บทที่1 - กระทรวงศึกษาธิการ · 2003-04-09 · 2....

27
บทที1 บทนํา หลักการ ปจจุบันหนวยงานของรัฐไดบริหารงบประมาณแบบมุงเนนผลงาน มีการผอนคลายใน การปฏิบัติงานตามกฎหมาย ระเบียบในดานตาง แตจะเนนการควบคุมภายใน เพื่อใหการปฏิบัติ งานบรรลุวัตถุประสงคตามเปาหมายที่กําหนดไว เครื่องมือ ที่จะชวยผูบริหารในการสงสัญญาณ เตือนวาการกระทําใดที่จะเกิดความเสี่ยงที่จะทําใหหนวยงานไมบรรลุเปาหมายตามที่กําหนดไว คือ ผูตรวจสอบภายใน ที่จะเขามาชวยในการสอบทานระบบงานวามีการควบคุมภายในที่เพียงพอหรือไม เพียงใด สอบทานความถูกตองและเชื่อถือไดของเอกสารหลักฐาน ทั้งนี้เพื่อใหมีการใชทรัพยสิน อยางมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และประหยัด ปราศจากการทุจริต กฎหมายที่เกี่ยวของ 1. พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ ..2542 และที่แกไขเพิ่มเติม มาตรา 62 บัญญัติวา ใหมีระบบการตรวจสอบ ติดตาม และประเมินประสิทธิภาพ และประสิทธิผลการใช จายงบประมาณการจัดการศึกษาใหสอดคลองกับหลักการศึกษา แนวการจัดการศึกษา และ คุณภาพมาตรฐานการศึกษา โดยหนวยงานภายในและ หนวยงานของรัฐที่มีหนาที่ตรวจสอบ ภายนอก 2. มาตรฐานการตรวจสอบภายในของสวนราชการ ตามที่กรมบัญชีกลางกําหนด (หนังสือกรมบัญชีกลาง ทีกค 0528.3/1093 ลงวันที11 มกราคม 2545) 3. ระเบียบคณะกรรมการการตรวจเงินแผนดินวาดวยการกําหนด มาตรฐาน การควบคุมภายใน ..2544 4. ระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยการตรวจสอบภายในของ สวนราชการ ..2542 บทบาทการตรวจสอบภายใน ปจจุบันบทบาทของการตรวจสอบภายใน ไดเปลี่ยนจากการคนหาขอผิดพลาดใน อดีตมาเปนการสงเสริมใหงานประสบความสําเร็จ หรือเพิ่มคุณคาใหกับ องคกร โดยการสอบทานระบบ การทํางานวาไดมีการปฏิบัติตามที่ผูบริหารไดกําหนด พรอมทั้งประเมินความเพียงพอ เหมาะสม และประสิทธิผลของระบบการควบคุมภายในปญหาหรือสาเหตุที่ทําใหองคกรไมสามารถ ประสบความสําเร็จ เพื่อใหคําปรึกษา แนะนําแกผูบริหารและผูปฏิบัติงานทุกระดับในองคกร

Upload: others

Post on 29-Dec-2019

2 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: บทที่1 - กระทรวงศึกษาธิการ · 2003-04-09 · 2. มาตรฐานการตรวจสอบภายในของส วนราชการ

บทที่ 1 บทนํา

หลักการ ปจจุบันหนวยงานของรัฐไดบริหารงบประมาณแบบมุงเนนผลงาน มีการผอนคลายในการปฏิบัติงานตามกฎหมาย ระเบียบในดานตาง ๆ แตจะเนนการควบคุมภายใน เพื่อใหการปฏิบัติงานบรรลุวัตถุประสงคตามเปาหมายที่กําหนดไว เครื่องมือ ที่จะชวยผูบริหารในการสงสัญญาณเตือนวาการกระทําใดที่จะเกิดความเสี่ยงที่จะทําใหหนวยงานไมบรรลุเปาหมายตามที่กําหนดไว คือ ผูตรวจสอบภายใน ที่จะเขามาชวยในการสอบทานระบบงานวามีการควบคุมภายในที่เพียงพอหรือไม เพียงใด สอบทานความถูกตองและเชื่อถือไดของเอกสารหลักฐาน ทั้งนี้เพื่อใหมีการใชทรัพยสินอยางมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และประหยัด ปราศจากการทุจริต กฎหมายที่เก่ียวของ 1. พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 และที่แกไขเพิ่มเติม มาตรา 62 บัญญัติวา ใหมีระบบการตรวจสอบ ติดตาม และประเมินประสิทธิภาพ และประสิทธิผลการใชจายงบประมาณการจัดการศึกษาใหสอดคลองกับหลักการศึกษา แนวการจัดการศึกษา และคุณภาพมาตรฐานการศึกษา โดยหนวยงานภายในและ หนวยงานของรัฐที่มีหนาที่ตรวจสอบภายนอก 2. มาตรฐานการตรวจสอบภายในของสวนราชการ ตามที่กรมบัญชีกลางกําหนด (หนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค 0528.3/ว 1093 ลงวันที่ 11 มกราคม 2545) 3. ระเบียบคณะกรรมการการตรวจเงินแผนดินวาดวยการกําหนด มาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ.2544 4. ระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยการตรวจสอบภายในของ สวนราชการ พ.ศ.2542

บทบาทการตรวจสอบภายใน ปจจุบันบทบาทของการตรวจสอบภายใน ไดเปลี่ยนจากการคนหาขอผิดพลาดใน

อดีตมาเปนการสงเสริมใหงานประสบความสําเร็จ หรือเพิ่มคุณคาใหกับ องคกร โดยการสอบทานระบบการทํางานวาไดมีการปฏิบัติตามที่ผูบริหารไดกําหนด พรอมทั้งประเมินความเพียงพอ เหมาะสม และประสิทธิผลของระบบการควบคุมภายในปญหาหรือสาเหตุที ่ทําใหองคกรไมสามารถประสบความสําเร็จ เพื่อใหคําปรึกษา แนะนําแกผูบริหารและผูปฏิบัติงานทุกระดับในองคกร

Page 2: บทที่1 - กระทรวงศึกษาธิการ · 2003-04-09 · 2. มาตรฐานการตรวจสอบภายในของส วนราชการ

๑๐

ในการปรับปรุงประสิทธิภาพการทํางานเพื่อเพิ่มประสิทธิผล ตลอดจนดูแลใหการใชทรัพยากรอยางประหยัดและคุมคา เพื่อใหองคกรสามารถดํารงอยูไดอยางมั่นคง นอกจากนี้ยังมีบทบาทในการเปน ผูประสานงานในการแกไขปญหา เพื่อใหบรรลุประโยชนสูงสุดขององคกร

บทบาทการตรวจสอบภายใน อาจจะขึ้นอยูกับลักษณะแนวคิดในการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน เชน

การตรวจสอบเพื่อ การบริหาร

ผูตรวจสอบภายในควรมีแนวคิดเยี่ยงผูบริหารการตรวจสอบ จะไมสนใจในเรื่องเล็กๆนอยๆ ใหความสําคัญกับเรื่องที่สําคัญๆ และกระทบตอการบริหารงาน อันมีผลทําใหองคกรไมบรรลุวัตถุประสงค เชน การลดตนทุน ผลสําเร็จของงาน เปนตน

การตรวจสอบ แบบมีสวนรวม

บทบาทการตรวจสอบจะมุงเนนใหมีการประสานงานระหวาง ผูบริหาร ผูปฏิบัติงาน และผูตรวจสอบภายใน เพื่อแกไขปญหา ของกิจการหรือองคกรรวมกัน

Page 3: บทที่1 - กระทรวงศึกษาธิการ · 2003-04-09 · 2. มาตรฐานการตรวจสอบภายในของส วนราชการ

๑๑

บทที่ 2 ระบบการตรวจสอบภายในเขตพื้นที่การศึกษา

โครงสรางของหนวยตรวจสอบภายใน การจัดโครงสรางและองคประกอบของหนวยงานตรวจสอบภายในมีความสําคัญมากตอประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงาน ผูตรวจสอบภายในตองมีอิสระและมีสถานภาพสูงพอที่จะปฏิบัติงานไดอยางเต็มตามศักยภาพ ใหขอเสนอแนะในรายงานผลการตรวจสอบ เพื่อใหผูบริหารไดพิจารณาสั่งการ เพื่อเปาหมายความสําเร็จของหนวยงาน โครงสรางหนวยตรวจสอบภายใน ตองมีความเชื่อมโยงกันในระดับสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษา ดังนี้

