วารสารวิชาการhm.npru.ac.th/journal/journal_hm_data.pdfรองศาสตราจารย...

186
วารสารวิชาการ มนุษยศาสตรและสังคมศาสตร คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ปทีฉบับที(ฉบับปฐมฤกษ) มกราคม - มิถุนายน ๒๕๕๔ N A K H O N P A T H O M R A J A H A T U N I V E R S I T Y Journal of Humanities and Social Sciences ISSN 2228-8929 Nakhon Pathom Rajabhat University Faculty of Humanities and Social Sciences วารสารวิชาการ มนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ปที่ ๑ ฉบับที่ ๑ (ฉบับปฐมฤกษ) มกราคม - มิถุนายน ๒๕๕๔ NAKH O N P A T H O M R A J A H A T U NIVERSITY

Upload: phungthuy

Post on 12-Jul-2018

218 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

วารสารวิชาการ มนุษยศาสตรและสังคมศาสตร คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม

ปที่ ๑ ฉบับที่ ๑ (ฉบับปฐมฤกษ) มกราคม - มิถุนายน ๒๕๕๔

มหาวทิ

ยาลยัราชภัฏนครปฐม

NAKHON PATHOM RAJAHAT U

NIVE

RSITY

Journal of Humanities and Social Sciences

ISSN 2228-8929

Nakhon Pathom Rajabhat UniversityFaculty of Humanities and Social Sciences

วารสารวิชาการ มนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม

ปที่ ๑ ฉบับที่ ๑ (ฉบับปฐมฤกษ) มกราคม - มิถุนายน ๒๕๕๔

มหาวทิยาลัยราชภัฏนครปฐม

NAKHON PATHOM RAJAHAT UNIVERSITY

รายชื่อกองบรรณาธิการ ผูทรงคุณวุฒิ และคณะทำงาน

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม

ผูทรงคุณวุฒิภายในผูชวยศาสตราจารยสมเดช นิลพันธุ

ผูชวยศาสตราจารย ดร.เกศินี ประทุมสุวรรณ

ผูชวยศาสตราจารย ดร.อุษา นอยทิม

อาจารยผุสดี ปทุมารักษ

อาจารยไตรภพ สุวรรณศรี

อาจารยธงชัย ศรีเมือง

รองศาสตราจารย ดร.วิไลรัตน คีรินทร

รองศาสตราจารยชัยเลิศ ปริสุทธิกุล

รองศาสตราจารยเบญจรัตน สีทองสุก

รองศาสตราจารยประไพวรรณ ดานประดิษฐ

รองศาสตราจารยฐิติวัลคุ ธรรมไพโรจน

ผูชวยศาสตราจารย ดร. สุกรี แกวมณี

ผูชวยศาสตราจารย ดร.เยาวภา บัวเวช

ผูชวยศาสตราจารยกัณฑธิมา นิลทองคำ

ผูชวยศาสตราจารย ดร.สุวัฒน ฉิมะสังคนันท

ผูชวยศาสตราจารย ดร.ธงชัย พงศสิทธิกาญจนา

ผูชวยศาสตราจารย ดร.สุภาณี อินทนจันทน

ผูชวยศาสตราจารย ดร.ศิลปชัย กงตาล

ผูชวยศาสตราจารยพจนีย กงตาล

ผูชวยศาสตราจารยประวิณ พูลทรัพย

ดร.มนูญ จันทรสมบูรณ

ดร.วรรณวีร บุญคุม

ดร.สมชาย ลักขณานุรักษ

ดร.สุพิชฌาย จินดาวัฒนภูมิ

ดร.รุงนภา เพงรุงเรืองวงษ

ดร.วัฒนา อัคคพานิช

ดร.นิพล เชื้อเมืองพาน

ดร.กันตดนัย วรจิตติพล

ดร.สุชาดา แสงดวงดี

ดร.มาริษา สุจิตวนิช

Mr. David Brown

วัตถุประสงค

1. เพ่ือ เปน แหลง เผย แพร ผล งาน ทาง วิชาการ ของ นักศึกษา ท้ัง ใน ระดับ ปริญญา ตรี และ ระดับ บัณฑิต ศึกษา ใน สาขา มนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

ทั้ง จาก ภายใน และ ภา นอก

2. เพื่อเปนแหลงเผยแพรผลงานทางวิชาการของคณาจารยทั้งภายในและภายนอก

3. เพื่อเปนเหลงเผยแพรองคความรูจากภูมิปญญาทองถิ่น ปราชญชาวบานและบุคคลทั้วไป

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม

เลขที่ 85 ถนนมาลัยแมน อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม 73000

Faculty of Humanities and Social Sciences

Nakhon Pathom Rajabhat University

No.85 Malaiman Road, 73000

Tel 034-261066 Fax 034-261066 Email [email protected]

Website http://hm.npru.ac.th/

ทัศนะ และ ขอคิด เห็น ทัศนะ และ ความ คิด เห็น ใน บทความ ตางๆ เปน ของ ผู เขียน แตละ ทาน ไม ถือ เปน ความ รับ ผิด ชอบ แต อยาง ใด ของ

คณะ มนุษย ศาสตร และ สังคมศาสตร มหาวิทยาลัย ราชภัฏ นครปฐม กอง บรรณาธิการ ขอ สงวน สิทธ์ิ ใน การ ตัด ทอน / ปรับ แก ถอยคำ บาง ประการ

เพ่ือ ความ เหมาะสม ผู ประสงค จะ นำ ขอความ ใด จาก วารสาร ฉบบั นี ้ไป เผย แพร จะ ตอง ได รบั อนญุาต จาก ผู เขยีน และ บรรณาธกิาร พระ ราช บญัญตั ิ

ลิขสิทธิ์ พ.ศ.2537

ผูทรงคุณวุฒิภายนอก ศาสตราจารย นพ.วันชัย วัฒนศัพท

ศาสตราจารย ดร.พิชิต พิทักษเทพสมบัติ

ศาสตราจารยสัญชัย สุวังบุตร

Emeritus Professor Tony Moon

รองศาสตราจารย ดร. นรนิติ เศรษฐบุตร

รองศาสตราจารยอนันตชัย เลาหพันธุ

รองศาสตราจารยวิมลศิริ ชำนาญเวช

รองศาสตราจารย ดร.ทัศนีย ลักขณาภิชนชัช

รองศาสตราจารย ดร.โกวิทย พวงงาม

รองศาสตราจารย ดร.กุศล สุนทรธาดา

รองศาสตราจารย ศิริพงศ พยอมแยม

รองศาสตราจารย.ดร.วัชระ งามจิตรเจริญ

รองศาสตราจารยพวา พันธเมฆา

รองศาสตราจารยเฉลียว พันธุสีดา

ผูชวยศาสตราจารย ดร. กมลพรรณ บุญกิจ

ผูชวยศาสตราจารย ดร.ชูพักตร สุทธิสา

ผูชวยศาสตราจารยจินดารัตน เบอรพันธุ

ผูชวยศาสตราจารยพาณี อนันตชัย

ผูชวยศาสตราจารยอรวรรณ หุนดี

ผูชวยศาสตราจารยทักษิณา พิพิธกุล

ผูชวยศาสตราจารย ดร.วรพร ภูพงษพันธุ

ผูชวยศาสตราจารย ดร.วรางคณา นิพัทธสุขกิจ

ดร.ดินาร บุญธรรม

ดร.ภาวรรณ เรืองศิลป

ดร.ปรีณา แขงขัน

ดร.เกรียงไกร เกิดศิริ

ดร.ศศิธร จันทโรทัย

ดร.ภุชงค เสนานุช

ดร.ภูมิ มูลศิลป

ดร.นริศ วศินานนท

ดร. จรัสศรี จิรภาส

ดร. จาว ผิง

ดร. วิมนรัตน วศินนิติวงศ

อาจารยยุพิน วรสิริอมร

คณะทำงานกองบรรณาธิการผูชวยศาสตราจารย ดร.อุษา นอยทิม (คณบดี)

อาจารยสมศักดิ์ อมรสิริพงศ

อาจารยวัชรพล หงษทอง

อาจารยสหะ พุกศิริวงศชัย

อาจารยธัชวรรธน หนูแกว

อาจารยพิชชา บัวแยม

อาจารยภรสรัญ แกนทอง

อาจารยมิ่งฟา สุริโยดร

อาจารยจิรสุภา ปลองทอง

อาจารยวิริยา วิริยารัมภะ

อาจารยวิภาดา เปลี่ยนไทย

อาจารยพิมพพสุ จวบความสุข

อาจารยอรนุช เอกพงษเผา

อาจารยรุจา สุขพัฒน

อาจารยสาวิตรี ตนสาลี

อาจารยปยนาถ อิ่มดี

อาจารย ศศิพัชร จำปา

อาจารยไพโรจน แกวเขียว

อาจารยวลัยลักษณ อมรสิริพงศ

นางสาวออมนภา จำปาออน

นางสาวสารินี วัฒนแสนชัย

นางสุธาทิพ ทับทิมทอง

นางสาวสุภาภรณ มลคล้ำ

สารอธกิารบดี

สถาบันอุดมศึกษาภายใตกระแสแหงการเปลี่ยนแปลงในยุคปจจุบันที่มีการแขงขันกันคอนขางสูง

ท้ังในเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ ความเขมแข็งทางวิชาการเปนบทสะทอนใหเห็นถึงคุณภาพดาน

การศึกษาของสถาบันการศึกษาในระดับอุดมศึกษา วารสารวิชาการก็เปนอีกชองทางหน่ึงของการสราง

แหลงเผยแพรและรวบรวมองคความรู

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตรเปนคณะวิชาที่มีความหลากหลายของศาสตรหลายแขนง

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตรเปนวารสารวิชาการอีกฉบับหนึ่งจากจํานวนทั้งหมด 3 ฉบับ

ที่มหาวิทยาลัยมีอยู ไดแก วารสารวิชาการราชภัฏตะวันตก วารสารสังคมศาสตรวิจัย และวารสารวิชาการ

มนุษยศาสตรและสังคมศาสตร จุดเนนของวารสารวิชาการฉบับนี้นอกจากจะเปนแหลงเผยแพรผลงานทาง

วิชาการของนักศึกษาและคณาจารย รวมถึงผูสนใจทั่วไปแลว ยังเปนแหลงเผยแพรภูมิปญญาทองถ่ิน

อีกทางหน่ึงดวย

ในวาระแรกของการออกวารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ฉบับปฐมฤกษ ผมขอ

อํานวยพรใหการดําเนินงานประสบความสําเร็จ และเปนแหลงเผยแพรองคความรูเพื่อการจรรโลงสังคม

และการพัฒนาทองถ่ินตอไป

(ผูชวยศาสตราจารยสมเดช นิลพันธุ)

อธิการบดี

มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 2

บทบรรณาธิการ

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ฉบับนี้เปนฉบับ

ปฐมฤกษ (มกราคม – มิถุนายน พ.ศ. 2554) โดยมีวัตถุประสงคเพื่อเปนแหลงเผยแพรความรูที่เปนผลงาน

ทางวิชาการของนักศึกษาทั้งระดับปริญญาตรี และระดับบัณฑิตศึกษา ผลงานวิชาการของคณาจารยใน

สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตรท้ังจากภายในและภายนอก ตลอดจนความรูจากภูมิปญญาทองถ่ิน

ปราชญชาวบานและบุคคลทั่วไป และเพื่อเปนการประชาสัมพันธคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม

วารสารฉบับน้ีเปนไปตามขอกําหนดของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และบทความทุก

บทความที่ไดรับการคัดเลือกเพื่อตีพิมพไดผานการตรวจสอบคุณภาพทางวิชาการจากผูทรงคุณวุฒิ ซึ่ง

ผูทรงคุณวุฒิทุกทานมีคุณสมบัติสอดคลองกับสาขาวิชาทางดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ทาน

ผูทรงคุณวุฒิเหลานี้ไดเสียสละเวลาอันมีคาในการอานและพิจารณาตนฉบับ พรอมทั้งใหคําแนะนําท่ีเปน

ประโยชนตอการดําเนินการจัดทําวารสารเปนอยางดี กองบรรณาธิการขอกราบขอบพระคุณมา ณ โอกาสน้ี

ขอเชิญชวนนักวิชาการ และนิสิตนักศึกษา คณาจารย และนักการศึกษาจากภายในสถาบันและ

ภายนอกสถาบันสงบทความทางวิชาการ เพื่อขอรับการพิจารณาและตีพิมพในวารสารวิชาการ

มนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ท้ังนี้เพื่อการแลกเปลี่ยนและการเผยแพร

ความรูทางวิชาการ นอกจากน้ี ทางกองบรรณาธิการขอเชิญชวนทานสมัครเปนสมาชิกของวารสาร และหวัง

วาวารสารฉบับน้ีคงใหสาระ ประโยชน มุมมอง และแงคิดแกผูอาน

ผูชวยศาสตราจารย ดร. อุษา นอยทิม

บรรณาธิการ

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

3

สารบัญ

หนา

สารจากอธิการบดี 1

บทบรรณาธิการ 2

การจัดการสวัสดิการสังคมโดยองคกรปกครองสวนทองถ่ิน

• สุกรี แกวมณี

4

Some Reasons for the Limited Success of Anti-bullying Strategies in School:

A Discursive Analysis

• Constance Ellwood

19

การนํานโยบายเงินทุนหมุนเวียนเพื่อพัฒนาสถาบันอุดมศึกษาเอกชนไปปฏิบัติ

• สุภัทร จําปาทอง

35

การจัดการศึกษาระดับดุษฎีบัณฑิตสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตรในมหาวิทยาลัยราชภัฏ

• กัณฑธิมา นิลทองคํา

57

ภาพลักษณสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงานตามการรับรูของบุคลากร

ภายในสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน

• ยุวพร ฐิตธรรมศรีสุข

71

อิทธิพลของปจจัยสวนบุคคล และการรับรูความเสี่ยงที่มีตอการจัดการความเสี่ยงของเกษตรกร

ผูปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว

• จินตนา สุขมณ ี

103

ราชาธิราชในบริบททางสังคมสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช

• ปริญญา ปนสุวรรณ

123

วิเคราะหประชาธิปไตยที่มีธรรมาธิปไตยเปนรากฐานในทัศนะของพระพรหมคุณาภรณ

(ป.อ.ปยุตโต)

• วรากรณ พูลสวัสด์ิ

141

การศึกษาการใชโปรแกรมการสอนสุขภาพจิตแบบกลุมตอพฤติกรรมการดูแลตนเองของผูปวย

จิตเภท โรงพยาบาลราชบุรี

• อังคณา หมอนทอง

150

การศึกษาเปรียบเทียบงานพุทธศิลป อําเภอแมทะ จังหวัดลําปาง กับงานพุทธศิลปไทย เมือง

เชียงตุง รัฐฉาน สหภาพพมา

• อนุกูล ศิริพันธ

161

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 4

การจัดการสวัสดิการสังคมโดยองคกรปกครองสวนทองถ่ิน

ผูชวยศาสตราจารย ดร. สุกรี แกวมณี

คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม

บทคัดยอ

รูปแบบและวิธีการจัดสวัสดิการสังคมโดยองคกรปกครองสวนทองถ่ินสําหรับกลุมเปาหมาย 6 กลุม

คือ กลุมเด็กและเยาวชน กลุมสตรี กลุมครอบครัว กลุมผูสูงอายุ กลุมผูพิการ และกลุมผูดอยโอกาส

ซึ่งสังเคราะหไดจากผลงานวิจัยท่ีเก่ียวของ นําไปทดลองในพื้นท่ีท่ีมีขอมูลแสดงวามีปญหาสังคมที่เก่ียวของ

กับกลุมเปาหมายดังกลาวมากที่สุด โดยความรวมมือในการทดลองใชกับองคการบริหารสวนตําบล 12 แหง

ใน 12 จังหวัด ภาคละ 2 จังหวัด เพื่อใหเปนพื้นที่ที่ เปนตัวแทนของสังคมในประเทศไทยมากที่สุด

ผลการวิจัยโดยภาพรวม สรุปไดวา รูปแบบท่ีเหมาะสมของการจัดสวัสดิการโดยองคกรปกครองสวนทองถ่ิน

ในประเทศไทย มีสาระสําคัญ 4 มิติ เรียงตามลําดับความสําคัญ คือ (1) การจัดสวัสดิการสังคมแบบ

พหุลักษณ (2) การจัดสวัสดิการสังคมโดยเนนการใชทุนทางสังคมและทรัพยากรธรรมชาติในทองถ่ิน

(3) การดําเนินการในรูปกลุมสวัสดิการที่มีการบริหารจัดการแบบมีสวนรวมที่เนนการพัฒนาและพึ่งพา

ตนเอง และ (4) การจัดสวัสดิการเพื่อการสรางความเขมแข็งทางเศรษฐกิจ โดยรูปแบบดังกลาว มีความ

เหมาะสมที่จะดําเนินการเปน 5 ขั้นตอนใหญ ๆ คือ (1) การทําความเขาใจขอมูลชุมชนและสภาพปญหา

ของพื้นที่ จัดทําเปนฐานขอมูลที่ทันเหตุการณ (2) การจัดเวทีระดมความคิดเห็นและการรวมกันระหวาง

สมาชิกของกลุมและภาคีเครือขาย เพื่อวางแผนการจัดสวัสดิการสังคมในรูปแบบบูรณาการที่ครอบคลุม

กลุมเปาหมายทุกกลุม สรางกลุมกลไกขับเคลื่อนงานดานสวัสดิการสังคม ตามความพรอมของสมาชิก

กลุมเปาหมายในพื้นที่ (3) การนําแผนงาน กิจกรรม และโครงการตางๆไปสูการปฏิบัติ (4) การติดตาม และ

ประเมินผลการดําเนินงานการจัดสวัสดิการสังคม เปรียบเทียบตามวัตถุประสงคและเปาหมายของแผน

(5) ปรับปรุงการดําเนินงาน โดยนําขอมูลจากการประเมินกําหนดแนวทางการพัฒนาการดําเนินงานทั้งหมด

ทั้งนี้ อปท. ตองใหความสําคัญกับงานดานสวัสดิการสังคมเทา ๆ กับงานดานอ่ืน ๆ กําหนดตําแหนง

ผูรับผิดชอบอยางถาวร ปรับปรุงระเบียบการทํางานใหสอดคลองกับรูปแบบและวิธีการจัดสวัสดิการสังคม

ดังกลาวน้ีดวย

บทความเรื่อง รูปแบบและวิธีการจัดสวัสดิการสังคมโดยองคกรปกครองสวนทองถ่ิน ขอนําเสนอ

เปน 5 สวน คือ (1) ขอมูลชุดโครงการวิจัย (2) หลักคิดเก่ียวกับรูปแบบและวิธีการจัดสวัสดิการสังคม

(3) รูปแบบการจัดสวัสดิการสังคมที่เหมาะสมโดยองคกรปกครองสวนทองถ่ินในประเทศไทย (4) วิธีการจัด

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

5

สวัสดิการสังคมที่เหมาะสมโดยองคกรปกครองสวนทองถ่ินในประเทศไทย (5) ขอคิดเห็นเพิ่มเติมเก่ียวกับ

รูปแบบและวิธีการจัดสวัสดิการสังคมโดยองคกรปกครองสวนทองถ่ิน

1. ขอมูลสรุปของชุดโครงการวิจัย

การวิจัยเรื่อง รูปแบบและวิธีการจัดสวัสดิการสังคมโดยองคกรปกครองสวนทองถ่ิน มีจุดประสงค

เพื่อนําเสนอรูปแบบและวิธีการจัดสวัสดิการที่เหมาะสมโดยองคกรปกครองสวนทองถ่ิน (อปท.) ดําเนินการ

วิจัยเปน 3 ขั้นตอน คือ ขั้นที่ 1 การสังเคราะหงานวิจัยที่มีอยูแลวเก่ียวกับรูปแบบและวิธีการจัดสวัสดิการ

สังคมท่ีเหมาะสมทั้งในประเทศและตางประเทศ ขั้นที่ 2 เปนการนําเขาสูการวิพากษของผูเชี่ยวชาญและ

ภาคีเครือขาย และ ขั้นที่ 3 การนํารูปแบบและวิธีการที่สังเคราะหไดไปทดลองใชกับ อปท. ที่คัดเลือก เพื่อ

สรุปหาความเหมาะสมจากการปฏิบัติงานจริง ตามหลักของการยืนยันความเท่ียงตรง (Triangulation) โดย

การใชวิธีการวิจัยหลายวิธี (Multiple Methods Approach) และแหลงขอมูลหลายแหลง (Multiple

Sources of Data)

การวิจัยครั้งน้ีแยกเปนหัวขอการวิจัยยอย 6 หัวขอ ตามกลุมเปาหมายของการจัดสวัสดิการสังคม

คือ กลุมเด็กและเยาวชน กลุมสตรี กลุมครอบครัว กลุมผูสูงอายุ กลุมผูพิการ และกลุมผูดอยโอกาส นักวิจัย

แตละกลุมจะรวบรวมงานวิจัยจากแหลงขอมูลสําคัญที่สามารถสืบคนได คือ ฐานขอมูล ThaiLis หองสมุด

ของสถาบันอุดมศึกษา หองสมุดของหนวยงานที่เก่ียวของกับการจัดสวัสดิการสังคม และฐานขอมูล

งานวิจัยตางประเทศบางฐาน เชน ProQuest เปนตน โดยคัดเลือกเฉพาะงานวิจัยที่รายงานผลในระยะ

ไมเกิน 10 ปที่ผานมา เพื่อใหสอดคลองกับสถานการณปจจุบัน

เมื่อสรุปรูปแบบและวิธีการจากผลการวิจัยท่ีรวบรวมไดแลว จึงนํารูปแบบท่ีสังเคราะหเขาสูการ

วิพากษของภาคีเครือขายท่ีเก่ียวของ ประกอบดวย นักวิชาการผูเชี่ยวชาญ จํานวน 3 ทาน ตัวแทนของ

หนวยงานดานสวัสดิการสังคมในสวนกลาง คือ ตัวแทนจากสํานักพัฒนาสังคม กรมพัฒนาสังคมและ

สวัสดิการ จํานวน 3 ทาน นักบริหารระดับตนของกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ จํานวนประมาณ 30 ทาน

และตัวแทนของหนวยปฏิบัติงานในพื้นที่ คือ ศูนยพัฒนาสังคมตามพื้นที่ที่คัดเลือกเปนพื้นที่ทดลอง และ

ตัวแทนองคการบริหารสวนตําบลที่ยินดีเขารวมการทดลองจํานวนประมาณ 20 ทาน

การคัดเลือกสถานที่ทําการทดลองโดยพิจารณาพื้นที่ที่มีปญหาทางสังคมเก่ียวกับกลุมเปาหมายแต

ละกลุม และพิจารณาใหมีการกระจายของพื้นที่ทดลองไปทุกภูมิภาคเพื่อใหเปนพื้นที่ที่เปนตัวแทนของ

สังคมในประเทศไทยมากท่ีสุด นอกจากนั้นยังคํานึงถึงความพรอมขององคกรปกครองสวนทองถ่ินและ

หนวยงานสนับสนุนท่ีเก่ียวของดวย พื้นที่ทดลองท่ีคัดเลือก ประกอบดวยองคกรปกครองสวนทองถ่ิน 12

แหง ในพื้นที่ 12 จังหวัด โดยมีการทดลองรูปแบบและวิธีการจัดสวัสดิการกลุมละ 2 จังหวัด คือ กลุมเด็ก

และเยาวชนทดลองใน องคการบริหารสวนตําบลชัยเกษม อําเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ และ

องคการบริหารสวนตําบลดอนศิลา อําภอเวียงชัย จังหวัดเชียงราย กลุมสตรีทดลองในเทศบาลตําบลบางพระ

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 6

อําเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี และ องคการบริหารสวนตําบลศาลาลําดวน อําเภอเมืองสระแกว จังหวัด

สระแกว กลุมครอบครัวทดลองในองคการบริหารสวนตําบลกุดรัง อําเภอกุดรัง จ.มหาสารคาม และตําบล

กุสุมาลย อําเภอกุสุมาลย จังหวัดสกลนคร กลุมผูสูงอายุทดลองในองคการบริหารสวนตําบลบางระกํา

อําเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม และตําบลโคกกลอย อําเภอตะก่ัวทุง จังหวัดพังงา กลุมผูพิการทดลอง

ในองคการบริหารสวนตําบลบางนํ้าผึ้ง อําเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปรการ และองคการบริหารสวน

ตําบลทาขาม อําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา และกลุมผูดอยโอกาสทดลองในองคการบริหารสวน

ตําบลไรกลาง อําเภอกงไกรลาศ จังหวัดสุโขทัย และองคการบริหารสวนตําบลน้ําเก๋ียน อําเภอภูเพียง

จังหวัดนาน

เมื่อไดนํารูปแบบและวิธีการที่ไดทดลองใชในพื้นท่ีดังกลาวแลว จึงสรุปความเหมาะสมของรูปแบบ

และวิธีการในทางปฏิบัติจริง ซึ่งจะสามารถนําไปเปนตนแบบสําหรับการใชในองคกรปกครองทองถ่ิน

โดยทั่วไปของประเทศไทยได

2. หลักคิดเก่ียวกับรูปแบบและวิธีการจัดสวัสดิการสังคม

สวัสดิการสังคม (Social Welfare) โดยสรุป หมายถึง บริการที่จัดโดยรัฐหรือเอกชนสําหรับ

ผูเสียเปรียบ (Disavantaged) ในสังคม (Merriam-Webster, 2002) พระราชบัญญัติสงเสริมการจัด

สวัสดิการสังคม พ.ศ. 2546 อันเปนกฎหมายดานสวัสดิการสังคมของประเทศไทยที่มีการบังคับใชอยูใน

ปจจุบัน กําหนดความหมายท่ีคอนขางละเอียดขึ้นวา สวัสดิการสังคม คือ ระบบการจัดบริการทางสังคมซึ่ง

เก่ียวกับการปองกัน การแกไขปญหา การพัฒนา และการสงเสริมความมั่นคงทางสังคม เพื่อตอบสนอง

ความจําเปนขั้นพื้นฐานของประชาชน ใหมีคุณภาพชีวิตท่ีดีและพึ่งตนเองไดอยางทั่วถึง เหมาะสมเปนธรรม

และใหเปนไปตามมาตรฐาน ทั้งทางดานการศึกษา สุขภาพอนามัย ที่อยูอาศัย การทํางาน และการมีรายได

นันทนาการ กระบวนการยุติธรรม และบริการทางสังคมทั่วไป โดยคํานึงถึงศักด์ิศรีความเปนมนุษย สิทธิที่

ประชาชนจะตองไดรับ และการมีสวนรวมในการจัดสวัสดิการสังคมทุกระดับ โดยมีรูปแบบและวิธีการใน

การจัดสวัสดิการสังคม 6 ลักษณะ คือ การสงเสริมการพัฒนา การสงเคราะห การคุมครอง การปองกัน การ

แกไข และการบําบัดฟนฟู โดยสงเสริมและสนับสนุนใหบุคคลครอบครัว ชุมชน องคกรปกครองสวนทองถ่ิน

องคกรวิชาชีพ สถาบันศาสนา และองคกรอ่ืนไดมีสวนรวมดวย (ราชกิจจานุเบกษา, 2546) นักวิชาการชาว

แคนาดา ใหคําจํากัดความของ สวัสดิการสังคม (Social Welfare) วาหมายถึง การดําเนินการที่บุคคล

ชุมชน หรือสถาบันจัดใหมีโอกาสหรือมาตรฐานขั้นตํ่า เพื่อชวยใหสมาชิกสามารถรับมือกับผลกระทบ

(Contingencies) ตาง ๆ ได Steven Hick นักวิชาการชาวแคนาดา (Hick, 1998) กลาววา บริการสังคม

หรือ บริการท่ีจัดใหโดยรัฐและเอกชนสําหรับสมาชิกของสังคม มีหลากหลาย เชน บริการที่จัดใหในรูปของ

การศึกษา ที่อยูอาศัย สุขภาพ ความชวยเหลือครอบครัวและเด็ก ปจเจกชนและกลุม การชวยเหลือกรณี

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

7

วิกฤติ (Crisis Intervention) และความมั่นคงทางรายได (Income Security/Social security) เชน เบ้ียยังชีพ

เงินกูตาง ๆ สําหรับผูขาดรายไดแตเปนผูท่ีมีสวนสนับสนุนรายไดเขาระบบมาแลว เปนตน

การดําเนินการใหสมาชิกของสังคมไดรับสวัสดิการสังคม หรือการจัดสวัสดิการสังคม ไดผาน

วิวัฒนาการมาหลายระยะ มีการนําเอาหลักคิดที่แตกตางกันมาใชตามสภาพทางสังคม การเมือง และ

เศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลง สงผลใหเกิดความเปลี่ยนแปลงในรูปแบบและวิธีการในการจัดสวัสดิการสังคมและ

บริการท่ีจัดอยูเสมอ มีหลักคิดเก่ียวกับองคประกอบในมิติตาง ๆ ที่ทําใหเกิดความแตกตางของรูปแบบและ

วิธีการจัดสวัสดิการสังคมหลายมิติ เชน วัตถุประสงคและหนาที่ของนโยบายทางเศรษฐกิจและสังคม การ

กระจายอํานาจ ผู ดําเนินการ แหลงทรัพยากรและแหลงเงิน และแนวโนมของรายจายสาธารณะ

(Raczynski, 2000) ความแตกตางของมิติเหลาน้ีจะสงผลใหรูปแบบ (Model) และวิธีการ (Method)

จัดสวัสดิการสังคมตลอดจนชนิดของบริการสังคม (Social Services) แตกตางกัน

จากผลการวิจัย เรื่อง ทิศทางและรูปแบบการจัดสวัสดิการสังคมของประเทศไทย (ระพีพรรณ คําหอม,

๒๕๔๘) พบวา ณ ระยะของการทําวิจัย ประเทศไทยมีรูปแบบในการจัดสวัสดิการ 3 รูปแบบ คือ

1. สวัสดิการสังคมกระแสหลัก ไดแก รูปแบบสวัสดิการสังคมเชิงสถาบัน ซึ่งรัฐเปนศูนยกลางใน

การใหบริการแกประชาชน โดยความรวมมือของภาคเอกชน องคการสาธารณกุศลภาคธุรกิจเอกชน และ

องคกรปกครองสวนทองถ่ิน เปนสวัสดิการที่จัดใหตามสิทธิที่ประชาชนพึงไดรับ เปนสวัสดิการขั้นพื้นฐาน

ครอบคลุมการสรางหลักประกัน การบริหารทางสังคม การบริการทางสังคม

2. สวัสดิการสังคมกระแสรองหรือกระแสทางเลือก หมายถึง รูปแบบสวัสดิการแบบ

พหุลักษณ (Pluralism Model) ท่ีคํานึงถึงความหลากหลายของความตองการของมนุษย บนพื้นฐานของ

ความหลากหลายทางแนวคิด ใชวิธีการที่ตองผสมผสานกันจากหลายวิชาชีพ หลายหนวยงาน องคกรภาคี

ทุกภาคสวนรวมกันคิดแกไขปญหาบนฐานความสําคัญที่เสมอภาคแบบหุนสวน และการมีสวนรวมใน

ฐานะ"เจาภาพรวม" เชน รูปแบบสวัสดิการชุมชนที่พบใน 4 ภาค กลุมสัจจะออมทรัพยในภาคเหนือ

สวัสดิการภาคประชาชน (ออมวันละบาท) ของครูชบ ยอดแกว เปนตน สวัสดิการสังคมในลักษณะนี้ถือเปน

การให การรับอยางมีคุณคา และเคารพในศักด์ิศรีของความเปนมนุษย

3. สวัสดิการสังคมทองถ่ิน เปนการผสมผสานระหวางสวัสดิการสังคมกระแสหลักและกระแสรอง

เปนผลจากการบังคับใชพระราชบัญญัติกระจายอํานาจสูทองถ่ิน พ.ศ. 2542

อยางไรก็ตาม คณะผูศึกษางานวิจัยนี้ สรุปวา ทิศทางของการจัดสวัสดิการสังคมในประเทศไทยใน

อนาคตจะเขาสูรูปแบบพหุลักษณมากขึ้น คือ เปนรูปแบบการจัดสวัสดิการที่หลากหลาย เนนความรวมมือ

จากหลายภาคสวน เนนวิธีการทํางานท่ีผสมผสานหลายวิธีการ มุงใหการทํางานบรรลุเปาหมาย ในหลาย

มิติที่เปนความเชื่อมโยงวิถีชีวิตท่ีเปนองครวมของมนุษย โดยรูปแบบสวัสดิการที่หลากหลายตองเชื่อมโยง

ในหลายรูปแบบของสวัสดิการท้ังในกระแสหลักและกระแสรอง

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 8

3. รูปแบบการจัดสวัสดิการท่ีเหมาะสมโดยองคการปกครองสวนทองถิ่น

เมื่อพิจารณาตามมิติตาง ๆ ท่ีมีผลกระทบตอรูปแบบและวิธีการจัดสวัสดิการสังคมโดยองคกร

ปกครองสวนทองถ่ิน ภาพรวมจากการสังเคราะหงานวิจัย การวิพากษและการทดลองปฏิบัติในพื้นท่ีของ

งานวิจัยทั้ง 6 กลุม (คีรีบูน จงวุฒิเวศย, 2553; ชูพักตร สุทธิสา, 2553; ภุชงค เสนานุช, 2553; สมศักด์ิ

อมรสิริพงศ, 2553; สมหมาย แจมกระจาง, 2553; สุกรี แกวมณี และ สมศักด์ิ อมรสิริพงศ, 2553) พบวา

ผลการวิจัยแตละกลุมไดชี้บงถึงรูปแบบการจัดสวัสดิการสังคมที่เหมาะสมตรงกันเปนสวนใหญ มิติท่ี

สอดคลองตองกันอยางชัดเจนมี 4 มิติ ตามตารางที่ 1 เปนการเปรียบเทียบผลการวิจัยท่ีเก่ียวของกับ

รูปแบบการจัดการที่เหมาะสม ดังตอไปน้ี

ตารางท่ี 1 การเปรียบเทียบมิติท่ีสําคัญของรูปแบบการจัดสวัสดิการท่ีเหมาะสมโดยองคกรปกครอง

สวนทองถ่ิน ซึ่งสรุปไดจากผลการวิจัย 6 กลุมเปาหมาย

มิติสําคัญ

กลุมเปาหมาย

เด็กและ

เยาวชน สตรี ครอบครัว

ผูสูง

อายุ ผูพิการ

ผูดอย

โอกาส

1. พหุลักษณ/บูรณา

การ/ภาคีเครือขาย

2. การใช

ทุนทางสังคม

3. การพึ่งพาตนเอง

ของกลุม

4. ความเขมแข็งทาง

เศรษฐกิจ ไมระบุ ไมระบุ

หมายเหต ุ เคร่ืองหมาย ผลการวิจัยระบุวาการจัดสวัสดิการสําหรับกลุมเปาหมายนั้น ๆ ตองมีมิติดังกลาว

รายละเอียดของมิติตาง ๆ สําหรับรูปแบบการจัดสวัสดิการที่เหมาะสม 4 มิติ จากผลการวิจัย

6 กลุมเปาหมาย ดังตอไปนี้

1. มิติดานการจัดสวัสดิการสังคมแบบพหุลักษณ คือ การจัดสวัสดิการสังคมหลากหลาย

ลักษณะ (Pluralistic Social Welfare) ผูมีสวนไดสวนเสียหลายฝายมีบทบาท ลดการพึ่งพาหนวยงาน

สวนกลาง ไมจํากัดขอบเขตและชนิดของสวัสดิการ การจัดสวัสดิการโดยทองถ่ินเชื่อมโยงกับการจัด

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

9

สวัสดิการโดยหนวยงานตาง ๆ ท่ีเก่ียวของ ซึ่งจะทําใหสามารถจัดสวัสดิการสังคมไดหลากหลายและ

ตอบสนองความตองการของกลุมเปาหมายไดดีที่สุด

ผลการวิจัยบางกลุม เนนรูปแบบพหุลักษณที่ความหลากหลายของผูจัด (Actors) คือ มุงใหมีความ

รวมมือในการจัดสวัสดิการสังคมจากหลายภาคสวน (คีรีบูน จงวุฒิเวศย, 2553; สมศักด์ิ อมรสิริพงศ,

2553) ขณะท่ีบางกลุมเนนความหลากหลายของสวัสดิการสังคม (Services) คือ ระบุสวัสดิการสังคมอยาง

หลากหลาย (สมหมาย แจมกระจาง, 2553) และบางกลุม เนนทั้งความหลากหลายของผูจัดและความ

หลากหลายของสวัสดิการสังคม (ชูพักตร สุทธิสา, 2553; ภุชงค เสนานุช, 2553; สุกรี แกวมณี และ

สมศักด์ิ อมรสิริพงศ, 2553)

ในกลุมท่ีเนนความหลากหลายของผูจัดนั้น กลุมเด็กและเยาวชน กลาววา อปท. ควรดําเนินงานใน

ลักษณะพหุลักษณ หรือบูรณาการกับหนวยงานอ่ืน ๆ ท่ีเก่ียวของ ตามความจําเปน (สมศักด์ิ อมรสิริพงศ,

2553, หนา 209) สวนกลุมผูสูงอายุ เนนรูปแบบสวัสดิการผสม (Mixed Model) ลดการพึ่งพาสวนกลาง

และใชรูปแบบหลากหลาย ทั้งรูปแบบสวัสดิการสังคมประชานิยม รูปแบบสวัสดิการสังคมทองถ่ิน และ

รูปแบบสวัสดิการสังคมเฉพาะกลุม (คีรีบูน จงวุฒิเวศย, 2553, หนา 154)

กลุมที่เนนความหลากหลายของกิจกรรมสวัสดิการสังคม คือ กลุมสตรี ระบุบริการสวัสดิการสังคม

จํานวนมากทั้งในรูปของการสงเสริม การพัฒนา การคุมครอง การปองกัน การแกไขฟนฟู และการ

สงเคราะห เชน การใหการศึกษา การปองการกดขี่ทางเพศ การสงเคราะหทางการเงิน การสงเสริมอาชีพ

และรวมไปถึงการสรางแนวคิดแกกลุมเปาหมายอ่ืนใหเห็นความสําคัญของสวัสดิการสําหรับสตรี เชน

ปญหาการกดขี่ทางเพศ ปญหาการเลือกปฏิบัติอันเน่ืองจากเพศหญิง (สมหมาย แจมกระจาง, 2553, หนา

157-161)

สวนผลการวิจัยของกลุมท่ีเนนท้ังความหลากหลายของกิจกรรมและผูจัด คือ กลุมครอบครัว

นักวิจัยสรุปวา ตองจัดสวัสดิการสังคมโดยบูรณาการกับองคกรภาคีเครือขาย และระบุกิจกรรมที่ตอบสนอง

ความตองการของครอบครัวหลายดาน เชน กองทุนสวัสดิการตาง ๆ สําหรับครอบครัว ที่อยูอาศัย

ความสัมพันธและความเขมแข็งในครอบครัว และการสงเคราะหครอบครัวยากจนและครอบครัวดอยโอกาส

และเนนกิจกรรม “3 วัย” (ชูพักตร สุทธิสา, 2553, หนา 195-198) ผลวิจัยกลุมผูพิการระบุวา องคกรภาคี

เครือขายท้ังภายในและภายนอกชุมชนควรมีการประสานความรวมมือกันอยางแข็งขัน โดยกําหนดกิจกรรม

หลากหลาย ซึ่งบริหารจัดการโดยชุมชนเอง เชน การฟนฟูสมรรถภาพ การมีศูนยดูแล และการดูแลที่บาน

การฝกและวางแผนอาชีพ และการฝกทักษะการดํารงชีวิต เพื่อนําไปสูการพึ่งพาตนเองของผูพิการ (ภุชงค

เสนานุช, 2553, หนา 147) ผลการวิจัยกลุมผูดอยโอกาส ระบุวา อปท. “ จะตองจัดสวัสดิการสังคมใน

ลักษณะของการบูรณาการความรวมมือกับภาคสวนอ่ืน ๆ ในพื้นท่ี เชน ศูนยพัฒนาสังคมประจําจังหวัด

สถานศึกษา โรงพยาบาลและสถานีอนามัย กลุมกองทุนออมทรัพย กลุมอาชีพ กลุมชีววิถี เปนตน” (สุกรี

แกวมณี และ สมศักด์ิ อมรสิริพงศ, 2553, หนา 271)

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 10

2. มิติดานการใชทุนทางสังคม คือ การใชประโยชนจากภูมิปญญาทองถ่ิน ความรูและทักษะ

ของปราชญชาวบาน ขนบธรรมเนียม ประเพณี ความเชื่อที่สามารถเอ้ือและสนับสนุนการจัดสวัสดิการ

สังคม หมายความรวมถึงทุนทางเศรษฐกิจ เชน ทรัพยากรธรรมชาติดวย และรวมถึงการใชขอมูลที่เปนจริง

ดานตาง ๆ ในทองถ่ิน เปนฐานการดําเนินการ

ผลการวิจัยกลุมเด็กและเยาวชน ระบุวา “การจัดสวัสดิการสังคมสําหรับกลุมเด็กและเยาวชน

จะตองเชื่อมประสานเขากับทุนทางสังคม ทรัพยากรทองถ่ิน ภูมิปญญาทองถ่ิน ประเพณีและวัฒนธรรม

ทองถ่ิน” (สมศักด์ิ อมรสิริพงศ, 2553, หนา 209) กลุมสตรี ระบุในหัวขอการจัดสวัสดิการเพื่อการแกไขเพื่อ

บรรเทาปญหาดานอาชีพของสตรี วาจะตอง “ สรรหาภูมิปญญาทองถ่ินเพื่อสืบทอดความรู ความสามารถ

ภูมิปญญาที่มีคุณคา รวมถึงอาจทําใหเกิดมูลคาเพิ่ม ทําใหเกิดการชวยเหลือเก้ือกูล เกิดอาชีพ และ

สามารถเลี้ยงตัวได ...... เชน พัฒนาการนําสมุนไพรมาใชประโยชน และการดูแลสุขภาพ การดูแลตนเอง

และการออกกําลังกายที่ถูกตอง โดยใชทรัพยากรที่มีอยูในทองถ่ิน หรือจัดเปนกลุมจัดการทรัพยากรทองถ่ิน

ขึ้นเพื่อประโยชนท้ังสตรี ครอบครัว และชุมชน” (สมหมาย แจมกระจาง, 2553, หนา 160) ผลการวิจัยกลุม

ครอบครัว ชี้ใหเห็นวา ทุนทางสังคมเปนปจจัยสําคัญในการจัดสวัสดิการหลาย ๆ เรื่อง เชน “ ...รื้อฟนให

สถาบันครอบครัว วัดและชุมชนใหเห็นในคุณคา ศาสนา ภูมิปญญาในพื้นท่ีและผลักดันใหเกิดการเรียนรู

คุณคา ภูมิปญญาทองถ่ินเพื่อรื้อฟนคุณคาประเพณี วัฒนธรรมและสรางระบบการชวยเหลือเก้ือกูลกัน ทั้งนี้

รูปแบบของกิจกรรมควรมีความสอดคลองกับวิถีชีวิตของครอบครัวและชุมชนโดยการผสานระบบการ

คุมครองทางสังคมสมัยใหมโดยรัฐกับระบบการคุมครองทางสังคมแบบด้ังเดิมของไทยที่ทําผานสถาบันวัด

และครอบครัว” (ชูพักตร สุทธิสา, 2553, หนา 195) กลุมผูสูงอายุกลาวถึง การจัดการตามสภาพพื้นท่ี

( area-based management) ที่เก่ียวของกับทุนทางสังคม วา “ ..ควรใชบริบทพื้นที่ทางสังคมเชน ดานวิถี

ชีวิต วัฒนธรรม ประเพณี ความสัมพันธของผูคน เปนหลักในการจัดกิจกรรมตาง ๆ ที่เก่ียวกับผูสูงอายุ...”

(คีรีบูน จงวุฒิเวศย, 2553, หนา 155) ผลการวิจัยกลุมผูพิการระบุวา โครงการ/แผนงาน “ควรมีความ

สอดคลองกับวิถีชีวิตและวัฒนธรรมของแตละทองถ่ิน” (ภุชงค เสนานุช, 2553, หนา 147) ผลการวิจัยกลุม

ผูดอยโอกาส ชี้ใหเห็นวา “...นอกจากงบประมาณแลว ทรัพยากรท่ีสําคัญยังสามารถหาไดภายในทองถ่ินเอง

ดวย เชน ทุนทางสังคม ความเอ้ือเฟอเผื่อแผกันของคนในชุมชน ทรัพยากรธรรมชาติ ภูมิปญญาทองถ่ิน

ปาชุมชน เปนตน” (สุกรี แกวมณี และ สมศักด์ิ อมรสิริพงศ, 2553, หนา 272)

3. มิติดานการพ่ึงพาตนเอง คือ การดําเนินการในรูปกลุมสวัสดิการที่มีการบริหารจัดการแบบมี

สวนรวม เนนการจัดต้ังกลุมเพื่อพัฒนาและพึ่งพาตนเองอยางย่ังยืน สรางกลไกการขับเคลื่อน มีการบริหาร

จัดการแบบมีสวนรวมของสมาชิก มีการสืบทอดหลักคิดและประสบการณในการจัดสวัสดิการอยางตอเน่ือง

และเปนระบบ

ผลการวิจัยกลุมเด็กและเยาวชนระบุถึง “การสรางกลไกในการขับเคลื่อนงานสวัสดิการสังคม

สําหรับกลุมเด็กและเยาวชน ซึ่งอาจจะเปนการจัดต้ังกลุมหรือเครือขายสภาเด็กและเยาวชน” และ “การจัด

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

11

สวัสดิการสังคมสําหรับกลุมเด็กและเยาวชนควรจะตองกาวขามรูปแบบของการจัดสวัสดิการที่ใชฐานของ

งบประมาณรัฐบาลเปนท่ีต้ังเพียงอยางเดียวไปใหได เพราะถา "งบประมาณหมด สวัสดิการก็จบไปดวย"

ไมควรจะมีอีกแลว หากแตจะตองดึงเอาศักยภาพของทองถ่ินของแตละแหงออกมาใหได” (สมศักด์ิ อมรสิริพงศ,

2553, หนา 209, 207) รายงานผลกลุมสตรี ระบุวา “ควรมีการสงเสริมการพัฒนาองคกรสตรีที่จะมีบทบาท

เปนตัวแทนชวยเหลือซึ่งกันและกันท้ังเปนรายบุคคลและเปนกลุม เชนในยามที่สตรีในพื้นที่มีปญหาหรือ

ความตองการใหชวยเหลือที่เจาหนาที่หนวยงานตาง ๆ ไมสามารถเขาถึงได ...... มีการพัฒนากลุมท่ีเกิด

จากการรวมตัวกันเพื่อดําเนินกิจกรรมอยางใดอยางหนึ่งรวมกัน เชน กลุมอาชีพ กลุมแมบานเกษตรกร”

และให อปท. สนับสนุนจนกวากลุมจะรับผิดชอบตนเองได และระบุในรูปแบบการคุมครองสตรีวา ตองให

“สมาชิกทุกคนมีสวนรวมในการเฝาระวัง” และ “ควรมีกลุมหรือหนวยของสตรีอยูในองคกรใดองคกรหนึ่งมี

ผูรับแจงปญหา ใหคําปรึกษา แนะนํา และชวยเหลือในการแกปญหาที่อาจเกิดขึ้นอยางไมไดคาดหมาย” ใน

แงของการบําบัดฟนฟูดวย (สมหมาย แจมกระจาง, 2553) กลุมครอบครัวเนนวาตอง “จัดสภาพแวดลอม

ภายในครอบครัวทําใหครอบครัวเกิดความเขมแข็งและภูมิคุมกัน เนนการจัดกิจกรรมในเชิงการปองกัน.......

โดยการเสริมสรางศักยภาพของสมาชิกในครอบครัวทั้งดาน กาย จิตใจ อารมณ สังคม .... สงเสริม

สัมพันธภาพความเปนครอบครัวท่ีอบอุนและเขมแข็ง” (ชูพักตร สุทธิสา, 2553, หนา 195) กลุมผูสูงอายุ

ระบุหลักคิดเก่ียวกับการพึ่งพาตนเองของผูสูงอายุวา " การตระหนักในศักด์ิศรี คุณคา ศักยภาพ

ความสามารถในการพึ่งตนเองของผูสูงอายุ ....... เปนผูที่มีประสบการณ เปนผูธํารงรักษาและสงตอ

ภูมิปญญา ประเพณ ีวัฒนธรรมและองคความรูตาง ๆ ... ผูสูงอายุไมใชปญหา ไมใชภาระ ผูสูงอายุคือความ

เจริญงอกงามมีศักยภาพ มีเกียรติ ควรยกยอง ใหกําลังใจเพื่อใหมีสวนรวมทํากิจกรรมเพื่อสังคมสงเสริมให

ผูสูงอายุเขมแข็ง และสามารถพึ่งพาตนเองได : โดยพัฒนาศักยภาพ เสริมพลังอํานาจ โดยใชกระบวนการ

กลุม” (คีรีบูน จงวุฒิเวศย, 2553, หนา 154) ผลการวิจัยกลุมผูพิการ กลาวถึงรูปแบบการพึ่งพาตนเองวา

“...ควรใหความสําคัญกับการตอบสนองตอปญหาและความตองการของกลุมคนผูพิการ โดยเปดโอกาสให

ผูพิการไดมีสวนรวมในการตัดสินใจในการแกไขปญหาและพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุมคนพิการเอง” (ภุชงค

เสนานุช, 2553, หนา 147) กลุมผูดอยโอกาสเนนวา การจัดสวัสดิการตองอยูในรูปแบบ ”Help Them to

Help Themselves” (สุกรี แกวมณี และ สมศักด์ิ อมรสิริพงศ, 2553, หนา 271)

4. มิติดานความเขมแข็งทางเศรษฐกิจ เนนการสรางอาชีพและรายได เพื่อเปนพื้นฐานการ

ดํารงชีวิตของกลุมทําใหมีความพรอมขั้นตนสําหรับการรวมคิดรวมทํากิจกรรมดานสวัสดิการสังคมอ่ืน ๆ

ตอไป

ผลการวิจัยของกลุมสตรี กลุมครอบครัว กลุมผูพิการ และกลุมผูดอยโอกาส ระบุใหมีการจัด

สวัสดิการสังคมที่สรางความเขมแข็งทางเศรษฐกิจ โดยการสงเสริมอาชีพและการเพิ่มรายได ยกเวนกลุม

ผูสูงอายุ และกลุมเด็กและเยาวชน (คีรีบูน จงวุฒิเวศย, 2553; สมศักด์ิ อมรสิริพงศ, 2553) ที่ไมไดเนนมิติ

การจัดสวัสดิการที่เนนการสรางอาชีพหรือรายได

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 12

กลุมสตรี ผูวิจัยไดระบุใหสตรีมีการรวมกลุมทางเศรษฐกิจในลักษณะของการพัฒนาและการ

บรรเทาความเดือดรอน โดยการ “ ...รวมกลุมผลิต ตอรองราคา จัดหาชองทางการจําหนายและเพิ่มมูลคา

พัฒนาความรูดานเทคโนโลยีสมัยใหม การทําบัญชีรายรับรายจาย การวิเคราะห-ผลตอบแทน โดยการ

ฝกอบรม ศึกษาดูงาน และประชุมเก่ียวกับการพัฒนาธุรกิจ” และ “ ... ฝกอบรมหรือพัฒนาความรูทักษะใน

การพัฒนาอาชีพสําหรับสตรี ทําใหมีอํานาจตอรองในการซื้อขาย รวมถึงสนับสนุนดานเงินทุน หาตลาด

รองรับ” (สมหมาย แจมกระจาง, 2553, หนา 158, 160) กลุมครอบครัวเนนการจัดสวัสดิการดานการมี

งานทําและการสรางรายไดแกครอบครัว อบต.และการต้ังกองทุนสนับสนุนการเงิน “.... อันไดแก การ

สงเสริมการอบรม การฝกและพัฒนาอาชีพ ควรมีการต้ังกองทุนเพื่อชวยเหลือครอบครัวดานอาชีพ ให

ครอบครัวใหมีอาชีพมั่นคง...” (ชูพักตร สุทธิสา, 2553, หนา 196-197) กลุมผูพิการเนนการสรางรายได

ทํานองเก่ียวกับกลุมสตรี คือ “การสนับสนุนทุนประกอบอาชีพอิสระทั้งรายบุคลและรายกลุม รวมทั้งการ

จัดหาวัสดุอุปกรณในการประกอบอาชีพ และการชวยหาแหลงจําหนายหรือตลาดรองรับผลิตภัณฑที่กลุม

คนพิการผลิตขึ้น....” (ภุชงค เสนานุช, 2553, หนา 150) ในกลุมผูดอยโอกาส ผูวิจัยไดระบุการพัฒนาอาชีพ

เปนจุดเริ่มตน คือ “ ... ใชฐานอาชีพในการรวมกลุมกันของกลุมผูดอยโอกาสเพื่อเรียกคืนศักด์ิศรีแหงความ

เปนมนุษยที่สามารถสรางงานสรางรายไดเพื่อการยังชีพของตนเองได การรวมกลุมอาชีพของผูดอยโอกาส

ยังเปนการสรางพลังและเปนการเปดพื้นที่ทางสังคม (Social Space) ใหกลุมผูดอยโอกาสไดมีตําแหนง

แหงที่ของตนเองในสังคม.....” (สุกรี แกวมณี และ สมศักด์ิ อมรสิริพงศ, 2553, หนา 271)

โดยสรุป รูปแบบการจัดสวัสดิการสังคมที่ เหมาะสมโดย อปท. คือ รูปแบบพหุลักษณ ซึ่ง

ประกอบดวยความหลากหลายของผูดําเนินการและความหลากหลายของสวัสดิการเพื่อมุงสูความสามารถ

ในการพึ่งพาตนเอง ทั้งน้ี การจัดสวัสดิการดังกลาวสามารถดําเนินการในรูปแบบของการสงเสริมการพัฒนา

การคุมครอง การ การปองกัน การแกไขบําบัดฟนฟู และการสงเคราะหตามสถานการณของปญหาและ

สภาวการณในพื้นที่

4. การจัดการสวัสดิการท่ีเหมาะสมโดยองคการปกครองสวนทองถิ่น

ผลการวิจัย 6 กลุมไดสรุปวิธีการจัดสวัสดิการออกเปนขั้นตอนที่เหมาะสมแตกตางกันบาง คือ

จํานวนขั้นตอนที่นอยที่สุด มี 5 ขั้นตอน (คีรีบูน จงวุฒิเวศย, 2553; ภุชงค เสนานุช, 2553) จํานวนขั้นตอน

ที่มากที่สุดมี 8 ขั้นตอน (สมศักด์ิ อมรสิริพงศ, 2553; สมหมาย แจมกระจาง, 2553; สุกรี แกวมณี และ

สมศักด์ิ อมรสิริพงศ, 2553) และอาจกําหนดลําดับขั้นตอนแตกตางกันบาง แตหากพิจารณาจากขั้นตอน

ยอยที่นําเสนอแลว พบวามีขั้นตอนคลายคลึงกันทุกกลุม ตามตารางเปรียบเทียบขางลาง ดังนั้น ในที่นี้

จึงนําเสนอโดยใชขั้นตอนสรุป 5 ขั้นตอน ดังตารางที่ 2 ตอไปนี้

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

13

ตารางท่ี 2 การเปรียบเทียบขั้นตอนสําคัญของวิธีการจัดสวัสดิการท่ีเหมาะสมโดยองคกร

ปกครองสวนทองถ่ิน ซึ่งสรุปไดจากผลการวิจัย 6 กลุมเปาหมาย

วิธีการสําคัญ

กลุมเปาหมาย

เด็กและ

เยาวชน สตรี ครอบครัว

ผูสูง

อายุ ผูพิการ

ผูดอย

โอกาส

ทําความเขาใจ

รวมวางแผน

ดําเนินการตาม

แผน

สรุปบทเรียน

ปรับปรุง

หมายเหต ุ เคร่ืองหมาย แสดงผลการวิจัยที่ระบุวาวิธีการจัดสวัสดิการสําหรับกลุมเปาหมายนั้น ๆ ตองมีขั้นตอนดังกลาว

1. การทําความเขาใจสถานการณ เริ่มตนต้ังแตการรวบรวมขอมูลเบ้ืองตนเก่ียวกับปญหา

ความตองการ และจัดทําเปนฐานขอมูล และสรางความเขาใจรวมกันตอสภาพปญหาและสถานการณท่ี

เก่ียวของ ขั้นตอนนี้ถูกระบุเปนขั้นตอนแรก ๆ ของกระบวนการของทุกกลุม ผลการวิจัยของกลุมเด็กและ

เยาวชน และกลุมผูดอยโอกาส ระบุวา การสํารวจขอมูล เปนขั้นตอนแรกสุด โดยมีขั้นตอนยอยเปนจัดทํา

ฐานขอมูลและการวิเคราะหขอมูล และมีการจัดเวทีระดมความคิดเปนขั้นตอนที่ 2 (สมศักด์ิ อมรสิริพงศ,

2553, หนา 194; สุกรี แกวมณี และ สมศักด์ิ อมรสิริพงศ, 2553, หนา 272) กลุมผูสูงอายุรวบกระบวนการ

ทําความเขาใจสภาพปญหาสถานการณและการรวบรวมขอมูล เปนขั้นตอนเดียวกัน (คีรีบูน จงวุฒิเวศย,

2553, หนา 156) สวนผลการวิจัยกลุมสตรี ระบุให ขั้นตอนการคนหาแนวทางและการเรียนรูสถานการณ

เปนขั้นตอนที่ 2 และ 3 ตามลําดับ แตเนนขั้นตอนการทําความเขาใจผูบริหาร อปท. เปนลําดับแรก

(สมหมาย แจมกระจาง, 2553, หนา 164) กลุมครอบครัว ระบุวา การทําความเขาใจสภาพปญหาและ

สถานการณ เปนขั้นตอนที่ 2 และการสํารวจและจัดทําฐานขอมูลเปนขั้นตอนท่ี 3 โดยใหการเตรียมความ

พรอมบุคลากรของ อปท. เปนขั้นตอนแรกสุด (ชูพักตร สุทธิสา, 2553, หนา 200) กลุมผูพิการระบุให การ

ทําความเขาใจสถานการณและสภาพปญหาเปนขั้นตอนแรก และการสํารวจขอมูลเปนขั้นตอนที่ 2 (ภุชงค

เสนานุช, 2553, หนา 149)

จากผลการวิจัยทุกกลุม สรุปไดวา ขั้นตอนเหลานี้ คือ การรวบรวม ศึกษา และวิเคราะหขอมูลเพื่อ

ทําความเขาใจสภาวะที่แทจริงของกลุมเปาหมายสําหรับบุคคลและหนวยงานตาง ๆ ที่เก่ียวของ เพื่อที่จะ

สามารถตัดสินใจเรื่องอ่ืน ๆ ตอไป ดังนั้น ขั้นตอนยอย ๆ ที่เก่ียวกับขอมูลและความเขาใจที่ตรงความเปน

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 14

จริง ไมวาจะสลับขั้นตอนอยางไร จะตองรวมกันเปนกระบวนการแรก ๆ ท่ีพึงดําเนินการเพราะจะเปน

พื้นฐานของการวางแผนงานและการดําเนินการอ่ืน ๆ ในขั้นตอ ๆ ไป

2. การวางแผนการจัดสวัสดิการ คือ การกําหนดโครงการและกิจกรรมตามความจําเปนและ

ความตองการของกลุมขับเคลื่อนและสมาชิก ในลักษณะของการรวมคิดรวมทําและรวมรับผล โดยใชทุน

ทางสังคมและการจัดต้ังกลุมสวัสดิการสังคม เพื่อการมีสวนรวมในการจัดสวัสดิการ และควรบูรณาการการ

จัดสวัสดิการของหลายกลุมเขาดวยกัน เชื่อมโยงกิจกรรมสูตางกลุม ตางวัย ตางอาชีพ ผลการวิจัยทุกกลุม

เนนการมีสวนรวมในลักษณะของการจัดเวทีแลกเปลี่ยน

กลุมผูดอยโอกาสเนนบทบาทของกลุมเปาหมายเปนหลักในการวางแผน โดยมีการสนับสนุนของ

อปท. และภาคเครือขาย (สุกรี แกวมณี และ สมศักด์ิ อมรสิริพงศ, 2553, หนา 272) ทํานองเดียวกับ

กลุมสตรี ซึ่งระบุใหมีการจัดต้ังคณะกรรมการของกลุม และทําหนาที่เปนแกนนําในการวางแผน (สมหมาย

แจมกระจาง, 2553, หนา 162) กลุมผูสุงอายุเนนวา ควรวางแผนในลักษณะ รวมวิเคราะหรวมคิด รวมรับผล

ผูที่มามีสวนรวมควรมีความหลากหลาย ดูจากฐานขอมูลชุมชนที่ไดจัดทําไว (คีรีบูน จงวุฒิเวศย, 2553,

หนา 150) คลายคลึงกับวิธีการกลุมเด็กและเยาวชนซึ่งแยกขั้นตอนการระดมความคิดจากหลายภาคสวน

เปนอีกขั้นตอนกอนหนาการวางแผน โดยการจัดเวทีระดมความคิดเห็น ทั้งองคกรปกครองสวนทองถ่ิน ผูนํา

ชุมชน องคกรพัฒนาเอกชน องคกรธุรกิจ ภาคประชาชน องคกรชุมชน ตาง ๆ เชน กลุมอาชีพ กลุมสัจจะ

ออมทรัพย กลุมสตรี กลุมผูสูงอายุ (สมศักด์ิ อมรสิริพงศ, 2553, หนา 194)

โดยสรุป การวางแผนเนนบทบาทของหลายฝาย โดยมีกลุมเปาหมายเปนจุดต้ังตน มี อปท. และ

ภาคีเครือขายสนับสนุน

3. การจัดกิจกรรมตามแผน ดําเนินโครงการตามแผน โดยเนนบทบาทของกลุมเปาหมาย และ

สอดคลองกับวิถีชีวิตของพื้นที่ รวมถึง การระดมทรัพยากรดานการเงิน วัสดุอุปกรณ เครื่องมือ ปจจัยอํานวย

ความสะดวกในการดําเนนิงานตาง ๆ

กลุมสตรีเนนบทบาทของคณะกรรมการกลุมเปาหมายในฐานะผูดําเนินการที่สําคัญที่สุด โดยมี

อปท. และภาคีเครือขายเปนฝายสนับสนุน (สมหมาย แจมกระจาง, 2553, หนา 164) ทํานองเดียวกับกลุม

ผูสูงอายุ ที่สรุปวา ตองการดําเนินงานตามแผนควรมีผูสูงอายุเปนตัวต้ัง หลายภาคสวนรวมกันทํางาน

องคกรปกครองสวนทองถ่ินเปนแกน และมีการใชอาสาสมัครดําเนินกิจกรรม (คีรีบูน จงวุฒิเวศย, 2553,

หนา 151) กลุมเด็กและเยาวชน และกลุมผูดอยโอกาสระบุ ใหมีการจัดต้ังกลไกขับเคลื่อนแผนงานในรูปของ

สภาหรือกลุมท่ีมีลักษณะคลายกัน เปนขั้นตอนที่ตอเนื่องจากการนําแผนสูการปฏิบัติ (สมศักด์ิ อมรสิริพงศ,

2553, หนา 194-195; สุกรี แกวมณี และ สมศักด์ิ อมรสิริพงศ, 2553, หนา 273) กลุมครอบครัวระบุวา

การดําเนินงานตามแผนควรใหความสําคัญกับกลุมเปาหมายเปนผูมีสวนรวมในการปฏิบัติการเอง (Actors)

รวมถึงการใชอาสาสมัคร (ชูพักตร สุทธิสา, 2553, หนา 201) กลุมผูพิการระบุใหกลุมคนพิการและองคกร

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

15

ปกครองสวนทองถ่ินเปนแกนหลักในการดําเนินงาน และเสนอแนะวิธีการใชอาสาสมัคร (ภุชงค เสนานุช,

2553, หนา 150)

โดยสรุปขั้นตอนการปฏิบัติตามแผน เนนใหกลุมเปาหมายมีบทบาทมากท่ีสุด แตควรเปนไปใน

ลักษณะบูรณาการหลายกลุมเปาหมายเขาดวยกัน คือ ทั้งเด็ก สตรี ครอบครัว ผูสูงอายุ ผูพิการ

ผูดอยโอกาส โดยมี อปท. เปนผูสนับสนุนหลัก และภาคีเครือขายเปนผูสนับสนุนเพิ่มเติม

4. การสรุปบทเรียน คือ การวัดประเมินความสําเร็จของการดําเนินการตามวัตถุประสงคของ

โครงการและกิจกรรม สรุปความกาวหนาและความบกพรอง เพื่อนําไปปรับปรุงหรือพัฒนารูปแบบการจัด

สวัสดิการไดบรรลุผลตามเปาหมายมากขึ้น กลุมเด็กและเยาวชน กลุมครอบครัว และกลุมเด็กและเยาวชน

ระบุใหมีการทํารายงานผลการจัดสวัสดิการสังคมและประชาสัมพันธใหเกิดการรับรู และนําไปสูการพัฒนา

ปรับปรุง (ชูพักตร สุทธิสา, 2553, หนา 201; สมศักด์ิ อมรสิริพงศ, 2553, หนา 213) กลุมสตรีระบุใหมีการ

จัดเวทีสรุปบทเรียน (สมหมาย แจมกระจาง, 2553, หนา 164) กลุมผูพิการเนนการติดตามประเมินผลใน

ลักษณะท่ีเปดโอกาสใหทุกภาคีเครือขายไดเขามาเรียนรูรวมกัน ท้ังหนวยงานรับผิดชอบ หนวยงาน

สนับสนุน และรายงานผลการปฏิบัติงาน ใหผูที่เก่ียวของทราบ ตลอดจนรณรงคใหชุมชนไดตระหนักถึง

ความสําคัญของการจัดสวัสดิการสังคม (ภุชงค เสนานุช, 2553, หนา 151)

โดยสรุปขั้นตอนการประเมินผล ควรดําเนินการในลักษณะเปด มีสวนรวมจากทุกภาคสวน และ

จัดทําเปนรายงานเผยแพร

5. การแกไขปรับปรุงการดําเนินงาน จากขอมูลท่ีแสดงถึงขอบกพรองจากการสรุปบทเรียนการ

จัดสวัสดิการสังคม มีความจําเปนตองนําการยอนกลับ (Feedback) มาสูการพัฒนาปรับปรุงรูปแบบ

วิธีการและกิจกรรมตลอดจนแนวทางการดําเนินงานอ่ืน ๆ ถึงแมจะมีการแยกขั้นตอนการประเมินและ

การปรับปรุงออกจากกันบาง หรือรวมกันบาง แตผลการวิจัยของทุกกลุมระบุใหมีขั้นตอนทั้ง 2 นี้ตรงกันเปน

ขั้นตอนสุดทายทุกกลุม

อยางไรก็ตาม มีองคประกอบสําคัญอีกอยางหนึ่งท่ีผลการวิจัยระบุใหดําเนินการเปนขั้นตอนหนึ่ง

คือ การพัฒนาศักยภาพของเจาหนาที่และบุคลากรท่ีเก่ียวของ เนื่องจากบุคลากรดังกลาวจะเปนผูริเริ่มและ

ประสานงานกับกลุมเปาหมายและภาคีเครือขาย จึงจําเปนจะตองพัฒนาตนเองใหมีความรู ความเขาใจ

และตระหนักถึงความสําคัญของการจัดสวัสดิการกอน ในประเด็นเรื่องบุคลากรของ อปท. นี้กลุมครอบครัว

ระบุใหเปนขั้นตอนแรกสุดของวิธีการจัดสวัสดิการสังคม (ชูพักตร สุทธิสา, 2553, หนา 200) สวนกลุมเด็ก

และเยาวชน และกลุมสตรีเสนอเปนความคิดเห็นเพิ่มวา ตองมีตําแหนงเจาหนาที่สวัสดิการสังคมประจํา

เปนผูที่จบการศึกษาตรงสาย หรือฝกอบรมอยางเพียงพอ (สมศักด์ิ อมรสิริพงศ, 2553, หนา 207; สมหมาย

แจมกระจาง, 2553, หนา 165) ประเด็นนี้ไดเสนอแนะไวในสวนของความคิดเห็นเพิ่มเติมอีกดวย

วิธีการและขั้นตอนที่แยกยอยกวาน้ีขึ้นอยูกับการประยุกตของผูปฏิบัติหนาที่ท่ีตองใชความรู

ความสามารถทําใหเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลจนบรรลุเปาหมายของการจัดสวัสดิการสังคมของพื้นที่

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 16

5. ขอคิดเห็นเพิ่มเติมเก่ียวกับการจัดสวัสดิการสังคมโดยองคการปกครองสวนทองถิ่น

นอกจากรูปแบบ และขั้นตอนการดําเนินการดังกลาวแลว อปท. ควรปรับเปลี่ยนการดําเนินงานใน

บางประเด็น มีดังนี้

1. ความสําคัญของงานสวัสดิการ อปท. ตองใหความสําคัญกับงานดานสวัสดิการสังคมในระดับ

ที่เทาเทียมกันกับงานดานอ่ืน ๆ ของ อปท. (สมศักด์ิ อมรสิริพงศ, 2553, หนา 208; สมหมาย แจมกระจาง, 2553,

หนา 165)

2. ตําแหนงนักสวัสดิการสังคม อปท. ตองกําหนดตําแหนงบุคลากรดานสวัสดิการสังคมอยาง

แนนอนโดยตรง ไมปลอยใหตําแหนงวางหรือเปนงานฝากอยูกับผูรับผิดชอบงานอ่ืน โดยผูดํารงตําแหนงตอง

มีความรูความสามารถเพียงพอ เชน จบการศึกษาในสาขาท่ีเก่ียวของ หรือมีการพัฒนาความรูความสามารถ

ถึงระดับที่สามารถรับผิดชอบงานได (ชูพักตร สุทธิสา, 2553, หนา 200, 202; ภุชงค เสนานุช, 2553, หนา 152;

สมศักด์ิ อมรสิริพงศ, 2553, หนา 208, 214; สมหมาย แจมกระจาง, 2553, หนา 165)

3. การดําเนินงาน อปท. ตองปรับปรุง กฎ ระเบียบดานตาง ๆ เชน ระเบียบการเงิน การบริหาร

บุคคล ใหสอดคลองกับรูปแบบและวิธีการจัดสวัสดิการ (สมหมาย แจมกระจาง, 2553, หนา 165)

การปรับปรุงและพัฒนากลไกการดําเนินงานทบทวนการจัดสรรงบประมาณและการจัดสวัสดิการที่มีความ

ซ้ําซอนกันระหวางหนวยงาน (ชูพักตร สุทธิสา, 2553, หนา 204)

4. การสนับสนุน อปท. ทําหนาที่ดําเนินงานเปนหนวยงานหลักในการประสานการจัดสวัสดิการ

สังคม รับการสนับสนุนกับหนวยงานสวนกลางและองคกรอ่ืนในดานความรู ความเขาใจเก่ียวกับระบบ

สวัสดิการสังคมและการสนับสนุนดานอ่ืน ๆ (ชูพักตร สุทธิสา, 2553, หนา 202; สมหมาย แจมกระจาง,

2553, หนา 165; สุกรี แกวมณี และ สมศักด์ิ อมรสิริพงศ, 2553, หนา 271) กลุมผูพิการเสนอแนะการต้ัง

คณะทํางานระดับตําบลและระดับจังหวัด (ภุชงค เสนานุช, 2553, หนา 148) กลุมครอบครัวและกลุม

ผูสูงอายุเสนอแนะการต้ังกรรมการระดับตําบลเชื่อมโยงเครือขายทั้งแนวด่ิงและแนวราบ (คีรีบูน จงวุฒิเวศย,

2553, หนา 157; ชูพักตร สุทธิสา, 2553, หนา 204)

จากผลสรุปรูปแบบและวิธีการจัดสวัสดิการ ตลอดจนขอคิดเห็นเพิ่มขางตน เปนที่นาสังเกตวา

สวัสดิการสังคมในรูปของบริการ (Services) หรือประโยชน (Benefit) นั้น ไมเปนประเด็นสําคัญท่ีหนวยงาน

ที่ใหบริการดานสวัสดิการสังคมจะตองกําหนดขึ้นมาเองแตอยางใด เนื่องจากจะเปนประเด็นที่ถูกกําหนด

โดยกระบวนการแบบมีสวนรวมของกลุมเปาหมายและภาคีเครือขายโดยตรง ซึ่งอาจแตกตางกันไปตาม

สถานการณทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองของแตละพื้นที่ อยางไรก็ตาม ในงานวิจัยชุดนี้ บริการหรือ

ประโยชนที่ถูกสรุปออกมาคอนขางชัดในรูปแบบการจัดสวัสดิการ คือ เรื่องของการสรางความเขมแข็งทาง

เศรษฐกิจ เชน การสงเสริมอาชีพและการสรางรายไดสําหรับกลุมสตรี กลุมครอบครัว กลุมผูพิการ และ

กลุมผูดอยโอกาส

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

17

ประเด็นที่สรุปไดจากผลการวิจัยโดยภาพรวม คือ การจัดสวัสดิการสังคมแบบพหุลักษณ การใช

ขอมูลเปนพื้นฐาน การมีสวนรวมจากหลายฝาย และการบริหารจัดการกลุมในรูปของการขับเคลื่อนและ

พึ่งพาตนเองโดยมี อปท. เปนผูประสานและสนับสนุนการจัดสวัสดิการสังคมโดยถือเปนเรื่องสําคัญเทากับ

งานดานอ่ืน ๆ

บรรณานุกรม

คีรีบูน จงวุฒิเวศย. (2553). รูปแบบและวิธีการจัดสวัสดิการสังคมท่ีเหมาะสมสําหรับกลุมผูสูงอายุ

โดยองคกรปกครองสวนทองถ่ิน. นครปฐม: ศูนยธุรกิจที่ปรึกษาเพื่อการพัฒนา มหาวิทยาลัย

ราชภัฏนครปฐม.

