ประวัติ รองศาสตราจารย ดร เสรี...

17
ประวัติ รองศาสตราจารย ดร. เสรี ศุภราทิตย 1) การศึกษา 1.1) ปริญญาตรี วิศวกรรมโยธา จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย 1.2) ปริญญาโท วิศวกรรมชลศาสตร และชายฝง สถาบันเทคโนโลยีแหงเอเชีย 1.3) ปริญญาเอก วิศวกรรมชายฝง มหาวิทยาลัย TOHOKU ประเทศญี่ปุ2) ประสบการณ 2.1) วิศวกรกอสราง แหลงน้ํามัน บงกช บ. ปตท.สํารวจและผลิต จํากัด 2535-2537 2.2) คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย และคณบดีวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัย รังสิต 2540-2552 2.3) ปจจุบัน ปฏิบัติหนาที่ผูอํานวยการศูนยพลังงานเพื่อสิ่งแวดลอม และผูจัดการ ใหญอุทยานสิ่งแวดลอมนานาชาติสิรินธร ในพระบรมราชูปถัมภสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี 3) ความเชี่ยวชาญ แลคณะกรรมการฯ วิศวกรรมภัยพิบัติ (อุทกภัย น้ําปาไหลหลาก พายุคลื่น สึนามิ การกัดเซาะ และการ ตกตะกอน สภาวะโลกรอน) โดยมีบทความในวารสารตางประเทศ และในประเทศกวา 100 บทความ นอกจากนี้ยังไดรับแตงตั้งเปนผูเชี่ยวชาญดานวิศวกรรมภัยพิบัติ ใน หนวยงานตางๆ เชน เปนกรรมการวิชาการสาขาวิศวกรรมโยธา และกรรมการ และ เลขานุการอนุกรรมการวิศวกรรมแหลงน้ํา วิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย ในพระบรม ราชูปถัมภ ระหวางป พ.. 2543-2544 เปนกรรมการผูทรงคุณวุฒิ วิทยาลัยปองกัน และ บรรเทาสาธารณภัย ตั้งแตป พ.. 2546 จนปจจุบัน เปนคณะกรรมการศึกษาระบบเตือนภัย ลวงหนา สํานักนายกรัฐมนตรี อนุกรรมการปองกัน และบรรเทาผลกระทบจากภัย ธรรมชาติ และเลขานุการ และอนุกรรมการปองกันการกัดเซาะชายฝงทะเล สภา ผูแทนราษฎร ไดรับเชิญเปน Strategic Planning Group on Human and Environmental

Upload: others

Post on 29-Dec-2019

3 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ประวัติ รองศาสตราจารย ดร เสรี ศุภราทิตยkromchol.rid.go.th/person/train/medai_powerpoint/worldcrisis2_24sep53.pdfน้ําท

ประวัติ รองศาสตราจารย ดร. เสรี ศุภราทิตย

1) การศึกษา1.1) ปริญญาตรี วิศวกรรมโยธา จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย1.2) ปริญญาโท วิศวกรรมชลศาสตร และชายฝง สถาบันเทคโนโลยีแหงเอเชีย1.3) ปริญญาเอก วิศวกรรมชายฝง มหาวิทยาลัย TOHOKU ประเทศญี่ปุน

2) ประสบการณ2.1) วิศวกรกอสราง แหลงน้ํามัน บงกช บ. ปตท.สํารวจและผลิต จํากัด 2535-25372.2) คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย และคณบดีวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัย

รังสิต 2540-25522.3) ปจจุบัน ปฏิบัติหนาที่ผูอํานวยการศูนยพลังงานเพื่อสิ่งแวดลอม และผูจัดการ

ใหญอุทยานสิ่งแวดลอมนานาชาติสิรินธร ในพระบรมราชูปถัมภสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี

3) ความเชี่ยวชาญ แลคณะกรรมการฯวิศวกรรมภัยพิบัติ (อุทกภัย น้ําปาไหลหลาก พายุคลื่น สึนามิ การกัดเซาะ และการ