หนวยตรวจสอบภายใน

กลุมอํานวยการ กลุมนโยบายและแผน

กลุมสงเสริมการจัดการศึกษา

กลุมนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการ ศูนยบริการ

การศึกษา

สถานศึกษา

คณะทํางานตรวจสอบภายในระดับสถานศึกษา

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

หนวยตรวจสอบภายใน

สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา

กลุมบุคลากร

Page 4: บทที่1 - กระทรวงศึกษาธิการ · 2003-04-09 · 2. มาตรฐานการตรวจสอบภายในของส วนราชการ

๑๒

- ระดับเขตพื้นที่การศึกษาตามโครงสรางกําหนดใหมีผูตรวจสอบภายใน จํานวน 4 คน - ระดับสถานศึกษา ควรกําหนดใหมีคณะทํางานตรวจสอบภายในระดับสถานศึกษาอยางนอย 3 คน การบริหารงานตรวจสอบภายใน 1. หนวยตรวจสอบภายในตองจัดทําแผนการตรวจสอบประจําปพรอมเสนอทรัพยากรที่จําเปนตอการใชในการปฏิบัติงานเพื่อเสนอ ผอ.สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาอนุมัติแผนการตรวจสอบ ภายในสัปดาหแรกของเดือนกันยายนของทุกป และสงสําเนาใหสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานภายในเดือนตุลาคมของทุกป 2. หัวหนาหนวยตรวจสอบภายในควรดูแลใหมีการใชทรัพยากรที่ เหมาะสมและเพียงพอตอการปฏิบัติงานใหบรรลุตามแผนการตรวจสอบประจําปที่ไดรับอนุมัติ 3. หัวหนาหนวยตรวจสอบภายในควรกําหนดนโยบายและขั้นตอนในการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน เพื่อใหผูปฏิบัติงานใชเปนแนวทางในการปฏิบัติงาน 4. หนวยตรวจสอบภายในตองประสานงานและใหความรวมมือกับหนวยงานตรวจสอบภายใน สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และควรประสานงานและใหความรวมมือกับหนวยตรวจสอบภายในของสํานักงานเขตการศึกษาอื่น รวมทั้งผูตรวจสอบภายในบุคคลหรือหนวยงานอื่นที่ปฏิบัติงานเกี่ยวของกับงานตรวจสอบ 5. หนวยตรวจสอบภายในรายงานสรุปผลการปฏิบัติงานให ผอ.สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา 4 เดือนตอคร้ัง เพื่อใหทราบถึงผลการดําเนินงานวาเปนไปตามแผนการตรวจสอบที่ไดรับอนุมัติหรือไม รวมทั้งปญหาอุปสรรคที่ทําใหการปฏิบัติงานไมเปนไปตามแผนการตรวจสอบและสําเนาสงสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานทราบดวย บทบาทของผูตรวจสอบภายใน 1. บทบาทตอ ผอ.สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ผูตรวจสอบภายในเปนผูที่ใหคําปรึกษา แนะนํา ตอ ผอ.สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ในดานความมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการดําเนินงาน ความถูกตองและความเชื่อถือไดของขอมูลดานการเงินและการดําเนินงาน และการปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ และสัญญาตาง ๆ

Page 5: บทที่1 - กระทรวงศึกษาธิการ · 2003-04-09 · 2. มาตรฐานการตรวจสอบภายในของส วนราชการ

๑๓

2. บทบาทตอผูปฏิบัติงานของหนวยงาน ผูตรวจสอบภายในเปนผูที่คอยชวยเหลือใหคําปรึกษาแนะนํา ช้ีแนะใหผูปฏิบัติงานทุกระดับในองคกรสามารถปฏิบัติงานในดานตาง ๆ ใหเปนไปตามวัตถุประสงคอยางมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และประหยัด รวมทั้งเสนอแนะมาตรการในการปฏิบัติงาน เพื่อลดความเสี่ยง ปองกันการทุจริต และชวยประสานงานในการลดและแกปญหา ขอบกพรองตาง ๆ หนาที่ความรับผิดชอบของผูตรวจสอบภายใน ผูตรวจสอบภายในสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาปฏิบัติงานตรวจสอบใหเปนไปตามมาตรฐานและคูมือการปฏิบัติงานที่กําหนด โดยมีหนาที่ความรับผิดชอบ ดังนี้ 1. ตรวจสอบความถูกตองและเชื่อถือไดของขอมูลและตัวเลขตาง ๆ ดวยเทคนิคและวิธีการตรวจสอบที่ยอมรับโดยทั่วไป ปริมาณมากนอยตามความจําเปน และเหมาะสมโดยคํานึงถึงประสิทธิภาพของระบบการควบคุมภายใน และความสําคัญของเรื่องที่ตรวจสอบ รวมทั้งวิเคราะหและประเมินผลการบริหารและการปฏิบัติงานของหนวยรับตรวจ 2. ตรวจสอบการปฏิบัติงานเกี่ยวกับการบริหารงบประมาณ การบริหารการเงิน การบริหารพัสดุและทรัพยสิน รวมทั้งการบริหารงานดานอื่น ๆ ของสวนราชการใหเปนไปตามนโยบาย กฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ คําสั่ง และมติ ครม. ตลอดจนตรวจสอบการดูแลรักษาทรัพยสิน การใชทรัพยากรทุกประเภทวาเปนไปโดยมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และประหยัด 3. ประเมินผลการปฏิบัติงานและเสนอแนะวิธีการหรือมาตรการในการปรับปรุงแกไข เพื่อใหการปฏิบัติงานเปนไปโดยมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และประหยัดยิ่งขึ้น รวมทั้งเสนอแนะเพื่อปองปรามมิใหเกิดความเสียหายหรือการทุจริต ร่ัวไหลเกี่ยวกับการเงินหรือทรัพยสินตาง ๆ ของทางราชการ 4. รายงานผลการตรวจสอบตามแผนการตรวจสอบประจําปตอ ผอ.สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาหนวยรับตรวจ และสงสําเนาใหสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 5. ติดตามผลการตรวจสอบ เสนอแนะ และใหคําปรึกษาแกผูบริหารของกลุมงานและสถานศึกษาที่รับตรวจเพื่อใหการปรับปรุงแกไขของหนวยรับตรวจ ถูกตองตามที่ผูตรวจสอบภายในเสนอแนะ 6. ประสานงานกับผูตรวจสอบภายในสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เกี่ยวกับขอบเขตงาน แผนงาน และผลการตรวจสอบ ขอจํากัดและปญหาตาง ๆ ที่ตรวจพบ รวมทั้งหารือเพื่อขอรับความเห็นและขอเสนอแนะวิธีการหรือมาตรการในการปรับปรุงแกไข และประสาน

Page 6: บทที่1 - กระทรวงศึกษาธิการ · 2003-04-09 · 2. มาตรฐานการตรวจสอบภายในของส วนราชการ

๑๔

งานกับสํานักงานการตรวจเงินแผนดิน ภูมิภาค เพื่อใหการปฏิบัติงานตรวจสอบบรรลุเปาหมายและเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ 7. ปฏิบัติงานอื่นที่เกี่ยวของกับการตรวจสอบภายในตามที่ไดรับมอบหมายนอกเหนือจากแผนการตรวจสอบประจําป กรอบงานตรวจสอบภายในของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา กรอบงานการตรวจสอบภายในครอบคลุมถึงการตรวจสอบ วิเคราะห รวมทั้งการประเมินความเพียงพอและประสิทธิผลของระบบการควบคุมภายในของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษาในสังกัด ตลอดจนประเมินคุณภาพของการปฏิบัติงานที่ไดรับมอบหมายซ่ึงรวมถึง 1. ประเมินความมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการดําเนินงานในหนาที่ของหนวยรับตรวจ 2. สอบทานระบบการปฏิบัติงานตามมาตรฐานและหรือระเบียบ ขอบังคับ คําสั่งที่ทางราชการกําหนด เพื่อใหมั่นใจไดวาสามารถนําไปสูการปฏิบัติงานที่ตรงตามวัตถุประสงคและสอดคลองกับนโยบาย 3. สอบทานความเชื่อถือไดของขอมูล 4. ตรวจสอบระบบการดูแลรักษาและความปลอดภัยของทรัพยสินของหนวยรับตรวจใหมีความเหมาะสมกับประเภทของทรัพยสินนั้น ๆ 5. วิเคราะหและประเมินความมีประสิทธิภาพ ประหยัด และคุมคาในการใชทรัพยากรของหนวยงาน โดยคํานึงถึงผลกระทบตอส่ิงแวดลอมดวย ขั้นตอนการตรวจสอบภายใน การปฏิบัติงานตรวจสอบเพื่อใหเกิดประสิทธิภาพมีขั้นตอนการดําเนินงาน 4 ขั้นตอน ดังนี้