ชูพักตร สุทธิสา. (2553). รูปแบบและวิธีการจัดสวัสดิการสังคมท่ีเหมาะสมสําหรับกลุมครอบครัว

โดยองคกรปกครองสวนทองถ่ิน. นครปฐม: ศูนยธุรกิจท่ีปรึกษาเพื่อการพัฒนา มหาวิทยาลัย

ราชภัฏนครปฐม.

ภุชงค เสนานุช. (2553). รูปแบบและวิธีการจัดสวัสดิการสังคมท่ีเหมาะสมสําหรับกลุมผูพิการโดยองคกร

ปกครองสวนทองถ่ิน. นครปฐม: ศูนยธุรกิจที่ปรึกษาเพื่อการพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม.

ระพีพรรณ คําหอม. (2548). ทิศทางและรูปแบบการจัดสวัสดิการสังคมของประเทศไทย. กรุงเทพฯ:

สํานักมาตรฐานการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย.

ราชกิจจานุเบกษา. (2546). พระราชบัญญัติสงเสริมการจัดสวัสดิการสังคม พ.ศ. 2546. คนเมื่อ

กุมภาพันธ 6, 2553, from http://law.m-society.go.th/law/module.php?name=search&

pg=listLaw&todo=estep 2|1|5|1|1# 20081028_08_38_23_3218.doc

สมศักด์ิ อมรสิริพงศ. (2553). รูปแบบและวิธีการจัดสวัสดิการสังคมท่ีเหมาะสมสําหรับเด็กและ

เยาวชนโดยองคกรปกครองสวนทองถ่ิน. นครปฐม: ศูนยธุรกิจที่ปรึกษาเพื่อการพัฒนา

มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม.

สมหมาย แจมกระจาง. (2553). รูปแบบและวิธีการจัดสวัสดิการสังคมท่ีเหมาะสมสําหรับสตรีโดยองคกร

ปกครองสวนทองถ่ิน. นครปฐม: ศูนยธุรกิจที่ปรึกษาเพื่อการพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม.

สุกรี แกวมณี และ สมศักด์ิ อมรสิริพงศ. (2553). รูปแบบและวิธีการจัดสวัสดิการสังคมท่ีเหมาะสม

สําหรับกลุมผูดอยโอกาสโดยองคกรปกครองสวนทองถ่ิน. นครปฐม: ศูนยธุรกิจที่ปรึกษาเพื่อ

การพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม.

Hick, S. (1998). Canada' Unigue: What are social services? Retrieved February 7, 2010, from

http://www.socialpolicy.ca/cush/m1/m1-t19.stm

Merriam, Webster. (2002). Merriam-Webster's Medical Dictionary. n.p.: Merriam-Webster.

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 18

Raczynski, D. (2000). Chile: Progress, Problems, and Prospects. In D. A. Morales-Gomez, N.

Tschirgi & J. L. Moher (Eds.), Reforming Social Policy Changing Perspective on

Sustainable Human Development.

คณะนักวิจัย หัวหนาชุดโครงการวิจัย

ผูชวยศาสตราจารย ดร. สุกรี แกวมณี

คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม

นักวิจัย กลุมเด็กและเยาวชน

อาจารย สมศักด์ิ อมรสิริพงศ

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม

นักวิจัย กลุมสตรี

รองศาสตราจารย ดร. สมหมาย แจมกระจาง

คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา

นักวิจัย กลุมครอบครัว

ผูชวยศาสตราจารย ดร. ชูพักตร สุทธิสา

คณะสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

นักวิจัย กลุมผูสูงอายุ

ผูชวยศาสตราจารย ดร. คีรีบูน จงวุฒิเวศย

คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

นักวิจัย กลุมผูพิการ

อาจารย ดร. ภุชงค เสนานุช

คณะสังคมสงเคราะหศาสตรและสวัสดิการสังคม มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ

นักวิจัย กลุมผูดอยโอกาส ผูชวยศาสตราจารยสุกรี แกวมณี คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม อาจารย สมศักด์ิ อมรสิริพงศ คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม อาจารยวลัยลักษณ อมรสิริพงศ คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ผูชวยศาสตราจารย ดร. อรสา เตติวัฒน คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร นายระพีพงษ กันยะมี กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

19

Some Reasons for the Limited Success of Anti-bullying Strategies in

Schools: A discursive analysis Constance Ellwood*

University of Melbourne, Australia

This paper draws on comments made by teachers and students about the anti-bullying

programs in their schools, in order to reflect on some of the issues which continue to baffle

attempts to develop effective anti-bullying strategies. The paper employs a discourse analytic

approach to explore three key areas of concern expressed by the participants in the research:

varying conceptions of what constitutes bullying, a lack of teacher commitment to the anti-

bullying strategy in their school, and hierarchical power structures of schooling. It is suggested

that a dominant psychological paradigm continues to present school bullying as a problem of

stable personality traits and individual responsibility, leading to a reification of notions around

bullying. The discussion is offered as a way of enabling both pre-service and in-service teachers

to act as agents of transformation rather than as agents of reproduction of these notions.

Keywords: anti-bullying strategies; identity; power; reflection; student voices

Introduction

In response to concerns about the widespread occurrence of school bullying, numerous

intervention strategies have been instigated in schools around the globe. Anti-bullying programs

began in Europe in 1978 (Olweus, 1993) and in Australia, in the 1990s, following the 1994

Commonwealth Government inquiry into violence in Australian schools. In 2004, after the

publication of the National Safe Schools Framework by the then federal government (DEETYA,

2003), came explicit pressures on Australian schools to develop and implement anti-bullying

programs (Soutter & McKenzie, 2000).

While much has been achieved in alerting staff and students to the problems and

profoundly negative effects of school bullying, numerous concerns have been raised about the

efficacy of anti-bullying strategies. Positive impacts appear to be short-lived (Galloway & Roland,

2004) and to have no “meaningful or practically significant effect” (Ferguson, Miguel, Kilburn, &

Sanchez, 2007, p. 410). Some scholars suggest that the widespread focus on personality and

family background variables is unhelpful (Galloway & Roland, 2004). Others blame an

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 20

inconsistency of results deriving from the adoption of inconsistent methodology or definitions

used in the studies (Junger-Tas, 1999; Naylor, Cowie, Cossin, de Bettencourt, & Lemme, 2006).

Smith et al (2004) concluded that “only a cautious recommendation can be made that whole-

school anti-bullying interventions be continued” and that while interventions have been known to

succeed “not enough is known to indicate exactly how and when” (p. 558).

In another critique, Yoneyama and Naito (2003, p. 316) have shown how the focus in the

literature has been on aspects external to school life – that is, the personal attributes of bullies

and victims, and their family backgrounds – and that, following from this, most intervention

strategies have attempted to make changes to the individual characteristics of perpetrators

and/or victims. In other words, a psychological paradigm of perpetrator/victim characteristics

has tended to dominate research into bullying and the design of anti-bullying strategies. This

paradigm presents bullying as a problem of particular individuals who either ‘cause’ bullying

events or are ‘subjected to’ bullying events on the basis of particular personality traits. They

suggest a more systemic view is required.

Following Hepburn’s (1997, p. 44) comment that particular discursive constructions

“maintain the problem of bullying”, this paper draws on a Foucauldian discourse analysis to

rethink discourses of bullying in interview data collected during a small pilot study with staff and

students on the anti-bullying programs in their Sydney schools. The findings of the study – most

significantly heard in the voices of the students – demonstrate the ways in which, if these

discourses remain implicit and un-examined, the success of anti-bullying strategies is

undermined.

A discursive approach

The students’ voices are contrasted here with those of their teachers and both are

considered through the lens of a discourse analysis; that is, bullying and anti-bullying strategies

are understood here as phenomena which are discursively produced and organised. A

discursive approach, in shifting the focus from individual psychology to society and to the power

relationships within it, considers how the concepts which label individuals and their acts are

chained, through discourses, to fixed and stereotypical representations. Thus an examination of

the discursive constructions within the broad field of bullying enables a questioning of the effects

of representations. Statements “form the objects of which they speak” (Foucault, 1972, p. 49 )

and are thus taken to be ‘true’ at any point in time or place. It is these so-called ‘truths’ which

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

21

impact on perceptions and therefore on thinking through the issues. The language we use is

therefore not innocent, rather, discursive practices produce and maintain power relations

through a fixing of identifications and positionings as natural and normal. It is thus attention to

discourse – to the productive effects of language, and particularly the way concepts become

commonsense and unquestioned – which can be of benefit in thinking about statements made

about bullies, bullying and anti-bullying programs.

Because it allows a description of how power is working in the classroom and shows how

those power relations are a function of discourse, a discursive analysis enables a critique of

teaching practices which however is not, and cannot be, targeted at individual teachers. In

addition, a discursive view does not regard classroom practices as techniques or methodologies

unconnected to identity or to the broader society; rather, what happens in the classroom or the

playground is always already imbued with power and identity issues.

Discourse analysis seeks to question hegemonic discourses and supports us to “think

differently, instead of legitimating what is already known” (Foucault, 1992, p. 9). It thus entails a

freeing of habituated understandings. The importance of thinking differently is crucial both to in-

service teachers who are already embedded in the taken-for-granted norms of everyday

schooling and to pre-service teachers, who are subject to the acknowledged limitations of

teacher training programs in offsetting prior socialisation (Sinclair, Munns, & Woodward, 2005).

Through providing access to the voices of students in relation to the anti-bullying programs in

these schools, the paper offers an opportunity for teachers to reflect upon some of the normative

assumptions which dominate thinking around bullying. It is hoped that such questioning of

taken-for-granted beliefs can support teachers to work more productively with difference (Mills,

2008) and to see themselves as agentive in social change (McInerney, 2007). The paper thus

has the goal of supporting teachers to act as agents of transformation rather than reproduction.

Overview of the study

Two schools – a co-educational Department of Education (DET) high school and a

Catholic Education Office (CEO) primary school, both in the western region of Sydney – were

approached by the researcher for participation in the pilot study. Selection of interview

participants was carried out by the contact person in each school: a Deputy Principal (DET high

school), and the Acting Principal (CEO primary school). Both staff and students thus selected

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 22

generally included individuals who had been actively involved in the programs. Consequences

of this selection method are discussed below. Semi-structured one-to-one interviews were

carried out at each of the two schools involved (High School: 6 students/9 staff; Primary School:

4 students/5 staff). A time of 40 minutes was allowed for each interview but actual interview times

ranged between 7 and 53 minutes. The term ‘staff’ refers to both teaching and executive staff.

The anti-bullying programs

In both schools, the programs had been introduced to staff and students through

workshop days. Subsequently, charts or cards were displayed around the schools – the high

school also had the key issues printed in the school diary – as reminders for staff and students,

and in order to encourage instigation of the programs when required. At the time of the research,

the programs had been running in the high school for two years and in the primary school for

one year.

Both programs sought to make all participants aware of behaviour which was considered

inappropriate and of non-violent ways of dealing with conflict. The primary school employed a

form of peer mediation developed along restorative justice guidelines. This strategy has been

successfully used in other contexts (see, for example, Dolores, 2007; Morrison, 2002). It required

staff to support those children who had been involved in an incident to respond verbally to a

brief set of questions; for example, “What happened? What were you thinking about at the time?

What have you thought about since? Who has been affected by what you did?” (O'Callaghan,

2005). The questions gave all parties to the event an opportunity to hear from each other,

enabling children to reflect on the consequences of what had happened and to consider

alternative ways to manage similar situations in the future. To this extent the process sought to

develop the children’s capacity for self-awareness and reflection.

The high school had designed its own program, drawing on current discussion and

scholarship. The program, presented to students and staff through workshop days,

approximately once a year, offered strategies for victims of – and bystanders to – bullying

incidents. Three strategies were proposed to victims: to stand up for themselves against the

bullying, to report the incident, and to document it in writing. One strategy was proposed for

bystanders: to support the victim in these three strategies. With these strategies, the school

sought to increase awareness of bullying as inappropriate behaviour and to encourage the

responsibility of all to respond appropriately to acts of bullying.

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

23

The data

Three major and interdependent areas of interest emerged from the interview data:

variations in definitions of bullying, equivocal teacher commitment to the programs, and the

hierarchical power structures of schooling. I begin with a discussion of the way the first of these,

definitions of bullying, underpins the other two issues. I discuss the problematics of definition in

relation to other literature from the field and draw on student voices to extend the field in new

ways. Following this I show how the construction of definitions is linked to salient identity issues,

for both students and teachers. I then discuss in greater detail the role played by definitions in

teachers’ commitment to the programs. Following this I discuss the impact of discursive

constructions of teacher power. I conclude with some suggestions for action.

Problems with the definition: What constitutes bullying?

Previous studies have discussed variations in teacher and student understandings of

what constitutes bullying and the consequences for teachers’ uptake of anti-bullying programs

(Boulton, 1997; Guerin & Hennessy, 2002; Junger-Tas, 1999; Naylor et al., 2006). Vaillancourt

et al (2008), for example, who focused on differences between researchers and children in the

8-18 age group, found that definitions of bullying given by students only rarely included the three

criteria typically endorsed in the research literature: intentionality (1.7%), repetition (6%), and

power imbalance (26%). Yet, in much research, including the study drawn upon here, teachers

draw on precisely these criteria to determine whether an incident is bullying or not. This

discrepancy between student and teacher definitions comes to the fore when teachers are

called upon to make decisions about whether an incident is bullying or not. Uncertainty about

when and how to act, and differences of opinion about whether an event is serious enough are

some of the factors which impact on teachers’ full participation in anti-bullying programs. In my

discussion below, I seek to add another parameter to the debate, that of identity.

“Putting down” or ‘dishing it out”?

A major confusion for the high school staff were the verbal incidents which occurred

within fluid teenage friendship groups: “One day it is a bullying, the next day they are best

friends”. Teachers also struggled to differentiate whether it was “actually bullying or whether it’s

just conflict and whether it’s just sort of some kind of infighting”. The difficult responsibility of

making a decision about whether an incident involved bullying or not seemed to push staff

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 24

towards preferring that students make the decision to themselves, to ask: “Am I being bullied or

am I just having a fight or are these people just being, you know, just being silly or, you know,

is it a one-off thing?”. The situation appears to be one in which teachers are confused about

how to assess verbal events, rather than that they tend to discount them, as Soutter and

McKenzie (2000, p. 97) have suggested.

There was also a need to convey to students a concern with the nuances of their

language use. Students, teachers noted, did not hold the same anxieties about terms such as

“faggot, gay, Arabs, nigger, FOBS (fresh off the boat)” which teachers felt were inappropriate,

even in jest. “If I say something to [the students] and say ‘you know it’s not appropriate to say

that’, they say ‘Oh, we are only mucking around. We are only joking’ but they oftentimes don’t

really understand that there is a fine line that if you are using those sort of words, that, in the

big picture you’re putting down those people”.

However, for students in the high school, it was precisely the power of the nuances of

language which enabled them to assert their identities and to retain or claim control. Comments

which teachers questioned as inappropriate verbal bullying or damaging gossip, for students

were necessary witty repartee. For one student, “‘bitching’ is human nature [...] everyone

bitches because you have to let it out sometimes and some people just let it out more”. This

student clearly derived a sense of kudos and satisfaction from their own bitchiness, claiming that

“I have the reputation of being the biggest bitch in the grade. I do, I’m terrible”. The value

given to the use of language to assert one’s identity, even if that use is harsh or damaging, is

echoed in the following statement from another student: “Um, well sometimes you want to be

witty and intelligent and snappy when someone bullies you. You just want to have the right

thing to say back to them. So wanting to be, I suppose, smarter or wittier than the other

person, or wanting to be bigger which you think means having a better call”. Students feel a

need to maintain a sense of power and control in relationships and this power often hinges on

their ability, as another student said, to “dish it out”. A ‘witty call’ affords dominance and social

status; it “may not be nice, but it is, nevertheless, very social” (Walton, 2004, p, 33).

These comments by students point to the fact that identity issues figure strongly.

Students’ needs to establish powerful identities mean that differences in perceptions of what

constitutes bullying may provoke disagreement when students resist the definition, confusion on

the part of teachers in the face of this resistance and a sense of injustice on the part of students.

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

25

ore significantly perhaps in events involving physical violence (itself a debated term), these

comments by students point to the fact that identity issues these differences of perception imply

not only a need to contextualise events in the actual lives of students but also to engage

students in discussion about the power of discursive constructions of themselves and others. It

seems greater levels of dialogue are required in order to get the student perspective before the

label ‘bullying’ can be applied with any confidence. Such dialogue will only be successful if

students sense the viability of this kind of engagement. I return to this point later in the paper.

“Physical violence’ or “just mucking around”?

Physical fights, common in the primary school, were also not necessarily seen in the

same way by students as by teachers. What teachers saw as physical violence, primary

students saw as play, self-defence or a kind of innocence. As with verbal bullying in the high

school, some students in the primary school differentiated “mucking around” and bullying. With

younger children, physical fights which began as play could get out of hand: “Well me and my

friends were mucking around and then we got a bit too serious and then, you know, started

punching each other”. Because the fight began as play, it was not perceived as bullying.

Similarly, physically violent behaviour seen as self defence may preclude certain events

from being characterised as bullying. In the following statement, the primary student justifies his

behaviour in such terms: “Well I don’t like fighting, like I want to get along with someone, but

sometimes when I’m annoyed or someone annoys me, I sometimes get really annoyed that I

have to hit. I don’t like doing that, I like just to play handball, get along with everyone but

sometimes you’ve got to use your- like your defence [...] you know what I mean?”

Another student presented the idea that ‘good kids’ sometimes get angry. He clearly did

not position himself as a bully, but rather as a good kid who was simply unaware in the moment

of fighting: “when you’re having a fight, you’re actually different to who you are, like, because I

don’t know- when I’m having a fight, I don’t know what I’m thinking and I just, like, attack and

that’s not right, but I think, like- good kids can, like, you know, can attack and they don’t know

they’re angry”. These comments draw attention once again to the importance of considering

students’ self understandings as well as to the negative potential of a fixed stigmatising of

certain students as bullies. As Soutter and McKenzie (2000, p. 104) note, “using the term

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 26

‘victim’ tends to further victimize.[…] similarly the term, ‘bully’, may label the student

permanently”.

When the complex issues of student identity needs are considered, it can be seen that

the search for a single common definition of bullying may be the wrong goal.

Rather than fixing instances of ‘troublesome’ behaviour under the umbrella of the reified

category ‘bullying’, it may be more beneficial to incorporate the student view. This would involve

questioning the conclusion drawn by Naylor et al (2006) that teachers need to help students

“develop their conceptions” of bullying (p.554); a conclusion which assumes that the

teacher/researcher definition is the correct one. A more open dialogue with students around the

slipperiness of definitions of bullying would necessarily entail dialogue on the equally slippery

socially normative but potentially damaging uses of language, such as gossip and name-calling.

Problems with commitment: How ‘whole’ is ‘whole school’?

The aim in both schools was to develop a ‘whole school’ approach to bullying, an

approach which has been generally recognised as the most valuable (see for example, Soutter

& McKenzie, 2000). However, from the point of view of those staff who were strongly engaged in

the programs, there was a perception of a lack of full commitment from many other staff. “It’s the

sort of thing we need to keep on and on and on about”. There was a feeling that not all staff

followed up issues adequately. One of the main complaints was about other staff for whom “the

mindset [...] is the limitation” and who “count the days until their retirement”. These staff were

seen to take the attitude that “‘It’s more paperwork. It’s more work. I don’t have time’”.

As with the staff, there were students, in both sites, who felt that teacher commitment

was lacking: teachers were no longer giving the programs the support which the students felt

was needed or indeed that there were teachers who had never participated. In the primary

school, students commented that “It’s like the teachers have forgotten about it now, they’re not

asking them [the students] the questions any more”; “they [the teachers] are just back to their

normal routine where they ask them [the students] what happened and then they yell at

everyone”. Students at the primary school expressed the fact that some teachers did not

participate in the programs at all, or did so only at particular times: “They [the teachers] don’t

look after them [the victimised students]. And sometimes they won’t- when they’re really tired

and it’s the end of the day and there is a bully, they will just leave it, they’ll just think ‘no I’m

too tired, I’ll shout at them really loudly and I won’t do anything, I’ll just shout at them and that

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

27

will get them’”. Students in the high school referred to the need for reinforcement: “Because one

poster in a classroom, I don’t think is going to grab everyone’s attention, and like, I think that

just a poster in a room isn’t going to stop bullying” . Just as the primary school students were

aware of variable responses from their teachers, so too the high school students were clearly

aware that some teachers were not proactive and that some teachers could not be approached

for help. They referred to “sarcastic teachers” and to teachers who “lash out at anyone for no

reason”. Students were clear that there were “Some teachers I don’t go to” and that they had

“more trust with some teachers”. Students in both locations referred to teachers who “picked

on” certain students, a practice which they saw as unfair and inimical to the success of the

programs.

Just as students’ identities play a role in their definitions of bullying, so too staff identities

similarly draw on the discursive management of bullying discourses. On the one hand,

discursive constructions are a convenient way to manage students; scapegoating or “picking

on” students can be a form of crowd control. However, while some staff may be just lazy, staff in

general are trapped in a no man’s land between needing to control classes and students

through using techniques which can readily be perceived as bullying, and wishing to participate

in and contribute to the schools’ anti-bullying program. In this way staff are inherently

compromised unless the dynamics of power in schools are addressed. If large numbers of

teachers are not committed, and among them are teachers who “lash out for no reason”, are

“sarcastic”, or “pick on” certain students, then the question of systemic structures of bullying in

the schools must also be addressed. It is to this I now turn.

Systemic structures of power in schools

One common definition of bullying sees it as repeated aggressive acts against someone

who cannot easily defend themselves; in other words, as a systematic abuse of power (P. Smith

& Sharp, 1994). A weakness of this definition is that it can fail to recognise bullying in contexts

where certain power relationships are normalised. A second and related weakness is that the act

may be viewed as normative in a particular social context, and thus, the ‘repeated’ aspect of the

act may be concealed. For example, when certain acts of power are carried out by (different)

staff members across different contexts within a school, the acts may not be understood by staff

as bullying. While the fact that school staff have power over students may be simply accepted

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 28

by teachers as normal and appropriate, it may be taken quite otherwise by students. Indeed, as

relationships of power shift in contemporary society, high school students in particular are

increasingly likely to challenge adult authority (Pace & Hemmings, 2007, p. 21). Therefore while

the focus of anti-bullying projects in schools is most commonly on bullying between students, it

is important to consider the social context; that is, the power structures and relationships within

each school, and in each classroom.

To date, few studies have focused on the role of discursive constructions of bullying

between teachers and students. One exception is Hepburn who discusses the discursive

construction of teachers as ‘not’ bullies (1997, p. 45) as well as the ways in which “teachers’

orientations to personal accountability produce accounts which invoke pupils as the source of

the problem” (Hepburn, 2000, p. 617). A number of studies have, however, focused on the

systemic structures of power in schools, recognising that power and authority are a fundamental

feature of classroom life. These foci have included “the larger social context” (Van Acker &

Talbott, 1999), “teacher-student authority relations” (Pace & Hemmings, 2007, p. 5) and “the

methods of discipline contributing to bullying among students” (Yoneyama & Naito, 2003, p.

316). Other studies (P. Smith & Sharp, 1994) have recognised that, like prisons and the military,

schools are contexts in which bullying is likely to occur precisely because of the presence of

hierarchical relationships.

In the high school, it seems that the growing maturity of students may be recognised and

some students may be given power in the form of leadership roles. However at other times, staff

members unquestioningly assume power in ways which students may resent. This normalised

power of the teacher role appears to be exploited by some staff members. Although the anti-

bullying program aims to encourage students to take responsibility, in many instances teachers

enact their power in ways which may counteract any ethos of student responsibility and

undermine the goals of an anti-bullying program. The following quotations from teachers reveal

that, in the end, it is the teachers who have the power to pull rank, to reprimand, and to threaten:

“and then I just sort of put the legal thing in for a bit of a punchline”; “I’ve had to pull the two

main offenders aside and I gave them a bit of a dressing down actually”; “I said I want it [the

web site] down, otherwise it’s going to be taken much, much further”.

An additional example of what was effectively staff-to-student bullying occurred during

the research project itself. As mentioned earlier, interview participants were selected for the

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

29

research by an executive staff member at each school. However, some students clearly

resented the power of the staff member to ‘oblige’ them to come for an interview. One student

had stated specifically that she did not want to participate but was unable to resist the pressure

of the staff member, who worked in collusion with a parent, to ignore her protests. This resulted

in an awkward interview during which the student responded to the interviewer with sullen

monosyllables and the interview was terminated after seven minutes. The normative power of

staff members to dictate student movement in and around the school operated here as a taken-

for-granted discourse.

Although the primary school students were more accepting than the high school

students of the power structures which determine their lives at school, a common anxiety

expressed by students in the primary school was of being yelled or shouted at. While for

teachers, yelling may not have the significance that it did for these children, the students

appeared distressed by being yelled at and by what they perceived as the often unfair nature of

this. For teachers, shouting may appear to be the best and most immediately available resource

for controlling an unruly student or student group. As one teacher commented: “It’s not yelling, I

think it’s raising their [the teacher’s] voice as a- not as a discipline, I think as being- it would

be just to make a point”. However being shouted at or yelled at featured strongly in the

students’ comments and this was associated either with a) a slackening off of the anti-bullying

program: “They [ the teachers] are just back to their normal routine where they ask them [the

students] what happened and then they yell at everyone”; b) leading to dishonesty within the

program: “Sometimes if they [the teachers] just yell at them, they [the students] don’t feel

comfortable and they don’t feel like telling the truth”; or c). a simple failure by the teacher to

carry out the program by not asking the students the relevant questions from the program: “She

[the teacher] just yells ...[she] comes to us and tells us off and goes ‘if I was [the Deputy], I’d

put you on a week of detention’ and I said to her ‘Miss you don’t even know the real reason

why we’re here’ so she never went through any of the […] questions, she just told us off and

sent us to [the Deputy]” or by not listening “My teacher like when I get in trouble sometimes,

she doesn’t let me explain, she just ‘Da, da, da, da’ [imitating yelling] and I go ‘okay, I’m trying

to explain’ ‘ah ah’ [imitates teacher screaming] like there she goes again. I try and explain to

her what happened but she won’t listen”.

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 30

These comments indicate that, in the eyes of the students, the teachers were not

participating in the program as they should. The substitution of yelling for commitment to the

program suggests that teachers rely on hierarchical power structures to manage difficult

classroom moments, rather than drawing on the anti-bullying strategies suggested by their

school. Indeed, the primary school students understood teachers’ shouting and yelling as

inappropriate specifically because it pre-empted the possibility of talking through what had

happened, a key aspect of that school’s program, which they valued highly: “When someone’s

been hurt or when someone’s hurt someone else, they get to talk about it to someone and they

don’t just get yelled at or something because they’ve done it, they get to talk about it …first.”

Another student related this directly to unequal power structures “Because I think it’s not the

way to talk to others and like we’re speaking now, we’re low [both researcher and student were

sitting on low child-sized chairs] and we’re sorting something out and um I think it’s better like

this because it works well. And if teachers scream at us, we don’t like it and like sometimes we

can scream back and we get in more trouble and I just don’t like screaming, I like staying

quiet.”

Where teachers may see a need to control a class – to present the identity of the one in

control – and draw on their status in the hierarchy to do so, it seems that students may see this

act of power as directly contradictory to the anti-bullying ethos of the school. This is not to deny

that teachers may be required at times to exert this kind of power but rather that the enactment

of top-down power can impact negatively in ways which teachers may not have foreseen.

Indeed, the needs for, and responses to, authority in general and school-initiated

programmes in particular, vary considerably among students; whereas the primary school

students valued and expected teacher control, a number of the high school students were highly

cynical and resistant towards what they perceived as yet another manifestation of the imbalance

of power between teachers and students. As one student said in relation to student resistance to

the program: “I think because it’s a school policy and people just like rebelling against school

and I think just [being] negative because the school is trying to force it”.

Discussion

This paper has sought to contrast some of the thinking of school students on the topic of

bullies and anti-bullying strategies in schools with that of their teachers. It has attempted to open

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

31

up a space which encourages reflection, and allows teachers to contextualise their practice in

light of the less often heard voices of students.

While the very real effects of violent and sadistic treatment in schools cannot be ignored,

this paper has argued that a range of discursive effects need consideration for an adequate

understanding of the issues around bullying. Rather than being satisfied with an easy category,

‘bullying’, teachers need to take into account whether a student, who has carried out a physical

or verbal act deemed violent is presenting a particular identity, perhaps, in order to maintain

sufficient status to avoid being bullied themselves. Similarly, teachers need to recognise for

themselves the ways in which their identities are constrained or produced by the normative

environment of their school.

Specifically, it is beneficial to acknowledge that discourses of schooling which place

teachers outside the bullying dynamic fail to see the way bullying is implicated in the hierarchical

structures of schooling. Even the staff member – who had previously investigated the literature

on bullying in order to establish the school’s anti-bullying program – was capable of bullying

students into, for example, participating in this research project. Note that the issue here should

be seen as a systemic rather than an individual issue. The staff member acted with goodwill

towards the research to persuade the student to participate, apparently however, without

awareness of the way in which this constituted a normalised act of power. Whether or not

individual teachers are able to create egalitarian and connected classroom spaces, these

normalised power relations appear to be the ones within which most teachers are currently

obliged to work. As part of the work of problematising these structures of authority and power in

schools, both teachers and students could enquire into the “hierarchical, power-dominant

management structure” of the school (Yoneyama & Naito, 2003, p. 318) along with the discursive

expressions and productive effects of those structures.

It is hoped that this exposure to students’ voices will trigger teachers to reflect on their

own commonsense understandings of bullies and bullying, as well as of issues of identity and

power in schools, enabling an awareness of the diversity of understandings around the term

‘bullying’, and foregrounding an alertness to the ways in which such terms tend to be reified into

homogenous univocal meanings.

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 32

Note: This study was granted ethical approval by the University of Western Sydney

Human Research Ethics Committee, approval number HREC 05/150. All participants gave

informed consent.

References

Boulton, M. J. (1997). Teachers' views on bullying: Definitions, attitudes and ability to cope.

British Journal of Educational Psychology, 67, pp. 223-233.

Department of Education Employment Training and Youth Affairs DEETYA. (2003). National

safe schools framework. Canberra: Australian Government Publishing Service.

Dolores, A. (2007). A restorative justice program in a Catholic primary school. Journal of

Religious Education, 55(3), pp. 61-63.

Ferguson, C. J., Miguel, C. S., Kilburn, J. J. C., and Sanchez, P. (2007). The effectiveness of

school-based anti-bullying programs: A meta-analytic review. Criminal Justice Review,

32, pp. 401-414.

Foucault, M. (1972). The archaeology of knowledge. London: Routledge.

Foucault, M. (1992). The history of sexuality: The use of pleasure (Vol. 2). London: Penguin.

Galloway, D., and Roland, E. (2004). Is the direct approach to reducing bullying always the

best? In P. K. Smith, D. Pepler and K. Rigby (Eds.), Bullying in schools: How successful

can interventions be? (pp. 37-53). Cambridge: Cambridge University Press.

Guerin, S., and Hennessy, E. (2002). Pupils' definitions of bullying. European Journal of

Psychology of Education, 17, (3), pp. 249-261.

Hepburn, A. (1997). Teachers and secondary school bullying: A postmodern discourse

analysis. Discourse & Society, 8, (1), pp. 27-48.

Hepburn, A. (2000). Power lines: Derrida, discursive psychology and the management of

accusations of teacher bullying. British Journal of Social Psychology, 39, pp. 605-628.

Junger-Tas, J. (1999). The Netherlands. In P. Smith, Y. Morita, J.Junger-Tas, D. Olweus, R.

Catalano and P. Slee (Eds.), The nature of school bullying. (pp. 205-223). London and

New York: Routledge.

McInerney, P. (2007). From naïve optimism to robust hope: Sustaining a commitment to social

justice in schools and teacher education in neoliberal times. Asia-Pacific Journal of

Teacher Education, 35, (3), pp. 257-272.

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

33

Mills, C. (2008). Making a difference: Moving beyond the superficial treatment of diversity. Asia-

Pacific Journal of Teacher Education, 36, (4), pp. 261-275.

Morrison, B. (2002). Bullying and victimization in schools: a restorative justice approach.

Canberra: Australian Institute of Criminology.

Naylor, P., Cowie, H., Cossin, F., de Bettencourt, R., and Lemme, F. (2006). Teachers' and

Pupils' Definitions of Bullying. British Journal of Educational Psychology, 76(3), pp. 553-

576.

O'Callaghan, E. (2005). The MacKillop model of restorative practice [Electronic Version].

Building a Global Alliance for Restorative Practices and Family Empowerment, Part 3 of

the IIRP’s Sixth International Conference on Conferencing, Circles and other

Restorative Practices, March 3-5. Retrieved December 23,2008 from

http://www.safersanerschools.org/library/au05_ocallaghan.html.

Olweus, D. (1993). Bullying at school : what we know and what we can do. Oxford: Blackwell.

Pace, J., and Hemmings, A. (2007). Understanding authority in classrooms: A review of theory,

ideology, and research. Review of Educational Research, 77,(1), pp. 4-27.

Sinclair, C., Munns, G., and Woodward, H. (2005). Get real : making problematic the pathway

into the teaching profession. Asia-Pacific Journal of Teacher Education, 33, (2), pp. 209-

222.

Smith, J. D., Schneider, B. H., Smith, P., and Ananiadou, K. (2004). The effectiveness of whole-

school anti-bullying programs: A synthesis of evaluation research. School Psychology

Review, 33, (4), pp. 547-560.

Smith, P., and Sharp, S. (Eds.). (1994). School bullying : insights and perspectives. London:

Routledge.

Soutter, A., and McKenzie, A. (2000). The use and effects of anti-bullying and anti-harassment

policies in Australian schools. School Psychology International, 21, (1), pp. 96-105.

Vaillancourt, T., McDougall, P., Hymel, S., Krygsman, A., Miller, J., Stiver, K., et al. (2008).

Bullying: Are researchers and children/youth talking about the same thing? International

Journal of Behavioral Development, 32, (6), pp. 486-495.

Van Acker, R., and Talbott, E. (1999). The school context and risk for progression: Implications

for school-based prevention and intervention efforts. Preventing School Failure, 44, (1),

pp. 12-20.

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 34

Walton, G. (2004). Bullying and homophobia in Canadian schools: The politics of policies,

programs and education leadership. Journal of Gay and Lesbian Issues in Education,

1, (4), pp. 23-36.

Yoneyama, S., and Naito, A. (2003). Problems with the paradigm: The school as a factor in

understanding bullying (with special reference to Japan). British Journal of Sociology of

Education, 24, (3), pp. 315-330.

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

35

ปจจัยที่มีผลตอการนํานโยบายเงนิทนุหมุนเวียนเพื่อพัฒนา

สถาบันอุดมศึกษาเอกชนไปปฏิบัติ

Factors Affecting the Policy Implementation of Working Capital for

Private University Development

สุภัทร จําปาทอง1

บทคัดยอ

วัตถุประสงคของการวิจัยครั้งน้ี ประกอบดวย (1) เพื่อศึกษากระบวนการนํานโยบายเงินทุน

หมุนเวียนเพื่อพัฒนาสถาบันอุดมศึกษาเอกชนไปปฏิบัติ และ (2) เพื่อศึกษาปจจัยที่มีผลกระทบตอการ

ปฏิบัติงานของเงินทุนหมุนเวียนเพื่อพัฒนาสถาบันอุดมศึกษาเอกชน

การศึกษาครั้งน้ีเปนการวิจัยเชิงคุณภาพโดยใชกรอบแนวคิดทฤษฎีนโยบายสาธารณะและทฤษฎี

การนํานโยบายไปปฏิบัติเปนหลัก ระเบียบวิธีการวิจัยมี 3 สวน คือ การศึกษาวิจัยเอกสารขอมูลปฐมภูมิและ

ทุติยภูมิ การศึกษาวิจัยขอมูลจากการสัมภาษณแบบมีโครงสราง การวิเคราะหและตีความขอมูลเพื่ออธิบาย

ปรากฏการณ และสรางตัวแบบการนํานโยบายเงินทุนหมุนเวียนเพื่อพัฒนาสถาบันอุดมศึกษาเอกชนไป

ปฏิบัติ โดยกลุมตัวอยางท่ีใชในการศึกษาเลือกผูใหขอมูลสําคัญ 3 กลุม คือ กลุมผูกําหนดนโยบาย กลุมผูนํา

นโยบายไปปฏิบัติ กลุมผูรับบริการ รวมผูใหสัมภาษณ 32 คนจากแหลงขอมูลรวม 29 แหง

ผลการวิจัยพบวา ผลการดําเนินนโยบายเงินทุนหมุนเวียนเพื่อพัฒนาสถาบันอุดมศึกษาเอกชนถือ

วาไมประสบความสําเร็จตามวัตถุประสงคและเปาหมายของนโยบาย โดยมีปจจัย 8 มิติสัมพันธท่ีมี

ผลกระทบตอความสําเร็จของการนํานโยบายเงินทุนหมุนเวียนฯ ไปปฏิบัติ คือ (1) ดานเปาหมายและ

วัตถุประสงคของนโยบาย (2) ดานทรัพยากร (3) ดานมาตรฐานระเบียบ หลักเกณฑและการมอบหมาย

ภารกิจ (4) ดานลักษณะของหนวยงานปฏิบัติ (5) ดานสมรรถนะและพฤติกรรมผูปฏิบัติงาน (6) ดานการ

ประชาสัมพันธ (7) ดานความพึงพอใจของผูรับบริการ (8) ดานการวางแผนควบคุมและประเมินผล โดย

กลุมปจจัยที่มีผลกระทบตอความสําเร็จของนโยบาย เงินทุนหมุนเวียนฯ ในระดับมาก คือ ปจจัยตามขอ (1)

(3) (6)

ทั้งน้ี สามารถกําหนดขอเสนอแนะเชิงนโยบายประกอบดวย 2 แนวทางเลือก ดังนี้

แนวทางท่ี 1 ใหภาครัฐดําเนินนโยบายเงินทุนหมุนเวียนเพื่อพัฒนาสถาบันอุดมศึกษาเอกชนตอไป

โดยตองทบทวนวิธีดําเนินการแบงเปน 3 แนวทางยอย คือ

(1) ปรับปรุงวัตถุประสงคนโยบาย ระเบียบหลักเกณฑเงินทุนหมุนเวียนฯ และโครงสรางหนวยงาน

ปฏิบัติ

_____________________________ 1นักศึกษาปริญญาเอก หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (รัฐประศาสนศาสตร) มหาวิทยาลัยรามคําแหง

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 36

(2) ปรับลดวัตถุประสงคนโยบายใหเหลือ 1 ขอคือ เนนเฉพาะการพัฒนาอาจารย

(3) ปรับเพิ่มภารกิจอ่ืน ๆ เปนอีก 3 กองทุนคือ กองทุนวิจัย กองทุนสงเคราะห กองทุนเสริมสภาพคลอง

แนวทางท่ี 2 ใหภาครัฐดําเนินการจัดต้ังกองทุนใหมเปนกองทุนรวมเพื่อดําเนินธุรกิจในระบบ

อุดมศึกษา โดยมีสถาบันอุดมศึกษาสามารถเปนผูถือหนวยลงทุนและรับผลประโยชนนําไปใชพัฒนา

คุณภาพการศึกษา

ABSTRACT

In this dissertation, the researcher investigates (1) the process whereby the policy of

working capital is implemented for private university development. The researcher also

considers (2) factors affecting the performance of the working capital policy in private university

development.

In carrying out this qualitative research inquiry, the researcher mainly relied on the

conceptual frameworks of public policy theory and policy implementation theory. The research

methodology utilized was bipartite. Initially, the researcher studied primary and secondary data

with data being obtained from structured interviews. Subsequently, the researcher analyzed and

interpreted this data in order to provide explanations of the phenomena under investigation. On

this foundation, the model for the implementation of the working capital policy was constructed.

The sample population consisted of three groups of key informants: policy makers; those

engaged in the operational implementation of the policy; and those who purportedly benefitted

from the implementation of the policy. The number of interviewees was 32 selected on the basis

of 29 sources of information.

Findings are as follows:

The working capital policy for private university development was considered

operationally unsuccessful by reference to the set objectives and goals of the policy. The eight

factors affecting the success of working capital policy implementation were as follows: (1) the

aspect of goals and objectives of the policy; (2) the aspect of resources; (3) the aspect of

regulation standards, criteria, and mission designation; (4) the aspect of the characteristics of

the operational units; (5) the aspect of competencies and behaviors of operational personnel; (6)

the aspect of public relations; (7) the aspect of service users’ satisfaction; and (8) the aspect of

planning, control and evaluation. Accordingly, the researcher found that the factors affecting the

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

37

success of the working capital policy at a high level were the factors specified in items (1), (3),

and (6) above.

The policy recommendations offered by the researcher consisted of two alternatives as

follows:

Alternative 1: The state continues operating on the basis of the working capital policy in

striving to develop private universities, but should review and revamp the operational methods

by operationally adopting the following three sub-alternatives:

1. Improve the objectives of the policy, the regulations for stipulating the criteria to be

used for working capital, and the structure of operational units.

2. Reduce the number of policy objectives so that there will only be a single objective

concentrating on the development of faculty members.

3. Increase the mission by developing three separate funds: research, welfare, and

liquidity funds.

Alternative 2: The state establishes a new fund serving as a mutual fund to be used for

business operations with universities holding investments units and receiving benefits that can

be applied to fostering educational quality.

ท่ีมาและความสําคัญของปญหา

นับแตรัฐบาลไทยไดมีการตราพระราชบัญญัติวิทยาลัยเอกชนเมื่อป พ.ศ.2512 ถือเปนจุดเริ่มตน

การพัฒนาระบบอุดมศึกษาเอกชนในประเทศไทยอยางเปนทางการถึงปจจุบันรวมเวลา 41 ป โดยภาครัฐมี

การออกพระราชบัญญัติเก่ียวกับการอุดมศึกษาเอกชนตอมาอีกรวม 2 ฉบับ ปจจุบันกฏหมายแมบทที่ใช

กํา กับการดําเ นินงานของสถาบันอุดมศึกษาเอกชนท่ัวประเทศ 69 แหง คือ พระราชบัญญั ติ

สถาบันอุดมศึกษาเอกชน พ.ศ.2546 และเปนกลไกสําคัญใหมีการแยกวิธีปฏิบัติและสถานะของ

สถาบันอุดมศึกษาของรัฐและเอกชนออกจากกัน แมวาสถาบันอุดมศึกษาทุกแหงตางมีภารกิจหลัก คือ การสอน

การวิจัย บริการวิชาการ และการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม เพื่อมุงผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพสูสังคม แตเปนที่

เขาใจกันดีวาสถาบันอุดมศึกษาของรัฐจะไดรับการอุดหนุนงบประมาณจากรัฐบาล ในขณะที่

สถาบันอุดมศึกษาเอกชนตองจัดหางบประมาณเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาจากการลงทุนของผูรับ

ใบอนุญาตจัดต้ัง (เจาของ) และรายไดที่มาจากคาเลาเรียนของนักศึกษา การบริการวิชาการ และการวิจัย

จึงมีความแตกตางท่ีมาของแหลงเงินทุนท้ังที่สถาบันอุดมศึกษาตางมีภารกิจรูปแบบเดียวกัน ดังนั้น เพื่อให

เกิดความเทาเทียมกันจึงมีขอกําหนดสําคัญของพระราชบัญญัติสถาบันอุดมศึกษาเอกชน พ.ศ. 2546 คือ

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 38

มาตรา 70(2) กําหนดใหรัฐอุดหนุนและสงเสริมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนโดยจัดต้ังกองทุนเพื่อพัฒนา

สถาบันอุดมเอกชนในดานตาง ๆ

ทั้งน้ี ภาครัฐมีความพยายามเสริมสรางกลไกและมาตรการจูงใจใหภาคเอกชนเขามามีสวนรวมจัด

การศึกษาใหมากขึ้น สงผลใหแบงเบาภาระการลงทุนของภาครัฐ และสรางใหเกิดการแขงขันคุณภาพการ

ใหบริการสินคาสาธารณะ (public goods) แกประชาชนท่ีถือเปนลูกคาผูรับบริการ และมาตรการที่รัฐบาล

ไทยใชเปนเครื่องมือสงเสริมการพัฒนาคุณภาพของระบบอุดมศึกษาเอกชน คือ การจัดต้ังกองทุนจํานวน 2

กองทุนเพื่อสนับสนุนการดําเนินงานของสถาบันอุดมศึกษาเอกชนใหสามารถยกระดับการจัดการเรียน

การสอนที่มีประสิทธิภาพสูงขึ้น โดยรัฐบาลไดจัดสรรงบประมาณใหแก 2 กองทุนเพื่อใหบริการกูยืมเงิน

ดอกเบ้ียตํ่าแกสถาบันอุดมศึกษาเอกชนท่ีตองการใชลงทุนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ประกอบดวย (1)

เงินทุนหมุนเวียนเพื่อพัฒนาสถาบันอุดมศึกษาเอกชน จัดต้ังเมื่อวันที่ 4 เมษายน 2532 และ (2) เงินทุน

หมุนเวียนเพื่อพัฒนาอาจารยสถาบันอุดมศึกษาเอกชน จัดต้ังเมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ 2540 โดยเงินทุน

หมุนเวียนฯ 2 กองทุนมีวัตถุประสงคที่แตกตางกัน และรัฐบาลมอบใหทบวงมหาวิทยาลัยเปนหนวยงาน

ทําหนาที่บริหารจัดการเงินทุนหมุนเวียนฯ ทั้ง 2 กองทุน

คณะรัฐมนตรีของ พ.ต.ท. ดร. ทักษิณ ชินวัตร ในการประชุมเมื่อวันท่ี 24 สิงหาคม 2547 มีมติ

อนุมัติหลักการใหสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ทบวงมหาวิทยาลัยเดิม) ยุบรวมเงินทุน

หมุนเวียนท่ีบริหารจัดการอยูจํานวน 2 ทุนดังกลาว โดยใหยุบรวมเหลือเพียง 1 กองทุนชื่อวา “ เงินทุน

หมุนเวียนเพื่อพัฒนาสถาบันอุดมศึกษาเอกชน ” ต้ังแตวันที่ 1 มกราคม 2548 รวมทั้งใหโอนทรัพยสินและ

หนี้สินทั้ง 2 ทุนเขาอยูดวยกัน โดยใหการบริหารจัดการเงินทุนหมุนเวียนฯ อยูภายใตความรับผิดชอบของ

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ โดยมีกระทรวงการคลังเปนผูพิจารณาจัดสรร

งบประมาณรายป และกําหนดใหวัตถุประสงคของเงินหมุนเวียนเพื่อพัฒนาสถาบันอุดมศึกษาเอกชนที่

ยุบรวมจัดต้ังใหมประกอบดวย

1. เพื่อสนับสนุนใหสถาบันอุดมศึกษาเอกชนกูยืมเงินเปนสวนสมทบในการจัดหา/จัดซื้ออุปกรณ

การศึกษา และการกอสรางอาคารเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนใหมีคุณภาพตามมาตรฐาน และ

สามารถขยายการเปดสอนในสาขาที่ตรงตามความตองการของตลาดแรงงาน

2. เพื่อสนับสนุนใหสถาบันอุดมศึกษาเอกชนกูยืมเงินเพื่อพัฒนาคุณวุฒิอาจารย โดยใหศึกษา

ตอระดับปริญญาโทและ/หรือระดับปริญญาเอกในสถาบันอุดมศึกษาตางประเทศที่สํานักงาน ก.พ. รับรอง

ทั้ ง น้ี หลักการของรั ฐบาลในการจัดสรรงบประมาณจัด ต้ัง เ งิ นหมุน เ วียนเพื่ อพัฒนา

สถาบันอุดมศึกษาเอกชน เพื่อสงเสริมและสนับสนุนใหภาคเอกชนเขามามีสวนรวมจัดการศึกษา

ระดับอุดมศึกษา และเปนการขยายโอกาสทางการศึกษาแกเยาวชนยังเปนการแบงเบาภาระของภาครัฐใน

การลงทุนจัดการศึกษาดวย ดังนั้น รัฐบาลจึงตองสงเสริมมาตรการลงทุนเพื่อสรางแรงจูงใจใหแก

ภาคเอกชน และเงินทุนหมุนเวียนฯ ถือเปนเงินกูยืมระยะยาวดอกเบ้ียตํ่า (ระยะเวลาชําระหนี้ 5–15 ป) โดย

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

39

สถาบันอุดมศึกษาเอกชนจะตองมีหลักทรัพยคํ้าประกันสัญญาอยางคุมคา และเงินตนที่ไดรับชําระคืน

จัดเปนทรัพยสินกองทุนสําหรับใหสถาบันอุดมศึกษาเอกชนรายอ่ืน ๆ ผลัดเปลี่ยนกันเขามากูยืมไปใชพัฒนา

คุณภาพการเรียนการสอนอยางตอเนื่อง ซึ่งในป พ.ศ. 2552 ประเทศไทยมีสถาบันอุดมศึกษาเอกชนภายใต

การกํากับดูแลของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาจํานวน 69 แหงที่ไดรับใบอนุญาตจัดต้ังตาม

พระราชบัญญัติสถาบันอุดมศึกษาเอกชน พ.ศ. 2546 ท่ีถือวาเปนกลุมลูกคาผูมีสิทธิ์เขารับบริการ

กระทรวงการคลังโดยกรมบัญชีกลางไดกําหนดเกณฑเปาหมายเชิงประสิทธิภาพของเงินทุน

หมุนเวียนฯ รวม 2 ขอ คือ (1) ตองจัดสรรเงินกูยืมเพื่อกอสรางอาคารเรียนหรือจัดซื้ออุปกรณการศึกษาไม

นอยกวา 5 สัญญา/ป และ (2) ตองจัดสรรเงินกูยืมพัฒนาอาจารยเพื่อศึกษาตอปริญญาโท-เอกใน

ตางประเทศ ไมนอยกวา 10 สัญญา/ป ทั้งนี้ ผลการปฏิบัติงานนับแตเริ่มดําเนินการเงินทุนหมุนเวียนฯ เมื่อ

วันที่ 8 มีนาคม 2550 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2552 ปรากฏวามีจัดสรรเงินกูยืมใหแกสถาบันอุดมศึกษาเอกชน

รวมจํานวน 4 แหง คือ (1) เงินกูกอสรางอาคารเรียน 4 สัญญา (2) เงินกูจัดซื้ออุปกรณการศึกษา

2 สัญญา รวมวงเงินใหกูยืมทั้งหมด 134.0 ลานบาท คิดเปนรอยละ 11.96 ของวงเงินรวมท่ีมีอยู 1,120.0 ลานบาท

ดังน้ัน หากเปรียบเทียบเปาหมายกับผลการปฏิบัติงานรอบ 3 ปสุดทายในชวงปงบประมาณ พ.ศ. 2550-

2552 ถือวาประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของเงินทุนหมุนเวียนฯ ตํ่ากวาเกณฑที่กําหนดไว ในขณะท่ีผลการ

สํารวจความคิดเห็นของผูบริหาร และคณาจารยในสถาบันอุดมศึกษาเอกชนที่เก่ียวของพบวามีหลายปจจัย

ที่มีผลกระทบตอการพิจารณาตัดสินใจกูยืมเงินจากเงินทุนหมุนเวียนฯ ประกอบดวย กฎระเบียบของเงินทุน

หมุนเวียนฯ มีความยุงยากซับซอน วัตถุประสงคในการใหกูยืมคอนขางจํากัด ไมตอบสนองตอการพัฒนา

สถาบันอุดมศึกษาท่ีมีภารกิจหลากหลายหลักเกณฑที่เขมงวดเปนอุปสรรคตอการเขาถึงแหลงทุนของ

สถาบันอุดมศึกษาเอกชนท่ีมีขนาดเล็ก (สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา, 2552)

ลักษณะปญหาดังกลาวเปนสวนหน่ึงของการสะทอนประสิทธิภาพการเขาใชประโยชนของเงินทุน

หมุนเวียนฯ จากผูมีสวนไดสวนเสีย และผูรับบริการที่ไมบรรลุตามวัตถุประสงค โดยเฉพาะผลการประเมิน

ประสิทธิภาพของเงินทุนหมุนเวียนฯ ในรอบป พ.ศ. 2550 และ พ.ศ. 2551 โดยผูประเมินภายนอก (TRIS)

ปรากฏวาเงินทุนหมุนเวียนฯ ไดคาคะแนนเฉลี่ย 2.1964 จากคะแนนเต็ม 5.000 เปนผลใหกระทรวงการคลัง

โดยกรมบัญชีกลางใหสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาในฐานะผูรับผิดชอบทบทวนแนวทางปฏิบัติ

พรอมดําเนินการปรับปรุงการบริหารจัดการเงินทุนหมุนเวียนฯ โดยเรงดวน จากสาเหตุดังกลาวมีความ

จําเปนตองศึกษากระบวนการนํานโยบายไปสูการปฏิบัติของเงินทุนหมุนเวียนฯ เพื่อวิเคราะหกระบวนการ

ชองวางของการปฏิบัติ และทําความเขาใจปจจัยสภาพปญหาขอจํากัดท่ีเกิดขึ้นในกระบวนนโยบายตลอด

ระยะเวลา 20 ป อันจะนําไปสูการพัฒนาปรับปรุงกระบวนการดําเนินงานของเงินทุนหมุนเวียนฯ ตอไป

เน่ืองจากเงินทุนหมุนเวียนฯ เปนกองทุนที่ต้ังขึ้นมาตามกฎหมายเพื่อใหใชงบประมาณเปนเครื่องมือ

ยกระดับคุณภาพการเรียนการสอนระดับอุดมศึกษาท่ีสามารถตอบสนองความตองการพัฒนาของ

สถาบันอุดมศึกษาเอกชนอยางเหมาะสม

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 40

วัตถุประสงคของการวิจัย

1. เพื่อศึกษากระบวนการนํานโยบายเงินทุนหมุนเวียนเพื่อพัฒนาสถาบันอุดมศึกษาเอกชนไป

ปฏิบัติ

2. เพื่อศึกษาปจจัยที่มีผลกระทบตอการปฏิบัติงานของเงินทุนหมุนเวียนเพื่อพัฒนาสถาบัน

อุดมศึกษาเอกชน

วิธีดําเนินการวิจัย

การวิจัยครั้งนี้เปนกระบวนการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยผูวิจัยไดวางแผนขั้นตอนการวิจัย ดังนี้

1. ดําเนินการสํารวจศึกษาขอมูลปฐมภูมิ และขอมูลทุติยภูมิในรูปแบบ documentary research

จากเอกสารราชการ กรอบอํานาจหนาที่ วิธีการปฏิบัติงาน และรายงานผลการดําเนินงานของเงินทุนหมุนเวียน

เพื่อพัฒนาสถาบันอุดมศึกษาเอกชน พ.ศ. 2532-2552 รวมทั้งการศึกษาสภาพปญหา และขอมูลความ

ตองการของกลุมผูรับบริการ และกลุมผูมีสวนไดสวนเสีย

2. ศึกษาเอกสารกรอบแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยท่ีเก่ียวของกับนโยบายสาธารณะ การคลัง

สาธารณะ การนํานโยบายไปปฏิบัติ พัฒนาการของเงินทุนหมุนเวียนเพื่อพัฒนาสถาบันอุดมศึกษาเอกชน

ระบบบริหารเงินทุนหมุนเวียนภาครัฐของประเทศไทย และระเบียบขอกฎหมายท่ีเก่ียวของ

3. ศึกษาสังเคราะหขอมูล สภาพปญหา และแนวคิดทฤษฏีตาง ๆ พัฒนาเปนกรอบแนวคิดการวิจัย

เพื่อสรางเคร่ืองมือในการจัดเก็บขอมูล และสรางตัวแบบสัมภาษณเชิงลึก โดยการกําหนดประชากรกลุม

ตัวอยางแบบเฉพาะเจาะจงที่เปนผูใหขอมูลสําคัญ (key informant) กลุมหลัก คือ (1) กลุมผูมีสวนกําหนด

นโยบาย (2) กลุมผูนํานโยบายไปปฏิบัติ (3) กลุมผูรับบริการ (สถาบันอุดมศึกษาเอกชน) โดยเลือกผูให

ขอมูลสําคัญท่ีเปนตัวแสดงสําคัญ (main actors) และเปนผูมีสวนไดเสีย (stakeholder) ในกระบวน

นโยบายจาก 29 แหลงขอมูล และดําเนินการสัมภาษณเพื่อเก็บขอมูลที่มีลักษณะพิเศษโดยใชวิธีสอบทาน

แบบ triangulation

4. ดําเนินการจัดทําประเภทขอมูล เพื่อศึกษา และวิเคราะหขอมูลตามกรอบแนวคิดการวิจัยแบบ

inductive approach ทําการตรวจทานขอมูล และตีความสรางความเขาใจเพื่ออธิบายปรากฏการณการนํา

นโยบายไปปฏิบัติของเงินทุนหมุนเวียนเพื่อพัฒนาสถาบันอุดมศึกษาเอกชน รวมท้ังอธิบายปจจัยท่ีมี

ผลกระทบตอการบริหารจัดการเงินทุนหมุนเวียนฯ

5. นําเสนอเอกสารผลงานวิจัยในรูปแบบวิเคราะหเชิงพรรณนา (descriptive analysis)

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

41

ตารางที่ 1 แสดงรายชื่อแหลงขอมูลแยกตามกลุมผูใหขอมูลสําคัญ และวัน เวลาที่สัมภาษณ

รายชื่อผูใหขอมูลสําคัญแยก 3

กลุม

ตําแหนง

วัน/เวลา

กลุมท่ี 1 : กลุมผูกําหนดนโยบาย

1. ศ. ดร. วิจิตร ศรีสอาน อดีตรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธกิาร

และปลัดทบวงมหาวิทยาลัย (พ.ศ. 2530-37)

21 ก.ค. 53

11.00 น.

2. ศ. (พิเศษ) ดร. ภาวชิ ทองโรจน อดีตเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา

(พ.ศ. 2547-49)

3 ก.ค. 53

16.30 น.

3. ดร. ฉันทวิทย สุชาตานนท อดีตรองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา และ

ผูอํานวยการสํานักกิจการอุดมศึกษาเอกชน (พ.ศ. 2537-42)

6 ก.ค. 53

8.30 น.

4. ดร. ชวลิต หมื่นนุช**

(นัดสัมภาษณรวม 2 คร้ัง)

อดีตเลขาธิการสมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหง

ประเทศไทย (พ.ศ. 2532-34)

24 มิ.ย. 53

13.00 น.

9 ก.ค. 53

13.30 น.

กลุมท่ี 2 : กลุมผูนํานโยบายไปปฏิบัติ

1. ดร. สุเมธ แยมนุน เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา 30 ก.ค. 53

17.00 น.

2. นางอรุณี มวงนอยเจริญ อดีตผูอํานวยการสํานักกจิการอุดมศึกษาเอกชน

(พ.ศ. 2542-47)

18 มิ.ย. 53

18.00 น.

3. นางอุไร พานิชอัตรา อดีตผูอํานวยการประสานและสงเสริมกิจการอุดมศึกษา

(พ.ศ. 2548-50)

18 ก.ค. 53

14.00 น.

4. ดร. วัลลภ สุวรรณดี อธิการบดมีหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต และอดีตนายก

สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหงประเทศไทย (พ.ศ.

2542-44)

15 ก.ค. 53

14.00 น.

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 42

รายชื่อผูใหขอมูลสําคัญแยก 3

กลุม

ตําแหนง

วัน/เวลา

5. ดร. มัทนา สานติวัตร** นายกสมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหงประเทศไทย 3 ก.ค. 53

13.00 น.

6. นางสาวพรวิลัย เดชอมรชัย ผูอํานวยการสํานักบริหารการรับจายเงินภาครัฐ

กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง

5 ก.ค. 53

16.30 น.

7. ศ. ดร. เอกสิทธิ์ ล้ิมสุวรรณ ศาสตราจารย คณะวศิวกรรมศาสตร

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

19 ก.ค. 53

16.00 น.

8. รศ. กุลธร เล่ือนฉวี รองศาสตราจารย คณะสถาปตยกรรมศาสตร

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

22 ก.ค. 53

13.00 น.

9. นายสงัด ล่ิมสกุล ผูอํานวยการกลุมพัฒนาสถาบันอุดมศึกษา

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

21 มิ.ย. 53

16.00 น.

10. นางอัมพร อธิสุข อดีตนักวิชาการศึกษา 7ว ทบวงมหาวิทยาลัย 21 มิ.ย. 53

10.00 น.

กลุมท่ี 3 : กลุมผูรับบริการ

1. นายวตัรธชัย ถงึสุข อธิการบดวีิทยาลัยศรีโสภณ 7 ก.ค. 53

15.30 น.

2. ดร. สราญภัทร สถิรางกูร

3. นายสุรีย สถิรางกูร

อธิการบดมีหาวิทยาลัยภาคกลาง

ผูรับใบอนุญาตจดัตัง้มหาวิทยาลัยภาคกลาง

25 มิ.ย. 53

15.00 น.

4. ดร. นิรันดร จิวะสันติการ อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยโยนก

และผูรับใบอนุญาตจดัตัง้

28 ก.ค. 53

14.00 น.

5. นางปราณี วงษชวลิตกุล

6. รศ. ดร. วิเชียร ชีวพิมาย

อธิการบดมีหาวิทยาลัยวงษชวลิตกุล

รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยวงษชวลิตกุล

29 มิ.ย. 53

15.00 น.

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

43

รายชื่อผูใหขอมูลสําคัญแยก 3

กลุม

ตําแหนง

วัน/เวลา

7. นายณัฐพล วงษชวลิตกุล

8. นางจงกลณี วงษชวลิตกุล

รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยวงษชวลิตกุล

รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยวงษชวลิตกุล

9. นายณรงค ชวสินธุ

10. นางชฏิลรัตน อัศวววิัฒนพงศ

อธิการบดมีหาวิทยาลัยนอรท-เชยีงใหม

และผูรับใบอนุญาตจดัตัง้

รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยนอรท-เชียงใหม

8 มิ.ย. 53

13.30 น.

11. ดร. เบญจา มังคละพฤกษ อธิการบดมีหาวิทยาลัยเกริก 13 ก.ค. 53

13.30 น.

12. ดร. สุวิชากร ชินะผา รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยเซนตจอหน 16 ก.ค. 53

11.00 น.

13. ดร. มัทนา สานติวัตร** อธิการบดมีหาวิทยาลัยกรุงเทพ 3 ก.ค. 53

13.00 น.

14. รศ. ดร. วรากรณ สามโกเศศ อดีตรัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงศึกษาธกิาร

และอธิการบดมีหาวิทยาลัยธุรกจิบัณฑิตย

19 ก.ค. 53

10.00 น.

15. ดร. ชวลิต หมื่นนุช**

(นัดสัมภาษณรวม 2 คร้ัง)

รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ 24 มิ.ย. 53

13.00 น.

9 ก.ค. 53

13.30 น.

16. ผศ. ดร. ประดิษฐ เถกิงรังสฤษดิ์ อธิการบดมีหาวิทยาลัยพายัพ 21 ก.ค. 53

13.30 น.

17. ดร. วิทวัส ดิษยะศริน สัตยารักษ รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยหาดใหญ 19 ก.ค. 53

13.00 น.

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 44

รายชื่อผูใหขอมูลสําคัญแยก 3

กลุม

ตําแหนง

วัน/เวลา

18. รศ. ดร. บุญมาก ศิริเนาวกุล อธิการบดมีหาวิทยาลัยนานาชาติแสตมฟอรด 14 มิ.ย. 53

16.00 น.

19. นายบัญชา เกิดมณี อธิการบดมีหาวิทยาลัยธนบุรี 30 ก.ค. 53

14.30 น.

20. ดร. พงษกร หงษกราย รองอธิการบดีวิทยาลัยพิษณุโลก 10 มิ.ย. 53

16.00 น.