ตกตะกอน สภาวะโลกรอน) โดยมีบทความในวารสารตางประเทศ และในประเทศกวา 100 บทความ นอกจากนี้ยังไดรับแตงตั้งเปนผูเชี่ยวชาญดานวิศวกรรมภัยพิบัติ ในหนวยงานตางๆ เชน เปนกรรมการวิชาการสาขาวิศวกรรมโยธา และกรรมการ และเลขานุการอนุกรรมการวิศวกรรมแหลงน้ํา วิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ ระหวางป พ.ศ. 2543-2544 เปนกรรมการผูทรงคุณวุฒิ วิทยาลัยปองกัน และบรรเทาสาธารณภัย ตั้งแตป พ.ศ. 2546 จนปจจุบัน เปนคณะกรรมการศึกษาระบบเตือนภัยลวงหนา สํานักนายกรัฐมนตรี อนุกรรมการปองกัน และบรรเทาผลกระทบจากภัยธรรมชาติ และเลขานุการ และอนุกรรมการปองกันการกัดเซาะชายฝงทะเล สภาผูแทนราษฎร ไดรับเชิญเปน Strategic Planning Group on Human and Environmental

Page 2: ประวัติ รองศาสตราจารย ดร เสรี ศุภราทิตยkromchol.rid.go.th/person/train/medai_powerpoint/worldcrisis2_24sep53.pdfน้ําท

Hazards and Disasters ประจําภูมิภาค Asia and Pacific ตั้งแต ป พ.ศ. 2548 จนปจจุบัน เปนคณะกรรมการการประปานครหลวง ในป พ.ศ. 2549-2550 เปนที่ปรึกษารัฐมนตรีวาการกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีในป พ.ศ. 2545-2546 และเปนที่ปรึกษารัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงมหาดไทย ในป พ.ศ. 2549-2550

4) รางวัล4.1) “คนดีสังคมไทย” สาขา นักวิชาการ-สงเสริมคุณภาพการศึกษา ประจําป พ.ศ.

2545 โดยมูลนิธิเพื่อสังคมไทย4.2) รางวัล “บุคลากรดีเดนดานวิชาการ” ประจําป พ.ศ. 2546 โดยสมาคม

สถาบันอุดมศึกษาเอกชน แหงประเทศไทย4.3) รางวัล “โครงการทุนปริญญาเอกกาญจนาภิเษก” ประจําป พ.ศ. 2546 และ

2547 โดยสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย4.4) รางวัลทุนวิจัย มูลนิธิโทเร เพื่อสงเสริมวิทยาศาสตร ประเทศไทย ประจําป

พ.ศ. 25504.5) ผูเชี่ยวชาญ และผูเขียนนํา (Lead Author) ในการวิเคราะหประเมิน และเขียน

รายงานผลกระทบการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโดยคณะกรรมการ IPCC (Intergovernmental Panel on Climate Chage)

Page 3: ประวัติ รองศาสตราจารย ดร เสรี ศุภราทิตยkromchol.rid.go.th/person/train/medai_powerpoint/worldcrisis2_24sep53.pdfน้ําท

1

สภาพอากาศที่รุนแรง และภัยพิบัติ Extreme weather and Disasters

รศ.ดร. เสรี ศุภราทิตยผูอํานวยการศูนยพลังงานเพื่อสิ่งแวดลอม

และผูจัดการใหญอุทยานสิ่งแวดลอมนานาชาติสิรินธร

“Many of the wars in this century were about oil, but those for the next century will be over water”

Ismail Seragelgin, World Bank,1995

เหตุใดประเทศไทยจึงตอง

เตรียมความพรอม

ในการรับมือกับภัยพิบัติ

จากภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง

?การบริหารจัดการน้ํา

“ภาวะโลกรอน สงผลกระทบตอผลผลิตภาคเกษตรกรรม (ผลทางตรงจากอุณหภูมิเฉลี่ยท่ี

สูงขึ้น) และ (ผลทางออมจากฤดูแลงท่ียาวนานขึ้น กับฤดูฝนท่ีตกหนักมากขึ้น)

ใชพื้นท่ีมาก ใชแรงงานมาก ใชน้ํามาก

“มีการประมาณการวาผลผลิตดานการเกษตรจะลดลง 10-90% ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต”

Page 4: ประวัติ รองศาสตราจารย ดร เสรี ศุภราทิตยkromchol.rid.go.th/person/train/medai_powerpoint/worldcrisis2_24sep53.pdfน้ําท

2

ผลสาํรวจความคิดเห็นภาคธุรกจิใน US

Ernst & Young (2010)