1. การวางแผนการตรวจสอบ (Audit Plan) 2. การปฏิบัติงานตรวจสอบ (Audit Conduct) 3. การรายงานผลการตรวจสอบ (Audit Report) 4. การติดตามผลการตรวจสอบ (Audit Follow-up)

Page 7: บทที่1 - กระทรวงศึกษาธิการ · 2003-04-09 · 2. มาตรฐานการตรวจสอบภายในของส วนราชการ

๑๕

1. การวางแผนการตรวจสอบ (Audit Plan) การวางแผนการตรวจสอบเปนการตัดสินใจลวงหนาวาจะปฏิบัติงานอยางไรจึงบรรลุเปาหมายและวัตถุประสงคที่กําหนดโดยใชทรัพยากรที่มีอยู เชน บุคลากร งบประมาณ วัสดุอุปกรณ ฯลฯ ซ่ึงผูตรวจสอบภายในตองจัดทําแผนการตรวจสอบระยะยาว 3 – 5 ป และแผนการตรวจสอบประจําป ใหสอดคลองกัน และเปนไปตามนโยบายของผูบริหารหรือหนวยงาน ขั้นตอนการวางแผนการตรวจสอบมี ดังนี้ 1.1 กําหนดเรื่องที่จะทําการตรวจสอบใหครอบคลุมกิจกรรมดังนี้ (1) กิจกรรมที่มีกฎหมาย ระเบียบ หรือนโยบายของหนวยงานตนสังกัดกําหนดใหตรวจสอบ (2) กิจกรรมที่มีความเสี่ยงสูง ซ่ึงจะไดรับจากการประเมินความเสี่ยงและจัดลําดับความสําคัญ

(3) เร่ืองที่ไดรับมอบหมายจาก ผอ.สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา 1.2 กําหนดเปาหมายวัตถุประสงคเกี่ยวกับเรื่องที่จะตรวจสอบ จํานวนหนวยรับ

ตรวจ ระยะเวลาการตรวจสอบแตละเรื่อง ผูรับผิดชอบในการตรวจสอบ รวมท้ังงบประมาณที่ใชในการตรวจสอบ และเรื่องอื่น ๆ เชน ความพรอมของหนวยรับตรวจ ฤดูกาล และระยะเวลาดําเนินการของงานและโครงการ เปนตน ทั้งนี้เพื่อประโยชนในการสอบทานความกาวหนาของงานตรวจสอบ

1.3 การมอบหมายทีมงานการตรวจสอบ ในการตรวจสอบควรจัดบุคลากรที่มีความรูและความสามารถ เขาใจเรื่อง

ที่จะตรวจสอบและหัวหนาหนวยตรวจสอบภายในจะตองควบคุมการปฏิบัติงาน สรางความเขาใจและความมั่นใจในการปฏิบัติงานตรวจสอบใหทีมงาน เพื่อบรรลุวัตถุประสงคที่กําหนดไวอยางมีคุณภาพ

2. การปฏิบัติงานตรวจสอบ (Audit Conduct) การปฏิบัติงานตรวจสอบเปนการรวบรวม วิเคราะห ประเมินและบันทึกขอมูลใหเพียงพอตอการปฏิบัติงานตามแผนการตรวจสอบใหบรรลุวัตถุประสงค การปฏิบัติงานตรวจสอบควรดําเนินการ 2 ขั้นตอน ดังนี้ 2.1 การเตรียมการกอนการปฏิบัติงาน (1) จัดทําแผนการปฏิบัติงานตรวจสอบ (Audit Program)

Page 8: บทที่1 - กระทรวงศึกษาธิการ · 2003-04-09 · 2. มาตรฐานการตรวจสอบภายในของส วนราชการ

๑๖

โดยกําหนดวัตถุประสงค ขอบเขต ตัวช้ีวัด แนวทางการตรวจสอบ และวิธีการตรวจสอบอยางละเอียด ชัดเจน พรอมทั้งสรางเครื่องมือการตรวจสอบใหครอบคลุมประเด็นที่จะทําการตรวจสอบ (2) สรางความเขาใจใหทีมงานตรวจสอบเกี่ยวกับแผนการปฏิบัติงานตรวจสอบ เพื่อใหการตรวจสอบมีประสิทธิภาพ และบรรลุวัตถุประสงค 2.2 การปฏิบัติงาน (1) ประชุมเปดตรวจกับหัวหนาหนวยรับตรวจ เพื่อแจง วัตถุประสงค ขอบเขต แนะนําผูตรวจ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น เพื่อประโยชนในการประสานงานกับผูรับตรวจ (2) ดําเนินการตรวจสอบตามแผนปฏิบัติงานตรวจสอบ (Audit Program) ที่กําหนดไว โดยการเก็บรวบรวมขอมูล หลักฐานที่นาเชื่อถือ เพียงพอ เกี่ยวของและเปนประโยชน ดวยเทคนิคและวิธีการตรวจสอบที่ยอมรับโดยทั่วไป (3) กํากับดูแลการปฏิบัติงาน หัวหนาทีมงานตรวจสอบควบคุมการปฏิบัติงานใหเปนไปตามแผนปฏิบัติงานตรวจสอบที่กําหนดไว พรอมทั้งสอบทานการปฏิบัติงาน เพื่อใหแนใจวา ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ผลการตรวจสอบ และเอกสารหลักฐานการตรวจสอบถูกตอง ชัดเจน เชื่อถือได (4) ประชุมปดตรวจ ผูตรวจสอบควรจัดใหมีการประชุมระหวางผูตรวจสอบกับผูรับตรวจที่รูเร่ืองในรายละเอียดของประเด็นการตรวจสอบ และผูมีอํานาจสั่งการแกไข เพื่อเปนการยืนยันใหเขาใจตรงกันเกี่ยวกับสิ่งที่ตรวจพบ และเปนการใหโอกาสแกผูรับตรวจในการชี้แจงจุดยืน เหตุผล ความเห็นเกี่ยวกับผลการตรวจสอบ เพื่อกําหนดแนวทางแกไข รวมทั้งวันที่คาดวาจะแกไขแลวเสร็จ 3. การรายงานผลการตรวจสอบ (Audit Report)

การรายงานผลการตรวจสอบเปนการสรุปผลการตรวจสอบเพื่อเสนอ ผอ.สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาไดทราบและใชเปนขอมูลประกอบการตัดสินใจ ส่ังการแกไข ปรับปรุงในสวนที่บกพรองตามที่ผูตรวจสอบภายในตรวจพบ ดังนั้น การนําเสนอขอมูลตาง ๆ จึงควรดําเนินการดวยความระมัดระวัง การรายงานผลการตรวจสอบภายในควรเปนไปในลักษณะการสงสัญญาณชวยเหลือ เตือนภัยที่สรางสรรคใหเกิดคุณคาและเปนประโยชนตอผูรับตรวจและผูที่มีสวนเกี่ยวของ เพื่อใหเกิดการมีสวนรวมรับผิดชอบโดย 1. สงสัญญาณเตือนทันทีที่ตรวจพบขอผิดพลาดใหผูรับการตรวจสอบทราบ เพื่อหาทางแกไข ปองกัน โดยการแนะนํา นิเทศ แนวทางการปองกันแกไข

Page 9: บทที่1 - กระทรวงศึกษาธิการ · 2003-04-09 · 2. มาตรฐานการตรวจสอบภายในของส วนราชการ

