังบุคคลอ่ืน เพื่อนรวมงาน และครอบครัวได

3. ส่ิงคุกคามดานเคมี ไดแก สารเคมีท่ีใชในการฆาทําลายเช้ือโรค หรือใชในการรักษา เชน - น้ํายาฆาเช้ือโรค เชน โซเดียมไฮโปคลอไรด เปนสารประกอบท่ีมีคลอรีน นิยมใชในการ

ทําความสะอาดเคร่ืองสุขภัณฑ พื้น หองน้ํา หองสวม - กรด ดาง - เอทธิลีนออกไซด เปนกาซท่ีใชในตูอบฆาเช้ือโรคในอุปกรณเคร่ืองมือแพทย - ฟอรมัลดีไฮด เปนสารเคมีท่ีมีคุณสมบัติฆาเช้ือโรค แตมีคุณสมบัติกดักรอนอยางรุนแรง

และเปนสารกอมะเร็งในคนที่สัมผัส - กลูตาอัลดีไฮด เปนสารเคมีท่ีนํามาใชแทนฟอรมัลดีไฮด ใหผลดีในการทําใหเคร่ืองมือ

ปราศจากเช้ือโดยไมตองใชความรอน จึงเรียกเปน Cold sterilization - ไนตรัสออกไซด ท่ีใชสําหรับเปนกาซดมยาสลบ - ยาตานมะเร็ง ฯลฯ

4. ส่ิงคุกคามดานการยศาสตร ไดแก การทํางานเปนกะหรือการเขาเวรของบุคลากรในโรงพยาบาล การดูแลและการยกเคล่ือนยายผูปวย การทํางานท่ีตองใชแรงกาย ทาทางการทํางานท่ีไมเหมาะสม การยืนทํางานเปนเวลานานๆ และความเครียดจากการทํางาน ซ่ึงงานในโรงพยาบาลมีปจจัยเหตุท่ีกอใหเกดิความเครียดไดมากมายหลากหลาย โดยเฉพาะอยางยิ่ง งานท่ีตองเก่ียวของกับชีวิตของผูปวย รวมไปถึงความกดดันหรือความคาดหวังจากผูปวยและญาติผูปวย

ปญหาความเครียดจากการทํางานในโรงพยาบาล พบไดใน หนวยดแูลผูปวยพิเศษ หนวยอุบัติเหตุ แผลไหมพอง หองฉุกเฉิน หองผาตัด สาเหตุสวนใหญเกิดจาก ความทุกขทรมานของผูปวย ความผิดปกติทางจิตของผูปวย การไมไดรับความรวมมือจากผูปวย ความกดดนัจากญาติผูปวย ความขัดแยงระหวางผูรวมงาน การทํางานกะ การขาดแคลนเจาหนาท่ี รวมไปถึงการขาดการตอบแทนรางวลั หรือส่ิงจูงใจใหกับผูปฏิบัติงาน

Page 54: หน วยที่ 15 การประยุ กตการยศาสตร ํานัในสกงานและในโรงพยาบาล › UserFiles › File

54

18บุคลากรทางการพยาบาล เปนวิชาชีพท่ีพบปญหาโรคระบบกลามเนื้อและกระดูกโครงรางท่ีสูงเม่ือเทียบกับบุคลากรอ่ืน ๆ ทางการแพทยในโรงพยาบาล เพราะมีการทํางานท่ีหลากหลาย เกี่ยวของกับการใชแรง และทาทางการทํางานท่ีไมเหมาะสม สวนของรางกายท่ีพบปญหาโรคระบบกลามเนื้อและกระดูกโครงรางสูงเปนอันดบัหนึ่งคือ สวนหลัง และสวนอ่ืน ๆ ท่ีรองลงมาคือ สวนไหล คอ และแขน จากขอมูลรายงานทรัพยากรสาธารณสุขในประเทศไทย ในปพ.ศ. 2543 พบวามีจํานวนพยาบาลวิชาชีพและพยาบาลเทคนคิรวมถึง 100,443 คน (ธเนศ 2547)

จากการศึกษาการประเมินความเส่ียงดานการยศาสตรของโรงพยาบาลแลงเลย เมโมเรียล (Langley Memorial Hospital) ประเทศแคนาดา พบวา ปญหาระบบกลามเนื้อและกระดูกโครงรางมีอัตราสูงถึงรอยละ 55 ของการบาดเจ็บท้ังหมดในกลุมบุคลากรของโรงพยาบาล สาเหตุท่ีพบบอยท่ีสุดคือ การเคล่ือนยายผูปวย (รอยละ 25) การใชหรือเคล่ือนยายอุปกรณเคร่ืองมือ (รอยละ 15) และการจัดทาใหผูปวย (รอยละ 12) ท้ังนี้ ตําแหนงของรางกายท่ีประสบปญหาบอย ไดแก สวนหลัง (รอยละ 32) สวนไหลหรือตนคอ (รอยละ 26) วิชาชีพท่ีเกิดอาการบอยท่ีสุดคือ ผูชวยพยาบาล (รอยละ 35) รองลงมาคือพยาบาลวิชาชีพ (รอยละ 15) มีการยื่นขอรับเงินทดแทนท่ีเกี่ยวกับโรคระบบกลามเนื้อและกระดูกโครงรางจากคณะกรรมการกองทุนเงินทดแทน (Worker’s Compensation Board of British Columbia (Canada)) สูงถึงรอยละ 89 ของการยื่นขอรับเงินทดแทนท้ังหมดในป 2000 และเชนเดียวกับท่ีไดกลาวมาแลว บุคลากรทางการพยาบาล เปนวิชาชีพท่ีเกิดปญหาระบบกลามเนื้อและกระดูกโครงรางสูงท่ีสุดในโรงพยาบาล

การศึกษาในบุคลากรทางการพยาบาลถึงความชุกและปจจัยเส่ียงตาง ๆ ตอการเกิดอาการทางระบบกลามเนื้อและกระดูกโครงรางท่ีผานมา พบวามีความชุกของการเกิดอาการทางระบบกลามเนื้อและกระดูกโครงรางท่ีสวนหลังประมาณรอยละ 40 – 60 ท่ีสวนไหลหรือตนคอประมาณรอยละ 30 – 40 (อางอิงใน ธเนศ 2547)

Hignett (1996) ไดทําการศึกษาทาทางการทํางานท่ีเส่ียงตอการเกิดปญหาระบบกลามเน้ือและกระดูกโครงราง โดยใชเทคนิคการวิเคราะหงานดวยวิธี Ovako Working Posture Analysis System (OWAS) และพบวา การดูแลเคล่ือนยายผูปวยมีจํานวนทาทางการทํางานท่ีเส่ียงตอการเกดิอันตรายมากกวางานท่ีไมเกี่ยวของกับการดแูลเคล่ือนยายผูปวยอยางมีนยัสําคัญทางสถิติ ตารางท่ี 15.4 แสดงใหเห็นถึงความแตกตางของลักษณะงานท่ีไมเกี่ยวของกับการดูแลเคล่ือนยายผูปวยและงานดูแลเคล่ือนยายผูปวย

Page 55: หน วยที่ 15 การประยุ กตการยศาสตร ํานัในสกงานและในโรงพยาบาล › UserFiles › File

55

ตารางท่ี 15.4 แสดงงานการพยาบาล (Nursing work) จากการศึกษาของ Hignett S.

งานท่ีไมเก่ียวของกับการดูแลเคล่ือนยายผูปวย งานดูแลเคล่ือนยายผูปวย การจัดเตรียมพื้นท่ี และอาหาร การเคล่ือนยายผูปวย และเกาอ้ี การเก็บรวบรวมอุปกรณเคร่ืองมือ การลางตัวผูปวยในอางอาบนํ้า การเคล่ือนยายเฟอรนิเจอร การจัดทาใหผูปวย การเตรียมเส้ือผา / การจัดเตียง การกล้ิง หมุนตัวผูปวย การทํางานโดยใชอุปกรณเคร่ืองมือ การสงผูปวยดวยพยาบาล 1 หรือ 2 คน งานธุรการ การแตงตัว / การทําความสะอาดรางกาย

นอกจากนี้ Professor Alan Hedge จากมหาวิทยาลัยคอรเนลล (Cornell University) ได

กลาวถึง การยศาสตรท่ีดี วาเปนผลมาจากการออกแบบท่ีดี ดังนั้นการเลือกเคร่ืองมือหรืออุปกรณการทํางานที่ดี ยอมเปนส่ิงท่ีงายกวาการปรับปรุงอุปกรณท่ีเลือกมาผิด นอกจากนี้ ยังไดกลาวถึงความสําคัญของการยศาสตรในโรงพยาบาลไวหลายประเด็นท่ีนาสนใจ โดยเฉพาะอยางยิ่งในสภาพการทํางานที่มีความกดดันสูง การยศาสตรในโรงพยาบาลก็ยิ่งมีความสําคัญมากข้ึนตามไปดวย โรงพยาบาลแตละแหงจึงมีความจําเปนท่ีจะตองจัดทําแผนงานดานการยศาสตร จัดสรรทรัพยากรที่จําเปน รวมท้ังฝกอบรมบุคลากรใหมีความรู ความเขาใจที่ดีพอ เพื่อใหเกิดกระบวนการมีสวนรวมในการดําเนินงาน สงผลตอความสบายในการทํางานและสุขภาพท่ีดีของบุคลากรทุกคนในองคกร

ตอไปนี้ เปนการยกตัวอยางปญหาการยศาสตรท่ีพบไดบอยในลักษณะงานตาง ๆ ในโรงพยาบาล ซ่ึงในท่ีนี้จะขอกลาวเพยีงบางสวนเทานัน้

1. งานทันตกรรม เปนงานท่ีพบปญหาการยศาสตรคอนขางมาก ในเร่ืองทาทางการทํางานของทันตแพทย ซ่ึงตองนั่งอยูกับท่ีเปนเวลานานในลักษณะโกงโคงหลังเพื่อโนมตัวเขาหาผูปวย และกางแขนออกจากลําตัว มีการออกแรงมือในการใชเคร่ืองมือขนาดเล็กอยางตอเนือ่งเปนเวลานาน เชน การขูดหินปนู การเคล่ือนไหวรางกายของทันตแพทยก็ถูกจํากัดดวยลักษณะงาน แสดงดังภาพท่ี 15.28 (http://www.dentalmicroscopy.com/faq.htm) ท้ังนี้ Stefan M. Luger ในเอกสาร Specialized training on Seiler, Zeiss, and Global Dental Microscopesไดแนะนําวา หลังจากท่ีมีการใชกลองจุลทัศนสองขณะทํางาน ดังภาพท่ี 15.29 พบวา ทันตแพทยมีลักษณะทาทางการทํางานที่ผอนคลายข้ึนมาก กลาวคือ นั่งหลังตรง ซ่ึงชวยปองกันปญหาท่ีหลังและคอได แขนแนบอยูใกลลําตัว นอกจากนี้ ผูชวยทันตแพทยก็ยังสามารถชวยงานทันตแพทยไดโดยมองท่ีจอมอนิเตอรท่ีติดต้ังไว (แผนส่ีเหล่ียมสีเงินท่ีเห็นในภาพ) ก็จะเห็นการทํางานของทันตแพทยไดเชนเดยีวกับท่ีทันตแพทยเหน็ ทําใหเขาใจความตองการของทันตแพทยไดตลอดเวลาการทํางาน