ภาคธุรกิจควรทําสิ่งใดกอนเกี่ยวกับ CC

Ernst & Young (2010)

ผลกระทบ และตวัอยางการปรับตัวภาคธุรกิจ

ภาคธุรกิจ

• ความตองการใชไฟฟาเพิ่มขึ้น• ความเสี่ยงเพิ่มจากความเสียหายอุปกรณ

• ความไมแนนอนในกําลังผลิตไฟฟาพลงัน้ํา• ความไมแนนอนจากการจายน้ําทําความเย็น

อุปกรณไฟฟา

คอมพิวเตอร

ความเสี่ยง

น้ํามัน และ แกสรถยนต

• ผลกระทบทางลบจาก CC และ ภัยพิบัติ

อาหาร ยาสูบ เคร่ืองด่ืม ขายสง

• ความเสี่ยงจากการสงของ และการปฏิบัติงาน• ความไมแนนอนการสงของประเภทสดๆ• ความเสี่ยงดานการจายน้ํา และวัตถุดิบ• ความเสี่ยงจากการติเชื้อจากสัตว

ตัวอยางการปรับตัว

Hewlet Packard พัฒนา

ระบบ Risk-basedBusiness Continuity

Tesco มีนโยบายผลักความ

เส่ียงไปใหผูประกอบการสง

สินคา

Hineken พัฒนาระบบเฝา

ระวังการใชน้ําในการผลิต

Unilever สรางพันธมิตร

การเกษตรยั่งยืน

Ford Co2 reduction 15%“Fumes to Fuel” proj.

ผลกระทบตอภาคธุรกิจ

ภาคธุรกิจ

• การขนสงหยุดชะงักระหวาง site กอสราง• ความเสียหายของสาธารณูปโภคจากภัยพิบัติ

• มาตรฐานการออกแบบที่สูงขึ้น

งานออกแบบ และกอสรางอาคาร

ความเสี่ยง

การประกันภัย • คาธรรมเนียมประกันภัยสูงขึ้น• ความตองการรูปแบบใหมๆของการประกันภัย• ความเสี่ยงตอสุขภาพ

เกษตรกรรม • ความเสี่ยงจากการขาดแคลนน้ํา• การปรับปรุงพันธ• ชาวนาตองมีความเชี่ยวชาญมากขึ้น

• ราคาพืชผลแปรปรวน

Page 5: ประวัติ รองศาสตราจารย ดร เสรี ศุภราทิตยkromchol.rid.go.th/person/train/medai_powerpoint/worldcrisis2_24sep53.pdfน้ําท

3

• เหตุการณที่รุนแรงเปนอยางไร

• การประเมินการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศที่รุนแรง

• DRM กับ CCA

เน้ือหา

• เราเรียนรูอะไรจากสัญญาณปจจุบัน

และอะไรจะเกิดข้ึนในอนาคต

“ขอมูลหลายสวนนํามาจากรายงานประเมินผลฉบับท่ี 4 (IPCC AR4, 2007) และขอมูลท่ีสําคัญนํามาจาก SREX (Managing the Risks of Extreme Events & Disasters to Advance Climate Change Adaptation ) ซึ่งผมเปนหนึ่งในผูเขียนนําคณะทํางาน WG2”

Acknowledgement

1st Report (FAR) : August 19902nd Report (SAR): December 19953rd Report (TAR): January 20014th Report (AR4): November 2007

SREX

AR4 modified

เหตุการณอยางไรเปน Extreme cases

Rare SevereIntensedเม่ือพิจารณาในมิติของสเกล

ดาน เวลา สถานท่ี และความซับซอนของตัวแปร

ตางๆ

Extreme event: Event that is rare at particulartime and place (IPCC AR4, 2007)

Page 6: ประวัติ รองศาสตราจารย ดร เสรี ศุภราทิตยkromchol.rid.go.th/person/train/medai_powerpoint/worldcrisis2_24sep53.pdfน้ําท

4

ความรุนแรงเชิงความนาจะเปน

Source : US Climate Change Science Program, 2008

Extreme cases เชิงสถิติ และความนาจะเปน(IPCC 2007)

Extreme cases เชิงสถิติ และความนาจะเปน(IPCC 2007)

สภาพภูมิอากาศปจจุบันมีความรุนแรงมากขึ้นหรือไม ?