๑๗

2. รายงานใหผูบริหารทราบ เพื่อกํากับและสนับสนุนการปองกันแกไขใหเกิดผลสําเร็จอยางมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้การรายงานใหพิจารณาถึงความรุนแรงของผลกระทบที่เกิดตอผลผลิตและผลลัพธของการดําเนินงานวามากหรือรวดเร็วเพียงใด หากเห็นควรไดรับการแกไขโดยเรงดวนใหแยกเสนอรายงานเฉพาะดาน หรือรายงานดวยวาจาใหผูบริหารทราบในชั้นตนกอน แลวจึงรายงานผลการตรวจสอบภายในเปนลายลักษณอักษร ซ่ึงรายงานที่ดีควรมีลักษณะดังนี้ 1. ความถูกตอง รายงานผลการตรวจสอบตองเปนเรื่องที่ถูกตอง ตรงกับความเปนจริงและหลักสถิติ ไมเกินจริงหรือตีความหมายของปญหารายแรง เกินจริงและพึงระลึกไวเสมอวา ความเชื่อมั่นที่มีตอฝายตรวจสอบภายในทั้งหมดขึ้นอยูกับการจัดทํารายงานผลการตรวจสอบภายในแตละครั้ง 2. ความกระจางชัด รายงานการตรวจสอบภายในไมเพียงแตจะตองถูกตองเปนหลักแลวยังตองมีความกระจางชัด ชัดเจน เพื่อมิใหผูอานรายงานสับสน 3. ความกระชับรายงานที่ดีตองมีความกระชับ กะทัดรัด เนนจุดสําคัญของประเด็นปญหา และการอธิบายสั้นๆ 4. การทันเวลา รายงานผลการตรวจสอบจะเปนประโยชนก็ตอเมื่อผูรับการตรวจสอบไดรับทราบและสามารถนําไปปรับปรุงแกไขไดทันเวลา ดังนั้น การสรุปผลการตรวจสอบและการรายงานผลจึงตองรวดเร็ว ทันเวลา 5. น้ําหนักของรายงาน รายงานผลการตรวจสอบควรมุงที่จะชวยปองกันและปรับปรุงจุดออนหรือจุดดอยประสิทธิภาพของกระบวนการการดําเนินงาน จึงควรหลีกเลี่ยงการกลาวโทษคนใดคนหนึ่งโดยเฉพาะ รายงานการตรวจสอบควรมีสาระดังนี้

Page 10: บทที่1 - กระทรวงศึกษาธิการ · 2003-04-09 · 2. มาตรฐานการตรวจสอบภายในของส วนราชการ

๑๘

รายงานการตรวจสอบภายใน ชื่อหนวยรับตรวจ………………..

ความเปนมาในการตรวจสอบ (ถามี) …………………………………………………..

………………………………………………….. …………………………………………………..

วัตถุประสงคของการตรวจสอบ ………………………………………………….. ………………………………………………….. …………………………………………………..

ขอบเขตและวิธีการตรวจสอบ ………………………………………………….. ………………………………………………….. …………………………………………………..

ระยะเวลาการตรวจสอบ ………………………………………………….. ………………………………………………….. ประเด็นที่ตรวจสอบ ………………………………………………….. ………………………………………………….. หลักเกณฑ (Criteria) ………………………………………………….. ………………………………………………….. ขอเท็จจริงที่ตรวจพบ (Condition) ………………………………………………….. ………………………………………………….. ผลกระทบ (Effect) ………………………………………………….. ………………………………………………….. สาเหตุ (Cause) …………………………………………………..

………………………………………………….. ขอเสนอแนะ (Recommendation) ………………………………………………….. ………………………………………………….. แนวทางการแกไข ………………………………………………….. …………………………………………………..

Page 11: บทที่1 - กระทรวงศึกษาธิการ · 2003-04-09 · 2. มาตรฐานการตรวจสอบภายในของส วนราชการ

๑๙

ความเห็นโดยรวมของ ………………………………………………….. คณะผูตรวจสอบ ………………………………………………….. ………………………………………………….. ความเห็นของหนวยรับตรวจ ………………………………………………….. ………………………………………………….. 4. การติดตามผลการตรวจสอบ (Audit Follow-up) ผูตรวจสอบภายในตองติดตามผลการตรวจสอบวา หนวยรับตรวจไดดําเนินการแกไขปรับปรุงขอบกพรองตามขอเสนอแนะในรายงานการตรวจสอบหรือไม ทั้งนี้เพื่อเปนการพัฒนา การปฏิบัติงานของหนวยรับตรวจใหมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล การติดตามผลการตรวจสอบควร

1. กําหนดระยะเวลาในการติดตามผลการตรวจสอบใหเหมาะสม 2. ผูตรวจสอบควรติดตามความคืบหนาในการปรับปรุงขอบกพรองของหนวยรับตรวจเปนระยะ ๆ หากมีปญหาควรเขาไปพิจารณาใหคําแนะนํา เพื่อใหหนวยรับตรวจเกิดความเขาใจในการปฏิบัติตามขอเสนอแนะ 3. ผูตรวจสอบควรรวมกับผูบริหารในการสั่งการ เสนอแนะ เพื่อไมใหเกิดขอบกพรองในโอกาสตอไป

Page 12: บทที่1 - กระทรวงศึกษาธิการ · 2003-04-09 · 2. มาตรฐานการตรวจสอบภายในของส วนราชการ

๒๐

บทที่ 3 แนวทางการตรวจสอบภายใน

การตรวจสอบภายในเปนระบบงานที่จัดใหมีขึ้น เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการของผูบริหาร โดยดําเนินงานครอบคลุมทั้งทางดานการดําเนินงาน (Performance Activities) และการเงิน (Financial Activities) ซ่ึงสามารถแยกตามประเภทการตรวจสอบเปน 2 ประเภท ใหญ ๆ ดังนี้

1. การตรวจสอบการดําเนินงาน (Performance Auditing) 2. การตรวจสอบทางการเงิน (Financial Auditing) หลักการทั่วไปในการตรวจสอบทุกประเภท ดําเนินการโดยการเปรียบเทียบ

ระหวางการดําเนินงาน ผลการดําเนินงาน ของ กิจกรรมใด กิจกรรมหนึ่งกับบรรทัดฐาน มาตรฐานหรือแบบอยางที่เหมาะสม

1. การตรวจสอบการดําเนินงาน (Performance Auditing) การตรวจสอบการดําเนินงาน เปนการตรวจสอบเกี่ยวกับการดําเนินงานตามแผนงาน งานและโครงการ และหรือแผนกลยุทธ รวมทั้งตรวจสอบเกี่ยวกับกระบวนการปฏิบัติงาน เพื่อใหผูบริหารและผูปฏิบัติงานของสวนราชการทราบวาผลการดําเนินงาน และหรือผลกระทบที่เกิดจากการดําเนินงานรวมถึงกระบวนการปฏิบัติงานไดรับผลสําเร็จตามที่กําหนดไวอยางมีประสิทธิผล ประสิทธิภาพ และประหยัด รวมท้ังถูกตองตามกฎหมายหรือไม อยางไร ตลอดจนใหขอเสนอแนะวิธีการหรือแนวทาง เพื่อพัฒนาปรับปรุงแกไขขอบกพรอง ความผิดพลาดและหรือความเสียหายที่เกิดขึ้นในระบบการดําเนินงานและผลการดําเนินงาน

บรรทัดฐาน มาตรฐาน ตัวแบบ การดําเนินงาน และ ผลการดําเนินงานที่เกิดขึ้นจริง

หลักการทั่วไปของการตรวจสอบ

เปรียบเทียบ

Page 13: บทที่1 - กระทรวงศึกษาธิการ · 2003-04-09 · 2. มาตรฐานการตรวจสอบภายในของส วนราชการ

๒๑

วัตถุประสงคการตรวจสอบ 1. เพื่อใหทราบวา ผลการดําเนินงาน : ผลผลิต ผลลัพธ ผลกระทบ สําเร็จตามวัตถุประสงค เปาหมาย อยางมีประสิทธิผล ประสิทธิภาพ ประหยัด 2. เพื่อใหทราบวา กระบวนการปฏิบัติงานถูกตองตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ ระบบ วิธีการ และหรือมาตรฐานการปฏิบัติงานที่กําหนดไว 3. เพื่อใหทราบวา ผลลัพธหรือผลกระทบที่เกิดขึ้นเปนผลสําเร็จจากการดําเนินงานอยางแทจริง 4. เพื่อทราบผลกระทบจากการดําเนินงานทั้งในดานบวกและดานลบ