** หมายถึง ผูใหขอมูลสําคัญมีสถานะบุคคลในกระบวนนโยบายแยกออกได 2 กลุม

นิยามศัพท

1. เงินทุนหมุนเวียนฯ หมายถึง เงินทุนหมุนเวียนเพื่อพัฒนาสถาบันอุดมศึกษาเอกชนท่ีจัดต้ังขึ้น

ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม 2547

2. การนํานโยบายไปปฏิบัติ หมายถึง กระบวนการกิจกรรมที่ ดําเนินการเพื่อใหบรรลุตาม

วัตถุประสงคของนโยบาย โดยใชระเบียบหลักเกณฑ หนวยงาน และบุคลากรเปนกลไกดําเนินงานตาม

นโยบายที่รัฐบาลกําหนด

3. วัตถุประสงคนโยบาย หมายถึง วัตถุประสงคของเงินทุนหมุนเวียนฯ จํานวน 2 ขอท่ีกําหนดโดย

มติคณะรัฐมนตรีในป พ.ศ. 2547

4. สถาบันฯ หมายถึง สถาบันอุดมศึกษาเอกชนจํานวน 69 แหง ที่ไดรับการอนุญาตจัดต้ังตาม

พระราชบัญญัติสถาบันอุดมศึกษาเอกชน พ.ศ. 2546 และอยูภายใตการกํากับดูแลของสํานักงาน

คณะกรรมการการอุดมศึกษาในป พ.ศ. 2552

5. สมาคมฯ หมายถึง สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหงประเทศไทย ท่ีเปนหนวยงานกลาง

ไดรับการจัดต้ังขึ้นโดยสถาบันอุดมศึกษาเอกชนและเปนสมาชิกสามัญ

6. สํานักงานฯ หมายถึง สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

7. หนวยงานปฏิ บั ติ หมายถึง สํานักประสานและสง เสริมกิจการอุดมศึกษา สํานักงาน

คณะกรรมการการอุดมศึกษา หรือชื่อเดิมคือ สํานักสงเสริมกิจการอุดมศึกษาเอกชน สํานักงานปลัด

ทบวงมหาวิทยาลัย ในฐานะฝายเลขานุการคณะกรรมการเงินทุนหมุนเวียนฯ

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

45

ผลการศึกษา

การจัดต้ังนโยบายกองทุนหมุนเวียนเพื่อพัฒนาสถาบันอุดมศึกษาเอกชนเริ่มจากการกอตัวของ

ปญหา (problem formulation) ตามกระบวนนโยบายสาธารณะของบุลล็อค และแอนเดอรสัน และเบรด้ี

(1983) เมื่อป พ.ศ. 2530 โดยมีการนําเสนอสภาพปญหาความตองการเขาสูกระบวนการพิจารณาของผูมี

อํานาจภาครัฐท้ังระดับขาราชการประจํา และนักการเมือง โดยกลุมผลประโยชนและสมาคมธุรกิจ (interest

group and associations) ท่ีเปนนักธุรกิจดานการอุดมศึกษามีตัวแทนในรูปแบบองคการ (formal

organization) คือสมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหงประเทศไทยเปนผูผลักดันแนวคิดการใหภาครัฐ

สงเสริมการจัดการศึกษาโดยภาคเอกชนถือเปนการกอรูปนโยบายแบบ bottom up ซึ่งสอดคลองกับแนวคิด

ของโจนส และแมทเธส (1983) ที่จัดประเภทผูกําหนดนโยบายมาจากกลุมบุคคลนอกหนวยงานภาครัฐ

(outside government) ผสมผสานความรวมมือกับบุคคลในหนวยงานภาครัฐ (within government) ซึ่งมี

แนวคิดตรงกันวาภาครัฐควรมีเครื่องมือและกลไกในการสนับสนุนจูงใจภาคเอกชนใหเขามารวมจัด

การศึกษาเพื่อเกิดการแขงขันกับภาครัฐในเชิงคุณภาพการบริการสินคาสาธารณะ (public goods) และ

กระบวนการจัดต้ังนโยบายเงินทุนหมุนเวียนเพื่อพัฒนาอาจารยสถาบันอุดมศึกษาเอกชนในป พ.ศ. 2540

กลุมพหุนิยมผลประโยชนในนามสมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหงประเทศไทยก็ยังคงใชรูปแบบเดิมใน

การนําเสนอแนวคิดการกอรูปนโยบายกองทุนเฉพาะกลุมโดยความรวมมือกับบุคคลในหนวยงานภาครัฐ

(within government) เชนเดิม และอาจกลาวไดวารูปแบบการกอรูปนโยบายเงินทุนหมุนเวียน ฯ ทั้ง 2

กองทุนในยุคแรกป พ.ศ. 2532 และ พ.ศ. 2540 เปนตัวแบบพหุนิยมกลุมผลประโยชน (the pluralist

model) ตามแนวคิดของทรูแมน (1979) ที่มองวากลุมผลประโยชนมีเจตคติเฉพาะเรื่อง และสรางแบบแผน

ใหมีอํานาจตอรองโดยมีความสมดุลในการจัดสรรผลประโยชนของกลุมนั้น

ตอมาในป พ.ศ. 2547 ไดมีการยุบรวม 2 กองทุนใหเหลือเพียง 1 กองทุน คือ เงินทุนหมุนเวียนเพื่อ

พัฒนาสถาบันอุดมศึกษาเอกชน โดยมติคณะรัฐมนตรีของ พ.ต.ท. ดร. ทักษิณ ชินวัตร ถือเปนการตัดสินใจ

กําหนดนโยบายตามตัวแบบแยกขยาย หรือตัวแบบการดําเนินงานตอเนื่องจากอดีต (the incremental

model) ที่เปนการปรับปรุงนโยบายท่ีแตกตางตามนโยบายที่มีอยูเดิมไมมากนัก สอดรับตามแนวคิดของ

ลินดบลอม (1959) ซึ่งการยุบรวมกองทุนโดยยึดถือวัตถุประสงคเดิมครั้งนี้นับไดวาเปนการกําหนดนโยบาย

ในรูปแบบ top down เนื่องจากเปนวิธีการนําเสนอใหทบทวนปรับปรุงนโยบายสาธารณะโดย

กระทรวงการคลังผสมผสานกับแรงกดดันจากสมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหงประเทศไทยที่ตองการ

รักษาผลประโยชนของกลุมใหคงเดิมไว แสดงใหเห็นวานโยบายสาธารณะเพียงนโยบายเดียวอาจมีรูปแบบ

การกอตัวของนโยบายได 2 แบบท้ังที่การกําหนดนโยบายท้ังหมดเปนการผลักดันโดยกลุมตัวแสดงสําคัญ

(main actors) กลุมเดิมอันจะขึ้นอยูกับบริบททางสังคมและแนวทางของกลุมผลประโยชนที่เก่ียวของใน

แตละชวงเวลา

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 46

นับแตเริ่มดําเนินนโยบายเงินทุนหมุนเวียนเพื่อพัฒนาสถาบันอุดมศึกษาเอกชนในป พ.ศ.2532

และปรับปรุงนโยบายป พ.ศ.2547 ขอมูลผลการปฏิบัติงานตลอดชวง 20 ปที่ผานมาพบวา การดําเนิน

นโยบายเงนิทุนหมุนเวียนฯ ยังไมบรรลุตามเปาหมายและวัตถุประสงคนโยบาย หรือเรียกไดวาประสบความ

ลมเหลวไมมีประสิทธิภาพ เน่ืองจากมีสถาบันอุดมศึกษาเอกชนใหความเขาสนใจเขามากูยืมเงินเพื่อ

นําไปใชในการลงทุนพัฒนาศักยภาพการเรียนการสอนจํานวนเพียงแค 16 แหง คิดเปนรอยละ 23.19 ของ

สถาบันอุดมศึกษาเอกชนทั้งหมด 69 แหง ทําใหสามารถจัดสรรงบประมาณไดเพียงรอยละ 62.55 ของ

วงเงินที่มีอยูท้ังหมด 1,120.0 ลานบาท และท่ีนาสนใจคือสถาบันอุดมศึกษาเอกชนที่เขามาใชประโยชน

เงินทุนหมุนเวียนฯ สวนใหญจะเปนกลุมสถาบันฯ เดิมในฐานะตัวแสดงสําคัญ (main actors) ที่มีสวนรวม

ผลักดันแนวคิดการกอรูปนโยบายในยุคแรกยังคงเขามาใชประโยชนเงินทุนหมุนเวียนฯ อยางสม่ําเสมอ

หลายรอบ จากขอมูลเชิงสถิติพบวา ชวงเริ่มการจัดต้ังและดําเนินการเงินทุนหมุนเวียนฯ ในป พ.ศ. 2532

และ พ.ศ. 2540 จะมีกลุมผูรับบริการ (สถาบันอุดมศึกษาเอกชน) ใหความสนใจเขามาใชประโยชนเงินทุน

หมุนเวียนฯ คอนขางมากในชวงระยะ 5 ปแรก หลังจากนั้นปริมาณของผูรับบริการมีแนวโนมลดลง

จนกระท่ังไมมีผูสนใจเขาใชประโยชนในปท่ี 9 เปนตนไป แสดงใหเห็นวานโยบายเงินทุนหมุนเวียนฯ ก็คลาย

กับนโยบายสาธารณะทั่วไปท่ีสามารถตอบสนองความตองการของสาธารณะไดในชวงเวลาหนึ่งเทานั้น จึง

ควรปรับเปลี่ยนวัตถุประสงคนโยบายหรือยกเลิกนโยบายหากไมเปนที่ตองการของสังคม โดยสามารถสรุป

ภาพรวมผลการดําเนินงาน ดังน้ี

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

47

ตารางที่ 2 แสดงผลการดําเนินงานเงินทุนหมุนเวียนฯ ระหวางป พ.ศ. 2534-2552

ปงบ

ประมาณ

ประเภทของการกูยืมเงินแสดงจํานวนสัญญาและจํานวนเงิน (บาท) รวมจํานวน

เงินที่ใหกู

(บาท)

จํานวนเงิน

ที่รัฐจัดสรร

ใหเงินทุนฯ

(บาท)

กูกอสราง

ปรับปรุงอาคาร

กูซ้ืออุปกรณ

การศึกษา

กูพัฒนาอาจารย

ศึกษาตอ ป.โท-เอก

สัญญา จํานวนเงิน สัญญา จํานวนเงิน สัญญา จํานวนเงิน

2534 5 64,500,000 1 3,260,000 - - 67,760,000 80,000,000

2535 1 10,810,000 4 13,570,000 - - 24,380,000 30,000,000

2536 2 20,000,000 3 10,805,000 - - 30,805,000 30,000,000

2537 1 14,760,000 - - - - 14,760,000 100,000,000

2538 2 45,000,000 2 8,200,000 - - 53,200,000 100,000,000

2539 3 90,000,000 5 42,641,000 - - 132,641,000 100,000,000

2540 2 60,000,000 3 30,000,000 - - 90,000,000 160,000,000

2541 - - - - - - - 50,000,000

2542 1 30,000,000 - - 3 25,200,000 55,200,000 -

2543 1 17,485,000 1 2,276,720 1 12,050,000 31,811,720 330,000,000

2544 - - - - 2 36,224,000 36,224,000 100,000,000

2545 - - - - 3 29,808,000 29,808,000 40,000,000

2546 - - - - - - - -

2547 - - - - - - - -

2548 - - - - - - - -

2549 - - - - - - - -

2550 - - - - - - - -

2551 1 34,000,000 1 6,000,000 - - 40,000,000 -

2552 3 82,000,000 1 12,000,000 - - 94,000,000 -

รวม 22 468,555,000 21 128,752,720 9 103,282,000 700,589,720 1,120,000,000

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 48

จากขอมูลในตารางที่ 2 เห็นไดวาชวงป พ.ศ.2546-50 รวมระยะเวลา 5 ปงบประมาณ ปรากฎวาไม

มีสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหงใดใหความสนใจเขามาขอกูยืมเงินทุนหมุนเวียนฯ เลย ซึ่งตรงกับชวงเวลาที่

รัฐบาลยุติการจัดสรรงบประมาณแกเงินทุนหมุนเวียนฯ ต้ังแตป พ.ศ.2546 เชนกัน ตอมาในป พ.ศ. 2551

หลังจากการยุบรวม 2 กองทุนเปนระยะเวลาถึง 3 ป สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาจึงไดมีการ

อนุมัติเงินกูยืมแกสถาบันอุดมศึกษาเอกชนอีกครั้ง และสถานะปจจุบันของเงินทุนหมุนเวียนฯ มีวงเงิน

งบประมาณรวม 1,120 ลานบาท ซึ่งนอยกวาแผนงานที่รัฐบาลไดอนุมัติหลักการจัดสรรงบประมาณจริง

4,000 ลานบาท และหากมองความสําเร็จดานปริมาณการอนุมัติเงินกูยืมนับแตป 2532–2552 มี

สถาบันอุดมศึกษาเอกชนจํานวนเพียง 16 แหง (จาก 69 แหง) ที่ไดเขาใชประโยชนจากเงินทุนหมุนเวียนฯ

รวมทั้งหมด 52 สัญญา (เฉลี่ยปละ 2.6 สัญญา) ชําระคืนแลว 36 สัญญา คงเหลือการชําระคืน 16 สัญญา

และหากจัดประเภทสถาบันอุดมศึกษาเอกชนตามขนาด 3 กลุมจะแยกกลุมผูรับบริการที่ไดรับการจัดสรร

เงินกูยืมแบงออกเปน สถาบันฯ ขนาดเล็ก (นักศึกษา < 1,000 คน) 3 แหง สถาบันฯ ขนาดกลาง (นักศึกษา

1,000-5,000 คน) 4 แหง สถาบันฯ ขนาดใหญ (นักศึกษา > 5,000 คน) 7 แหง นับเปนการตอกยํ้าวา

เปาหมายของเงินทุนหมุนเวียนฯ ท่ีตองการสนับสนุนงบประมาณเพื่อสงเสริมพัฒนาคุณภาพการเรียนการ

สอนแกสถาบันอุดมศึกษาเอกชนขนาดเล็กไมไดรับการตอบสนองอยางแทจริง และกลับกลายเปนวา

สถาบันอุดมศึกษาเอกชนขนาดใหญเปนกลุมที่ไดเปรียบในการเขาใชประโยชนเงินทุนหมุนเวียนฯ เพราะมี

คุณสมบัติ และหลักทรัพยตามเงื่อนไขที่กําหนด ทําใหเปนกลุมท่ีไดรับอนุมัติสัญญากูยืมเงินมากท่ีสุด

โดยแสดงรายละเอียดไดดังน้ี

ตารางที่ 3 แสดงผลสรุปการจัดสรรสัญญากูยืมเงินทุนหมุนเวียนฯ ระหวางปพ.ศ.2534-2552 เปรียบเทียบ

ตามขนาดของสถาบันอุดมศึกษาเอกชน (* จํานวนสัญญาท่ียังคงเหลือการชําระคืน)

สถาบันอุดมศึกษาเอกชน

( ปท่ีเร่ิมกูเงินคร้ังแรก /

คร้ังสุดทาย )

ประเภท

ขนาด

สถาบันฯ

จํานวนสัญญากูยมืเงินจากเงินทุนหมุนเวยีนฯ

จํานวนเงิน

รวม

(ลานบาท)

กอสราง

อาคาร

ซื้อ

อุปกรณ

พัฒนา

อาจารย

รวม

1. ม.ศรีปทุม (2534 / 2545) ** ใหญ 2 * 2 2 * 6 68.40500

2. ม.อัสสัมชัญ (2534 / 2545) ใหญ 2 1 2 5 85.76000

3. ม.หอการคาไทย (2534 / 2539) ใหญ 2 1 - 3 55.00000

4. ม.พายัพ (2534 / 2552) **** ใหญ 4 ** 3 * 2 * 9 129.18800

5. ม.ธุรกิจบัณฑิตย (2534 / 2539) ใหญ 2 1 - 3 50.00000

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

49

สถาบันอุดมศึกษาเอกชน

( ปท่ีเร่ิมกูเงินคร้ังแรก /

คร้ังสุดทาย )

ประเภท

ขนาด

สถาบันฯ

จํานวนสัญญากูยมืเงินจากเงินทุนหมุนเวยีนฯ

จํานวนเงิน

รวม

(ลานบาท)

กอสราง

อาคาร

ซื้อ

อุปกรณ

พัฒนา

อาจารย

รวม

6. ม.เกริก (2534 / 2543) ** กลาง 2 * 2 * - 4 38.02172

7. ม.ภาคกลาง (2535 / 2538) เล็ก 1 1 - 2 15.51000

8. ม.วงษชวลิตกุล (2535 / 2539) ** กลาง 1 * 2 * - 3 41.67000

9. ว.ศรีโสภณ (2536 / 2539) * เล็ก 1 2 * - 3 16.02500

10. ม.กรุงเทพ (2536 / 2552) ** ใหญ 1 * 1 2 * 4 58.58300

11. ม.โยนก (2537 / 2544) เล็ก 1 1 1 3 19.78600

12. ม.เซนตจอหน (2539 / 2540) กลาง - 2 - 2 12.64100

13. ม.รังสิต (2540) ใหญ 1 - - 1 30.00000

14. ม.เทคโนโลยีมหานคร (2540) ใหญ - 1 - 1 10.00000

15. ม.หาดใหญ (2551 / -) ** ใหญ 1 * 1 * - 2 40.00000

16. ม.นอรท-เชียงใหม (2552) * กลาง 1 * - - 1 30.00000

รวม 22 21 9 52 700.58972

ในการศึกษาทบทวนวรรณกรรมทฤษฎีการนํานโยบายไปปฏิบัติของตางประเทศรวม 5 แนวคิด

พบวา แนวคิดตัวแบบการนํานโยบายไปปฏิบัติของ ฟาน มีเตอร และฟาน ฮอรน (1975) และตัวแบบที่ยึด

หลักเหตุผล (rational model) ของ วรเดช จันทรศร (2552) มีความสอดคลองกับกระบวนการนํานโยบาย

เงินทุนหมุนเวียนเพื่อพัฒนาสถาบันอุดมศึกษาเอกชนไปปฏิบัติ สวนอีก 3 ตัวแบบทฤษฎียังไมสามารถใช

อธิบายปรากฎการณของนโยบายเงินทุนหมุนเวียนฯ ได คือ (1) ตัวแบบของแมซเมเนียน และซาบาเตียร

(1989) ที่มี 4 กลุมตัวแปรหลักและเปนการศึกษาแบบ top down approach (2) ตัวแบบของซาบาเตียร

(1993) มีสมมติฐานการวิเคราะห 4 ขอ โดยเปนการศึกษาแบบ bottom up approach (3) ตัวแบบของกอกกิน

และคณะ (1990) เนนความรวมมือของรัฐบาลกลางและองคกรทองถ่ินมีตัวแปรอยู 5 กลุม โดยให

ความสําคัญตอสิ่งจูงใจและขอจํากัดของหนวยงานรัฐแตไมใหความสําคัญการศึกษากลไก และกิจกรรม

การปฏิบัติที่มีผลสําเร็จตอวัตถุประสงคเปาหมายนโยบาย สําหรับกรณีตัวอยางผลงานวิจัยการนํานโยบาย

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 50

ไปปฏิบัติของประเทศไทยจะพบวา มีปจจัยที่มีผลกระทบตอประสิทธิภาพนโยบายท่ีเห็นไดชัดคือ ความ

ชัดเจนของวัตถุประสงคนโยบาย ลักษณะขององคการ ลักษณะของผูปฏิบัติ การสื่อสารนโยบายทรัพยากร

และการมีสวนรวมของผูรับบริการ

ผลของการศึกษาจากผูใหขอมูลสําคัญ (key informant) 32 ราย แยกรายละเอียดตามกระบวน

นโยบายพบวา ปจจัยที่สงผลกระทบตอความสําเร็จเชิงเปาประสงคของการนํานโยบายเงินทุนหมุนเวียนฯ

ไปปฏิบัติจํานวน 8 ปจจัยที่มีมิติความสัมพันธกัน คือ (1) ดานเปาหมายและวัตถุประสงคนโยบาย (2) ดาน

ทรัพยากร (3) ดานมาตรฐานระเบียบ หลักเกณฑ และการมอบหมายภารกิจ (4) ดานลักษณะของ

หนวยงานปฏิบัติ (5) ดานสมรรถนะและพฤติกรรมของผูปฏิบัติงาน (6) ดานการประชาสัมพันธ (7) ดาน

ความพึงพอใจของผูรับบริการ (8) ดานการวางแผนควบคุมและประเมินผล

ทั้งนี้ เมื่อจัดระบบความสัมพันธของปจจัยหลัก 8 ประเด็นมาเชื่อมโยงกัน ผสมผสานกับกรอบ

กระบวนนโยบายพบวา ตัวแบบการนํานโยบายเงินทุนหมุนเวียนเพื่อพัฒนาสถาบันอุดมศึกษาเอกชนไป

ปฏิบัติมีรูปแบบสอดคลองกับ 2 ทฤษฎีสําคัญ คือ ตัวแบบการนํานโยบายไปปฏิบัติของ ฟาน มีเตอร และ

ฟาน ฮอรน (1975) และตัวแบบท่ียึดหลักเหตุผล (rational model) ของ วรเดช จันทรศร (2552) โดยสิ่งท่ี

เปนขอแตกตางของ 3 ตัวแบบเมื่อเปรียบเทียบแตละปจจัยหลักสามารถแสดงรายละเอียดไดดังน้ี

ตารางที่ 4 แสดงการเปรียบเทียบปจจัยท่ีมีผลกระทบตอการนํานโยบายไปปฏิบัติ 3 ตัวแบบ

การเปรียบเทียบปจจัยท่ีมีผลกระทบตอการนํานโยบายไปปฏิบัต ิ3 ตัวแบบ ระดับ

ความสําคัญ

ผลกระทบ

ตัวแบบของ ฟาน มีเตอร และ

ฟาน ฮอรน

ตัวแบบของ วรเดช จันทรศร ตัวแบบการนํานโยบาย

เงินทุนหมุนเวียนฯ ไปปฏิบัต ิ

1. ดานมาตรฐานและ

วัตถุประสงคของนโยบาย

1. ดานวตัถุประสงคของ

นโยบาย

1. ดานเปาหมายและ

วัตถุประสงคนโยบาย

มาก

2. ดานทรัพยากรของนโยบาย - 2. ดานทรัพยากร นอย

3. ดานการส่ือสารระหวาง

องคการและกิจกรรมสงเสริม

การนํานโยบายไปปฏิบัต ิ

- 3. ดานการประชาสัมพันธ

มาก

4. ดานลักษณะของหนวยงาน

ท่ีนํานโยบายไปปฏิบัต ิ

2. ดานมาตรฐานในการ

ปฏิบัติงาน

3. ดานการกําหนดภารกิจและ

การมอบหมายงาน

4. ดานลักษณะของ

หนวยงานปฏิบัติ

ปานกลาง

5. ดานเงื่อนไขและทรัพยากร

ทางเศรษฐกิจ สังคม และ

การเมือง

- - -

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

51

การเปรียบเทียบปจจัยท่ีมีผลกระทบตอการนํานโยบายไปปฏิบัต ิ3 ตัวแบบ ระดับ

ความสําคัญ

ผลกระทบ

ตัวแบบของ ฟาน มีเตอร และ

ฟาน ฮอรน

ตัวแบบของ วรเดช จันทรศร ตัวแบบการนํานโยบาย

เงินทุนหมุนเวียนฯ ไปปฏิบัต ิ

6. ดานความรวมมือหรือการ

ตอบสนองของผูนํานโยบายไป

ปฏิบัติ

4. ดานมาตรการใหคณุใหโทษ 5. ดานสมรรถนะและ

พฤติกรรมของผูปฏิบัติงาน

ปานกลาง

- 5. ดานการวางแผนและการ

ควบคมุ

6. ดานระบบการวัดผล

6. ดานการวางแผนควบคุม

และประเมินผล

ปานกลาง

- - 7. ดานมาตรฐานระเบียบ

หลักเกณฑ และการ

มอบหมายภารกิจ

มาก

- - 8. ดานความพึงพอใจของ

ผูรับบริการ

ปานกลาง

ปจจัยที่มีผลกระทบระดับมากตอประสิทธิภาพการนํานโยบายเงินทุนหมุนเวียนฯ ไปปฏิบัติมี 3

ปจจัยคือ

1. ปจจัยดานเปาหมายและวัตถุประสงคของนโยบาย เปนขอจํากัดสําคัญท่ีทําใหการดําเนิน

นโยบายเงินทุนหมุนเวียนฯ ไมมีประสิทธิภาพเพราะเปนการกําหนดวัตถุประสงคจากเมื่อ 20 ปที่ผาน

มาแลว ซึ่งไมสอดคลองกับสภาพความจําเปนในปจจุบัน แตองคกรที่เก่ียวของไมสามารถปรับแกไขได

เพราะเปนการกําหนดโดยมติคณะรัฐมนตรีซึ่งถือเปนกฎหมายบังคับ

2. ปจจัยดานมาตรฐานระเบียบ หลักเกณฑและการมอบหมายภารกิจ ซึ่งเปนขออุปสรรคที่สําคัญที่

ไมเปนที่พึงพอใจของสถาบันอุดมศึกษาเอกชนที่เปนผูรับบริการ เน่ืองจากเงินทุนหมุนเวียนฯ ควรเปนแหลง

ทุนกูยืมดอกเบ้ียตํ่า มีวัตถุประสงคเพื่อสงเสริมพัฒนามาตรฐานคุณภาพการอุดมศึกษาเอกชนใหแขงขันกับ

สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ แตเงื่อนไขระเบียบ หลักเกณฑนโยบายที่อนุมัติโดยกระทรวงการคลังกําหนด

มาตรฐานคุณสมบัติสถาบันฯ และหลักทรัพยคํ้าประกันเงินกูไวระดับสูง และไมไดมีการปรับปรุงพัฒนาให

เหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและเศรษฐกิจโลก อันเนื่องจากขอจํากัดตามระบบราชการที่มักคง

สภาพดําเนินการไวแบบเดิม

3. ปจจัยดานการประชาสัมพันธ ถือเปนปญหาสําคัญท่ีสงผลตอประสิทธิภาพการวางแผนการ

ดําเนินงานและการปฏิบัติของหนวยงานที่รับผิดชอบซึ่งไมไดดําเนินการแตอยางใด ทําใหไมมีการสื่อสาร

ขอมูลที่เปนประโยชนของนโยบายเงินทุนหมุนเวียนฯ แกผูมีสวนไดสวนเสีย (stakeholders) จึงไมไดรับ

ความรวมมือเขามาใชประโยชนเนื่องจากไมมีขอมูลขาวสารที่เพียงพอ รวมทั้งชองทางการใหบริการปจจุบัน

มีเพียงชองทางเดียว คือ การประชาสัมพันธผานเอกสารเปนหนังสือตามระบบราชการเทานั้น

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 52

สําหรับปจจัยที่มีผลกระทบในระดับปานกลางมีอยู 4 ปจจัย คือ (1) ดานลักษณะของหนวยงาน

ปฏิบัติ (2) ดานสมรรถนะและพฤติกรรมของผูปฏิบัติงาน (3) ดานความพึงพอใจของผูรับบริการ (4) ดาน

การวางแผนควบคุมและประเมินผล และปจจัยท่ีมีผลกระทบนอย คือ ดานทรัพยากร เนื่องจากมีความ

เพียงพอตอปริมาณความตองการของผูใชบริการ โดยสามารถสรุปผลการศึกษาตัวแบบการนํานโยบาย

เงินทุนหมุนเวียนเพื่อพัฒนาสถาบันอุดมศึกษาเอกชนไปปฏิบัติ ที่มีผลกระทบจากปจจัย 8 มิติสัมพันธแสดง

วงจรความเชื่อมโยงไดตามภาพรวม ดังนี้

ตัวแบบการนํานโยบายเงินทุนหมุนเวียนเพ่ือพัฒนาสถาบันอุดมศึกษาเอกชนไปปฏิบัติ

หมายเหตุ 1. ปจจัยที่แสดงภาพเงาหลังกรอบคือปจจัยที่มีผลกระทบระดับมาก

2. ปจจัยที่ขีดเสนใต คือ ปจจัยท่ีเปนขอคนพบจากการศึกษาซึ่งเปนสวนเพิ่มจากทฤษฎี 2

ตัวแบบหลัก

ผลการประเมินสงผลกระทบตอการกําหนดนโยบาย

ทรัพยากร

มาตรฐานระเบียบ หลักเกณฑ

และการมอบหมายภารกิจ

เปาหมายและ

วัตถุประสงค

ของนโยบาย

ลักษณะของ

หนวยงาน

ปฏิบตั ิ

สมรรถนะ

และพฤติกรรม

ผูปฏบิัติงาน

ผลของ

การนํา

นโยบาย

ไปปฏิบตั ิ

(outputs &

outcomes)

การประชาสัมพันธ

การวางแผนควบคุมและประเมินผล

มติคณะรัฐมนตร ี

กระบวนการนํานโยบายไปปฏบิตัิ

feedback

ความพึงพอใจของ

ผูรับบริการ

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

53

ขอเสนอแนะเชิงนโยบาย

ผลการศึกษากรณีการนํานโยบายเงินทุนหมุนเวียนเพื่อพัฒนาสถาบันอุดมศึกษาเอกชนไปปฏิบัติ

สามารถสรุปเปนแนวทาง (guideline) เพื่อปรับปรุงพัฒนานโยบายได 2 แนวทางเลือกหลัก ดังนี้

1. แนวทางเลือกที่ 1 กรณีภาครัฐเห็นควรดําเนินนโยบายเงินทุนหมุนเวียนเพื่อพัฒนา

สถาบันอุดมศึกษาเอกชนตอไป

รัฐบาลและหนวยงานปฏิบัติสามารถแบงวิธีดําเนินการเปน 3 แนวทางยอย คือ

แนวทางยอยท่ี 1.1 เปนการดําเนินนโยบายเงินทุนหมุนเวียนฯ โดยปรับปรุงในประเด็นการขยาย

วัตถุประสงคนโยบาย และสรางความยืดหยุนดานระเบียบ หลักเกณฑใหสะดวกมากขึ้น โดยควรดําเนินการ

ตามขั้นตอนดังนี้

(1) เสนอขอมติคณะรัฐมนตรีปรับเปลี่ยนวัตถุประสงคนโยบายทั้ง 2 ขอใหสอดคลองตามความ

ตองการของกลุมเปาหมายผูรับบริการ โดยขยายเปนอาคารทุกประเภท และใหทุนศึกษาตอในประเทศไดใน

สถาบันฯ ที่สํานักงาน ก.พ. ใหการรับรอง

(2) แยกภารกิจการกําหนดระเบียบและหลักเกณฑของกระทรวงการคลังเปนผูกําหนด โดยมอบ

อํานาจใหแกหนวยงานปฏิบัติเปนผูกําหนดเพื่อใหเกิดความยืดหยุน (flexibility of work) และสามารถ

ปรับปรุงหลักเกณฑตาง ๆ ไดตามเสียงสะทอนของผูรับบริการ

(3) จัดระบบโครงสรางองคการ อํานาจหนาที่ การบริหารงานบุคคล และระเบียบการเงินของเงินทุน

หมุนเวียน ฯ ใหชัดเจน โดยตองเปนหนวยงานท่ีมีโครงสรางกฎหมายรองรับ กําหนดกลยุทธภารกิจและ

แผนปฏิบัติการ มีบุคลากรผูปฎิบัติงานเต็มเวลา (full time) มีทักษะและสมรรถนะสูง และมีจิตบริการ

(service mind)

(4) จัดระบบชองทางการสื่อสารนโยบาย และการประชาสัมพันธท่ีหลากหลาย ใหทุกฝายสามารถ

เขาถึงขอมูลไดงาย โดยใชเอกสารสื่อสิ่งพิมพ เทคโนโลยีสารสนเทศ การจัดประชุมสัมมนา และสามารถให

ผูรับบริการมีสวนรวมในการติดตามประเมินผลการปฏิบัติงานของเงินทุนหมุนเวียนฯ

(5) พัฒนาตัวชี้วัดที่มุงเนน outcomes ดานศักยภาพภารกิจหลักของสถาบันอุดมศึกษา โดยเนน

สงเสริมการวิจัย การบริการสังคม และพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนของสถาบันอุดมศึกษาเอกชน

แนวทางยอยที่ 1.2 เปนการดําเนินนโยบายเงินทุนหมุนเวียนฯ โดยใหปรับลดภารกิจบางสวนของ

นโยบายเงินทุนหมุนเวียนฯ คือ การยกเลิกวัตถุประสงคของเงินทุนหมุนเวียนฯ ท่ีใหกูยืมเพื่อพัฒนาดาน

กายภาพ-อาคารสถานที่ และอุปกรณการศึกษาของสถาบันอุดมศึกษาเอกชน เนื่องจากผลผลิตเปน

สินทรัพยถาวรของสถาบันฯ และ ใหกําหนดวัตถุประสงคนโยบายเหลือเพียง 1 ขอ คือ ใหสนับสนุนการกูยืม

เงินเพื่อพัฒนาคุณวุฒิของอาจารยสถาบันอุดมศึกษาเอกชน โดยใหศึกษาตอระดับปริญญาโทและ/หรือ

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 54

ระดับปริญญาเอกในสถาบันอุดมศึกษาท่ีสํานักงาน ก.พ. รับรอง ทั้งในประเทศและตางประเทศ เพราะการ

พัฒนาอาจารยนับเปนทรัพยากรมนุษยของประเทศในภาพรวม

แนวทางยอยท่ี 1.3 เปนการดําเนินนโยบายเงินทุนหมุนเวียนฯ โดยใหเพิ่มภารกิจอ่ืนใหแกนโยบาย

เงินทุนหมุนเวียนฯ หากรัฐบาลเห็นวามีความจําเปนในการสรางเสริมคุณภาพสถาบันฯ และบุคลากร โดยมี

3 ภารกิจท่ีควรพิจารณาดังนี้

(1) จัดเพิ่มภารกิจดานกองทุนใหกูยืมเพื่อสนับสนุนทุนวิจัยแกอาจารยสถาบันอุดมศึกษาเอกชน

โดยตองเปนผลงานวิจัยท่ีสรางองคความรูเพื่อการใชประโยชนไดจริงสูผูใชประโยชน (end user) ทั้งภาค

ชุมชนทองถ่ินและภาคอุตสาหกรรม

(2) จัดเพิ่มภารกิจดานกองทุนสวัสดิการของผูปฏิบัติงานในสถาบันอุดมศึกษาเอกชน ทั้งดานการ

ประกันสุขภาพและการเกษียณออกจากงาน

(3) จัดเพิ่มภารกิจดานกองทุนใหกูยืมเพื่อเสริมสภาพคลองแกสถาบันอุดมศึกษาเอกชนเพื่อให

สามารถดําเนินการไดในกรณีเกิดภาวะวิกฤตทางการเงินของสถาบันฯ

2. แนวทางเลือกที่ 2 กรณีภาครัฐเห็นควรดําเนินการจัดต้ังกองทุนใหม

โดยรัฐบาลควรจัดต้ังกองทุนรวมอุดมศึกษาท่ีภาครัฐเปนผูจัดสรรงบประมาณต้ังตน และให

สถาบันอุดมศึกษาท้ังของรัฐและเอกชนสามารถเขารวมหนวยลงทุนเพื่อเปน property fund โดยเปน

งบประมาณหรือทรัพยสินประเภทพื้นที่สัมปทานธุรกิจ (commercial zone) และมีองคกรกลางบริหาร

กองทุนทําหนาท่ีเปนหนวยดําเนินธุรกิจตาง ๆ ที่เก่ียวของกับการศึกษาในภาพรวม และเปนผูจัดสรร

ผลประโยชนคืนสูสถาบันอุดมศึกษาตาง ๆ เพื่อใชเปนวงจรรายไดงบประมาณสงเสริมการพัฒนายกระดับ

มาตรฐานคุณภาพดานวิชาการ การวิจัย และการผลิตบัณฑิตของสถาบันฯ ตอไป

ทั้งนี้ ผลของการศึกษาวิจัยกรณีการนํานโยบายเงินทุนหมุนเวียนเพื่อพัฒนาสถาบันอุดมศึกษา

เอกชนไปปฏิบัติไมสามารถเสนอทางเลือกใหยุติการดําเนินนโยบายเงินทุนหมุนเวียนฯ ได เนื่องจากขัดตอ

พระราชบัญญัติสถาบันอุดมศึกษาเอกชน พ.ศ. 2546 ในมาตรา 70 (2) ที่กําหนดใหรัฐตองสนับสนุน

สงเสริมการจัดต้ังกองทุนเพื่อพัฒนาสถาบันอุดมศึกษาเอกชนในดานตาง ๆ และสิ่งสําคัญคือรัฐบาลมี

นโยบายชัดเจนท่ีจะสนับสนุนสงเสริมการมีสวนรวมเขามาจัดการศึกษาทุกระดับโดยภาคเอกชน ดังนั้น แม

รัฐบาลและหนวยงานที่เก่ียวของอาจเห็นวาเงินทุนหมุนเวียนฯ ไมมีความจําเปนสําหรับการสงเสริมเพื่อ

พัฒนาสถาบันอุดมศึกษาเอกชนอีกตอไป เพราะไมสามารถดําเนินการใหบรรลุวัตถุประสงคนโยบายได

หรือไมสามารถแสดงขอมูลผลกระทบตอการสงเสริมศักยภาพของสถาบันอุดมศึกษาเอกชนไดชัดเจน

แตแนวทางการเสนอใหยุบเลิกนโยบายเงินทุนหมุนเวียนเพื่อพัฒนาสถาบันอุดมศึกษาเอกชนเปนการ

กระทําที่ขัดตอบทบัญญัติทางกฎหมาย และขัดตอนโยบายของรัฐบาลจึงเปนขอจํากัดใหไมสามารถเสนอ

ใหยุติการดําเนินนโยบายเงินทุนหมุนเวียนฯ ได

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

55

บรรณานุกรม

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ป ฉบับท่ี 2 (พ.ศ. 2551-2565).

กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

กลา ทองขาว. (2534). การวิเคราะหปจจัยท่ีสงผลตอความสําเร็จของการนํานโยบายสาธารณะไป

ปฏิบัติ: กรณีศึกษานโยบายรณรงคเพ่ือการรูหนังสือแหงชาติ. ดุษฎีนิพนธพัฒนบริหารศาสตร

ดุษฎีบัณฑิต, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร.

จุมพล หนิมพานิช. (2551). การวิจัยเชิงคุณภาพในทางรัฐศาสตรและรัฐประศาสนศาสตร (พิมพครั้งท่ี 2).

กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

เทพศักด์ิ บุณยรัตพันธุ. (2536). ปจจัยท่ีสงผลตอการสรางประสิทธิผลของการนํานโยบายการ

ใหบริการแกประชาชนไปปฏิบัติ: กรณีศึกษาสํานักงานเขตของกรุงเทพมหานคร. ดุษฎีนิพนธ

พัฒนบริหารศาสตรดุษฎีบัณฑิต, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร.

พนม ทินกร ณ อยุธยา. (2534). การบริหารงานคลังรัฐบาล เลม 3 การบริหารงานคลังรัฐบาล

จุลภาค 1. กรุงเทพมหานคร: ศิลปสยามการพิมพ.

พระราชบัญญัติสถาบันอุดมศึกษาเอกชน พ.ศ. 2546. (2546). ราชกิจจานุเบกษา, 120(107ก), 1-32.

พระราชบัญญัติสถาบันอุดมศึกษาเอกชน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2550. (2550). ราชกิจจานุเบกษา, 124(101ก),

7-11.

พระราชบัญญัติใหอํานาจกระทรวงการคลังรวมหรือยุบเลิกเงินทุนหมุนเวียน พ.ศ. 2543. (2543).ราชกิจจานุเบกษา,

117(111ก), 7-9.

เรืองวิทย เกษสุวรรณ. (2551). การนํานโยบายไปปฏิบัติ. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพบพิธการพิมพ.

วรเดช จันทรศร. (2552). ทฤษฎีการนํานโยบายสาธารณะไปปฏิบัติ (พิมพครั้งที่ 4). กรุงเทพมหานคร:

โรงพิมพพริกหวานกราฟฟค.

สมพร เฟองจันทร. (2552). นโยบายสาธารณะ: ทฤษฎีและการปฏิบัติ. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ

ออนอารต ครีเอชั่น.

สุรสิทธ วชิรขจร. (2549). นโยบายสาธารณะเบื้องตน. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพธเนศวร (1999) พริ้นต้ิง.

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. (2552). กองทุนหมุนเวียนเพ่ือพัฒนาสถาบันอุดมศึกษา

เอกชน. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. (2552). ขอมูลสถานภาพสถาบันอุดมศึกษาเอกชน.

กรุงเทพมหานคร: สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา.

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. (2550). ประกาศคณะกรรมการเงินทุนหมุนเวียนเพ่ือพัฒนา

สถาบันอุดมศึกษาเอกชน เร่ือง หลักเกณฑ วิธีการ และเง่ือนไขการกูยืมเงินทุนหมุนเวียน

เพ่ือพัฒนาสถาบันอุดมศึกษาเอกชน พ.ศ. 2550. กรุงเทพมหานคร: สํานักงานคณะกรรมการ

การอุดมศึกษา.

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 56

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. (2550). ระเบียบสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาวา

ดวยเงินทุนหมุนเวียนเพ่ือพัฒนาสถาบันอุดมศึกษาเอกชน พ.ศ. 2550. กรุงเทพมหานคร:

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา.

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. (2552). รายงานผลการดําเนินงานเงินทุนหมุนเวียนเพ่ือ

พัฒนาสถาบันอุดมศึกษาเอกชน. กรุงเทพมหานคร: สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา.

สํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี. (2553ก). มติคณะรัฐมนตรี วันท่ี 4 เมษายน 2532. กรุงเทพมหานคร:

สํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี.

สํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี. (2553ข). มติคณะรัฐมนตรี วันท่ี 4 กุมภาพันธ 2540. กรุงเทพมหานคร:

สํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี.

สํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี. (2553ค). มติคณะรัฐมนตรี วันท่ี 24 สิงหาคม 2547. กรุงเทพมหานคร:

สํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี.

Bullock, C. S., Anderson, J. E., and Brady, D. W. (1983). Public policy in the eighties. Monterey,

CA: Brooks/Cole.

Goggin, M. L. et al. (1990). Implementation theory and practice: Toward a third generation.

New York: Harper Collins.

Jones, C. O., & Matthes, D. (1983). Policy formation. In S. S. Nagel (Ed.), Encyclopedia of policy

studies. New York: Marcel Dekker.

Lindblom, C. (1959). The science of muddling though. Public Administration Review, 19, (2), pp.

79-88.

Mazmanian, D. A., & Sabatier, P. A. (1981). Effective policy implementation. Lexington, MA:

D. C. Health.

Truman, D. (1975). The governmental process: In American government: reading and cases.

Boston: Little Brown and Company.

Van Meter, D. S., & Van Horn, C. E. (1975). The policy implementation process: A conceptual

framework. Administrative and Society, 6, (4), pp. 455-488.

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

57

การจัดการศกึษาระดับดุษฎีบัณฑิต

สาขาวิชารฐัประศาสนศาสตรในมหาวิทยาลัยราชภัฏ

Educational Management at the Doctoral Degree Level in the Public

Administration Programs at Rajabhat Universities

กัณฑธิมา นิลทองคํา 1

บทคัดยอ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค (1) เพื่อศึกษาสภาพปจจุบันของการจัดการศึกษาระดับดุษฎีบัณฑิต

สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตรในมหาวิทยาลัยราชภัฏ (2) เพื่อศึกษาปจจัยที่เกี่ยวของกับการจัดการศึกษา

ระดับดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตรในมหาวิทยาลัยราชภัฏท่ีจะสงผลกระทบตอคุณภาพการจัด

การศึกษา โดยนํามหาวิทยาลัย-ราชภัฏ จํานวน 3 แหง มาเปนกรณีศึกษา คือ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต

มหาวิทยาลัย-ราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ และมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

การวิจัยครั้งน้ีเปนการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยวิธีการวิจัยเอกสารและวิจัยภาคสนามวิธีการเก็บ

รวบรวมขอมูล ประกอบดวย การสัมภาษณเจาะลึก การสังเกตแบบไมมีสวนรวม โดยผูใหขอมูลสําคัญ

ประกอบดวย ผูเชี่ยวชาญในสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร ผูบริหารมหาวิทยาลัย คณะกรรมการบริหาร

หลักสูตร อาจารย เจาหนาที่ และผูมีสวนไดสวนเสีย คือ นักศึกษา บัณฑิตและผูใชบัณฑิตจํานวน 42 คน

ผลการศึกษา พบวา สภาพปจจุบันของการจัดการศึกษาระดับดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร

ของมหาวิทยาลัยราชภัฏ มีลักษณะการจัดการศึกษาในรูปแบบโครงการภาคพิเศษ มีการจัดต้ังหนวยงาน

ขึ้นมาดูแลรับผิดชอบการจัดการศึกษาโดยตรง เปนหนวยงานอิสระท่ีขึ้นตรงกับสภามหาวิทยาลัย และ

อธิการบดี มีคณะทํางานเปนชุดคณะกรรมการบริหารโครงการและคณะกรรมการบริหารหลักสูตร นอกจากนี้

ผลการวิจัยพบวา อาจารย นักศึกษา หลักสูตร และกระบวนการจัดการศึกษา เปนปจจัยที่เขามามีสวน

เก่ียวของมากท่ีสุดและสงผลกระทบตอค ุณภาพการจ ัดการศ ึกษาระดับดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชา

รัฐประศาสนศาสตรในมหาวิทยาลัยราชภัฏ

ขอเสนอแนะจากการศึกษา พบวา มหาวิทยาลัยราชภัฏควรจะ (1) เปดสอนระดับปริญญาเอก

เฉพาะสาขาท่ีเปนอัตลักษณของมหาวิทยาลัยหรือสาขาวิชาที่เปนเอกลักษณท่ีเดนของมหาวิทยาลัยราชภัฏ

แตละแหง เพราะจะมีความพรอมในดานบุคลากรและมีความถนัดเชี่ยวชาญในสาขา (2) เตรียมความพรอม

ทางดานอาจารยประจําสาขาที่มีวุฒิการศึกษาจบตรง มีความรู ความสามารถ มีผลงานการวิจัย หรือ

______________ 1 อาจารยประจําโปรแกรมวิชารัฐประศาสนศาสตร คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 58

ผลงานวิชาการเปนที่ยอมรับในวงวิชาการโดยเฉพาะการพัฒนาบุคลากรภายในหนวยงาน (3) การ

จัดการศึกษาระดับปริญญาเอกไมควรเปนหลักสูตรที่จะนํามาหารายได มหาวิทยาลัยตองยอมรับการขาดทุน

เพื่อจะไดรับนักศึกษาอยางจํากัด และควบคุมคุณภาพได

คําสําคัญ : (1) การจัดการศึกษา (2) ดุษฎีบัณฑิต (3) รัฐประศาสนศาสตร (4) มหาวิทยาลัยราชภัฏ

ABSTRACT

In this dissertation, the researcher investigates (1) the current conditions of educational

management at the doctoral degree level in the Public Administration Program at Rajabhat

universities; and (2) the factors relevant to the educational management at the doctoral degree

level in these programs affecting the quality of educational management. In carrying out this

investigation, the researcher studied three Rajabhat universities: Suan Dusit Rajabhat University,

Valaya Alongkhon Rajabhat University, and Suan Sunandha Rajabhat University.

In this qualitative research investigation, the researcher conducted documentary

research and engaged in field study. Data were collected through conducting in-depth

interviews and engaging in non-participatory observation. Data informants consisted of 42

experts in the field of Public Administration, university administrators, members of the Program

Administration Committee at the universities, faculty members, personnel, and stakeholders

(graduates and employers of graduates).

Findings are as follows:

In regard to the current condition of educational management at the doctoral degree

level in the programs under study, it was found that the characteristics of educational

management took the form of special programs developed through the establishment of an

agency directly responsible for educational management. These agencies function as

independent agencies, but are yet directly answerable to the University Council and the

president. The operational body is divided into the Project Administration Committee and the

Program Administration Committee. In addition, findings indicate that faculty members, students,

curriculums, and the process of educational management are factors affecting at the highest

level the quality of educational management at the doctoral degree level in the Public

Administration Program at Rajabhat universities.

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

59

Recommendations on the basis of this study are as follows:

Rajabhat Universities should (1) offer instruction at the doctoral level only in the fields

reflecting the identity of the university or majors which are constitutive of the distinctive identities

of each Rajabhat university in view of already having at their disposal academic personnel with

expertise in corresponding fields.

(2) Adequate preparation must be an indispensable desideratum. This requires having

on hand faculty members who are educationally qualified to teach and conduct research in the

programs being offered. These faculty members should be knowledgeable and capable. They

should have conducted previous research and produced academic works acceptable to their

peers. To this end, further academic personnel development should be fostered within the

universities themselves.

(3) The educational management at the doctoral degree level should not focus only on a

curriculum generating income for the university. These universities should be willing to incur

losses through limiting student enrollment for the sake of ensuring educational quality.

ท่ีมาและความสําคัญของการศึกษา

การจัดการศึกษาในระดับอุดมศึกษานับวาเปนสวนสําคัญสวนหนึ่งท่ีมีผลตอการพัฒนาการดาน

ตางๆ ของประเทศ เพราะนอกจากจะมีบทบาทสําคัญในการผลิตและพัฒนากําลังคนในระดับสูงใหเขาสู

ตลาดแรงงานไดอยางมีคุณภาพแลว การจัดการศึกษาในระดับนี้ยังตองพัฒนาวิชาการตลอดจนองคความรู

ตางๆ ใหกาวหนาทันสมัยเพื่อเสริม สรางทรัพยากรมนุษยใหมีคุณคาถึงระดับผูนําหรือระดับปญญาชน

(สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ, 2540,หนา 4) ดังน้ัน คุณภาพของคนจึงเปนสิ่งสําคัญ

ประเทศที่ประชาชนมีความรู ความสามารถสูงเทาน้ันจึงจะมีความสามารถในการแขงขัน หรือปรับตัวได

สอดคลองกับกระแสความเคลื่อนไหวและการเปลี่ยนแปลงของโลก การพัฒนาดานการศึกษาจึงตอง

คํานึงถึงคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 9 (3)

(พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542, 2542,หนา 6) เพื่อใหเกิดความเชื่อมั่น และเปนที่ยอมรับทั้ง

จากภายในประเทศและตางประเทศ การจัดการศึกษาในระดับอุดมศึกษาโดยเฉพาะการศึกษาในระดับ

ปริญญาเอกจึงเปนการจัดการศึกษาระดับสูง ซึ่งถือไดวาเปนการพัฒนาทรัพยากรบุคคลรูปแบบหนึ่งที่

สําคัญ ดังที่ Phillips and Pugh (1994, p. 105) ไดกลาววา การเรียนปริญญาเอกเปนการฝกอยางเขมขน

เพื่อใหสามารถทําการวิจัยได และเปนการเรียนหลักเกณฑและคุณลักษณะที่จําเปนในการท่ีจะเปนนักวิจัย

มืออาชีพในสาขาที่ศึกษา ผูจบการศึกษาระดับปริญญาเอกจะไดรับการยอมรับนับถือวาเปนผูมีความรู

ความเชี่ยวชาญ และเปนผูมีความรูอยางสูงในสาขาวิชาน้ัน ๆ และมีความสามารถที่จะขยายขอบเขตของ

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 60

เรื่องนั้น ๆ เมื่อจําเปน การเรียนปริญญาเอกจึงเปนการฝกอบรมที่เขมขนเพื่อเปนฐานสําคัญสําหรับวิชาชีพ

เฉพาะสาขาใดสาขาหนึ่ง ดังนั้น การเรียนปริญญาเอกจึงตางกับการเรียนการสอนในระดับอ่ืน ๆไมวาจะเปน

ระดับปริญญาตรี หรือระดับปริญญาโท ก็ตาม ปรัชญาของการเรียนการสอนในระดับปริญญาเอกนอกจาก

เพื่อมุงผลิตคนในการเปนนักวิจัยแลว แนวทางเบ้ืองตนนั้นการผลิตผูจบปริญญาเอกก็เพื่อมุงสรางบุคคลที่

จะไปเปนอาจารยสอนในระดับมหาวิทยาลัย (จําเนียร จวงตระกูล, 2550, หนา 135)

มหาวิทยาลัยราชภัฏเปนสถาบันอุดมศึกษาซึ่งมีภารกิจหลัก 4 ดาน คือ ดานการเรียนการสอน

ดานการวิจัย ดานการบริการวิชาการ ดานการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม โดยการจัดการศึกษาของ

มหาวิทยาลัยราชภัฏตองมุงพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาใหไดคุณภาพและมาตรฐานตามเจตนารมณ

แหงพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 ซึ่งปจจัยสําคัญย่ิงประการหนึ่งที่ตองตระหนัก คือ

คุณภาพของผูสําเร็จการศึกษาซึ่งเปนประเด็นท่ีอยูในความสนใจของสังคมวา บัณฑิตมีคุณภาพสามารถ

ตอบสนองตอความตองการของตลาดแรงงานไดเพียงใด โดยเฉพาะชวงเวลา 5 ปที่ผานมา มหาวิทยาลัยราชภัฏ

ไดมีการขยายฐานระดับการจัดการศึกษาไปถึงระดับปริญญาเอก และมีการเพิ่มจํานวนผูเรียนมากขึ้นทุกป

ทั้งน้ี เปนเพราะคนในสังคมมีความตองการเรียนตอในระดับสูงมากขึ้น ทําใหมหาวิทยาลัยราชภัฏมีการเปด

สอนระดับปริญญาเอกในสาขาวิชาตาง ๆ มากมายรวมทั้งสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร ซึ่งการจัด

การศึกษาระดับปริญญาเอก เปนการศึกษาระดับสูงเพื่อมุงผลิตนักวิจัยมืออาชีพในสาขาที่ศึกษา ดังนั้น

การจัดการศึกษาจึงควรจะมีรูปแบบกระบวนการจัดการศึกษาที่แตกตางจากระดับปริญญาตรีและ

ปริญญาโท เพื่อที่จะไดผลิตบัณฑิตระดับดุษฎีบัณฑิตที่มีคุณภาพออกสูสังคม ดวยเหตุนี้ การศึกษาถึง

การจัดการศึกษาระดับดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร จึงเปนการมุงหาคําตอบถึงระบบ

การจัดการศึกษาและปจจัยที่เขามาเกี่ยวของกับการจัดการศึกษาระดับดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐ

ประศาสนศาสตรในมหาวิทยาลัยราชภัฎท่ีจะสงผลตอคุณภาพทางการศึกษาใหเปนที่ยอมรับในสังคมเปน

สําคัญ

12วัตถุประสงค

1. เพื่อศึกษาสภาพปจจุบันของการจัดการศึกษาระดับดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร

ในมหาวิทยาลัยราชภัฏ

2. เพื่อศึกษาปจจัยที่เก่ียวของกับการจัดการศึกษาระดับดุษฎีบัณฑิตสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร

ในมหาวิทยาลัยราชภัฏที่จะสงผลกระทบตอคุณภาพการจัดการศึกษา

12แนวคิดและทฤษฎีท่ีเก่ียวของ

การวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยไดกําหนดขอบเขตของการวิจัยดานเนื้อหาเปนการศึกษาทางรัฐประศาสนศาสตร

ที่มีขอบขายของการศึกษาเนนไปที่การจัดการภาครัฐ (public management) เปนสําคัญ สําหรับแนวคิด

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

61

ทฤษฎีท่ีเปนฐานความคิดสําคัญในการวิจัยครั้งนี้ ประกอบดวย 1) แนวคิดเก่ียวกับการจัดการศึกษาระดับ

ปริญญาดุษฎีบัณฑิต ที่มีเปาหมายที่สําคัญคือ เพื่อสรางนักวิจัยมืออาชีพ และการที่จะผลิตนักวิจัยท่ีมี

คุณภาพไดมาตรฐานสากล 2) รูปแบบการจัดการศึกษาระดับดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร

ในตางประเทศ ซึ่งมีรูปแบบการจัดการศึกษาอยู 2 แบบ คือ เปนการจัดการเรียนการสอนท่ีมุงเนนการทํา

วิจัย(Research Degree) และการจัดการเรียนการสอนโดยมุงเนนการทําวิจัยควบคูไปกับการเรียนรายวิชา

(Academic Degree) และ 3) แนวคิดเก่ียวกับมาตรฐานการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา ประกอบดวย

เกณฑมาตรฐานการอุดมศึกษาเกณฑคุณภาพการศึกษาของสํานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา

กระทรวงศึกษาธิการ เกณฑคุณภาพการศึกษาเพื่อการดําเนินงานท่ีเปนเลิศ 2552 – 2553 ของสํานัก

มาตรฐานและประเมินผลอุดมศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และเกณฑมาตรฐาน

หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2548 รวมทั้งวิเคราะหผลงานวิจัยของนักวิชาการไทยและตางประเทศ

อาทิ นงลักษณ วิรัชชัย และสุวิมล วองวาณิช (2542) จารุวรรณ ประทุมศรี (2547) Miller (1979)

Conrad and Blackbum (1985) Fairweather and Brown (1991) Lim (1999) รวมถึงขอคิดเห็นของ

ผู เชี ่ยวชาญทางดานรัฐประศาสนศาสตรของไทย อาทิ ศาสตราจารย ดร.วรเดช จันทรศร

รองศาสตราจารย ดร. ปฐม มณีโรจน รองศาสตราจารย ดร.พิทยา บวรวัฒนา และรองศาสตราจารย

ดร.อุทัย เลาหวิเชียร เปนตน เพื่อนําองคความรูมาสังเคราะหและบูรณาการเพื่อใชเปนกรอบแนวทางใน

การศึกษา

วิธีการศึกษา

การวิจัยครั้งน้ีเปนการวิจัยเชิงคุณภาพ (qualitative research) โดยเนนใหความสําคัญกับ

การศึกษาเฉพาะกรณี จํานวน 3 แหง ไดแก มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลย

อลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา โดยการเลือกแบบเจาะจง (purposive

sampling) จากมหาวิทยาลัยราชภัฏท่ีจัดต้ังอยูในเขตพื้นท่ีกรุงเทพมหานคร และกอต้ังมานานกวา 70 ป

และมีการเปดสอนในระดับดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตรมาแลวไมนอยกวา 3 ปการศึกษา

โดยการเก็บรวบรวมขอมูลจากการสัมภาษณแบบเจาะลึกกับผูใหขอมูลสําคัญจํานวน 42 คน จัดแบง

ออกเปน 4 กลุม คือ กลุมผูเชี่ยวชาญสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร กลุมผูบริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏไดแก

อธิการบดีหรือรองอธิการบดีฝายวิชาการ คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย กลุมผูปฏิบัติงาน ไดแก ประธาน

กรรมการบริหารหลักสูตร กรรมการบริหารหลักสูตร อาจารยผูสอน อาจารยพิเศษ เจาหนาที่ประจํา

โครงการ และกลุมผูมีสวนไดสวนเสีย ไดแก นักศึกษา บัณฑิตและผูใชบัณฑิต การสังเกตการณแบบไมมี

สวนรวม และการวิเคราะหเอกสารท่ีเก่ียวของ อาทิ พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547

พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 เกณฑมาตรฐานการจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.

2548 ระเบียบการจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา รายงานประจําป รายงานการประชุม และผลงานวิจัย

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 62

ที่เก่ียวของกับการจัดการศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ

ในพระบรมราชูปถัมภ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปนตน การวิเคราะหขอมูลใชการวิเคราะหเน้ือหา

(Content analysis) นําเสนอดวยความเรียงเชิงพรรณนา

ผลการศึกษา

1. สภาพปจจุบันของการจัดการศึกษาระดับดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตรใน

มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ และมหาวิทยาลัย

ราชภัฏสวนสุนันทา จากการวิเคราะหลักษณะสําคัญของการจัดการศึกษา พบวา สภาพปจจุบันของการจัด

การศึกษาระดับดุษฎีบัณฑิตสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตรในมหาวิทยาลัยราชภัฏเปนไปในทิศทางเดียวกัน

คือ การจัดต้ังโครงการพิเศษขึ้นมาดูแลรับผิดชอบการจัดการศึกษา มีคณะกรรมการบริหารเปนหนวยงานใน

กํากับของมหาวิทยาลัยฯ มีความเปนอิสระ บริหารจัดการรายได และจัดการระบบการจัดการศึกษาดวย

ตนเอง เปาหมายหลักเพื่อหารายได แนวคิดในการเสริมสรางขีดความสามารถในการแสวงหารายไดของ

สถาบันอุดมศึกษาเกิดขึ้นจากกระแสความตองการสงเสริมความสามารถในการพึ่งตนเองทางการเงินของ

สถาบันอุดมศึกษากับความเปนสถาบันของสังคมประกอบกับนโยบายเรงดวนของรัฐบาลในการแกไขวิกฤติ

เศรษฐกิจ (ขอ 1.1.7) ดวยการระดมทุนเพื่อรักษาระดับมาตรฐานการศึกษาของตนเองใหไดเสียกอน

โดยเฉพาะการลงทุนเพื่อยกระดับคุณภาพอุดมศึกษาทั้งระบบ (สํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี, 2551, หนา 6)

สําหรับความจําเปนของมหาวิทยาลัยราชภัฏในการจัดหารายไดดวยตนเอง นอกเหนือไปจากเงิน

รายไดที่ไดรับความสนับสนุนจากงบประมาณแผนดินของรัฐบาล ในสภาวะปจจุบันเหตุผลของความจําเปน

ดังกลาวไมใชเพียงเพราะการท่ีมหาวิทยาลัยราชภัฏมีขอจํากัดในการไดรับการสนับสนุนจากงบประมาณ

แผนดิน แตยังมีเหตุผลมาจากการท่ีรายไดที่มหาวิทยาลัยจัดหาไดดวยตนเองดังกลาวน้ีเปน“รายไดพิเศษ”

ซึ่งมหาวิทยาลัยราชภัฏแตละแหงสามารถจัดเก็บไวไดเองตามกฎหมายพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัย

ราชภัฏ พ.ศ. 2547 ตราขึ้นตามมาตรา 36 แหงพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติพ.ศ. 2542 ซึ่งบัญญัติ

ใหสถานศึกษาของรัฐจัดการศึกษาระดับปริญญาเปนนิติบุคคลและอาจจัดเปนสวนราชการหรือเปน

หนวยงานในกํากับของรัฐดําเนินการโดยอิสระ สามารถพัฒนาระบบบริหารและการจัดการท่ีเปนของตนเอง

มีความคลองตัว มีเสรีภาพทางวิชาการและอยูภายใตการกํากับดูแลของสถานศึกษาตามกฎหมายวาดวย

การจัดต้ังสถานศึกษาน้ัน ๆ มีอํานาจในการปกครองดูแล รักษาใช และจัดหาผลประโยชนทั้งหมด ทําให

สรุปไดวา มหาวิทยาลัยราชภัฏอยูภายใตการกํากับดูแลของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา จัดเปน

สถาบัน อุดมศึกษาที่เปนสวนราชการ โดยมีสถานภาพเปนนิติบุคคล สามารถบริหารจัดการรายไดภายใต

ระเบียบขอบังคับของมหาวิทยาลัยอยางอิสระ นอกจากนั้น รายไดสวนนี้ยังมีความสําคัญอยางย่ิงในการ

ผลักดันใหสามารถมีการดําเนินการตามนโยบายและบริหารงานตามความจําเปนของมหาวิทยาลัยแตละแหง

เพื่อใหสามารถรักษาความเปนอิสระของมหาวิทยาลัยราชภัฏแตละแหงเอาไว “โครงการภาคพิเศษ” จึงเปน

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

63

การจัดหลักสูตรที่นอกเหนือจากหลักสูตรการจัดการเรียนการสอนปกติที่มหาวิทยาลัยดําเนินการอยูตาม

แผนการจัดการศึกษาและไดรับการสนับสนุนงบประมาณแผนดินจากภาครัฐ ความแตกตางนี้มีผลทําให

โครงการพิเศษจะตองแบกรับคาใชจายที่เกิดจากการเปดโครงการเอง ซึ่งก็หมายความวา ผูสมัครเขาศึกษา

ในโครงการเหลาน้ีจะตองรับภาระคาใชจายที่สูงกวาการเขาศึกษาในโครงการปกติมาก และบุคลากรท่ี

ปฏิบัติงานในดานการสอนหรือใหบริการที่จะบริหารงานโครงการพิเศษเหลาน้ีก็จะไดรับคาตอบแทนเพิ่มขึ้น

เปนพิเศษจากการปฏิบัติงานในโครงการพิเศษเหลานี้ดวย

การจัดการศึกษาระดับดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตรในมหาวิทยาลัยราชภัฏจึงเปน

แนวทางการดําเนินการจัดการศึกษาในลักษณะโครงการพิเศษ ซึ่งเมื่อพิจารณาลักษณะสําคัญในการจัด

การศึกษา ควบคูไปกับปรัชญาการจัดการศึกษาระดับปริญญาเอก พบวา มีความขัดแยงกันอยางมาก

เพราะปรัชญาของการเรียนการสอนในระดับปริญญาเอก ในเบ้ืองตนการผลิตผูจบปริญญาเอกมุงสราง

บุคคลที่จะไปเปนอาจารยสอนในระดับมหาวิทยาลัย ซึ่งภาระหนาที่ของอาจารยมหาวิทยาลัยนั้นนอกจาก

จะทําการสอนแลวก็ตองทําการวิจัยและใหบริการถายทอดความรูเพื่อเปนบริการแกสังคมอีกดวย ดังน้ัน

ผูจบปริญญาเอกจึงจําเปนตองมีพื้นฐานทางวิชาการที่แข็งแกรงสามารถทําการวิจัยเพื่อสรางองคความรู

ใหมและนําเอาความรูมาถายทอดใหแกสังคมได วัตถุประสงคของหลักสูตรปริญญาเอกจึงมุงเนนการเรียน

การสอนการวิจัยเปนหลัก (จําเนียร จวงตระกูล, 2550, หนา138) ดังนั้น ระบบการเรียน นักศึกษา

จึงจําเปนตองมีเวลาทุมเทใหกับการศึกษา ในตางประเทศจะมีการรับผูเขาเรียนจํานวนไมเกิน 10 คน แต

มหาวิทยาลัยราชภัฏมีการรับนักศึกษาเขาครั้งละ 30 -70 คน ทั้งนี้ เปนโครงการจัดการศึกษาแบบโครงการ

ภาคพิเศษ ถาจํานวนนักศึกษาไมมากพอก็จะขาดทุนเพราะโครงการตองดูแลคาใชจายเอง ซึ่งตางจาก

ตางประเทศท่ีภาครัฐใหการสนับสนุน

จากสภาพปจจุบันของการจัดการศึกษาระดับดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตรใน

มหาวิทยาลัยราชภัฏท้ัง 3 แหงท่ีเปนกรณีศึกษาสามารถอภิปรายผลลักษณะสําคัญในการจัดการศึกษา

รวมกันไดวา การจัดโครงการภาคพิเศษ เปนการจัดโครงการท่ีมีความเปนอิสระ คลองตัว ทั้งดานการบริหาร

บุคลากร การบริหารงบประมาณ และบริหารงานการจัดการศึกษา แตเปาหมายในการหารายได ทําใหการ

ควบคุมมาตรฐานการจัดการศึกษาใหมีคุณภาพเปนที่ยอมรับของสังคมยอมเกิดขึ้นไดยาก เพราะรูปแบบใน

การจัดการศึกษาก็ขัดกับแนวคิดการจัดการศึกษาระดับปริญญาเอกที่มุงเนนการผลิตคนออกไปเปน

อาจารย เปนการผลิตจํานวนนอย ระบบการจัดการศึกษาจําเปนที่อาจารยจะตองดูแลใกลชิดกับนักศึกษา

เพื่อฝกใหเปนผูมีความรู มีความสามารถเปนท่ียอมรับของแวดวงวิชาการทางดานรัฐประศาสนศาสตร มิใช

เพียงเพื่อหารายไดเขามาชวยเหลือบุคลากร หรือสนับสนุนการพัฒนามหาวิทยาลัยเชนท่ีมหาวิทยาลัยราชภัฏ

หลายแหงกําลังกระทําอยู ซึ่งจําเปนท่ีจะตองเปลี่ยนแปลงระบบตอไปเพื่อยกระดับคุณภาพการจัด

การศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏ

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 64

2. ปจจัยที่เก่ียวของกับการจัดการศึกษาระดับดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตรใน

มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ มหาวิทยาลัยราชภัฏ

สวนสุนันทาที่สงผลกระทบตอคุณภาพการจัดการศึกษา ผลการศึกษาพบวา ปจจัยที่สงผลกระทบตอ

คุณภาพการจัดการศึกษามากที่สุด คือ ปจจัยดานอาจารย นักศึกษา หลักสูตรและกระบวนการจัด

การศึกษา ดังรายละเอียดตอไปนี ้

2.1 อาจารย จากการศึกษาคุณสมบัติของอาจารยพบวา อาจารยประจําหลักสูตรที่เปน

ผูรับผิดชอบโดยตรงนั้นมีคุณวุฒิทางดานรัฐประศาสนศาสตรนอยเกินไป บางแหงไมมีเลย ดังนั้น เมื่อทาง

มหาวิทยาลัยเปดสอนระดับปริญญาเอกไมวาจะเปนแบบใดก็ตาม อาจารยจะเปนบุคคลที่มีความสําคัญ

เหมือนดังที่ Ashworth and Harvey (1993) กลาวถึง องคประกอบของการจัดศึกษาวา คุณภาพอาจารยมี

ความสําคัญตอคุณภาพการศึกษา โดยดูไดจากจํานวนอาจารยที่มีความเชี่ยวชาญในสาขาอาชีพ

ประสบการณดานวิชาการ ดานวิชาชีพและดานการสอน อาจารยประจําหลักสูตรที่เปนผูรับผิดชอบโดยตรง

นั้นไมมีคุณวุฒิทางดานรัฐประศาสนศาสตร รวมถึงคณะกรรมการบริหารหลักสูตรก็มิไดจบรัฐประศาสนศาสตร

แตอยางใด ดังน้ัน การจัดการศึกษา ทําการสอน การควบคุมดุษฎีนิพนธจึงไมเหมาะสม เพราะการเรียน

ระดับปริญญาเอกเปนการศึกษาชั้นสูงท่ีตองการความรูที่แตกฉาน ลึกซึ้ง เพื่อการนําไปสรางองคความรูใหม

ดังนั้น การที่อาจารยจบไมตรงสาขาวิชามาดูแล จัดการสอน ก็จะเกิดผลเสียหายตอวงวิชาการ ดังที่ อุทัย

เลาหวิเชียร(2551) กลาวถึง คุณภาพของผูสอนวาไมใชไปเอาผูท่ีจบปริญญาเอกสาขาอ่ืนมาสอน ซึ่งจะไมลึก

และไมสามารถเชื่อมโยงไปสาขาอ่ืน ๆของรัฐประศาสนศาสตรได อีกท้ังจะเปนปญหาเมื่อไปเปนอาจารย

ที่ปรึกษาดุษฎีนิพนธ บอยครั้งมีการเขียนดุษฎีนิพนธจนเสร็จ แตไมมีตัวแปรทางการบริหาร หรือไมใชเร่ือง

ของรัฐประศาสนศาสตร เพราะอาจารยท่ีปรึกษาดุษฎีนิพนธมีความรูทางรัฐประศาสนศาสตรนอยมาก

หรือไมมีเลย เนื่องจากสําเร็จปริญญาดานอ่ืน ๆ มา โดยเฉพาะบางทานสําเร็จปริญญาที่หางไกลจาก

รัฐประศาสนศาสตรแตอาศัยการรูจักเทคนิคการวิจัยก็จะมาคุมดุษฎีนิพนธในสาขาที่ตนไมไดศึกษามา การ

วิจัยในลักษณะน้ี เปนการวิจัยท่ีปราศจากทฤษฎี ดวยเหตุนี้ การจัดการศึกษาระดับดุษฎีบัณฑิตทาง

รัฐประศาสนศาสตรของมหาวิทยาลัยราชภัฏจึงมีอาจารยเปนปจจัยสําคัญที่เก่ียวของกับการจัดการศึกษา