Page 7: ประวัติ รองศาสตราจารย ดร เสรี ศุภราทิตยkromchol.rid.go.th/person/train/medai_powerpoint/worldcrisis2_24sep53.pdfน้ําท

5

ภัยพิบัติมีแนวโนมที่รุนแรงมากขึ้น ภัยพิบัติมีแนวโนมที่รุนแรงมากขึ้น

(Supratid and Chidthong, 2008)

ปริมาณฝนเพิ่มขึน้ในภาคกลางตอนลาง

1965-1989

1990-2006

Limjirakan et al., 2008

Page 8: ประวัติ รองศาสตราจารย ดร เสรี ศุภราทิตยkromchol.rid.go.th/person/train/medai_powerpoint/worldcrisis2_24sep53.pdfน้ําท

6

Increasing Hazard ภัยพิบัติจากมนุษยชาติภัยพิบัติจากมนุษยชาติ

((Rare, Intense, SevereRare, Intense, Severe))

• สรางความหวาดกลัวกับสังคมสรางความหวาดกลัวกับสังคม

• สรางความเชื่อวารัฐไมสามารถควบคุมเหตุได

• สรางความเสียหายหนวยงานรัฐอยางสรางความเสียหายหนวยงานรัฐอยาง

ทันทีทันใดทันทีทันใด

แบบจําลอง AOGCM สามารถทํานายเหตุการณรุนแรงเชนนี้ไดหรือไม

และหนทางยังอีกยาวไกล

Page 9: ประวัติ รองศาสตราจารย ดร เสรี ศุภราทิตยkromchol.rid.go.th/person/train/medai_powerpoint/worldcrisis2_24sep53.pdfน้ําท

7

Anfis- Genetic :Water level hydrograph of the 1 st flood

P1(t+3)

0

1

2

3

4

5

1 3 5 7 9 11 13 15 17 19 21 23 25 27 29 31

August (day)

wat

er le

vel (

m)

Measured Values

Predict Values

P1(t+9)

0

1

2

3

4

5

6

1 3 5 7 9 11 13 15 17 19 21 23 25 27 29 31

August (day)

wat

er le

vel (

m)

Measured Values

Predict Values

P1 (t+12)

0

1

2

3

4

5

6

1 3 5 7 9 11 13 15 17 19 21 23 25 27 29 31

August (day)

wat

er le

vel (

m)

Measured Values

Predict Values

P1(t+6)

0

1

2

3

4

5

6

1 3 5 7 9 11 13 15 17 19 21 23 25 27 29 31

August (day)

wat

er le

vel (

m)

Measured Values

Predict Values

Photographs of Chiang Mai 2005 Flood

The 1st flood by depression on August 12, 2005 (The maximum water level at Nawarat Bridge was 4.90 m)

Anfis- Genetic :Water level hydrograph of the 2nd , 3 rd flood

P1(t+3)

0

1

2

3

4

5

6

1 3 5 7 9 11 13 15 17 19 21 23 25 27 29

September (day)

wat

er le

vel (

m)

Measured ValuesPredict Values

P1(t+9)

0

1

2

3

4

5

6

1 3 5 7 9 11 13 15 17 19 21 23 25 27 29

September (day)

wat

er le

vel (

m)

Measured Values

Predict Values

P1(t+6)

0

1

2

3

4

5

6

1 3 5 7 9 11 13 15 17 19 21 23 25 27 29

September(day)

wat

er le

vel (

m)

Measured Values

Predict Values

P1 (t+12)

0

1

2

3

4

5

6

1 3 5 7 9 11 13 15 17 19 21 23 25 27 29

September (day)

wat

er le

vel (

m)

Measured Values

Predict Values

Photographs of Chiang Mai 2005 Flood

The 2nd flood by “ Vesete ” on September 21, 2005 (The maximum water level at Nawarat Bridge was 4.71 m)

Page 10: ประวัติ รองศาสตราจารย ดร เสรี ศุภราทิตยkromchol.rid.go.th/person/train/medai_powerpoint/worldcrisis2_24sep53.pdfน้ําท

8

Photographs of Chiang Mai 2005 Flood

The 3rd flood by “Domre” on September 28, 2005 (The maximum water level at Nawarat Bridge was 4.93 m)

คันกั้นนํ้ากรุงเทพฯรบัไมไหวแลว!