Page 56: หน วยที่ 15 การประยุ กตการยศาสตร ํานัในสกงานและในโรงพยาบาล › UserFiles › File

56

ภาพท่ี 15.28 ลักษณะทาทางการทํางานของทันตแพทยโดยท่ัวไป

ภาพท่ี 15.29 ลักษณะทาทางการทํางานของทันตแพทยเม่ือมีการใชกลองจุลทัศนชวยในการทํางาน

2. งานเคล่ือนยายวัสดุ ตวัอยางการเคล่ือนยายวัสดุในโรงพยาบาลอยางไมเหมาะสม ไดแก การลากดึงถังแกสและการเข็นรถเข็นในขณะเดียวกนั (ภาพท่ี 15.30 : ซาย) รวมท้ังการถือหรือหิ้วของหนักโดยไมมีการใชรถเข็นชวยขนยายอยางเหมาะสม (ภาพท่ี 15.30 : ขวา)

http://ergo.human.cornell.edu/conferences

Page 57: หน วยที่ 15 การประยุ กตการยศาสตร ํานัในสกงานและในโรงพยาบาล › UserFiles › File

57

ภาพท่ี 15.30 การลากดึงถังแกสและการเข็นรถเข็นอยางไมเหมาะสม (ซาย) และการถือหรือหิ้วของหนักโดยไมมีการใชรถเข็นชวยขนยาย

ในโรงพยาบาลมีการใชรถเข็น (Push cart) คอนขางมาก รถเข็นท่ีมีน้ําหนักมากยอมมี

โอกาสเกิดการบาดเจ็บไดมากตามไปดวย โดยเฉพาะอยางยิ่งหากลอของรถเข็นเส่ือมสภาพ หรือออกแบบมาไมดีพอ ก็สงผลใหการเคล่ือนยายเปนไปไดยากลําบาก ส่ิงท่ีควรหลีกเล่ียงก็คือ กรณีรถเข็นถาดอาหาร ควรหลีกเล่ียงการจัดวางถาดอาหารในระดับท่ีต่ําเกนิไป (ภาพที่ 15.31 : ซาย) และในกรณีรถเข็นผาปูท่ีนอนก็ไมควรจดักองผาไวสูงเกินไป (ภาพท่ี 15.31 : ขวา) สงผลใหบดบังการมองเห็นทางเดิน และยังทําใหการบังคับรถเข็นเปนไปไดยากลําบากอีกดวย

http://ergo.human.cornell.edu/conferences

ภาพท่ี 15.31 การจัดวางถาดอาหารในระดับท่ีต่ําเกินไป (ซาย) และ การจดักองผาปูท่ีนอนในรถเข็นไวสูงเกนิไป (ขวา)

3. งานสองกลองจุลทัศน พนักงานท่ีทํางานสองกลองจุลทัศน มีการรองบนกันมากถึง

ปญหาปวดเม่ือยตามสวนตาง ๆ ของรางกาย และปญหาสายตา โดย Emanuel and Glonek (1976) ไดรายงานไววา รอยละ 80 ของพนักงานสองกลองจุลทัศนในบริษัทใหญแหงหนึ่งในประเทศสหรัฐอเมริกา มีปญหาเกี่ยวกบัอาการปวดศีรษะ ปวดคอ และความลาของตา และรอยละ 75 มีปญหาปวดหลัง หรือไหล สวน Krueger และคณะ (1989) ไดทําการสัมภาษณพนกังานสองกลองจุลทัศนเชนกนั พบวา รอยละ 50 บนถึงปญหาปวดคอเปนประจําทุกวัน และรอยละ 63 มีปญหาปวดหลังสวนบน

จากภาพท่ี 15.32 จะเห็นไดวา นอกจากพนักงานสองกลองจุลทัศนจะมีปญหาตาลา และปวดคอ ไหล และหลังดังท่ีไดกลาวมาแลว ปญหาท่ีอาจพบไดอีกก็คือ การนั่งบนสถานีงานท่ีระดับความสูงของหนาโตะท่ีต่ําเกนิไป หรือหองพักเทามีท่ีวางไมเพียงพอ สงผลใหเทาไมสามารถวางอยูบนพื้น และเคล่ือนไหวไปมาไดอยางสะดวก หลังสวนลางไมสามารถพิงพนักพิงได มือและขอศอกตองงออยูตลอดเวลาโดยไมมีท่ีพักแขน

Page 58: หน วยที่ 15 การประยุ กตการยศาสตร ํานัในสกงานและในโรงพยาบาล › UserFiles › File

58

http://ergo.human.cornell.edu/conferences

ภาพท่ี 15.32 สถานีงานสองกลองจุลทัศนท่ีไมมีหองพักเทาอยางเหมาะสม และไมมีท่ีพักแขน

ขอแนะนําสําหรับการปรับปรุงสภาพการทํางานสองกลองจุลทัศน อาจทําไดโดยติดต้ังท่ีวางพักมือ (Arm support pads) ดังภาพท่ี 15.33 ซ่ึงสงผลใหมือและขอมืออยูในทาทางท่ีเปนธรรมชาติและสบายมากข้ึน เปนการลดปญหาการกดทับมือและขอศอกลงบนพื้นท่ีแข็งดวย อีกท้ังยังเปนการชวยลดความลา และอาการปวดเม่ือยบริเวณคอและหลัง เนื่องจากท่ีวางพักมอืชวยพยุงใหหลังต้ังตรง และสามารถพิงหนักพิงได

http://ergo.human.cornell.edu/conferences

ภาพท่ี 15.33 ท่ีวางพักมือสําหรับงานสองกลองจุลทัศนท่ีชวยใหทาทางการทํางานเปนธรรมชาติมากข้ึน

4. งานควบคุมเคร่ืองฉายรังสีเอ็กซขามศีรษะ (Overhead X-ray) ปญหาการยศาสตรจะ

เกิดข้ึนไดนั้น นอกจากสาเหตุท่ีเกิดจากการออกแบบอุปกรณ เคร่ืองมือแลว ยังข้ึนอยูกับขนาดรางกายของพนักงานท่ีควบคุมเคร่ืองมือ รวมไปถึงเทคนคิวิธีการท่ีใชควบคุมเคร่ืองมือนั้นดวย จากภาพท่ี 15.34 จะเหน็ไดวา พนักงานตองเอ้ือมมือในระดับสูง สงผลใหเกิดการบาดเจบ็ของกลามเนื้อแขน และไหลได ดังนัน้วิธีการแกไขอาจทําไดโดยการสอนเทคนิควิธีการควบคุมเครื่องมืออยาง

Page 59: หน วยที่ 15 การประยุ กตการยศาสตร ํานัในสกงานและในโรงพยาบาล › UserFiles › File

59

http://ergo.human.cornell.edu/conferences

ภาพท่ี 15.34 พนักงานตองเอ้ือมมือในระดับสูงเพื่อควบคุมเคร่ืองฉายรังสีเอ็กซขามศีรษะ 5. งานเปล่ียนถุงน้ําเกลือ (Changing IV bags) เปนงานท่ีตองทําซํ้าหลาย ๆ คร้ังตอวัน

สําหรับคนไขทุกคน แสดงดงัภาพ 15.35 จดัเปนงานท่ีมีปญหาการยศาสตรเชนเดียวกับงานควบคุมเคร่ืองฉายรังสีเอ็กซขามศีรษะ เพราะเปนงานท่ีตองเอ้ือมในระดับสูงเหนือศีรษะ แนวทางการแกไขคือ การใชขาต้ังสําหรับแขวนถุงน้ําเกลือท่ีสามารถปรับระดับความสูงได โดยควรจะตองสามารถปรับระดับไดอยางงายและรวดเร็ว

http://ergo.human.cornell.edu/conferences

ภาพท่ี 15.35 การเปล่ียนถุงน้าํเกลือในลักษณะทาทางท่ีตองเอ้ือมมือในระดับสูงเหนือศีรษะ 6. งานจัดเตยีง เปนลักษณะงานท่ีตองอาศัยการโกงโคง และเอ้ียวตัวทํางานตลอดเวลา ดัง

ภาพท่ี 15.36 แมวาเตียงคนไขสวนใหญจะสามารถปรับระดับใหสูงข้ึนไดถึงระดับสะโพก แตปุมควบคุมหรืออุปกรณสําหรับปรับระดับ มักอยูในระดับตํ่า อยางไรก็ตาม ขณะทําการจดัเตียง ควรปรับระดับความสูงของเตียงใหอยูในระดับสูง เพื่อหลีกเล่ียงทาทางท่ีไมเหมาะสมดังกลาว

Page 60: หน วยที่ 15 การประยุ กตการยศาสตร ํานัในสกงานและในโรงพยาบาล › UserFiles › File

60

http://ergo.human.cornell.edu/conferences

ภาพท่ี 15.36 งานจัดเตยีงท่ีสงผลใหลักษณะทาทางการทํางานตองโกงโคงและเอ้ียวตัว 7. งานทําความสะอาด เปนอีกงานหนึ่งในโรงพยาบาลท่ีสงผลใหทาทางการทํางานของ

พนักงานไมเปนธรรมชาติ เชน มีการกมหลัง บิดเอว กางแขน หรือบิดขอมือตลอดเวลาการทํางาน แนวทางการแกไขก็คือ ปรับปรุงอุปกรณเคร่ืองมือใหมีความสะดวกตอการใชงานมากข้ึน และสงผลตอทาทางการทํางานท่ีดี แสดงดังภาพท่ี 15.37 รวมท้ังสอนวิธีการทํางานดวยเทคนิคท่ีเหมาะสมใหกบัพนักงานทําความสะอาด

http://ergo.human.cornell.edu/conferences

ภาพท่ี 15.37 การใชอุปกรณเคร่ืองมือทําความสะอาดท่ีออกแบบมาใหสะดวกตอการใชงานมากข้ึน