ดังนั้น การที่มหาวิทยาลัยราชภัฏ มีอาจารยท่ีมีความรู ความสามารถ จบการศึกษาไมตรง

สาขาวิชาท่ีเปดสอน ก็จะเปนปจจัยที่เขาไปมีสวนทําใหการจัดการศึกษามีคุณภาพลดลงได เพราะแนวทาง

การสอน การชี้แนะองคความรูใหกับผูเรียนจะไมสามารถถายทอดไดอยางถึงแกนแทของวิชาไดเทากับผูท่ี

เรียนมาโดยตรง แมวาจะมีการเชิญอาจารยพิเศษมาชวยเสริมขอบกพรอง แตอาจารยพิเศษสวนใหญที่เชิญ

มาหากจบไมตรงทางดานรัฐประศาสนศาสตร ก็มิไดเปนการเสริมความรูใหลึกซึ้งแตอยางใด เพียงแต

นักศึกษาจะไดในภาพกวางเทาน้ัน ซึ่งเปนอีกปจจัยหนึ่งที่สงผลกระทบตอการจัดการศึกษา โดยเฉพาะ

คุณภาพการจัดการศึกษาเชนกัน

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

65

2.2 นักศึกษา ผลจากการศึกษาพบวา นักศึกษาเปนอีกหนึ่งปจจัยท่ีเก่ียวของกับการจัดการศึกษา

ดวยคุณสมบัติของนักศึกษาท่ีเขามาจํานวนหนี่งมิไดจบตรงสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร ทําใหการจัด

การศึกษาเพื่อใหผูเรียนไดรับความรู ความเขาใจเหมือนกันจึงเปนเรื่องยาก ประกอบกับจํานวนการรับ

ที่มากทําใหการควบคุม ดูแลทําไดลําบาก นักศึกษาสวนหนึ่งขาดความเขาใจในการเรียนเพราะมีพื้นฐาน

ไมเพียงพอ จึงเลิกเรียนไปก็มี ปญหาท่ีพบในการวิจัย คือ นักศึกษาหลายคนยังไมมีความเขาใจวาหลักสูตร

การศึกษาแบบ 1 เนนการวิจัย(By Research) และแบบ 2 เรียนรายวิชาควบคูการวิจัย (By Course work)

ความแตกตางกันอยูตรงไหน การเลือกเรียนแบบ 1 คือ เนนการวิจัยน้ัน ผูเรียนควรมีคุณสมบัติเบ้ืองตน

อยางไร และตองปฏิบัติตนอยางไร ความเขาใจผิดในเบ้ืองตนวาการเรียนวิจัยอยางเดียวในระดับปริญญา

เอกก็คือ พอไดรับการคัดเลือกเขาศึกษา ก็สามารถทําดุษฎีนิพนธไดทันที ซึ่งเปนความเขาใจที่ผิดพลาด

อยางมาก เพราะในการจัดการศึกษาแบบเนนการวิจัย ( research degree) พัด ลวางกูร (2551) อธิบายวา

เปนการเรียนที่ผูเรียนใชเวลาสวนใหญศึกษาหาความรูและคนควาวิจัยดวยตนเอง ไมมีรูปแบบตายตัว

การวัดผลสัมฤทธิ์อยูที่ดุษฎีนิพนธในระดับปริญญาเอก นักศึกษาจะสําเร็จการศึกษาก็ตอเมื่อไดเขียนดุษฎี

นิพนธสําเร็จอยางมีคุณภาพ และตองสอบดุษฎีนิพนธผานดวย จุดสําคัญของการศึกษาคือ กระบวนการ

และขั้นตอนการเรียนของนักศึกษาท่ีตองเริ่มคิดหัวของานวิจัย ต้ังคําถามและหาวิธีตอบคําถามดวยตนเอง

ผูเรียนจําเปนตองมีความรูในการทําวิจัยเปนพื้นฐาน

ขณะเดียวกัน ผลการวิจัย พบอีกวา นักศึกษาสวนใหญที่เขามาเรียนในมหาวิทยาลัยราชภัฏยังไม

เขาใจวาการเรียนปริญญาเอกนั้นมีเปาหมายเพื่ออะไร คุณภาพของการจัดศึกษาอยูตรงไหน สวนใหญ

ยังคงมองวา หลักสูตรไดรับการรับรองจากหนวยงานทางดานการประกันคุณภาพของสถานศึกษาไทย เชน

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาก็ถือไดวา มหาวิทยาลัยแหงนั้นมีคุณภาพ หรือการมีอาจารยท่ีมี

ชื่อเสียงมาสอนก็เพียงพอ แตไมเคยถามวาอาจารยท่ีมาสอนนั้นจบตรงสาขารัฐประศาสนศาสตรหรือไม

ในขณะเดียวกันนักศึกษาหลายคนไมไดมีการศึกษารายละเอียดการเรียนมากอน ยังไมมีความชัดเจนใน

การเขามาศึกษา ไมรูวาสิ่งที่เรียนเปนการเรียนระดับปริญญาเอกในรูปแบบใด การศึกษาแบบเนนการทํา

วิจัย คืออะไร หลายคนเขาใจวา ไมตองเรียนอะไร ทําวิจัยแลวจบก็มี ตนเองจะตองเรียนอะไรบางก็ยังไม

ทราบ รวมถึงทัศนคติเปนกระแสนิยมในเรื่องความตองการเพิ่มวุฒิการศึกษา ตองการมีคําวา ด็อกเตอร

นําหนาชื่อเทาน้ัน แตมิไดนําไปใชในการพัฒนาแตอยางใด สิ่งเหลาน้ีก็เปนภาพสะทอนคุณภาพของตัว

นักศึกษา ซึ่งจารุวรรณ ประทุมศรี (2547) กลาววา ดัชนีบงชี้คุณภาพการศึกษา คือ ภูมิหลังของนักศึกษา

ผลสัมฤทธิ์การเรียนของนักศึกษา อัตราการลาออกของนักศึกษาและเจตคติของนักศึกษา เปนตน สิ่งเหลาน้ี

เกิดขึ้นเน่ืองจากระบบการคัดเลือกท่ีไมไดมาตรฐาน ดังน้ัน นักศึกษาจึงเปนอีกปจจัยหนึ่งที่มีความเก่ียวของ

กับการจัดการศึกษาระดับดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตรในมหาวิทยาลัยราชภัฏ ที่มีผลกระทบตอ

คุณภาพการจัดการศึกษา

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 66

2.3 หลักสูตร ในการจัดทําหลักสูตรผูสรางหลักสูตรควรมีความรูความเขาใจในศาสตรหรือ

สาขาวิชาน้ันอยางแตกฉาน และควรมีทีมงานท่ีเขาใจหลักสูตรการสอนดวยเพื่อที่จะไดมีการวิเคราะหความ

เหมาะสมในการจัดรายวิชา หรือแนวทางกระบวนการจัดการเรียนการสอน เพื่อเปนแนวทางในการสราง

คุณสมบัติที่เหมาะสมของผูเรียน การที่ไดหลักสูตรมาจากคนเพียงคนเดียว หรือสองสามคนชวยกัน หรือ

ผูสรางหลักสูตรจบสาขาวิชาอ่ืนที่ไมตรงกับสาขาวิชาที่ทําหลักสูตร อาศัยเพียงเพราะมีประสบการณนั้นคง

ไมเพียงพอ การทําหลักสูตรนั้นก็มีขั้นตอนกระบวนการตองคํานึงถึง ดังท่ีอดุลย วิริยะเวชกุล (2541)

กลาวถึง คุณภาพบัณฑิตศึกษาวา สวนหนึ่งมาจากกระบวนการในการจัดทําวัตถุประสงคการศึกษา

การจัดทําหลักสูตร โครงสรางหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน การทําวิจัยเพื่อวิทยานิพนธ การควบคุม

และการสอบวิทยานิพนธ เปนตน ดังนั้น หลักสูตรจึงเปนอีกปจจัยหนึ่งที่มีผลกระทบตอการจัดการศึกษา

รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิตของมหาวิทยาลัยราชภัฏ ซึ่งมีอยู 2 แบบ คือแบบ 1 เนนการทําวิจัย

การเรียนการสอนแบบเนนการทําวิจัย (Research degree) น้ีเปนการเรียนการสอนท่ีแพรหลายในสหราช

อาณาจักร สวนแบบ 2 เปนการเรียนรายวิชา(by course works) ควบคูไปกับการทําวิจัย (Academic

degree) และเมื่อศึกษาในรายละเอียดจะพบวา หลักสูตรทั้งสองแบบมีความแตกตางกัน ถาเปนการจัด

การศึกษาดวยแบบ 1 การจัดการเรียนรายวิชาตางๆ เสริมใหนักศึกษาก็นับวามีความเหมาะสมในระดับหนึ่ง

ที่จะพัฒนาความรูพื้นฐานกอนลงมือทําดุษฎีนิพนธ สวนแบบ 2 เปนการเรียนรายวิชาควบคูการทําวิจัย จะ

พบวาในหลักสูตรมีการกําหนดรายวิชาหลักทางรัฐประศาสนศาสตร นอยเกินไป และไมมีการจําแนก

วิชาเอกเพื่อสรางความถนัดเฉพาะทางใหกับนักศึกษา ความเขมขนทางวิชาการจึงมีนอยเกินไป ซึ่งเมื่อ

เปรียบเทียบกับมหาวิทยาลัยในตางประเทศ เชน Syracuse University หรือ Kansas University การเรียน

Ph.D. Public Administration นั้นจะตองเรียนรายวิชา MPA core course ตอไปน้ีกอนจึงจะเรียนรายวิชา

ระดับปริญญาเอกได คือ Public Policy, Human Resource Management, Public Financial Systems,

Intro to Quantitative Methods, Budget & Policy Analysis, Role & Context of PA ,Law and Public

Mgmt และ Organizational Analysis (KU Department of Public Administration, 2010) ดังน้ันจะเห็น

ไดวา การทําหลักสูตรใหไดมาตรฐานจะเปนปจจัยหนึ่งที่เก่ียวของกับการจัดการศึกษาใหไดคุณภาพ ซึ่ง

หลักสูตรที่กลาวมาทั้ง 2 แบบยังขาดการสรางเสริมองคความรูทั้งดาน รัฐประศาสนศาสตร และดานการ

วิจัยเปนอยางมาก โดยเฉพาะวิธีวิจัย การเรียนเพียง 1 รายวิชาก็ยังไมเพียงพอที่จะทําใหผูเรียนมีความ

พรอมในการทําวิจัยได

2.4 กระบวนการจัดการศึกษา เปนการดําเนินการจัดการศึกษาตามแผนการจัดการศึกษาที่ทาง

โครงการฯไดกําหนด ซึ่ง จรวยพร ธรณินทร (2539) กลาววา กระบวนการจัดการศึกษา คือ การจัดการเรียน

การสอนที่สอดคลองความตองการของผูเรียน มีการประเมินผลความกาวหนาของการจัดการเรียนการสอน

ใหสอดคลองกับการพัฒนาของผูเรียน ผูสอนมีความรู ความสามารถและทุมเทการทํางานโดยมี

จรรยาบรรณวิชาชีพ จัดกิจกรรมเสริมสําหรับผูเรียน สําหรับการเรียนระดับปริญญาเอกหัวใจสําคัญของ

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

67

กระบวนการจัดการศึกษาอยูที่การสอบวัดคุณสมบัติ และการทําดุษฎีนิพนธ ซึ่งผลการวิจัยพบวา การ

ดําเนินงานของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรดุษฎีบัณฑิตสาขาการบริหารการพัฒนาก็ขาดความชัดเจนใน

กระบวนการ ขั้นตอนตาง ๆ การกําหนดใหการเสนอหัวขอผานเทากับเปนการสอบผานการวัดคุณสมบัติน้ัน

จะสามารถใชทดแทนกันไดเพียงใด ดวยเปาหมายการสอบวัดคุณสมบัติเปนทดสอบ พื้นฐานความรู ความ

พรอมของผูเรียนกอนเขาสูกระบวนการทําดุษฎีนิพนธ แตหากการใชการเขียนขอเสนอมาทดแทนได

ในขณะที่กระบวนการจัดการศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ซึ่งเปนการสอนตามหลักสูตรแบบ

เนนการเรียนรายวิชาควบคูกับการทําวิจัยชั้นสูง และมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรม

ราชูปถัมภ ที่มุงเนนการวิจัยเปนหลัก แตมีการจัดรายวิชาบรรยายเพิ่มเติม ซึ่งรายวิชาสวนใหญเปนรายวิชา

การสัมมนา ทําใหมหาวิทยาลัยราชภัฏทั้งสองแหงน้ีมีกระบวนการจัดการศึกษาไมแตกตางกัน ทั้งที่ลักษณะ

โครงสรางของหลักสูตรตางกัน ทําใหเห็นไดวาผูดําเนินการขาดความเขาใจและความชัดเจนในองคความรู

ทางดานรัฐประศาสนศาสตร ขณะเดียวกันกระบวนการประเมินผลการเรียนรูดวยระบบการประเมินจาก

การทํางานเปนกลุมจึงสงผลกระทบตอการประเมินความรูเปนรายบุคคล ทําใหยากที่จะทราบถึงระดับ

ความรูของผูเรียนแตละคน แตอยางไรก็ตามกระบวนการจัดการศึกษาระดับดุษฎีบัณฑิตมีขั้นตอนที่สําคัญ

คือ การสอบวัดคุณสมบัติ และการทําดุษฎีนิพนธ ซึ่งขั้นตอนการสอบวัดคุณสมบัติก็ยังขาดความชัดเจน

นักศึกษาหลายคนไมไดใหความสําคัญมากนักกับกระบวนการสอบ สวนใหญกระทําเหมือนเปนการสอบ

ธรรมดา ซึ่งการสอบวัดคุณสมบัติเปนขั้นตอนวัดความพรอมของผูเรียนกอนที่จะกาวไปสูการทําดุษฎีนิพนธ

โดยปกติจะมีทั้งการสอบขอเขียนพิสดารและการสอบปากเปลา ดังน้ันเมื่อกระบวนการจัดการศึกษาขาด

ความชัดเจน ก็ยอมสงผลกระทบตอการจัดการศึกษาและคุณภาพของบัณฑิต

นอกจากปจจัยดานอาจารย นักศึกษา หลักสูตร และกระบวนการจัดการศึกษาแลว ยังพบวา

ปจจัยในสวนของทรัพยากรสนับสนุนการจัดการศึกษาโดยเฉพาะเรื่องคาใชจายในการศึกษาก็เปนอีกปจจัย

หน่ึงที่ทําใหนักศึกษาสนใจมาเรียนท่ีมหาวิทยาลัยราชภัฏ เนื่องจากคาเลาเรียนถูกกวาอีกหลายสถาบัน

นอกจากนี้ จากการศึกษาพบวา ปจจัยอื่น ๆ ที่เปนปญหาและอุปสรรคตอการจัดการศึกษา

ระดับดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร ในมหาวิทยาลัยราชภัฏ ที่มีผลกระทบตอคุณภาพ

การจัดการศึกษา ดังน้ี

1. ปญหาดานการสนับสนุนงบประมาณจากภาครัฐ พบวา มหาวิทยาลัยราชภัฏไดงบอุดหนุนท่ี

นอยมากเมื ่อเทียบกับมหาวิทยาลัยที่มีชื ่อเสียง ขณะที ่ตองแบกรับภาระในการจัดการศึกษาใหกับ

นักศึกษาจํานวนมาก ซึ ่งกลาวไวแลววา งบประมาณ ป 2552 มหาวิทยาลัยราชภัฏทั้ง 40 แหง ได

งบประมาณอยู ระหวางแหงละ 200 - 300 ลานบาท ในขณะที่มหาวิทยาลัยของรัฐเ ดิม เชน

มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยเชียงใหม มหาวิทยาลัยขอนแกน หรือ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

ไดงบประมาณปละกวาพันลานบาทและรับนักศึกษาแบบจํากัดได

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 68

2. ปญหาดานเงินเดือน คาตอบแทน และสวัสดิการที่ตํ่า เมื่อเทียบกับนานาประเทศ พบวา

คาตอบแทนของอาจารยในมหาวิทยาลัยสําหรับผูที ่มีวุฒิการศึกษาระดับปริญญาเอก จะอยูระหวาง

12,000 - 18,000 บาท ตอเดือน ซึ ่งถาเทียบกับคาใชจายในปจจุบันนับวา ยังตํ่าอยูมาก ปญหานี้

กลายเปนสวนหนึ่งที่ทําใหบุคลากรที่มีความรู ความสามารถยายไปทํางานกับมหาวิทยาลัยตางประเทศ

หรือ มหาวิทยาลัยเอกชน ซึ ่งสามารถใหคาตอบแทนไดสูงกวา ทําใหไมสามารถรักษาคนเกง ๆไวได

มหาวิทยาลัยสวนใหญจึงแกปญหาโดยการเปดสอนโครงการภาคพิเศษ ซึ่งเปนโครงการจัดการศึกษาที่มี

รายไดสามารถเลี้ยงตนเองได และเพื่อเปนการสรางรายไดเสริมใหกับบุคลากร โดยเฉพาะอาจารยใน

มหาวิทยาลัย ซึ่งมหาวิทยาลัยราชภัฏก็ประสบปญหาคอนขางมากเชนกัน

3. ปญหาดานนโยบายของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนใหญที่มีการกําหนดภาระงานของอาจารยไว

สูงมาก โดยจะตองสอนปริญญาตรีไมนอยกวา 12 คาบตอสัปดาห บางแหง15-18 คาบตอสัปดาห กรณี

สอนปริญญาเอกก็ตองรับผิดชอบสอนปริญญาตรี ปริญญาโท ดวย อยางนอย 3 คาบตอสัปดาห และยังมี

การกําหนดภาระงานอ่ืน ๆ อีก ซึ่งตามเกณฑของ กพอ. จะกําหนดใหอาจารยตองมีภาระงานประมาณ 35

คาบตอสัปดาห จึงทําใหอาจารยไมมีเวลาท่ีจะพัฒนาตนเอง หรือทําวิจัยพัฒนาองคความรูใหม ๆ ใหกับ

วงการวิชาการได

4. ปญหาดานคานิยมของสังคมท่ีนิยมชมชอบผูมีวุฒิการศึกษาสูง พบวานักศึกษาภาคพิเศษที่

เขามาเรียนสวนหนึ่งจะเปนบุคคลท่ีมียศ มีตําแหนง สวนใหญเปนขาราชการ ซึ่งเขามาศึกษาในระดับ

ปริญญาเอกเพียงเพราะตองการปริญญาไปเพิ่มตําแหนงทางสังคม เทานั้น แตไมไดนําความรูไปใช

ประโยชนจึงกลายเปนปญหาของการจัดการศึกษาที่ตองสูญเปลา เพราะหลายคนเรียนจบแลวก็ไมได

นําไปใชประโยชน นอกจากจะเปนเครื่องประดับหนาชื่ออยางหนึ่งเทานั้น โดยเฉพาะการจัดการศึกษาระดับ

ปริญญาเอกที่มีแนวทางการจัดการศึกษาเพื่อมุงสรางคนออกไปเปนอาจารย เปนนักวิจัย เพื่อจะได

กอใหเกิดประโยชนตอประเทศชาติ แตปญหากระแสนิยมทางสังคมท่ีเปนผลมาจากระบบทุนนิยมกําลัง

ทําลายระบบการจัดการศึกษา โดยเฉพาะการจัดการศึกษาระดับปริญญาเอกที่กําลังเพิ่มปริมาณมากขึ้นทุกที

ขอเสนอแนะ

จากผลการวิจัยการจัดการศึกษาระดับดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร ในมหาวิทยาลัย

ราชภัฏ ผูวิจัยมีขอเสนอแนะ ดังนี้

ขอเสนอแนะสําหรับมหาวิทยาลัยราชภัฏ

1. การเปดสอนระดับปริญญาเอกควรเปดในสาขาที่เปนอัตลักษณ หรือสาขาวิชาที่เปนเอกลักษณ

ที่เดนของมหาวิทยาลัยราชภัฏแตละแหง เพราะสาขาวิชาน้ัน ๆทางมหาวิทยาลัยจะมีความพรอมในดาน

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

69

บุคลากร และมีความถนัดเชี่ยวชาญมากกวา ซึ่งจะทําใหมีความเขาใจลึกซึ้ง และมีคุณภาพมากกวาการ

ขามไปสาขาอ่ืน

2. กรณีตองการเปดสอนระดับดุษฎีบัณฑิต ตองมีการเตรียมความพรอมทางดาน 1) อาจารย

ประจําสาขาวิชาท่ีมีวุฒิการศึกษาจบตรง มีความรู ความสามารถ มีผลงานการวิจัย หรือผลงานวิชาการเปน

ที่ยอมรับในวงวิชาการใหพรอมกอนโดยเฉพาะการพัฒนาบุคลากรภายในหนวยงาน 2) การคัดเลือก

นักศึกษาเพื่อผลิตนักศึกษาท่ีมีคุณภาพ 3) การจัดทําหลักสูตร และ 4)ระบบควบคุมกระบวนการจัด

การศึกษา

3. ในการจัดการศึกษาระดับปริญญาเอก ทางมหาวิทยาลัยควรพรอมรับความเสี่ยงในการ

ดําเนินงานที่จะขาดทุนในดานการลงทุน เพื่อจะไดรับนักศึกษาอยางจํากัด และจะทําใหสามารถควบคุม

คุณภาพการจัดการศึกษาได ซึ่งการจัดการศึกษาระดับปริญญาเอกไมควรเปนหลักสูตรที่จะนํามาหารายได

ดังเชนแนวทางการดําเนินงานในปจจุบันเพราะจะทําใหเกิดผลกระทบดานคุณภาพของการจัดการศึกษา

ของไทย ผูบริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏควรใหความสําคัญและตระหนักถึงคุณภาพการจัดการศึกษา

โดยเฉพาะการจัดการศึกษาในระดับปริญญาเอก ซึ่งมุงสรางบุคลากรออกไปพัฒนาประเทศ ทั้งในแบบของ

นักบริหารและหลายคนจบแลวก็ออกไปเปนอาจารย ดังนั้นการจัดการศึกษาแบบโครงการภาคพิเศษ หาก

จําเปนตองจัดการเรียนการสอน ก็ควรมีมาตรการในการควบคุมคุณภาพ โดยเฉพาะการคัดเลือกบุคคลท่ีมี

ความรู เปนผูเชี่ยวชาญ มีความสามารถในศาสตรแขนงน้ัน ๆ ใหเขามาเปนผูดูแลการจัดการศึกษาโดยตรง

ขอเสนอแนะเพื่อการศึกษา

1. ควรมีการศึกษาเปรียบเทียบคุณภาพการจัดการศึกษาระดับดุษฎีบัณฑิต สาขารัฐประศาสนศาสตร

ระหวางมหาวิทยาลัยราชภัฏกับมหาวิทยาลัยของรัฐและเอกชน ในประเทศไทย

2. ควรมีการศึกษาวิจัยและประเมินผลการจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชา

รัฐประศาสนศาสตรในมหาวิทยาลัยราชภัฏ

บรรณานุกรม

จรวยพร ธรณินทร. (2539). การประกันคุณภาพการศึกษา. วารสารการศึกษาเอกชน, 7, (67), หนา 19-20.

จารุวรรณ ประทุมศรี. (2547). การพัฒนารูปแบบการเพ่ิมคุณภาพการจัดการศึกษาสําหรับสาขาวิชา

การบริหารการศึกษาระดับปริญญามหาบัณฑิตในมหาวิทยาลัยของรัฐ. วิทยานิพนธศึกษา

ศาสตรดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยขอนแกน.

จําเนียร จวงตระกูล. (2550). การศึกษาไทย: คุณภาพกับปริมาณเราจะเลือกทางไหน. กรุงเทพฯ: ศูนย

กฎหมายธุรกิจอินเตอรเนชั่นแนล.

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 70

นงลักษณ วิรัชชัย และสุวิมล วองวาณิช. (2542). การวิเคราะหเปรียบเทียบผลการจัด-อันดับ

มหาวิทยาลัยของประเทศในเอเชีย ป 2540-2542. กรุงเทพฯ: สํานักงานคณะกรรมการวิจัย

แหงชาติ.

พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542. (2542). ราชกิจจานุเบกษา, 116(74ก), 6-34.

พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547. (2547). ราชกิจจานุเบกษา, 121(ตอน-พิเศษ 23ก),

หนา 1-24.

พัด ลวางกูร. (2551). การเรียนการสอนปริญญาเอกรัฐประศาสนศาสตรแบบเนนการทํา-วิจัย. ใน อุทัย

เลาหวิเชียร (บรรณาธิการ), มาตรฐานการเรียนการสอนระดับปริญญาเอก สาขารัฐ

ประศาสนศาสตรในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคําแหง.

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ. (2540). ทฤษฏีการเรียนรูเพ่ือพัฒนากระบวนการคิด.

กรุงเทพฯ: สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ.

สํานักงานเลขาธิการคณะรัฐมนตรี. (2551). คําแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรี นายอภิสิทธิ์

เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี0. คนเมื่อ สิงหาคม 29, 25520, จาก

http://www.cabinet.thaigov.go.th/bb_main31.htm

อดุลย วิริยะเวชกุล. (2541). ดัชนีบงชี้คุณภาพบัณฑิตของสถาบันอุดมศึกษา. กรุงเทพฯ: พี.เอ.ลีฟว่ิง.

อุทัย เลาหวิเชียร (บรรณาธิการ). (2551). มาตรฐานการเรียนการสอนระดับปริญญาเอก สาขารัฐ

ประศาสนศาสตร ในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคําแหง.

Ashworth, A., and Harvey, R. C. (1993). Assessing quality in further and higher education.

London: Jessica Kingsley.

Conrad, C. F., and Blackbum, B. T. (1985). Correlates of departmental quality in regional

colleges and universities. American Education Research Journal, 24, (2), pp. 319-323.

Fairweather, S. S., & Brown, D. F. (1991). Dimension of academic quality. The Review of Higher

Education, 14, (2), pp. 155-176.

KU Department of Public Administration. (2010). PHD summary sheet. Retrieved August, 9,

2010, from http://www.kupa.ku.edu/programs phd/SummarySheet.pdf

Lim, D. (1999). Quality assurance in higher education in developing countries. Assessment and

Evaluation in Higher Education, 24, (4), pp. 379-390.

Miller, R. L. (1979). The assessment of college performance. San Francisco, CA: Jossey-Bass.

Phillips, E. M., and Pugh, D. S. (1994). How to get a Ph.D.: A handbook for students and their

supervisors (2nd ed.). Buckingham: Open University Press.

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

71

ภาพลักษณของสํานกังานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน

ตามการรับรูของบุคลากรภายในสํานักงานนโยบายและ

แผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน

The Image of the Energy Policy and Planning Office, Ministry of

Energy as Perceived by EPPO Staff

ยุวพร ฐิตธรรมศรีสุข

บทคัดยอ

วัตถุประสงคของการวิจัยคือ 1.เพื่อศึกษาภาพลักษณของสํานักงานนโยบาย และแผนพลังงาน

กระทรวงพลังงานตามการรับรูของบุคลากรภายในสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน

2.เพื่อเปรียบเทียบการเปดรับขาวสารเก่ียวกับสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน

จําแนกตามลักษณะประชากร 3.เพื่อเปรียบเทียบการรับรูภาพลักษณของสํานักงานนโยบายและแผน

พลังงาน กระทรวงพลังงาน จําแนกตามลักษณะประชากร 4.เพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางการเปดรับ

ขาวสารเก่ียวกับสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงานกับการรับรูภาพลักษณสํานักงาน

นโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน การศึกษาครั้งนี้ ใชระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณและเก็บขอมูล

โดยใชแบบสอบถามเพื่อเก็บขอมูลจากกลุมตัวอยางซึ่งเปนบุคลากรในสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน

กระทรวงพลังงาน จํานวน 113 คน การประมวลผลขอมูลโดยใชโปรแกรม SPSS for windows เปนการ

วิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ซึ่งมีรูปแบบการวิจัยในเชิงสํารวจ (Survey) โดยใช

แบบสอบถาม (Questionnaire) เปนเครื่องมือในการเก็บขอมูล ผลการวิจัยพบวากลุมตัวอยางสวนใหญ

เปนเพศหญิงมากกวาเพศชาย อายุระหวาง 21-30 ป รายไดอยูต้ังแต 10,000-19,999 บาทตอเดือน

มีการศึกษาอยูในระดับปริญญาตรีและตําแหนงงานเปนขาราชการ มีการเปดรับขาวสารเก่ียวกับสํานักงาน

นโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงานจากสื่อตางๆโดยรวมอยูในระดับปานกลาง มีการเปดรับ

ขาวสารจากสื่ออิเล็กทรอนิกสมากที่สุด มีการรับรูภาพลักษณของสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน

กระทรวงพลังงานดานตาง ๆ โดยรวมอยูในระดับดี มีการรับรูดาน 1 0องคกรและการจัดการ 1 0มากที่สุด ในดาน

การทดสอบสมมติฐานของการวิจัย พบวาบุคลากรท่ีมีลักษณะทางประชากรอันไดแกอายุ รายได และ

ตําแหนงงานแตกตางกันจะมีการเปดรับขาวสารเ ก่ียวกับสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน

กระทรวงพลังงานตางกัน สวนเพศและระดับการศึกษาไมมีผลตอการเปดรับขาวสารเก่ียวกับสํานักงาน

นโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน ไมแตกตางกัน บุคลากรท่ีมีเพศแตกตางกันจะมีการรับรู

ภาพลักษณของสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน ตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 72

สวนอายุ รายได ระดับการศึกษาและตําแหนงงานที่ตางกันไมมีผลตอการรับรูภาพลักษณของสํานักงาน

นโยบาย และแผนพลังงาน กระทรวงพลังงานและการเปดรับขาวสารเก่ียวกับสํานักงานนโยบาย และ

แผนพลังงาน กระทรวงพลังงานไมมีความสัมพันธกับการรับรูภาพลักษณของสํานักงานนโยบายและ

แผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน

คําสําคัญ : ภาพลักษณ สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน

Abstract

The objectives of the study is to 1) investigate the image of the Energy Policy and

Planning Office, Ministry of Energy, under their staff perception 2) compare staff media exposure

classified by their socio-economic characteristics 3) compare the staff perception on images

classified by the socio-economic characteristics 4) study the relationship between staff media

exposure their perception of images of the Energy Policy and Planning Office, Ministry of

Energy. This study used a set of questionnaire to collect the data from 113 officers and used

SPSS for Windows for data processing.

It was found that 1) the majority of staff were female, age between 21-30 years, monthly

income averaged between 10,000 – 19,999 baht, earning bachelor degree 2) the staff were

moderately exposed to EPPO news and information via electronic, interpersonal and special

media, printed materials and activities respectively 3) EPPO images as perceived by the staff

were totally good 4) The EPPO staff with different age, income and position is different in

exposure to information media, but the staff with different gender and education are not different

in EPPO information exposure 5) The staff of EPPO with different gender perceived EPPO

images differently while there is no significant difference in perceived images of the staff with

different age, income and education 6) There is significant no relationship between exposure to

EPPO news and information and perception of EPPO images.

Keywords : The Image Energy Policy and Planning Office, Ministry of Energy

ท่ีมาและความสําคัญของปญหา

ภาพลักษณขององคการ เปนคําท่ีนิยมเรียกกันในแวดวงวิชาการจนเปนที่ยอมรับโดยท่ัวไป

หรืออีกนัยหนึ่งนั้น หมายถึง กิตติศัพทขององคการ (Corporate Reputation) นั่นเอง (Morley, 1998)

ในแวดวงการบริหารจัดการองคการสมัยใหม คําวา ภาพลักษณ ถูกนํามาพิจารณาเปนองคประกอบประการหนึ่ง

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

73

ในการบริหารซึ่งชวยเอ้ือใหองคการดําเนินงานไปไดอยางกาวหนาและมั่นคง โดยเฉพาะอยางย่ิงสําหรับองคการ

ซึ่งมีพันธกิจเก่ียวของกับกลุมประชาชนจํานวนมาก และย่ิงไปกวานั้นในแงของการบริหาร ยังอาจมองไดวา

ภาพลักษณเปรียบเสมือนสินทรัพย (Asset) อันมีคาขององคการรายการหนึ่งซึ่งอาจจะประเมินออกมาเปน

มูลคาทางบัญชีไดเชนกัน

การสร า ง ภ าพ ลักษณภ ายในอง ค การ ถือ เปนจุ ด ต้ั ง ต นที่ สํ า คัญในการสร า ง ศรั ทธ า

ความนาเชื่อถือใหแกองคการ เพราะมีการใชการสื่อสารรูปแบบตางๆเปนเครื่องมือในการเผยแพรขาวสาร

ตางๆที่ไดเกิดหรือกําลังจะเกิดขึ้น ใหบุคลากรทั้งภายในและภายนอกทราบและสามารถตรวจสอบการ

ดําเนินงานขององคการได อาจกลาวไดวา ภาพลักษณที่ดีมาจากการสื่อสารและการประชาสัมพันธท่ีมี

ประสิทธิภาพ ทั้งในสวนของการสื่อสารภายในองคการที่สรางแนวคิด ทัศนคติ คานิยม ความเชื่อถือและ

เชื่อมั่นในองคการของบุคลากรระดับตางๆรวมทั้ง ผูบริหารใหมุงไปในทิศทางเดียวกัน การสื่อสารและการ

ประชาสัมพันธภายในจึงมีความสําคัญตอการสรางภาพลักษณอันดีใหกับองคการ เพราะเปนกิจกรรมที่

กระทํากับหัวใจหลักขององคการนั้นๆ คือบุคลากร ซึ่งเปนกลุมประชากรท่ีมีความสัมพันธใกลชิดและ

รูจักองคการมากท่ีสุด อีกทั้งยังมีสถานะเปนตัวแทนขององคการและเปนชองทางที่มีนัยสําคัญในการสื่อสาร

โตตอบสองทิศทางระหวางองคการกับประชาชนภายนอก

การสํารวจภาพลักษณขององคการ จึงควรเริ่มตนท่ีการศึกษาภาพลักษณที่ปรากฏอยูในใจของ

บุคลากรกอนเปนอันดับแรกเพื่อใหทราบถึงจุดออนจุดแข็งและประเด็นปญหาที่อาจมีผลกระทบตอ

ภาพลักษณองคการในมุมมองของบุคลากร แลวมาทําการวิเคราะห แกไข ปรับปรุงและพัฒนา เพื่อวาง

แผนการสื่อสารและประชาสัมพันธภาพลักษณขององคการออกไปสูประชาชนภายนอก อยางมี

ประสิทธิภาพตอไป (เสรี วงษมณฑา, 2542)

การศึกษาขอมูลจากแหลงตางๆ แลวนํามาวิเคราะหองคการในเบ้ืองตน พบวา สํานักงานนโยบาย

และแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน มีปญหาเก่ียวกับภาพลักษณและการสื่อสารภายในองคการ ดังนี้

ดานผูบริหาร

1. เปนบุคคลที่ขาดการรับฟงความคิดเห็นของผูอ่ืน

2. เปนบุคคลที่เปดโอกาสใหเขาพบไดยาก

ดานบุคลากร

1. บุคลากรคํานึงถึงประโยชนสวนตัวมากกวาสวนรวม

2. บุคลากรยังขาดความรูความสามารถในการแกไขปญหา

3. บุคลากรขาดความมุงมั่นทุมเทใหกับงาน

ดานการดําเนินงานและคุณภาพของงาน

1. ขาดการวิจัยและพัฒนา เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการดําเนินงานและคุณภาพของงาน

2. โครงการตางๆที่ดําเนินงานไมสามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคมไดจริง

3 .ผลการดําเนินงานที่ผานมาไมเปนที่นาพอใจกับฝายตางๆท่ีเก่ียวของ

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 74

ดานการใหบริการ

1. บุคลากรขาดความชํานาญในการถายทอดวิธีการใหบริการท่ีดีแกหนวยงานภายนอก

2. การประเมินผลการใหบริการไมสอดคลองกับมาตรฐานสากล

ดานการประชาสัมพันธ

1. สื่อการประชาสัมพันธ ในการเผยแพรขาวสารขอมูล ยังมีไมหลากหลายเพียงพอ

2. ขาวสารดานการประชาสัมพันธ ยังมีความลาชา ไมทันตอเหตุการณ

3. ขอมูลที่เผยแพรประชาสัมพันธไมมีจุดมุงหมายหรือวัตถุประสงคที่ชัดเจน

สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน (เรียกยอ ๆ วา สนพ.) ในสังกัดของกระทรวงพลังงานเปน

องคการขนาดยอมหนวยงานหนึ่ง ซึ่งมีพันธกิจอันย่ิงใหญ มีหนาท่ีเก่ียวของในการตองรณรงค ประสานงาน

สื่อสารและประชาสัมพันธกับหลาย ๆ หนวยงาน ทั้งในภาคราชการ รัฐวิสาหกิจ ธุรกิจเอกชนและ

ประชาชนในประเทศแทบจะทุกระดับ จึงเปนที่นาสนใจท่ีจะศึกษาการรับรูภาพลักษณขององคการแหงนี้

ตามแนวคิดทฤษฎีและปญหาภายในองคการที่ไดกลาวมาขางตน เพื่อนําขอมูลและผลการวิจัยท่ีไดไปเปน

แนวทางแกผูบริหารและบุคลากรของสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงานเอง ชวยกัน

กําหนดกลยุทธและแผนในการแกไขปญหา รวมทั้งอาจนําไปเปรียบเทียบเปนกรณีศึกษา เพื่อปรับใชเปน

แนวทางในการแกไขการสรางภาพลักษณและปญหาเพื่อใหเกิดภาพลักษณที่ดีแกองคการรวมทั้งหนวยงาน

ราชการอ่ืน ๆ ซึ่งมีโครงสรางพื้นฐานและลักษณะขององคการใกลเคียงกันไดดวย

วัตถุประสงคของการวิจัย

1. เพื่อศึกษาภาพลักษณของ สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงานตามการรับรู

ของบุคลากรภายในสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน

2. เพื่อเปรียบเทียบการเปดรับขาวสารเ ก่ียวกับสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน

กระทรวงพลังงาน จําแนกตามลักษณะทางประชากร

3. เพื่ อ เปรี ยบ เ ทียบ การรับรู ภ าพ ลั กษ ณของ สํ านั กง าน นโยบาย และ แผน พ ลั ง ง า น

กระทรวงพลังงาน จําแนกตามลักษณะทางประชากร

4. เพื่ อ ศึกษาความสัมพันธ ระหว างการ เปดรับข าวสาร เ ก่ียว กับสํ านักงานนโยบาย

และแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน กับการรับรูภาพลักษณของสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน

กระทรวงพลังงาน

สมมติฐานการวิจัย

1. บุคลากรสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงานที่มีลักษณะทางประชากร

แตกตางกันจะมีการเปดรับขาวสารเก่ียวกับสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงานตางกัน

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

75

2. บุคลากรสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงานที่มีลักษณะทางประชากร

แตกตางกันจะมีการรับรูภาพลักษณของสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงานตางกัน

3. การเปดรับขาวสารเ ก่ียวกับสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน

มีความสัมพันธกับการรับรูภาพลักษณของสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน

แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยท่ีเก่ียวของ

งานวิจัยครั้งนี้ไดนําแนวคิดและทฤษฎีมาใชเปนกรอบในการศึกษา ดังตอไปน้ี

แนวคิดเกี่ยวกับภาพลักษณ

พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช 2542 ไดใหความหมายของคําวา“ภาพลักษณ”

ไววา เปนภาพท่ีเกิดจากความนึกคิด การมีทัศนคติที่ดีตอสถาบันองคการ

เสรี วงษมณฑา (2541, หนา 15) ใหความหมายวา ภาพลักษณ คือองคประกอบระหวาง

ขอเท็จจริง (Objective fact) กับประเมินสวนตัว (Personal judgment) ของคนใดคนหนึ่งกลายเปนความ

จริงแหงการรับรู (Perceptual) บุคคลไมใชขอเท็จจริงท่ีปราศจากอคติใดๆ (Factual reality)

พรทิพย พิมลสินธุ (2540, หนา 37) ใหความหมายของภาพลักษณวา คือภาพที่เกิดขึ้นในใจของ

แตละคน ซึ่งบุคคลสามารถสรางจินตนาการเก่ียวกับสถาบันนั้นๆ ได โดยภาพลักษณนั้นเกิดขึ้นจากการได

รับรูไดฟงไดเห็นหรือมีประสบการณมาในอดีต และดวยความประทับใจจึงทําใหบุคคลนั้นสามารถจดจํา

และพัฒนาเปนภาพอยางใดอยางหน่ึงขึ้นมา

ประเภทของภาพลักษณ

พรทิพย พิมลสินธุ (2551, หนา 56-57) ไดจําแนกประเภทของภาพลักษณออกเปน 10 ประเภท ดังนี้

1. ภาพลักษณซอน (Multiple Image) เปนภาพลักษณที่ต้ังมาจากสมมติฐานวาบุคคลในสังคมนั้น

มาจาก “รอยพอพันแม” มาจากแหลงตางๆ มีความรู ความเชื่อ ฐานะทางเศรษฐกิจ สังคม การศึกษาและ

อ่ืนๆ ที่ตางกัน โดยเฉพาะมีความรูและประสบการณตอองคกรตางกันดังนั้นจะหวังวาสมาชิกในสังคมจะมี

ภาพลักษณขององคการใดองคการหนึ่งเหมือนกันจึงเปนไปไมได ย่ิงไปกวานี้ตัวบุคคลหนึ่งก็อาจมี

ภาพลักษณในทางบวก (ตอเรื่องหน่ึง) และภาพลักษณในทางลบ (อีกเรื่องหนึ่ง) ไดเชนกัน

2. ภาพลักษณปจจุบัน (Current Image) เปนภาพลักษณตามความเปนจริง ในปจจุบัน

ซึ่งอาจเปนภาพเชิงลบหรือเชิงบวกก็ได จะเปนภาพลักษณที่เกิดมาโดยธรรมชาติหรือโดยเจตนาก็ตาม

หนาที่ของผูบริหารจะตองหาภาพลักษณปจจุบันใหได เมื่อพบภาพลักษณที่ไมดีจะไดปรับเปลี่ยนใหดีขึ้น

หรือภาพลักษณจะผิดเพี้ยนจากสิ่งที่ตองการก็อาจนําไปพิจารณาตัดสินใจตอไป

3. ภาพลักษณกระจกเงา (Mirror Image) ก็เปรียบไดกับเวลาที่คนเราสองกระจกเงาก็จะเห็นภาพ

ของตัวเองในกระจกในภาพน้ันเขาอาจมองวาสวยสงางามดี หรือตรงกับลักษณะใดก็ไดตามความนึกคิด

ของเขาในกรณีนี้เชนกันผูบริหารอาจมองวางองคการไดทําโนนทํานี่ดีมากแลว ดังนั้นภาพลักษณของ

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 76

องคการจึงนาจะเปนภาพลักษณที่ ดี ซึ่งความจริงจะเปนเชนไร ก็เปนอีกกรณีหน่ึงทั้งนี้ประชาชน

กลุมเปาหมายอาจมองอะไรที่แตกตางจากผูบริหารก็ได

4. ภาพลักษณที่พึงปรารถนา (Wish Image) เปนภาพลักษณท่ีผูบริหารหรือพนักงาน

มีความตองการจะใหองคการของตนเปนอยางไร เชน เปนองคการที่มีความรับผิดชอบตอสังคม

เปนองคการท่ีมีความเจริญรุงเรือง เปนองคการที่ใหคําตอบแบบท่ียุติธรรมแกพนักงาน เปนตน การกําหนด

ความปรารถนาเปรียบเสมือนการกําหนดเปาประสงคของงานที่เราจะไดเพื่อบรรลุเปาประสงคนั้นๆ

5. ภาพลักษณสูงสุดที่ทําได (Optimum Image) หมายถึง ภาพลักษณท่ีเกิดขึ้นจากการตระหนักใน

ความจริงและมีความเขาใจการรับรูของผูรับขาวสาร อุปสรรคของการใชสื่อมวลชนและสื่อที่เราควบคุมได

และสภาพแวดลอมที่ยากที่จะควบคุมและอ่ืนๆ ที่เปนอุปสรรคตอการสรางภาพลักษณที่พึงปรารถนาได

ดังน้ัน ภาพลักษณชนิดนี้จึงเปนภาพลักษณที่ผูเก่ียวของรูจักประมาณตนเองและตัวแปรอ่ืนๆ ท่ีเก่ียวของ

จนไมทําใหการกําหนดภาพลักษณที่พึงปรารถนามีความสูงสงมากเกินความเปนจริง

6. ภาพลักษณที่ถูกตองและไมถูกตอง (Correct and Incorrect Image) เปนภาพลักษณ

อีกลักษณะหนึ่งเปนภาพลักษณท่ีเกิดขึ้นไมตรงกับความเปนจริงเพราะเหตุการณที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติ

(ขาวลือ อุบัติเหตุ) หรือกระบวนการสื่อสารและหรือการรับรูของผูรับสาร และเมื่อเกิดภาพลักษณที่ไม

ถูกตองก็จําเปนตองมีการแกไขภาพลักษณใหถูกตองไดมีการเปลี่ยนแปลงจากภาพลักษณที่ถูกตองมากอน

ระยะหนึ่งแลว

7. ภาพลักษณสินคา/บริการ (Product/Service Image) สินคาหรือบริการก็มีภาพลักษณของ

ตัวเองเชนเดียวกับองคการ สินคาหรือบริการบางอยางอาจมีภาพลักษณท่ีไมคอยดี เมื่อสินคา/บริการที่

องคกรมีไมวาจะมีภาพลักษณเชิงลบหรือบวก หรือกลางก็ยังมีความจําเปนที่ตองปรุงแตงใหมีภาพลักษณที่มี

เอกลักษณที่เปนท่ียอมรับมากขึ้นจากสังคม นอกจากนี้ ภาพลักษณขององคการจะเปนเชนไร ภาพลักษณ

สินคานี้ก็จะมีความเก่ียวพันเปนอยางมาก

8. ภาพลักษณตราสินคา (Brand Image) เปนภาพลักษณที่มีลักษณะคลายกับภาพลักษณสินคา

เพียงแตกรณีนี้เปน “ตราสินคา” “ย่ีหอสินคา”หรือ “LOGO” “สัญลักษณ” เชน ตรางู สัญลักษณ “ดอกบัว”

เปนตน

9. ภาพลักษณองคการ (Corporate Image) ซึ่งคลายกับภาพลักษณขององคการใดองคการหน่ึง

โดยเนนภาพรวมทั้งหมดขององคการ โดยรวมถึงสินคาย่ีหอสินคา ระบบการบริหารของบริษัทความมั่นคง

การมีบุคลากรท่ีมีคุณภาพความรับผิดชอบตอสังคม

10. ภาพลักษณสถาบัน (Institutional Image) ซึ่งคลายกับภาพลักษณองคการดังขางตน เพียงแต

มุมมองเฉพาะตัวบริษัทหรือตัวสถาบัน ความรับผิดชอบของสถาบันที่ตอสังคมความเปนสถาบันที่มั่นคง

เจริญกาวหนา แตทั้งนี้จะไมมุงมองในเชิงธุรกิจการคาหรือการตลาดหรือตราสินคาอะไรทั้งสิ้น นอกจาก

บทบาทหรือพฤติกรรมของสถาบันอยางเดียว

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

77

ทั้งนี้ (สมควร กวียะ, 2547, หนา 3) กลาววา ภาพลักษณที่ปรากฏในการรับรูของพนักงานและ

ประชาชนอาจแตกตางจากสภาพความเปนจริงหรือภาพจริง สืบเนื่องจากความบกพรองของการสื่อสาร

ภายในภายนอก หรือขาวสารเชิงบวก เชิงลบท่ีปรากฏทางสื่อสารมวลชน ดังน้ัน องคการจึงจําเปนตองวิจัย

ภาพลักษณของตนเอง (Self-image) จากความคิดเห็น ทัศนคติและพฤติกรรมของประชาชนท้ังภายในและ

ภายนอกองคการ เพื่อปรับปรุงแกไขความบกพรองของการสื่อสารการพัฒนาประชาสนเทศ เนื่องจากงาน

ประชาสนเทศเปนสวนสําคัญของงานประชาสัมพันธและงานประชาสัมพันธก็เปนสวนสําคัญของ

การสื่อสารองคการเชิงบูรณาการโดยเฉพาะในการสรางเสริมภาพลักษณใหสอดคลองกับภาพจริง

การเกิดภาพลักษณ

อํานวย วีรวรรณ (อางถึงใน พรทิพย พิมลสินธุ, 2540, หนา 9) กลาววาการเกิดภาพลักษณไมวา

จะเปนภาพลักษณของบุคคล ภาพลักษณสินคาและบริการ ภาพลักษณสถาบันหรือภาพลักษณองคการนั้น

สามารถเกิดขึ้นได 2 ทาง คือ เกิดขึ้นเองโดยธรรมชาติและเกิดขึ้นจากการปรุงแตงซึ่งมีรายละเอียด

ดังตอไปนี้

ภาพลักษณท่ีเกิดขึ้นโดยธรรมชาติ คือ ภาพลักษณที่ปลอยใหเปนไปตามสภาวะแวดลอม

ที่มากระทบซึ่งภาพลักษณท่ีออกมาอาจผิดเพี้ยนไปจากความจริง เพราะอิทธิพลของทัศนคติในแตละสังคม

ที่ไมเหมือนกัน

ภาพลักษณท่ีเกิดขึ้นจากการปรุงแตง คือ การใชกระบวนการในการสรางภาพลักษณใหเกิดภาพที่

บุคคล หรือองคการตองการไมวาจะเปนภาพจริง หรือภาพลวงก็ตาม หรือในกรณีที่ภาพที่ออกไปน้ัน

ผิดเพี้ยนจากความเปนจริง ก็อาจวิเคราะหวาเปนเพราะอะไรและพยายามแกไขโดยแสดงภาพท่ีถูกตอง

ออกไปซ้ําๆ และเดนชัด เพื่อกลบภาพที่ไมจริงนั้นเสีย ก็ถือเปนการปรุงแตงภาพลักษณเชนกัน

แนวคิดเกี่ยวกับการประชาสัมพันธ

พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน พ.ศ.2542 ไดใหความหมายของคําวา “การประชาสัมพันธ”

วาหมายถึงการติดตอสื่อสารเพื่อเสริมสรางความเขาใจอันดีตอกัน

พรทิพย พิมลสินธุ (2551, หนา 13 - 14) ไดใหคําจํากัดความของการประชาสัมพันธที่กลาวมา

ขางตน สามารถสรุปความหมายได 4 ประเด็น คือ

1. มีการวางแผน

การประชาสัมพันธไมใชเปนการกระทําที่จะทําเมื่อมีงานเกิดขึ้นแลวจึงตองทําหรือจะทํา

การประชาสัมพันธเมื่อมีความตองการจากประชาชนกลุมเปาหมายหรือผูบังคับบัญชาสั่งใหทําแตที่ถูกนั้น

การประชาสัมพันธเปนการทํางานท่ีมีแผนการเตรียมไวอยางรอบคอบตรงจุดหมายท่ีไดต้ังไวอยางชัดเจนมี

ลําดับข้ันตอนในการทํางานโดยประกอบดวยกิจกรรมตางๆ ท่ีประสานและสอดคลองกัน เพื่อบรรลุ

จุดมุงหมายนั้น

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 78

2. เปนการทํางานที่ตอเน่ืองและหวังผลในระยะยาว

การประชาสัมพันธน้ันจะตองเปนการกระทําที่ตอเน่ืองไมมีวันจบสิ้น ท้ังน้ีเพราะประชาชน

จําเปนตองไดรับขอมูลท่ีถูกตองอยูสม่ําเสมอและตอเน่ือง การขาดการรับรูเก่ียวกับขาวสารหรือกิจกรรม

นานๆ จะเปนสาเหตุของการเกิดความรูความเขาใจที่คลาดเคลื่อนและจะเปนบอเกิดของความรูสึกที่ไมดี

ซึ่งสงผลตอปฏิกิริยาในทิศทางที่มีผลเสียตอหนวยงานได

นอกจากน้ีแลวการประชาสัมพันธจะใหผลที่เห็นเปนรูปธรรมได จะตองใชเวลาระยะหนึ่ง ทั้งนี้

ขึ้นอยูกับลักษณะและกลวิธีในการประชาสัมพันธดวย

3. มีอิทธิพลตอความคิดและทัศนคติ

จุดมุงหมายของการประชาสัมพันธคือ การโนมนาวจิตใจของประชาชนกลุมเปาหมายใหมีทัศนคติ

ที่ดีตอหนวยงาน กิจกรรมและบริการหรือสินคาของหนวยงาน การท่ีจะมีทัศนคติที่ดีนั้น หมายถึงการมี

ความรูความเขาใจที่ถูกตองที่จะสงผลใหมีความรูสึกที่ดีและมีพฤติกรรมที่เปนการสนับสนุนหรือรวมมือ

4. มีความสัมพันธกับประชาชน

ถาหากไมมีความสัมพันธระหวางหนวยงานกับประชาชนแลวก็จะไมมีการประชาสัมพันธเกิดขึ้นได

ความสัมพันธน้ีจะเปนความเขาใจท่ีถูกตองและจริงใจซึ่งกันและกัน หนวยงานตองใหขาวสารเก่ียวกับ

กิจกรรมตางๆ ที่ถูกตองและมีคุณคาแกประชาชน และขณะเดียวกันหนวยงานก็จะยินดีจะรับฟงความ

คิดเห็นและใหความสําคัญตอปฏิกิริยาโตตอบของประชาชนดวย

แนวคิดเกี่ยวกับลักษณะทางประชากร

เนื่องจากผูรับสารแตละคนจะมีคุณลักษณะเฉพาะตัวของตน เชน อายุ เพศ บุคลิกภาพ สติปญญา

ทักษะและประสบการณ เปนตน ซึ่งคุณสมบัติเหลานี้จะมีอิทธิพลตอผูรับสารในการสื่อสาร วิธีการที่ดีที่สุด

ในการวิเคราะหผูรับสารท่ีประกอบไปดวยคนจํานวนมากมายในกรณีของการสื่อสารกลุมใหญและการ

สื่อสารมวลชนก็คือการจําแนกผูรับสารออกเปนกลุมๆ ตามลักษณะทางประชากร (Demographic

characteristics) เชน จําแนกตาม อายุ เพศ สถานะทางสังคมและเศรษฐกิจ การศึกษาและศาสนา เปนตน

โดยมีสมมติฐานวาผูรับสารที่มีลักษณะดังกลาวรวมกัน ยอมจะมีทัศนคติและพฤติกรรมคลายคลึงเมื่อผู

สงสารทราบวาผูรับสารเปาหมายเปนใคร มีลักษณะอยางไรก็จะไดวางแผนปรับการสื่อสารของตนให

เขากับลักษณะของผูรับสารเพื่อผลสําเร็จของการสื่อสาร โดยการปรับตนเอง ปรับสาร ปรับวิธีการจัดสาร

ตลอดจนการเลือกใชสื่อใหเหมาะสมกับผูรับสารเปาหมาย กลาวโดยสรุปคือ แนวคิดดานลักษณะทาง

ประชากรเชื่อในความคิดที่วาคนที่มีคุณสมบัติทางประชากรท่ีแตกตางกันจะมีพฤติกรรมที่แตกตางกันไปดวย

ผลการศึกษาวิจัยของ ยุบล เบ็ญจรงคกิจ (2534, หนา 64-71) พบวาลักษณะทางประชากรตางๆ

มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการเปดรับสารจากสื่อมวลชน

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

79

1. เพศ พบวา จากการวิจัยทางจิตวิทยาไดแสดงใหเห็นวา ผูหญิงกับผูชายมีความแตกตาง

มากมายในเรื่องของความคิด คานิยม ทัศนคติ ทั้งนี้เน่ืองจากวัฒนธรรมและสังคมเปนตัวกําหนดบทบาท

และกิจกรรมของคนทั้งสองเพศไวแตกตางกัน

10 2. อายุ พบวา เมื่อคนเราอายุมากขึ้นมีโอกาสที่จะเปลี่ยนใจหรือถูกโนมนาวใจใหเปลี่ยนใจ

จะนอยลง นอกจากนั้นอายุยังเปนเครื่องกําหนดความแตกตางในเรื่องของความคิด พฤติกรรม

เชน คนหนุมสาวมักมีความคิดเสรีนิยม ยึดถืออุดมการณและมองโลกในแงท่ีดีกวาและพรอมกับ

การเปดรับสิ่งใหมๆไดงายกวาผูสูงอายุ สําหรับผูมีอายุมากมักจะยึดถือปฏิบัติอยางมีความสุขุมรอบคอบ

ระมัดระวังมากกวาคนหนุมสาว นอกจากนี้กลุมคนที่มีอายุตางกันลักษณะการใชสื่อมวลชนก็แตกตางกัน

3. การศึกษา พบวา คนที่มีการศึกษาในระดับตางกัน ตางชวงเวลากัน ไดรับการศึกษาใน

ระบบการศึกษาที่ตางกัน ยอมมีความรูสึกนึกคิด อุดมการณ และความตองการ ที่แตกตางกันออกไป

คนที่มีการศึกษาสูง หรือมีความรูดีมักไดเปรียบอยางมากในการเปนผูรับสารท่ีดี

4. สถานภาพทางสังคมและเศรษฐกิจ หมายถึง อาชีพ (Occupation) รายได (Income)

เชื้อชาติและสายพันธุ (Race and Status) ตลอดจนภูมิหลังของครอบครัว (Family Background)

ซึ่งหากมีปจจัยท่ีกลาวขางตนตางกันก็จะสงผลใหมีคานิยม ความคิด ความเชื่อ ตลอดจนพฤติกรรมที่

แตกตางกัน

ทฤษฎีการเปดรับขาวสาร

แซมมวล แอล เบคเกอร (อางถึงใน ขวัญเรือน กิติวัฒน, 2531, หนา 23-26) โดยจําแนกตาม

พฤติกรรมการเปดรับขาวสาร ดังน้ี

1. การแสวงหาขอมูล (Information Seeking) คือ บุคคลท่ีจะแสวงหาขอมูลขาวสารเพื่อตองการ

ใหเรื่องใดเรื่องหนึ่งมีความคลายคลึงกับเหตุการณใดเหตุการณหนึ่ง

2. การเปดรับขอมูล (Information Receptivity) คือ บุคคลจะเปดรับขาวสารเพื่อตองการทราบ

ขอมูลที่ตนเองสนใจ เพื่ออยากรูเชน การเปดรับดูรายการขาวโทรทัศนหรือขณะอานหนังสือพิมพ หากมี

ขอมูล ขาวสารที่มีความสําคัญเก่ียวของกับตนเอง ก็จะทําใหความเอาใจใสอานหรือดูเปนพิเศษ

3. การเปดประสบการณ (Experience Receptivity) คือ บุคคลจะเปดรับขาวสารเพื่อตอบสนอง

ความตองการกระทําหรือความตองการเรียนรูอยางใดอยางหนึ่งหรือเพื่อผอนคลายอารมณ

ลักษณะการเปดรับสื่อของผูรับสาร (แซมมวล แอล เบคเกอร อางถึงในขวัญเรือน กิติวัฒน,

2531) ไดสรุปถึงการเปดรับสื่อของผูรับสารวา ผูรับสารจะเลือกเปดรับสื่อตามลักษณะดังตอไปนี้

1. เลือกสื่อท่ีสามารถจัดหามาได (Availability) ธรรมชาติของมนุษยนั้นจะใชความพยายามเพียง

ระดับหนึ่งเทาน้ัน อะไรที่ไดมายากมักจะไมไดรับเลือก แตถาสามารถไดมาไมยากมักจะเลือกสิ่งนั้น

เชนเดียวกับสื่อ ผูรับสารจะเลือกสื่อที่ไมตองใชความพยายามมาก เชน ในชนบทประชาชนสวนใหญจะ

เปดรับสื่อวิทยุกระจายเสียงเปนสําคัญเพราะตนเองสามารถจัดหาวิทยุมาไดงายกวาสื่ออ่ืน

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 80

2. เลือกสื่อที่สอดคลอง (Consistence) กับความรู คานิยม ความเชื่อและทัศนคติของตน

เชน นิสิตนักศึกษาและนักวิชาการมักนิยมอานหนังสือพิมพมติชนหรือสยามรัฐมากกวาหนังสือพิมพอ่ืน

เพราะหนังสือพิมพดังกลาวใหขาวสารสาระความรูในแงวิชาการที่สอดคลองกับตน

3. เลือกสื่อที่ตนสะดวก (Convenience) ปจจุบันผูรับสารสามารถเลือกรับสื่อไดทั้งทางวิทยุ

โทรทัศน วิทยุกระจายเสียง หนังสือพิมพ นิตยสารและสื่อบุคคล แตละคนก็จะมีพฤติกรรมการรับสื่อที่

แตกตางกันตามท่ีตนสะดวก เชน บางคนมักนิยมรับฟงขาวสารทางวิทยุกระจายเสียงขณะขับรถ บางคน

ชอบน่ังหรือนอนชมวิทยุโทรทัศน บางคนชอบอานหนังสือในหองสมุด เปนตน

4. เลือกสื่อตามความเคยชิน (Accustomedness) ปกติจะมีบุคคลกลุมหนึ่งในทุกสังคมที่ไมคอย

เปลี่ยนแปลงการรับสื่อที่ตนเองรับอยู ซึ่งมักจะพบในบุคคลที่มีอายุมาก เชน เคยฟงวิทยุกระจายเสียงเปน

ประจํามักจะไมสนใจวิทยุโทรทัศนหรือสื่ออยางอ่ืน เปนตน

5. ลักษณะเฉพาะของสื่อ จากทั้งสี่ขอขางตนเปนความตองการสื่อของผูรับสารเปนหลัก คุณลักษณะ

เฉพาะของสื่อท่ีมีผลตอการเลือกสื่อของผูรับสาร เชน ลักษณะเดนของหนังสือพิมพ คือ สามารถใหขาวสาร

ในรายละเอียดดีกวา ราคาถูกสามารถนําติดตัวไปไดทุกหนแหง หรือวิทยุโทรทัศนทําใหเห็นภาพเปนจริงได

เราใจมีความรูสึกเหมือนอยูรวมในเหตุการณมีแสงสี ดึงดูดใจ ในขณะดูวิทยุโทรทัศนสามารถพักผอน

อิริยาบถไดสบาย เปนตน

ทฤษฎีเกี่ยวกับการรับรู

บุคคลท่ัวไปมักเขาใจวาการรับรู (Perception) คือการรู การเห็น การไดยิน การไดกลิ่นและ

การรับสัมผัสจากอวัยวะทั้ง 5 ซึ่งในความเปนจริงแลวการรับรูมีความหมายครอบคลุมมากกวาการรับรูผาน

สัมผัสตางๆ เทานั้น หากแตการรับรูผานสัมผัสตางๆ เปนเพียงจุดเริ่มตนของการรับรูและจะเขาไปสูระบบ

ประสาทสวนกลาง เพื่อจัดการเก็บขอมูลไวเชื่อมโยงกับสิ่งที่เกิดขึ้นจากการเรียนรูและประสบการณท่ีผาน

มาแลวประมวลผลออกมาเพื่อเชื่อมสูศูนยกลางการควบคุมระบบประสาทตางๆ กอใหเกิดปฏิกิริยา

ตอบสนองตอสิง่นั้นๆ

คําวา “การรับรู” (Perception) ใหคําจํากัดความหมายดังนี้

เดโช สวนานนท (2510, หนา 27) ใหคําจํากัดของการรับรูวาเปนการที่รางกายรับรูสิ่งเราตางๆ

ที่มาเราผานทางประสาทสัมผัสทางใดทางหนึ่ง แลวตอบสนองสิ่งเราน้ันๆ ออกมา โดยการรับรูของแตละคน

อาจจะแตกตางกันออกไป ขึ้นอยูกับประสบการณ ความรูและการรับรูของแตละคน

การรับรู (Perception) หมายถึง กระบวนการท่ีบุคคลแตละคนมีการเลือก การจัดการ และ

ตีความเก่ียวกับตัวกระตุนออกมาใหมีความหมายและไดภาพของโลกที่มีเนื้อหา ดังน้ัน การรับรูของ

ผูบริโภคคือวิธีการที่บุคคลมองโลกท่ีอยูรอบๆ ตัว ซึ่งแตกตางกันไปในแตละบุคคล เนื่องจากมีวิธีการ

ตระหนักถึงตัวกระตุน (Recognize) การเลือกสรร (Select) การจัดการ (Organize) และการตีความ

(Interpret) เก่ียวกับตัวกระตุนดังกลาวตางกันไดแก

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

81

1. Field of Sensation คือ ในการเกิดการรับรูขึ้นในแตละครั้ง จะมีการรับขอมูลเขามามากกวา

1 อยาง เชน ในขณะเขารวมฟงการสัมมนา นอกจากจะไดยินเสียงแลว ยังไดเห็นทาทางของผูบรรยายและ

เห็นโสตทัศนูปกรณตางๆ ที่เก่ียวของไปพรอมๆ กันในคราวเดียว

2. Sensory Perception คือ ขั้นตอนท่ีมีการรับรูขอมูลเพียงรูปรางลักษณะเทานั้นโดยยังไมมี

การเทียบเคียงกับสิ่งที่จดจําได เปนขั้นตอนท่ียังไมทราบความหมาย เชน เห็นวัตถุสิ่งหนึ่งแลวยังไมทราบ

วาเปนอะไร เห็นเพียงวามีรูปทรงกลม โดยที่ยังไมรูวาแทจริงแลวสิ่งนั้นคือลูกบอล

3. Meaningful Perception คือ ขั้นตอนที่มีการรับรูความหมายของสิ่งเหลานั้น ซึ่งขั้นตอนนี้ตอง

อาศัยการเทียบเคียงกับสิ่งท่ีจดจําอยูในความทรงจํา เชน เมื่อเห็นผาท่ีเปนสี่ เหลี่ยมผืนผาท่ีเปน

แถบ 5 แถบ โดยมีแถบสีนํ้าเงินอยูดํารงกลาง ถูกประกบดวยสีขาวและสีแดงตามลําดับในลักษณะที่เปนริ้ว

แนวนอน ก็สามรถรูไดวา คือ ธงชาติไทย

ประวัติของสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน (อางถึงใน หนังสือรายงานประจําป 2552)

ใ น อ ดี ต โ ด ย เ ฉ พ า ะ ใ น ช ว ง ก อ น แ ผ น พั ฒ น า เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ ล ะ สั ง ค ม แ ห ง ช า ติ ฉ บั บ ที่ 6

(พ.ศ.2530-2534) นั้นประเทศไทยไดประสบวิกฤตการณทางดานพลังงานอยางรุนแรงหลายครั้ง และสิ่ง

หนึ่งซึ่งเปนที่ประจักษชัดคือ รัฐบาลขาดเอกภาพในการบริหารงานดานพลังงานเนื่องจากหนวยงาน

ทางดานพลังงานตางๆ ไมไดอยูภายใตสายบังคับบัญชาเดียวกันทําใหยากตอการควบคุมและการ

ประสานงาน นอกจากน้ีรัฐและเอกชน รวมถึงการประสานงานระหวางหนวยงานภาครัฐและเอกชน

ทางดานพลังงานตางๆ ที่จะทําใหการวางแผนทางดานพลังงานและ การกํากับดูแลเปนไปอยางตอเนื่อง

และมีประสิทธิภาพ

รัฐบาล พลเอกเปรม ติณสูลานนท ไดหยิบยกเรื่องการปรับปรุงระบบการบริหารนโยบายพลังงาน

ใหมีเอกภาพขึ้นมาพิจารณาเปนเรื่องดวนและไดนําเสนอแนวทางตอคณะกรรมการนโยบายพลังงาน

แหงชาติโดยมีนายกรัฐมนตรีเปนประธานและมีสํานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ (สพช.)

ที่จัดต้ังขึ้นภายใตสํานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรีทําหนาท่ีฝายเลขานุการเพื่อทําหนาท่ีกําหนดนโยบายและ

มาตรการตางๆทางดานพลังงานและตอมาพลเอกเปรม ติณสูลานนท นายกรัฐมนตรีไดลงนามในระเบียบ

สํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยนโยบายการบริหารพลังงานแหงชาติ พ.ศ.2529 และมีคําสั่ งแตง ต้ัง

คณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ เมื่อวันที่ 16 ตุลาคม พ.ศ.2529

หลังจากนั้นในยุคของนายกรัฐมนตรี พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตรไดมีแนวนโยบายที่ปฏิรูประบบราชการ

ของประเทศไทยเพื่อพัฒนาการทํางานของหนวยราชการใหมีประสิทธิภาพมากย่ิงขึ้น โดยการยุบเลิก

หนวยงานที่ไมจําเปนเพื่อลดขั้นตอนการปฏิบัติงานซ้ําซอนและจัดต้ังหนวยงานใหมอีกหลายหนวยงานเพื่อ

รับผิดชอบงานใหมและภารกิจท่ีชัดเจนขึ้น จึงไดตราพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผนดิน (ฉบับที่ 5)

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 82

พ.ศ.2545 และพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ.2545 ขึ้นและไดจัดต้ังกระทรวงพลังงาน

ขึ้นเพื่อกํากับดูแลและบริหารกิจตางๆ ที่เก่ียวของกับพลังงานของชาติ หลังจากน้ันจึงไดโอนยายสํานักงาน

คณะกรรมการสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สพช.) จากสํานักนายกรัฐมนตรีมาสังกัดกระทรวง

พลังงาน และเปลี่ยนชื่อเปนสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงานหรือ สนพ.