พื้นท่ีและระดับนํ้าทวมหาดใหญ 2543

น้ําทวมป 2543 คลอง ร.1ร.3 คันกั้นน้ํา คลอง ร.1ร.3 คันกั้นน้ํา และอางเก็บน้ํา1 hr. 2 hr.

4 hr.

3 hr.

5 hr. 6 hr.

Nam Ko simulation

Page 11: ประวัติ รองศาสตราจารย ดร เสรี ศุภราทิตยkromchol.rid.go.th/person/train/medai_powerpoint/worldcrisis2_24sep53.pdfน้ําท

9

Extreme climate indices (IPCC)

5 categories

Extreme climate indices (ตอ)

5 categories

Extreme cases The Model: Future Temperatures (2090-2099)

Page 12: ประวัติ รองศาสตราจารย ดร เสรี ศุภราทิตยkromchol.rid.go.th/person/train/medai_powerpoint/worldcrisis2_24sep53.pdfน้ําท

10

การเปลี่ยนแปลงของระดับนํ้าทะเลทั่วโลก (อดีต-ปจจุบัน)

“Thre is high confidence that the rate of sea level rise accelerated between the mid-19th and the mid-20thcenturies based upon the tide gauge geological data. The global average rate of SLR measured by TOPEX/ Poseidon satellite altimetry during 1993-2003 is 3.1±0.7 mm/yr.”

การเปลี่ยนแปลงภาวะภูมิอากาศทั่วโลก (แนวโนม)

Regional model downscaling (MMD) for SEA (AR4, 2007) Climate prediction 2010ASO, APCC

NCEP NASA MGO

Page 13: ประวัติ รองศาสตราจารย ดร เสรี ศุภราทิตยkromchol.rid.go.th/person/train/medai_powerpoint/worldcrisis2_24sep53.pdfน้ําท

11

กลาวโดยสรุป จาก IPCC AR4(2007)

“ในอนาคตประเทศไทยอาจจะมี 2 ฤดู คือ ฤดูแลง กับ ฤดูฝน”Prolong drought and intensed rainfll

กรุงเทพกําลังจมนํ้า ?

พื้นที่ริมชายฝงทะเลของฉันหายไปไหน?

5 ป

10 ป

20 ป

30 ป

ชายฝงทะเ

ลบางขุนเที

ยน

โครงการบานกลางทะเล “บางขุนเทียนธารา”

Page 14: ประวัติ รองศาสตราจารย ดร เสรี ศุภราทิตยkromchol.rid.go.th/person/train/medai_powerpoint/worldcrisis2_24sep53.pdfน้ําท

12

45

Beyond the Sea (Level)

• เราไมสามารถจะรูไดอยางแนชัดถึงผลกระทบที่จะเกิดขึ้นใน

อนาคต เนื่องจากมีตัวแปรหลากหลาย แตสัณญาณปจจุบัน

บงบอกถึงความรุนแรงเพิ่มขึ้น

• บริษัทของทานจะจัดการกับปญหานี้อยางไร และทานกําลังทําอะไรอยู

• รวมทั้งทานจะตองทําอะไรในอนาคต

• การบริหารจัดการความเสี่ยงเปนทางออกที่ดีท่ีสุด

กลาวโดยรวม ความเส่ียงจาก Climate Change

Asscessing, Understanding, Take action

Climate smart

Smart car Smart Grid Smart business

Smart home Smart farmer Smart office

Smart ..................................................................

Mitigations & Adaptations

Power sector contribute > 30% Co2 emissions

“A Disaster is an interaction of hazardousextreme event with vulnerable society”

In term of DRM

Page 15: ประวัติ รองศาสตราจารย ดร เสรี ศุภราทิตยkromchol.rid.go.th/person/train/medai_powerpoint/worldcrisis2_24sep53.pdfน้ําท