จากตัวอยางปญหาการยศาสตรในโรงพยาบาลท่ีไดกลาวมานี้ จะเห็นไดวา หากมีการประยุกตหลักการยศาสตรมาใชในโรงพยาบาล ก็จะเกิดประโยชนข้ึนไดท้ังกับเจาหนาท่ีหรือบุคลากรของโรงพยาบาล รวมไปถึงผูปวยหรือผูมารับบริการ ไดดังนีคื้อ - เพิ่มความพึงพอใจของผูปวยและผูรับบริการ - ลดปญหาความผิดปกติของระบบกลามเนือ้และกระดูกโครงรางเนื่องจากการทํางาน - ลดคาใชจายของโรงพยาบาล - ลดการลา ขาดงานของเจาหนาท่ีโรงพยาบาล - เพิ่มประสิทธิภาพในการทํางานของเจาหนาท่ี - เพิ่มความพึงพอใจในการทํางานของเจาหนาท่ี - เพิ่มเวลาในการดูแลผูปวยไดมากข้ึน

Page 61: หน วยที่ 15 การประยุ กตการยศาสตร ํานัในสกงานและในโรงพยาบาล › UserFiles › File

61

กิจกรรมท่ี 15.2.1

1. ปจจัยเส่ียงตอสุขภาพท่ีเกิดข้ึนไดกับบุคลากรท่ีทํางานอยูในโรงพยาบาล มีอะไรบาง 2. ปจจัยเส่ียงดานการยศาสตรในโรงพยาบาล มีอะไรบาง

แนวตอบ 1. ปจจัยเส่ียงตอสุขภาพท่ีเกิดข้ึนไดในโรงพยาบาล ไดแก ส่ิงคุกคามทางกายภาพ ทางเคมี ทางชีวภาพ และทางการยศาสตร 2. ปจจัยเส่ียงดานการยศาสตร ไดแก การทํางานเปนกะหรือการเขาเวรของบุคลากร การยกเคล่ือนยายวัสดุซ่ึงรวมความถึงการเคล่ือนยายผูปวยดวย การทํางานท่ีตองใชแรงกาย ทาทางการทํางานท่ีไมเหมาะสม การยนืทํางานเปนเวลานานๆ ความเครียดจากการทํางาน

Page 62: หน วยที่ 15 การประยุ กตการยศาสตร ํานัในสกงานและในโรงพยาบาล › UserFiles › File

62

เร่ืองท่ี 15.2.2 การดูแลและเคล่ือนยายผูปวยอยางปลอดภยั

การสํารวจอาการปวดหลังท่ีเกิดจากการปฏิบัติวิชาชีพของพยาบาล เทาท่ีสืบคนได เปนการริเร่ิมโดยอาจารยอุษาพรและคณะ (2539) ซ่ึงพบวารอยละ 89.2 ของพยาบาลที่ทําการสํารวจมีปญหาปวดเม่ือยระบบกลามเนื้อและกระดูกโครงรางในชวง 6 เดือนท่ีผานมา สวนของรางกายท่ีมีปญหาสูงท่ีสุดคือ หลังสวนลางซ่ึงพบถึงรอยละ 64.5 ท้ังนี้ กิจกรรมท่ีพยาบาลปฏิบัติในการดูแลผูปวยในแตละวนับอยท่ีสุด 3 อันดับแรกคือ การพยุงผูปวยลุกจากเตียง การยกผูปวยในเตียง และการยกผูปวยจากเตียงหนึ่งไปยังอีกเตียงหนึ่ง และพบวาท้ัง 3 กจิกรรมนี้ลวนเปนสาเหตุท่ีทําใหเกิดอาการปวดหลังมากท่ีสุดดวย จากรายงาน Health Hazard Evaluation Report No. 95-0403 ป 1997 ของ NIOSH ซ่ึงดําเนินการศึกษาปญหาการยศาสตรในโรงพยาบาลของ University of Cincinnati โดยทําการสัมภาษณ และวิเคราะหงาน เพื่อหาปจจยัเส่ียงท่ีเกิดกับรางกายสวนบน (Upper extremity) และรางกายสวนลาง (Lower extremity) ของพนักงาน ผลการวิเคราะหงานในกลุมคนงานแผนกขนสง เคล่ือนยาย ของโรงพยาบาลดังกลาว พบวา เวลาท่ีใชในการทํางานสวนใหญคือ รอยละ 60 เปนงานเคล่ือนยายผูปวย แสดงดังตารางท่ี 15.5 (http://www.cdc.gov/niosh/hhe/reports)

ตารางท่ี 15.5 ปจจัยเส่ียงจําแนกตามงานขนสง เคล่ือนยาย ท่ีทําในโรงพยาบาล และเวลาท่ีใช งานท่ีทํา ปจจัยเส่ียง

รางกายสวนบน ปจจัยเส่ียง รางกายสวนลาง

% เวลาท่ีทํา

เคล่ือนยายผูปวย ทาทาง / การออกแรง การยก (Lifting) 60 ขนสง เคล่ือนยายวัสด ุ การออกแรงมือ การหิ้ว ถือ (Carrying) 25 จัดวางอุปกรณ ไมมี ไมมี 15

นอกจากนี้ รายงานฉบับดังกลาว ยังสรุปผลการวิเคราะหงานในแผนกใหบริการดูแลผูปวยดวย ซ่ึงประกอบดวยงานดแูลความสะอาด งานเคล่ือนยายผูปวย และงานแจกจายถาดอาหาร ซ่ึงพบวาเวลาท่ีใชในการทํางานแผนกนี้เปนสวนใหญคือ งานดูแลความสะอาด แสดงดงัตารางท่ี 15.6

ตารางท่ี 15.6 ปจจัยเส่ียงจําแนกตามงานท่ีทําในแผนกใหบริการดูแลผูปวย และเวลาที่ใช งานท่ีทํา ปจจัยเส่ียง

รางกายสวนบน ปจจัยเส่ียง รางกายสวนลาง

% เวลาท่ีทํา

เช็ด ถู พื้นผิวตาง ๆ การกระทําซํ้าๆ / การออกแรง โกงโคง / นั่งยอง ๆ 25

Page 63: หน วยที่ 15 การประยุ กตการยศาสตร ํานัในสกงานและในโรงพยาบาล › UserFiles › File

63

ทําความสะอาดพ้ืน การออกแรง / การกระทําซํ้าๆ กมหลัง 25 จัดเตียง การออกแรงมือ ทาทางไมเหมาะสม 15 เคล่ือนยายผูปวย การออกแรง / ทาทาง การยก / การบิดเอว 15 ขนยายถาดอาหาร การออกแรงหนีบ จับ ไมมี 15 เก็บขยะ ทาทางไมเหมาะสม การยก 5 ตัวอยางลักษณะทาทางการทํางานท่ีไมเหมาะสม และแนวทางแกไข

ตัวอยางท่ี 1 : ลักษณะทาทางการทํางานท่ีไมเหมาะสมของพยาบาลท่ีพบไดบอย คือการชวยพยุงผูปวยใหลุกข้ึนจากรถเข็นผูปวยในทาทางโกงโคงหลัง ซ่ึงสงผลใหเกิดการบาดเจ็บหลัง โดยเฉพาะอยางยิ่ง หากผูปวยไมสามารถชวยเหลือตัวเองได และมีน้ําหนักตัวมาก (ภาพท่ี 15.38)

ภาพท่ี 15.38 ทาทางโกงโคงหลังของพยาบาลเพ่ือพยุงผูปวยใหลุกขึ้นจากรถเข็น

แนวทางการแกไข

การจัดหาอุปกรณเพื่อชวยในการเคล่ือนยายผูปวยในกรณนีี้ ควรใชเข็มขัดรัดเอวผูปวย หรือ Gait belt (ภาพท่ี 15.39) ซ่ึงมีท่ียึดจับ ชวยใหสามารถพยงุรางกายผูปวยไดอยางสะดวก และยังชวยใหรางกายของผูทําการเคล่ือนยายผูปวย อยูในทาทางท่ีเหมาะสมได กลาวคือ ยอเขา หลังตรง และแขนแนบอยูขางลําตัว (ภาพท่ี 15.40)

ภาพท่ี 15.39 การใชเข็มขัดรัดเอวผูปวย (Gait belt) เพื่อชวยใหเคล่ือนยายผูปวยไดอยางสะดวกhttp://www.osha.gov/SLTC/etools/hospital/hazards/ergo/ergoequipment

Page 64: หน วยที่ 15 การประยุ กตการยศาสตร ํานัในสกงานและในโรงพยาบาล › UserFiles › File

64

ภาพท่ี 15.40 ทาทางท่ีเหมาะสมในการเคล่ือนยายผูปวยเม่ือใช Gait belt

http://www.corpmed.com/corporate/PatientHandling.html

ตัวอยางท่ี 2 : ลักษณะทาทางการทํางานท่ีไมเหมาะสมของพยาบาลท่ีพบไดบอยอีกกรณีหนึ่งคือ การชวยพยุงผูปวย หรือการจัดทานอนใหกับผูปวยท่ีไมสามารถชวยเหลือตัวเองได ขณะท่ีผูปวยนอนอยูบนเตียง (ภาพท่ี 15.41) ลักษณะทาทางการทํางานในทาโกงโคงหลัง และออกแรงรับน้ําหนกัเชนนี้ ยอมสงผลใหเกิดการบาดเจบ็หลังไดเชนเดียวกัน

ภาพท่ี 15.41 สาเหตุของการบาดเจ็บหลังจากการออกแรงชวยพยุงผูปวยในทาโกงโคงหลัง

แนวทางการแกไข การจัดหาอุปกรณเพื่อชวยในการเคล่ือนยายผูปวย ในกรณท่ีีตองการเคล่ือนยายผูปวยจาก

เตียงหนึ่งไปยงัอีกเตียงหนึ่ง ควรใชแผนวัสดุท่ีชวยลดแรงเสียดทาน (Friction) เรียกวา Slip sheet หรือ Sliding sheet (ภาพท่ี 15.42) รองตัวผูปวยไว แลวใชการดึงลากจากเตียงหนึ่งไปยังอีกเตียงหนึ่ง ซ่ึงชวยลดการออกแรงของผูทําการเคล่ือนยายผูปวยไดเปนอยางดี นอกจากนี้ ขณะออกแรงดึง หรือลากผูปวย ผูทําการเคล่ือนยายควรระมัดระวังใหทาทางของลําตัวอยูในแนวตรง และยอเขาหากจําเปน แสดงดงัภาพท่ี15.43 ท้ังนี้ ผูทําหนาท่ีเคล่ือนยายผูปวยจะตองมีการฝกซอมรวมกัน และมีการใหจังหวะ ขณะทําการเคล่ือนยายผูปวยดวย

Page 65: หน วยที่ 15 การประยุ กตการยศาสตร ํานัในสกงานและในโรงพยาบาล › UserFiles › File

65

http://www.osha.gov/SLTC/etools/hospital/hazards/ergo/ergoequipment ภาพท่ี 15.42 การเคล่ือนยายผูปวยจากเตียงหนึ่งไปยังอีกเตียงหนึ่ง โดยใช Slip sheet

http://www.corpmed.com/corporate/PatientHandling.html ภาพท่ี 15.43 การออกแรงดึง ลากผูปวย โดยใหหลังอยูในแนวตรงเสมอ สภาพแวดลอมในการทํางานเคล่ือนยายผูปวย