5. เพื่อติดตามและหรือเรงรัดการดําเนินงานใหบรรลุผลสําเร็จและเปนไปตามแผนที่กําหนดไว

6. เพื่อใหขอสังเกตและหรือขอเสนอแนะที่เปนประโยชนตอการบริหารงาน การปฏิบัติงาน และการปรับปรุงแกไขการดําเนินงาน แนวทางการตรวจสอบ 1. ตรวจสอบผลการดําเนินงานตามพันธกิจของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษาทั้งดานปริมาณและคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาที่สถานศึกษาและหนวยงานที่เกี่ยวของกําหนด 2. ตรวจสอบการดําเนินงาน / โครงการ / กิจกรรมที่สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษาปฏิบัติทั้งดานปริมาณและคุณภาพ 3. ตรวจสอบการดําเนินงานโดยใชเครื่องมือและวิธีการที่หลากหลาย เพื่อใหไดมาซึ่งขอมูลและผลการตรวจสอบที่ถูกตอง เที่ยงตรง และมีความเชื่อมั่น 4. ตรวจสอบการดําเนินงานใหมีความครอบคลุมทั้งบริบท ปจจัย กระบวนการ และผลผลิต 5. การตรวจสอบมุงพัฒนาผลการดําเนินงานไปสูความมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลของงาน และเกิดความประหยัดงบประมาณ จากวัตถุประสงค และหลักการการตรวจสอบการดําเนินงาน จะเห็นไดวาการตรวจสอบการดําเนินงานสามารถตรวจสอบไดทั้งในภาพกวาง เชน การตรวจสอบ การดําเนินงานตามแผนกลยุทธ เพื่อทราบผลการดําเนินงานตามพันธกิจของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา การตรวจสอบตามแผนงาน งาน/โครงการ/กิจกรรม รวมทั้งการตรวจสอบกระบวนการปฏิบัติงานวา มีประสิทธิผล ประสิทธิภาพ ความประหยัด และคุมคา หรือไม

Result = Output / Outcome /

Page 14: บทที่1 - กระทรวงศึกษาธิการ · 2003-04-09 · 2. มาตรฐานการตรวจสอบภายในของส วนราชการ

๒๒

กระบวนการตรวจสอบ กระบวนการ และขั้นตอนสําคัญในการตรวจสอบ มีดังนี้ 1. การวางแผนปฏิบัติการตรวจสอบ (Audit Plan)

1.1 กําหนดเรื่องที่จะทําการตรวจสอบ 1.2 กําหนดเปาหมาย และระยะเวลาในการตรวจสอบ 1.3 กําหนดประเด็นปญหาสําคัญที่ควรตรวจสอบ (Matters of Significant)

1.3.1 กําหนดวัตถุประสงคการตรวจสอบ 1.3.2 การสํารวจขอมูล

1.4 การจัดทําแผนปฏิบัติการตรวจสอบ (Audit Program) 2. การปฏิบัติการตรวจสอบ

2.1 การรวบรวมหลักฐาน และการจัดทํากระดาษทําการ 2.2 การสรุปผลการตรวจสอบ

1. การวางแผนปฏิบัติการตรวจสอบ 1.1 การกําหนดเรื่องท่ีจะทําการตรวจสอบ การตรวจสอบการดําเนินงานสามารถเลือก

ตรวจสอบเฉพาะกระบวนการปฏิบัติงานดานใดดานหนึ่งได เชน การตรวจสอบการบริหารทรัพยสิน การตรวจสอบการใชจายเงิน ฯลฯ และสามารถเลือกทําการตรวจสอบการดําเนินงานตามแผนกลยุทธ แผนงาน งาน / โครงการ ตั้งแตขั้นตอนการวางแผน การปฏิบัติตามแผน และเมื่อดําเนินการเสร็จส้ินตามแผน เพื่อทราบความมีประสิทธิผล ประสิทธิภาพ และประหยัดในการดําเนินงาน สําหรับการเลือกแผนงาน งาน / โครงการที่จะทําการตรวจสอบ สามารถดําเนินการไดโดย

Page 15: บทที่1 - กระทรวงศึกษาธิการ · 2003-04-09 · 2. มาตรฐานการตรวจสอบภายในของส วนราชการ

๒๓

ผลผลิต ผลลัพธ ระดับแผนงาน ผลผลิต ผลลัพธระดับโครงการ หรือเลือกตามระดับความสนใจของสาธารณชนและหนวยเหนือ

1.2 การกําหนดเปาหมายและระยะเวลาในการตรวจสอบ เมื่อกําหนดแผนกลยุทธ แผนงาน งานหรือโครงการที่จะทําการ ตรวจสอบตาม

ขอ 1.1 แลว ผูตรวจสอบตองกําหนดเปาหมายของการตรวจสอบใหชัดเจน และเปาหมายของการตรวจสอบจะเปนตัวกําหนดวา ผูตรวจสอบควรตรวจสอบในชวงเวลาใดดังนี้ 1.2.1 หากผูตรวจสอบตองการทราบวา แผนที่จัดทําขึ้นมีความเปนไปไดท่ีจะประสบผลสําเร็จเพียงใด การตรวจสอบในลักษณะนี้เรียกวา การตรวจสอบแผนการดําเนินงาน ซ่ึงตองกําหนดเวลาในการตรวจสอบหลังการวางแผนเสร็จสิ้น แตยังไมเร่ิมปฏิบัติตามแผน

แผนกลยุทธ

แผนงบประมาณระยะปานกลาง (MTEF)

แผนปฏิบัติการประจําป

แผนงาน แผนงาน

โครงการ โครงการ

กิจกรรม กิจกรรม

ระบบบริหารทรัพยสิน

ระบบการเงินการบัญชี

เงิน คน อุปกรณ ฯลฯ

การตรวจสอบการปฏิบัติงานตามแผนงาน และการตรวจสอบผลสัมฤทธิ์ของแผนการดําเนินงาน ควรเลือก 1) แผนงานที่เปนแผนงานหลัก ตามภารกิจ 2) โครงการที่ - สงผลมากสุดตอผลผลิต และ ผลลัพธระดับแผนงาน - ใชทรัพยากรสูง - มีปริมาณกิจกรรมมาก ยุงยาก ซับซอน

การตรวจสอบแผนการดําเนินงาน ซ่ึงเปนการตรวจสอบ ขั้นตอนการวางแผน ผูตรวจสอบสามารถ เลือกตรวจสอบไดทุกแผน

ทรัพยากรที่ใช

Page 16: บทที่1 - กระทรวงศึกษาธิการ · 2003-04-09 · 2. มาตรฐานการตรวจสอบภายในของส วนราชการ

๒๔

1.2.2 หากตองการตรวจสอบเพื่อพัฒนาแกไขและปรับปรุงการดําเนินงาน ใหเปนไปตามแผน เรียกวา การตรวจสอบการปฏิบัติตามแผนการดําเนินงาน เปนการ ตรวจสอบระหวางการปฏิบัติตามแผน 1.2.3 หากตองการทราบวา การดําเนินงานตามแผนประสบผลสําเร็จ เพียงใด เรียกวา การตรวจสอบผลสัมฤทธิ์ของแผนการดําเนินงาน ตองทําการตรวจสอบหลังปฏิบัติตามแผนเสร็จสิ้นแลว

1.3 การกําหนดประเด็นปญหาสําคัญท่ีควรตรวจสอบ

เมื่อผูตรวจสอบกําหนดเรื่องที่จะทําการตรวจสอบ และทราบเปาหมายที่ตองการแลว ใหกําหนดประเด็นปญหาสําคัญที่ควรตรวจสอบ โดย

1.3.1 การกําหนดวัตถุประสงคการตรวจสอบ 1.3.2 การสํารวจขอมูล

การตรวจสอบการดําเนินงาน เปนการตรวจสอบที่พิจารณาความเชื่อมโยง ระหวางผลการดําเนินงกระบวนการปฏิบัติงาน และทรัพยากรที่ใช

การกําหนดวัตถุประสงคการตรวจสอบ

ประเด็นที่คาดวาเปนปญหาสําคัญ (MOPS)

การสํารวจขอมูล การสํารวจขอมูลเบื้องตน

การสํารวจขอมูลข้ันสุดทาย ประเด็นปญหาสําคัญที่ควรตรวจสอบ (MOS)