ระเบียบวิธีวิจัย

การศึกษาเรื่อง“ภาพลักษณของสํานักงานโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงานตามการรับรู

ของบุคลากรภายในสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน” ผูวิจัยไดกําหนดวิธีการศึกษา

โดยใชระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research )ซึ่งมีรูปแบบการวิจัยในเชิงสํารวจ ( Survey )

โดยใชแบบสอบถาม (Questionnaire) เปนเครื่องมือในการเก็บขอมูล

ประชากรและกลุมตัวอยางท่ีใชในการศึกษาวิจัย

ประชากรที่ใชในการศึกษา คือ ขาราชการ พนักงานราชการ ลูกจางประจํา ลูกจางชั่วคราว

ที่ปฏิบัติงานอยูภายในสํานักงานนโยบายและพลังงาน กระทรวงพลังงาน เขตกรุงเทพมหานครทั้ง

เพศชายและหญิง จํานวน 159 คน

การกําหนดของขนาดกลุมตัวอยาง โดยอาศัย 2ตาราง 2การกําหนดขนาดตัวอยางของ 2เค 2รจ 2ซี่ 2และ 2

มอ2ร2แกน 2(Krejcie and Morgan, 1970, p. 608) ไดขนาดของกลุมตัวอยางจํานวน 113 คน

ตาราง ประมาณการขนาดกลุมตัวอยางตามจํานวนประชากร

ตําแหนงงาน ประชากร กลุมตัวอยาง

ขาราชการ 81 58

พนักงานราชการ 39 27

ลูกจางประจํา 10 7

ลูกจางชั่วคราว 29 21

รวม 159 113

เคร่ืองมือท่ีใชในการวิจัย

เครื่องมือท่ีใชในการเก็บขอมูลดังนี้เปนแบบสอบถามเก่ียวกับภาพลักษณสํานักงานนโยบาย

และแผนพลังงาน กระทรวงพลังงานของบุคลากรภายในสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน

กระทรวงพลังงานในเขตกรุงเทพมหานคร โดยแบงออกเปน 4 สวนดังนี้

สวนที่ 1 ขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม เปนลักษณะทางประชากรศาสตร

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

83

สวนที่ 2 การเปดรับขาวสารเก่ียวกับสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน

สวนที่ 3 การรับรูภาพลักษณของสํานักงานนโยบายแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน

สวนที่ 4 คําถามเก่ียวกับขอเสนอแนะมีตอการภาพลักษณของสํานักงานนโยบายและ

แผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน

สถิติท่ีใชในการวิเคราะห

1. สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) ใชในการอธิบายขอมูลทางการบรรยายขอมูล

โดยวิธีการแจกความถ่ี (Frequencies)คารอยละ(Percentage) คาเฉลี่ย(Mean)และสวนเบ่ียงเบน

มาตรฐาน (Standard Deviation) โดยนําเสนอในรูปแบบตารางประกอบการแปลความหมายเชิงบรรยาย

เพื่ ออธิบายข อมูลลั กษณะ ทาง ประ ชากร การ เป ดรั บข าวสารและการรับรู ภ าพ ลักษณของ

สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน

2. สถิติเชิงอนุมาน (Inferential Statistics) ใชในการทดสอบความสัมพันธระหวางตัวแปรอิสระ

และตัวแปรตามในสมมติฐานตางๆ โดยคํานึงถึงความเหมาะสมของการวัดตัวแปรตางๆ โดยการทดสอบ

สมมติฐานท่ี1 และสมมติฐานท่ี2 ใชสถิติ t-testและ one way ANOVA สมมติฐานท่ี 3 Pearson’s Product

Moment Correlation 2coefficient

สรุปผลการวิจัย

บุคลากรภายในสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน จํานวน 113 คน

เปนเพศหญิงมากกวาเพศชาย อายุระหวาง 21-30 ป รองลงมาคือ อายุระหวาง 31-40 ป

สวนใหญมีรายไดระหวาง 10,000 – 19,999 บาทตอเดือน รองลงมาคือ 20,000-29,999 บาท ตอเดือน

มีการศึกษาระดับปริญญาตรีมากที่สุด และตําแหนงงานเปนขาราชการ

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 84

แสดงจํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางจําแนกตามลักษณะทางประชากร ลักษณะทางประชากร จํานวน รอยละ

เพศ

- ชาย

- หญิง

34

79

30.10

69.90

อายุ

- 21-30 ป 40 35.40

- 31-40 ป 38 33.60

- 41-50 ป 22 19.50

- 51-60 ป 13 11.50

รายได

- ต่ํากวา 10,000 บาทตอเดือน 16 14.20

- 10,000 - 19,999 บาทตอเดือน 54 47.80

- 20,000 - 29,999 บาทตอเดือน 25 22.10

- 30,000 - 39,999 บาทตอเดือน 7 6.20

- 40,000 - 49,999 บาทตอเดือน 5 4.40

- 50,000 บาทขึ้นไปตอเดือน 6 5.30

ระดับการศึกษา

- อนุปริญญา 25 22.10

- ปริญญาตรี 65 57.50

- ปริญญาโท 19 16.80

- สูงกวาปริญญาโท 4 3.50

ตําแหนงงาน

- ขาราชการ 49 43.40

- พนักงานราชการ 29 25.70

- ลูกจางประจํา 10 8.80

- ลูกจางชั่วคราว 25 22.10

การเปดรับขาวสารเก่ียวกับสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน

บุคลากรภายในสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน พบวากลุมตัวอยาง

มี เปดรับขาวสารเ ก่ียวกับสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงานจากสื่อตางๆ

โดยรวมอยูในระดับปานกลาง โดยมีการเปดรับขาวสารจากสื่ออิเล็กทรอนิกสมากที่สุด รองลงมาไดแก

สื่อเฉพาะกิจ สื่อบุคคล สื่อเอกสารสิ่งพิมพและสื่อกิจกรรมตามลําดับ

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

85

ประเภท

ของสื่อ

ความถ่ีในการเปดรับสื่อ

X

S.D.

ความ

หมาย

ทุกวัน

4-6 คร้ังตอ

สัปดาห

1-3 คร้ัง

ตอ

สัปดาห

นอยกวา

1 คร้ังตอ

สัปดาห

ไมเคย

เลย

1.สื่อบุคคล 2.14

0.804 ปาน

กลาง

เจาหนาที่

ประชาสัมพันธ

8

(7.10%)

28

(24.80%)

45

(39.80%)

18

(15.90%)

14

(12.40%)

1.98

1.094

ปาน

กลาง

ผูบริหาร 6

(5.30%)

17

(15.00%)

39

(34.50%)

40

(35.40%)

11

(9.70%)

1.71

1.015

ปาน

กลาง

ผูอํานวยการ

ฝาย

12

(10.60%)

18

(15.90%)

42

(37.20%)

31

(27.40%)

10

(8.80%)

1.92

1.103

ปาน

กลาง

หัวหนางาน 26

(23.00%)

19

(16.80%)

42

(37.20%)

19

(16.80%)

7

(6.20%)

2.34

1.185

ปาน

กลาง

เพื่อนพนักงาน 45

(39.80%)

29

(25.70%)

17

(15.00%)

15

(13.30%)

7

(6.20%)

2.80

1.269

มาก

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 86

ประเภท

ของสื่อ

ความถ่ีในการเปดรับสื่อ

X S.D.

ความ

หมาย

ทุกวัน

4-6 คร้ังตอ

สัปดาห

1-3 คร้ัง

ตอ

สัปดาห

นอยกวา

1 คร้ังตอ

สัปดาห

ไมเคย

เลย

2.สื่อเอกสาร

และสิ่งพิมพ

1.77

0.622

ปาน

กลาง

จุลสาร สนพ.

7

(6.20%)

19

(16.80%)

38

(33.60%)

41

(36.30%)

8

(7.10%)

1.79

1.013

ปาน

กลาง

บอรด

ประชาสัมพันธ

24

(21.20%)

21

(18.60%)

44

(38.90%

19

(16.80%)

5

(4.40%)

2.35

1.125

ปาน

กลาง

จดหมายเวียน/

ใบนําสั่ง

21

(18.60%)

35

(31.00%)

36

(31.90%)

18

(15.90%)

3

(2.70%)

2.47

1.053

มาก

แผนพับ/

โบชัวร

4

(3.50%)

11

( 9.70%)

46

(40.70%)

41

(36.30%)

11

(9.70%)

1.61

.920

ปาน

กลาง

ปายประกาศ

18

(15.90%)

19

(16.80%)

51

(45.10%)

21

(18.60%)

4

(3.50%) 2.23

1.044

ปาน

กลาง

จดหมายขาว

8

(7.10%)

16

(14.20%)

28

(24.80%)

44

(38.90%)

17

(15.00%)

1.59

1.123

นอย

รายงาน

ประจําป

2

(1.80%)

11

(9.70%)

24

(21.20%)

49

(43.40%)

27

(23.90%)

1.22

.980

นอย

วารสาร 5 ส

สัมพันธ

4

(3.50%)

10

(8.80%)

24

(21.20%)

54

(47.80%)

21

(18.60%)

1.31

.992

นอย

วารสารนโยบาย

พลังงาน

6

(5.30%)

17

(15.00%)

22

(19.50%)

44

(38.90%)

24

(21.20%)

1.44

1.141

นอย

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

87

ประเภท

ของสือ่

ความถ่ีในการเปดรับสือ่

X S.D.

ความ

หมาย ทุกวัน

4-6 คร้ังตอ

สัปดาห

1-3 คร้ัง

ตอ

สัปดาห

นอยกวา

1 คร้ังตอ

สัปดาห

ไมเคยเลย

3.สื่อ

อิเล็กทรอนิกส

2.35 0.942

ปาน

กลาง

การสงE-mail

ถึงบุคลากร

32

(28.30%)

35

(31.00%)

29

(25.70%)

10

(8.80%)

7

(6.20%)

2.66

1.162

มาก

Website ของ

สนพ.

www.eppo.go.th

20

(17.70%)

41

(36.30%)

27

(23.90%)

15

(13.30%)

10

(8.80%)

2.41

1.185

มาก

Website ศูนยขอมูล

ขาวสารของ สนพ.

www.eppo.go.th/

infocenter

15

(13.30%)

27

(23.90%)

31

(27.40%)

22

(19.50%)

18

(15.90%)

1.99

1.271

ปาน

กลาง

4.สื่อเฉพาะกิจ

2.34

0.844

ปาน

กลาง

ส่ือท่ีติดอยูดานใน

ลิฟต

46

(40.70%)

19

(16.80%)

35

(31.00%)

11

(9.70%)

2

(1.80%)

2.85

1.120

มาก

ส่ือท่ีติดบนตู

กระจกทางเดิน

29

(25.70%)

21

(18.60%)

41

(36.30%)

21

(18.60%)

1

(0.90%)

2.50 1.095 มาก

ปายโฆษณา

10

(8.80%)

19

(16.80%)

41

(36.30%)

30

(26.50%)

13

(11.50%)

1.85

1.112

ปาน

กลาง

โทรศัพท 29

(25.70%)

20

(17.70%)

24

(21.20%)

25

(22.10%)

15

(13.30%)

2.20 1.390 ปาน

กลาง

5.สื่อกิจกรรม 1.51 0.915 นอย

จัดสัมมนา

4

(3.50%)

16

(14.20%)

33

(29.20%)

51

(45.10%)

9

(8.00%)

1.60

.950

นอย

นิทรรศการ 4

(3.50%)

13

(11.50%)

28

(24.80%)

52

(46.00%)

16

(14.20%)

1.44

.990

นอย

การฝกอบรม 4

(3.50%)

12

(10.60%)

36

(31.90%)

46

(40.70%)

15

(13.30%)

1.50

.974

นอย

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 88

การรับรูภาพลักษณของสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน

บุคลากรภายในสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน พบวากลุมตัวอยาง

มีการรับรูภาพลักษณของสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงานจากดานตางๆโดยรวมอยู

ในระดับดี โดยมีการรับรูดาน 1 0ดานองคกรและการจัดการ 1 0 มากที่สุด รองลงมาไดแก 1 0ดานผูบริหาร

ดานการดําเนินงานและคุณภาพของงาน10 ดานบุคลากร ดานการบริการและดานประชาสัมพันธตามลําดับ

ภาพลักษณของ

สํานักงานนโยบาย

และแผนพลังงาน

กระทรวงพลังงาน

ระดับความคดิเห็น

X S.D. ความ

หมาย

เห็น

ดวย

อยาง

ย่ิง

เห็นดวย ปาน

กลาง ไมเหน็ดวย

ไมเหน็

ดวยอยาง

ย่ิง

ดานองคกรและ

การจัดการ 3.71 0.476 ดี

1. เปนองคกรท่ีมี

ชื่อเสียงและเปนท่ี

ยอมรับในประเทศ

และตางประเทศ

22

(19.50%)

45

(39.80%)

40

(35.40%)

6

(5.30%)

0

(0.00%)

3.73

0.835

ดี

2. เปนองคกรท่ี

ทันสมัย

13

(11.50%)

64

(56.60%)

29

(25.70%)

7

(6.20%)

0

(0.00%)

3.73

0.744

ดี

3. เปนองคกรท่ีมี

การกาํหนดวิสัยทัศน

และนโยบายในการ

บริหารท่ีชัดเจน

15

(13.30%)

58

(51.30%)

37

(32.70%)

3

(2.70%)

0

(0.00%)

3.75

0.714

ดี

4. เปนองคกรท่ีมี

เทคโนโลยีท่ี

เหมาะสมและมี

ความปลอดภัย

18

(15.90%)

55

(48.70%)

27

(23.90%)

9

(8.00%)

4

(3.50%)

3.65

0.961

ดี

5. เปนองคกรท่ีมี

ชื่อเสียงและเปนท่ี

ยอมรับดานพลังงาน

ของประเทศ

19

(16.80%)

48

(42.50%)

40

(35.40%)

5

(4.40%)

1

(0.90%)

3.70

0.833

ดี

6. เปนองคกรท่ีมี

ความรับผิดชอบตอ

สังคม

14

(12.40%)

41

(36.30%)

45

(39.80%)

13

(11.50%)

0

(0.00%)

3.23

0.916

ปาน

กลาง

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

89

ภาพลักษณของ

สํานักงาน

นโยบายและ

แผนพลังงาน

กระทรวง

พลังงาน

ระดับความคดิเห็น

X S.D. ความ

หมาย เห็นดวย

อยางย่ิง เห็นดวย ปานกลาง

ไมเหน็

ดวย

ไมเหน็

ดวย

อยางย่ิง

7. เปนองคกรท่ีมี

การบริหารองคกร

อยางโปรงใส

14

(12.40%)

41

(36.30%)

45

(39.80%)

13

(11.50%)

0

(0.00%)

3.50

0.857

ด ี

8. เปนองคกรท่ีมี

แนวคิดและระบบ

การบริหารงานท่ีมี

ความเปนสากล

3

(2.70%)

55

(48.70%)

31

(27.40%)

23

(20.40%)

1

(0.90%)

3.32

0.858

ปาน

กลาง

ดานผูบริหาร 3.56 0.512 ด ี

1.เปนบุคคลท่ีมี

ความโปรงใสและ

เปนธรรม

18

(15.90%)

45

(39.80%)

45

(39.80%)

4

(3.50%)

1

(0.90%)

3.66

0.812

ด ี

2.เปนบุคคลท่ีมี

ความรอบรูในดาน

ตางๆ ท่ีเกี่ยวของ

กับเน้ืองาน

13

(11.50%)

53

(46.90%)

29

(25.70%)

12

(10.60%)

6

(5.30%)

3.49

1.010

ดี

3.เปนบุคคลท่ีมี

ความเปนผูนําและ

มีความนาเชื่อถือ

19

(16.80%)

42

(37.20%)

48

(42.50%)

4

(3.50%)

0

(0.00%)

3.67

0.796

ดี

4.เปนบุคคลท่ีมี

ความเอาใจใสตอ

ผูใตบังคับบัญชา

8

(7.10%)

51

(45.10%)

41

(36.30%)

11

(9.70%)

2

(1.80%)

3.46

0.835

ดี

5. เปนบุคคลท่ีมี

ความเท่ียงตรง

14

(12.40%)

42

(36.30%)

52

(46.00%)

5

(4.40%)

1

(0.90%)

3.55

0.802

ด ี

6. เปนบุคคลท่ีมี

การรับฟงความ

คิดเห็นของผูอ่ืน

13

(11.50%)

53

(46.90%)

31

(27.40%)

12

(10.60%)

4

(3.50%)

3.52

0.955

ดี

7. เปนบุคคลท่ีมี

วิสัยทัศนกวางไกล

และทันสมัย

21

(18.60%)

36

(31.90%)

51

(45.10%)

5

(4.40%)

0

(0.00%)

3.65

0.834

ด ี

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 90

ภาพลักษณของ

สํานักงาน

นโยบายและ

แผนพลังงาน

กระทรวง

พลังงาน

ระดับความคดิเห็น

X S.D. ความ

หมาย เห็นดวย

อยางย่ิง เห็นดวย ปานกลาง

ไมเหน็

ดวย

ไมเหน็

ดวย

อยางย่ิง

8. เปนบุคคลท่ีเขา

พบไดไมยาก

21

(18.60%)

39

(34.50%)

34

(30.10%)

14

(12.40%)

5

(4.40%)

3.50

1.070

ด ี

ดานบุคลากร 3.48 0.438 ด ี

1. บุคลากรสวน

ใหญมีคุณธรรม

และจริยธรรมใน

การทํางาน

8

(7.10%)

42

(37.20%)

59

(52.20%)

4

(3.50%)

0

(0.00%)

3.48

0.683

ดี

2. บุคลากรนึกถึง

ประโยชนสวนรวม

มากกวาสวนตัว

6

(5.30%)

48

(42.50%)

38

(33.60%)

14

(12.40%)

7

(6.20%)

3.28

0.968

ปาน

กลาง

3 . บุ ค ล า ก ร มี

มนุษยสัมพันธท่ีดี

12

(10.60%)

42

(37.20%)

54

(47.80%)

5

(4.40%)

0

(0.00%)

3.54

0.744

ดี

4 . บุ ค ล า ก ร มี

ความสามารถใน

การใหคําแนะนํา

เมื่อเกิดปญหา

6

(5.30)

59

(52.20)

34

(30.10)

11

(9.70)

3

(2.70)

3.48

0.846

ดี

5. บุคลากรสวน

ใ ห ญ เ ป น ผู มี

ค ว า ม รู ค ว า ม

สามารถ

10

(8.80%)

52

(46.00%)

43

(38.10%)

8

(7.10%)

0

(0.00%)

3.57

0.754

ดี

6. บุคลากร

สวนใหญมีความ

รับผิดชอบในงาน

ท่ีทํา

1

(0.90%)

63

(55.80%)

31

(27.40%)

16

(14.20%)

2

(1.80%)

3.40

0.808

ปาน

กลาง

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

91

ภาพลักษณของ

สํานักงาน

นโยบายและ

แผนพลังงาน

กระทรวง

พลังงาน

ระดับความคดิเห็น

X S.D. ความ

หมาย เห็นดวย

อยางย่ิง เห็นดวย ปานกลาง

ไมเหน็

ดวย

ไมเหน็

ดวย

อยางย่ิง

7. บุคลากรสวน

ใหญเปน

ผูปฏิบัติงานไดอยาง

มีประสิทธิภาพตาม

งานท่ีไดรับ

มอบหมาย

9

(8.00%)

42

(37.20%)

56

(49.60%)

6

(5.30%)

0

(0.00%)

3.48

0.721

ดี

8. บุคลากรสวน

ใหญมีความมุงมั่น

ทุมเทในการ

ทํางาน

9

(8.00%)

51

(45.10%)

39

(34.50%)

13

(11.50%)

1

(0.90%)

3.48

0.836

ดี

ดานการ

ดําเนนิงานและ

คุณภาพฯ

3.56 0.455 ด ี

1. การดาํเนินงาน

ในโครงการตางๆ

ประสบความ

สําเร็จตาม

เปาหมายท่ีวางไว

6

(5.30%)

54

(47.80%)

48

(42.50%)

4

(3.50%)

1

(0.90%)

3.53

0.695

ดี

2. มีผลงานวจิัย

และพัฒนาดาน

พลังงานเพ่ือเพ่ิม

ประสิทธิภาพใน

การดาํเนินงาน

และคุณภาพ

ของงาน

7

(6.20%)

63

(55.80%)

39

(34.50%)

4

(3.50%)

0

(0.00%)

3.65

0.654

ดี

3. มีการกาํหนด

แนวทางการ

ดําเนินงานท่ี

ชัดเจน

10

(8.80%)

46

(40.70%)

52

(46.00%)

5

(4.40%)

0

(0.00%)

3.54

0.720

ดี

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 92

ภาพลักษณของ

สํานักงานนโยบาย

และแผนพลังงาน

กระทรวงพลังงาน

ระดับความคดิเห็น

X S.D. ความ

หมาย เห็นดวย

อยางย่ิง เห็นดวย

ปาน

กลาง

ไมเหน็

ดวย

ไมเหน็

ดวย

อยางย่ิง

4. โครงการตางๆ

สามารถพัฒนา

คุณภาพชวีิตและ

สังคม

12

(10.60%)

57

(50.40%)

40

(35.40%)

4

(3.50%)

0

(0.00%)

3.68

0.710

ดี

5. การดาํเนินงานมี

ความเปนกลาง ไม

เอนเอียงไปตาม

กระแสสังคม

4

(3.50%)

37

(32.70%)

68

(60.20%)

4

(3.50%)

0

(0.00%)

3.36

0.613

ปาน

กลาง

6. ผลงานการ

ดําเนินงานท่ีผานมา

เปนท่ีนาพอใจกับทุกๆ

ฝายท่ีเกีย่วของ

9

(8.00%)

59

(52.20%)

39

(34.50%)

6

(5.30%)

0

(0.00%)

3.63

0.710

ดี

7. มีการสรางความ

รวมมือระหวางองคกร

ท่ีมีสวนเกีย่วของใน

ดานพลังงาน

13

(11.50%)

37

(32.70%)

54

(47.80%)

9

(8.00%)

0

(0.00%)

3.48

0.803

ดี

8. ผลการดําเนินตาม

โครงการสอดคลอง

กับแนวทางการ

พัฒนาเศรษฐกิจของ

ประเทศ

10

(8.80%)

59

(52.20%)

36

(31.90%)

7

(6.20%)

1

(0.90%)

3.62

0.771

ดี

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

93

ภาพลักษณของ

สํานักงาน

นโยบายและ

แผนพลังงาน

กระทรวง

พลังงาน

ระดับความคดิเห็น

X S.D. ความ

หมาย เห็นดวย

อยางย่ิง เห็นดวย

ปาน

กลาง

ไมเหน็

ดวย

ไมเหน็

ดวย

อยางย่ิง

ดานบริการ 3.46 0.490 ด ี

1. การบริการมี

ความหลากหลาย

9

(8.00%)

43

(38.10%)

44

(38.90%)

17

(15.00%)

0

(0.00%)

3.39

0.839

ปาน

กลาง

2. เจาหนาท่ีมี

ความชาํนาญใน

การถายทอดการ

บริการของ

หนวยงาน

13

(11.50%)

46

(40.70%)

38

(33.60)

12

(10.60)

4

(3.50)

3.46

0.954

ดี

3. การบริการ

สะดวก รวดเร็ว

7

(6.20%)

51

(45.10%)

42

(37.20%)

12

(10.60%)

1

(0.90%)

3.45

0.801

ด ี

4. การบริการ

งานวจิัยและ

พัฒนาเทาทันกับ

การเปล่ียนแปลง

สภาพทางสังคม

7

(6.20%)

50

(44.20%)

44

(38.90%)

8

(7.10%)

4

(3.50%)

3.42

0.853

ดี

5. การบริการมี

คุณภาพตาม

มาตรฐานสากล

12

(10.60%)

49

(43.40%)

47

(41.60%)

5

(4.40%)

0

(0.00%)

3.60

0.738

ดี

6.วิธีการ

ประเมินผลการ

บริการสอดคลอง

กับ

มาตรฐานสากล

6

(5.30%)

56

(49.60%)

44

(38.90%)

5

(4.40%)

2

(1.80%)

3.52

0.745

ดี

7. การบริการ

ครอบคลุมทุก

ดานเกี่ยวกับการ

ใชพลังงาน

10

(8.80%)

57

(50.40%)

39

(34.50%)

6

(5.30%)

1

(0.90%)

3.45

0.767

ด ี

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 94

ภาพลักษณของ

สํานักงาน

นโยบายและ

แผนพลังงาน

กระทรวง

พลังงาน

ระดับความคดิเห็น

X S.D. ความ

หมาย เห็นดวย

อยางย่ิง

เห็นดวย

ปานกลาง

ไมเหน็

ดวย

ไมเหน็

ดวย

อยางย่ิง

8. มีผลงานวจิัย

และพัฒนาดาน

พลังงานเพ่ือเพ่ิม

ประสิทธิภาพใน

การบริการของ

งาน

8

(7.10%)

52

(46.00%)

40

(35.40%)

8

(7.10%)

5

(4.40%)

3.44 0.895

ดี

ดานการ

ประชาสัมพันธ

3.33

0.554

ปาน

กลาง

1. ขอมูลมีการ

เผยแพร

ประชาสัมพันธ

อยางตอเน่ืองและ

เพียงพอตอ

ความตองการ

13

(11.50%)

42

(37.20%)

48

(42.50%)

7

(6.20%)

3

(2.70%)

3.48

0.877

ดี

2. ส่ือ

ประชาสัมพันธท่ี

ใชในการเผยแพร

ขอมูลมีความ

หลากหลาย

6

(5.30%)

38

(33.60%)

37

(32.70%)

24

(21.20%)

8

(7.10%)

3.08

1.022

ปาน

กลาง

3. ขอมูลท่ี

เผยแพร

ประชาสัมพันธมี

ความถูกตอง

เชื่อถือได

10

(8.80%)

45

(39.80%)

47

(41.60%)

7

(6.20%)

4

(3.50%)

3.44

0.875

ดี

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

95

ภาพลักษณของ

สํานักงาน

นโยบายและ

แผนพลังงาน

กระทรวง

พลังงาน

ระดับความคดิเห็น

X S.D. ความ

หมาย

เห็นดวย

อยางย่ิง

เห็นดวย

ปานกลาง

ไมเหน็

ดวย

ไมเหน็

ดวย

อยางย่ิง

ดานการ

ประชาสัมพันธ

4. ขอมูลท่ี

เผยแพร

ประชาสัมพันธชา

ไมทันเหตุการณ

5

(4.40%)

49

(43.40%)

39

(34.50%)

13

(11.50%)

7

(6.20%)

3.28

0.949

ปาน

กลาง

5. ขอมูลท่ีเผยแพร

ประชาสัมพันธ

สามารถสราง

ความรูความเขาใจ

ท่ีถูกตองเก่ียวกับ

หนวยงาน

10

(8.80%)

41

(36.30%)

50

(44.20%)

10

(8.80%)

2

(1.80%)

3.41

0.842

ปาน

กลาง

6. ส่ือการเผยแพร

ประชาสัมพันธ

สามารถเขาถึง

กลุมเปาหมาย

4

(3.50%)

46

(40.70%)

43

(38.10%)

15

(13.30%)

5

(4.40%)

3.25

0.894

ปาน

กลาง

7. รูปแบบและ

เน้ือหาท่ี

ประชาสัมพันธมี

ความนาสนใจ

11

(9.70%)

31

(27.40%)

60

(53.10%)

8

(7.10%)

3

(2.70%)

3.34

0.853

ปาน

กลาง

8.ขอมูลท่ีเผยแพร

ประชาสัมพันธมี

จุดมุงหมายหรือ

วัตถุประสงคท่ี

ชัดเจน

7

(6.20%)

45

(39.80%)

41

(36.30%)

18

(15.90%)

2

(1.80%)

3.32

0.880

ปาน

กลาง

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 96

การทดสอบสมมติฐานการวิจัย การทดสอบสมมติฐานของการวิจัยในครั้งนี้ ผูวิจัยไดนําขอมูลจาก

แบบสอบถาม มาทําการทดสอบสมมติฐานของการวิจัยที่ต้ังไวทั้งหมด 3 ขอ ดังนี้

สมมติฐานท่ี 1 บุคลากรสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงานที่มีลักษณะ

ทางประชากรแตกตางกันจะมีการเปดรับขาวสารเ ก่ียวกับสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน

กระทรวงพลังงานตางกัน

ผลการวิจัยพบวา บุคลากรที่มีลักษณะทางประชากร อันไดแก อายุ รายได ตําแหนงงานที่แตกตาง

กันจะมีการเปดรับขาวสารเก่ียวกับสํานักงานนโยบายและแผนพลังงานตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ี

0.05 สวนตัวแปรเพศและระดับการศึกษาของบุคลากรที่แตกตางกันจะมีการเปดรับขาวสารเก่ียวกับ

สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงานไมตางกัน

สมมติฐานท่ี 2 บุคลากรสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงานที่มีลักษณะ

ทางประชากรแตกตาง กันจะมีการรับรูภาพลักษณของสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน

กระทรวงพลังงานตางกัน

ผลการวิจัยพบวา บุคลากรท่ีมีลักษณะทางประชากรอันไดแก เพศ ที่แตกตางกันจะมีการรับรู

ภาพลักษณของสํานักงานนโยบายและแผนพลังงานตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05

สวนตัวแปร อายุ รายได ระดับการศึกษาและตําแหนงงานของบุคลากรท่ีแตกตางกันจะมีการรับรู

ภาพลักษณของสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงานไมตางกัน

สมมติ ฐาน ท่ี 3 ก าร เป ดรั บข าวสา ร เ ก่ีย ว กับสํ านั กง านนโ ยบาย และ แ ผนพ ลั ง ง า น

กระทรวงพลังงานมีความสัมพันธกับการรับรูภาพลักษณของสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวง

พลังงาน

ผลการวิจัยพบวา การเปดรับขาวสารมีความสัมพันธกับการรับรูภาพลักษณของสํานักงาน

นโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05

การอภิปรายผล

จากผลการศึกษา พบวา บุคลากรมีความคิดเห็นตอภาพลักษณของสํานักงานนโยบาย

และแผนพลังงงาน กระทรวงพลังงานในดานบวก ซึ่งสอดคลองกับผลการศึกษาวิจัยของ ศิริยา เขื่องศิริกุล

(2548) เรื่อง“ภาพลักษณของกองทัพบก ในทัศนะของขาราชการในพื้นที่เขตดุสิต จังหวัดกรุงเทพมหานคร”

ทั้งนี้ ภาพลักษณเปนสิ่งเกิดขึ้นจากภายในใจของแตละคนซึ่งสามารถสรางจินตภาพเก่ียวกับสถาบันนั้นๆ

ไดจากไดรับรูไดฟงไดเห็นหรือประสบการณในอดีต โดยเกิดการรับรูขึ้นไดทั้งทางตรง (direct perception)

คือประสบการณที่ไดรับดวยตนเองและทางออม (indirect perception) คือประสบการณผานสื่อตางๆและ

ดวยประทับใจจึงทําใหบุคคลนั้นสามารถจดจําและพัฒนาเปนภาพอยางใดอยางหนึ่งขึ้นมา ทั้งน้ีสําหรับ

ภาพลักษณสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงานนั้นไมไดเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติหรือ

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

97

ปลอยใหเปนไปตามสภาวะแวดลอมทางสังคม แตไดผานการปรุงแตงโดยใชการประชาสัมพันธผานสื่อตาง ๆ

อยางตอเนื่อง เพื่อใหเกิดภาพลักษณตามท่ีตองการ ดังน้ัน ผูตอบแบบสอบถามในฐานะที่เปนบุคลากรของ

หนวยงานยอมไดรับรูจากสื่อตาง ๆ และยังจะเห็นไดอีกวา เมื่อเราพิจารณาตามขอของขอความจะสามารถ

ออกความคิดของบุคลากรในหนวยงาน ความแตกตางในเรื่องของสภาพการทํางาน

เปรียบเทียบการเปดรับขาวสารเก่ียวกับสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน

กระทรวงพลังงาน จําแนกตามลักษณะทางประชากร

ผลการศึกษาและทดสอบสมมติฐาน พบวา บุคลากรท่ีมีลักษณะทางประชากรประเภท

อา ยุ รายได ตําแหน งงาน แตกต าง กันจะมีการ เปดรับข าวสาร เ ก่ียว กับสํ า นักงานนโยบาย

และแผนพลังงาน กระทรวงพลังงานที่แตกตางกัน ทั้งนี้นาจะมีสาเหตุมาจากพฤติกรรมตามชวงอายุ ฐานะ

รายไดและตําแหนงงานท่ีตองรับผิดชอบของแตละบุคคลนั่นเอง ซึ่งเปนไปตามสมมติฐานที่ต้ังไว และ

สอดคลองกับผลการศึกษาวิจัยของ ยุบล เบ็ญจรงคกิจ (2534,หนา 64-71) ดวยแนวคิดลักษณะทาง

ประชากรที่เชื่อวา 1 0เมื่อคนเราอายุมากขึ้น มีโอกาสท่ีจะเปลี่ยนใจหรือถูกโนมนาวใหเปลี่ยนใจนอยลง

นอกจากนั้น อายุยังเปนเครื่องกําหนดความแตกตางในเรื่องของความคิดพฤติกรรมเชน คนหนุมสาวมักมี

ความคิดเสรีนิยม ยึดถืออุดมการณและมองโลกในแงที่ดีกวาและพรอมกับการเปดรับสิ่งใหมๆ ไดงายกวา

ผูสูงอายุ สวนผูมีอายุมากมักจะยึดถือปฏิบัติอยางมีความสุขุมรอบคอบระมัดระวังมากกวา นอกจากนี้

กลุมคนที่มีอายุตางกันลักษณะการใชสื่อมวลชนก็แตกตางกันเชนคนท่ีมีอายุ 1 0มากกวามักจะใชสื่อมวลชน

เพื่อแสวงหาขาวสารหนักๆ มากกวาเพื่อความบันเทิง

คนที่มีฐานะดีรายไดสูง มักเลือกเปดรับสื่อในในหลากหลายรูปแบบและประเภทของสื่อ และ

มีความสนใจเก่ียวกับขาวสารบานเมือง ปญหาเศรษฐกิจและสังคมตางๆ เพราะมีปจจัยดานกําลังทรัพย

พรอมกวาคนที่มีรายไดตํ่า

ตําแหนงงานและสถานะทางสังคม เปนปจจัยที่ทําใหคนมีเปาหมาย ทัศนคติ คานิยม พฤติกรรม

รวมถึงวัฒนธรรม และประสบการณที่ตางกัน ซึ่งมีผลไปถึงการเปดรับขาวสารท่ีแตกตางกัน ซึ่งเปนไปตาม

สมมติฐานและสอดคลองกับแนวคิดเรื่องลักษณะทางประชากรที่เชื่อวา สถานะทางสังคมเปนปจจัยที่ทํา

ใหคนมีวัฒนธรรมตางกัน มีการไดรับประสบการณที่ตางกัน มีเปาหมาย ทัศนคติ คานิยม และพฤติกรรม

แตกตางกัน ซึ่งอาจหมายรวมถึงการเปดรับขาวสารตางดวย

ขณะเดียวกัน จากผลการศึกษาและทดสอบสมมติฐานก็พบวาบุคลากรที่มีเพศ ระดับการศึกษา

แตกตางกันกลับไมมีความแตกตางในการเปดรับขาวสารเก่ียวกับองคการ ซึ่งอาจสอดคลองกับแนวคิดของ

พรทิพย วรกิจโภคาทร (2539) ที่วาการเปดรับขาวสารนั้น ยังเปนเรื่องสวนบุคคลผูรับสารจะเปดรับขาวสาร

ตามท่ีมีความสอดคลองกับความตองการ คานิยม ความเชื่อ และทัศนคติของตนโดยอาจเลือกตามความ

สะดวก หรือตามความเคยชิน ทั้งน้ีขึ้นอยูกับประเภทของขาวสาร

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 98

และเมื่อพิจารณาถึงเรื่องระดับการศึกษา การท่ีบุคลากรสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน

กระทรวงพลังงานที่มีระดับการศึกษาตางกัน มีการเปดรับขาวสารเก่ียวกับสํานักงานนโยบายและแผน

พลังงานฯ ไมแตกตางกัน โดยมีแตเพียงสื่ออิเล็กทรอนิกสประเภทเดียวเทานั้นท่ีมีความถ่ีในการเปดรับ

ขาวสารของผูตอบแบบสอบถามในแตละระดับการศึกษาที่แตกตางกัน ทั้งนี้ระดับการศึกษาเปนปจจัยดาน

ประสบการณและสงผลตอการเทคโนโลยีการสื่อสาร จะสังเกตเห็นไดจากกลุมผูตอบแบบสอบถามท่ีอยูใน

ระดับปริญญาโท 1 0และสูงกวาปริญญาโทนั้น มีความถ่ีในการเปดรับขาวสารประเภทสื่ออิเล็กทรอนิกส

มากกวาดวยความจําเปนในการเรียนและการคนควาที่เปนประสบการณจากการเรียนในระดับสูง สงผลให

กลายเปนสื่อเฉพาะบุคคล เฉพาะกลุมท่ีตองการศึกษาหาความรูหรือสิ่งตางๆดวยตนเอง

นอกจากนี้ ยังพบวา ความถ่ีในการเปดรับขาวสารน้ันขึ้นอยูกับประเภทของสื่อโดยขาราชการ

พนักงานราชการ และลูกจางชั่วคราวนั้น เลือกสื่อเฉพาะกิจดวยความถ่ีในการเปดรับขาวสารที่อยูในระดับมาก

สวนลูกจางประจําน้ัน จะมีความถ่ีในการเปดรับขาวสารผานทางสื่อประเภทบุคคลมากกวา ซึ่งสอดคลอง

กับผลการศึกษาวิจัย 1 3ของ สุดารัตน ศุภธรรมกิจ 1 3 (2551) เรื่อง “ภาพลักษณบริษัทบริหารสินทรัพยกรุงเทพ

พาณิชย จํากัด (บสก.)ในสายตาของพนักงาน14”

อยางไรก็ตาม กลุมผูตอบแบบสอบถามสวนใหญใหความสนใจในการเปดรับขาวสารผานสื่อ

ประเภทสื่อกิจกรรม ดวยความถ่ีที่นอยที่สุด

เปรียบเทียบการรับรูภาพลักษณของสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน

กระทรวงพลังงาน จําแนกตามลักษณะทางประชากร

จากผลการศึกษา พบวา บุคลากรสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน

ที่มีอายุ รายได ระดับการศึกษาตําแหนงงานตางกันจะมีการรับรูภาพลักษณของสํานักงานนโยบายและ

แผนพลังงาน กระทรวงพลังงานที่ไมแตกตางกัน ซึ่งไมเปนไปตามสมมติฐานที่ต้ังไวและขัดแยงกับแนวคิด

เก่ียวกับลักษณะทางประชากร ทั้งนี้อาจเปนเพราะการรับรูภาพลักษณน้ันเกิดจากการไดรับประสบการณ

ของแตละบุคคล โดยไมขึ้นอยูกับปจจัยขางตน อาจกลาวไดวาอายุรายไดระดับการศึกษา ตําแหนงงานไม

มีผลตอการรับรูภาพลักษณของสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน ซึ่งสอดคลองกับ

ผลการศึกษาวิจัยของ สติมา ศรีนคร 1 3 (2552) เรื่อง 1 3ภาพลักษณกระทรวงเกษตรและสหกรณในการรับรูของ

ขาราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ และผลการศึกษาวิจัยของ นิพาพร ปานปน(2550) เ ร่ือง

ภาพลักษณของสํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ

อยางไรก็ตาม จากผลการศึกษา กลับพบวา บุคลากรสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน

กระทรวงพลังงานที่มีเพศตางกันจะมีการรับรูภาพลักษณของสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวง

พลังงาน ที่แตกตางกัน ซึ่งขัดแยงกับขอสรุปขางตนอยูบาง แตก็เปนไปตามสมมติฐานและสามารถอธิบาย

ไดดวยแนวคิดเก่ียวกับลักษณะทางประชากร

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

99

ความสัมพันธระหวางการเปดรับขาวสารเก่ียวกับสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน

กระทรวงพลังงาน กับการรับรูภาพลักษณของสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน

กระทรวงพลังงาน

จากผลการศึกษา พบวา การเปดรับขาวสารเก่ียวกับสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน

กระทรวงพลังงานมีความสัมพันธกับการรับรูภาพลักษณของสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวง

พลังงาน ซึ่งขัดแยงกับสมมติฐานที่ต้ังไวกลาวคือ บุคลากรสํานักงานนโยบายและแผนพลังงานไดรับ

ขาวสารจากเพื่อนรวมงานมากกวาชองทางอ่ืนๆ และมีความถ่ีในการรับขาวสารดวยชองทางน้ีมากท่ีสุด

สอดคลองกับแนวความคิดของวิลเลี่ยม เฟรเดอริค (Frederick, 1987) ที่กลาววา หลังจากผูรับสารผาน

กระบวนการเลือกรับขาวสารและเปดรับขาวสารแลว กระบวนการสื่อสารยังไมถือวาเปนการสิ้นสุด โดยสิ่งที่

ควรพิจารณาตอไปคือ ผลที่จะเกิดตอผูรับสารอันเนื่องมาจากขาวสารน้ันๆ ซึ่งจากผลการศึกษา พบวา

การรับรูภาพลักษณขององคการนั้นไมไดมีความสัมพันธ หรือขึ้นอยูกับการเปดรับขาวสารของตัวบุคลากร

แตอยางใด

ขอเสนอแนะท่ัวไป

ผลการวิจัยพบวา

1.บุคลากรเปดรับสื่อในระดับปานกลางลงไปถึงระดับนอย จึงตองเพิ่มปริมาณการเปดรับ

การสือ่สารเพื่อใหปริมาณการเปดรับสื่อมากขึ้นและตองมีการเปดรับสื่ออยางตอเน่ือง

2. บางสื่อท่ีบุคลากรเปดรับสื่อในระดับมาก เชนสื่ออิเล็กทรอนิกส จึงเห็นควรใสขอมูลขาวสาร

เก่ียวกับองคการผานสื่อเหลานั้นใหมากขึ้น

3. มีภาพลักษณบางประเด็นท่ียังไมถึงระดับดีหรือดีมาก อาจอยูในระดับดีปานกลางตองเรงปรับ

หรือสรางภาพลักษณใหมากขึ้น

4. เมื่อพบวาการเปดรับขาวสารมีความสัมพันธกับการรับรู จึงตองเรงเพิ่มปริมาณการเปดรับ

ขาวสารใหมากขึ้นโดยเฉพาะสื่อกิจกรรม

5. กลยุทธในการสรางการรับรู คือความพยายามใหบุคลากรทุกระดับตําแหนงไดมีสวนรวมใน

การสรางภาพลักษณของสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงานเพราะบุคลากรทุกระดับ

ตําแหนงมีการรับรูหรือการเปดรับขาวสารไมตางกัน

6. เนื่องจากการศึกษามีความสัมพันธกับการเปดรับขาวสาร(การใชสื่อ) แตยังมีบุคลากรที่มีระดับ

การศึกษาสูง เปดรับสื่ออิเล็กทรอนิกสมากกวาบุคลากรที่มีระดับการศึกษาตํ่า โดยอาจจะใหมีการฝกอบรม

สําหรับกลุมเปาหมายที่มีการศึกษาในระดับท่ีตํ่ากวา และตําแหนงท่ีตํ่ากวา

7. ควรเพิ่มชองทางการสื่อสารโดยตองสํารวจวามีชองทางการสื่อสารอะไรใหมๆหรือสื่ออ่ืนๆ

ที่เขาถึงบุคลากรเปาหมายกลุมตางๆ ผานสื่ออะไรบาง เพื่อจะไดนํามาใชประโยชนในการกําหนดสื่อหรือ

วางแผนใชสื่อในโอกาสตอไป

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 100

8. ภาพลักษณใดดีอยูแลวตองรักษาไว โดยใหบุคลากรสื่อสารอยางสม่ําเสมอและตอเนื่อง โดยใช

สื่อที่สามารถเขาถึงบุคลากรไดอยางทั่วถึง

ขอเสนอแนะเพื่อการวิจัยคร้ังตอไป 1. ควรทําการศึกษาการรับรูภาพลักษณของสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวง

พลังงานในมุมมองของบุคคลภายนอกองคการ เชน ประชาชนทั่วไป สื่อมวลชนเพื่อเปนการศึกษาภาพ

สะทอนจากภายนอก โดยผลการวิจัย น้ันมีความสําคัญตอการกําหนดเปาหมายแผนงานดาน

ประชาสัมพันธลําดับตอไปของหนวยงาน 2. ควรทําการศึกษาเปรียบเทียบความคิดเห็นของบุคลากรในหนวยงานจําแนกตามแผนก และ

หนาท่ีความรับผิดชอบ เพื่อใหทราบถึงปญหาและหาแนวทางการวางแผนแกไขเพื่อสรางพฤติกรรม

การเปดรับขาวสารและสรางการรับรูภาพลักษณขององคกรในทางบวกเพิ่มมากขึ้น 3. ใหสํารวจความสนใจของบุคลากรภายในสํานักโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน

เก่ียวกับขาวสารท่ีบุคลากรภายในสํานักงานนโยบายและแผนพลังงานกระทรวงพลังงาน ตองการไดรับเพื่อ

สรางความสนใจในตัวขาวสารและสื่อใหบุคลากรหันมาเปดรับในเรื่องที่ตนเองสนใจมากขึ้น

บรรณานุกรม

กระทรวงพลังงาน, สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน. (2552). รายงานประจําป สํานักงานนโยบาย

และแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน. กรุงเทพฯ: สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวง

พลังงาน.

กาญจนา แกวเทพ. (2540). การวิเคราะหสื่อ: แนวคิดและเทคนิค. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ

มหาวิทยาลัย.

ขวัญเรือน กิติวัฒน. (2531). แนวคิดเบ้ืองตนเก่ียวกับพฤติกรรมการสื่อสาร. ใน เอกสารประกอบการสอน

วิชาพลศาสตรของการสื่อสาร. 12นนทบุรี: สํานักพิมพมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช12.

จิตร อาวะกุล. (2522). การประชาสัมพันธ: หลักและวิธีปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช8.

ฉลอง ภิรมยรัตน. (2542). จิตวิทยาสังคมไทย. กรุงเทพฯ: ประจักษการพิมพ.

เดโช สวนานนท. (2510). จิตวิทยาสังคม. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร.

นิภาพร ปานปน. (2550). การรับรูของพนักงานท่ีมีตอภาพลักษณของสํานักงานงานพัฒนา

วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาต.ิ กรุงเทพฯ: คณะวารศาสตรและสื่อสารมวลชน

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

101

ประคอง กรรณสูตร. (2542). การวิเคราะหและการหาประสิทธิภาพของเคร่ืองมือท่ีใชในการวิจัยใน

สถิติเพ่ือการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร (พิมพครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: ดานสุทธาการพิมพ.

ปรมะ สตะเวทิน. (2541). หลักทฤษฎีทางสื่อสาร. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

พงษเทพ วรกิจโภคาทร. (2533). ภาพพจนกับการประชาสัมพันธ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

พัชนี เชยจรรยา, เมตตา วิวัฒนากุล และถิรนันธ อนวัชศิริวงษ. (2543). ทฤษฎีแมแบบทางนิเทศศาสตร.

กรุงเทพฯ: สํานักงานพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

พรทิพย พิมลสินธุ. (2537, มิถุนายน – ตุลาคม). การประเมินภาพพจนและภาพพจนเชิงลบ. วารสาร

สื่อสารมวลชน, : 17.

พรทิพย พิมลสินธุ. (2540). ภาพพจนน้ันสําคัญย่ิง:การประชาสัมพันธกับภาพพจน (พิมพครั้งที่ 4).

กรุงเทพฯ: ประกายพรึก.

พรทิพย พิมลสินธุ. (2551). การวิจัยเพ่ือการประชาสัมพันธ (พิมพครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ: ประกายพรึก.

ยุบล เบ็ญจรงคกิจ. (2524). การวิเคราะหผูรับสาร. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

ราชบัณฑิตสถาน. (2546). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542. กรุงเทพฯ: นานมีบุคส

พับลิเคชั่น.

ลดาวัลย เพชรโรจน และอัจฉรา ชํานิประศาสน. (2547). ระเบียบวิธีการวิจัย. กรุงเทพฯ: ดีการพิมพ.

วิรัช ลภิรัตนกุล. (2549). การประชาสัมพันธฉบับสมบูรณ. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

ศิริยา เขื่องศิริกุล. (2548). ภาพลักษณของกองทัพบกในทัศนะของขาราชการในพ้ืนท่ีเขตดุสิต

จังหวัดกรุงเทพมหานคร. กรุงเทพฯ: คณะวารศาสตรและสื่อสารมวลชน

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

สติมา ศรีนคร8. (2552). ภาพลักษณกระทรวงเกษตรและสหกรณในการรับรูของขาราชการกระทรวง

เกษตรและสหกรณ13. วิทยานิพนธมหาบัณฑิต คณะวารศาสตรและสื่อสารมวลชน

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร13.

สุดารัตน ศุภธรรมกิจ. (2551). ภาพลักษณบริษัทบริหารสินทรัพยกรุงเทพพาณิชย จํากัด (บสก.)

14สายตาของพนักงาน14. กรุงเทพฯ: คณะวารสารศาสตรและสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

สมควร กวียะ. (2547). การประชาสัมพันธใหม. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร.

เสรี วงษมณฑา. (2541). ภาพน้ัน...สําคัญไฉน.กรุงเทพฯ: ธีระฟลมและไซแท็กซ.

เสรี วงษมณฑา. (2541). 108 การประชาสัมพันธ. กรุงเทพฯ: A.N.การพิมพ.

อํานวย วีรวรรณ. (2540). การแกวิกฤตการณและสรางภาพพจนใหแกองคกร. ใน พรทิพย พิมลสินธุ

(บรรณาธิการ). ภาพพจนน้ันสําคัญย่ิง:การประชาสัมพันธกับภาพพจน (พิมพครั้งที่ 4)

กรุงเทพฯ: ประกายพรึก.

Anderson, P.M. & Rubin, L.G. (1986). Marketing Communication. New Jersey: Prentice Hall.

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 102

Becker,S.L. (1978). Discovering Mass Communication. Ilinois: Scott Foresman and Glenwave.

Bernays, E.L. (1961). Your Future in Public Relations. New York: Richard Rosen Press.

Boulding K.E. (1975). The Image of Life and Society. Michigan: The University of Michigan.

Cutlip, S.M, Center, A,H. and Broom, G.M. (2000). Effective Public Relations (8th ed).

New Jersey: Prentice-Hall.

Edward L.Bernay. (1952). Public Relations. Norman: University of Oklahoma Press.

Elmer H.Burack. (1977). Career Management in Organizations. Chicago: University of Illinois.

Harlow , Rex F. (1942). Public Relations in War and Peace. California: University of California.

Jefkins, F. (1982). Public Relations Mode Simple. London: Heinemann.

Klapper, Joseph T. (1978). The Effect of Mass Communication. New York: The Free Press.

Marston, J.E. (1997). Modern Public Relations. New York: McGraw-Hill Book.

Simon, R. (1984). Public Relation Concept and Practices (3rd ed). New York:

John Wiley and Son.

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

103

อิทธิพลของปจจยัสวนบุคคล และการรับรูความเส่ียงที่มีตอการจัดการความ

เส่ียงของเกษตรกรผูปลูกขาวโพดเล้ียงสัตว

Influence of Personal Factors and Perceptions of Risk on Risk Management

of Maize Farmers จินตนา สุขมณี1 ทิพรัตน พงศธนาพาณิช2 ศานิต เกาเอ้ียน3 และวิศิษฐ ลิ้มสมบุญชัย4

1นิสิตระดับบัณฑิตศึกษา คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 2ผูชวยศาสตราจารย คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

3รองศาสตราจารย คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 4ผูชวยศาสตราจารย คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

บทคัดยอ

ภาคเกษตรมักเผชิญกับความเสี่ยงทางกายภาพดานตลาดและราคา สงผลกระทบตอระดับผลผลิต

และรายไดท่ีอาจสูงหรือตํ่ากวาท่ีเกษตรกรคาดหวัง แนวคิดการศึกษานี้อยูภายใตสมมติฐานวา เกษตรกรจะ

มีการแปลความและรับรูถึงความเสี่ยงนั้นๆ ท่ีมากระทบตอรายไดในระดับที่แตกตางกันโดยอาจแตกตางกัน

ไปตามปจจัยสวนบุคคล และสงผลใหมีการจัดการความเสี่ยงตามการรับรู การศึกษาอาศัยขอมูลจาก

แบบสัมภาษณเกษตรกรในพื้นที่ศึกษาจํานวน 117 ราย การวิเคราะหใชเทคนิค Factor Analysis เพื่อลด

จํานวนตัวแปรที่มีความหลากหลาย แลวจึงนํามาวิเคราะหโดยใชสมการถดถอยเชิงซอน โดยวิเคราะห 2

สวนไดแก สวนที่ 1 วิเคราะหสมการถดถอยโดยกําหนดใหปจจัยสวนบุคคลเปนตัวแปรอิสระ และปจจัยดาน

การรับรูความเสี่ยงเปนตัวแปรตาม สวนท่ี 2 กําหนดใหปจจัยสวนบุคคลและปจจัยดานการรับรูความเสี่ยง

เปนตัวแปรอิสระ และปจจัยดานการจัดการความเสี่ยงเปนตัวแปรตาม ผลการศึกษาพบวา เกษตรกรใน

พื้นที่ศึกษารับรูความเสี่ยงดานภัยแลงมากที่สุด แตกลับสนใจจัดการความเสี่ยงโดยรวมท่ีสงผลกระทบ

ตอรายไดผานโครงการประกันรายไดมากท่ีสุด และสนใจจัดการความเสี่ยงภัยแลงโดยตรงในระดับรองๆ

ลงมา อาจเปนไปไดวาเกษตรกรยังไมไดรับทราบหรือไมมีขอมูลมากนักในการจัดการความเสี่ยงท่ีเก่ียวของ

โดยตรง และพบวาเกษตรกรท่ีมีมูลคาคงเหลืออุปกรณการเกษตรมาก จะมีความสนใจในการจัดการความ

เสี่ยงดานภัยแลงมากดวย จึงทําใหการจัดเก็บเบ้ียประกันจากเกษตรกรรายเล็กยังอาจทําไดยาก ผูเก่ียวของ

โดยเฉพาะภาครัฐสามารถนําผลการศึกษานี้ไปใชพัฒนาวิธีการใหความชวยเหลือเกษตรกรในการจัดการ

ความเสี่ยง

คําสําคัญ : การรับรูความเสี่ยง, การจัดการความเสี่ยง, การวิเคราะหปจจัย

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 104

Abstract

Agriculture is often faced with the physical, market and price risks. Risks affect

productivity and income levels may be higher or lower than farmers expected. Concepts in this

study under the assumption Farmers interpreted and perceived risks affect income different

levels. Risks perception may vary to personal factors. Farmers manage risks follow Risks

perception. The primary data were gathered from a survey of a sample of 117 farmers. In this

study, the analyses used Factor Analysis to reduce the number of variables. Then use Multiple

Regression analysis. The analyses were divided into 2 parts. Part 1: personal factors as

independent variables, perceived risk factors as dependent variables. Part 2 personal factors

and perceived risk factors as independent variables, risk management factors as dependent

variables. The results indicated most farmers perceived drought risk. The income insurance

program is method of risk management that the effect of income of most farmer interest. Farmer

less interested in risk management in drought. Farmer may do not know about risk

management directly involved. If farmers have Present value of agricultural machinery increase

they will interest in risk management with more drought. Then billing premium from small farmers

is difficult. Government can use the results to develop risk management strategies.

Keyword : Risk Perception, Risk Management, Factor Analysis

บทนํา

ความเสี่ยงเปนสถานการณที่ไมเปนไปตามผลที่คาดวาจะเกิดขึ้น เชน โอกาสที่ผลกําไรที่ไดรับไม

ตรงกับผลกําไรท่ีคาดหวังอันเนื่องมาจากสาเหตุตางๆ หรือโอกาสที่จะทําใหการดําเนินโครงการไมเปนไป

ตามแผน เปนตน เกษตรกรมักเผชิญกับความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจากปจจัยตางๆ ที่ไมสามารถควบคุมได เชน

ปจจัยทางธรรมชาติท่ีมีความผันแปรสูง การผลิตใชเวลานานและตองรอฤดูกาล ปจจัยดานราคาผลผลิต

และราคาปจจัยการผลิต เปนตน สงผลใหปริมาณผลผลิต รายไดที่ไดรับจริงจะมากกวาหรือนอยกวาที่

คาดหวัง เกษตรกรจึงจําเปนตองหาทางเลือกเพื่อจะชวยลดความเสี่ยง โดยในการศึกษาครั้งน้ีสนใจดูถึง

ความเสี่ยงของเกษตรกรผูปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว โดยความเสี่ยงในการศึกษานี้ คือ สถานการณตางๆ

ที่สงผลตอรายไดของเกษตรกรเมื่อเกษตรกรเผชิญความเสี่ยงตางๆ แตละคนจะมีการรับรูถึงความเสี่ยง

ตางๆ เหลานั้นแตกตางกัน โดยการรับรูเปนการแปลความหมายตอเรื่องราวหนึ่งๆ ของบุคคล ดังนั้นการรับรู

ความเสี่ยงในการศึกษาครั้งนี้ คือ เมื่อมีสถานการณความเสี่ยงมากระทบกับรายไดของเกษตรกรผูปลูก

ขาวโพดเลี้ยงสัตว เกษตรกรจะมีการแปลความหมายของสถานการณตางๆ เหลานั้น โดยแตละคนจะมีการ

แปลความที่ตางกัน เกษตรกรจะรูสึกวาความเสี่ยงเหลานั้นกระทบกับรายไดในระดับที่แตกตางกัน และเมื่อ

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

105

เกษตรกรรับรูถึงความเสี่ยงแลวก็จะหาวิธีลดผลกระทบจากความเสี่ยงหรือการจัดการความเสี่ยงเหลาน้ัน

เชน การประกันภัยพืชผล การผลิตแบบผสมผสาน การเลื่อนฤดูกาลเพาะปลูก เปนตน

เกษตรกรผูปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวมีความเสี่ยงในการผลิตตลอดเวลา ทั้งภัยธรรมชาติ เชน ภัยแลง

น้ําทวม แมลงและโรคระบาด จากสถิติสํานักงานเกษตรจังหวัดนครราชสีมา (2551) จังหวัดนครราชสีมามี

พื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวเสียหายมากที่สุด ต้ังแตปเพาะปลูก 2545/46-2550/51 เคยมีพื้นที่เสียหายสูง

ถึง 43,831 ไร ในปเพาะปลูก 2547/48 และอําเภอปากชองเปนพื้นท่ีท่ีมีการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวมากที่สุด

ในจังหวัดนครราชสีมา คือ 224,217 ไร นอกจากนี้เกษตรกรยังเผชิญกับความเสี่ยงดานการผันผวนของ

ราคาขาวโพดเลี้ยงสัตวต้ังแตเดือนมกราคม ป พ.ศ. 2545 ถึง เดือนธันวาคม ป พ.ศ. 2552 พบวา ราคา

ขาวโพดเลี้ยงสัตวเฉลี่ยต้ังแตป พ.ศ. 2545 ถึง ป พ.ศ. 2551 เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง แตในป พ.ศ. 2552 ราคา

เฉลี่ยเทากับ 5.31 ลดลงจากป พ.ศ. 2551 ที่มีราคาเฉลี่ยเทากับ 7.10 (สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร,

2552) ดังน้ันในอนาคตราคาขาวโพดเลี้ยงสัตวมีโอกาสที่จะลดลงได และเปนเหตุใหรายไดของเกษตรกร

ลดลงดวย

เกษตรกรตองสูญเสียรายไดจากพื้นที่เสียหายซึ่งสวนใหญเกิดจากภัยแลง ดังนั้นความเสี่ยงท่ี

เกษตรกรควรจะรับรูมากที่สุด คือ ความเสี่ยงจากภัยแลง เมื่อเกษตรกรตองเผชิญกับความเสี่ยงตางๆ แลว

เกษตรกรแตละคนก็จะมีวิธีการลดความเสี่ยงหรือการจัดการความเสี่ยงที่แตกตางกันไป โดยอาจแตกตาง

กันตามปจจัยสวนบุคคล เชน อายุ การศึกษา เพศ เปนตน หรืออาจแตกตางกันตามการรับรูความเสี่ยง

และการรับรูความเสี่ยงของเกษตรกรก็อาจขึ้นอยูกับปจจัยสวนบุคคล ในพื้นที่เดียวกันเกษตรกรจะตอง

เผชิญกับความเสี่ยงในลักษณะเดียวกัน แตในการเผชิญกับความเสี่ยงของเกษตรกรนั้น เกษตรกรจะมีระดับ

การรับรูที่แตกตางกัน งานศึกษาน้ีจึงตองการทดสอบวาปจจัยสวนบุคคลจะมีอิทธิพลตอการรับรูความเสี่ยง

อยางมีนัยสําคัญทางสถิติหรือไม และปจจัยสวนบุคคลและการรับรูความเสี่ยงจะมีอิทธิพลตอการจัดการ

ความเสี่ยงอยางมีนัยสําคัญทางสถิติหรือไม

Levy and Markowitz (Hazell, 1986: 80 cited Levy and Markowitz, 1979) ใชความแปรปรวน

ของรายไดเปนตัวแทนความเสี่ยง ถากําหนดใหรายไดท่ีคาดหวังอยูท่ีระดับหนึ่ง ผูตัดสินใจที่มีเหตุผลจะตอง

เลือกแผนการผลิต ที่ทําใหทําใหคา Expected Utility ของผูตัดสินใจสูงท่ีสุด และเปนแผนที่มีความเสี่ยง

นอยที่สุดภายในขอบเขตการผลิตที่เปนไปได ดังนั้นเกษตรกรที่มีเหตุผลจะคํานึงถึงรายไดท่ีคาดหวังวาจะ

ไดรับและความแปรปรวนของรายได หรือความเสี่ยง ดังน้ันความเสี่ยงในการศึกษานี้ คือ ปจจัยที่กระทบกับ

รายไดของเกษตรกร สงผลใหเกษตรกรไดรับรายไดที่ไมคงท่ี

การศึกษาลักษณะนี้มักพบในงานวิจัยตางประเทศ สวนใหญศึกษาที่ประเทศสหรัฐอเมริกา และ

กลุมตัวอยางสวนใหญเปนเกษตรกรดานปศุสัตว เชน โคนม โคเนื้อ และสุกร ดังจะเห็นไดจากงานวิจัยของ

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 106

Patrick et al. (1985) Wilson, Armstrong, and Luginsland (1987) Hall et al. (2003) และ Patrick et

al. (2007) นอกเหนือจากประเทศสหรัฐอเมริกา ก็มีงานวิจัยของ Meuwissen, Huirne, and Hadarker

(2001) ศึกษาในประเทศเนเธอรแลนด และ Lien et al. (2003) ศึกษาในประเทศนอรเวย สวนในประเทศไทย

สวนใหญเปนการศึกษาการรับรูความเสี่ยงในการทํางานของคนงานภาคอุตสาหกรรมโดยเนนศึกษาความ

เสี่ยงดานกายภาพเปนหลัก การศึกษาดานการรับรูความเสี่ยงและการจัดการความเสี่ยงในภาคการเกษตรมี

ไมมากนัก และพบวาในประเทศไทยยังไมมีการศึกษาในประเด็นดังกลาวจึงทําใหเปนที่มาของการศึกษา

ครั้งน้ี การศึกษาในเรื่องการรับรูความเสี่ยง และการจัดการความเสี่ยงของเกษตรกรจะทําใหไดมาซึ่งขอมูลที่

รัฐสามารถนําไปใชประกอบการตัดสินใจใหความชวยเหลือเกษตรกรในทิศทางที่สอดคลองกับความสนใจ

ในวิธีการจัดการความเสี่ยงของเกษตรกร โดยความสนใจของเกษตรกรน้ันอาจมาจากปจจัยสวนบุคคลหรือ

การรับรูความเสี่ยง และภาครัฐสามารถนําผลการศึกษานี้ไปใชพัฒนา หรือคิดคนวิธีการใหความชวยเหลือ

เกษตรกรในการจัดการความเสี่ยง เพื่อยกระดับรายไดของเกษตรกรในอนาคต

วัตถุประสงคของการวิจัย

1. เพื่อทราบถึงปจจัยสวนบุคคล ระดับการรับรูความเสี่ยง และความสนใจในการจัดการความ

เสี่ยงของเกษตรกรในการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว อําเภอปากชอง จังหวัดนครราชสีมา

2. เพื่อวิเคราะหอิทธิพลของปจจัยสวนบุคคลที่มีตอระดับการรับรูความเสี่ยงของเกษตรกรผูปลูก

ขาวโพดเลี้ยงสัตว อําเภอปากชอง จังหวัดนครราชสีมา

3. เพื่อวิเคราะหอิทธิพลของปจจัยสวนบุคคล และระดับการรับรูความเสี่ยงที่มีตอระดับความสนใจ

ในการจัดการความเสี่ยงของเกษตรกรผูปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว อําเภอปากชอง จังหวัดนครราชสีมา

วิธีดําเนินการวิจัย

ในการศึกษาครั้งนี้ทําการเก็บรวบรวมขอมูลปฐมภูมิจากการสํารวจกลุมตัวอยางโดยวิธีการ

สัมภาษณประกอบแบบสอบถามจํานวน 117 ตัวอยาง ขอมูลประกอบดวยปจจัยสวนบุคคล ไดแก เพศ

อายุ การศึกษา มูลคาคงเหลืออุปกรณการเกษตร เน้ือที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว ประสบการณการทําไร

ขาวโพดเลี้ยงสัตว ลักษณะความเปนเจาของที่ดิน และหนี้สินทั้งหมด สวนขอมูลดานการรับรูความเสี่ยง

เปนการวัดระดับผลกระทบของความเสี่ยงที่มีตอรายไดของเกษตรกรโดยการศึกษานี้มีตัวแปรความเสี่ยงท่ี

กระทบกับรายไดของเกษตรกรท้ังสิ้น 29 ตัวแปร และขอมูลดานการจัดการความเสี่ยงเปนการวัดระดับ

ความสนใจในวิธีการจัดการความเสี่ยงในการศึกษานี้มีตัวแปรวิธีการจัดการความเสี่ยงท้ังสิ้น 36 ตัวแปร

ใชการวัดระดับเปนคะแนนแบบ Likert Scale ต้ังแต 1 ถึง 5 ทั้งการรับรูความเสี่ยง (1 คือ ความเสี่ยงไมมี

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

107

ผลกระทบตอรายได ถึง 5 คือ ความเสี่ยงมีผลกระทบตอรายไดมากที่สุด) และการจัดการความเสี่ยง (1 คือ

สนใจวิธีการจัดการความเสี่ยงนอยที่สุด ถึง 5 คือ สนใจวิธีการจัดการความเสี่ยงมากที่สุด) แลวจึงนําขอมูล

ไปวิเคราะห ดังนี้

1. เนื่องจากตัวแปรดานการรับรูความเสี่ยง และการจัดการความเสี่ยงมีตัวแปรจํานวนมาก จึง

ตองมีการลดจํานวนตัวแปรโดยใชโดยใชเทคนิค Factor Analysis เริ่มจากการวิเคราะหความสัมพันธของ

ตัวแปรดานการรับรูความเสี่ยง 29 ตัวแปร และวิเคราะหความสัมพันธของตัวแปรดานการจัดการความเสี่ยง

36 ตัวแปร ถาพบวา ตัวแปรใดไมมีความสัมพันธกับตัวแปรอ่ืนๆ หรือมีความสัมพันธนอยมาก จะตัดตัวแปร

นั้นออกไปจากการวิเคราะห ในการศึกษาครั้งนี้ไมไดมีการตัดตัวแปรใดท้ิงไป

2. นําตัวแปรที่ผานการวิเคราะหมาสกัดปจจัยโดยวิธี Principal Component จะทําใหไดจํานวน

ปจจัยที่จะจัดกลุมตัวแปรเขาไป ดานการรับรูความเสี่ยงได 10 ปจจัย และดานการจัดการความเสี่ยงได 12

ปจจัย วิธีนี้จะทําใหสามารถประมาณคา Factor Loading เปนคาที่ใชพิจารณาวาตัวแปรใดบางท่ีควรจะอยู

ในปจจัยเดียวกัน ถาคา Factor Loading ของตัวแปรใดมีคาเขาใกล 1 ควรจัดตัวแปรนั้นอยูในปจจัย

ดังกลาว

3. คา Factor Loading มีคากลางๆ ทําใหไมสามารถจัดตัวแปรไดวาควรอยูในปจจัยใด จึงตองทํา

การหมุนแกนปจจัยแบบ Varimax เพื่อทําใหคา Factor Loading ของตัวแปรมีคามากขึ้นหรือลดลง

จนกระทั่งทราบวาตัวแปรนั้นควรอยูในปจจัยใด ต้ังชื่อปจจัยใหมจากตัวแปรที่อยูในปจจัยโดยดูจากคา

Factor Loading ท่ีมีคาต้ังแต 0.40 ขึ้นไป เมื่อใชเทคนิค Factor Analysis แลว จะเหลือตัวแปรท่ีใชในการ

วิเคราะหดานการรับรู 10 ตัวแปรหรือปจจัย ดังน้ี

1) ปจจัยดานตนทุนสารเคมี ประกอบดวยตัวแปรการรับรูความเสี่ยงดานราคายาฆาแมลง

(0.880) ราคายาปราบวัชพืช (0.835) ความอุดมสมบูรณของดิน (0.449) คาซอมรถไถและอุปกรณ

การเกษตรอ่ืนๆ (0.407)

2) ปจจัยดานปญหาศัตรูพืช ประกอบดวย ตัวแปรการรับรูความเสี่ยงดานโรคราน้ําคาง

(0.845) โรคราสนิม (0.809) หนอน เพลี้ย และแมลงตางๆ (0.589)

3) ปจจัยดานตนทุนปจจัยการผลิตอ่ืนๆ ประกอบดวย ตัวแปรการรับรูความเสี่ยงดานราคา

พลังงาน (0.804) ราคาเมล็ดพันธุ (0.678) ราคาปุยเคมี (0.541) ราคาซังขาวโพดเลี้ยงสัตว (-0.446)

4) ปจจัยดานตนทุนการปลูก ประกอบดวย ตัวแปรการรับรูความเสี่ยงดานคาจางรถหยอด

เมล็ดพันธุ (0.881) คาจางรถไถ (0.879) คาซอมรถไถและอุปกรณการเกษตรอ่ืนๆ (-0.478)