13

Vulnerability

Disasters

Hazards

Strategy for Disaster mitigation ทางออก คือ DRM

ภัยพิบัติ

PM

DRM

เร่ิมจากสํารวจความเสีย่งของธุรกิจ

CC มีความสําคัญตอธุรกิจทาน

หรือไม

ทรัพยสิน

ระบบการผลิต

กรรมวิธี ฯ

วัตถุดิบ

แรงงาน

ความตองการ

การใชน้ํา ไฟฟาการขนสง

สาธารณูปโภคตางๆ

Risk3

ปจจุบันมีภัยคุกคาม

จาก CC ตอธุรกิจทานหรือไม

ภัยคุกคามดังกลาวจําเปนตองมีการ

วิเคราะห และลงทุนในระยะยาวหรือไมCC ไมมี

ความสําคัญมากนัก

มีผลกระทบรุนแรงถาตัดสินใจผิดพลาดหรือไมRisk

2

ติดตามและประเมิน

ใหมในอนาคต

Risk1

ประเมินความเสี่ยง

ในรายละเอียด

การประเมินความเสี่ยง

การปองกันและลดผลกระทบ

การเตรียมพรอม

การประกาศพื้นที่ภัยพิบัติฉุกเฉินและจัดตั้งศูนยปฏิบัติการฯการชวยเหลือผูประสบภัยการคนหาและชวยชีวิตการติดตอส่ือสารการเฝาระวังเตือนภัยและอพยพหนีภัยการรับบริจาคและแจกจายส่ิงของ

การประเมินความเสียหายเบื้องตนการฟนฟูบูรณะโครงสรางพื้นฐานเบื้องตน

การประเมินความเส่ียง

การพัฒนาชุมชน

การฟนฟูเศรษฐกิจและสังคม

การบูรณะฟนฟูบานเรือน

การซอมแซมระบบสาธารณูปโภคการชวยเหลือตอเนื่อง

ภัยพิบัติ กรอบงาน

ในภาวะวกิฤติ

Page 16: ประวัติ รองศาสตราจารย ดร เสรี ศุภราทิตยkromchol.rid.go.th/person/train/medai_powerpoint/worldcrisis2_24sep53.pdfน้ําท

14

ผลกระทบตอความตอเนื่องธุรกจิ

กอนเกิด หลังเกิด

ภัยพิบัติ

เวลา

% การปฏิบัติงาน

เปาหมาย

ท่ียอมรับได

เสนการปฏิบัติงานกอน BCPเสนการปฏิบัติงานหลัง BCP

เสนการปฏิบัติงานในสถานการณปกติ

เวลาฟนฟูกอน BCP

เวลาฟนฟูหลัง

BCP

BCP Business Continuity Plan

• วิเคราะหผลกระทบ• กําหนดระบบงานที่สําคัญ• เรียงลําดับความจําเปน

DRM BCP

เอลนิญโญ

ลานินญา

ผลการคาดการณอุณหภูมิ (JAMSTEC)

ผลการคาดการณปริมาณฝนโดย JAMSTEC

มิย-สค

กย-พย ธค-กพ

จํานวนพายุปนี้จะนอยลง ปเอลนินโญ (2552)

ปหนา (2553)

จํานวนพายุพัดเขาพืน้ท่ี 3พค-กค

ปเอลนินโญ ปลานินญา ปปกติ

3 6 4

กค-กย

17 7 8

Page 17: ประวัติ รองศาสตราจารย ดร เสรี ศุภราทิตยkromchol.rid.go.th/person/train/medai_powerpoint/worldcrisis2_24sep53.pdfน้ําท

15

ป 2553 แลงตอเนื่องตนป2553-2554 น้ําทวมใหญปลายป

ป 2552 (เอลนินโญ)

ป 2551 (พายุแรง) ป 2553 (แลงตอเนื่องตนป)

HL

วงจรชีวิต ENSO

ป 2553-25544 (น้ําทวมใหญปลายป)

ผลกระทบจาก เอลนินโญป 2552-2553จํานวนพายุในมหาสมุทรแปซิฟกตะวันตก

TS TY1 TY2 TY3 TY4 TY50

0.5

1

1.5

2

2.5

3

3.5

4x 10

5 Mean ACE per Year − TC categories

ACE (m

/s)2

La NinaNeutralEl Nino

ปริมาณฝนสะสม (มม)

ความเขมฝ

น (มม/ชม

)

เสนเตือ

นภัย

เสนอ

พยพ

พ้ืนที่ไมปลอดภัย

พ้ืนที่ปลอดภัย

เสนวิกฤต

แผนภูมิระบบเตือนภัยมาตรฐาน-1

10.00

10.30

11.0011.30

12.00

แผนภูมิเตือนภัยน้ําปาไหลหลาก โคลนถลม

13.00

R2 R1ฝนมาตรฐานสําหรับการเตือนภัย

ฝนมาตรฐานสําหรับการอพยพ