Page 17: บทที่1 - กระทรวงศึกษาธิการ · 2003-04-09 · 2. มาตรฐานการตรวจสอบภายในของส วนราชการ

๒๕

1.3.1 การกําหนดวัตถุประสงคการตรวจสอบ ขั้นตอนนี้จะเปนการกําหนดวัตถุประสงคการตรวจสอบอยางกวาง ๆ เชน วัตถุประสงคเพื่อทราบวาการดําเนินโครงการ..(ช่ือ)…มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ประหยัด และปฏิบัติตามกฎหมาย ฯลฯ ทั้งนี้เพื่อเปนทิศทางในการสะสม ขอมูล กลาวคือ การตรวจสอบเพื่อทราบประสิทธิภาพของโครงการยอมมีทิศทางสะสม ขอมูลแตกตางจากการตรวจสอบเพื่อทราบการทุจริตโครงการ

1.3.2 การสํารวจขอมูล การสํารวจขอมูล เปนกระบวนการรวบรวมสะสมขอมูลโดยยังไมจําเปนตองมี

หลักฐานพิสูจนความถูกตองในรายละเอียด แบงเปน 2 ระดับ คือ การสํารวจขอมูลเบื้องตน และการสํารวจขอมูลขั้นสุดทาย ซ่ึงทั้ง 2 ระดับเปนการสํารวจขอมูลชุดเดียวกัน แตกตางกันที่ระดับความเขมขน และความลึกในการสํารวจขอมูล ขอมูลที่จะทําการสํารวจ ไดแก ขอมูลทั่วไปของเรื่องที่จะทําการตรวจสอบ เชน แผนงาน โครงการ เปนตน และขอมูลเกี่ยวกับความมีประสิทธิผล ประสิทธิภาพ ประหยัด และการปฏิบัติตามกฎหมายในการดําเนินงานโครงการซึ่งรวมถึงผลการดําเนินงาน กระบวนการ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ของโครงการ

วัตถุประสงค ของการสํารวจขอมูล เพื่อใหผูตรวจสอบ 1). ทราบรายละเอียดเรื่องที่จะทําการตรวจสอบ เสมือนผูรับผิดชอบ ดําเนินการ

ในเรื่องนั้น 2). ทราบจุดออน ปญหาอุปสรรคในการดําเนินงานตามวัตถุประสงคการตรวจสอบที่ตั้งไว ไดแก จุดออน และปญหาอุปสรรค ในการดําเนินงานสงผลตอความมีประสิทธิผล ประสิทธิภาพ ประหยัด และการปฏิบัติตามกฎหมาย เชน

• การปฏิบัติงานลาชาไมเปนไปตามแผน • ผลงานไมเปนไปตามเปาหมายที่กําหนด • การใชจายเงินงบประมาณสูงกวาที่กําหนด ฯลฯ

วิธีการสํารวจอาจไดจากการสอบถามผูรับผิดชอบ หรือ ผูที่เกี่ยวของ หรือโดยการตรวจสอบเอกสาร เชน รายละเอียดโครงการ รายงานผลการดําเนินงาน ฯลฯ ผูตรวจสอบจะพบวา โครงการมีปญหา อุปสรรคตางๆ มากมาย ใหผูตรวจสอบลําดับความสําคัญวา ปญหาใดเกี่ยวของกับความมีประสิทธิผล ประสิทธิภาพ ประหยัด และการปฏิบัติตามกฎหมาย ของโครงการ

Page 18: บทที่1 - กระทรวงศึกษาธิการ · 2003-04-09 · 2. มาตรฐานการตรวจสอบภายในของส วนราชการ

๒๖

หรืองานที่ทําการตรวจสอบมากสุด ใหนําปญหานั้นมากําหนดเปนประเด็นที่คาดวาเปนปญหาสําคัญ (Matters of Potential Significant : MOPS)

เมื่อกําหนดประเด็นท่ีคาดวาเปนปญหาสําคัญ ( MOPS) แลว ใหพิจารณาวาควรทําการตรวจสอบตอไปหรือไม โดยดําเนินการตามแผนภูมิ ดังตอไปนี้

1). สํารวจขอมูลหาสิ่งที่ควรจะเปน (Criteria) และสิ่งที่เปนอยูจริงหรือ

ส่ิงที่เกิดขึ้นจริง (Condition) ผูตรวจสอบตองสํารวจขอมูลเพิ่มเติมวา สิ่งท่ีควรจะเปน คืออะไร และ สิ่งท่ีเปนอยูจริงหรือสิ่งท่ีเกิดขึ้นจริงคืออะไร เชน

• ผลงานไมเปนไปตามเปาหมายที่กําหนด สํารวจขอมูลเพิ่มเติมวา เปาหมายคืออะไร

ผลที่เกิดขึ้นจริงคืออะไร

• การปฏิบัติงานลาชาไมเปนไปตามแผน

ส่ิงที่ควรจะเปน ส่ิงที่เปนอยูจริงหรือ ส่ิงที่เกิดขึ้นจริง

ประเด็นที่คาดวาเปนปญหาสําคัญ (MOPS)

เปรียบ เทียบ

แตกตาง หรือไม ยุติ

ไมแตกตาง หรือ ไมมีนัยสําคัญ

กําหนดเปนประเด็นปญหาสําคัญที่ควรตรวจสอบ (MOS)

แตกตาง แบบมีนัยสําคัญ

คือ สิ่งที่ควรจะเปน : Criteria คือ สิ่งที่เปนอยูจริงหรือสิ่งที่เกิดขึ้นจริง :

Page 19: บทที่1 - กระทรวงศึกษาธิการ · 2003-04-09 · 2. มาตรฐานการตรวจสอบภายในของส วนราชการ

๒๗

สํารวจขอมูลเพิ่มเติมวา แผนกําหนดอยางไร ปฏิบัติจริงอยางไร

2). พิจารณาการตรวจสอบ โดยการนํา ส่ิงที่ควรจะเปน (criteria) เปรียบเทียบกับ ส่ิงที่เปนอยูจริงหรือส่ิงที่เกิดขึ้นจริง (condition)

• ถาแตกตางแบบไมมีนัยสําคัญใหยุติการตรวจในประเด็นนี้ • ถาแตกตางแบบมีนัยสําคัญ ใหกําหนดเปนประเด็นปญหาสําคัญท่ีควร

ตรวจสอบ (Matters of Significant: MOS)

1.4 การจัดทําแผนปฏิบัติการตรวจสอบ (Audit Program) ใหจัดทําแผนปฏิบัติการตรวจสอบ โดยนําประเด็นปญหาสําคัญที่ควรตรวจสอบ มากําหนดแนวทางในการตรวจสอบเพิ่มเติมเพื่อ

1.4.1 หาสาเหตุ (Cause) ที่ทําใหส่ิงที่ควรจะเปน (criteria) ตางจากสิ่งที่เปนอยูจริงหรือส่ิงที่เกิดขึ้นจริง (condition) เกิดจากอะไร

1.4.2 หาผลกระทบ (Effect) ที่เกิดจากการที่ส่ิงที่ควรจะเปน (criteria) ตางจากสิ่งที่เปนอยูจริงหรือส่ิงที่เกิดขึ้นจริง (condition) สงผลตออะไรบาง

1.4.3 ใหขอเสนอแนะ (Recommendation) วิธีการแกไขตามสาเหตุที่พบ

เนื่องจากการตรวจสอบการดําเนินงาน มาจากแนวคิดของระบบ (system concept) การตรวจสอบการดําเนินงาน จึงมีสมมุติฐานวา หากกระบวนการปฏิบัติงาน และ ทรัพยากรที่ใชเปนไปตามที่กําหนด ผลผลิต และผลลัพธ ยอมเปนไปตามที่กําหนดดวย ดังนั้นแนวทางการตรวจสอบตามแผนปฏิบัติการตรวจสอบ จึงเนนการสอบทาน กระบวนการปฏิบัติงาน และตรวจสอบทรัพยากรที่เกี่ยวของ ที่สงผลตอประเด็นปญหาสําคัญที่ควรตรวจสอบ (MOS)

2. การปฏิบัติการตรวจสอบ เมื่อวางแผนปฏิบัติการตรวจสอบแลวในขั้นตอนตอไปคือ การปฏิบัติการ