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 108

5) ปจจัยดานการเพาะปลูก ประกอบดวย ตัวแปรการรับรูความเสี่ยงดาน อัตราการงอก

ของเมล็ดพันธุ (0.750) คุณภาพของปุยที่ใช (0.701) น้ําทวม (0.451)

6) ปจจัยดานตนทุนอัตราดอกเบ้ียเงินกู ประกอบดวย ตัวแปรการรับรูความเสี่ยงดาน

ดอกเบ้ียเงินกูนอกระบบ (0.842) ดอกเบ้ียเงินกูในระบบ เชน ดอกเบ้ียเงินกู ธกส. (0.722)

7) ปจจัยดานสถานการณราคาขาวโพด ประกอบดวย ตัวแปรการรับรูความเสี่ยงดานผูรับ

ซื้อกดราคา (0.776) ราคาซังขาวโพดเลี้ยงสัตว (0.431) ราคาขาวโพดเลี้ยงสัตว (0.424) คาสีขาวโพดเลี้ยง

สัตว (0.421) ภาษีท่ีดิน (0.408)

8) ปจจัยดานตนทุนแรงงาน ประกอบดวย ตัวแปรการรับรูความเสี่ยงดานคาจางแรงงาน

(0.748) แรงงานไมต้ังใจทํางาน ทํางานชา ทําใหตองจางเปนเวลานานขึ้น (0.691) คาซอมรถไถและ

อุปกรณการเกษตรอ่ืนๆ (0.402)

9) ปจจัยดานตนทุนการเก็บเก่ียว ประกอบดวย ตัวแปรการรับรูความเสี่ยงดาน คาจางรถ

เก็บเก่ียวขาวโพดเลี้ยงสัตว (0.762) คารถบรรทุกขาวโพดเลี้ยงสัตวไปขาย (0.677) คาสีขาวโพดเลี้ยงสัตว

(0.473) คาเชาที่ดิน (-0.464)

10) ปจจัยดานภัยแลง ประกอบดวย ตัวแปรการรับรูความเสี่ยงดานภัยแลง (0.713)

ความชื้นของขาวโพดเลี้ยงสัตว (0.686) ราคาขาวโพดเลี้ยงสัตว (0.422)

เมื่อใชเทคนิค Factor Analysis แลว จะเหลือตัวแปรที่ใชในการวิเคราะหดานการจัดการความเสี่ยง

12 ตัวแปรหรือปจจัย ดังน้ี

1) ปจจัยดานอุปกรณการเกษตร ประกอบดวย ตัวแปรการจัดการความเสี่ยงดานการการ

ซื้อเคร่ืองหยอดเมล็ดพันธุ (0.855) การซื้อเครื่องพนยา (0.811) การซื้อรถอีแตน (0.771) ซื้อรถไถ (0.718)

การซื้อเครื่องสีขาวโพด (0.648)

2) ปจจัยดานเงินกู ประกอบดวย ตัวแปรการจัดการความเสี่ยงดาน การนําปจจัยการผลิต

มาใชกอน เมื่อขายผลผลิตไดจึงใชหน้ีทีหลัง (0.760) การกูยืมเงินจากกองทุนของรัฐบาล (ดอกเบ้ียตํ่า)

(0.726) การทําสัญญาซื้อขายผลผลิตกับแหลงเงินทุนที่กูยืม (0.724) การใชหนี้ใหตรงเวลาเพื่อความ

สะดวกในการกูยืมครั้งตอไป (0.708)

3) ปจจัยดานการปลูก ประกอบดวย ตัวแปรการจัดการความเสี่ยงดานการเปลี่ยนไป ปลูก

พืชอ่ืนแทน (เลิกปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว) (0.677) การเตรียมดิน การดายหญา (0.655) การใชสารเสริม

(0.611) การไมเก็บเก่ียวขาวโพดเลี้ยงสัตวเร็วเกินไป (0.540) การเพาะปลูกโดยใชตนทุนตํ่าที่สุด (0.419)

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

109

4) ปจจัยดานการรักษาสภาพคลอง ประกอบดวยตัวแปรการจัดการความเสี่ยงดานการ

ซื้อทองคําไวเปนการรักษาสภาพคลอง (0.805) การสํารองปจจัยการผลิต (0.707) ชวงที่ดินวางปลูกพืช

อ่ืนกอนเพื่อรอฤดูกาลเพาะปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว (0.577) การปลอยเงินกูใหกับแรงงานแลวใหแรงงาน

กลับมาทํางานใชหน้ี (0.485)

5) ปจจัยดานการบริหารกิจการ ประกอบดวยตัวแปรการจัดการความเสี่ยงดานการจาง

แรงงานที่มีความสัมพันธท่ีดีตอเกษตรกร (0.772) การปรึกษาผูเชี่ยวชาญ เชน เกษตรตําบล เกษตรอําเภอ

(0.697) การขายไร เปลี่ยนอาชีพ เลิกทําการเกษตร (0.506) โครงการประกันรายได (0.404)

6) ปจจัยดานการปฏิบัติตามคําแนะนําของรัฐ ประกอบดวยตัวแปรการจัดการความเสี่ยง

ดานการจัดการทําการเกษตรแบบผสมผสาน (0.783) การรอรับการชวยเหลือจากรัฐบาลเมื่อผลผลิต

เสียหาย (0.459) การหาขอมูลราคาของผูรับซื้อแตละราย (0.451) ดานโครงการจํานํา (-0.438)

7) ปจจัยดานสถานการณราคาขาวโพด ประกอบดวยตัวแปรการจัดการความเสี่ยงดาน

การลดปริมาณการใชปุยเพื่อลดตนทุน (0.734) การหาขอมูลราคาของผูรับซื้อแตละราย (0.599) การไมเก็บ

เก่ียวขาวโพดเลี้ยงสัตวเร็วเกินไป (0.532)

8) ปจจัยดานเงินทุน ประกอบดวยตัวแปรการจัดการความเสี่ยงดานการสํารองเงินทุนไวใช

ในรอบการเพาะปลูกครั้งตอไป (0.792) การใชพันธุที่ตานทานโรค (0.612) ชวงที่ดินวางปลูกพืชอ่ืนกอน

เพื่อรอฤดูกาลเพาะปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว (0.437)

9) ปจจัยดานปุยและเมล็ดพันธุ ประกอบดวยตัวแปรการจัดการความเสี่ยงดานการเปลี่ยน

เมล็ดพันธุที่ใช (0.783) การเปลี่ยนปุยที่ใช (0.583) การปลอยเงินกูใหกับแรงงานแลวใหแรงงานมาทํางาน

ใชหนี้ (-0.436)

10) ปจจัยดานแรงงานในครอบครัว ประกอบดวยตัวแปรการจัดการความเสี่ยงดานการให

คนในครอบครัวไปรับจางทํางาน (0.800) การไปรับจางทํางานอ่ืนท่ีนอกเหนือจากงานในไรตัวเอง (0.740)

11) ปจจัยดานภัยแลง ประกอบดวยตัวแปรการจัดการความเสี่ยงดานการซื้อประกันภัย

พืชผล (0.787) การเลื่อนฤดูกาลเพาะปลูก (0.523)

12) ปจจัยดานความชวยเหลือจากรัฐ ประกอบดวยตัวแปรการจัดการความเสี่ยงดาน

การใชสารเสริม เชน ปูแดงไคโตซาน (0.798) การรวมกลุมประทวง (0.525) โครงการจํานํา (0.445)

หมายเหตุ: ตัวเลขในวงเล็บ คือ คา factor loading ของตัวแปร การต้ังชื่อตัวแปรจะดูจากคา factor

loading โดยดูจากคาท่ีมากท่ีสุดกอน แลวจึงดูตัวแปรถัดไป เน่ืองจากไมสามารถต้ังชื่อใหสอดคลองกับ

ตัวแปรทั้งหมดท่ีอยูในกลุมปจจัยได

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 110

หาคาคะแนนของแตละปจจัยใหมที่ไดโดยวิธีวิเคราะหการถดถดถอยพหุคูณ และสมมติใหคะแนน

ใหมที่ไดจากการใชเทคนิค Factor Analysis เปน Parametric Statistical (Meuwissen et al., 2001 cited

Dahlgran and Conklin, 1993) เพื่อใหสามารถนําปจจัยใหมเปนตัวแปรตามในการวิเคราะหสมการถดถอย

เชิงซอนได

4. นําปจจัยท่ีไดจากการใชเทคนิค Factor Analysis ไปใชวิเคราะหอิทธิพลของปจจัยสวน

บุคคลที่มีตอการรับรูความเสี่ยง (บรรลุวัตถุประสงคขอที่ 2) วิเคราะหอิทธิพลของปจจัยสวนบุคคล และการ

รับรูความเสี่ยงท่ีมีตอการจัดการความเสี่ยงของเกษตรกรผูปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว (บรรลุวัตถุประสงคขอที่

3) โดยใชวิธีวิเคราะหการถดถดถอยพหุคูณในรูปกําลังสองนอยที่สุดแบบธรรมดา (Ordinary Least

Square) เพื่อทดสอบวาตัวแปรอิสระใดมีอิทธิพลตอตัวแปรตามอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

5. วิเคราะหสมการถดถอยแบบพหุคูณ ในรูปกําลังสองนอยที่สุดแบบธรรมดา (Ordinary Least

Square) เริ่มจากการทดสอบการเกิดปญหา Multicollinearity โดยดูจากเมตริกซความสัมพันธระหวางตัว

แปรอิสระที่ใชวิเคราะห พบวา ไมเกิดปญหา Multicollinearity เนื่องจากตัวแปรอิสระที่ใชวิเคราะหทั้งปจจัย

สวนบุคคล และการรับรูความเสี่ยงมีความสัมพันธกันไมเกิน 0.80

6. หลังจากวิเคราะหความสัมพันธระหวางตัวแปรอิสระ และตัวแปรตามในโปรแกรมสําเร็จรูปทาง

สถิติ (Eviews version 4.1) แลวจําเปนตองมีการทดสอบการเกิดปญหา heteroscedasticity โดยเลือกใช

วิธี White heteroscedasticity บรรเทาปญหา heteroscedasticity และทดสอบปญหา 2 autocorrelation

โดยเลือกใชวิธี Serial Correlation LM-Test แกปญหาโดยการ first order autoregressive และ second

order autoregressive หลังจากแกปญหาจะไดสมการท่ีเหมาะสมท่ีจะสามารถนําไปใชอธิบายตอไป

7. การวิเคราะหสมการถดถอยเมื่อตัวแปรตามคือการรับรูความเสี่ยง และตัวแปรอิสระคือปจจัย

สวนบุคคล ดังน้ันการวิเคราะหจะมีสมการท้ังสิ้น 10 สมการ เนื่องจากปจจัยดานการรับรูความเสี่ยงมี 10

ปจจัย ดังนี้

Y1 ถึง Y10 = f (X1, X2, X3, … , X8)

โดยที่ Y1 ถึง Y10 คือ ระดับการรับรูความเสี่ยงดานตนทุนสารเคมี ดานปญหาศัตรูพืช ดาน

ตนทุนปจจัยการผลิตอ่ืนๆ ดานตนทุนการปลูก ดานการเพาะปลูก ดานตนทุนอัตราดอกเบ้ียเงินกู ดาน

สถานการณราคาขาวโพด ดานตนทุนแรงงาน ดานตนทุนการเก็บเก่ียว และดานภัยแลง ตามลําดับ

X1 คือ อายุ (10 ป)

X2 คือ หน้ีสินทั้งหมดตอครัวเรือน (100,000 บาท)

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

111

X3 คือ เนื้อท่ีปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว (10 ไร)

X4 คือ มูลคาคงเหลืออุปกรณการเกษตรตอครัวเรือน (100,000 บาท)

X5 คือ การศึกษา (ป)

X6 คือ ประสบการณการทําไรขาวโพดเลี้ยงสัตว (10 ป)

X7 คือ ลักษณะความเปนเจาของท่ีดิน (Dummyโดยกําหนดให 1 แทนเกษตรกรเปนเจาของที่ดิน

ที่ใชปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวมากกวารอยละ 50 และ 0 แทนเกษตรกรเชาท่ีดินที่ใชปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว

มากกวารอยละ 50)

X8 คือ เพศ (Dummyโดยกําหนดให 1 แทนเกษตรกรเพศชาย และ 0 แทนเกษตรกรเพศหญิง)

8. การวิเคราะหสมการถดถอยเมื่อตัวแปรตามคือการจัดการความเสี่ยง และตัวแปรอิสระคือปจจัย

สวนบุคคล และการรับรูความเสี่ยง ดังนั้นการวิเคราะหจะมีสมการทั้งสิ้น 12 สมการ เนื่องจากปจจัยดาน

การจัดการความเสี่ยงมี 12 ปจจัย ดังนี้

Y1 ถึง Y12 = f (X1, X2, X3, … , X18)

โดยที่ Y1 ถึง Y12 คือ ระดับความสนใจในการจัดการความเสี่ยงดานสินทรัพย ดานเงินกู ดานการปลูก

ดานการรักษาสภาพคลอง ดานการบริหารกิจการ ดานคําแนะนําของรัฐ ดานราคาขาวโพด ดานเงินทุน

ดานปุยและเมล็ดพันธุ ดานแรงงานในครอบครัว ดานภัยแลง และดานความชวยเหลือจากรัฐ ตามลําดับ

X1 ถึง X8 (ดังท่ีกลาวมาแลวในขอ 7.)

X10 ถึง X18 คือ ระดับการรับรูความเสี่ยงดานตนทุนสารเคมี ดานปญหาศัตรูพืช ดานตนทุนปจจัย

การผลิตอ่ืนๆ ดานตนทุนการปลูก ดานการเพาะปลูก ดานตนทุนอัตราดอกเบ้ียเงินกู ดานสถานการณราคา

ขาวโพด ดานตนทุนแรงงาน ดานตนทุนการเก็บเก่ียว และดานภัยแลง ตามลําดับ

ผลการวิจัย

ปจจัยสวนบุคคลของเกษตรกรตัวอยางโดยสวนใหญเกษตรกรเปนเพศชายรอยละ 54.70 อายุเฉลี่ย

47 ป จบการศึกษาระดับประถมศึกษา คิดเปนรอยละ 68.38 มีประสบการณการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว

เฉลี่ย 23.31 ป เนื้อที่ปลูกเฉลี่ย 52.23 ไร เปนเจาของที่ดินที่ใชเพาะปลูกเองรอยละ 57.26 มูลคาคงเหลือ

อุปกรณการเกษตรเฉลี่ย 262,586.67 บาท หน้ีสินทั้งหมดเฉลี่ย 125,701.71 บาท

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 112

ในการศึกษาครั้งนี้ไดใชตัวแปรดานการรับรูความเสี่ยงทั้งสิ้น 29 ตัวแปร เกษตรกรในพื้นที่ศึกษา

รับรูความเสี่ยงดานภัยแลงมากที่สุด (เฉลี่ย 4.462 คะแนน จาก Likert Scale ต้ังแต 1 ถึง 5 คะแนน)

รองลงมา คือ ดานราคาพลังงาน (4.128 คะแนน) และดานราคาเมล็ดพันธุ (3.821 คะแนน) เกษตรกรรับรู

ความเสี่ยงดานน้ําทวมนอยที่สุด (1.385 คะแนน) เนื่องจากพื้นที่ศึกษาไมประสบปญหานํ้าทวม

ในการศึกษาครั้งนี้ไดใชตัวแปรดานการจัดการความเสี่ยงทั้งสิ้น 36 ตัวแปร โครงการประกันรายได

เปนวิธีการจัดการความเสี่ยงท่ีสงผลตอรายไดท่ีเกษตรกรใหความสนใจมากที่สุด (4.086 คะแนน จาก

Likert Scale ต้ังแต 1 ถึง 5 คะแนน) รองลงมา คือ การรักษาเครดิตในการกูยืม (3.974 คะแนน) และความ

ชวยเหลือจากรัฐบาลเมื่อผลผลิตเสียหาย (3.974 คะแนน) เกษตรกรสนใจการขายไรแลวเปลี่ยนอาชีพ โดย

เลิกทําการเกษตรนอยที่สุด (1.414 คะแนน) แสดงใหเห็นวาเกษตรกรยังไมคิดที่จะเปลี่ยนอาชีพหลัก

คะแนนเฉลี่ยของระดับการรับรูความเสี่ยง และระดับความสนใจในวิธีการจัดการความเสี่ยง สามารถสรุปได

ดังตารางที่ 1

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

113

ตารางท่ี 1 คะแนนเฉลี่ยของระดับการรับรูความเสี่ยง และระดับความสนใจในวิธีการจัดการ

ความเสี่ยง

ความเส่ียง คะแนน

เฉล่ีย การจดัการความเส่ียง

คะแนน

เฉล่ีย

ภัยแลง 4.462 โครงการประกันรายได 4.086

ราคาพลังงาน 4.128 รักษาเครดิตการกูยืมของตน 3.974

ราคาเมล็ดพันธุ 3.821 รอรับการชวยเหลือจากรัฐบาลเมื่อผลผลิต

เสียหาย

3.974

ราคาปุยเคมี 3.778 ใชพันธุท่ีตานทานโรค 3.793

ราคาขาวโพดเล้ียงสัตว 3.453 ปรึกษาผูเชี่ยวชาญ เชน เกษตรตําบล เกษตร

อําเภอ

3.698

ความชื้นของขาวโพดเล้ียงสัตว 3.214 จางแรงงานท่ีมีความสัมพันธท่ีดีตอเกษตรกร 3.603

ราคายาปราบวัชพืช 3.103 สํารองเงินทุนไวใชในรอบการเพาะปลูกคร้ัง

ตอไป

3.483

ราคายาฆาแมลง 3.034 กูยืมเงินจากกองทุนของรัฐบาล 3.483

คุณภาพดิน ความอุดมสมบูรณของดิน 2.821 ทําการเกษตรแบบผสมผสาน 3.405

คาจางแรงงาน 2.821 โครงการจํานํา 3.284

คาจางรถไถ 2.684 หาขอมูลราคาของผูรับซื้อแตละราย 3.267

โรคราสนิม 2.641 ไมเก็บเกี่ยวขาวโพดเล้ียงสัตวเร็วเกินไป 3.164

ผูรับซื้อกดราคา 2.615 ชวงเวลาท่ีดินวางปลูกพืชอ่ืนกอน 3.155

แรงงานไมตั้งใจทํางาน ทํางานชา ตองจางเปน

เวลานานขึ้น

2.581 ลดปริมาณการใชปุยเพ่ือลดตนทุน 3.147

คาซอมรถไถและอุปกรณการเกษตรอ่ืนๆ 2.538 เปล่ียนเมล็ดพันธุท่ีใช อาจเปล่ียนยี่หอ หรือ

เปล่ียนพันธุ

3.095

คาจางรถหยอดเมล็ดพันธุ 2.496 เปล่ียนไปปลูกพืชอ่ืนแทน (เลิกปลูกขาวโพด

เล้ียงสัตว)

2.983

คารถบรรทุกขาวโพดเล้ียงสัตวไปขาย 2.41 นําปจจัยการผลิตมาใชกอน เมื่อขายผลผลิตได

จึงใชหน้ี

2.94

ดอกเบ้ียเงินกูในระบบ เชน ดอกเบ้ียเงินกู ธกส. 2.385 การเตรียมดิน การดายหญา 2.793

โรครานํ้าคาง 2.376 เปล่ียนปุยท่ีใช อาจจะเปล่ียนยี่หอ หรือเปล่ียน

สูตร

2.759

อัตราการงอกของเมล็ดพันธุ 2.325 สํารองปจจัยการผลิต 2.707

คุณภาพของปุยท่ีใช 2.325 ใหคนในครอบครัวไปรับจางทํางาน 2.664

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 114

ตารางท่ี 1 (ตอ)

ความเส่ียง คะแนน

เฉล่ีย การจดัการความเส่ียง

คะแนน

เฉล่ีย

คาสีขาวโพดเล้ียงสัตว 2.222 ไปรับจางทํางานอ่ืนท่ีนอกเหนือจากงานในไร

2.621

คาจางรถเก็บเกี่ยวขาวโพดเล้ียงสัตว 2.137 เล่ือนฤดูกาลเพาะปลูก 2.414

หนอน เพล้ีย และแมลงตางๆ 2.094 ซื้อรถไถ 2.379

ดอกเบ้ียเงินกูนอกระบบ 2.068 ซื้อประกันภัยพืชผล 2.371

คาเชาท่ีดิน 2.017 ทําสัญญาซื้อขายผลผลิตกับแหลงเงินทุนท่ีกูยมื 2.284

ราคาซังขาวโพดเล้ียงสัตว 1.846 ซื้อเคร่ืองหยอดเมล็ดพันธุ 2.147

ภาษีท่ีดิน 1.59 ซื้อเคร่ืองพนยา 2.103

นํ้าทวม 1.385 เพาะปลูกโดยใชตนทุนต่ําท่ีสุดเทาท่ีจะทําได 2.026

ใชสารเสริม เชน ปูแดงไคโตซาน 1.991

ซื้อทองคําไวรักษาสภาพคลอง 1.948

ซื้อเคร่ืองสีขาวโพด 1.733

ปลอยเงินกูใหกับแรงงานแลวใหแรงงานมา

ทํางานใชหน้ี

1.612

ซื้อรถอีแตน 1.603

รวมกลุมประทวง 1.552

ขายไร เปล่ียนอาชีพ (เลิกทําการเกษตร) 1.414

การวิเคราะหสมการถดถอยเชิงซอนแบงผลการศึกษาออกเปน 2 สวน ดังนี้

สวนที่ 1 ผลการวิเคราะหอิทธิพลของปจจัยสวนบุคคลที่มีตอการรับรูความเสี่ยง การวิเคราะหใน

สวนนี้จะมีการพิจารณาสมการทั้งสิ้น 10 สมการ แตเมื่อพิจารณาคา F-stat พบวา สมการท่ีมีตัวแปรตาม

เปนดานการรับรูความเสี่ยงดานตนทุนสารเคมี การรับรูความเสี่ยงดานการเพาะปลูก การรับรูความเสี่ยง

ดานสถานการณราคาขาวโพด และการรับรูความเสี่ยงดานภัยแลง มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น

นอยกวารอยละ 90 แสดงวา Error ที่เกิดขึ้นท่ีตัวแปรตามเกือบทั้งหมดมาจากตัวแปรอิสระ คือมีความ

ผิดพลาดสูงจนไมอาจยอมรับใหนําไปใชอธิบายได ดังน้ัน ผลการวิเคราะหในสวนนี้จึงมีสมการที่ใชอธิบาย

ไดทั้งสิ้น 6 สมการ เมื่อพิจารณาคาสัมประสิทธิ์ของตัวแปรแตละตัว พบวา

เมื่อเน้ือท่ีปลูกเพิ่มขึ้น จะทําใหระดับการรับรูความเสี่ยงดานปญหาศัตรูพืชเพิ่มขึ้น เมื่อมูลคา

คงเหลืออุปกรณการเกษตรเพิ่มขึ้น จะทําใหระดับการรับรูความเสี่ยงดานปญหาศัตรูพืชลดลง

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

115

เมื่อหนี้สินทั้งหมดเพิ่มขึ้น จะทําใหระดับการรับรูความเสี่ยงดานตนทุนปจจัยการผลิตอ่ืนๆลดลง

เมื่อมูลคาคงเหลืออุปกรณการเกษตรเพิ่มขึ้น และการเปนเจาของที่ดินในไร จะทําใหระดับการรับรู

ความเสี่ยงดานตนทุนการปลูกลดลง

เมื่อประสบการณเพิ่มขึ้น จะทําใหระดับการรับรูความเสี่ยงดานตนทุนอัตราดอกเบ้ียเงินกูเพิ่มขึ้น

และการเปนเจาของที่ดินในไร จะทําใหระดับการรับรูความเสี่ยงดานตนทุนอัตราดอกเบ้ียเงินกูลดลง

การเปนเจาของที่ดินในไร จะทําใหระดับการรับรูความเสี่ยงดานตนทุนแรงงานลดลง

การวิเคราะหสมการถดถอยเชิงซอนของการรับรูความเสี่ยง สามารถสรุปไดดังตารางที่ 2

ตารางท่ี 2 สรุปการวิเคราะหสมการการถดถอยเชิงซอนของการรับรูความเสี่ยง

ตัวแปรอิสระ การรับรูความเส่ียง (ตัวแปรตาม)

ตนทุน

สารเคม ี

ปญหา

ศัตรูพืช

ตนทุนปจจัย

การผลิตอ่ืนๆ

ตนทุนการ

ปลูก การเพาะปลูก

ปจจัยสวนบุคคล

อายุ (10 ป) 0.108 0.101 -0.173 -0.002 0.00018

หน้ีสินท้ังหมด (100,000 บาท) -0.007 -0.026 -0.236*** -0.025 -0.050

เน้ือท่ีปลูก (10 ไร) -0.230 0.525*** 0.080 -0.007 -0.560

ทรัพยสิน (100,000 บาท) 0.020 -0.066* 0.022 -0.141*** 0.067

การศึกษา 0.012 -0.015 0.031 -0.021 0.037

ประสบการณ (10 ป) -0.003 0.095 0.087 -0.041 0.037

ลักษณะความเปนเจาของท่ีดิน -0.222 0.329 0.129 -0.451** -0.206

เพศ -0.123 0.194 -0.164 -0.137 -0.117

คาคงท่ี (C) -0.305 -0.955 0.570 1.048 0.033

R-squared 0.027 0.143 0.181 0.322 0.084

Adjusted R-squared -0.051 0.074 0.101 0.268 0.010

F-stat 0.344 2.086 2.258 5.933 1.140

Prob F-stat 0.946 0.044 0.025 0.000 0.343

“*”, “**”, และ“***” แสดงถึง ตัวแปรอิสระมีอิทธิพลกับตัวแปรตามอยางมีนัยสําคัญท่ีระดับ 90%, 95%, และ99%

ตามลําดับ

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 116

ตารางท่ี 2 (ตอ)

ตัวแปรอิสระ การรับรูความเส่ียง (ตัวแปรตาม)

ตนทุนอัตรา

ดอกเบ้ียเงินกู

สถานการณ

ราคาขาวโพด

ตนทุน

แรงงาน

ตนทุนการเก็บ

เกี่ยว ภัยแลง

ปจจัยสวนบุคคล อายุ (10 ป) -0.060 -0.143 0.128 -0.124 -0.099

ห น้ี สิ น ท้ั ง ห ม ด ( 100,000

0.059 -0.118 -0.115 -0.067 -0.031

เน้ือท่ีปลูก (10 ไร) -0.161 0.105 0.295 0.158 0.088

ทรัพยสิน (100,000 บาท) 0.010 0.031 0.025 -0.038 -0.018

การศึกษา 0.027 -0.016 0.058 -0.048 0.036

ประสบการณ (10 ป) 0.197** 0.124 0.034 0.144 -0.01

ลักษณะความเปนเจาของ

-0.523** -0.290 -0.419** 0.332 0.011

เพศ 0.002 0.069 -0.288 -0.234 0.002

คาคงท่ี (C) -0.081 0.660 -0.750 0.603 0.330

R-squared 0.123 0.059 0.157 0.132 0.113

Adjusted R-squared 0.053 -0.016 0.075 0.063 0.026

F-stat 1.758 0.789 1.905 1.908 1.303

Prob F-stat 0.094 0.613 0.061 0.067 0.246

“*”, “**”, และ“***” แสดงถึง ตัวแปรอิสระมีอิทธิพลกับตัวแปรตามอยางมีนัยสําคัญท่ีระดับ 90%, 95%, และ99%

ตามลําดับ

สวนท่ี 2 ผลการวิเคราะหอิทธิพลของปจจัยสวนบุคคล และการรับรูความเสี่ยงท่ีมีตอการจัดการ

ความเสี่ยง การวิเคราะหจะมีการพิจารณาสมการท้ังสิ้น 12 สมการ แตเมื่อพิจารณาคา F-stat พบวา

ตัวแปรตามในดานการจัดการความเสี่ยงดานสถานการณราคาขาวโพด การจัดการความเสี่ยงดานเงินทุน

และการจัดการความเสี่ยงดานความชวยเหลือจากรัฐ มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่นนอยกวา

รอยละ 90 แสดงวา Error ที่เกิดขึ้นที่ตัวแปรตามเกือบทั้งหมดมาจากตัวแปรอิสระ คือมีความผิดพลาดสูง

จนไมอาจยอมรับใหนําไปใชอธิบายได ดังนั้น ผลการวิเคราะหจึงมีสมการท่ีใชอธิบายไดทั้งสิ้น 9 สมการ

เมื่อพิจารณาคาสัมประสิทธิ์ของตัวแปรแตละตัว พบวา

เมื่อระดับการรับรูความเสี่ยงดานตนทุนแรงงานเพิ่มขึ้นระดับการรับรูความเสี่ยงดานภัยแลงเพิ่มขึ้น

จะทําใหระดับความสนใจในการจัดการความเสี่ยงดานอุปกรณการเกษตรลดลง เมื่อระดับการรับรูความ

เสี่ยงดานตนทุนการเก็บเก่ียวเพิ่มขึ้น จะทําใหระดับความสนใจในการจัดการความเสี่ยงดานอุปกรณ

การเกษตรเพิ่มขึ้น

เมื่อระดับการรับรูความเสี่ยงดานตนทุนสารเคมีเพิ่มขึ้น ระดับการรับรูความเสี่ยงดานตนทุน

การเก็บเก่ียวเพิ่มขึ้น จะทําใหระดับความสนใจในการจัดการความเสี่ยงดานเงินกูลดลง เมื่อระดับการรับรู

ความเสี่ยงดานตนทุนปจจัยการผลิตอ่ืนๆ เพิ่มขึ้น ระดับการรับรูความเสี่ยงดานตนทุนอัตราดอกเบ้ียเงินกู

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

117

เพิ่มขึ้น ระดับการรับรูความเสี่ยงดานภัยแลงเพิ่มขึ้น จะทําใหระดับความสนใจในการจัดการความเสี่ยงดาน

เงินกูเพิ่มขึ้น

เมื่อระดับการรับรูความเสี่ยงดานตนทุนการปลูกเพิ่มขึ้น จะทําใหระดับความสนใจในการจัดการ

ความเสี่ยงดานการเพาะปลูกลดลง เมื่อระดับการรับรูความเสี่ยงดานตนทุนสารเคมีเพิ่มขึ้น ระดับการรับรู

ความเสี่ยงดานปญหาศัตรูพืชเพิ่มขึ้นระดับการรับรูความเสี่ยงดานตนทุนการเก็บเก่ียวเพิ่มขึ้น จะทําให

ระดับความสนใจในการจัดการความเสี่ยงดานการเพาะปลูกเพิ่มขึ้น

เมื่อระดับการรับรูความเสี่ยงดานตนทุนปจจัยการผลิตอ่ืนๆเพิ่มขึ้น จะทําใหระดับความสนใจใน

การจัดการความเสี่ยงดานการรักษาสภาพคลองลดลง เมื่อจํานวนปที่ไดรับการศึกษาเพิ่มขึ้น ระดับการรับรู

ความเสี่ยงดานสถานการณราคาขาวโพดเพิ่มขึ้น ระดับการรับรูความเสี่ยงดานตนทุนแรงงานเพิ่มขึ้น จะทํา

ใหระดับความสนใจในการจัดการความเสี่ยงดานการรักษาสภาพคลองเพิ่มขึ้น

เมื่อระดับการรับรูความเสี่ยงดานปญหาศัตรูพืชเพิ่มขึ้น จะทําใหระดับความสนใจในการจัดการ

ความเสี่ยงดานการบริหารกิจการลดลง เมื่อเนื้อที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวเพิ่มขึ้น ระดับการรับรูความเสี่ยง

ดานตนทุนปจจัยการผลิตอ่ืนๆเพิ่มขึ้นระดับการรับรูความเสี่ยงดานการเพาะปลูกเพิ่มขึ้น ระดับการรับรู

ความเสี่ยงดานตนทุนแรงงานเพิ่มขึ้น จะทําใหระดับความสนใจในการจัดการความเสี่ยงดานการบริหาร

กิจการเพิ่มขึ้น

เมื่อระดับการรับรูความเสี่ยงดานปญหาศัตรูพืชเพิ่มขึ้น จะทําใหระดับความสนใจในการจัดการ

ความเสี่ยงดานคําแนะนําของรัฐลดลง เมื่อเกษตรกรเปนเพศชาย ระดับการรับรูความเสี่ยงดานตนทุน

สารเคมีเพิ่มขึ้น ระดับการรับรูความเสี่ยงดานตนทุนปจจัยการผลิตอ่ืนๆเพิ่มขึ้น ระดับการรับรูความเสี่ยง

ดานตนทุนอัตราดอกเบ้ียเงินกูเพิ่มขึ้น ระดับการรับรูความเสี่ยงดานภัยแลงเพิ่มขึ้น มีผลทําใหระดับความ

สนใจในการจัดการความเสี่ยงดานคําแนะนําของรัฐเพิ่มขึ้น

เมื่อหนี้สินทั้งหมดเพิ่มขึ้น ระดับการรับรูความเสี่ยงดานสถานการณราคาขาวโพดเพิ่มขึ้น ระดับการ

รับรูความเสี่ยงดานตนทุนแรงงานเพิ่มขึ้น จะทําใหระดับความสนใจในการจัดการความเสี่ยงดานปุยและ

เมล็ดพันธุลดลง เมื่อระดับการรับรูความเสี่ยงดานปญหาศัตรูพืชเพิ่มขึ้น ระดับการรับรูความเสี่ยงดาน

ตนทุนการปลูกเพิ่มขึ้น ระดับการรับรูความเสี่ยงดานการเพาะปลูกเพิ่มขึ้น จะทําใหระดับความสนใจในการ

จัดการความเสี่ยงดานปุยและเมล็ดพันธุเพิ่มขึ้น

เมื่อเน้ือที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวเพิ่มขึ้น จะทําใหระดับความสนใจในการจัดการความเสี่ยงดาน

แรงงานในครอบครัวลดลง เมื่อระดับการรับรูความเสี่ยงดานภัยแลงเพิ่มขึ้น จะทําใหระดับความสนใจใน

การจัดการความเสี่ยงดานแรงงานในครอบครัวลดลง

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 118

เมื่อมูลคาคงเหลืออุปกรณการเกษตรเพิ่มขึ้น ระดับการรับรูความเสี่ยงดานตนทุนสารเคมีเพิ่มขึ้น

ระดับการรับรูความเสี่ยงดานการเพาะปลูกเพิ่มขึ้น จะทําใหระดับความสนใจในการจัดการความเสี่ยงดาน

ภัยแลงเพิ่มขึ้น

การวิเคราะหสมการถดถอยเชิงซอนของการจัดการความเสี่ยง สามารถสรุปไดดังตารางที่ 3

ตารางท่ี 3 สรุปการวิเคราะหสมการการถดถอยเชิงซอนของการจัดการความเสี่ยง

ตัวแปรอิสระ การจดัการความเส่ียง (ตัวแปรตาม)

อุปกรณ

การเกษตร เงินกู การปลูก การรักษา

สภาพคลอง

การบริหาร

กิจการ

คําแนะนํา

ของรัฐ

ปจจัยสวนบุคคล

อายุ (10 ป) -0.078 -0.046 0.087 0.029 -0.037 0.148

หน้ีสิน (100,000 บาท) 0.049 0.094 0.021 0.014 -0.018 -0.005

เน้ือท่ีปลูก (10 ไร) -0.080 -0.200 -0.013 0.047 0.333** 0.241

ทรัพยสิน (100,000 บาท) -0.047 -0.020 -0.020 -0.020 -0.044 -0.057

การศึกษา (ป) 0.058 0.002 -0.023 0.067* -0.046 -0.038

ประสบการณ (10 ป) -0.003 -0.043 -0.089 0.049 -0.083 -0.115

ลักษณะความเปนเจาของ

0.021 -0.227 -0.228 -0.142 0.050 0.039

เพศ 0.113 -0.220 -0.135 -0.281 0.136 0.482**

การรับรูความเส่ียง

ตนทุนสารเคมี 0.076 -0.210** 0.270*** 0.109 0.128 0.198**

ปญหาศัตรูพืช 0.019 0.069 0.169* 0.154 -0.319*** -0.233**

ตนทุนปจจัยการผลิตอ่ืนๆ -0.061 0.150* 0.065 -0.215** 0.396*** 0.185*

ตนทุนการปลูก 0.114 -0.096 -0.229** -0.058 0.132 -0.055

การเพาะปลูก 0.121 -0.015 0.023 -0.141 0.327*** 0.088

ตนทุนอัตราดอกเบ้ียเงินกู 0.010 0.396*** 0.152 -0.085 0.001 0.270***

สถานการณราคาขาวโพด 0.131 -0.031 0.026 0.178* 0.040 -0.122

ตนทุนแรงงาน -0.170* -0.133 0.115 0.276*** 0.288*** -0.134

ตนทุนการเก็บเกี่ยว 0.197* -0.157* 0.414*** -0.083 -0.003 -0.038

ภัยแลง -0.252*** 0.161* 0.008 -0.038 0.099 0.220**

คาคงท่ี (C) -0.018 0.616 0.207 -0.470 0.578 -0.465

R-squared 0.244 0.389 0.343 0.246 0.520 0.384

Adjusted R-squared 0.091 0.266 0.211 0.095 0.424 0.242

F-stat 1.598 3.177 2.605 1.631 5.416 2.695

Prob F-stat 0.078 0.000 0.002 0.069 0.000 0.001

“*”, “**”, และ“***” แสดงถึง ตัวแปรอิสระมีอิทธิพลกับตัวแปรตามอยางมีนัยสําคัญท่ีระดับ 90%, 95%, และ99%

ตามลําดับ

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

119

ตารางท่ี 3 (ตอ)

ตัวแปรอิสระ การจดัการความเส่ียง (ตัวแปรตาม)

ราคา

ขาวโพด เงินทุน

ปุยและ

เมล็ดพันธุ

แรงงานใน

ครอบครัว ภัยแลง

ความชวยเหลือ

จากรัฐ

ปจจัยสวนบุคคล อายุ (10 ป) -0.046 0.085 -0.045 -0.011 0.054 -0.048

หน้ีสิน (100,000 บาท) 0.101 -0.081 -0.150* -0.014 -0.059 0.064

เน้ือท่ีปลูก (10 ไร) 0.000 0.310 0.102 -0.340* 0.065 0.067

ทรัพยสิน (100,000 บาท) -0.006 -0.048 0.030 -0.007 0.107** -0.053

การศึกษา (ป) 0.004 0.073 0.014 -0.021 -0.009 -0.015

ประสบการณ (10 ป) -0.027 -0.055 0.138 0.043 -0.061 0.121

ลักษณะความเปนเจาของ

0.196 0.080 -0.081 0.125 0.329 0.029

เพศ 0.091 -0.169 0.050 -0.266 0.076 0.317

การรับรูความเส่ียง

ตนทุนสารเคมี 0.003 -0.170 0.127 0.091 0.194** 0.129

ปญหาศัตรูพืช -0.115 0.068 0.205** -0.065 0.067 0.062

ตนทุนปจจัยการผลิตอ่ืนๆ 0.043 0.263 -0.110 -0.015 -0.104 0.069

ตนทุนการปลูก -0.172 0.021 0.186* 0.039 0.062 -0.090

การเพาะปลูก -0.008 0.022 0.230** 0.161 0.195** 0.189

ตนทุนอัตราดอกเบ้ียเงินกู 0.149 -0.039 0.117 0.053 0.142 0.116

สถานการณราคาขาวโพด 0.159 -0.040 -0.224** 0.172 0.074 -0.072

ตนทุนแรงงาน 0.140 -0.091 -0.280*** 0.090 -0.034 0.046

ตนทุนการเก็บเกี่ยว 0.061 -0.034 -0.014 0.017 -0.076 -0.067

ภัยแลง -0.058 0.084 -0.130 -0.204** -0.076 0.071

คาคงท่ี (C) -0.101 -0.699 -0.187 0.350 -0.524 -0.118

R-squared 0.173 0.221 0.326 0.256 0.276 0.137

Adjusted R-squared -0.051 0.066 0.191 0.107 0.131 -0.036

F-stat 0.773 1.422 2.417 1.720 1.904 0.791

Prob F-stat 0.736 0.141 0.003 0.050 0.025 0.705

“*”, “**”, และ“***” แสดงถึง ตัวแปรอิสระมีอิทธิพลกับตัวแปรตามอยางมีนัยสําคัญท่ีระดับ 90%, 95%, และ99%

ตามลําดับ

อภิปรายผล

เกษตรกรรับรูความเสี่ยงดานภัยแลงในระดับสูงท่ีสุด แตกลับสนใจจัดการความเสี่ยงโดยรวมที่

สงผลกระทบตอรายไดผานโครงการประกันรายไดมากที่สุด และสนใจจัดการความเสี่ยงภัยแลงโดยตรงใน

ระดับรองๆ ลงมา อาจเปนไปไดวาเกษตรกรยังไมไดรับทราบหรือไมมีขอมูลมากนักในการจัดการความเสี่ยง

ที่เก่ียวของโดยตรง จากการสัมภาษณเกษตรกรกวารอยละ 80.34 ไมทราบวามีโครงการประกันภัยแลง

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 120

สําหรับขาวโพดเลี้ยงสัตวในพื้นท่ีน้ีท่ีมีมาต้ังแต พ.ศ.2525 โครงการประกันภัยแลงเปนการประกันภัยแลง

ดวยดัชนีน้ําฝนเปนโครงการท่ีชวยเหลือเกษตรกรในการจัดการความเสี่ยงโดยการกระจายความเสี่ยง โดย

เกษตรกรตองจายเบ้ียประกันไรละ 100 บาท การคิดคาสินไหมชดเชย คิดจากดัชนีน้ําฝนท่ีวัดได ณ ธกส.

สาขาปากชอง และผลการศึกษาพบวาเกษตรกรรายใหญซึ่งมีมูลคาอุปกรณการเกษตรมาก จะมีความสนใจ

ในการจัดการความเสี่ยงดานภัยแลงมากดวย ดังน้ันจึงทําใหในปจจุบันการจัดเก็บเบ้ียประกันภัยพืชผลจาก

เกษตรกรรายเล็กยังอาจทําไดยาก สงผลใหโครงการน้ียังไมประสบผลสําเร็จเทาที่ควร อยางไรก็ตามผลการ

วิเคราะหชี้วาหากเกษตรกรมีการรับรูความเสี่ยงดานการเพาะปลูกมากขึ้น ความสนใจในการจัดการความ

เสี่ยงดานภัยแลงจะมากขึ้นดวย หากการรับรูความเสี่ยงดานภัยแลงมากขึ้นจะทําใหเกษตรกรสนใจท่ีจะ

ปฏิบัติตามคําแนะนําของรัฐมากขึ้นดวย และระดับความสนใจที่จะปรึกษาผูเชี่ยวชาญอยูในระดับที่สูง

พอสมควร (คะแนนเฉลี่ยเทากับ 3.698) ดังน้ันเกษตรกรมีโอกาสท่ีจะสนใจปฏิบัติตามคําแนะนําของรัฐมาก

ผูเก่ียวของควรเรงใหความรูความเขาใจ หรือคําแนะนําแกเกษตรกรท้ังในดานการเพาะปลูก ดานการเงิน

และดานสถานการณตางๆ ท่ีจะมากระทบกับรายไดของเกษตรกรใหมากขึ้น เพื่อเปนแนวทางใหเกษตรกร

ไดปฏิบัติตาม โดยความรูเก่ียวกับการผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตวที่เกษตรกรตองการ คือ ความรูดานการใชเมล็ดพันธุ

การเตรียมดิน การใชปุย โรคและแมลง และการกําจัดวัชพืช (จากการสัมภาษณเกษตรกร) เพื่อความเขาใจ

ที่ ถูกตองของเกษตรกรเก่ียวกับการเพาะปลูก ปจจัยสวนบุคคลดานอายุ การศึกษา และเพศ ไมมี

ความสัมพันธกับการรับรูความเสี่ยงอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ และปจจัยสวนบุคคลดานอายุ ประสบการณ

และลักษณะความเปนเจาของที่ดินในไร ไมมีความสัมพันธกับการจัดการความเสี่ยงอยางมีนัยสําคัญทาง

สถิติ ผูเก่ียวของโดยเฉพาะภาครัฐสามารถนําผลการศึกษานี้ไปใชพัฒนา หรือคิดคนวิธีการใหความ

ชวยเหลือเกษตรกรในการจัดการความเสี่ยง เพื่อยกระดับรายไดของเกษตรกรในอนาคต

ขอเสนอแนะ

ผูเก่ียวของโดยเฉพาะภาครัฐสามารถนําผลการศึกษานี้ไปใชพัฒนา หรือคิดคนวิธีการใหความ

ชวยเหลือเกษตรกรในการจัดการความเสี่ยง เพื่อยกระดับรายไดของเกษตรกรในอนาคต และควรมี

การศึกษาลักษณะนี้ในเกษตรกรตัวอยางที่หลากหลาย เชน เกษตรกรที่เพาะปลูกพืชอ่ืนๆ หรือเกษตรกรดาน

ปศุสัตว โดยอาจใชปจจัยสวนบุคคลเหมือนกับงานวิจัยนี้ เพื่อนําขอมูลที่ไดมาเปรียบเทียบกัน นําไปสู

วิธีการจัดการความเสี่ยงที่มีประสิทธิภาพตอไป

สรุป

ภาคเกษตรมักเผชิญกับความเสี่ยงทางกายภาพและดานตลาดและราคา สงผลกระทบตอระดับ

ผลผลิตและรายไดท่ีอาจสูงหรือตํ่ากวาที่เกษตรกรคาดหวัง การศึกษาลักษณะนี้มักพบในงานวิจัย

ตางประเทศ สวนในประเทศไทยสวนใหญเปนการศึกษาการรับรูความเสี่ยงในการทํางานของคนงาน

ภาคอุตสาหกรรมโดยเนนศึกษาความเสี่ยงดานกายภาพเปนหลัก แนวคิดการศึกษานี้อยูภายใตสมมติฐานวา

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

121

เกษตรกรจะมีการแปลความและรับรูถึงความเสี่ยงนั้นๆ ที่มากระทบตอรายไดในระดับแตกตางกัน

เมื่อเกษตรกรรับรูความเสี่ยงแลวก็จะพยายามหาวิธีจัดการกับความเสี่ยงน้ัน โดยอาจมีวิธีจัดการความเสี่ยง

ที่แตกตางกันไปตามปจจัยสวนบุคคล เชน การศึกษา รายได เพศ เปนตน งานศึกษาน้ีมุงทดสอบใหเห็นวา

ปจจัยสวนบุคคลมีอิทธิพลตอระดับการรับรูความเสี่ยงอยางไร และปจจัยสวนบุคคลและระดับการรับรู

ความเสี่ยงมีอิทธิพลตอระดับความสนใจในวิธีการจัดการความเสี่ยงอยางไร การศึกษาอาศัยขอมูลจากแบบ

สัมภาษณเกษตรกรในพื้นที่ศึกษาจํานวน 117 ราย พื้นที่ศึกษา คือ จังหวัดนครราชสีมา การวิเคราะหใช

เทคนิค Factor Analysis เพื่อลดจํานวนตัวแปรที่มีความหลากหลายทั้งในดานการรับรูและวิธีการจัดการ

ความเสี่ยง เพื่อใหไดจํานวนกลุมตัวแปรในขนาดที่สามารถนํามาวิเคราะหโดยใชสมการถดถอยเชิงซอนใน

แบบจําลองตางๆ ได ในการวิเคราะหสมการถดถอยเชิงซอนแบงเปน 2 สวน ไดแก สวนที่ 1 การวิเคราะห

อิทธิพลของปจจัยสวนบุคคลที่มีตอการรับรูความเสี่ยง และสวนที่ 2 การวิเคราะหอิทธิพลของปจจัย

สวนบุคคล และการรับรูความเสี่ยงท่ีมีตอการจัดการความเสี่ยง ผลการวิเคราะหพบวาเกษตรกรรายใหญ

ซึ่งมีมูลคาอุปกรณการเกษตรมาก จะมีความสนใจในการจัดการความเสี่ยงดานภัยแลงมากดวย ผลการ

วิเคราะหชี้วาหากเกษตรกรมีการรับรูความเสี่ยงดานการเพาะปลูกมากขึ้น ความสนใจในการจัดการความ

เสี่ยงดานภัยแลงจะมากขึ้นดวย และหากการรับรูความเสี่ยงดานภัยแลงมากขึ้นจะทําใหเกษตรกรสนใจที่จะ

ปฏิบัติตามคําแนะนําของรัฐมากขึ้นดวย

บรรณานุกรม

สํานักงานเกษตรจังหวัดนครราชสีมา. (2551). ขอมูลการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว จังหวัดนครราชสีมา

ประจําป 2551. คนเมื่อ พฤศจิกายน 16, 2552, จาก http://www.khorat.doae.go.th

/AgriDATA/ corn. Html

สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. (2552). ราคาขาวโพดเลี้ยงสัตวท่ีเกษตรกรขายไดรายเดือน. คนเมื่อ

ธันวาคม 11, 2552, จาก http://www.oae.go.th/oae_report/price/price_month_result.php

Hall, David C., et al. (2003). Analysis of Beef Producers’ Risk Management Perceptions and

Desire for Further Risk Management Education. Review of Agricultural Economics, 25,

2, pp. 430-448.

Hazell, P., and R. Norton. (1986). Mathematical Programming for Economic Analysis in

Agriculture. United States of America: Macmillan Publishing Company. Cited Levy, H.,

and Markowitz, H. M. (1979). Approximating Expected Utility by a Function of Mean

and Varience. American Economic Review, 69, pp. 308-317.

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 122

Lien, G., et al. (2003). Risk and Risk Management in Organic and Conventional Dairy Farming:

Empirical Results from Norway. Retrieved November 1, 2009 from http:// www.

ifmaonline. org/pdf/ congress/Lien %20Flaten % 20 Ebbesvik% 20Koesling %20 Valle. pdf

Meuwissen, M., R. Huirne, and J. Hadarker. (2001). Risk and Risk Management: an Empirical

Analysis of Dutch Livestock Farmers. Livestock Production Science, 69, pp. 43-53.

Meuwissen, M., R. Huirne, and J. Hadarker. (2001). Risk and Risk Management: an Empirical

Analysis of Dutch Livestock Farmers. Livestock Production Science, 69, pp. 43-53.

Cited Dahlgran Wilson P., N. and Conklin, N., C. (1993) Perception as Reality on Large-

scale Dairy Farms. Agricultural Economics, 15, pp. 89-101.

Patrick George F., et al. (2007). Hog Producer’ Risk Management Attitudes and Desire for

Additional Risk Management Education. Journal of Agricultural and Applied Economics,

39, 3, pp. 671-687.

Patrick, George R., et al. (1985). Risk Perceptions and Management Responses: Producer-

Generated Hypotheses for Risk Modeling. Retrieved November 1, 2009 from

http://www.ageconsearch.umn.edu/bitstream/29989/1/17020231.pdf

Wilson, P., D. Armstrong, and T. Luginsland. (1987). Risk Perceptions and Management

Responses of Arizona Dairy Producers: an Empirical. Dairy Science, 71, 2, pp. 545-551.

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

123

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราชกับบริบททางสังคมจาก

วรรณกรรมเรื่องราชาธิราช

The King Phra Buddha Yodfa Chulalok the Great and

the Social Context from Rachathirat literature

ปริญญา ปนสุวรรณ

บทคัดยอ

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราชทรงปราบดาภิเษกขึ้นเปนปฐมกษัตริยแหง

ราชวงศจักรี ทามกลางความวุนวายของบานเมืองในขณะน้ัน การสรางความมั่นคงใหกับราชบัลลังกจึงถือ

เปนพระราชกรณียกิจหลักที่พระองคทรงใหความสําคัญ จะเห็นไดจากการสรางราชธานีใหมทรงแตงต้ัง

ขุนนางและพระราชาคณะ รวมทั้งการออกกฎหมายและพระราชกําหนดตางๆ เพื่อควบคุมอาณา

ประชาราษฎรใหอยูเย็นเปนสุข ในขณะเดียวกันทรงมีพระราชดําริที่จะสรางหนังสือดี มีคุณคาไวประดับ

สติปญญาแกขาราชบริพารและราษฎรโดยทรงพระราชนิพนธเองบาง เชน รามเกียรต์ิ หรือทรงเปนองค

ประธานในการแตงแกเหลานักปราชญราชกวี ซึ่งวรรณกรรมที่สําคัญสองเรื่อง คือ สามกก และราชาธิราช

อันเปนผลงานการแปลและเรียบเรียงของเจาพระยาพระคลัง (หน) มีความงดงามในการใชภาษาอยางมี

วรรณศิลปจนไดรับยกยองวาเปนยอดแหงความเรียงรอยแกว จากการศึกษาเรื่องราชาธิราชพบวานอกจาก

จะมีเนื้อหาเก่ียวกับการทําศึกสงครามระหวางพมากับมอญแลว ในสวนทายของเรื่องมีลักษณะของการ

สรางตัวละคร การสอดแทรกเหตุการณตางๆ ที่สอดรับกับสภาพสังคมในสมัยนั้น จึงกลาวไดวาวรรณกรรม

เรื่องราชาธิราชเปนหนังสือท่ีมีจุดประสงคตอผลลัพธทางการเมืองหรือมีเหตุผลทางการเมืองแฝงอยู

เพื่อสงเสริมความมั่นคงใหกับราชบัลลังกของพระองค

คําสําคัญ : พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช,บริบททางสังคม,ราชาธิราช

Abstract

His Majesty the King Phra Buddha Yodfa Chulalok the Great ascended the throne as the

first monarch of the Chakri Dynasty amidst the disturbance of the country. As a result, creating

stability of the throne was his major responsibility, which he realized its importance. As being

seen from establishing a new capital, appointing noblemen, including promulgating laws and

court regulations. These were created in order to control and look after his people to live their

lives happily. Not only that, he considered literatures of highest importance, which were useful

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 124

and valuable for sharpening the wisdom of his noblemen and people. The books were written by

both his majesty the king himself (Ramayana, for instance) and his sages. Samkok and

Rachathirat were the most outstanding literary works translated by Chao Phraya Phra Klang

(Hon). They were created with such beautiful words that they were praised as one of the

grandest proses. According to the study of Rachathirat, it was found that there was not only the

story about the war between Burmeses and Peguans, but also some characters created to

agree with the important circumstances at that time. Therefore it can be said that Rachathirat

was the book aiming the political effect, in other words, there were some political meanings

hidden in the story in order to support the stability of his throne.

Keyword : The King Phra Buddha Yodfa Chulalok the Great, Social context ,Rachathirat

บทนํา

ราชาธิราชฉบับเจาพระยาพระคลัง (หน) เปนหนังสือที่มีตนเรื่องจากพงศาวดารมอญ ซึ่ง

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ 1 แหงกรุงรัตนโกสินทร ทรงพระกรุณาโปรด

เกลาฯ ใหแปลและเรียบเรียงขึ้นเพื่อสืบทอดตามพระราชประสงคท่ีจะทรงสรางหนังสือใหคงมีไวเปนตนฉบับ

สําหรับพระนครดังแตกอน เพื่อสรางความมั่นคงแกราชอาณาจักรโดยสอดแทรกความรูที่หลากหลาย อาทิ

ตําราพิไชยสงคราม ขนบธรรมเนียม ประเพณีและสภาพสังคมในสมัยนั้นทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ

ใหประชุมลูกขุนและบุคคลซึ่งรูแบบแผนเรื่องราวโบราณแตด้ังเดิมชวยกันเรียบเรียงขึ้นโดยทรงตรวจแกไข

อีกชั้นหนึ่ง

เรื่องราชาธิราชน้ีไดรับยกยองวาเปนคําประพันธรอยแกวที่มีความไพเราะ ถอยคําภาษางดงาม

สละสลวย สํานวนโวหารคมคายลึกซึ้งชวนใหจดจํา และเปนแนวทางในการปฏิบัติและการดําเนินชีวิตของ

มนุษยสืบทอดไปทุกยุคทุกสมัยต้ังแตครั้งโบราณกาล ไมวาจะเปนเจาผูครองแผนดินกับขุนนางหรือไพรฟา

อาณาประชาราษฎร ซึ่งเนื้อหาของเรื่องเก่ียวกับการทําศึกสงครามอันยาวนานระหวางมอญกับพมา ซึ่ง

จําเปนตองอาศัยชั้นเชิงทางกลยุทธและสติปญญาย่ิงกวาพละกําลังกาย นอกจากนี้ ยังไดคุณคาสาระ

โดยเฉพาะสัจธรรม อาทิ ความซื่อสัตยสุจริต ความกลาหาญ และความจงรักภักดีท่ีผูนอยพึงปฏิบัติตอ

ผูใหญ (อาวุธ เงินชูกลิ่น, 2544, หนา 3-4)

โดยเหตุที่วรรณกรรมเรื่องน้ี มีเน้ือเรื่องที่เต็มไปดวยการสงครามและยุทธศาสตรฉะนั้นพระราชดําริ

ที่วา “จะไดสดับไวเปนคติบํารุงสติปญญา” นาจะหมายถึง เปนสติปญญาในการทําสงคราม และการที่

ทหารมีสติปญญาในการทําสงครามจัดไดวาเปนทหารที่มีประสิทธิภาพ และการท่ีมีทหารท่ีมีประสิทธิภาพ

อยูในกองทัพยังผลโดยตรงใหประเทศชาติมีความมั่นคง

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

125

นอกจากเรื่องราชาธิราชซึ่งมีคุณคาในการสรางประสิทธิภาพของทหารและขาราชบริพาร ในฐานะ

เปนตําราทางการสงครามและเลหกลทางการเมืองแลว วรรณกรรมในยุคน้ียังมีคุณคาในการสงเสริมความ

มั่นคงภายในประเทศอีกหลายเลม (บํารุง สุวรรณรัตน, 2520, หนา 5) ที่ลวนแฝงนัยทางการเมือง อันเปน

ผลลัพธที่ชวยสรางความมั่นคงแกราชบัลลังกและบานเมืองในสมัยนั้น

ภูมิหลังเร่ืองราชาธิราช

ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกน้ันแมวาปญหาการรวบรวมราชอาณาจักร

จะไดรับการผอนปรนไปแลวจากผลงานของพระเจากรุงธนบุรีแตความลมสลายของราชอาณาจักรอยุธยา

และความวุนวายในตอนปลายของสมัยกรุงธนบุรีก็ยังคงมีผลกระทบท่ีสําคัญและรุนแรงตอความรูสึกและ

ความเชื่อมั่นในเรื่องทิศทางและความชอบธรรมของผูปกครองใหมอยูไมนอย ดวยเหตุนี้ วรรณกรรมท่ี

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกทรงพระราชนิพนธขึ้นเองและงานวรรณกรรมอ่ืนๆ ท่ีทรงพระกรุณา

โปรดเกลาฯ ใหมีการแตงขึ้นในรัชสมัยของพระองค เชนรามเกียรต์ิ สามกก ราชาธิราช จึงนาจะมิไดจํากัด

ขอบเขตวัตถุประสงคอยูแคการฟนฟูวรรณกรรมหลักขึ้นตามประเพณีของบูรพกษัตริยไทยเทานั้น หากแตวา

ยังมีเหตุผลท่ีนาเชื่อไดวาการฟนฟูวรรณกรรมเหลานี้เปนการกระทําท่ีมุงประสงคตอผลลัพธทางการเมือง

หรือมีเหตุผลทางการเมือง คือเปนความพยายามที่จะกลอมเกลาทางการเมืองแฝงอยูดวย (สมบัติ จันทรวงศ,

2547, หนา 475)

เรื่องราชาธิราชฉบับเจาพระยาพระคลัง (หน) นั้นเปนที่ทราบกันเปนอยางดีแลววาไดรับยกยองให

เปนยอดของความเรียงรอยแกว ซึ่งกอนท่ีจะมีการแปลน้ันมีราชาธิราชท่ีเปนฉบับอ่ืนอยูบางหลายสํานวนแต

ไมเปนที่นิยมนักเพราะไมไดมีจุดมุงหมายเพื่อการบํารุงสติปญญาของราษฎร ดังนั้น คนในยุครัตนโกสินทร

จึงรูจักแตราชาธิราชของเจาพระยาพระคลัง (หน) ทําใหความสําคัญของเรื่องก็ไปเนนท่ีฉบับแปลมากกวา

ตนฉบับซึ่งนอยคนจะเขาใจได (นิยะดา เหลาสุนทร, 2534, หนา 291)

เนื้อเรื่องราชาธิราชฉบับเจาพระยาพระคลัง (หน) แบงไดเปน 4 ตอนดังนี้

1. ความนําเรื่อง

2. เหตุการณกอนสมัยพระเจาราชาธิราช

3. สมัยพระเจาราชาธิราช

4. เหตุการณหลังสมัยพระเจาราชาธิราช

เหตุการณในเรื่องราชาธิราช 3 ตอนขางตนนั้นเปนเรื่องราวที่เกิดขึ้นเก่ียวกับการทําสงครามของ

พระเจาราชาธิราชกษัตริยมอญ กับพระเจาฝรั่งมังฆองกษัตริยพมา ท่ีนําเสนอกลศึกยุทธวิธีการรบท่ีแยบยล

ชิงไหวชิงพริบกัน ไมวาจะเปนทางดานการทหาร การทูต รวมทั้งตําราพิชัยสงครามตางๆ ที่ทั้งสองฝายผลัด

กันแพชนะ และแสดงใหเห็นถึงความเปนปุถุชนของตัวละครท่ีมีความรัก โลภ โกรธ หลง เปนธรรมดา และ

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 126

มิไดมีการโนมเอียงที่จะเขาขางฝายใดแมวาโดยความรูสึกของคนไทยในสมัยนั้นจะมีความเกลียดชังและ

เกรงกลัวพมาอยูมากก็ตามเพราะถือวาเปนการวรรณกรรมท่ีแปลมาจากพงศาวดารอีกชั้นหน่ึง

ตอนท่ี 4 ของเรื่องคือเหตุการณหลังสมัยพระเจาราชาธิราช กลาวคือหลังจากท่ีพระเจาราชาธิราช

สิ้นพระชนมแลว พระเจาฝรั่งมังฆองก็สิ้นพระชนมในกาลตอมา ฝายหงสาวดีก็มีกษัตริยสืบตอ ๆ มา 8

พระองค จนกระทั่งถึงสมัยของตะละนางพระยาทาวซึ่งถูกทางพมาทําอุบายจับไปเปนมเหสี พระภิกษุรูป

หน่ึงมีชื่อวา พระมหาปฎกธรเปนผูเฉลียวฉลาดเคยไดรับความอุปถัมภจากพระนาง และชวยนําตัวพระนาง

กลับคืนมาได ตอมาเมื่อพระมหาปฎกธรสึกออกมาและไดราชาภิเษกเปนกษัตริยมีพระนามวา พระเจา

ศรีศากยวงศธรรมเจดีย มีพระปรีชาสามารถจนเปนที่ยกยองไปทั่ว และในรัชกาลนี้ไดมีการเจริญ

สัมพันธไมตรีกับไทย ซึ่งตะละนางพระยาทาวนั้นในเอกสารพมามีชื่อวาพระนางฉึ่งซอบ สวนพระมหาปฎกธรนั้น

พมารูจักในพระนามพระเจาธรรมเจดีย (วิรัช นิยมธรรม, 2552, หนา 2)

สิ่งท่ีนาสังเกตในตอนท่ี 4 คือ เนื้อหาที่แสดงใหเห็นวาผูแปลตองการท่ีจะแสดงใหเห็นถึงการสราง

ความชอบธรรมในการราชาภิเษกเปนกษัตริยของพระมหาปฎกธร สะทอนออกมาในการสรางบุคลิกของ

ตัวละครใหมีลักษณะเหมือนพระโพธิสัตวที่มีความเฉลียวฉลาดเกงกลากวาบรรดาสามัญชนท่ัวไป อีกท้ัง

ลักษณะของการดําเนินเรื่องก็เนนความเปนวีรบุรุษของกษัตริยเทานั้นหาไดมีการชื่นชมทแกลวทหารท่ีมี

ความเกงกลาสามารถเหมือนเหตุการณในเน้ือเรื่องทั้ง 3 ตอนขางตน ถือเปนความจงใจของผูแปลที่จะใช

วรรณกรรมเลมนี้เปนเครื่องมือในการสรางความมั่นคงใหกับราชบัลลังกของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟา

จุฬาโลกที่ชัดเจนที่สุด

ปจจัยสําคัญที่เปนมูลเหตุในการแปลนั้น ในสวนของผูอํานวยการแปลราชาธิราช คือ เจาพระยา

พระคลัง (หน) วาทานผูนี้เปนที่รูจักกันดีวาเปนกวีเอกคนสําคัญในสมัยของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟา

จุฬาโลก ตามประวัติของทานกอนท่ีจะเปนเจาพระยาพระคลังแสดงใหเห็นวาทานเปนผูหนึ่งที่มีความ

จงรักภักดีในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกและมีบทบาททางการเมืองอยูในระดับสูงพอสมควร

กอนการขึ้นครองราชยของพระองคดังปรากฏในสวนที่เปนประวัติของทานวา

ในรัชกาลสมเด็จพระเจาตากสินกรุงธนบุรีไดรับราชการในสมเด็จพระเจาหลาน

เธอกรมหลวงอนุรักษเทเวศร มีบรรดาศักด์ิเปนหลวงสรวิชิต นายดานเมืองอุทัยธานี และ

ไดแตงวรรณคดี 2 เรื่อง คือ ลิลิตเพชรมงกุฎ และเรื่องอิเหนา คําฉันทในตอนปลาย

รัชกาลสมเด็จพระเจาตากสินธนบุรี บานเมืองระส่ําระสายเกิดการจลาจล สมเด็จพระพุทธ

ยอดฟาจุฬาโลกซึ่งขณะนั้นดํารงพระยศเปนสมเด็จเจาพระยามหากษัตริยศึก และกําลัง

ยกกองทัพไปตีเขมร ทรงทราบขาวการจลาจลในพระนครจึงรีบยกทัพกลับ หลวงสรวิชิตซึ่ง

มีความจงรักภักดีไดแตงคนนําหนังสือลับแจงกิจราชการในพระนครไปถวายสมเด็จ

เจาพระยามหากษัตริยศึกถึงดานพระจารึก และไดออกไปรับเสด็จถึงทุงแสนแสบกราบทูล

ขาราชการตาง ๆ ใหทรงทราบแลวเชิญเสด็จนําทัพเขามายังพระนคร

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

127

ครั้นพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก ทรงปราบดาภิเษกขึ้นครองราช

สมบัติแลว ทรงมีพระราชดําริวา หลวงสรวิชิตมีความดีความชอบหลายประการและ

จงรักภักดีในพระองคมาชานาน ไดโดยเสด็จพระราชสงครามมาแตกอน กับเปนผูมีความรู

ในทางอักษรศาสตรและวรรณคดีอยางกวางขวาง จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาใหเลื่อนขึ้น

เปนพระยาพิพัฒนโกษา ตอมาโปรดเกลาใหเลื่อนขึ้นเปนเจาพระยาพระคลัง เสนาบดี

จตุสดมภกรมทา มีหนาที่ควบคุมบังคับบัญชากิจการทางหัวเมืองชายทะเลทั้งหมด (กรม

ศิลปากร, 2525, หนา 9 - 10)

ในแงนี้จะเห็นไดวาการท่ีผูอํานวยการแปลเปนท้ังนักรบ กวีและอํามาตยผูใหญในแผนดิน ก็นาจะ

เปนไปไดวาถอยคําการแปลนาจะมีการสอดแทรกเหตุผลทางการเมืองอยูดวยไมนอยเนื่องจากการขึ้น

ครองราชยของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกนั้นไดทรงปราบดาภิเษกสืบตอจากพระเจากรุงธนบุรี

เปนไปไดวาขณะที่แปลนั้นผูอํานวยการแปลก็คงตองระมัดระวังขอความใด ๆ ไมใหระคายเคืองเบ้ืองยุคลบาท

อีกท้ังตองสรางความชอบธรรมในการขึ้นครองราชย ซึ่งอาจหมายรวมไปถึงประสบการณความสัมพันธ

ระหวางนายกับบาว กษัตริยกับทหาร ฯลฯ ซึ่งชนชั้นนําของสมัยตนรัตนโกสินทรรวมท้ังตัวเจาพระยา

พระคลัง(หน) คิดวาไมเปนเรื่องไกลตัวนัก จึงเปนไปไดที่จะสอดแทรกเรื่องราวเหลาน้ีผานตัวละครที่สราง

ขึ้นมาใหมีลักษณะพิเศษเฉพาะแตกตางจากการแปลพงศาวดารในชวงเนื้อเรื่องหลักซึ่งเปนผลมาจากบริบท

ทางสังคมท่ีตองการสรางความศรัทธาและความชอบธรรมของพระเจาแผนดินโดยการกลอมเกลาสํานึกทาง

การเมืองของขาราชบริพารตลอดจนอาณาประชาราษฎรมากกวาการสรางวรรณกรรมไวประดับเมือง

เทาน้ัน

เจาพระยาพระคลัง (หน) ไดใชวรรณกรรมเรื่องราชาธิราชเปนเครื่องมือในการสรางความชอบธรรม

และความศรัทธาของปวงชนใหมีตอพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกโดยเนนในชวงทายของเรื่องที่

นําเสนอความสามารถของพระมหาปฎกธรซึ่งสะทอนแนวคิดทางการเมืองในชวงเวลานั้นไดเปนประเด็น

ตาง ๆ ดังนี้

1. การขึ้นครองราชยของพระมหาปฎกธรและพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก

มหาราช

เนื้อหาในตอนทายเรื่องราชาธิราช พระมหาปฎกธรเปนเพียงสามัญชนท่ีตะละนางพระยาทาวได

ยกข้ึนมาใหเปนกษัตริยแทนตนซึ่งเกิดความไมยอมรับกันในหมูเสนาอํามาตยผูใหญในเมืองหงสาวดีเนื่อง

ดวยมหาปฎกธรน้ันหาไดมีเชื้อสายของกษัตริยเจาหงสาวดีไม เพียงแตเปนลูกเลี้ยงของตะละนางพระยาทาว