สภาพแวดลอมในการทํางานท่ีมีความสําคัญตอการเคล่ือนยายผูปวย ไดแก แสงสวาง และ พื้นทางเดนิ ซ่ึงสามารถสงผลตอการเกิดอุบัติเหตุจากการทํางานได ดังน้ัน ขณะทําการเคล่ือนยายผูปวย หากไมไดมีการดแูลสภาพแวดลอมในการทํางานใหอยูในลักษณะท่ีปลอดภยัตอการเคล่ือนยาย ก็อาจเกิดอุบัตเิหตุล่ืน หกลมได สาเหตุของการล่ืน หกลม ไดแก - พื้นทางเดนิเปยก หรือ ล่ืน - พื้นทางเดนิไมเรียบ ไมสมํ่าเสมอ - การยกเคล่ือนยายผูปวยในพืน้ท่ีคับแคบ หรือมีการจัดวางส่ิงของเกะกะตามทางเดิน - พนักงานไมเพยีงพอ นําไปสูการยกเคล่ือนยายโดยลําพังคนเดียว น ับปนการเพิ่มโอกาสใหเกดิ

การลมได - แสงสวางท่ีไมเพียงพอ โดยเฉพาะอยางยิ่งในชวงเย็น หรือกลางคืน การปรับปรุงสภาพแวดลอมการทํางาน เพือ่ควบคุมปองกันอุบัติเหตุดงักลาว ทําไดโดย - กําจัดพืน้ท่ีท่ีไมเรียบ ไมสมํ่าเสมอ

Page 66: หน วยที่ 15 การประยุ กตการยศาสตร ํานัในสกงานและในโรงพยาบาล › UserFiles › File

66

- ใชวัสดุกนัล่ืนสําหรับพื้นหองน้ํา หรือท่ีอาบน้ํา - ทําการเช็ดใหแหงทันท่ีท่ีมีน้ําเปยกพื้น หรือมีของเหลวหกรด - ใชอุปกรณเคร่ืองทุนแรง ในการยกเคล่ือนยายผูปวยในพืน้ท่ีคับแคบ เพือ่ปองกันการเกิดทาทาง

ท่ีไมเหมาะสม - กําจัดส่ิงกดีขวางทางเดิน - จัดเตรียมบุคลากรใหเพียงพอ เพื่อปองกันภาระงานท่ีหนกัเกินไป กิจกรรมท่ี 15.2.2 1. จงยกตัวอยางแนวทางการแกไขปญหาการบาดเจ็บหลังเนื่องจากการเคล่ือนยายผูปวย 2. สภาพแวดลอมในการทํางานท่ีมีผลตอการเคล่ือนยายผูปวยอยางปลอดภัย ไดแกอะไรบาง แนวตอบ 1. แนวทางการแกไขปญหาการบาดเจ็บหลังเนื่องจากการเคล่ือนยายผูปวย ไดแก การจัดหาอุปกรณเพื่อชวยในการเคล่ือนยายผูปวย เชน การใชเข็มขัดรัดเอวผูปวย (Gait belt) การใชแผนวัสดุรองเพือ่ลดแรงเสียดทาน (Sliding sheet) การฝกปฏิบัติการเคล่ือนยายผูปวยอยางปลอดภัย 2. สภาพแวดลอมในการทํางานท่ีมีผลตอการเคล่ือนยายผูปวยอยางปลอดภัย ไดแก แสงสวาง พื้นทางเดิน การจดัความเปนระเบียบรียบรอย ความกวางของพ้ืนที่ในการเคล่ือนยาย

Page 67: หน วยที่ 15 การประยุ กตการยศาสตร ํานัในสกงานและในโรงพยาบาล › UserFiles › File

67

เร่ืองท่ี 15.2.3 การยศาสตรในแผนกซักฟอก

แผนกซักฟอกในโรงพยาบาลจัดเปนหนวยงานท่ีมีลักษณะการทํางานท่ีเปนปญหาการยศาสตรคอนขางมาก (ภาพที่ 15.44) ข้ันตอนการปฏิบัติงานในแผนกซักฟอก เร่ิมต้ังแต การขนยายผาท่ีใชแลวสงยังหนวยซักฟอกโดยรถเข็น ผาท่ีใชแลวแบงออกเปนผาติดเช้ือและผาสกปรกท่ัวไป กรณีท่ีเปนผาติดเช้ือจะมีการใสไวในถุงแดง การนําผาเขาเคร่ืองจะทําการกรีดถุงและนําเขาเคร่ืองซักผาในคราวเดียวเพื่อหลีกเล่ียงจากการสัมผัสโดยตรง ในบางโรงพยาบาลจะนําผาติดเช้ือไปใสในกระบะแชผาดวยนํ้ายาฆาเช้ือกอนนําไปซัก สําหรับผาสกปรกท่ัวไปเจาหนาท่ีจะทําการคัดแยกผา โดยจะมีการฉีดน้ําเพื่อลางส่ิงสกปรกท่ีปนเปอนออกกอนแลวจึงนําเขาเคร่ืองซักผา และมีการเติมน้ํายาฆาเช้ือโรคลงไปในเคร่ืองซักผาดวย ในโรงพยาบาลขนาดใหญปริมาณผาท่ีนํามาซักฟอกในแตละวันอาจมีน้ําหนักมากถึง 2,000 กิโลกรัม หลังจากซักลางแลว กจ็ะมีการอบ รีดเพื่อใหสะอาดปราศจากเช้ือ และพับผา ตระเตรียมใหเปนหมวดหมูและจัดสงเพื่อใหไดใชงานอยางทันเวลา

อุปกรณปองกนัอันตรายสวนบุคคลท่ีใชในขณะปฏิบัติงาน ไดแก เส้ือคลุม ผาปดจมูก กระบังหนา หมวกผา ถุงมือ เอ้ียมยางเต็มตัว และรองเทาบูท ในกรณีท่ีมีเส้ือผาผูปวยเอดสลงซักจะตองมีการสวมแวนตานิรภัย นอกจากนั้นในแผนกซักฟอกยังมีการแบงพื้นท่ีสะอาดและพืน้ท่ีสกปรกอยางชัดเจนดวย

http://www.osha.gov/SLTC/etools/hospital/laundry/laundry.html ภาพท่ี 15.44 แผนกซักฟอกภายในโรงพยาบาล บริเวณเคร่ืองซักผา (ซาย) และบริเวณรีดผาและพับผา (ขวา) ส่ิงคุกคามสุขภาพอนามัยท่ีพบไดในแผนกซักฟอก ไดแก 1. อุบัติเหตุจากของมีคมท่ิมตําซ่ึงเกิดจากสิ่งปนเปอนท่ีติดมากับผาท่ีสงซัก อันไดแก กรรไกร เข็ม เศษแกว ใบมีดโกน มีดผาตัด นอกจากนีก้ย็ังพบสายยาง ปรอทวัดไข Forceps ลูกสูบยาง syringe แกวยาเม็ด ฯลฯ อีกดวย

Page 68: หน วยที่ 15 การประยุ กตการยศาสตร ํานัในสกงานและในโรงพยาบาล › UserFiles › File

68

2. ความเส่ียงตอการติดเช้ือขณะขนยายผา และคัดแยกผา โดยเฉพาะอยางยิ่งกรณเีกิดอุบัติเหตุจากของมีคมท่ิมตําซ่ึงเกิดจากส่ิงปนเปอนท่ีติดมากับผาท่ีสงซัก 3. ลักษณะทาทางการทํางาน ไดแก การยนืกมๆ เงยๆ ในการคัดแยกผา การนําผาใสเคร่ืองซักผาและนําออกจากเคร่ืองโดยการเอ้ือม กม บิดเอว หรือออกแรงผลัก การนั่งยองๆ หรือนั่งกบัพื้นขณะทําการพับผา 4. การยกเคล่ือนยายหอผาท่ีมีนํ้าหนกัประมาณ 20–30 กิโลกรัม ในแตละคร้ัง 5. การล่ืน หกลม เนื่องจากพ้ืนเปยก ล่ืน 6. สารเคมีท่ีใชทําความสะอาดผา รวมท้ังกล่ินของน้ํายาฆาเช้ือท่ีใสในเคร่ืองซักผา 7. ความรอนจากเคร่ืองอบผา รีดผา 8. ฝุนผา กรณท่ีีเปนผาเกา 9. การแพถุงมือ Latex 10. เสียงดังท่ีเกิดจากเคร่ืองซักและอบผา 11. อัคคีภัย

ในตางประเทศก็มีรายงานการพบวัตถุตางๆ ปะปนอยูในถุงผาท่ีใชในหองผาตัด หองคลอด ในตึกผูปวย ซ่ึงสามารถทําอันตรายเจาหนาท่ีท่ีเกี่ยวของไดเชนกัน ส่ิงของท่ีพบไดแก ถุงปสสาวะ ถาดใสอุจจาระ เข็ม หลอดฉีดยาท้ังพลาสตกิและแกว กรรไกร หนากากออกซิเจน ปรอทวัดไข มีดโกน รองเทา และส่ิงของอ่ืนๆของผูปวย (รายงานจากสหภาพแรงงานของสหราชอาณาจักรอังกฤษ) จากการศึกษาของพินิจ (2547) ไดรายงานการเจ็บปวยของบุคลากรท่ีปฏิบัติงานในหนวยงานตางๆของโรงพยาบาลหนองบัวลําภู โดยศึกษายอนหลัง 3ป ดูจํานวนคร้ังของการเจ็บปวยดวยโรคตาง ๆ แยกตามระบบรางกาย พบวากลุมโรคทางเดินหายใจสวนตนมีจํานวนสูงสุด ตามมาดวยกลุมโรคในระบบกลามเนื้อ กระดูก เอ็น และ ขอ และโรคในระบบทางเดินอาหาร และจากการเดินสํารวจ (Walk through survey) พบความสัมพันธระหวางการเจ็บปวยในกลุมโรคกลามเนื้อ กระดูก เอ็น และขอ กับการทํางานในแผนกซักฟอกและศูนยเปล เนื่องจากลักษณะ ทาทางการทํางาน ปริมาณงาน และการไมไดใชเคร่ืองผอนแรงในการทํางาน อยางไรก็ตาม เม่ือวิเคราะหขอมูลการเจ็บปวยเฉพาะบุคลากรท่ีปฏิบัติงานในแผนกซักฟอก จะเห็นวาโรคในกลุมกลามเนื้อ กระดูก เอ็นและขอ มีจํานวนสูงท่ีสุด สาเหตุนาจะมาจากลักษณะการทํางานท่ีตองยกหอผาท่ีมีขนาดหนกัประมาณ 20–30 กิโลกรัม และทาทางการทํางานท่ีไมเหมาะสม การจดัระบบในการคัดแยกผาและการจัดสถานท่ีไมเอ้ือตอการทํางาน ทําใหตองใชแรงงานมากเกินความจําเปน