ตรวจสอบ เพื่อหาหลักฐานในรายละเอียดเพิ่มเติม ซ่ึงไดแก ขอเท็จจริงตาง ๆ ที่ผูตรวจสอบไดพบ เพื่อใชเปนหลักฐานสนับสนุนความเห็น และขอสรุปเกี่ยวกับประเด็นปญหาสําคัญที่ควรตรวจสอบ การปฏิบัติการตรวจสอบประกอบดวย ขั้นตอนยอย คือ

input process output

Page 20: บทที่1 - กระทรวงศึกษาธิการ · 2003-04-09 · 2. มาตรฐานการตรวจสอบภายในของส วนราชการ

๒๘

2.1 การรวบรวมหลักฐานและการจัดทํากระดาษทําการ 2.2 การสรุปผลการตรวจสอบ

2.1 การรวบรวมหลักฐานและการจัดทํากระดาษทําการ ตามแนวทางการตรวจสอบที่กําหนดในแผนปฏิบัติการตรวจสอบ เปนการดําเนินการเพื่อใหไดสาระสําคัญตอไปนี้คือ สาเหตุปญหา ผลกระทบจากการเกิดปญหา และขอเสนอแนะ การตรวจสอบ โดยวิธีการ

2.1.1 ตรวจรวบรวมขอมูล สอบทานกระบวนการ วิธีปฏิบัติงาน และระบบงาน ตามที่กําหนดในแนวทางการตรวจสอบ 2.1.2 สัมภาษณเจาหนาที่ที่รับผิดชอบและผูที่เกี่ยวของ 2.1.3 บันทึกรวบรวมขอมูลในกระดาษทําการตาง ๆ

สิ่งท่ีไดจากการตรวจสอบ ทรัพยากรและกระบวนการปฏิบัติงาน คือ ขอสังเกตการตรวจสอบ ซ่ึงเปนจุดออน ปญหา อุปสรรค จากการไมปฏิบัติตามระบบที่กําหนด หรือมีทรัพยากรไมเพียงพอ ขอสังเกตนี้คือ สาเหตุที่แทจริง ที่ทําใหเกิดประเด็นปญหาสําคัญที่ควรตรวจสอบ (MOS) สําหรับผลกระทบ ซ่ึงก็คือ ผลเสียหาย หรือโอกาสที่จะเกิดความเสียหาย จากการเกิดประเด็นปญหาสําคัญที่ควรตรวจสอบ (MOS) ผูตรวจสอบควรระบุผลกระทบที่เกิดใหชัดเจนวา ประเด็นปญหาที่เกิด จะสงผลกระทบตออะไรบาง และมากนอยเพียงใด แลวใหผูตรวจสอบเสนอแนะแนวทางในการปรับปรุงแกไขปญหา ตามสาเหตุที่ตรวจพบ โดยพิจารณาความเปนไปไดจากปจจัยแวดลอม เชน ทรัพยากร ที่มีจํานวนบุคลากร ความรู ฯลฯ

Page 21: บทที่1 - กระทรวงศึกษาธิการ · 2003-04-09 · 2. มาตรฐานการตรวจสอบภายในของส วนราชการ

๒๙

2.2 การสรุปผลการตรวจสอบ เมื่อทําการตรวจสอบในประเด็นปญหาสําคัญที่ควรตรวจสอบ (MOS) โดยไดขอมูลในแตละประเด็นแลว ใหเรียบเรียงสรุปผลการตรวจสอบเปนขอตรวจพบ ซ่ึงมี 5 องคประกอบ ดังนี้

ประเด็นปญหาสําคัญ ท่ีควรตรวจสอบ (MOS)

1. สิ่งท่ีควรจะเปน (Criteria)

2. สิ่งท่ีเปนอยูจริง (Condition)

3. สาเหตุ (Cause)

การรายงาน / สงสัญญาณเตือนภัย - ตอผูบริหารสถานศึกษา เพื่อบริหารความเสี่ยง - ตอคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน - ตอผูปกครอง / สาธารณชน

5. ขอเสนอแนะ (Recommendation)

4. ผลกระทบตอเปาหมาย (Effect)

Page 22: บทที่1 - กระทรวงศึกษาธิการ · 2003-04-09 · 2. มาตรฐานการตรวจสอบภายในของส วนราชการ

๓๐

2. การตรวจสอบทางการเงิน (Financial Auditing) การตรวจสอบทางการเงินเปนการตรวจสอบความถูกตองเชื่อถือไดของขอมูลทางการเงิน โดยครอบคลุมถึงการดูแลทรัพยสิน การประเมินระบบควบคุมภายในของระบบงานตาง ๆ วา มีเพียงพอที่จะมั่นใจไดวา ขอมูลที่บันทึกในบัญชี รายงาน ทะเบียน และเอกสารตาง ๆ ถูกตอง และสามารถสอบทานได หรือเพียงพอที่จะปองกันการรั่วไหลสูญหายของทรัพยสินตาง ๆ ได ความแตกตางระหวางการตรวจสอบการดําเนินงานกับการตรวจสอบทางการเงิน หากพิจารณาเรื่องที่จะทําการตรวจสอบ ระหวางการตรวจสอบการดําเนินงานและการตรวจสอบทางการเงินแลวจะเห็นไดวาไมมีความแตกตางกันที่ชัดเจน ความแตกตางของการตรวจสอบทั้งสองลักษณะ จึงไมมีอยูที่เร่ืองหรือกิจกรรมที่จะทําการตรวจสอบ แตอยูที่วัตถุประสงคในการตรวจสอบ แมแต กิจกรรมในงานดานการเงินการบัญชี ก็สามารถจะตรวจสอบไดทั้งการตรวจสอบการดําเนิน

งาน และการตรวจสอบทางการเงิน ตัวอยางเชน

1. การตรวจสอบการเงินบัญชี หากตองการตรวจสอบ เพื่อใหทราบวา ขอมูล

ทางดานการเงินการบัญชี ถูกตองหรือไม ปฏิบัติตามคูมือ ระเบียบที่เกี่ยวของ หรือไมมีเงินคงเหลือถูกตองหรือไม ถือเปนการตรวจสอบทางการเงิน แตหากขยายการตรวจสอบออกไปเปน เพื่อใหทราบวา การดําเนินงานทางดานการเงินการบัญชีมีประสิทธิภาพหรือไม ถือเปนการตรวจสอบการดําเนินงาน

วัตถุประสงคของการตรวจสอบ เพื่อทราบความมี ประสิทธิผล ประสิทธิภาพ และประหยัด

การตรวจสอบการดําเนินงาน

วัตถุประสงคของการตรวจสอบ เพื่อความถูกตอง ของ ขอมูล กระบวนการปฏิบัติถูกตองตามระเบียบ กฎหมาย ระบบ และมาตรฐานที่กําหนด

การตรวจสอบทางการเงิน

Page 23: บทที่1 - กระทรวงศึกษาธิการ · 2003-04-09 · 2. มาตรฐานการตรวจสอบภายในของส วนราชการ

๓๑

2. การตรวจสอบสินทรัพย หากตองการตรวจสอบเพื่อทราบวา ครุภัณฑมีอยูครบถวนหรือไม เก็บรักษาเหมาะสมหรือไม กระบวนการจัดหาและไดมาเปนไปตามขั้นตอนและถูกตองตามระเบียบหรือไม ถือเปนการตรวจสอบทางการเงิน หากขยายผลการตรวจสอบโดยตองการทราบวา มีการใชครุภัณฑคุมคาหรือไม กระบวนการจัดหา และไดมาเปนไปโดยประหยัดหรือไม ถือเปนการตรวจสอบการดําเนินงาน