เทาน้ัน

เสนาบดีทั้งปวงไดฟงพระเสาวนียตรัสดังนั้นตางก็มิเห็นดวย จึงกราบทูลวา

สมเด็จพระเจาราชาธิราชครองราชยสมบัติเปนใหญในรามัญประเทศทั้งปวงสืบๆ กันมาได

ถึงแปดชั่วกษัตริยท้ังพระองคนี่แลว ขาพเจาท้ังปวงก็ต้ังใจสุจริตชวยกันรักษาราชสมบัติไว

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 128

โดยความสัตยสวามิภักด์ิไพรฟาขาแผนดินในราชอาณาจักรก็อยูเย็นเปนสุขพรอมมูลกัน

สืบมา ซึ่งพระองคจะละราชสมบัติเสียใหพระมหาปฎกธรผูหาเชื้อพระวงศไมไดเปนแต

พระราชบุตรเลี้ยงครองราชสมบัติแทนพระองคน้ัน เสนาบดีผูใหญผูนอยทั้งปวง ก็จะถือทิฐิ

มานะกําเริบขึ้นเปนอันมากเห็นจะมิพรอมมูลกัน แผนดินก็จะเกิดจลาจลขึ้น ขอใหทรงดําริ

ดูจงควรกอน (ราชาธิราช, 2544, หนา 412)

เหตุการณที่แสดงใหเห็นถึงการไมยอมรับพระมหาปฎกธรที่กาวขึ้นมาเปนกษัตริยโดยไมมีเชื้อสาย

เปนกษัตริยเลยนั้นคือเหตุการณที่พระเจาเชียงใหม พระเจาลานชาง พระเจากรุงศรีอยุธยาและกษัตริย

พระนครอ่ืนๆ มีพระราชสาสนมาถึงพระเจากรุงหงสาวดีใจความเหน็บแนมถึงชาติกําเนิดของพระเจาหงสาวดีวา

เราท้ังปวงผูดํารงพระนครในประเทศตาง ๆ น้ีไดทราบวา พระเจาหงสาวดีมีเด

ชานุภาพและพระเกียรติยศเปนอันมากก็มีความยินดีย่ิงนักปรารถนาจะใครกระทํา

พระราชไมตรีดวย ใหพระนครหงสาวดีกับนครทั้งปวงนี้เปนสุวรรณปฐพีเดียวกัน ครั้นจะ

ถวายพระราชธิดามาสัมพันธมิตรเลาก็ยังมิแจงวาเปน พระวงศใด จึงจัดแตงราชทูตใหนํา

พระราชสาสนและเครื่องราชบรรณาการมาถวายพอเปนทางพระราชไมตรีเสียครั้งหนึ่ง

กอน ถาทราบวาพระองคเห็นชอบดวยแลว จึงจะแตงพระราชธิดามาถวายตอเมื่อภายหลัง

(ราชาธิราช, 2544, หนา 419)

ผูแปลนาจะมีความจงใจที่จะเชื่อมโยงเหตุการณในเรื่องใหเขากับเหตุการณในสมัยตนรัตนโกสินทร

ชวงท่ีพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาทรงปราบดาภิเษกขึ้นเปนกษัตริยตอจากพระเจากรุงธนบุรีกลาวคือ

ทรงมิไดมีสายสัมพันธทางสายโลหิตจากพระราชวงศใดทั้งสิ้น อีกทั้งมิไดทรงอยูในฐานะวีรบุรุษผูแลกเลือด

เนื้อและชีวิตเพื่อบานเมืองดังเชนพระเจากรุงธนบุรี พระองคจึงตองทรงแสวงหาความชอบธรรมในการ

สถาปนาพระองคขึ้นเปนพระเจาแผนดิน ท้ังนี้เพื่อการยอมรับในหมูขาทหาร ขาราชบริพาร ตลอดจนราษฎร

ทั้งปวง

การอางความชอบธรรมในการขึ้นครองราชยของพระมหาปฎกธรเริ่มขึ้นตรงท่ีตะละนางพระยาทาว

ตองการที่จะใหเหลาเสนาบดีละทิฐิในในเรื่องชาติกําเนิดของพระมหาปฎกธรคือทรงมีพระเสาวนียใหนาย

ชางสรางพระพุทธรูปขึ้นมาจากไมเสาสะพานท่ีมีคนเดินขามไปมาทุกวันเมื่อเสร็จแลวเหลาเสนาบดีพวกนั้น

ก็สักการะพุทธรูปเสาสะพานนั้นและยอมรับพระมหาปฎกธรเปนกษัตริย สวนทิฐิของเจาประเทศตางๆ ท่ีทรง

ดูถูกชาติกําเนิดของพระมหาปฎกธรน้ัน ทรงแกทิฐิมานะน้ันดวยการสงพระราชสาสนกลับไปยังเจาประเทศ

ตาง ๆ มีใจความวา

พระโพธิสัตวทั้งปวงซึ่งจะมาตรัสรูเปนพระพุทธเจาน้ี เกิดในตระกูลและวงศชาติ

ภาษาตางๆ พระพุทธฎีกาก็ทรงดํารัสเรียกเปนพระพุทธวงศเดียวกัน กษัตริยทั้งปวงซึ่งเปน

สัมมาทิฐิ นับถือพระพุทธศาสนาท้ังสิ้นน้ีจะเรียกวาวงศพระพุทธเจาโดยพระพุทธภาษิต

หรือจะเรียกเปนวงศอยางอ่ืนก็ตาม อนึ่งพระพุทธเจาเสด็จดับขันธปรินิพพานแลว คนทั้ง

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

129

ปวงเอาแกวเงินทองสิ่งของที่ดีและสังกะสี ดีบุก ตะก่ัว โดยตํ่าลงไปถึงไมและอิฐปูน สม

กระทําเปนพระพุทธปฏิมากรเคารพนับถือนมัสการนั้น กษัตริยทั้งปวงผูเปนสัมมาทิฐิ

จะไมเคารพนับถือทรงเห็นวาเปนของสิ่งนั้นสิ่งน้ี ท่ีสุดลงไปวาเปนอิฐเปนปูนก็ตาม พระ

สติปญญา อุปมาเหมือนหนึ่งเราฉะน้ี คนทั้งปวงประชุมชวนกันอัญเชิญมาราชาภิเษกได

ดํารงราชสมบัติเปนพระเจาแผนดินแลว กษัตริยท้ังปวงผูมีปรีชาเฉียบแหลม จะทรงเห็นวา

ต้ังอยูในที่เปนขัตติยวงศเหมือนอยางพระพุทธเจาทรงดํารัสเรียกพุทธวงศนั้น หรือจะวา

เปนวงศใดก็ตาม อนึ่งเปรียบความใหชิดกระชั้นเห็นใกลๆ อีกอยางหน่ึง คือราชธิดา

พระมหากษัตริยพระองคใด เมื่อยังทรงพระเยาวเปนราชทาริกาอยู ก็เรียกวาวงศเด็ก ครั้น

เจริญรุนทวีพระชนมเปนราชกุมารีขึ้นแลวก็เรียกวาวงศสาว พระชนมายุมากชราแลว

ก็เรียกวาวงศแก เมื่อกษัตริยทั้งปวงจะกลับเรียกวาวงศแกเปนวงศสาว วงศสาวเปนวงศ

เด็กไดก็ตามอัชฌาสัย ซึ่งเราเปรียบเทศนาถวายตอบแทนพระราชสาสนทั้งปวงท่ีมีมานั้น

คดีธรรมอยูเบ้ืองตน คดีโลกอยูท่ีสุด ขอเจาแผนดินทุกๆ พระองคผูทรงปรีชาสามารถ

หวังจะใครรูจักวงศเราน้ัน จงทรงพระวิจารณดวยพระปญญาอยางละเอียด ใหเห็นโดย

สัมมาทิฐิญาณ อยาทรงพระดําริดวยพระปญญามิจฉาทิฐิ แลวก็คงจะรูจักวงศเราโดยแท

(ราชาธิราช, 2544, หนา 421 - 422)

จะเห็นไดวาพระมหาปฎกธรใชขออางทางพระพุทธศาสนามาเปนสิทธิอันชอบธรรมในการท่ีจะขึ้น

ครองราชย ซึ่งก็ไดรับการตอบสนองเปนอยางดีจากเจาประเทศเหลานั้น ตรงนี้แสดงใหเห็นวาผูแปลได

สะทอนแนวคิดในการขึ้นครองราชยอันชอบธรรมของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก ท่ีทรงเลือก

วิถีทางธรรมะเปนหลักสําคัญ เพราะมีพระราชดําริวาหัวใจของราษฎรน้ันมีความผูกพันมั่นคงอยูกับ

พระพุทธศาสนาจึงทรงเนนพระราชภารกิจสําคัญของพระองคคือการทํานุบํารุงพระพุทธศาสนาและ

ตองการจะเปนธรรมราชาผูปกครองไพรฟาประชาชนดังปรากฏ พระราชปณิธานของพระองคในนิราศรบ

พมาที่ทาดินแดงวา

ต้ังใจจะอุปถัมภก ยอยกพระพุทธศาสนา

จะปองกันขอบขัณฑสีมา จะรักษาประชาชนแลมนตรี

(ประชุมเพลงยาวฉบับหอสมุดแหงชาติ, 2507, หนา 15)

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกทรงใชความเชื่อในเรื่องที่มาและสถานภาพของกษัตริย

ที่มาจากความเชื่อในพระพุทธศาสนาอันสืบทอดมาจากวรรณคดีเลมสําคัญ คือ ไตรภูมิพระรวง กลาวคือ

กษัตริยคือผูที่ไดสะสมบารมีเอาไวมากในชาติกอน ๆ ครั้นมาในชาติปจจุบันก็ตองสะสมบารมีใหย่ิง ๆ ขึ้นไป

อีกเพื่อเตรียมที่จะเปนพระพุทธเจาในอนาคต ดวยการประพฤติธรรม สั่งสอนธรรมและบํารุงพระศาสนา

หรือกลาวอีกนัยหน่ึงก็วา รัฐเปนเพียงเครื่องมือไปสูพระนิพพานและพระมหากษัตริยก็เปรียบเสมือน

พระโพธิสัตวที่มีพระราชภาระในอันที่จะสะสมบารมีเพื่อชวยใหสัตวโลกทั้งหลายรวมท้ังราษฎรของพระองค

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 130

เองไปสูสุคติ มีความศักด์ิสิทธิ์ในฐานะของตัวกษัตริยเองคือเปนสมมติเทพและอีกนัยหนึ่งคือเปนเชื้อสาย

ของพระพุทธเจา

ผูแปลเรื่องราชาธิราชก็ไดรับอิทธิพลในเรื่องคติที่วากษัตริยเปนพระโพธิสัตวผูที่สั่งสมบารมีเพื่อการ

ตรัสรูเปนพระพุทธเจาโดยการสรางลักษณะของพระมหาปฎกธรใหเปนผูมีความเฉลียวฉลาดประดุจ

พระมโหสถผูเปนพระโพธิสัตวพระชาติที่ 5 ของพระพุทธเจาโดยจะเห็นไดจากการที่พระมหาปฎกธร

แกปญหาพระเจากรุงจีน พระเจากรุงศรีอยุธยา พระเจาอังวะ และพระเจากรุงลังกา นอกจากนี้ ยังทรง

ตัดสินคดีความตางๆ ไดดวยพระปญญาท่ีเฉียบแหลมและทรงความยุติธรรม แสดงให เ ห็นวา

พระมหากษัตริยทรงเปนพระโพธิสัตว ทรงไดรับเลือกจากคนท้ังหลายใหเปนผูปกครองเพราะทรงมี พระ

ปญญาคุณ ทรงทําหนาที่ตัดสินคดีความ ทรงเปนใหญเหนือที่ดิน และทรงยังชนทั้งหลายใหยินดีดวย

ทศพิธราชธรรม ดังพระราชเสาวนียที่ตะละนางพระยาทาวประทานแกเหลาเสนาอํามาตยวา

พระมหาปฎกธรบุตรเราเปรียบประดุจไมเสาสะพาน เมื่อเราจะยกใหเปน

พระมหากษัตริย ประกอบดวยเครื่องเบญจราชกกุธภัณฑและเศวตฉัตรเปนเพศกษัตริย

แลว ดังฤๅจะไหวมิไดเลา ธรรมดาบุคคลจะเปนพระมหากษัตริยนั้นแมนมิไดมีบุญญา

ภิสมภารอันแกกลาสรางมาแตกอนแลวก็หาเปนกษัตริยไดไม ยอมจะมีอันตรายแกชีวิต

ตาง ๆ เสียแตในทามกลางที่ยังมิไดราชสมบัตินั้น ถามีบุญญาภิสมภารไดสรางมาเปนอัน

มากควรจะไดราชสมบัติแลวถึงใครจะฆาเสียก็มิตาย จะไดราชสมบัติเปนมั่นคง

(ราชาธิราช, 2544, หนา 414)

หรือการที่พระเจาหงสาวดีทรงสรางวัดวิหารลานเจดียแลวมีการอุทิศพระราชกุศลใหกับสรรพสัตว

ตาง ๆ เพื่อมุงหวังในพระโพธิญาณ

พระองคก็ทรงนํ้าเตาทองหลั่งน้ําทักษิโณทกลงเหนือเมทนีดล แผสวนพระราช

กุศลใหแกสัตวโลกท้ังปวง เบ้ืองตํ่าแกอเวจีมหานรกขึ้นมา เบ้ืองบนตลอดถึงภวัคคะพรหม

เปนท่ีสุด ดวยพระราชหฤทัยจํานงพระโพธิญาณ ทรงพระราชศรัทธาเลื่อมใสใน

พระพุทธศาสนาย่ิงนัก (ราชาธิราช, 2544, หนา 416)

จากความคิดความเชื่อดังกลาวนั้นยอมท่ีจะทําใหผูที่สั่งสมบุญญาบารมีไวมากแตชาติปางกอน

และจะไดขึ้นเปนกษัตริยในชาติน้ีน้ันมีนิมิตหรือสิ่งท่ีเปนลางบอกเหตุตาง ๆ ใหทราบดังปรากฏนิมิตของ

พระมหาปฎกธรในเรื่องราชาธิราช ดังนี้

อยูมาวันหน่ึง พระมหาปฎกธรลงไปสรงน้ําผลัดผาอันตรวาสกกองไว ขณะนั้น

บังเกิดนิมิตเปนลมพายุใหญพัดหอบเอาผาอันตรวาสกซึ่งกองไวปลิวไปบนอากาศตกลง

คลุมยอดปรางคปราสาท ซึ่งพระนางเจาแผนดินเสด็จอยู.....พระมหาปฎกธรเห็นดังนั้น

แลวก็รําพึงวา เหตุเปนนิมิตอัศจรรยนานไปภายหนาเห็นเราจะมีวาสนา คิดแลวก็น่ิงไว

(ราชาธิราช, 2544, หนา 405)

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

131

หรืออีกเหตุการณหนึ่ง

อยูมาวันหนึ่งเกิดนิมิตมีแรงสองตัว บินมาแตทิศอีสาน ทําประทักษิณสามรอบ

แลวบินเขามาหมอบอยูใตกุฎีตรงหนาพระมหาปฎกธรขางทิศอีสาน พระมหาปฎกธรเห็น

ดังนั้นจึงใหนิสิตไปซื้อเน้ือมาใหแรงกิน ครั้นแรงกินแลวจึงรองเปนภาษาบาลีวา ติปฏะ

กะธะระสวาธัมหักเคมุหุเตวะ พระมหาปฎกธรไดยินแรงรองดังนั้น ก็รูตัววาจะไดเปน

กษัตริยมั่นคง (ราชาธิราช, 2544, หนา 411)

การสรางปาฏิหาริยใหแรงสามารถรองเปนภาษาบาลีไดนั้นก็ตองการยกใหพระมหาปฎกธรมี

ลักษณะที่เหนือกวามนุษยทั่วไปเปนแนวเดียวกับการสรางชาดก ซึ่งภาษาบาลีที่แรงรองนั้นสอบถามผูรูทาง

ภาษาบาลีทราบวามีลักษณะท่ีไมถูกตองตามไวยากรณบาลีนัก พระมหาปฎกธรไดตีความขอความภาษา

บาลีนี้เขาขางตนเองวาจะตองสึกหาลาเพศออกมาเพื่อเปนกษัตริย

จากการศึกษาหลักฐานตาง ๆ ทําใหทราบวามีการกลาวถึงบุญญาธิการของพระบาทสมเด็จ

พระพุทธยอดฟาจุฬาโลกท่ีจะไดขึ้นเปนกษัตริยต้ังแตคราวท่ีมีศึกอะแซหวุนก้ีเขามาตีไทยพระบาทสมเด็จ

พระพุทธยอดฟาจุฬาโลกซึ่งขณะนั้นทรงเปนเจาพระยาจักรีทรงเปนแมทัพตานศึกนี้ก็มีการขอดูตัวแมทัพ

ของฝายไทย เมื่ออะแซหวุนก้ีเห็นพระยาจักรีก็รูวาเปนผูมีบุญตอไปจะไดเปนใหญในภายหนาขอใหรักษา

ตัวไวใหดี ซึ่งมีรายละเอียดปรากฏในพงศาวดารเรื่องไทยรบพมา ความวา

...อะแซหวุนก้ีพิจารณาดูรูปลักษณะเจาพระยาจักรีแลวสรรเสริญวา ทานนี้ก็

รูปงาม ฝมือก็เขมแข็ง อาจสูรบเราผูเปนผูเฒาได จงอุตสาหรักษาตัวไวภายหนาจะไดเปน

กษัตริยโดยแท....แลวใหเอาเครื่องผาทองสํารับ 1 กับสักหลาดพับ 1 ดินสอแกว 2 กอน

น้ํามันดิน 2 หมอ มาใหเจาพระยาจักรีๆ ก็ใหของตอบแทนพอสมควร (สมเด็จพระจาบรม

วงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ, 2475, หนา 493)

หรือพระชะตาของพระเจากรุงธนบุรีกับพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก ทั้งสองพระองคมี

ดวงพระชะตาสอดคลองสมพงศกันมาตลอด เริ่มจากเปนสามัญชน เขารับราชการไตเตาขึ้นสูตําแหนงสูง ๆ

ข้ึนตามลําดับ สมเด็จพระเจากรุงธนบุรีขึ้นสูตําแหนงสูงสุดในแผนดินกอน โดยมีพระบาทสมเด็จพระพุทธ

ยอดฟาจุฬาโลกรับราชการเปนขุนนางในแผนดินพระองค เวลานี้เองที่ดวงพระชะตาของทั้งสองพระองคก็

ขัดขมกันเองจนถึงขั้นท่ีฝายหนึ่ง “แพดวง” จนชะตาขาด (ปรามินทร เครือทอง, 2547, หนา 77)

ดวงพระชะตาของพระเจาแผนดินท้ังสองพระองคสมพงศกันนับต้ังแตกรุงศรีอยุธยายังไมเสียแก

พมา ดังที่ปรากฏในตํานานเรื่อง อภินิหารบรรพบุรุษ ขณะน้ันพระเจากรุงธนบุรีเปนเพียง “นายสิน”

มหาดเล็กวังหลวงในแผนดินพระเจาอยูหัวบรมโกศ ตอมานายสินไดบวชกับพระอาจารยทองดีมหาเถระ

เจาอธิการวัดโกษาวาศนหรือวัดเชิงทาปจจุบัน สวนพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกก็ยังเปน

มหาดเล็กอยูเหมือนกันตอมาบวชอยูที่วัดมหาทลายออนพรรษากวาพระสินอยู ๓ พรรษา เวลาน้ันมีตํานาน

เรื่องพระชะตาของทั้งสองพระองคซึ่งเลาสืบกันมาวา

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 132

ครั้นวันหน่ึงพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาเสด็จไปบิณฑบาต พบ พระเจาตาก

สินก็เสด็จมาบิณฑบาต ทานก็หยุดยืนสนทนากันดวยสมณวัตกถาฯ ขณะนั้นมีจีนชะรา

เดินมาถึงที่ประทับอยูนั้น จีนชะราก็หยุดยืนแลดูพระภักตรทานทั้งสองพระองคเปนชานาน

แลวก็หัวรอ แลวก็เดินไปหางพระองคประมาณ ๑๐ ศอก แลวก็เหลียวหนามาหัวรออีก

แลวจึ่งกลับเหลียวหนาเดินไป ทําอาการกริยาอยางนั้นเปนหลายครั้งจนเดินหางไป

ประมาณ ๘ วาเศษ

ขณะน้ันพระเจาตากจึงกวักพระหัตถเรียกจีนชะราน้ันใหกลับมาถึงแลวจึ่งตรัส

ถามวา ทานแลดูหนาเราแลวหัวรอดวยเหตุไร จีนชะราตอบวา ขาพเจาเห็นราศีแล

ลักษณะทานทั้งสองนี้แปลกประหลาดกวามนุษทั้งปวง พระเจาตากจึ่งถามวาทานเปน

หมอดูฤๅ จีนรับวาเปนหมอดู พระเจาตากตรัสวา ถากระนั้นทานชวยดูเราสักหนอยเถิด

จีนนั้นจึ่งจับพระหัตถดู แลวจึงถามถึงปเดือนวันพระชนมพรรษาทราบแลว ก็ทักทํานายวา

ทานจะได เปนกระษัตริย พระเจาตากก็ทรง พระสรวล เปนทีไม เชื่อ ขณะน้ัน

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจึ่งตรัสแกจีนชะรานั้นวา ทานจงชวยดูใหเราบาง จีนนั้น

จึ่งจับพระหัตถแลวถามถึงปเดือนวันพระชนมพรรษาทราบแลวจึ่งทํานายวาทานก็จะได

เปนกระษัตริยเหมือนกัน ขณะน้ันทานท้ังสองพระองคก็ทรงพระสรวลแลวจึ่งตรัสตอบจีน

นั้นวา เรามีอายุศมออนกวาพระเจาตากสองปเศษเทานั้น จะเปนกระษัตริยพรอมกันได

อยางไร ไมเคยไดยิน สัดตวงเขาดอกกระมัง ตรัสเทานั้นก็เสด็จเลยไปบิณฑบาททั้งสอง

องค (อภินิหารบรรพบุรุษและปฐมวงศ, 2545, หนา 24)

หรือเหตุการณที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกทรงปูนบําเหน็จขุนโลกทีป เจากรมโหร

หลังในสมัยพระเจากรุงธนบุรีขึ้นเปนพระโหราธิบดีเจากรมโหรหนา หรือเปนหัวหนาโหรท้ังปวง ดวยเหตุที่

ทํานายวาพระองคจะไดขึ้นเปนกษัตริยไดอยางแมนยํา

ตรัสเอาขุนโลกทีปย ซึ่งไดถวายพระยากรณไวแตเดิม วาจะไดราชสมบัตินั้น มี

ความชอบเปนพระโหราธิบดี ตรัสเอากาไชยโยคเปนขุนโลกทีป (เจาพระยาทิพากรวงศ,

2503, หนา 21)

พระปรีชาสามารถในการไขปริศนาของพระมหาปฎกธรเปนที่ยอมรับของเจาประเทศทั้งปวงตาง

ถวายเครื่องบรรณาการและถวายพระนามใหกับพระองค

ครั้นพระเจาลังกาไดแจงในคําแกปริศนาและทรงทราบวา พระเจาหงสาวดีเปน

พระราชวงศใหญหลวง ทรงสรางบารมีเปนทางพระโพธิญาณดังน้ันก็มีพระทัยยินดีนัก

จึงใหทําลานทองประดับพลอยเปนอันมากแลวจารึกพระนามลงวา พระเจาศรีศากยวงศ

ธรรมเจดีย (ราชาธิราช, 2544, หนา 455)

พระนามนี้หมายความวาผูเปนเชื้อสายแหงวงศศากยะคือเชื้อสายของพระพุทธเจาซึ่งเปนแนวคิด

ในความเชื่อท่ีวาพระมหากษัตริยทรงเปนพระโพธิสัตว ในสมัยตนรัตนโกสินทรก็เชนกัน เมื่อพระบาทสมเด็จ

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

133

พระพุทธยอดฟาจุฬาโลกทําพระราชพิธีปราบดาภิเษกแลว สมเด็จพระสังฆราชและพระราชาคณะผูใหญ

ประชุมพรอมกันคิดขนานพระนามถวายเพื่อจารึกลงในพระสุพรรณบัฏวา “พระบาทสมเด็จพระบรม

ราชาธิราชรามาธิบดี ศรีสินทรบรมมหาจักรพรรดิราชาธิบดินทรธร นินทราธิราช รัตนากาศภาสกรวงศองค

ปรมาธิเบศร ตรีภูวเนตรวรนาถนายกดิลก รัตนราชชาติ อาชาวศรัย สมุทัยดโรมนตสกลจักรวาฬาธิเบนทร

สุริเยนทราธิบดีดินทร หริหรินทรธาดาธิบดี ศรีสุวิบุลยคุณอขนิษฐฤทธิราเมศวรมหันต บรมธรรมมิ

ราชาธิราชเดโชไชย พรหมเทพาดิเทพนฤบดินทร ภูมินทรปรมาธิเบศร โลกเชษฐวิสุทธิ์ รัตนมงกุฏประเทศ

คตมหาพุทธางกูร บรมบพิตร พระพุทธิเจาอยูหัว” พระนามนี้สะทอนถึงการรับมรดกทางความคิดเก่ียวกับ

พระมหากษัตริยที่เกิดจากการผสมผสานระหวางคติทางพระพุทธศาสนาและศาสนาฮินดูจากสมัยอยุธยา

และธนบุรี แตในการสถาปนาอุดมการณของรัฐน้ันราชสํานักไดเลือกสรรความคิดทางพระพุทธศาสนา

ความเขาใจเก่ียวกับคติจักรพรรดิและธรรมิกราชาธิราชของพุทธศาสนาในทรรศนะของชนชั้นนําในรัชกาล

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก จึงเปนพื้นฐานใหเขาใจถึงอุดมการณของรัฐท่ีราชสํานักสถาปนาขึ้น

จากอุดมการณท่ีสรางขึ้นทําใหบทบาทของกษัตริยที่มีตอพระพุทธศาสนาเปนเพียงแตองคเอกอัคร

ศาสนูปถัมภก มากกวาที่จะเปนธรรมราชาตามแบบสมัยสุโขทัยเดิม กลาวคือ กษัตริยจะถือหนาที่ของ

พระองคก็คือการบํารุงพระพุทธศาสนาโดยการสรางและปฏิสังขรณวัด ตลอดจนการอุทิศที่ดินไรนาใหแก

คณะสงฆเพื่อเก็บผลประโยชนบํารุงรักษาวัด รวมทั้งยกผูคนชายหญิงที่เรียกวา “ขาพระ” หรือเลกวัดไว

ปรนนิบัติพระสงฆ โดยมอบใหพระสงฆทําหนาที่อบรมสั่งสอนใหราษฎรอยูในศีลธรรมอีกตอหนึ่ง (สมบัติ

จันทรวงศ, 2547, หนา 87)

การอุทิศท่ี ดินกัลปนาถวายพระก็ปรากฏในเรื่องราชาธิราชแสดงให เห็นวาในสมัยของ

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกก็ทรงปฏิบัติเชนเดียวกัน จะเห็นไดจากคําอธิษฐานของพระมหา

ปฎกธรท่ีวา

สวยสาอากรครั้งน้ีเราอุทิศถวายไวเปนของกัลปนาสําหรับพระอารามแตวันนี้ไป

จนสิ้นศักราชหาพันพรรษา อยาใหผูใดทําอันตรายเลย แลวทรงประกาศแชงไววากษัตริย

พระองคใดซึ่งจะไดครองราชยสมบัติเปนพระเจาแผนดินสืบไปภายหนา อยาใหเอาสวย

อากรซึ่งเราอุทิศไวสําหรับพระอารามและพระสงฆทั้งปวงน้ีกลับมาเขาทองพระคลังอีกเลย

เปนอันขาด ถาพระเจาแผนดินองคใดมิฟง ขืนใหเอาทรัพยทั้งน้ีมาเขาทองพระคลังหลวง

อีก ก็ขอใหพระเจาแผนดินองคนั้นสิ้นชีวิตแลวไปสูเปรตวิสัย และทนทุกขเวทนาในอวิจี

มหานรกนับดวยมหากัปเปนอันมากเถิด (ราชาธิราช, 2544, หนา 457)

ภารกิจของจักรพรรดิและธรรมิกราชาธิราชคลายคลึงกันคือการสงเคราะหคนกลุมตาง ๆ ในรัฐดวย

การพระราชทานเครื่องอุปโภคบริโภคใหตามสมควรแกฐานะและความจําเปนของแตละคนพรอมท้ังสั่งสอน

ดูแลใหประพฤติธรรม ซึ่งคติจักรพรรดิราชน้ันเนนถึงการที่จักรพรรดิเปนใหญเหนือกวากษัตริยอ่ืนๆ และ

กําหนดหลักที่จักรพรรดิจะมีความสัมพันธกับกษัตริยท่ีปกครองเมืองขึ้นเมืองออกไวอยางชัดเจน ในขณะที่

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 134

คติธรรมิกราชาธิราชเนนถึงหนาที่ของธรรมิกราชาธิราชในฐานะท่ีเปนประธานในการจรรโลงธรรมสอดคลอง

กับการที่ปรากฏสรอยพระนามวาจักรพรรดิในกฎหมายเพียงฉบับเดียวซึ่งพระนามในกฎหมายน้ีก็ยังปรากฏ

ธรรมิกราชาธิราชเจืออยูดวย กลาวคือ ในพระไอยการเบ็ดเสร็จ พ.ศ. ๒๓๒๗ ปรากฏพระนามวา “สมเด็จ

พระรามาธิบดีศรีสิทธิวิสุทธิบุรุโสดมบรมจักรพรรดิธรรมมิกราชเดโชไชยยาเทพาดิเทพตรีภูวนาธิเบศบรม

บพิตรพระพุทธิเจาอยูหัว” (พระไอยการเบ็ดเสร็จ, 2521, หนา 414) กฎหมายสวนใหญที่ตราขึ้นในสมัย

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก ออกพระนามวา “สมเด็จพระบรมนาถบพิตรพระพุทธเจาอยูหัว

ผูทรงทศพิธราชธรรม” และมีหลายฉบับท่ีออกพระนามวา “สมเด็จพระบรมนาถบิตรพระพุทธิเจาอยูหัว

บรมธรรมิกะมหาราชาธิราชเจา” ในที่อ่ืน ๆ ก็ออกพระนามวาสมเด็จพระบรมธรรมิกราชาธิราชเสมอ (สายชล

สัตยานุรักษ, 2546, หนา 225)

2. การสอดแทรกเหตุการณบานเมืองท่ีเกิดขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟา

จุฬาโลก

ขนบในการแตงวรรณคดีที่สําคัญอีกประการหนึ่งคือผูแตงจะมีการสอดแทรกเหตุการณที่เกิดขึ้นใน

ยุคสมัยท่ีตนเองรวมสมัยหรือสมัยที่กําลังประพันธ เจาพระยาพระคลัง (หน) ผูอํานวยการแปลเรื่อง

ราชาธิราชก็เปนคนที่รวมสมัยกับกรุงศรีอยุธยาตอนปลายไดเห็นภาพการเสียกรุง การสถาปนากรุงธนบุรี

จนกระท่ังการสรางกรุงรัตนโกสินทรในสมัยของพระบาทสมเด็จพระพุทธ ยอดฟาจุฬาโลก เมื่อไดรับ พระ

กรุณาโปรดเกลาใหเปนผูอํานวยการแปลเรื่องราชาธิราชนี้เปนไปไดที่เจาพระยาพระคลังจะสอดแทรก

เรื่องราวเหตุการณตาง ๆ ที่เกิดขึ้นจริงในชวงสมัยนั้นโดยเฉพาะตอนสุดทายของเรื่องคือสมัยของพระมหา

ปฎกธร ซึ่งอาจมีนัยทางการเมืองบางประการสอดแทรกอยูก็เปนได

2.1 การสรางปราสาทราชมณเฑียร

ในราชาธิราชปรากฏเหตุการณพระเจาธรรมเจดียสรางปราสาทราชมณเฑียรดังน้ี

ครั้นอยูมาพระเจาศรีศากยวงศธรรมเจดีย จึงสั่งหาวิสุกรรมกระทํา พระราช

มณเฑียร โดยยาวสิบแปดศอก โดยกวางสิบหกศอก ระเบียงขางหนึ่งสิบสามศอก หนามุข

สิบหาศอกกวางไดรอยศอก ทองพระโรงยาวเกาสิบสามศอก กวางสี่สิบศอก ศาลาลูกขุน

ยาวเกาสิบเกาศอกกวางไดสิบเอ็ดศอก (ราชาธิราช, 2544, หนา 456)

สอดคลองกับเหตุการณในแผนดินพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช คือ

ในปเถาะเบญจศกนั้น โปรดใหลงมือกอกําแพงและสรางปอมสรางประตูรอบ

พระราชวัง และลงมือสรางพระมหาปราสาทราชมณเฑียรสถานภายในพระราชวังดวย

(เจาพระยาทิพากรวงศ, 2503, หนา 76)

2.2 การบูรณะวัดวาอารามและพระพุทธรูป

ในเรื่องราชาธิราช พระเจาธรรมเจดียมีพระราชประสงคที่จะบูรณะวัดวาอารามและพระพุทธรูปตาง ๆ

เปนจํานวนมาก

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

135

จึงตรัสสั่งใหสถาปนาพระเจดียสถานท้ังสิบหกแหงปหน่ึงก็สําเร็จแลวใหสราง

พระมหาปราสาทองคหนึ่ง ครั้นเสร็จแลวจึงหลอรูปพระพุทธเจาสี่พระองค คือ พระกุกกุสันโธ

พระโกนาคมน พระพุทธกัสสป พระสมณโคดม โดยกําหนดขนาดพระกายสูงใหญพอควร

แกพระราชศรัทธาครั้นเสร็จแลวก็ใหอัญเชิญพระพุทธรูปท้ังสี่พระองคขึ้นไวบนปรางค

ปราสาททั้งสี่ทิศ แลวใหสรางพระมหาวิหารทั้งสิบหกแหงสําเร็จแลว ก็ทรงพระราชอุทิศ

สวยสาอากรไวสําหรับพระวิหาร ที่พระพุทธรูปไสยาสนน้ันก็ใหเขียนพระพุทธบทวลัญชร

สรางไวในพระอารามแลว จึงใหนิมนตพระสงฆอันทรงพระไตรปฎกครองอยูทุกพระอาราม

(ราชาธิราช, 2544, หนา 416)

ในพระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทรฉบับเจาพระยาทิพากรวงศมีการกลาวไววาสมเด็จพระพุทธ

ยอดฟาจุฬาโลกเสด็จทอดพระเนตรวัดโพธารามในป พ.ศ. 2331 ทรงเห็นวาเกาชํารุดทรุดโทรมเปนอันมาก

ทรงพระราชศรัทธาที่จะทรงปฏิสังขรณใหสมบูรณย่ิงกวาวัดเกา ดังปรากฏเนื้อความในจารึกเมื่อครั้งทรง

ปฏิสังขรณในพระวิหารทิศตะวันออกดานหลังวัดพระเชตุพน ความวา

สมเด็จพระบรมธรรมฤกมหาราชาธิราช....ทรงพระราชศรัทธาบําเพ็ญพระราช

กุศลทั้งน้ี ใชพระทัยจะปรารถนาสมบัติบรมจักรจุลจักรทาวพญาสามลราช....หามิได

(เจาพระยาทิพากรวงศ, 2503, หนา 266)

การที่ทรงไดรับเลือกจากเหลาขุนนางใหเสด็จขึ้นครองราชยเหนือราชอาณาจักรนั้นถือวาเปนการ

เสด็จข้ึนครองราชยโดยชอบธรรม ราชสํานักในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกถือวา

พระมหากษัตริยแหงกรุงรัตนโกสินทรทรงเปนธรรมิกราชาธิราชมิใชจักรพรรดิราช ซึ่งเนนหนาท่ีของ

พระมหากษัตริยในทางธรรม ทําใหพระองคทรงมีฐานะเปนผูนําสูงสุดฝายพุทธจักร นอกเหนือจากการเปน

ผูนําฝายราชอาณาจักรท่ีทรงเปนอยู ดังน้ัน ธรรมิกราชาธิราชในฐานะผูนําฝายพุทธจักรจึงทรงรักษา

พระพุทธศาสนาโดยทํานุบํารุงพระพุทธรูป พระบรมธาตุ พระธรรม พระสงฆ เพื่อใหราชอาณาจักรเปนรัฐใน

อุดมคติ (วัชรี วัชรสินธุ, 2548, หนา 33)

เรื่องการสรางรัฐใหเปนรัฐแหงอุดมคติจะเห็นไดจากการที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก

ทรงสรางและปฏิสังขรณวัดโดยวัดสําคัญในเขตพระนครที่ทรงสรางคือ วัดพระศรีรัตนศาสดารามใน

พระบรมหาราชวังไวสําหรับเปนที่ประชุมขาทูลละอองธุลีพระบาทและการพระราชพิธีตาง ๆ เชน ถือ

น้ําพระพิพัฒนสัตยา ในพระอุโบสถประดิษฐานพระแกวมรกต วัดใหญอีกวัดหนึ่งใจกลางพระนคร คือ

วัดมหาสุทธาวาสแตทรงเริ่มกอสรางในปลายรัชกาล จึงเพียงแตกอพื้นพระวิหารและฐานต้ังพระศรีศากยมุนี

ที่อัญเชิญมาแตพระวิหารหลวงวัดมหาธาตุเมืองสุโขทัย สําหรับวัดที่ทรงปฏิสังขรณอยางมากมายจนแทบ

เรียกไดวาเปนการสรางใหมคือ วัดพระเชตุพนวิมล มังคลาวาส ใชเวลาในการปฏิสังขรณนานกวาสิบป

นอกจากนี้วัดสระแกท่ีเคยเสด็จประทับสรงมุรธาภิเษกก็ทรงปฏิสังขรณแลวพระราชทานนามใหมวาวัดสระเกศ

(เจาพระยาทิพากรวงศ, 2503, หนา 75)

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 136

นอกจากนี้ทรงชักนําเจานายขาราชการ พอคา ประชาชน ใหใฝใจในพระศาสนาดวยการออก

พระราชกําหนดกฎหมายบังคับใหผูคนถือศีลภาวนาอยูเปนนิจ ดังความตอนหนึ่งในพระราชกําหนดวา

แตนี้สืบไปเมื่อนา ใหขาทูลละอองทั้งปวงผูใหญผูนอยฝายทหาร พลเรือนขางนา

ขางใน ผูรักษาเมือง ผูรั้งกรมการ อนาประชาราษฎร ประติบัติตามใหต้ังอยูในทศกุศล

กรรมบถวินัยทั้งสิบประการคือ กายกรรม ๓ วจีกรรม ๔ มโนกรรม๓ ...ครั้นถึงวาร ๘ คํ่า

๑๔ ๑๕ คํ่า ใหรักษาอุโบสถ ศีลแปด ศีลสิบประการ เปนอดิเรกศีล ชวนทําบุญใหทาน

สดับฟงธรรมเทศนาจําเริญธรรมภาวนา...ถาผูใดเมินเสียไมไดประติบัติตามพระราชโอวาท

กําหนดกฎหมายนี้จะเอาตัวเปนโทษตามโทษานุโทษ (พระราชกําหนดใหม มาตรา 33,

2521, หนา 751 - 752)

2.3 สภาพการคาขายกับจีน

ในเรื่องราชาธิราชมีการกลาวถึงการติดตอเจริญสัมพันธไมตรีกับจีนโดยพระมหาปฎกธรทรงชักชวน

ใหเหลาราชทูตของจีนไดมาต้ังถ่ินพํานักในหงสาวดีเพื่อชวยเหลือในการเดินเรือสําเภาและการเดินทางไป

ถวายเครื่องราชบรรณาการแดพระเจากรุงจีน

แลวตรัสแกราชทูตอุปทูตวา ซึ่งทานจะสวามิภักด์ิอยูดวยเรา ตามพระเจากรุงจีน

ตรัสสั่งนั้นก็ชอบแลว แตทานจงพากันนําพระราชสาสนของเรากลับไปถวายพระเจาอยูหัว

ของทานอีกครั้งหนึ่ง เปนทางเจริญพระราชไมตรี เราจะใหทูตของเรากํากับไปดวยเพราะ

ทานทั้งปวงชํานาญในมรรคาและรูขนบธรรมเนียมที่จะเขาเฝาเพ็ดทูลพระเจากรุงจีนให

ตองแบบอยางแลวจึงพาบุตรภรรยาของทานมาอยูดวยเรา (ราชาธิราช, 2544, หนา 432)

เหตุการณในเรื่องราชาธิราชน้ันสอดรับกับสภาพการณในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬา

โลกที่ทรงสงคณะราชทูตไปจีนในปแรกที่เสด็จขึ้นครองราชย ทรงไดรับประโยชนอยางมากจากการที่ราช

สํานักจีนรับรองสมเด็จพระเจากรุงธนบุรี เพราะตามท่ีปรากฏในพระราชโองการแตงต้ังพระองคใหเปน

ผูปกครองสยามน้ันจีนเขาใจผิดวาทรงเปนพระราชโอรสของสมเด็จพระเจากรุงธนบุรีและครองราชยสมบัติ

สืบเจตจํานงของพระราชบิดาทําใหสามารถถวายเครื่องราชบรรณาการและทําการคาระบบบรรณาการสืบ

ตอมา (สายชล สัตยานุรักษ, 2546, หนา 91)

ความสําคัญของการคากับจีนทําใหพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกโปรดใหชาวจีน

จํานวนมากรับราชการในกรมพระคลังทรงต้ังจีนกุลหรือพระราชประสิทธิ์หลานพอคาใหญชาวจีนเปน

พระยาศรีพิพัฒนเจากรมพระคลังสินคา ซึ่งเมื่อเจาพระยาพระคลัง(หน)ถึงแกกรรม พระยาศรีพิพัฒนผูนี้ก็

ไดดํารงตําแหนงเปนเจาพระยาพระคลังแทน (ม.ร.ว.อคิน รพีพัฒน, 2518, หนา 417 - 418)

การคาตางประเทศของกษัตริย เจานาย และขุนนางยังคงผูกพันกับกิจกรรมทางเศรษฐกิจของคน

จีนอยางใกลชิดเชนเดียวกับสมัยปลายอยุธยาและธนบุรี ท้ังในดานท่ีอาศัยความชํานาญทางการคาและการ

เดินเรือของชาวจีน อาศัยสินคาท่ีคนจีนผลิตขึ้น อาศัยเรือสําเภาที่ตอขึ้นโดยชางฝมือชาวจีน อาศัย ชาวจีน

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

137

ในการรวบรวมสินคาออกและกระจายสินคาเขาตลอดจนเปนหุนสวนทางการคาซึ่งกันและกันทําให

เศรษฐกิจในสมัยน้ันคอยฟนตัวขึ้น

2.4 กิจกรรมหลังออกพรรษา

ในราชาธิราชมีการกลาวถึงเหตุการณแขงเรือท่ีพระมหาปฎกธรไดจัดใหมีขึ้นในชวงท่ีขึ้นครองราชย

ใหม ๆ และเกิดอุบัติเหตุมีคนตายขึ้น

ครั้นออกพรรษาแลว พระเจากรุงหงสาวดีจึงจัดเรือแขงขัน ครั้นเรือมาพรอมถึง

สนามแลวก็ทรงจัดเรือใหเสนาบดีแขงกันเปนคู ๆ ครั้นแขงแพกันแลวก็กลับมา เรือ

สมิงเพิดกํากองชนเรือสมิงเพิดคะราชลมลง สมิงเพิดคะราชจมนํ้าตาย ณ ตําบลบางนาค

..........

ฝายภรรยาสมิงเพิดคะราช ครั้นรูวาสามีเรือลมถึงแกกรรมตายแลวก็เสียใจรองไห

เขามากราบทูลพระเจาหงสาวดีวา เรือสมิงเพิดกํากองโดนเรือสมิงเพิดคะราชสวามี

ขาพเจาลมลง จนสวามีขาพเจาถึงแกอสัญกรรม ขอไดทรงพระกรุณาตรัสพินิจฉัยให

ขาพเจาดวย พระเจาหงสาวดีไดทรงฟงดังน้ันแลวก็ตรัสวา การตีคลีหนึ่ง ชกมวย

ตะลุมบอนหน่ึง แขงเรือหนึ่ง การเลนสามประการนี้แมตายเสียก็หาเปนโทษมิได ซึ่งสวามี

ทานเรือลมถึงกาลกริยาน้ันก็เปนกรรมของสวามีทานสิ้นอายุ เปนอาการมรณาแลว ทาน

อยาเสียใจเศราโศกเลย จะกระทําบุญกุศลแผสวนบุญไปใหเถิด(ราชาธิราช 2544:417 -

418)

ในสมัยของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกก็โปรดใหจัดการแขงเรือขึ้นในชวงหลังออก

พรรษาระหวางขาราชการวังหลวงกับขาราชการวังหนาในพระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทรฉบับ

เจาพระยาทิพากรวงศเลาไววา

เมื่อ ณ เดือน ๑๑ เรือวังหลวงชื่อตองปลิว เรือวังหนาชื่อมังกร จะแขงกัน เปรียบ

ฝพายแลวสมเด็จพระอนุชาธิราชกรมพระราชวังบวรสถานมงคล จัดฝพายสํารับอ่ืนท่ี

แข็งแรงซอนไว เมื่อเวลาแขงจะเอาคนสํารับใหมลง ขาราชการฝายวังหลวงแจงดังนั้น

จึงนําความขึ้นกราบทูล พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงทราบแลว ดํารัสวาเลนดังน้ีจะ

เลนดวยที่ไหนได ใหเลิกการแขงเรือต้ังแตน้ันมากรมพระราชวังบวรสถานมงคลก็หมาง

พระทัยไมไดลงมาเฝา (เจาพระยาทิพากรวงศ, 2503, หนา 255 )

เหตุการณท่ีเกิดขึ้นจริงในสมัยของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกน้ันแมวาจะมีความ

แตกตางจากเหตุการณในเรื่องราชาธิราชที่มีคนตายแตก็อาจตีความไดวาการท่ีสมิงเพิดคะราชตายแลวผู

เปนเมียเขามารองทุกขกลาวโทษกับพระมหาปฎกธรน้ันก็เปนการเสริมลักษณะความเปนวีรบุรุษใหกับ

พระมหาปฎกธรขึ้นไปอีกเพราะการตัดสินคดีก็อางในเรื่องของกฎแหงกรรมที่ทุกคนใหการยอมรับและชื่นชม

ในการใหเหตุผลของพระมหาปฎกธรท่ีผูอํานวยการแปลตองการที่จะสนับสนุนฝายวังหลวงวามีความชอบ

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 138

ธรรมกวาในการแขงเรือในครั้งนั้น ผลที่ตามมาคือเกิดความบาดหมางกันระหวางผูนําของวังหนากับ

วังหลวงถึงขั้นที่ยกปนใหญขึ้นบนปอมเพื่อทําลายซึ่งกันและกันสุดทายเมื่อฝายหนึ่งสิ้นพระชนมไปก็ถึง

ขนาดที่จะไมจัดงานศพใหกัน

2.5 การขุดคลองในพระนคร

หลังจากที่แขงเรือแลวเกิดอุบัติเหตุขึ้นเมื่อวินิจฉัยดูแลวพบวาเปนเพราะแมน้ําในชวงตําบลบางนาคนั้น

แคบพระเจาหงสาวดีจึงสั่งใหรีบดําเนินการขุดขยายแมน้ําออกไปใหกวางขึ้น

ฝายพระยาลาวไดยินพระเจาหงสาวดีตรัสพินิจฉัยความดังนั้นก็กราบทูลวาเหตุ

เพราะแมน้ําแคบ เรือแขงกันน้ันตางคนตางหมายจะเอาชัยชนะ จึงเรือสมิงเพิดกํากองโดน

เรือสมิงเพิดคะราชลมลง สมิงเพิดคะราชถึงอนิจกรรม พระเจาหงสาวดีไดฟงดังนั้นก็ตรัส

สั่งวิสุกรรมวา ใหรังวัดแตตําบลบางนาคไป จนถึงเบิงอะละภักนั้นจะไดก่ีรอยเสน วิสุกรรม

รับรับสั่งแลวก็คุมคนออกไปรังวัดท้ังสองตําบล.....จึงตรัสสั่งพระยาอินทรหนึ่ง พระยาราม

หน่ึง พระยาลาวหน่ึง สมิงพระรามหนึ่ง เพิกละครศรีหนึ่ง มนูราชสังฑหนึ่ง มนูกําเนิดหนึ่ง

ขุนนางเจ็ดนายน้ีใหคุมคนไปขุดคลองที่รังวัดไวแลวใหกวางไดสิบเสน (ราชาธิราช, 2544,

หนา 418)

ในสมัยของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาก็โปรดใหมีการขุดคลองขึ้นหลายครั้งนับต้ังแตเริ่มสราง

พระนครดังปรากฏในพระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทรฉบับเจาพระยาทิพากรวงศวา

เกณฑเขมร ๑๐,๐๐๐ เขามาขุดคลองคูพระนครดานตะวันออก ต้ังแตบางลําพู

ตลอดมาออกแมนํ้าดานใตเหนือวัดสามปลื้ม ยาว ๘๕ เสน ๑๓ วา กวาง ๑๐ วา ลึก

๕ ศอก พระราชทานชื่อวา คลองรอบกรุง ดานแมนํ้าต้ังแตปากคลองรอบกรุงขางใตไปจน

ปากคลองขางเหนือ ยาว ๙๑ เสน ๑๖ วา รวมทางน้ํารอบพระนคร ๑๗๗ เสน ๙ วา แลว

ขุดคลองหลอดจากคลองคูเมืองเดิม ๒ คลอง ออกบรรจบคลองรอบกรุงที่ขุดใหม และ

ขุดคลองใหญเหนือวัดสะแก อีกคลองหน่ึงพระราชทานนามวา คลองมหานาค เปนที่

สําหรับประชาชนชาวพระนครจะไดลงเรือไปประชุมเลนเพลงและสักวาในเทศกาลฤดูน้ํา

เหมือนอยางครั้งกรุงศรีอยุธยาเกา(เจาพระยาทิพากรวงศ, 2503, หนา 74 -75)

บทสรุป

เรื่องราชาธิราชคือพงศาวดารมอญที่วาดวยเรื่องการทําศึกสงครามของพระเจาราชาธิราชกับ

พระเจาฝร่ังมังฆองแหงเมืองหงสาวดีและเมืองอังวะ เปนวรรณคดีเรื่องสําคัญที่พระบาทสมเด็จพระพุทธ

ยอดฟาจุฬาโลกทรงพระกรุณาโปรดเกลาใหกวีชั้นผูใหญในสมัยน้ัน คือ เจาพระยาพระคลัง (หน) เปน

ผูอํานวยการในการแปลพงศาวดารเรื่องนี้ขึ้นโดยมีจุดมุงหมายเพื่อเปนวรรณกรรมประดับเมืองและบํารุง

สติปญญาของขาราชบริพารรวมท้ังอาณาประชาราษฎร ซึ่งก็ไดรับการยอมรับในสังคมไทยเปนอยางดี

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

139

เพราะเน้ือเรื่องอานสนุก สอดแทรกกลศึกอันแยบคายรวมทั้งการทูตที่มีการชิงไหวชิงพริบที่มีชั้นเชิงชวนให

ติดตาม

เนื้อหาในตอนสุดทายของเรื่องราชาธิราชเปนเรื่องในยุคของพระมหาปฎกธรที่เปนเพียงสามัญชน

ธรรมดาแตมีความฉลาดความสามารถและไดขึ้นเปนพระเจาแผนดินซึ่งเปนกษัตริยที่มีตัวตนจริงใน

ประวัติศาสตรของพมา แตสิ่งที่นาสนใจในตอนนี้คือภาพของพระมหาปฎกธรหรือพระเจาหงสาวดีท่ี

เจาพระยาพระคลัง(หน) สรางขึ้นมานั้นเมื่อพิจารณาอยางถ่ีถวนโดยปราศจากอคติอันใดแลวมีหลายสิ่ง

หลายประการท่ีมีความคลายคลึงกับพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกไมวาจะเปนเรื่องชาติกําเนิด

รวมท้ังการอางสิทธิความชอบธรรมในการขึ้นครองราชยโดยใชเหตุผลทางพระพุทธศาสนาที่สามารถสยบ

ความเคลื่อนไหวตาง ๆ อันจะสั่นคลอนความมั่นคงของราชบัลลังก ซึ่งเจาพระยาพระคลัง(หน) เปนนักรบ

กวี และอํามาตยผูใหญผูมีความใกลชิดเบ้ืองยุคลบาท และเมื่อไดรับมอบหมายหนาที่อันสําคัญย่ิงในการ

แปลเรื่องราชาธิราชใหเปนวรรณกรรมคูเมือง เจาพระยาพระคลัง (หน) ยอมมีความละเอียดถ่ีถวนในการท่ี

จะสรางสรรคตัวละคร การสอดแทรกแนวคิดตางๆ ที่สะทอนสภาพความเปนไปของบานเมืองรวมท้ัง

ความคิดอานของบุคคลในสังคมยุคน้ัน เปนเครื่องมือในการสรางความมั่นคง การยอมรับตอพระเจา

แผนดิน อันเปนเหตุผลสําคัญที่แฝงอยูในงานแปลชิ้นนี้

บรรณานุกรม

กฎหมายตราสามดวง. (2521). กรุงเทพฯ:หจก.อุดมศึกษา(แผนการพิมพ).

กรมศิลปากร. (2507). ประชุมเพลงยาวฉบับหอสมุดแหงชาต.ิ พระนคร: คลังวิทยา.

__________ . (2544). ราชาธิราช ของเจาพระยาพระคลัง (หน). กรุงเทพฯ: ศิลปาบรรณาคาร.

__________ . (2515). วรรณคดีเจาพระยาพระคลัง (หน). กรุงเทพฯ: แพรวิทยา.

ดํารงราชานุภาพ,สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยา. (2475). พงศาวดารเร่ืองไทยรบพมา.

พระนคร: โรงพิมพโสภณพิพรรฒธนากร.

ทิพากรวงศ,เจาพระยา. (2503). พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร รัชกาลท่ี 1. กรุงเทพฯ: องคการ

คาคุรุสภา.

นิยะดา เหลาสุนทร. (2534). การฟนฟูอักษรศาสตรในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬา

โลกมหาราช. กรุงเทพฯ: โรงพิมพเลี่ยงเชียง.

บุญเตือน ศรีวรพจน. (2545). อภินิหารบรรพบุรุษและปฐมวงศ. กรุงเทพฯ: พิฆเณศ พริ้นทต้ิง เซ็นเตอร.

บํารุง สุวรรณรัตน. (2530). วิเคราะหการใชวรรณกรรมเพ่ือสงเสริมความมั่นคงภายในประเทศในรัช

สมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก. ปริญญานิพนธปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 140

ปรามินทร เครือทอง. (2547, เมษายน). โหรพระเจาตาก “กบฏ” ลอบทายดวงกษัตริยรัชกาลที่ 1.

ศิลปวัฒนธรรม, หนา 6.

วัชรี วัชรสินธุ. (2548). วัดพระเชตุพน มัชฌิมประเทศอันวิเศษในชมพูทวีป. กรุงเทพฯ: มติชน.

วิรัช นิยมธรรม. (2552). ราชาธิราชยุทธนาฉบับพมา ตอนสมิงพระรามอาสากับตรรกะผนวกรวม

มอญในพมา. คนเมื่อสิงหาคม 14, 2552, http:// www.myanmar.nu.ac.th

สมบัติ จันทวงศ. (2547). ความหมายทางการเมืองของสามกกฉบับเจาพระยาพระคลัง(หน).

กรุงเทพฯ: โครงการจัดพิมพคบไฟ.

______________. (2547). ศาสนากับการเมือง:ขอสังเกตเบื้องตนวาดวยอุดมการณและวิเทโศบาย

ของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก. กรุงเทพฯ: โครงการจัดพิมพคบไฟ.

สายชล สัตยานุรักษ. (2546). พุทธศาสนากับแนวคิดทางการเมืองในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ

พระพุทธยอดฟาจุฬาโลก(พ.ศ.2325 - 2352). กรุงเทพฯ: พิฆเณศ พริ้นทต้ิง เซ็นเตอร.

อคิน รพีพัฒน, ม.ร.ว. (2518). สังคมไทยในสมัยตนรัตนโกสินทรพ.ศ.2325 – 2416. กรุงเทพฯ:

โรงพิมพพิฆเณศ.

อาวุธ เงินชูกลิ่น. (2544). ราชาธิราชฉบับเจาพระยาพระคลัง (หน). กรุงเทพฯ: ศิลปาบรรณาคาร.

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

141

วิเคราะหแนวคิดเกี่ยวกับประชาธิปไตยในสังคมไทยตามทัศนะของ

พระพรหมคุณาภรณ (ป.อ. ปยุตโต)

วรากรณ พูลสวัสด์ิ1

บทคัดยอ

บทความน้ีเปนการศึกษาวิเคราะหแนวคิดเรื่องประชาธิปไตยที่มีธรรมาธิปไตยเปนรากฐานตาม

แนวคิดของพระพรหมคุณาภรณ (ป.อ. ปยุตโต) โดยศึกษาประเด็นสําคัญคือ ปญหาของประชาธิปไตยใน

สังคมไทย ประชาธิปไตยที่มีธรรมาธิปไตยเปนรากฐาน หลักการท่ีแทจริงของประชาธิปไตย รูปแบบของการ

ปกครอง วิถีประชาธิปไตยและผลสัมฤทธิ์ของประชาธิปไตย จากการศึกษาพบวาพระพรหมคุณาภรณเห็น

วาประชาธิปไตยในปจจุบันยังมีความคลาดเคลื่อนจากหลักการท่ีแทจริงเพราะถูกครอบงําโดยระบบทุน

นิยมทําใหความหมายของประชาธิปไตยคลาดเคลื่อนไปจากอุดมคติที่แทจริงคือ การปกครองของประชาชน

โดยประชาชน เพื่อประชาชน ดังนั้นประชาธิปไตยจะบรรลุอุดมคติไดจะตองมีธรรมาธิปไตยเปนรากฐาน

โดยท่ีผลประโยชนของปจเจกบุคคลเกิดขึ้นภายหลังผลประโยชนของสังคม ซึ่งสมาชิกในสังคมทุกคนได

รวมกันสรางสรรคประโยชนใหแกสังคมและ ผลประโยชนจากสังคมนั้นสะทอนกลับเปนผลประโยชนของแต

ละบุคคล ซึ่งตางจากประชาธิปไตยแบบทุนนิยมที่ผลประโยชนของปจเจกบุคคลเกิดกอนผลประโยชนของ

สังคม หรือแตละบุคคลมุงปกปองผลประโยชนของตนกอนที่จะคํานึงถึงผลประโยชนของสังคม เพื่อจะทํา

ใหเกิดความรูความเขาใจที่แทจริงและเกิดความเห็นที่ตรงกันอันจะนําไปสูการอยูรวมกันอยางสันติสุขใน

สังคมตอไป

Abstract

The purpose of the study is to analyze the democratic ideas.and Dhammadhipateyya

democracy perceived by Phra Brahmagunabhorn (P.A. Payutto). in the following issues :

1. Current Problems of democracy

2. Dhammadhipateyya –based democracy

3. the true principles of democracy.

4. forms of government.

5. democratic ways.

6. achievement of democracy. _______________

1อาจารยโปรแกรมวิชาสังคมศึกษา(ปรัชญาและศาสนา) คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏ

นครปฐม

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 142

It is found that , according to Phra Brahmagunabhorn, due to capitalism Thai democracy

has been misled from the true democracy of the people,by the people and for the people to

achieve real democratic ideals, democracy should be followed Dhammadhipateyya basis.

Public interest must come first. All members of society cooperate for public benefits, which later

are individual interests.