Page 69: หน วยที่ 15 การประยุ กตการยศาสตร ํานัในสกงานและในโรงพยาบาล › UserFiles › File

69

ตัวอยางลักษณะทาทางการทํางานในแผนกซักฟอก และแนวทางแกไข

ตัวอยางท่ี 1 : การเข็นรถเข็นเพื่อขนยายผาสงซัก จากภาพท่ี 15.45 สังเกตเห็นการขนยายผาในปริมาณมาก ซ่ึงการจัดกองผาในระดับสูงเชนนี้ อาจสงผลใหเกิดอุบัติเหตุจากการทํางานได เนื่องจากผาท่ีกองสูงอาจบดบังสายตาขณะมองไปขางหนา และผาอาจตกหลน และเขาไปติดในลอรถเข็นได นอกจากนี้ พนกังานก็ไมไดสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล อันไดแก ผาปดจมูก ถุงมือ เปนตน

ภาพท่ี 15.45 การขนยายผาปริมาณมากเพ่ือนําสงซักโดยใชรถเข็น

แนวทางการแกไข การออกแรงผลักรถเข็น (Push) โดยใหแนวแกนของลําตัวอยูในแนวตรงอยูเสมอ และยอเขา เปนลักษณะทาทางการทํางานท่ีเหมาะสม (ภาพท่ี 15.46 ซาย) ในทางตรงกันขาม การดึงรถเข็น (Pull) จะเปนการเพ่ิมความเส่ียงท่ีบริเวณขอมือ แขน และไหล และยังเปนผลใหแนวแกนของลําตัวไมสามารถอยูในแนวตรงได (ภาพท่ี 15.46 ขวา)

นอกจากนี้ ในกรณีท่ีตองทําการเข็นรถเข็นข้ึนทางลาด กค็วรวางแผนใหมีผูชวยเข็นเพิ่มข้ึนอีก 1 คน เพื่อความปลอดภยั และไมจัดกองผาใหอยูในระดับสูงเกินไปจนบดบังการมองเห็น

การผลัก (Push) การดึง (Pull) ภาพท่ี 15.46 การออกแรงผลักรถเข็น (Push) ดวยทาทางท่ีเหมาะสมคือลําตัวตรง ยอเขา และการดึงรถเข็น (Pull) ซ่ึงเพิ่มความเส่ียงท่ีบริเวณขอมือ แขน และไหล

Page 70: หน วยที่ 15 การประยุ กตการยศาสตร ํานัในสกงานและในโรงพยาบาล › UserFiles › File

70

ตัวอยางท่ี 2 : การนําผาเขาเคร่ืองซักผาในปริมาณมาก อาจสงผลใหตองมีการทํางานในลักษณะกมหลังบอย ๆ หากตะกราผา หรือรถเข็นอยูในระดับท่ีต่ําเกนิไป และอาจมีการเอ้ียวตัวขณะนําผาเขาเคร่ือง สงผลใหเกิดอาการปวดหลังได แสดงดังภาพท่ี 15.47 และหากเคร่ืองซักผาติดต้ังอยูในระดับท่ีสูงดวยแลว ก็จะสงผลใหพนักงานตองทํางานในลักษณะเอ้ือมแขนในระดับสูงอีกดวย

http://www.occmednop.org/indexhospitalocchealth.htm ภาพท่ี 15.47 การนําผาเขาเคร่ืองซักผาจากตะกราผาในระดับตํ่า สงผลใหมีการกมหลังบอย ๆ (ซาย) และการเอ้ียวตัวเพื่อนําผาเขาเคร่ือง (ขวา) แนวทางการแกไข

ในกรณีท่ีตองเคล่ือนยายผา รวมท้ังตองนําผาเขาเคร่ืองซักผาปริมาณมาก ๆ ในแตละคร้ัง ควรใชรถเข็นในการเคล่ือนยาย นอกจากน้ี ควรใชรถเข็นท่ีมีระดับความสูง ในระดบัเดียวกันกับระดับความสูงของชองใสผา เพื่อใหพนักงานสามารถปฏิบัติงานไดอยางสะดวกสบาย ดังภาพท่ี 15.48 และหากเคร่ืองซักผาติดต้ังอยูในระดับท่ีสูง ก็ควรปรับปรุงสภาพการทํางานโดยการจดัหาแทนยนืในระดับความสูงท่ีเหมาะสมตามความสูงของพนักงาน เพื่อลดการเอ้ือมแขนในการนําผาเขา-ออกจากเคร่ืองซักผา นอกจากนี้ ควรมีการแนะนําพนักงานใหปฏิบัติงานในลักษณะทาทางท่ีเหมาะสม กลาวคือไมเอ้ียวตัว หรือบิดเอวขณะขนผา แตควรหันเทาไปในทิศทางท่ีตองการกอน เพื่อลดการบิดเอวขณะทํางาน

ภาพท่ี 15.48 การใชรถเข็นในระดับความสูงเดียวกับชองใสผา เพื่อลดการกมหลังขณะปฏิบัติงาน

Page 71: หน วยที่ 15 การประยุ กตการยศาสตร ํานัในสกงานและในโรงพยาบาล › UserFiles › File

71

ตัวอยางท่ี 3 : การนั่งบนพ้ืนเปนเวลานาน ๆ เพื่อพับผาท่ีซักแลว เปนลักษณะการทํางานท่ีสงผลใหเกิดความลาท่ีขา แขน ไหล ไดเนื่องจาก การนั่งพับขา หรือการนั่งทับบนขา เปนทาทางการทํางานท่ีไมเปนธรรมชาติ และเปนลักษณะการทํางานท่ีใชกลามเนื้อแบบสถิต หรือมีการหดเกร็งกลามเนื้อตอเนื่องเปนเวลานาน (Static muscular work) ไมไดมีการเคล่ือนไหวรางกายไป-มา สงผลใหการไหลเวยีนของโลหิตเปนไปไดไมสะดวก ดงัภาพท่ี 15.49 นอกจากนี้ การยกและกางแขนเพ่ือพับผาจํานวนมาก ๆ ขณะนั่งทํางาน ยอมสงผลใหเกิดความลาท่ีแขน และไหลได

http://www.occmednop.org/indexhospitalocchealth.htm ภาพท่ี 15.49 การพับผาสะอาดโดยน่ังลงบนพ้ืนเปนลักษณะการทํางานท่ีไมเปนธรรมชาติ แนวทางการแกไข

การจัดหามานัง่เล็ก ๆ หรือเบาะรองนั่ง แทนการนั่งทับบนขาของตนเอง ชวยใหเลือดไหลเวยีนไดสะดวกข้ึน อยางไรก็ตาม หากเปนไปไดควรจัดหาโตะขนาดใหญเพื่อใชในการพับผาในลักษณะท่ีสามารถนั่งและยืนทํางานสลับกันไปได ก็จะชวยแกปญหา Static muscular work

ภาพท่ี 15.50 แสดงตัวอยางการใชโตะในการยืนพับผา สังเกตเหน็ไดวาโตะสามารถพับไดเพื่อประหยัดเนื้อท่ีในการทํางาน ภาพซายแสดงการติดต้ังแทงโลหะท่ีโตะ เพื่อใชแขวนผาขณะทําการพับผา ซ่ึงสามารถชวยลดการออกแรงแขนไดเปนอยางดี สวนภาพขวาเปนการยนืพับผาดวยเจาหนาท่ี 2 คน ซ่ึงชวยลดทาทางการโกงโคง และกมหลังไดเปนอยางดี เหมาะสําหรับงานช้ินใหญ

http://www.cher.ubc.ca/PDFs/laundryergonomics.pdf

ภาพท่ี 15.50 การปรับปรุงสภาพการทํางานพับผาโดยจัดหาโตะท่ีสามารถพับไดเพื่อประหยดัเนื้อท่ี

Page 72: หน วยที่ 15 การประยุ กตการยศาสตร ํานัในสกงานและในโรงพยาบาล › UserFiles › File

72

นอกจากนี้ แผนกพับผาซ่ึงเปนเขตพื้นท่ีสะอาด ควรจะตองจัดแยกออกจากบริเวณคัดแยกผากอนซัก และอยูหางจากเครื่องซักผา เพื่อหลีกเล่ียงเสียงดัง และอยูหางจากบริเวณรีดผา เพื่อหลีกเล่ียงความรอน หากไมมีพื้นที่เพยีงพอในการจดัแยกใหเปนสัดสวน (Separation) ก็ควรมีฉาก หรือกําแพงกัน้ เพื่อปองกันผลกระทบตอสุขภาพดังกลาว ตัวอยางท่ี 4 : การนําผาท่ีซักรีดเสร็จเรียบรอยแลวจัดเก็บในช้ันวางผา หรือการนําผาออกจากช้ันวาง โดยการเอ้ือมในระดับสูงเหนือไหล (ภาพท่ี 15.51) เปนอีกตัวอยางหนึง่ของลักษณะทาทางการทํางานท่ีไมเหมาะสม ซ่ึงสามารถนําไปสูปญหาระบบกลามเนื้อ กระดูก และขอบริเวณแขน คอ ไหล ได

ภาพท่ี 15.51 การเอ้ือมในระดับสูงเหนือไหลในงานจัดเก็บ และนําผาไปใชในโรงพยาบาล แนวทางการแกไข

ตามหลักการยศาสตร แนะนาํใหมีการจดัเกบ็วัสดุส่ิงของในระดับ Optimal height เทานั้น กลาวคือ จากระดับความสูงของกําปนเม่ือวางแขนแนบลําตัว (Knuckle height) จนถึงระดับไหล (Shoulder height) เพราะนอกเหนือจากระดับดังกลาวนี้ จะสงผลใหทาทางการทํางานตองอยูในลักษณะกม และเอ้ือม ซ่ึงเปนทาทางการทํางานท่ีไมเปนธรรมชาติ แตหากไมมีทางเลือกเนื่องจากมีขอจํากัดในเร่ืองพื้นท่ี ก็ควรจัดหาแทนยืนในระดับความสูงตาง ๆ หรือข้ันบันได เพื่อชวยลดปญหาการเอ้ือมขณะทํางานได แนวทางการปองกันปญหาสุขภาพท่ีอาจเกิดขึ้นไดในแผนกซักฟอก (ท่ีมา : http://www.osha.gov/SLTC/etools/hospital/laundry/laundry.html)

Page 73: หน วยที่ 15 การประยุ กตการยศาสตร ํานัในสกงานและในโรงพยาบาล › UserFiles › File

73

1. ในกรณีการเคล่ือนยายผาสงซักท่ีปนเปอนเชื้อโรค ใหทําการขนยายทีละนอย และใหมีการกระทบกระเทือนนอยท่ีสุด เพื่อไมใหเกิดการฟุงกระจายหรือกระเด็นของส่ิงปนเปอน