ดังนั้นการตรวจสอบทางการเงินจึงเปนตรวจสอบในลักษณะที่แคบกวาการตรวจสอบการดําเนินงานซึ่งสามารถใหผลการตรวจสอบทางการเงินไดดวยแตอยางไรก็ตาม การตรวจสอบทางการเงินยังคงมีความจําเปนที่ตองดําเนินการอยู เนื่องจากสามารถทําการตรวจสอบไดงาย รวดเร็ว และบอยคร้ังเทาที่ตองการ จึงเปนกิจกรรมหนึ่งที่สามารถชวยลดความเสี่ยงในการทุจริตคอรรัปชั่น หรือลดความเสี่ยงในการดําเนินงานกอนที่จะสงผลกระทบตอความมีประสิทธิผล ประสิทธิภาพ และประหยัด วัตถุประสงคของการตรวจสอบ 1. เพื่อสอบทานความเชื่อถือไดของขอมูล 2. เพื่อสอบทานความเหมาะสมในการเก็บรักษาทรัพยสิน และทดสอบวาทรัพยสินนั้นมีอยูจริง 3. เพื่อใหผูบริหารเกิดความมั่นใจอยางมีเหตุผลวา การดําเนินการตาง ๆ ที่กําลังดําเนินการอยูนั้น มุงสูวัตถุประสงคขององคกรหรือไม และควรปรับปรุงแกไขอยางไร แนวทางการตรวจสอบ 1. กําหนดวัตถุประสงคการตรวจสอบ 2. ปฏิบัติการตรวจสอบ 1. การกําหนดวัตถุประสงคของการตรวจสอบ กอนทําการตรวจสอบทางการเงินผูตรวจสอบตองกําหนดวัตถุประสงคของการตรวจสอบใหชัดเจนวา ตองการตรวจสอบเพื่อใหทราบอะไรใน 3 ประเด็นนี้ คือ 1. รายงานการเงิน และขอมูลทางการเงินการบัญชีเชื่อถือได 2. ทรัพยสิน เชน เงิน วัสดุ ครุภัณฑ ฯลฯ มีอยูจริง และมีการเก็บรักษาอยางเหมาะสม หรือ

Page 24: บทที่1 - กระทรวงศึกษาธิการ · 2003-04-09 · 2. มาตรฐานการตรวจสอบภายในของส วนราชการ

๓๒

3. มีการปฏิบัติตามระบบควบคุมภายในที่กําหนด และระบบที่กําหนดมีความเหมาะสมเพียงพอ ซ่ึงการตรวจสอบในแตละประเด็นไมจําเปนตองทําการตรวจสอบ เพื่อใหทราบผลตามวัตถุประสงคใหญใน 3 ประเด็นหลัก ผูตรวจสอบอาจทําการตรวจสอบเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยกําหนดวัตถุประสงคยอยได เชน

สําหรับหนวยงานใดที่ดําเนินการจัดวางระบบการควบคุมภายในเรียบรอยแลว ผูตรวจสอบสามารถทําการตรวจสอบโดยการประเมินระบบการควบคุมภายในภาพรวมหรือประเมินระบบควบคุมภายในบางงานหรือบางระบบได โดยตั้งวัตถุประสงคการตรวจสอบดังนี้

วัตถุประสงคของการตรวจสอบ เพื่อสอบทานความเพียงพอการควบคุมภายในโดยรวม

เพื่อสอบทานความเพียงพอของการควบคุมภายในดาน… เพื่อสอบทานการควบคุมภายในดาน….

2. การปฏิบัติการตรวจสอบ การตรวจสอบทางการเงิน ก็เชนเดียวกับการตรวจสอบประเภทอื่นๆ ซ่ึงเปนไปตามหลักการทั่วไปของการตรวจสอบ กลาวคือ เปนการเปรียบเทียบการดําเนินงานจริงกับบรรทัดฐานหรือมาตรฐานที่กําหนด ดังนั้นเมื่อทราบวัตถุประสงค ของการตรวจสอบแลวใหตรวจสอบใหไดขอเท็จจริงวา

1. บรรทัดฐานหรือมาตรฐานที่กําหนด คือ อะไร 2. การดําเนินการจริง เปนอยางไร

เร่ือง ….. ตรวจสอบครุภัณฑคอมพิวเตอร…. วัตถุประสงคของการตรวจสอบ ……………

1. เพื่อทราบวา ครุภัณฑคอมพิวเตอรมีอยู ถูกตองครบถวน 2. เพื่อทราบวา การเก็บรักษาครุภัณฑ คอมพิวเตอรเปนไปอยางเหมาะสม

Page 25: บทที่1 - กระทรวงศึกษาธิการ · 2003-04-09 · 2. มาตรฐานการตรวจสอบภายในของส วนราชการ

๓๓

ตัวอยาง เชน วัตถุประสงคของการตรวจสอบ… เพื่อทราบวา…(1)…ครุภัณฑคอมพิวเตอรมีอยูถูกตองครบถวน…

เพื่อทราบวา…(2)…เงินสดมีอยูถูกตองครบถวน…

เพื่อ…(3)…สอบทานการควบคุมภายในดานการเงิน…

(1)…ครุภัณฑคอมพิวเตอรมีอยูถูกตองครบถวน… (2)…เงินสดมีอยูถูกตองครบถวน…

ครุภัณฑคอมพิวเตอรคงเหลือใน ทะเบียนที่บันทึกรายการถูกตอง ตามระเบียบกําหนด

ครุภัณฑคอมพิวเตอรที่มีอยูจริง เปรียบเทียบ

เงินสดมีอยูจริง เปรียบเทียบ ยอดคงเหลือ ในสมุดเงินสดที่ บันทึกรายการถูกตองครบถวน ตามระเบียบ

บรรทัดฐาน มาตรฐาน ตัวแบบ การดําเนินงาน และ

ผลการดําเนินงานที่เกิดขึ้นจริง

หลักการทั่วไปของการตรวจสอบ

เปรียบเทียบ

Page 26: บทที่1 - กระทรวงศึกษาธิการ · 2003-04-09 · 2. มาตรฐานการตรวจสอบภายในของส วนราชการ

๓๔

จากตัวอยางจะเห็นไดวา การที่จะตรวจสอบใหไดขอเท็จจริงวา

ครุภัณฑคอมพิวเตอร หรือ เงินมีอยูจริงเทาใด

นั่นคือ หากวันที่เขาตรวจทําบัญชีเปนปจจุบัน และสันนิษฐานวา จัดทําถูกตอง ฉะนั้นยอดเงินคงเหลือในบัญชี ตองตรงกับจํานวนเงินจริงเชนเดียวกับ ครุภัณฑคอมพิวเตอร หากสันนิษฐานวา ทะเบียนบันทึกรายการถูกตองตามระเบียบ ดังนั้น ครุภัณฑที่ตรวจนับไดจริง ทั้งจํานวน ยี่หอ เลขหมายเครื่องตองตรงกันกับที่ปรากฏในทะเบียน

ถาไมตรงกันแสดงวา จํานวนเงินที่ตรวจนับไดจริงไมถูกตอง ขาด/เกินบัญชี เชนเดียวกับครุภัณฑ ถาไมตรงกันแสดงวาครุภัณฑที่ตรวจนับไดไมถูกตอง ผูตรวจสอบอาจหาสาเหตุวา เปนเพราะเหตุใด หรืออาจใหช้ีแจงก็ได แตหากไมมั่นใจวาบันทึกบัญชีหรือทะเบียนครุภัณฑ ถูกตองตามระเบียบ ใหทําการสุมตรวจการบันทึกรายการ

(3)…สอบทานการควบคุมภายในดานการเงิน…

สามารถตรวจสอบไดโดย การตรวจนับของจริง

การปฏิบัติงานจริง เปรียบเทียบ ระบบการควบคุมภายใน ดานการเงินที่กําหนดไวเปน ลายลักษณอักษร

Page 27: บทที่1 - กระทรวงศึกษาธิการ · 2003-04-09 · 2. มาตรฐานการตรวจสอบภายในของส วนราชการ

๓๕

สอบทานโดยการนําระบบการควบคุมที่กําหนดมาทําเปน แบบสอบถาม (Check-List) แลวสอบถามผูที่เกี่ยวของ สังเกตการปฏิบัติงาน และรวบรวมขอมูล เชน

ในกรณีที่ไมมีการปฏิบัติตามระบบการควบคุมภายในที่กําหนด ใหหาสาเหตุวาเปนเพราะเหตุใด และเสนอผูบริหารเพื่อปรับปรุงแกไข ซ่ึงหากเกิดจากระบบควบคุมภายในไมเหมาะสมก็อาจดําเนินการโดยปรับปรุงระบบใหเหมาะสมตอไป

คําถาม มี/ใชไมมี/ไมใช

ก. มีการเก็บรักษาเงินสด ไวอยางปลอดภัยหรือไม ข. มีการนําเงินสดที่ไดรับ ฝากธนาคารภายในวันนั้น …