2. กรณีผาสงซักท่ีปนเปอนเช้ือโรค และเปนผาเปยกช้ืน ใหบรรจุในถุงหรือภาชนะท่ีปองกันการร่ัว ซึม

3. การบรรจุและเคล่ือนยายผาสงซักท่ีปนเปอนเช้ือโรค ใหบรรจุในถุง หรือภาชนะท่ีตดิสัญลักษณ Biohazard หรือใสไวในถุงแดง

4. ไมควรถือหรือหิ้วถุงใสผาสงซักท่ีปนเปอนเช้ือโรคใหอยูใกลลําตัว และไมควรบีบรัดถุงขณะทําการเคล่ือนยาย เพื่อหลีกเล่ียงการถูกท่ิม ตํา จากวัสดุแหลมคมท่ีอาจติดมาดวย

5. ควรมีการจัดหาอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล (PPE) และใหพนกังานสวมใสอยางเหมาะสม เชน ถุงมือ เส้ือกาวน กระบังหนา หนากากนิรภัย เม่ือทําการคัดแยกผาท่ีปนเปอนเช้ือโรค และถุงมือท่ีหนากจ็ะชวยปองกันไดมากข้ึน

ส่ิงท่ีพึงระมัดระวังก็คือ หากอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลชํารุด เสียหาย หรือมีรอยฉีกขาด ใหท้ิงไปทันที และกรณีการใช PPE แบบใชคร้ังเดียวแลวท้ิง ก็ไมควรนํามาลาง ทําความสะอาด ฆาเช้ือโรค แลวใชใหม

6. ควรมีการจัดโปรแกรมอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ซ่ึงรวมถึงการจดัทําวิธีปฏิบัติท่ีปลอดภัยในการท้ิง หรือเคล่ือนยายวัตถุแหลม คม เชน - หามทําการบิด งอ ตัด หรือหัก เข็ม หรือวตัถุแหลมคมท่ีปนเปอนเช้ือโรค - ใหทําการท้ิงวัตถุแหลมคมท่ีปนเปอนเช้ือโรค ลงในภาชนะท่ีเหมาะสมทันทีท่ีทําได ท้ังนี้ จะตองมีการเตรียมภาชนะเกบ็ไวในบริเวณที่ใกลท่ีสุด ท่ีมีโอกาสพบวตัถุแหลมคมท่ีปนเปอนเช้ือโรค รวมถึงท่ีแผนกซักรีดดวย

7. ในกรณีท่ีมีการใชสารเคมีท่ีใชทําความสะอาดผา - ควรมีการอบรมใหความรูแกพนักงานท่ีเกีย่วของถึงขอมูลเคมีภัณฑเพือ่ความปลอดภัย

(Material Safety Data Sheet, MSDS) รวมท้ังการติดปายเตือนอันตรายเพ่ือส่ือสารใหพนักงานทราบ

- การเตรียมความพรอมในกรณีฉุกเฉินท่ีสารมีฤทธ์ิกัดกรอนอาจกระเดน็เขาตา หรือถูกผิวหนังได การติดต้ังท่ีลางตาและฝกบัวฉุกเฉินในบริเวณเขาถึงไดในทันทีก็เปนส่ิงจําเปน 8. การใชเทคนิคในการยกเคล่ือนยายวัสดอุยางปลอดภยั กลาวคือ หลีกเล่ียงการยกวัสดุขนาดใหญและหนกั ไมยกวัสดุในระดับสูงเหนือไหล หลีกเล่ียงการบิดหรือหมุนเอวขณะยกวัสดุ ยกวัสดุใหอยูใกลลําตัว ยกเวนการยกวัสดุท่ีมีความเสี่ยงอันตราย และใหจํากัดน้ําหนักส่ิงของท่ีจะยกเคล่ือนยาย 9. จัดใหมีแผนการปองกันและระงับอัคคีภยัในโรงพยาบาล

Page 74: หน วยที่ 15 การประยุ กตการยศาสตร ํานัในสกงานและในโรงพยาบาล › UserFiles › File

74

กิจกรรมท่ี 15.2.3 1. จงยกตัวอยางลักษณะงานท่ีมีความเส่ียงดานทาทางในการทํางานในแผนกซักฟอก วามีงานอะไรบาง 2. จงอธิบายแนวทางการปองกันปญหาสุขภาพที่อาจเกิดข้ึนไดในแผนกซักฟอกมาสัก 5 ขอ แนวตอบ 1. ลักษณะงานท่ีมีความเส่ียงดานทาทางในการทํางานในแผนกซักฟอก ไดแก งานขนยายผาสงซัก งานรีดผา งานพับผา งานจัดเก็บผาในช้ันวางของระดับเหนือศีรษะ 2. แนวทางการปองกันปญหาสุขภาพท่ีอาจเกิดข้ึนไดในแผนกซักฟอก ไดแก - การเคล่ือนยายผาสงซักท่ีปนเปอนเช้ือโรค ทีละนอยในแตละคร้ัง โดยใหความระมัดระวังไมใหเกิดการฟุงกระจายของฝุนละอองจากผา - ไมควรถือหรือหิ้วถุงใสผาสงซักท่ีปนเปอนเช้ือโรคใหอยูใกลลําตัว และไมควรบีบรัดถุง - การจัดทําวิธีปฏิบัติท่ีปลอดภัยในการท้ิง หรือเคล่ือนยายวัตถุแหลม คม - ผาสงซักท่ีปนเปอนเช้ือโรค ใหบรรจุในถุง หรือภาชนะท่ีติดสัญลักษณ Biohazard หรือใสไวในถุงแดง - ควรจัดหาอุปกรณปองกนัอันตรายสวนบุคคล (PPE) และใหพนักงานสวมใสอยางเหมาะสม เร่ืองท่ี 15.2.4 การยศาสตรในโรงครัว

โรงครัวในโรงพยาบาลเปรียบเสมือนเปนโรงงานอุตสาหกรรมการผลิตแหงหนึ่งท่ีมีปญหา

การยศาสตรคอนขางหลากหลาย ท้ังการยกของหนัก การเข็นรถสงอาหาร การยืนเปนเวลานาน การใชมือ ไหล แขนทํางานหนักในการเตรียม ปรุง ประกอบอาหารปริมาณมาก ๆ นอกจากนี้กย็ังมีปญหาเร่ืองส่ิงแวดลอมในการทํางาน และโอกาสเกิดอุบัตเิหตุจากการทํางานดวย การประยุกตหลักการยศาสตรในโรงครัวจึงมีความสําคัญอยางยิ่งในการลดการเจ็บปวย และการบาดเจ็บของพนักงานในโรงพยาบาลได ประเด็นทางดานอาชีวอนามัยและความปลอดภัยที่สําคัญในโรงครัว ไดแก ทาทางในการทํางาน ส่ิงแวดลอมในการทํางาน เชน ความรอน/ช้ืน ไอความรอนจากการประกอบอาหาร เสียงดงั

Page 75: หน วยที่ 15 การประยุ กตการยศาสตร ํานัในสกงานและในโรงพยาบาล › UserFiles › File

75

http://www.osha.gov/SLTC/etools/hospital/dietary/dietary.html ภาพท่ี 15.52 สภาพการทํางานในโรงครัวของโรงพยาบาล ส่ิงคุกคามสุขภาพอนามัยท่ีอาจเกิดขึ้นไดในโรงครัว 1. ทาทางในการทํางาน: พนักงานท่ีทํางานอยูในโรงครัวสวนใหญมักทํางานในลักษณะเอ้ือมแขน ยกอุปกรณเคร่ืองครัวท่ีบรรจุอาหารซ่ึงมีน้ําหนักมาก และทํางานดวยทาทางซํ้า ๆ อยูกับท่ี เชน การใชมือ และขอมือในการตัด สับวัตถุดิบ หากกิจกรรมดังกลาวตองการการออกแรงมาก และใชเวลานานพอ กอ็าจกอใหเกิดความผิดปกติของกลามเนื้อ กระดูก และขอได 2. อุปกรณ/เครื่องครัว: อุปกรณ/เคร่ืองครัวท่ีใชในการเตรียม ปรุง ประกอบอาหาร อาจกอใหเกดิอันตรายในการทํางานได เชน การไหม พองจากการสัมผัสภาชนะท่ีรอน หรือไอรอนท่ีพุงออกจากภาชนะขณะเปดฝา การตัด บาด ท่ิม แทงจากการใชเคร่ืองครัวท่ีแหลม คม ไดแก มีด เคร่ืองตัด เคร่ืองบด รวมไปถึงอันตรายจากไฟฟาลัดวงจร 3. อัคคีภัย: อัคคีภัยอาจเกิดข้ึนไดจากอุปกรณ/เคร่ืองครัว ขณะทําการปง ยาง หรือทอด ซ่ึงมีสาเหตุมาจากความไมเปนระเบียบเรียบรอยในโรงครัว ไอน้ํามัน ทอท่ีมีคราบน้ํามันสะสมอยู การจัดเก็บสารไวไฟอยางไมเหมาะสม หรือมีการใชอุปกรณไฟฟา/สายไฟท่ีชํารุด 4. สารเคมี: พนักงานอาจไดรับหรือสัมผัสสารเคมี เชน สารกาํจัดแมลง น้ํายาฆาเช้ือโรค น้ํายาลางจาน ซ่ึงอาจกอใหเกดิอาการระคายเคืองท่ีผิวหนัง ดวงตา และทางเดนิหายใจได ในกรณีท่ีมีการใช

Page 76: หน วยที่ 15 การประยุ กตการยศาสตร ํานัในสกงานและในโรงพยาบาล › UserFiles › File

76

นอกจากนี้ สารทําความสะอาดเตา เคร่ืองปง ยาง มักเปนสารทําความระคายเคืองมาก จึงอาจเปนสาเหตุของการระคายเคืองตา ผิวหนัง หรืออาจทําใหผิวหนังไหมได 5. โรคติดตอระบบทางเดินอาหาร: พนักงานในโรงครัวอาจเปนโรคท่ีติดตอในระบบทางเดินอาหารไดโดยการกิน หรือสัมผัส หยิบจับอาหารท่ีปนเปอนเช้ือโรคอันไดแก Escherichia coli (E-coli), Salmonella, Staphylococcus Aurous, และ Clostridium Perfringens การมีสุขอนามัยท่ีดีในการทํางาน การลางมือท่ีถูกวิธี รวมไปถึงวิธีการเตรียม ปรุง ประกอบอาหารที่ถูกตองตามหลักสุขาภิบาลอาหาร จะชวยปองกันโรคท่ีติดตอในระบบทางเดินอาหารได 6. พื้นท่ีท่ีเส่ียงตอการล่ืน สะดุด ลม: พื้นท่ีท่ีเปยก หรือมีน้ํานองอยู และพ้ืนท่ีท่ีรกรุงรัง สามารถนําไปสูอุบัติเหตุจากการล่ืน สะดุด ลม หรือการบาดเจ็บอ่ืน ๆ ได นอกจากน้ี พืน้ท่ีท่ีเปยกช้ืนตลอดเวลายังชวยใหเช้ือรา แบคทีเรีย เจริญเติบโตไดดี เปนสาเหตุของการติดโรคอีกดวย การหม่ันดแูลรักษาใหพื้นแหง และสะอาดตลอดเวลา การจัดความเปนระเบียบเรียบรอย ไมใหมีส่ิงกดีขวางทางเดิน รวมท้ังการจัดแสงสวางท่ีเหมาะสม จะชวยลดการเกดิอุบัติเหตุดังกลาวได 7. อันตรายจากไฟฟา: อันตรายจากไฟฟาลัดวงจรมักมีสาเหตุมาจากการปฏิบัติงานท่ีไมปลอดภัย เชน การดึง หรือเสียบปล๊ักขณะมือเปยก การจัดวางอุปกรณไฟฟาไวใกลแหลงน้ํา และสภาพการทํางานท่ีไมปลอดภัย เชน อุปกรณไฟฟา และสายไฟชํารุด ขาดการบํารุงรักษาท่ีดี หรือไมติดสายดนิ 8. โรคติดตอ: การเคล่ือนยายถาดอาหารไปสงใหกับคนไขในหองแยกผูปวยดวยโรคติดตอ อาจเปนสาเหตุของการติดเช้ือท่ีระบบทางเดินหายใจ หรือทางเลือดได นอกจากนี้ยังมีโอกาสติดเช้ือโรคไดจากการเคล่ือนยายถาดอาหารท่ีบรรจุในถุงแดงท่ีมาจากหองแยกผูปวย เพื่อนําไปฆาเช้ือโรคในโรงครัวอีกดวย การปองกันการติดเช้ือจากการทํางานดังกลาว ทําไดโดยการฝกอบรมพนักงานใหสามารถทํางานเคล่ือนยายถาดอาหารเขา-ออกหองแยกผูปวยไดอยางปลอดภัย ตดิสัญลักษณท่ีภาชนะใสถาดอาหารที่ติดเช้ือ รวมไปถึงการใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือ หนกากนิรภัย เส้ือกาวน เปนตน

ตัวอยางลักษณะทาทางการทํางานในโรงครัว และแนวทางแกไข ตัวอยางท่ี 1 : ลักษณะทาทางการทํางานกบัอุปกรณ/เคร่ืองครัวท่ีมีขนาดใหญ ในการผลิตอาหารปริมาณมาก ๆ ในแตละคร้ัง สงผลใหแมครัวตองออกแรงทํางานมาก โดยจะตองออกแรงมือในขณะยกแขนอยางตอเนื่องเปนเวลานาน ดังภาพท่ี 15.53 สงผลใหเกิดปญหาปวดเม่ือยกลามเนื้อ

Page 77: หน วยที่ 15 การประยุ กตการยศาสตร ํานัในสกงานและในโรงพยาบาล › UserFiles › File

77

ภาพท่ี 15.53 ลักษณะทาทางการทํางานของแมครัวในการผลิตอาหารคราวละมาก ๆ แนวทางการแกไข

การออกแบบงานใหม หรือการปรับปรุงสภาพการทํางานเพื่อลดการยกแขนข้ึนในระดบัสูงเหนือไหลขณะทําการประกอบอาหาร อาจทําไดโดยการลดระดับความสูงของเตาลง หรือเพ่ิมระดับความสูงของแมครัวขณะยืนทํางาน โดยจัดหาแทนยืนท่ีมีระดับความสูงพอเหมาะกับแมครัว ก็จะชวยลดภาระการทํางานของกลามเนื้อแขนและไหลลงได สําหรับกรณีตวัอยางท่ี 1 นี้ จะสังเกตเห็นวามีการติดต้ังพัดลมดูดอากาศท่ีอยูเหนือศีรษะ ดังนัน้การปรับปรุงสภาพการทํางานจงึไมควรเลือกวิธีการลดระดับความสูงของเตาลง แตควรเลือกวิธีการจัดวางแทนยืนท่ีมีขนาดและความสูงพอเหมาะ และไมสงผลใหศีรษะกระแทกกับขอบดานบนได ตัวอยางท่ี 2 : การลางภาชนะใสอาหาร เปนการทํางานในสถานท่ีท่ีเส่ียงตอการล่ืน ลม เนื่องจากพื้นทางเดนิมักเปยกอยูตลอดเวลา จากภาพท่ี 15.54 จะเหน็ไดวาผูปฏิบัติงานไมสวมรองเทาบูทกันล่ืน จึงเปนสภาพการทํางานท่ีเส่ียงตออุบัติเหตุล่ืน ลมไดงาย ลักษณะงานท่ัวไปก็เปนงานท่ีตองยืนตอเนื่องเปนเวลานาน หากตองยืนทํางานเปนเวลานาน ๆ โดยไมมีท่ีพงิลําตัว ก็มีโอกาสเกิดปญหาปวดหลังบริเวณเอวไดมาก โดยเฉพาะอยางยิ่ง หากระดับความสูงของอางลางภาชนะอยูในระดับท่ีสูงหรือตํ่าเกินไป นอกจากนี ้การจัดวางภาชนะซ่ึงทําดวยโลหะจํานวนมาก ๆ ก็สงผลใหเกดิปญหาเสียงดังอยางหลีกเล่ียงไมได

Page 78: หน วยที่ 15 การประยุ กตการยศาสตร ํานัในสกงานและในโรงพยาบาล › UserFiles › File

78

ภาพท่ี 15.54 สภาพการทํางานท่ีบริเวณลางภาชนะซ่ึงมักเปยกอยูตลอดเวลา เส่ียงตอการล่ืนลม แนวทางการแกไข

ภาพท่ี 15.55 แสดงใหเห็นถึงการออกแบบสถานท่ีทํางาน โดยใหความสูงของหนางานอยูในระดับท่ีเหมาะสม และอยูในระดับเดยีวกัน หรือใกลเคียงกันมาก และมีพื้นที่จดัวางภาชนะท่ีเพียงพอ เปนการปองกันปญหาท่ีเกิดจากทาทางการทํางานท่ีไมเหมาะสม นอกจากนี้ จะสังเกตเห็นไดวา พื้นทางเดินไดรับการดแูลใหแหงอยูตลอดเวลา และบริเวณท่ีทํางานก็มีการระบายอากาศท่ีด ี

http://www.occmednop.org/indexhospitalocchealth.htm ภาพท่ี 15.55 สถานท่ีสําหรับลางและจัดวางภาชนะท่ีไดรับการออกแบบอยางเหมาะสม ตัวอยางท่ี 3 : การจัดวางหรือแขวนภาชนะ อุปกรณ เคร่ืองครัว ไวในระดับท่ีสูงเหนอืศีรษะ ดังภาพท่ี 15.56 นอกจากจะสงผลใหทาทางการทํางานตองเอ้ือมสูงเหนือระดับไหล เกิดเปนปญหาท่ีแขน คอ ไหลแลว ยงัมีความเส่ียงตอการเกิดอุบัติเหตุจากการกระแทก ชน หรือภาชนะตกใสศีรษะได

Page 79: หน วยที่ 15 การประยุ กตการยศาสตร ํานัในสกงานและในโรงพยาบาล › UserFiles › File

79

ภาพท่ี 15.56 การแขวนภาชนะ อุปกรณ เคร่ืองครัว ไวในระดับท่ีสูงเหนือศีรษะ แนวทางการแกไข

ควรจัดหาชัน้วางของหลาย ๆ ช้ันสําหรับจัดวางภาชนะ อุปกรณ เคร่ืองครัว ใหมีเนื้อท่ีท่ีเพียงพอ เพื่อความปลอดภยั และความเปนระเบียบเรียบรอย โดยไมควรจัดวางภาชนะไวในระดับท่ีสูงเกินระดับไหล และตํ่ากวาระดับความสูงของกําปนเม่ือวางแขนไวแนบลําตัว เพื่อปองกันไมใหเกิดลักษณะทาทางท่ีตองเอ้ือมแขน และกมหลัง ตัวอยางท่ี 4 : การยกถาดอาหารเพื่อสงใหกับผูปวยในโรงพยาบาล หากในแตละวันมีความถ่ีในการยกเคล่ือนยายมาก ยอมสงผลกระทบตอการบาดเจ็บสะสมเร้ือรังได โดยเฉพาะอยางยิ่ง หากใชเทคนิคการยกท่ีไมเหมาะสม เชน การยกถาดอาหารโดยหงายฝามือข้ึนรับน้ําหนกั ดังภาพท่ี 15.57 เปนลักษณะการยกท่ีออกแรงแขน และมือใหรับภาระเพียงขางเดยีว สังเกตเหน็แขนสวนบนท่ีกางออก และขอมืออยูในลักษณะท่ีไมเปนธรรมชาติ สามารถนําไปสูปญหาการบาดเจ็บขอมือ แขน และไหลได

http://ergo.human.cornell.edu/conferences ภาพท่ี 15.57 การยกถาดอาหารโดยหงายฝามือข้ึนรับน้ําหนัก เส่ียงตอการบาดเจ็บขอมือ แขน และไหล แนวทางการแกไข

Page 80: หน วยที่ 15 การประยุ กตการยศาสตร ํานัในสกงานและในโรงพยาบาล › UserFiles › File

80

ควรฝกเทคนิคการยกเคล่ือนยายถาดอาหารอยางปลอดภยั โดยหลีกเล่ียงการหงายฝามือรับน้ําหนกั และท่ีสําคัญคือควรใชท้ัง 2 มือรับน้ําหนกัพรอม ๆ กัน ดังภาพท่ี 15.58 และหากเปนไปไดก็ควรใชรถเข็นในการเคล่ือนยายถาดอาหาร เพื่อลดภาระการออกแรงมือ แขน และไหล

http://ergo.human.cornell.edu/conferences ภาพท่ี 15.58 การยกถาดอาหารโดยใชท้ัง 2 มือรับน้ําหนกัพรอม ๆ กัน ตัวอยางท่ี 5 : การเตรียมอาหาร เปนลักษณะงานท่ีตองยืนเปนเวลานาน และมีทาทางการทํางานท่ีไมเหมาะสมในหลายลักษณะ เชน การเอ้ือมแขน การเขยงเทา และการเอี้ยวตัว เนื่องจากงานเตรียมอาหารตองใชพื้นที่ในการทาํงานมาก ในการจัดวางเคร่ืองปรุง และสวนผสมในอาหารท่ีมีความหลากหลาย จงึไมสามารถจัดวางสวนผสมตาง ๆ ไวใกลลําตัวในระยะเอ้ือมถึงไดท้ังหมด และยังทําใหเหลือพื้นท่ีวางในการเคล่ือนไหวรางกายนอยลง สงผลตอทาทางการทํางานท่ีไมเหมาะสมดังภาพท่ี 15.59

http://ergo.human.cornell.edu/conferences ภาพท่ี 15.59 ทาทางการทํางานเตรียมอาหารที่ตองเอ้ือมแขน เขยงเทา (ซาย) และเอ้ียวตัว (ขวา) แนวทางการแกไข

ตามหลักการยศาสตรแลว การวางแผนและการออกแบบสถานท่ีทํางานใหเหมาะสมตอปริมาณงานและการใชงาน เปนส่ิงท่ีควรกระทําต้ังแตเร่ิมตน เพื่อปองกันปญหาท่ีจะเกิดข้ึนตามมา เพราะการแกไขปญหาท่ีเกิดข้ึนแลวยอมทําไดยากกวาการออกแบบท่ีดตีั้งแตแรก อยางไรก็ตาม เม่ือ

Page 81: หน วยที่ 15 การประยุ กตการยศาสตร ํานัในสกงานและในโรงพยาบาล › UserFiles › File

81

บทสรุป

โรงพยาบาล เปนสถานท่ีทํางานท่ีประกอบไปดวยแผนกงานตาง ๆ หลายแผนก และมีลักษณะการทํางานท่ีหลากหลาย เปนส่ิงทาทายตอนักอาชีวอนามัยและความปลอดภยั หรือนักการยศาสตร ในการเขาไปดําเนนิการประเมินความเส่ียงตอสุขภาพ และพัฒนา ปรับปรุงสภาพการทํางานใหเปนสถานที่ทํางานท่ีเอ้ือตอการมีสุขภาพดี ไมมีส่ิงคุกคามสุขภาพอนามัยท่ีสามารถสงผลกระทบตอการเกิดโรคและอุบัติเหตจุากการทํางานได รวมไปถึงการจัดสภาพการทํางานใหเกิดความสะดวกสบายในการทํางาน เพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพในการทํางาน และลดความกดดัน หรือความตึงเครียดในการทํางานของบุคลากร และท้ังหมดที่กลาวมานี้ก็จะสงผลใหการใหบริการของโรงพยาบาลมีประสิทธิภาพตามไปดวย

ดังนั้น โรงพยาบาลจึงควรมีการวางแผนการดําเนินงานดานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย รวมไปถึงงานดานการยศาสตรดวย โดยเร่ิมต้ังแตการออกแบบงาน กระบวนการทํางาน การเลือกอุปกรณ เคร่ืองมือในการทํางาน การจัดองคกรการทํางานท่ีดี และการฝกอบรมบุคลากรใหมีความรู ความเขาใจ ในเร่ืองสุขภาพและความปลอดภยัในการทํางานดานตาง ๆ และทายท่ีสุดคือ การจัดสรรทรัพยากรที่จําเปนในการดําเนนิงานอยางเพียงพอ

Page 82: หน วยที่ 15 การประยุ กตการยศาสตร ํานัในสกงานและในโรงพยาบาล › UserFiles › File

82

กิจกรรมท่ี 15.2.4 1. จงยกตัวอยางถึงส่ิงคุกคามสุขภาพอนามัยท่ีอาจเกดิข้ึนไดในโรงครัววามีอะไรบาง 2. จงบอกถึงหลักการยศาสตรในการปองกนัปญหาสุขภาพและความปลอดภัยในโรงครัว แนวตอบ 1. ส่ิงคุกคามสุขภาพอนามยัท่ีอาจเกิดข้ึนไดในโรงครัว ไดแก ทาทางในการทํางานท่ีไมเปนธรรมชาติ อุปกรณเคร่ืองครัวท่ีมีน้ําหนักมากและความรอน สภาพอากาศท่ีรอนช้ืนภายในครัว พื้นทางเดินล่ืน อัคคีภัย สารเคมี โรคติดตอ เปนตน 2. หลักการยศาสตรในการปองกันปญหาสุขภาพและความปลอดภัยในโรงครัว คือ การวางแผนและการออกแบบสถานท่ีทํางานใหเหมาะสมตอปริมาณงานและการใชงาน รวมท้ังการจัดวางอุปกรณ เคร่ืองครัว สวนผสมอาหารใหอยูในระยะเอ้ือมถึง และเขาถึงไดงาย

Page 83: หน วยที่ 15 การประยุ กตการยศาสตร ํานัในสกงานและในโรงพยาบาล › UserFiles › File

83

บรรณานุกรม Alan Hedge. Best Practice for Site-Wide Hospital Ergonomics, http://ergo.human.cornell.edu

Andersson GBJ. Epidemiologic aspects on low back pain in industry. Spine 6 : 53-60, 1981

Carter JB and Banister EW. Musculoskeletal Problems in VDT Work (Review). Ergonomics. 1994; 37, 10: 1623-48 Chaffin, D.B. and Anderson, G.J. Occupational Biomechanics, John Wiley & Sons. Inc. 1984 Emanuel, J.T. and Glonek, R.J. Ergonomic approach to productivity improvement for microscope work. Proc. AIIE Systems Engineering Conf. Institute for Industrial Engineer. Norcross, GA. 1976 Gentry WD, Shows WD and Thomas M. Chronic Low Back Pain : A Psychological Profile. Psychosomatic 15 : 174-177, 1974 Grandjean, E. Ergonomics in Computerized Offices. Taylor & Francis, London. 1987 Grandjean, E. Fitting the task to the man : A textbook of Occupational Ergonomics 4th Edition, Taylor & Francis, London. 1988 Hignett, S. Postural analysis of nursing work, Applied Ergonomics, 1996, 27 : 171 - 176 Josefina, F.E., DY. Visual Display Units: Job Content and Stress in Office Work. ILO Geneva, 1985, 40 -42 Krapac L. and Sakic D. Locomotor strain syndrome in user of video display terminals. Arhiv Za Higijienenu Rada I Toksikologiju. 1994; 45, 4: 327 – 334 Krueger, H., Conrady, P. and Zulch, J. Work with magnifying glasses. Ergonomics. 1989 : 32 (7): 785-794

Page 84: หน วยที่ 15 การประยุ กตการยศาสตร ํานัในสกงานและในโรงพยาบาล › UserFiles › File

84

Lundervold, A. Electromyographic investigations during typewriting. Ergonomics, 1, 226-233, 1958 Nachemsom AL. The Lumbar Spine : An Orthopaedic Challenge. Spine 1: 59 – 71, 1976 NIOSH. Ergonomic Guidelines for Manual Material Handling, Published 2007 by The California Department of Industrial Relations, Publication No. 2007 - 131 Office Ergonomic Guidelines – General Office Environment, The University of Sydney, Australia Available at : http://www.usyd.edu.au/ohs/ohs_manual/ergonomics/ERGO7.shtml Ong C.N., et al. Musculoskeletal disorders among operators of visual display terminals. Scandinavian Journal of Work, Environment & Health. 1995; 21,1: 60 – 64 Rossinal, A.M. Video display terminal use and reported health symptoms among Massachusetts clerical workers. Occupational Medicine. 1987, 29 : 112 – 118 Ruta, U. and Vidmantas, J. Association between occupational asthenopia and psycho-physiological indicators of visual strain in workers using video display terminals. Med Sci Monit. 2006, 12 : 296 – 301 Sasitorn Taptagaporn and Saito, Susumu. Visual Comfort in VDT Operation : Physiological Resting States of the Eye. Industrial Health. 1993, 31 : 13 – 28

Stefan M. Luger. Specialized training on Seiler, Zeiss, and Global Dental Microscopes. Available at : http://www.dentalmicroscopy.com/faq.htm

Tola S, Riihimaki H, Videman T, Viikari-Juntura E, Hanninen K. Neck and shoulder symptoms among men in machine operating, dynamic physical work and sedentary work. Scan J work Environ Health. 2002; 59: 269-277.

Page 85: หน วยที่ 15 การประยุ กตการยศาสตร ํานัในสกงานและในโรงพยาบาล › UserFiles › File

85

รชยา หาญธัญพงศ และ วิโรจน เจยีมจรัสรังสี. การศึกษาหาความชุกและปจจยัท่ีเกีย่วของกับภาวะ Computer Vision Syndrome ในเจาหนาท่ีท่ีทํางานโดยใชเคร่ืองคอมพิวเตอรในอาคาร อปร. คณะแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. วารสารโรคจากการประกอบอาชีพและส่ิงแวดลอม. 2549, 3: 57 – 65

รัชนีกร ชมสวน. อาชีวอนามัยและความปลอดภัยในโรงพยาบาล จัดพิมพโดยกองอาชีวอนามัย กรมอนามัย ปพ.ศ. 2542 ISBN 974-515-022-3

ธเนศ สินสงสุข. การศึกษาความชุกและปจจัยท่ีเกีย่วของกับการทํางานกับการเกดิอาการทางระบบกลามเนื้อและกระดูกโครงรางในบุคลากรทางการพยาบาลในโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ. ในวิทยานพินธหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต ปการศึกษา 2547, ISBN 974-17-5890-1 พินิจ อัศวแสงรัตน. ส่ิงคุกคามตอสุขภาพท่ีมีผลตอการเจ็บปวยจากการทํางานของบุคลากรในโรงพยาบาลหนองบัวลําภ,ู ขอนแกนเวชสาร ปท่ี 28 ฉบับท่ี 2 พฤษภาคม – สิงหาคม 2547, หนา101-113 สสิธร เทพตระการพร และคณะ. สุขภาพอนามัยกับการใชคอมพิวเตอรในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล, รายงานการศกึษาวิจัยของกองอาชีวอนามัย กรมอนามัย ป 2537 สสิธร เทพตระการพร และธรณพงศ จันทรวงศ. การประเมินความเส่ียงรังสีจากจอภาพคอมพิวเตอรในกรมอนามัย, รายงานการศกึษาวจิัยของกองอาชีวอนามัย กรมอนามัย ป 2539 สสิธร เทพตระการพร และคณะ. สุขภาพอนามัยของผูทํางานกับคอมพิวเตอร, เอกสารวิชาการ กองอาชีวอนามัย กรมอนามัย ป 2539 สสิธร เทพตระการพร และคณะ. อันตรายจากเคร่ืองถายเอกสาร, ISBN 974 7886 07 3 เอกสารวิชาการ กองอาชีวอนามัย กรมอนามัย ป 2540 อดุลย บัณฑกุลุ. คูมืออาชีวเวชศาสตร 2000, สํานักพิมพสมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญ่ีปุน) ปพ.ศ. 2544 อุษาพร ชวลิตนิธิกุล และคณะ. การสํารวจอาการปวดหลังจากการปฏิบัติวิชาชีพของพยาบาลไทย. วารสารความปลอดภัยและส่ิงแวดลอม. 2539, 6 : 57 - 66