บทนํา

ทามกลางกระแสความขัดแยงทางความคิดในสังคมไทยตลอดระยะเวลา 4-5 ปที่ผานมา แนวคิด

เรื่องสังคมที่เปนธรรม ความเสมอภาค ความแตกตางทางชนชั้น แนวคิดเรื่องสังคมที่ดี ระบอบการปกครองที่ดี

และมีการเรียกรองประชาธิปไตยที่สมบูรณ โดยท่ีแตละฝายก็มีความคิดความเห็นที่แตกตางกันตามฐาน

ความคิดของตน ความคิดเห็นที่แตกตางกันนํามาซึ่งความขัดแยง แตกแยก แบงฝกแบงฝาย มีความเกลียดชัง

คนไทยกันเองและสรางความรุนแรงอยางไมเคยปรากฏมากอน จึงจําเปนอยางย่ิงที่สังคมไทยจะตอง

กลับมาทบทวนฐานคิดเรื่องการปกครองระบอบประชาธิปไตยเพื่อใหเกิดความรูความเขาใจท่ีแทจริงและ

เกิดความเห็นท่ีตรงกันอันจะนําไปสูการอยูรวมกันอยางสันติสุข พระพรหมคุณาภรณ (ป.อ. ปยุตโต)

ไดแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับการปกครองระบอบประชาธิปไตยไวอยางนาสนใจและควรคาแกการศึกษา

เปนอยางย่ิง ดังนั้น ในบทความน้ีจะศึกษาวิเคราะหแนวคิดเก่ียวกับประชาธิปไตยในสังคมไทยในทัศนะของ

พระพรหมคุณาภรณ (ป.อ. ปยุตโต) บทความนี้เปนสวนหนึ่งของวิทยานิพนธเรื่องการศึกษาวิเคราะห

แนวคิดเรื่องสังคมอุดมคติในทัศนะของพระธรรมปฎก (ป.อ. ปยุตโต)

ตามทัศนะของพระพรหมคุณาภรณ สังคมที่พึงประสงคคือ สังคมที่มีสภาพแวดลอมเอ้ือตอการท่ี

มนุษยจะไดพัฒนาศักยภาพของตนใหเขาถึงความสมบูรณสูงสุดคือ เขาถึงธรรมและสมาชิกทุกคนจะตอง

ยึดถือธรรมเปนใหญเปนอุดมคติในการดําเนินชีวิต พระพรมหคุณาภรณเห็นวาระบอบประชาธิปไตยเปน

ระบอบการปกครองท่ีเอ้ือตอการพัฒนาศักยภาพของมนุษยมากท่ีสุด(พระธรรมปฎก (ป.อ. ปยุตโต),2543,

หนา 13) แตพระพรหมคุณาภรณไมเห็นดวยกับระบบการปกครองเสรีประชาธิปไตยหรือประชาธิปไตยแบบ

ทุนนิยม ทานเห็นวาระบอบประชาธิปไตยท่ีถูกตองคือประชาธิปไตยท่ีมีธรรมาธิปไตยเปนรากฐาน ในท่ีน้ีเรา

จะพิจารณาวา ประชาธิปไตยท่ีมีธรรมาธิปไตยเปนรากฐานตางจากประชาธิปไตยท่ัวไปอยางไร

ความหมายของประชาธิปไตย

คําวา ประชาธิปไตย (Democracy) มาจากรากศัพทภาษากรีก คือ Demos แปลวา

ประชาชน กับ Kratos แปลวา อํานาจ รวมกันจึงเปน อํานาจของประชาชนหรือประชาชนเปนเจาของ

อํานาจ หมายความวา การปกครองโดยประชาชนหรือประชาชนปกครองตนเอง (Edwards

Paul,1972,P.338)มีหลักการพื้นฐานคือ ยอมรับในศักด์ิศรีและคุณคาของความเปนมนุษย มนุษยเปนสัตว

ที่มีเหตุผลและมีความสามารถที่จะปกครองตนเองและปกครองกันเองได และมนุษยมีความสามารถใน

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

143

การสรางสรรคความเจริญใหแกสังคมได (คารล เอล เบคเกอร, 2506, หนา 17) มนุษยทุกคนมีความเสมอ

ภาคและเสรีภาพในการดําเนินชีวิต จุดมุงหมายของประชาธิปไตยคือ ประชาชนปกครองตนเองและ

ปกครองกันเองเพื่อใหเกิดประโยชนแกสวนรวมใหมากท่ีสุด ดังความหมายที่เปนอุดมคติของประชาธิปไตยวา

“การปกครองของประชาชน โดยประชาชน เพื่อประชาชน”

ระบบประชาธิปไตยปจจุบันเรียกวา ระบบเสรีประชาธิปไตย ซึ่งมีรากฐานมาจากแนวคิด

ของนักปรัชญาในศตวรรษที่ 17-19 คือ จอหน ล็อค, สจวต มิลลและฌ็องฌารค รุสโซ เปนแนวคิดที่ให

ความสําคัญกับเสรีภาพของปจเจกบุคคลเปนสิ่งสูงสุดโดยเชื่อวา มนุษยมีสิทธิตามธรรมชาติและเสรีภาพมา

แตกําเนิด ใครจะลวงละเมิดมิได รัฐบาลเกิดขึ้นเพื่อคุมครองเสรีภาพของมนุษยโดยเปดโอกาสใหประชาชน

ปกครองตนเองใหมากท่ีสุด รัฐบาลจะตองจํากัดตัวเองและเก่ียวของกับประชาชนใหนอยที่สุดเพื่อใหมนุษย

เขาถึงจุดหมายคือ ประโยชนรวมกัน แตการปกครองระบอบประชาธิปไตยที่ผานมา ก็ยังไปไมถึงจุดหมาย

หรืออุดมคติที่แทจริง มีผู วิจารณขอบกพรองของระบอบประชาธิปไตยเอาไวมากมายโดยเห็นวา

“ประชาธิปไตยเปนการปกครองโดยเหตุผล แตเหตุผลก็มีบทบาทเพียงเปนเครื่องเสนอสนองความตองการ

อันไมสิ้นสุดของมนุษย” (มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2533, หนา 16) ครอฟอรด แมคเฟอรสัน

ชี้ใหเห็นวา ความคิดพื้นฐานของทฤษฎีเสรีนิยมและประชาธิปไตยท่ีเนนการมุงครอบครองเพื่อประโยชน

สวนตน เปนความผิดพลาดต้ังแตเริ่มตนเปนสาเหตุทําใหสังคมไมสามารถเปนประชาธิปไตยอยางแทจริง

(อางใน ชัช กิจธรรม, 2527, หนา 10)

เบคเกอรเห็นวาประชาธิปไตยแบบอุดมคติจะเปนจริงไดก็เพียงแตในสรวงสวรรคเทานั้น

เขาไดนิยามความหมายประชาธิปไตยในโลกที่เปนจริงวา “เปนการปกครองของประชาชนโดยนักการเมือง

และทําเพื่อจุดประสงคที่จะใหกลุมอิทธิพล (Groups influence) ไดรับผลประโยชน (คารล เอล เบคเกอร,

2506, หนา 5)

จากที่กลาวมาจะเห็นไดวา ระบอบประชาธิปไตยยังมีขอบกพรองที่หางไกลจากอุดมคติ

เพราะมนุษยมุงแตแสวงหาผลประโยชนสวนตน และใชเหตุผลเพื่อใหตนไดประโยชนมากที่สุดโดยไม

คํานึงถึงประโยชนสวนรวม พระพรหมคุณาภรณไดวิพากษประชาธิปไตยที่ถูกครอบงําโดยระบบเศรษฐกิจ

แบบทุนนิยมวา ทําใหความหมายและหลักการของประชาธิปไตยคลาดเคลื่อนไปคือทําใหมีความหมายไป

ในทางท่ีเปนการแกงแยงและแบงแยก (พระธรรมปฎก (ป.อ. ปยุตโต), 2542, หนา 32) เพราะประชาชน

มุงแตประโยชนสวนตนไมไดคํานึงถึงความสุขของสังคมท่ีเปนเชนน้ีเพราะประชาชนขาดธรรมซึ่งหมายถึง

ประชาชนยังปกครองตนเองไมได ความเห็นของพระพรหมคุณาภรณนี้สอดคลองกับความเห็นของเบกเกอร

ที่กลาวถึงจุดออนของประชาธิปไตยวาอยูที่ “ประชาธิปไตยถือวามนุษยมีความสามารถ มีคุณธรรมและ

สภาวะในดานวัตถุและจิตใจของมนุษยในทุกวันนี้อยูในระดับสูงพอที่จะเปดโอกาสใหมนุษยไดใช

ความสามารถและเจตนาดีของตนในการปกครองตนเอง ถาความคาดหมายนี้ไมถูกตองประชาธิปไตยก็เปน

อันลมเหลว” (คารล เอล เบคเกอร, 2506, หนา 8) ความเห็นของบุคคลท้ังสองน้ีสอดคลองกับความเปน

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 144

ความจริงที่วาในสังคมประชาธิปไตยไทยปจจุบัน ประชาชนยังขาดคุณธรรมทางดานจิตใจที่จะปกครอง

ตนเอง ทําใหหลักการของประชาธิปไตยมีปญหาและมีความคลาดเคลื่อนจากอุดมคติเปนอยางมาก ดวย

เหตุดังกลาวพระพรหมคุณาภรณจึงเห็นวา ประชาธิปไตยจะดําเนินไปถึงอุดมคติที่แทจริงไดจะตองมี

ธรรมาธิปไตยเปนรากฐาน

ประชาธิปไตยท่ีมีธรรมาธิปไตยเปนรากฐาน

ความหมายของประชาธิปไตยที่มีธรรมาธิปไตยเปนรากฐานตามทัศนะของพระพรหมคุณาภรณน้ัน

ทานไดใหความหมายโดยวิเคราะหจากความหมายของประชาธิปไตยที่วา ประชาธิปไตยเปนการปกครอง

ของประชาชน โดยประชาชน และเพื่อประชาชน โดยทานขยายความวาเปน “การปกครองแบบท่ีจะทําให

สาระแหงชีวิตของคนทุกคน ปรากฎผลงอกงามออกมาเปนประโยชนแกสวนรวมและใหผลประโยชนแก

สวนรวมทุกอยางนั้นสะทอนกลับไปเปนประโยชนแกชีวิตของทุกๆคน” (พระธรรมปฎก (ป.อ. ปยุตโต),

2540, หนา 32) จากความหมายนี้จะเห็นไดวา ผลประโยชนของปจเจกบุคคลเกิดขึ้นภายหลังผลประโยชน

ของสังคม นั่นคือทุกคนไดรวมกันสรางสรรคประโยชนใหแกสังคม แลวผลประโยชนจากสังคมน้ันสะทอน

กลับไปเปนผลประโยชนของแตละบุคคล ซึ่งตางจากประชาธิปไตยแบบทุนนิยมที่ผลประโยชนของปจเจก

บุคคลเกิดกอนผลประโยชนของสังคม หรือแตละบุคคลมุงปกปองผลประโยชนของตนกอนที่จะคํานึงถึง

ผลประโยชนของสังคม

หลักการที่สําคัญอยางหนึ่งของประชาธิปไตยคือ หลักการปกครองตนเองและปกครองกันเอง

ตามทัศนะของพระพรหมคุณาภรณน้ันหมายถึง การที่ประชาชนแตละคนสามารถปกครองตนเองและ

รับผิดชอบตนเองได เมื่อประชาชนแตละคนปกครองตนเองไดแลวรวมกันปกครองก็จะไดการปกครองที่ดี

นั่นคือ ประชาชนรับผิดชอบชีวิตและสังคมไดเอง ดังน้ันคุณภาพของประชาธิปไตยจึงขึ้นอยูกับคุณภาพของ

ประชาชน ถาประชาชนมีคุณภาพดี คือ ปกครองตนเองได แลวมารวมกันปกครองก็จะเปนการปกครอง

ระบบประชาธิปไตยท่ีดี

การท่ีประชาชนจะปกครองตนเองไดนั้น พระพรหมคุณาภรณเห็นวาประชาชนจะตองถือธรรมเปน

ใหญท่ีเรียกวาธรรมาธิปไตย ธรรมาธิปไตยน้ีเปนคุณสมบัติของประชาชนแตละคน นั่นคือประชาชนแตละ

คนจะตองถือหลักความจริง ความถูกตอง ความดีงาม ความยุติธรรมเปนใหญในการตัดสินวินิจฉัยกระทํา

การตางๆ ดวยปญญาที่บริสุทธิ์ โดยมุงประโยชนรวมกันเปนประมาณ ดังนั้นเมื่อประชาชนท่ีมีธรรมาธิปไตย

มาอยูในระบบการปกครองแบบประชาธิปไตยก็จะเกิดระบบประชาธิปไตยท่ีดีที่สุด พระพรหมคุณาภรณ

เรียกประชาธิปไตยเชนนี้วา ประชาธิปไตยท่ีมีธรรมาธิปไตยเปนรากฐาน(Phra Brahmagunabhorn

(P.A. Payutto), 2010, p. 21) เมื่อพิจารณาแนวความคิดของพระพรหมคุณาภรณ เราจะเห็นวา

ประชาธิปไตยกับธรรมาธิปไตยไมไดแยกจากกันเพราะประชาธิปไตยเปนระบบหรือรูปแบบในการปกครอง

สวนธรรมาธิปไตยน้ันเปนสาระหรือเปนคุณสมบัติของประชาชนที่จะรวมกันปกครองตามรูปแบบ

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

145

ประชาธิปไตย เมื่อระบบประชาธิปไตยมีธรรมาธิปไตยเปนรากฐานในการปกครองแลวก็จะทําใหหลักการ

ของประชาธิปไตยถูกตองและสมบูรณขึ้นดังทานกลาววา “ธรรมาธิปไตยมันสําคัญตรงนี้มันสําคัญท่ีเปน

เกณฑการตัดสินใจในกิจกรรมทุกอยางของประชาธิปไตยเปนตัวกําหนดการใชอํานาจตัดสินใจในการ

ปกครองระบอบประชาธิปไตยจึงมีความสําคัญในขั้นรากฐานท่ีสุดเปนตัวแกนเปนตัวยันเปนตัวสําเร็จ

เด็ดขาด”(พระพรหมคุณาภรณ (ป.อ. ปยุตโต), 2549, หนา 36)

หลักการของประชาธิปไตย

ตามทัศนะของพระพรหมคุณาภรณ การเขาใจหลักการของประชาธิปไตยท่ีคลาดเคลื่อนจากอุดม

คติท่ีแทจริงทําใหสังคมประชาธิปไตยประสพกับปญหาเปนอยางมากและเปนที่มาของปญหาความ

แตกแยกในสังคมไทยปจจุบันดวยดังทานวิเคราะหท่ีมาของปญหาวา “ตามปกติเรามักจะมองปญหาวาเริ่ม

จากเสรีภาพกอนคือ ไลจากขอ 1 ไปขอ 2 แลวไปขอ 3 ตามลําดับวาเมื่อมีเสรีภาพไมเทาเทียมกัน เขาทํา

อยางนั้นได แตทําไมฉันทําบางไมได พวกนั้นทําไดมีไดเอาไดอยางนั้น แตทําไมพวกฉันไมมีไมได เอาไมได

ทําไมไดอยางน้ัน ก็แสดงวาไมไดรับความเสมอภาค เมื่อไมมีความเสมอภาคกัน ก็สามัคคีเอกีภาพกันไมได

ก็เพราะไมไดรับความเสมอภาค ที่ไมเสมอภาคก็เพราะมีเสรีภาพไมเทาเทียมกัน อันนี้ก็เปนปญหาแบบหนึ่ง”

(พระธรรมปฎก(ป.อ. ปยุตโต), 2542, หนา 67) จากขอความน้ีชี้ใหเห็นวาปญหาของสังคมประชาธิปไตย

มาจากการตีความหลักการของประชาธิปไตยในความหมายของการมีเสรีภาพในการแสวงหาผลประโยชน

เสมอภาคในการแกงแยงชวงชิงผลประโยชนคือมองในแงท่ีวาจะตองไดอยางเทาเทียมกันและมองภราดร

ภาพไปในแงของพวกพองของตนอันนํามาซึ่งความแตกแยกเปนกลุมตางๆ นอกจากนั้น พระพรหมคุณาภรณ

ยังวิเคราะหปญหาของสังคมประชาธิปไตยโดยเฉพาะสังคมไทยวา “แตบางทีปญหากลับในทางตรงขาม คือ

เริ่มปญหาจากหลักการขอท่ี 3 (ภราดรภาพหรือสามัคคีเอกีภาพ)กอนแลวจึงลงมา ที่ขอ 2 (ความเสมอภาค)

และขอท่ี 1 (เสรีภาพ) คือ เมื่อประชาชนแตกแยก ไมรักใครสามัคคีกัน มีความรังเกียจเดียดฉันทตอกันเขาก็

จะเพงจองมองกันทันทีวา พวกน้ันได พวกน้ันมีอยางนั้นๆ ทําไมพวกเราทําไมไดเปนไมได ปญหาในขอที่ 2

วาไมไดรับความเสมอภาค และขอที่ 1 วา ขาดเสรีภาพอยางน้ันอยางนี้ คือไดเสรีภาพไมเทากับพวกน้ันพวก

โนนก็ตามมาทันทีแมแตเรื่องที่ไมนาจะเปนปญหา ก็มองใหเปนปญหาขึ้นมาจนได เพราะเมื่อใจไมรักกัน

แลวญาติดีกันไมไดก็คอยเพงมองเห็นแงรายกันอยูเรื่อย...”(พระธรรมปฎก(ป.อ. ปยุตโต), 2542, หนา 67-68)

พระพรหมคุณาภรณเห็นวาปญหาตางๆเกิดจากความเขาใจหลักการของประชาธิปไตยที่

คลาดเคลื่อน ปญหาตางๆจะแกไขไดก็ตอเมื่อมีความเขาใจหลักการของประชาธิปไตยที่มีธรรมาธิปไตยเปน

รากฐานคือ

1. เสรีภาพที่แทจริงตามทัศนะของพระพรหมคุณาภรณน้ันตองมาจากการที่บุคคลปกครองตนเองได

การปกครองตนเองไดสามารถทําใหบุคคลใชเสรีภาพไดอยางถูกตอง คือ “เสรีภาพที่จะอยูในสังคม

ในสิ่งแวดลอมท่ีดีซึ่งตนมีสวนรวมปรับปรุง” เสรีภาพจึงเปนอุปกรณที่จะทําใหบุคคลใชเปนโอกาสใน

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 146

การปรับปรุงแกไขพัฒนาตนใหมีคุณภาพ เพื่อเปนสวนรวมท่ีดีของการปกครองระบบประชาธิปไตย ดังนั้น

เสรีภาพที่เกิดจากประชาธิปไตยท่ีมีธรรมาธิปไตยเปนรากฐานตามทัศนะของพระพรหมคุณาภรณหมายถึง

“ชองทางหรือโอกาสอยางเต็มที่ที่จะเอาสติปญญา ความสามารถของตนออกมาใชในการรวมปกครองให

สังคมน้ันดีงามและสันติสุข” (พระธรรมปฎก(ป.อ. ปยุตโต), 2542, หนา 31)

2. ความเสมอภาคที่แทจริงท่ีมีธรรมาธิปไตยเปนรากฐานน้ันจะมีความหมายเปนความเสมอภาค

ในการรวมสรางสรรครวมแกปญหา คือ เปนการมีโอกาสเทาเทียมกันที่จะนําศักยภาพของแตละบุคคล

มารวมกันแกปญหาและสรางประโยชนสุขรวมกัน (พระธรรมปฎก(ป.อ. ปยุตโต), 2542, หนา 83)เปนความ

เสมอภาคในการรวมสุขรวมทุกขทําใหเกิดความสามัคคีพรอมเพรียงกัน

3. ภราดรภาพ พระพรหมคุณาภรณเห็นวา สังคมประชาธิปไตยที่ผานมาไดละเลยภราดรภาพซึ่ง

เปนหลักการที่สําคัญมากและมนุษยชาติปจจุบันก็ตองการภราดรภาพมากเพราะถาไมมีภราดรภาพซึ่ง

หมายถึงเอกภาพหรือความสามัคคีเปนอันหนึ่งอันเดียวกันแลว ก็จะทําใหเสรีภาพและความเสมอภาคมี

ความหมายไปในทางการแกงแยงแบงแยกทําใหเกิดปญหา เสรีภาพและความเสมอภาคที่แทจริงจะเกิด

ไมได ภราดรภาพท่ีแทจริงตามความหมายของพระพรหมคุณาภรณจึงหมายถึง ความเปนอันหนึ่งอัน

เดียวกัน ความรักใครปรองดองเปนพี่เปนนองกันซึ่งคอยสมานความแตกแยก (พระธรรมปฎก(ป.อ.ปยุตโต),

2541, หนา 12) ภราดรภาพที่แทจริงจะเกิดขึ้นไดประชาชนจะตองมีธรรมาธิปไตยเปนรากฐาน

นอกจาการทําความเขาใจความหมายของหลักการประชาธิปไตยอยางถูกตองแลว พระพรหม

คุณาภรณไดเสนอแนวทางในการปองกันและแกปญหาสังคมประชาธิปไตยวา “เพราะฉะนั้น การปองกัน

และแกปญหาจะตองทําจากจุดเริ่มทั้งสองทาง คือท้ังจากตนไปหาปลายและจากปลายมาหาตนเริ่มจากตน

มาหาปลายคือ ไลจากขอ 1 ตอ 2 ไป 3 ตามลําดับ ก็ตองจัดใหประชาชนมีเสรีภาพอยางถูกตอง และใหไดมี

เสรีภาพน้ันอยางเทาเทียมกัน เกิดความเสมอภาคแลวจะไดไมทะเลาะวิวาทแกงแยงขัดแยงกันและอาจจะ

สามัคคีกันได ขอใหขอสังเกตวาในที่นี้ ลงทายวาอาจจะสามัคคีกันได คือ เพียงอาจจะเทานั้น เพราะความ

มีเสรีภาพและสมภาพ/เสมอภาคอยางที่พูดกันมานี้ ไมใชเหตุปจจัยอยางเดียวและเพียงพอที่จะทําใหคนรัก

ใครสามัคคีมีภราดรภาพกันได... ดานที่สอง เริ่มจากปลายมาหาตนคือ ยอนจากขอ 3 ลงมาขอ 2 จนถึงขอ

1 วิธีแกและกันปญหาไดแก พยายามสรางความสมัครสมานสามัคคีใหประชาชนมีความรักใครพรอมเพรียง

มีความรูสึกและความสัมพันธท่ีดีตอกันดุจเปนญาติพี่นอง เมื่อประชาชนมีภราดรภาพ หรือสามัคคีเอกีภาพ

นี้แลว ก็จะปรับเรื่องความเสมอภาคและเสรีภาพใหเขาที่ลงตัวสอดคลองไปกันไดอยางดี” (พระธรรมปฎก

(ป.อ. ปยุตโต), 2542, หนา 69-70)

รูปแบบการปกครอง

พระพรหมคุณาภรณไดวิจารณระบบการปกครองในสังคมปจจุบันวาประชาธิปไตยแบบทุนนิยมที่

เอาประโยชนของบุคคลเปนใหญกับสังคมนิยมท่ีเอาสังคมเปนใหญกลายเปนสุดโตงไปทั้งสองฝาย

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

147

ประชาธิปไตยที่แทจริงจะทําใหบุคคลกับสังคมประสานประโยชนกันใหไดโดยเปนตัวเอ้ือแกกันนั่นคือ สังคม

ย่ิงดีก็ย่ิงชวยใหบุคคลมีโอกาสบรรลุความดีงามและประโยชนสุขย่ิงขึ้นและย่ิงคนพัฒนาดีก็ย่ิงมาชวย

สรางสรรคสังคมไดดีย่ิงขึ้น บุคคลและสังคมจึงเปนการสงเสริมซึ่งกันและกัน (พระธรรมปฎก(ป.อ.ปยุตโต),

2542, หนา 42)

พระพรหมคุณาภรณเห็นวารูปแบบของประชาธิปไตยนั้นไมจํากัดตายตัว มนุษยสามารถคิดรูปแบบ

ขึ้นมาเพื่อสื่อสาระและจุดหมายของประชาธิปไตยใหได รูปแบบยอมเปลี่ยนแปลงไปไดตามกาลสมัยและ

ปจจัยแวดลอม โดยมีจุดมุงหมายคือ รักษาสาระของประชาธิปไตยไว (พระธรรมปฎก(ป.อ.ปยุตโต), 2542,

หนา 4) เพราะพระพรหมคุณาภรณเห็นวาในระบอบประชาธิปไตยน้ันถาประชาชนทุกคนหรือประชาชนสวน

ใหญเปนธรรมาธิปไตยแลว การปกครองโดยประชาชนทุกคนหรือโดยเสียงสวนมากก็จะทําใหไดสียง

สวนมากที่ดีมาปกครองก็จะเกิดการปกครองท่ีดีขึ้นเอง ดังนั้นจึงไมจําเปนตองจํากัดรูปแบบในการปกครอง

จากทัศนะของพระพรหมคุณาภรณน้ีเราจะเห็นไดวาตางจากประชาธิปไตยในสังคมปจจุบันที่มุงเนนแต

รูปแบบการปกครองโดยไมคํานึงถึงคุณภาพหรือสาระที่ เกิดขึ้นไดจริงคือ คนที่จะมาปกครองทําให

การปกครองระบบประชาธิปไตยมีปญหามากมาย

วิถีประชาธิปไตย

ตามทัศนะของพระพรหมคุณาภรณรูปแบบการปกครองแบบประชาธิปไตยนั้นเปนเพียงเครื่องมือ

(พระธรรมปฎก(ป.อ. ปยุตโต), 2542, หนา 77) ของประชาธิปไตยที่จะสื่อสาระของประชาธิปไตยท่ีแทจริง

ออกมาดังทานกลาววา “ตัวประชาธิปไตยก็คือ วิถีชีวิตของคนที่อยูรวมกันและชวยกันจัดสรรคความเปนอยู

ใหเปนไปดวยดีเพื่อใหอยูรวมกันอยางสันติสุข ตัวแทของประชาธิปไตยอยูท่ีการชวยกันคิด ชวยกันทํา

นําเอาสติปญญา ความสามารถของแตละคนออกมารวมกันแกปญหาและสรางสรรคความเปนอยูรวมกัน

ใหเปนสุขและเจริญงอกงาม” (พระธรรมปฎก (ป.อ.ปยุตโต), 2542,หนา 77) จากคํากลาวนี้ชี้ใหเห็นวาการ

ปกครองระบอบประชาธิปไตยตามทัศนะของพระพรหมคุณาภรณนั้น เปนระบบการจัดสรรคสังคมเพื่อให

เกิดโอกาสท่ีดีที่สุดในการรวมกันสรางสรรคชีวิตและสังคมใหบรรลุประโยชนสูงสุด (พระธรรมปฎก (ป.อ. ปยุต

โต), 2541, หนา 11) โดยพระพรหมคุณาภรณเห็นวาการปกครองหลายรูปแบบปดก้ันหรือ ตัดโอกาสของ

มนุษยท่ีจะรวมสรางสรรคสังคมและพัฒนาศักยภาพของตน ประชาธิปไตยเปดโอกาสที่สําคัญใหแกมนุษย

กลาวคือ โอกาสที่มนุษยจะพัฒนาตัวเองและมนุษยทุกคนมีโอกาสที่จะนําศักยภาพของตนมารวมสรางสรรค

ประโยชนสุขใหแกสังคมดวย (พระธรรมปฎก (ป.อ.ปยุตโต), 2542, หนา 11)

จากที่กลาวมาจะเห็นไดวา วิถีชีวิตแบบประชาธิปไตยตามทัศนะของ พระพรหมคุณาภรณนั้นเปน

สิ่งสําคัญท่ีสุด ประชาธิปไตยท่ีแทจริงจะเกิดขึ้นไดประชาชนจะตองมีวิถีชีวิตแบบประชาธิปไตยโดยมี

ธรรมาธิปไตยเปนรากฐาน พระพรหมคุณาภรณไดกลาวถึงประชาธิปไตยที่แทจริงวา “ประชาธิปไตยที่

แทจริงจะตองเกิดจากปญญาที่มนุษยแตละคนไดพัฒนาตนเอง ใหรูเขาใจความจริงมีเหตุผลและสามารถ

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 148

ดําเนินวิธีการตางๆที่จะรวมกันสรางสรรคสังคมใหอยูรวมกันดวยดี มีสันติสุข นอกจากมีปญญา

ความสามารถแลวแตละคนตองมีจิตที่ปรารถนาดีตอกันจึงจะเปนประชาธิปไตยที่แทจริงได” (พระธรรมปฎก

(ป.อ. ปยุตโต), 2542, หนา 35) ดังนั้น วิถีชีวิตแบบประชาธิปไตยตามทัศนะของพระพรหมคุณาภรณจึง

เปนสังคมที่เปดโอกาสท่ีดีท่ีสุดท่ีจะใหมนุษยพัฒนาศักยภาพของตนและรวมกันสรางสรรคประโยชนสุขแก

สังคม จะเห็นไดวา พระพรหมคุณาภรณมุงประโยชนของบุคคลควบคูไปกับผลประโยชนของสังคมซึ่งตาง

จากแนวคิดของเสรีนิยมประชาธิปไตยท่ีมุงประโยชนของปจเจกบุคคลเปนหลัก

สรุป

ผลสัมฤทธิ์ของประชาธิปไตย ตามทัศนะของพระพรหมคุณาภรณ สังคมประชาธิปไตยจะเขาถึง

จุดหมายท่ีแทจริงไดขึ้นอยูกับคุณภาพของประชาชน ประชาชนจะตองถือธรรมเปนใหญ โดยไดรับ

การศึกษาพัฒนาที่ถูกตอง ดังพระพรหมคุณาภรณกลาววา “ประชาธิปไตยจะประสบผลสําเร็จไดคุณภาพ

ของประชาชนเปนปจจัยสําคัญท่ีสุด สังคมประชาธิปไตยจําเปนตองอาศัยการศึกษาเพื่อทําใหคนมีคุณภาพ

เพราะคุณภาพของประชาธิปไตยขึ้นอยูกับคุณภาพของประชาชน (พระธรรมปฎก (ป.อ. ปยุตโต),2542,

หนา 43) นั่นหมายความวาเมื่อประชาชนไดรับการศึกษาที่ถูกตอง รูจักแยกแยะวินิจฉัยและเลือกกระทําการ

ตางๆโดยยึดถือธรรมเปนใหญ เพราะถาไมมีธรรมเปนใหญแลว ประชาชนจะใชปญญาเพื่อแสวงหา

ผลประโยชนสวนตนได ดังนั้นประชาธิปไตยที่มีธรรมาธิปไตยเปนรากฐานตามทัศนะของพระพรหมคุณาภรณ

จึงเปนระบบที่จัดสรรคสังคมเพื่อใหเกิดโอกาสที่ดีท่ีสุดในการสรางสรรคที่จะทําใหชีวิตและสังคมบรรลุ

ประโยชนสูงสุดโดยใชเสรีภาพในการสรางสรรคสังคมและพัฒนาตนเอง

บรรณานุกรม

ชัช กิจธรรม. (2527). ประชาธิปไตยและสังคมนิยม : วิวัฒนาการของเอกภาพแหงหลักการมนุษย

นิยม. กรุงเทพมหานคร : คณะรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

เบคเกอรเขียน, คารล เอล. (2506). ปรัชาธิปไตยสมัยปจจุบัน. แปลโดย เดชชาติ วงศโกมลเชษฐ.

กรุงเทพมหานคร: สภาวิจัยแหงชาติ.

พระธรรมปฎก (ป.อ. ปยุตโต). (2543). กระบวนการเรียนรูเพ่ือพัฒนาคนสูประชาธิปไตย.

กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

_________. (2541, ธันวาคม). กระบวนการเรียนรูเพื่อพัฒนาคนสูประชาธิปไตย. นิตยสารพุทธจักร, (12).

_________. (2542, มกราคม). กระบวนการเรียนรูเพื่อพัฒนาคนสูประชาธิปไตย. นิตยสารพุทธจักร, (1).

_________.. (2542). การศึกษาเพ่ืออารยธรรมท่ีย่ังยืน. กรุงเทพมหานคร: สหธรรมิก.

_________. (2542). การศึกษาวิวัฒนหรือวิบัติในยุคโลกไรพรมแดน. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิพุทธธรรม.

_________. (2542). การสรางสรรคประชาธิปไตย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพสหธรรมิก.

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

149

พระธรรมปฎก (ป.อ. ปยุตโต). (2540). พุทธศาสนากับชีวิตและสังคม. กรุงเทพมหานคร: ธรรมสภา.

พระพรหมคุณาภรณ (ป.อ. ปยุตโต). (2549). ธรรมาธิปไตยไมมา จึงหาประชาธิปไตยไมเจอ.

กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิพุทธธรรม.

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (2533). ปรัชญาการเมือง. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

Edwards, Paul. (1972). The Encyclopedia of Philosophy Vol. 1, 3-4. New York: A.S.A Macmmill.

Phra Bramgunabhorn (P.A. Payutto). (2010). No DHAMMADHIPATEYYA NO DEMOCRACY.

Bangkok: University.

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 150

ศึกษาผลการใชโปรแกรมการสอนสุขภาพจิตแบบกลุมตอพฤติกรรม

การดูแลตนเองของผูปวยจิตเภท โรงพยาบาลราชบุรี

A Study of Using Group Teaching in Mental Health Program on Self Care

Behaviors of Patients with Schizophrenia, Ratchaburi Hospital

อังคณา หมอนทอง1

บทคัดยอ

การศึกษาครัง้นี้ มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาพฤติกรรมการดูแลตนเองของผูปวยจิตเภท โรงพยาบาล

ราชบุรี กอนและหลังการใชโปรแกรมการสอนสุขภาพจิตแบบกลุม กลุมตัวอยางคือผูปวยจิตเภท จํานวน

20 คน ซึ่งคัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจงตามคุณสมบัติที่กําหนดไว เครื่องมือที่ใชในการศึกษาคือ โปรแกรม

การสอนสุขภาพจิตแบบกลุม ซึ่งผู ศึกษาไดพัฒนามาจากคูมือการดูแลตนเองสําหรับผูปวยจิตเภท

ของ โรงพยาบาลสวนปรุง และคูมือฝกปฏิบัติงานวิชาสุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวช เรื่องการดูแล

ผูปวยจิตเวชที่บาน จากโรงพยาบาลสวนสราญรมย กรมสุขภาพจิต แบบทดสอบความรูของผูปวยเก่ียวกับ

โรคจิตเภท และแบบวัดพฤติกรรมการดูแลตนเอง ซึ่งไดตรวจสอบความตรงตามเน้ือหาโดย ผูทรงคุณวุฒิ

จํานวน 3 ทาน และหาคาความเท่ียงของแบบทดสอบความรู และแบบวัดพฤติกรรมการดูแลตนเองของ

ผูปวยโรคจิตเภท เทากับ 0.72 และ 0.82 ตามลําดับ วิเคราะหขอมูลโดยใชสถิติทดสอบที (t-test)

ผลการศึกษาที่สําคัญ สรุปไดดังนี้

พฤติกรรมการดูแลตนเองของผูปวยจิตเภท หลังไดรับโปรแกรมการสอนสุขภาพจิตแบบกลุมสูงกวา

กอนไดรับโปรแกรมการสอนสุขภาพจิตแบบกลุมอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

คําสําคัญ : ผูปวยจิตเภท/การสอนแบบกลุม

__________________ 1 พยาบาลวิชาชีพ ชํานาญการ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ราชบุรี

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

151

Abstract

The purpose of this study was to compare self-care behaviors of patients with

schizophrenia at Ratchaburi Hospital. A purposive sample of 20 patients with schizophrenia,

were selected. Three study instruments were utilized : group teaching of mental health program,

self-test about knowledge of schizophrenia and a self-care behaviors scale. Instruments were

examined for content validity by three experts . The reliabilities of the self-test and the self-care

behaviors scale were 0.72 and 0.82 respectively. t-tests were used to compare pre and post

test mean scores.

The results were as follows :

Self-care behaviors of patients with schizophrenia who participated in the group

teaching of mental health program were significantly higher than before participation in the

group teaching of mental health program at the P = .05

Key words : schizophrenic patients, group teaching

ความเปนมาและความสําคัญของปญหา

โรคจิตเภทเปนโรคทางจิตเวชท่ีพบมากมีความรุนแรงและมีผลกระทบตอการทําหนาที่ในชีวิตปกติ

ของบุคคล เปนกลุมอาการทางจิตที่ 1 0เรื้อ 1 0รัง[1] เปนปญหาสําคัญทางสาธารณสุข ผูปวยที่มารับการรักษา

ในโรงพยาบาลจิตเวช เปนผูปวยที่ไดรับการวินิจฉัยเปนโรคจิตเภทมากที่สุด ประเทศไทยพบวามีประชากร

รอยละ 0.5 -1 ปวยเปนโรคจิตเภทซึ่งมีจํานวนมากกวาผูปวยโรคจิตเวชอื่นๆ [2] จากสถิติผูที่เปนโรคทาง

จิตเวชของกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุขในป 2551 พบวา จังหวัดราชบุรีมีผูที่ไดรับการวินิจฉัยวา

เปนโรคทางจิตเวช จํานวน 10,094 คน สําหรับสถิติของโรงพยาบาลราชบุรี ในป 2551 มีผูปวยที่เปนโรค

จิตเภท จํานวน 1,387 คนและ1,143 คน ในป 2550 และที่ฝายจิตเวชโรงพยาบาลราชบุรีมีการกลับมารักษา

ซ้ําในกลุมผูปวยจิตเภทถึงรอยละ 80 [3] สอดคลองกับ อรุณี โสติวนิชวงศ(2550) [4] ท่ีกลาววา ผูปวย

โรคจิตเภทเปนผูปวยท่ีมีการดําเนินโรคแบบเรื้อรัง และมีความบกพรองในหนาที่ตางๆ นอกจากน้ีพบวา

ผูปวยมีอัตราการกลับมาปวยซ้ํามากกวาผูปวยโรคจิตเวชอ่ืนๆ ซึ่งมีปญหาเก่ียวกับการรับประทานยา ไมให

ความรวมมือในการรักษา รับประทานยาไมสม่ําเสมอ และไมยอมรับประทานยา ทําใหโรงพยาบาลตองเสีย

คาใชจายคอนขางสูงในการชวยเหลือผูปวยใหมีอาการสงบในชวงกลับมารักษา

สําหรับฝายจิตเวชโรงพยาบาลราชบุรีนั้น ยังไมเคยทําการศึกษาผลการใชโปรแกรมการสอน

สุขภาพจิตแบบกลุมตอพฤติกรรมการดูแลตนเองของผูปวยจิตเภทมากอน ซึ่งโรงพยาบาลลพบุรีเคยนําไปใช

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 152

ในแผนกผูปวยนอก กับกลุมผูปวยจิตเภทแลวเกิดผลที่ดีขึ้นกับผูปวย จึงมีความสนใจนํามาใชในแผนก

ผูปวยใน กับกลุมผูปวยจิตเภทโรงพยาบาลราชบุรี

การดูแลตนเองเปนพฤติกรรมที่มีเปาหมาย เพื่อการทําหนาที่และพัฒนาการของบุคคล (จินตนา

ยูนิพันธุ, 2534) [5] สอดคลองกับ Hill and Smith (1990) [6] ที่กลาววาการดูแลตนเอง เปนการปฏิบัติ

เพื่อการดูแลตนเองท่ีซับซอน ตองเกิดจากความสมัครใจในการกระทําเพื่อดูแลตนเอง โดยใชศักยภาพ

ความสามารถของตนเอง ซึ่งการดูแลตนเองของผูปวยโรคจิตเภทในชุมชนมีความแตกตางจากการดูแล

ตนเองขณะอยูโรงพยาบาล คือจําเปนตองมีการจัดระบบการดูแลตนเองอยางตอเน่ืองสม่ําเสมอในเรื่อง

ความ จําเปนทางดานรางกายทั่วไป และความจําเปนในการจัดการกับอาการทางจิตที่หลงเหลืออยูโดย

สอดแทรกการดูแลตนเองเขาไปเปนสวนหนึ่งของแบบแผนการดําเนินชีวิต ผูปวยจิตเภทตองเพิ่มขีด

ความสามารถในการดูแลตนเอง พึ่งพาตนเองใหไดมากที่สุดภายใตขีดจํากัด และผูปวยจิตเภทตองปรับ

บทบาททางสังคมที่อาจเปลี่ยนแปลงไปจากขณะกอนปวย ตองปฏิบัติ บทบาทปกติใหไดมากที่สุดตาม

กําลังความสามารถเพื่อรักษาไวซึ่งชีวิตสุขภาพและสวัสดิภาพของตน [7] ดังน้ันหากผูปวยมีการพัฒนาการ

ดูแลตนเองใหเกิดขึ้นแลว ปญหาการกลับปวยซ้ํายอมลดลง ดังน้ันการสงเสริมใหผูปวยจิตเภทมีพฤติกรรม

การดูแลตนเองที่ถูกตองจึงเปนสิ่งสําคัญย่ิง

ผูปวยจิตเภทท่ีมารับบริการที่โรงพยาบาลราชบุรี ในปงบประมาณ 2551 [8] จากการสังเกตรวมกับ

การสัมภาษณผูปวยพบวามีปญหาในการติดตอสื่อสารกับผูอ่ืน รูสึกดอยคา ไมมีเปาหมายในการดําเนินชีวิต

แยกตัว เซื่องซึม ไมสามารถวางแผนการใชเวลาใน แตละวันได ไมทราบถึงอาการนํากอนที่จะมีอาการทางจิตและ

ไมสามารถแกปญหาเมื่อมีอาการทางจิตได บางครั้งมีการทําผิดศีลธรรมเนื่องจากมีความผิดปกติทางความคิดและ

การรับรู ขาดระบบสนับสนุนทางสังคมและไมสามารถขอรับความชวยเหลือจากผูอ่ืนได การรับประทานยาที่ไม

สม่ําเสมอ ไมอาบน้ํา ไมนอน แตงกายไมเหมาะสม บางรายมีอาการกําเริบขึ้น มีสมรรถภาพในการดําเนินชีวิต

เสื่อมลง ตองคอยพึ่งพาและเปนภาระตอครอบครัว และผูท่ีอยูแวดลอมทําใหเกิดปญหาทั้งในดานเศรษฐกิจ

และสังคม และปญหาอ่ืนๆอีกมาก จากการวิเคราะหปญหาระบบบริการพบวาขาดกิจกรรมการพยาบาลท่ี

ครอบคลุมปญหาของผูปวย โดยเฉพาะการใหความรูใหกับ ผูปวยและการติดตามดูแลผูปวยอยางตอเนื่อง

นอกจากน้ีจากการท่ีผูศึกษาไดประเมินผลความรูผูปวยจิตเภทที่มารับบริการท่ีโรงพยาบาลราชบุรี

ปงบประมาณ 2551 พบวาสาเหตุปจจัยที่มีผลตอพฤติกรรมการดูแลตนเองของผูปวยจิตเภท คือพบวารอยละ

45.56 ขาดความรูเก่ียวกับโรคจิตเภทและการปฏิบัติตัว ขาดแหลงสนับสนุนโดยเฉพาะการสนับสนุนจาก

ครอบครัว ซึ่งเปนแหลงสนับสนุนทางสังคมประเภทหนึ่ง การสนับสนุนของครอบครัวจะชวยสงเสริมความ

พยายามใหผูปวยสามารถปฏิบัติกิจกรรมการดูแลตนเองได สามารถชวยใหผูปวยมีกําลังใจ และแรงจูงใจที่จะ

ริเริ่มและพยายามปฏิบัติกิจกรรมการดูแลตนเอง ดังน้ันผูปวยจิตเภทควรมีความรูเก่ียวกับโรคจิตเภทและการ

รักษาโรค การดูแลตนเองเพื่อปองกันการมีอาการมากขึ้น มีความเขาใจเก่ียวกับอาการแสดงและอาการนํา

กอนมีอาการทางจิต จัดการกับอาการที่เปนปญหาได สามารถสื่อสารไดอยางมีประสิทธิภาพ รูจักการใช

เวลาวางใหเกิดประโยชน สามารถขอความ ชวยเหลือจากแหลงสนับสนุน และสามารถผอนคลายความตึงเครียด

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

153

ไดดวยตนเอง ซึ่งจะสงผลใหผูปวยจิตเภทมีพฤติกรรมการดูแลตนเองดีขึ้นถูกตอง เหมาะสม ลดอาการ

กําเริบจนตองกลับเขารักษาในโรงพยาบาล

วัตถุประสงคของการวิจัย เพื่อศึกษาพฤติกรรมการดูแลตนเองของผูปวยจิตเภท โรงพยาบาลราชบุรีกอนและหลังการใช

โปรแกรมการสอนสุขภาพจิตแบบกลุม

กรอบแนวคิดการวิจัย

โปรแกรมการสอนสุขภาพจิตแบบกลุม

ผูศึกษาไดพัฒนามาจากคูมือการดูแลตนเองสําหรับผูปวยจิต

เภท ของ โรงพยาบาลสวนปรุง และคูมือฝกปฏิบัติงานวิชา

สุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวช เรื่องการดูแลผูปวยจิต

เวชที่บาน จากโรงพยาบาลสวนสราญรมย กรมสุขภาพจิต

มีการดําเนินกิจกรรมกลุม 4 ครั้ง

กิจกรรมที่ 1 การสรางสัมพันธภาพและการพัฒนา

ความรู ความเขาใจเก่ียวกับโรคจิตเภทและการรักษา

กิจกรรมที่ 2 การดูแลตนเองเพื่อปองกันการมีอาการ

มากขึ้นและการจัดการกับอาการที่เปนปญหา

กิจกรรมท่ี 3 การพัฒนาทักษะทางสังคม เชนการ

สื่อสารที่ดีและมีประสิทธิภาพ การใชเวลาวางใหเกิดประโยชน

แกตนเองและครอบครัว การขอความชวยเหลือจากแหลง

สนับสนุนทางสังคม การดูแลตนเองเรื่องสุขวิทยาสวนบุคคล

และการผอนคลายความตึงเครียด

กิจกรรมที่ 4 การดูแลตนเองเรื่องสุขวิทยาสวนบุคคล

และการผอนคลายความตึงเครียด

ในทุกกิจกรรมมีขั้นตอนการดําเนินกิจกรรม 3 ขั้นตอนคือ

ขั้นตอนท่ี 1 ระยะสรางสัมพันธภาพ ขั้นตอนที่ 2 ระยะ

ดําเนินการแกไขปญหารวมกันและใหความรูและขั้นตอนที่ 3

ระยะสิ้นสุดการทํากลุม

พฤติกรรมการดูแลตนเอง

ของจินตนา ยูนิพันธุ

-การพัฒนาการรูจักตนเอง

-การติดตอสื่อสารท่ีมีประสิทธิภาพ

-การใชเวลาวางที่มีประสิทธิภาพ

-การเตรียมการการเผชิญปญหา

-การพัฒนาระบบสนับสนุนทางสังคม

-การปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนา

-การดูแลตนเองดานรางกาย

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 154

วิธีดําเนินการวิจัย

การศึกษาครั้งนี้เปนการศึกษาแบบกลุมเดียว วัดผลกอนและหลังการศึกษา (The One Group

Pretest - Posttest Design) มีจุดประสงคเพื่อศึกษาพฤติกรรมการดูแลตนเองของผูปวยจิตเภทกอนและ

หลังการใชโปรแกรมการสอนสุขภาพจิตแบบกลุม ในผูปวยท่ีไดรับการวินิจฉัยวาเปนโรคจิตเภทตามเกณฑ

การวินิจฉัยโรคทางจิตเวช (ICD-10) ที่มารับการรักษาที่ตึกจิตเวช โรงพยาบาลราชบุรี ต้ังแตเดือนตุลาคม

2552 ถึงเดือนธันวาคม 2552 จํานวน 20 คน

เคร่ืองมือท่ีใชในการศึกษา

เครื่องมือที่ใชในการศึกษาครั้งน้ี มี 3 ประเภทคือ

1. เคร่ืองมือท่ีใชในการดําเนินโครงการ ไดแก

โปรแกรมการสอนสุขภาพจิตแบบกลุม เปนโปรแกรมซึ่งผูศึกษาไดพัฒนามาจากคูมือการดูแล

ตนเองสําหรับผูปวยจิตเภท ของ โรงพยาบาลสวนปรุง ( 2551 ) [9] และ คูมือฝกปฏิบัติงานวิชาสุขภาพจิต

และการพยาบาลจิตเวช เรื่องการดูแลผูปวยจิตเวชที่บาน จากโรงพยาบาลสวนสราญรมย กรม

สุขภาพจิต (2541) [10] โดยมีกิจกรรมดังนี้

กิจกรรมที่ 1 ความรูทั่วไปเก่ียวกับโรคจิตเภท

กิจกรรมที่ 2 เรื่องการดูแลตนเองเพื่อปองกันการกําเริบของโรคจิตเภท

กิจกรรมที่ 3 เรื่องการสังเกตอาการเบ้ืองตน ความสําคัญของการรับประทานยา

อยางสม่ําเสมอ

กิจกรรมที่ 4 เรื่องสัมพันธภาพ และความรับผิดชอบของผูปวย

กิจกรรมที่ 5 เรื่องการคลายความเครียดดวยตนเอง

2. เคร่ืองมือกํากับการทดลอง ไดแก

แบบทดสอบความรูของผูปวยเกี่ยวกับโรคจิตเภท เปนเครื่องมือที่ผูศึกษาพัฒนาขึ้นเพื่อ

ทดสอบความรู ความเขาใจ เก่ียวกับโรคจิตเภทและการดูแลตนเองท่ีสอดคลองกับเนื้อหาท่ีจะใหความรูแก

ผูปวยจิตเภทในโปรแกรมการสอนสุขภาพจิตแบบกลุม โดยมีขั้นตอนดังน้ี

ผูศึกษารวบรวมเนื้อหาความรูที่จะใหแกผูปวยจิตเภท ในโปรแกรมการสอนสุขภาพจิตแบบกลุม

ศึกษาแบบทดสอบความรูผูปวยเก่ียวกับโรคจิตเภทของ โชติพร พันธุวัฒนาชัย (2549) [11] และแบบวัด

ความรูในการดูแลตนเองและการจัดการกับอาการทางลบของ อัญชลี ศรีสุพรรณ (2547) [12] ซึ่งสราง

เครื่องมือขึ้นมาจากการทบทวนและรวบรวมเน้ือหาความรูที่จะใหแกผูปวยจิตเภทในโปรแกรมการดูแลแบบ

องครวม ซึ่งไดแก การดูแลตนเองดานรางกาย จิตใจและการจัดการกับอาการทางลบ จากน้ันผูศึกษาไดนํา

เนื้อหาทั้งหมดวิเคราะหเพื่อพัฒนาเปนคําถามโดยการปรึกษารวมกับที่ปรึกษางานวิจัย

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

155

3. เคร่ืองมือท่ีใชในการเก็บรวบรวมขอมูล

แบบบันทึกขอมูลสวนบุคคลของผูปวย เปนขอคําถามที่ผูศึกษากําหนดขึ้นจากการทบทวน

วรรณกรรมที่เก่ียวของ ประกอบดวย เพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพสมรส ระยะเวลาในการเจ็บปวย

และจํานวนครั้งของการเขารับการรักษาในโรงพยาบาล

แบบวัดพฤติกรรมการดูแลตนเองใชแบบประเมินที่ผูศึกษานํามาจากการสรางเครื่องมือขึ้นโดย

เพชรี คันธสายบัว (2544) [13] ซึ่งสรางขึ้นตามแนวคิดทฤษฎีการดูแลตนเองดานรางกายและจิตใจของ Hill

& Smith (1985) [14] การดูแลตนเองโดยทั่วไปของ Orem (2001) [15] รวมกับแนวคิดพฤติกรรมการดูแล

ตนเองดานสุขภาพจิตของ จินตนา ยูนิพันธุ (2534) เปนหลัก

การตรวจสอบคุณภาพของเคร่ืองมือ การหาความตรงของเนื้อหา (Content Validity) ผูศึกษาไดนําโปรแกรมและเครื่องมือที่ไดสรางขึ้น

ไปใหผูทรงคุณวุฒิทางดานสุขภาพจิตและจิตเวช จํานวน 2 ทาน อาจารยพยาบาลทางดานจิตเวช 1 ทาน

และจิตแพทย 1 ทาน รวมท้ังเกณฑการตรวจสอบ การใหคะแนนความคิดเห็นของผูทรงคุณวุฒิ ตรวจสอบ

ความตรงตามเนื้อหา ความถูกตอง ชัดเจน ครอบคลุม ความเหมาะสมของภาษาที่ใชและลําดับของเน้ือหา

โดยคะแนนความคิดเห็นเปนระดับ 1-4 คะแนน เห็นดวยมากที่สุดเปน 4 คะแนน และไมเห็นดวย 1

คะแนน ผูทรงคุณวุฒิเขียนขอเสนอแนะเพิ่มเติมในชองวางที่เวนไวในแตละขอ โดยการตรวจความตองการ

เชิงเนื้อหา (CVI : Content Validity Index) โดยใชสูตรดังน้ี (Hambleton et al., 1975 อางใน บุญใจ

ศรีสถิตยนรากูร, 2544 : 225) [16]

การหาความเท่ียง (Reliability) ผูศึกษานําเครื่องมือไปทดลองใช (Try-out) กับผูปวยจิตเภท ที่มี

ลักษณะใกลเคียงกับกลุมตัวอยางที่จะศึกษาครั้งน้ี คือ ใชกับผูปวยจิตเภทที่ตึกจิตเวช ที่สถาบันกัลยาณราช

นครินทร จํานวน 20 คน (Burns & Grove, 2001) [17] ที่มีลักษณะใกลเคียงกับกลุมตัวอยางในการศึกษา

ครั้งน้ี วิเคราะหหาคา Reliability โดยใชสูตรหาสัมประสิทธิ์แอลฟาของ ครอนบาค ไดคาความเท่ียงโดยรวม

เทากับ 0.82

การวิเคราะหขอมูล วิเคราะหขอมูลโดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป โดยนําคะแนนที่ไดจากการเก็บ

รวบรวมขอมูลท้ังกอนและหลังการศึกษามาคํานวณหาคาสถิติดังน้ี

1. ขอมูลสวนบุคคลหาความถ่ี และรอยละ

2. คะแนนความรูเก่ียวกับโรคจิตเภทของผูปวยจิตเภทกอนและหลังไดรับโปรแกรมการสอน

สุขภาพจิตแบบกลุม หาคาเฉลี่ยเลขคณิต และสวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน แลว เปรียบเทียบ

คาเฉลี่ยโดยใชสถิติ Dependent t-test

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 156

3. คะแนนพฤติกรรมการดูแลตนเองของผูปวยจิตเภทกอนและหลังไดรับโปรแกรมการสอน

สุขภาพจิตแบบกลุม หาคาเฉลี่ยเลขคณิต และสวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน แลว เปรียบเทียบ

คาเฉลี่ยโดยใชสถิติ Dependent t-test

กําหนดคาระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

ผลการวิจัย

กลุมตัวอยางเปนเพศชายรอยละ 55.00 เปนเพศหญิงรอยละ 45.00 โดยสวนใหญอายุระหวาง

30-38 ป และมีระดับการศึกษาอยูในระดับประถมศึกษารอยละ 40.00 ลักษณะของผูปวยในกลุม

ตัวอยางสวนใหญมีสถานภาพโสด คิดเปนรอยละ 90.00 โดยมีระยะเวลาการเจ็บปวยอยูระหวาง 1-6 ป

คิดเปนรอยละ 60.00 และสวนใหญไมเคยเขารับการรักษาใน โรงพยาบาลคิดเปนรอยละ 55.00

พบวาคาเฉลี่ยคะแนนพฤติกรรมการดูแลตนเองของผูปวยจิตเภทมีความแตกตางกันอยางมี

นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยคาเฉลี่ยคะแนนพฤติกรรมการดูแลตนเองของผูปวยจิตเภท หลังการ

ใชโปรแกรมการสอนสุขภาพจิตแบบกลุม X = 154.70 สูงกวากอนการใชโปรแกรมการสอนสุขภาพจิต

แบบกลุมมีคาเฉลี่ยคะแนนพฤติกรรมการดูแลตนเองของผูปวยจิตเภท X = 121.90 ดังตารางตอไปนี้

ตารางท่ี 1 เปรียบเทียบคาเฉลี่ยคะแนนพฤติกรรมการดูแลตนเองของผูปวยจิตเภทกอนและหลังการ

ใชโปรแกรมการสอนสุขภาพจิตแบบกลุม ( n = 20 )

คะแนนพฤติกรรมการดูแลตนเอง X S.D. t P-value

กอนใชโปรแกรม 121.90 18.44

หลังใชโปรแกรม 154.70 14.00

P < 0.5*

การอภิปรายผล

จากการศึกษาการใชโปรแกรมการสอนสุขภาพจิตแบบกลุมตอพฤติกรรมการดูแลตนเองของผูปวย

จิตเภท มีผลการศึกษาท่ีสําคัญและอภิปรายไดดังนี้

คะแนนพฤติกรรมการดูแลตนเองของผูปวยจิตเภทที่ไดรับโปรแกรมการสอนสุขภาพจิตแบบกลุม

หลังการศึกษาสูงกวากอนการศึกษา อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 นั่นคือ การไดรับโปรแกรมการ

สอนสุขภาพจิตแบบกลุม มีผลตอพฤติกรรมการดูแลตนเอง การที่ผลการศึกษาเปนเชนนี้เนื่องมาจาก

-6.460 * .000

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

157

โปรแกรมการสอนสุขภาพจิตแบบกลุมประกอบดวย ความรูเก่ียวกับโรคและการรักษา การดูแลตนเองเพื่อ

ปองกันการมีอาการมากขึ้น และการจัดการกับอาการที่เปนปญหา การพัฒนาทักษะทางสังคมตาง ๆ เชน

การติดตอสื่อสารที่ดีและมีประสิทธิภาพ วิธีการขอความชวยเหลือจากแหลงสนับสนุน รวมถึงการใชเวลา

วางใหเกิดประโยชนแกตนเองและครอบครัว การดูแลตนเองเรื่องสุขวิทยาสวนบุคคลและการดูแลตนเอง

ดานจิตใจ การผอนคลายความตึงเครียด รวมท้ังการมีสัมพันธภาพอยางตอเน่ืองเมื่อเขามารวมอยูใน

โปรแกรม โดยทั้งพยาบาลและผูปวยรับรูและเขาใจตรงกันและรวมกันต้ังเปาหมายที่จะชวยเหลือผูปวยเพื่อ

ชวยใหผูปวยเขาใจในปญหาของตนเอง ไมวาทางดานรางกาย จิตใจ อารมณ สังคม และจิตวิญญาณ

ผูปวยจิตเภทสวนใหญไมรูวาตนเองเปนโรคอะไร มีปญหาอะไร ไมยอมรับในปญหาของตนเอง จึงเกิด

ปญหาขึ้นเมื่ออยูรวมกับสมาชิกในครอบครัว เชน ปญหาสัมพันธภาพกับบุคคลในครอบครัวและเพื่อนบาน

ปญหาการดูแลกิจวัตรประจําวัน ปญหาทางอารมณ ปญหาการติดตอสื่อสาร เปนตนและการที่กลุม

ตัวอยางมีพฤติกรรมการดูแลตนเองในระดับสูงขึ้น อาจเน่ืองจากกลุมตัวอยางมีอายุอยูในชวง 30-38 ปมาก

ที่สุด (รอยละ40.00) ในชวงอายุวัยผูใหญถือวาเปนชวงที่บุคคลมีวุฒิภาวะมีพัฒนาการการดูแลตนเอง

สูงสุด สามารถประเมินสถานการณและตัดสินใจเลือกแนวทางในการดูแลตนเองได (Orem, 1995) แต

อยางไรก็ตามการศึกษาครั้งน้ีพบวา กลุมตัวอยางสวนใหญมีสถานภาพสมรสโสด รอยละ 90.00 ขาดการ

สนับสนุนจากคู

การดูแลผูปวยจิตเวชที่บานถูกเนนใหมีความสําคัญระดับประเทศ เห็นไดจากในแผนพัฒนา

สาธารณสุขแหงชาติฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2535-2539) จนถึงฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550-2554) กระทรวงสาธารณสุข

มีเปาหมายหลักคือ การปองกันไมใหเกิดการเจ็บปวยขึ้น สงเสริมใหประชาชนมีภาวะสุขภาพที่ดี โดย

สนับสนุนและชวยเหลือใหประชาชนสามารถดูแลสุขภาพตนเองและพึ่งพาตนเองได ทั้งนี้ผูใหบริการสุขภาพ

จะตองประเมินปญหาของผูปวยและครอบครัว วางแผน ประสานงานใหบริการดูแลผูปวยท่ีเหมาะสม กับ

ความตองการและความจําเปนของผูปวยและครอบครัว ประเมินผลการเปลี่ยนแปลงของผูปวยและ

ครอบครัว ซึ่งบริการที่ใหเหลาน้ีจะตองใชทักษะ การรักษาพยาบาล การสังคมสงเคราะห รวมถึงการบําบัด

ตาง ๆ

โรงพยาบาลราชบุรี ไดเล็งเห็นความสําคัญของปญหาดังกลาว จึงไดจัดทําโครงการสงเสริมและ

ฟนฟูพฤติกรรมการดูแลตนเองของผูปวยจิตเภทโดยครอบครัวมีสวนรวมขึ้น เพื่อดําเนินการดูแลผูปวยจิต

เวชที่บาน เนนการสรางเครือขายการดูแลผูปวยจิตเวชที่บาน ซึ่งเปนการสรางแบบในการใหบริการการดูแล

ผูปวยที่บาน เพื่อใหเกิดกิจกรรมการดูแลตนเองของผูปวยและครอบครัว ใหชุมชนเขามามีสวนรวมในการ

ดูแลผูปวยรวมกับผูใหบริการสุขภาพท้ังในระดับสถานีอนามัยและโรงพยาบาล โดยใชระบบการสงตอและ

การติดตอสื่อสาร เพื่อใหเกิดความตระหนักและแรงจูงใจในการมีสวนรวมในการดูแลผูปวยจิตเวช สงเสริม

ความสามารถในการดูแลตนเองอยางตอเน่ือง และอยูในชุมชนไดนานขึ้น

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 158

ผูปวยท่ีมาเขารวมโปรแกรมการสอนสุขภาพจิตแบบกลุม ผูศึกษาไดดําเนินการตามขั้นตอน คือ

ในระยะสรางสัมพันธภาพ ผูศึกษาไดสรางสัมพันธภาพกับผูปวยโดยการแนะนําตนเอง อธิบายให

ผูปวยเขาใจถึงเหตุผลของการเขารวมกลุม พรอมท้ังขอความรวมมือในการเขารับโปรแกรมการสอน

สุขภาพจิตแบบกลุม แจงวัตถุประสงคและขอตกลงของการเขากลุม ทําใหสมาชิกเขาใจชัดแจง ดังที่

มาแรม (Marram, 1978) กลาววา สัมพันธภาพภายในกลุมและการเขาใจวัตถุประสงคของการเขารวมกลุม

อยางชัดเจน ภายใตบรรยากาศของความเปนมิตร จะทําใหผูปวยเกิดความคุนเคย รูสึกไววางใจซึ่งกันและ

กันกลาระบาย กลาแสดงความคิดเห็นของตนและมีความมั่นใจในการใหและการรับความชวยเหลือจาก

สมาชิกกลุม

ดังนั้นการมาเขารวมโปรแกรมการสอนสุขภาพจิตแบบกลุม ทําใหผูปวยไดพิจารณาตนเอง โดยมี

พยาบาลและเพื่อนสมาชิกกลุมเปนเสมือนกระจกเงาท่ีจะชวยใหผูปวยไดพิจารณาตนเองไดอยางมีอิสระ

ไดใชประสบการณและความรูสึกของตนเองรวมแสดงความคิดเห็นและแลกเปลี่ยนกับผูปวยอ่ืนภายในกลุม

ทําใหเกิดการสนับสนุนซึ่งกันและกันภายในกลุมผูปวยจะไดรับรูเก่ียวกับประสบการณจากเพื่อนในกลุม

เก่ียวกับการดูแลตนเองในดานตางๆ ทั้งในแงที่ดีและไมดี โดยมีพยาบาลเปนสื่อกลางชวยใหมองเห็น

แนวทางและสิ่งท่ีควรนําไปปฏิบัติ ไดฝกคิดและฝกการแสดงออก รวมทั้งชวยใหผูปวยเกิดความรูสึกที่ดีขึ้น

โดยเฉพาะท่ีมีเพื่อท่ีมีปญหาคลายคลึงกับตนเอง ทําใหไมรูสึกทอแทสิ้นหวังเกิดการยอมรับในปญหาและมี

ความหวังในการที่จะดูแลตนเองตอไป สอดคลองกับ (เศรษฐพงศ บุญหมั่น,2550) การศึกษาการใช

โปรแกรมการเสริมสรางพลังอํานาจตอพฤติกรรมการดูแลตนเองของผูปวยจิตเภทโรงพยาบาลจิตเวช

สระแกวราชนครินทร พบวาผูปวยมีความสามารถดูแลตนเองดีขึ้นหลังเขาโปรแกรม

สรุปไดวา การใชโปรแกรมการสอนสุขภาพจิตแบบกลุมทําใหพฤติกรรมการดูแลตนเองของ

ผูปวยจิตเภทสูงขึ้น จากผลการศึกษาครั้งนี้พยาบาลควรตระหนักถึงความสําคัญในการดูแลผูปวยจิตเภท

โดยเฉพาะการใหความรู โดยใหผูปวยมีโอกาสเรียนรูจากการเขารวมกิจกรรมกลุม ถือเปนการรักษาอยางหนึ่ง

เนนท่ีมีความพรอมของผูปวยในการที่จะดูแลตนเอง ทําใหผูปวยมีโอกาสไดคิดและตัดสินใจ ที่จะนําไป

ปฏิบัติดวยตนเอง โดยมีพยาบาลเปนผูท่ีจะชวยกระตุนใหผูปวยไดแสดงออกทั้งความรูสึกอารมณ และ

ความตองการของตนเอง ทําใหผูปวยเกิดแรงจูงใจท่ีจะปรับเปลี่ยนหรือพัฒนาตนเองไดมากขึ้น ยังเปนการ

ลดปญหาในการกลับเปนซ้ําของผูปวย โดยใหผูปวยชวยเหลือตนเองได ไมเปนภาระแกครอบครัว สังคม

และลดการสูญเสียในทุก ๆ ดาน

ขอเสนอแนะ

1. การนําโปรแกรมการสอนสุขภาพจิตแบบกลุมไปใช ผูที่จะนําโปรแกรมน้ีไปใชตองเปนผูที่มี

พื้นฐานความรู ความเขาใจ ทางดานการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช มีประสบการณและพื้นฐานการ

สอน การทํากลุม รวมท้ังมีความเขาใจในผูปวยจิตเภท ดังน้ัน ควรมีการทําความเขาใจกับเนื้อหาและ

ขั้นตอนการดําเนินการของโปรแกรมน้ีกอนนําไปใช ถาจะใชโปรแกรมนี้ไดอยางมีประสิทธิภาพควรมี

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

159

การศึกษาถึงปญหาและความตองการของผูรับบริการและปรับปรุงเนื้อหา ใหสอดคลองกับความตองการ

ของผูรับบริการ

2. ควรนําโปรแกรมการสอนสุขภาพจิตแบบกลุมไปใชโดยจัดตามความเหมาะสมของผูปวยเชน

ความพรอมของผูปวยและอาการของโรค เปนตน โดยเฉพาะกับผูปวยที่เพิ่งเริ่มมีการเจ็บปวย ในระยะแรกๆ

และใหครอบคลุมผูปวยจิตเภทท่ีมารับบริการทุกคน เพื่อผูปวยจะไดนําความรูและวิธีปฏิบัติตัวเพื่อดูแล

ตนเองตางๆ ท่ีอยูในโปรแกรมไปปรับประยุกตใช และมีแนวทางการปฏิบัติตัวที่ถูกตอง ลดอาการกําเริบและ

ปวยซ้ํา ซึ่งจะสงผลเสียตามมาในหลาย ๆ ดาน

3. ควรมีการติดตามประเมินผลพฤติกรรมการดูแลตนเองของผูปวยเปนระยะ เชน ทุก 3 เดือน

ทุก 6 เดือนและ 1 ป

บรรณานุกรม

[1] สมภพ เรืองตระกูล. (2545). ตําราจิตเวชศาสตร (พิมพครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ : เรือนแกวการพิมพ.

[2] กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. (2552). สถิติประจําปโรงพยาบาลจิตเวช. นนทบุรี : สํานัก

พัฒนาสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต.

[3] ศูนยขอมูลขาวสาร ฝายแผนงานและสารสนเทศ โรงพยาบาลราชบุรี. (2545). คนเมื่อ สิงหาคม

2, 2552, จาก http://www.rajburi.org

[4] อรุณี โสติวนิชวงศ 2 และคณะ. (2550). การประชุมวิชาการสุขภาพจิตนานาชาติ คร้ังท่ี 6, เร่ือง

สุขภาพจิต : ชีวิตชาวเมือง. ม.ป.ท.: ม.ป.พ.

[5] จินตนา ยูนิพันธุ . (2534). ปจจัยท่ีสัมพันธกับพฤติกรรมการดูแลตนเองดานสุขภาพจิตของ

ประชาชนภาคกลาง. ม.ป.ท.: โครงการวิจัยพฤติกรรมสุขภาพเพื่อพัฒนานักวิจัยหนาใหม.

[6] Hill ,L. and Smith, N. (1990). Self-Care Nursing : Promotion of Health. (2nd ed.). New

Jursy: Appleton & Lange.

[7] ปริวัตร ไชยนอย . (2546). พฤติกรรมการดูแลตนเองของผูท่ีเปนโรคจิตเภทท่ีกลับมารักษาซ้ํา

ใน โรงพยาบาล. การศึกษาอิสระพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาสุขภาพจิตและการพยาบาล

จิตเวช, บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. .

[8] ศูนยขอมูลขาวสาร ฝายแผนงานและสารสนเทศ โรงพยาบาลราชบุรี. (2545). คนเมื่อ สิงหาคม

2, 2552, จาก http://www.rajburi.org

[9] โรงพยาบาลสวนปรุง. (2551). คูมือการดูแลตนเองสําหรับผูปวยจิตเภท โรงพยาบาลสวนปรุง.

[10] กรมสุขภาพจิต. (2541). คูมือการดูแลผูปวยจิตเวชท่ีบาน โรงพยาบาลสวนสราญรมย.

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 160

[11] โชติพร พันธุวัฒนาชัย. (2549). การศึกษาการใชโปรแกรมการสอนสุขภาพจิตแบบกลุมตอ

พฤติกรรมการดูแลตนเองของผูปวยจิตเภท โรงพยาบาลราชบุรี. วิทยานิพนธปริญญา

มหาบัณฑิต สาขาการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช,บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

[12] อัญชลี ศรีสุพรรณ. (2547). ผลของการใชโปรแกรมการดูแลแบบองครวมตอความสามารถใน

การดูแลตนเองและอาการทางลบของผูปวยจิตเภท. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขา

การพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช,บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

[13] เพชรี คันธสายบัว. (2544). การวิเคราะหตัวแปรจําแนกกลุมผูปวยจิตเภทท่ีปวยซ้ําและไมปวยซํ้า.

วิทยานิพนธปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช บัณฑิต

วิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

[14] Hill ,L. and Smith, N. (1990). Self-Care Nursing : Promotion of Health (2nd ed.). New

Jursy: Appleton & Lange.

[15] Orem, D.E. (2001). Nursing concepts of practice ( 6th ed. ). St Louis: Mosby Year Book.

[16] บุญใจ ศรีสถิตนรากูร. (2545). ระเบียบวิธีการวิจัยทางพยาบาลศาสตร (พิมพครั้งที่ 2). กรุงเทพ:

โรงพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

[17] Burns, N. and Grove, S.K. (2001). The Practice of Nursing Research: Conduct,Critique and

Utilization (2nd ed.). Philadelpia: W.B.Saunder.

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

161

การศึกษาเปรียบเทียบแนวคิดความเช่ือการนับถือส่ิงศักด์ิสิทธิเ์หนือธรรมชาติของชาวเมืองเชียงตุง รัฐฉาน สหภาพพมา และอําเภอแมทะ จังหวัดลําปาง A Comparative Study of the Concept of Respect and Belief in Supernatural and Gardian Spirit among the Inhabitants of Chiang Tung in Shan State of

Myanmar and Mae Tha District of Lampang Province.

อนุกูล ศิริพันธุ1

ความเช่ือการนับถือผี (เทวดาเมือง) เมืองเชียงตุง สหภาพพมา ความเชื่อการนับถือผีและเทวดาของเมืองเชียงตุง รัฐฉาน สหภาพพมา และอําเภอแมทะ จังหวัด

ลําปางนั้น มีแนวคิดอยูบนพื้นฐานจากความตองการของชุมชน ท่ีการนับถือผีและเทวดานํามาซึ่งความสุข

และความเจริญของบานเมือง ผานขบวนการทางพิธีกรรม ตัวบุคคล ระบบการปกครองทางการเมือง และ

เศรษฐกิจการคา ทําใหความเชื่อการนับถือผีและเทวดายังคงอยูคูกับการดํารงชีวิตของผูคนทั้งสองเมือง

สิ่งหนึ่งที่ทั้งชาวเชียงตุงและชาวอําเภอแมทะ ยึดถือเปนแนวปฏิบัติเหมือนกันก็คือการใหความสําคัญกับ

พุทธศาสนาอยางเหนียวแนน ผสมกลมกลืนกับความเชื่อการนับถือผีและวิญญาณตามลัทธิเทวนิยมใน

ศาสนาพราหมณและศาสนาพุทธ ซึ่งมีแนวปฏิบัติท่ีคลายคลึงกัน สิ่งเหลานี้ลวนเปนเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจ

ของผูคนทั้งสองเมือง ใหประพฤติปฏิบัติตามจารีตประเพณีด้ังเดิมของบรรพบุรุษ ที่สืบทอดตอกันมาตาม

ความเชื่อ ชนชาติ และศาสนาของเผาพันธุ จากอดีตสูปจจุบัน และยังคงตอเนื่องไปยังลูกหลานในอนาคต

สืบไป ตามความเชื่อ ศาสนา และชาติพันธุ

The Belief of Spirit of keng tung, shan State, Myanmar

The belief of the spirit, gods and goddesses in keng tung, shan State, Myanmar and in

Maetha District, Lampang is part of the life of the people in the community. They have a

joyfulness, order, politics, trade and economy. For these reasons, Buddhism is part of the

everyday life of people here. The belief in supernatural and guardian spirit like the theism of

Brahmanism. Consequently, it is not only in understanding the culture of both areas, Likewise,

any change to their beliefs and practices will depend on the influences within each country.

คําสําคัญ : ความเชื่อเรื่องผี, งานพุทธศิลปไทย-พมา

Keyword : The Belief of Spirit, The Art of Buddhist

_______________ 1ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการมนุษยกับส่ิงแวดลอม) อาจารยประจําสํานักงานกิจการนักศึกษา

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

162

บทนํา

สืบเนื่องจากการศึกษาวิจัยเรื่องศิลปะทองถ่ินทางพระพุทธศาสนาในเขตอําเภอแมทะจังหวัด

ลําปาง โดย ศูนยโบราณคดีภาคเหนือคณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม และวิทยาลัยอินเตอรเทคลําปาง

เมื่อป พ.ศ. 2551 เพื่อใหการขยายผลจากการศึกษาดังกลาวทางดานงานพุทธศิลป ที่แฝงดวยคติความเชื่อ

ของทองถ่ิน จึงไดเกิดโครงการศึกษาวิจัยเรื่อง “การศึกษาเปรียบเทียบงานศิลปกรรมทางพระพุทธศาสนา

ของชุมชนไท เมืองเชียงตุง รัฐฉาน สหภาพพมา และชุมชนแมทะจังหวัดลําปาง” โดยเฉพาะแนวคิดที่เปน

พื้นฐานทางดานสังคมคือ การนับถือผี เปนสิ่งท่ียึดเหนี่ยวจิตใจในภาคพื้นเอเชียอาคเนยในเขตภูมิภาคนี้

โดยเฉพาะในหลาย ๆ ประเทศไมวาจะเปนอินเดีย, พมา, เขมร, ลาว, มาเลเซีย การนับถือ “ผี” หรือสิ่งที่

เหนือธรรมชาติที่ไมสามารถอธิบายใหเปนรูปธรรมได แตจะแสดงออกทางดานสัญลักษณและมีความเชื่อ

ในแนวคิดด้ังเดิมที่สามารถกําหนดใหเกิดระเบียบ ขอปฏิบัติและสามารถทําใหชุมชน(เมือง) เกิดแนวคิด

และยึดถือเปนธรรมเนียมของเมือง เพื่อใหไดมาซึ่งการพัฒนาในรูปแบบการปกครองของนครรัฐ ความเชื่อ

การนับถือ “ผี” มักจะแสดงออกทางดานพิธีกรรมที่แฝงดวยพื้นฐานทางดานการเกษตร สัญลักษณของ

ความอุดมสมบูรณความเจริญในทุกๆดานจะเห็นไดวา “ผี” นั้นเปนเรื่องของกฎทางธรรมชาติท่ีไมสามารถ

ระบุเหตุการณใหเกิดขึ้นแตอาศัยปาฏิหาริย หรือจังหวะของการดํารงชีวิตของมนุษยในชีวิตประจําวัน โดย

การอธิฐาน การขอรอง หรือการออนวอนตอสิ่งศักด์ิสิทธิ์เหนือธรรมชาติ ท่ีเปนนามธรรม เชน การนับถือ

แมน้ํา ภูเขา และ ตนไมใหญ ในภาคพื้นเอเชียอาคเนยเปนความคิดด้ังเดิมของมนุษย เชน แนวคิดการ

นับถือตนไมใหญท่ีมีชีวิต มีวิญญาณสิงสถิตอยู วิญญาณนั้นสามารถท่ีจะใหคุณประโยชนและโทษตอ

สังคมและมักจะอยูในเงื่อนไขที่มนุษยสรางขึ้นเพื่อทํารายหรือเกิดเหตุการณที่พิเศษ และอาจเกิดภัยพิบัติ

หรือลางราย ได ถาสังคมหรือชุมชนไมประพฤติปฏิบัติตามเงื่อนไขท่ีสังคมไดกําหนดขึ้น

เน้ือหา

เมืองเชียงตุงเปนเมืองอยูกลางหุบเขาและมีความสัมพันธกับเมืองตาง ๆ ในลานนา ในบริบท

ประวัติศาสตรต้ังแตสมัยรัฐจารีตจนกระทั้งกลายเปนรัฐบรรณาการของเมืองท่ีเรืองอํานาจขึ้นทั้งเชียงใหม

เชียงรุง,อังวะและพมาในท่ีสุด “ผี” ในเมืองเชียงตุงท่ีมีความหลากหลายชาติพันธุ การปรับเปลี่ยน ทางดาน

การปกครองและระบบความเชื่อของคนในเมืองเชียงตุงอยางไรก็ตามแนวคิดและความเชื่อทางดาน

พิธีกรรมท่ีผสมผสานกับแนวคิดทางดานพุทธศาสนาซึ่งปรากฏใหเห็นไดอยาง กลมกลืน โดยสามารถศึกษา

ถึงการเปรียบเทียบการนับถือผีในนครรัฐเชียงตุงจากหลักฐานตาง ๆ ดังนี้

1. บุคคล ยังมี รางทรง, กอพะกาเมืองหรือสภาวัฒนธรรมเมืองเชียงตุง1

2. พิธีกรรม ปรากฎ พิธีสงเคราะหประกอบพิธีการสืบชะตา, การสรงน้ําไมศรีหลวง เปนตน

เชน ตนไมใหญ (ไมหมายเมือง) หนองนํ้า เปนตน _______________ 1 กอพะกาเมือง หรือ สภาวัฒนธรรมเมืองเชียงตุงมีหนาท่ีใหคําปรึกษางานดานศาสนา วัฒนธรรมและเปนผูจัดพิธีกรรมสําคัญๆ

ในเมืองเชียงตุง

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

163

สําหรับวัดซึ่งเปนสวนหน่ึงขององคประกอบท่ีสําคัญของเมืองนอกจากเปนศูนยกลางทางพุทธศาสนา

แลวยังเปนที่สิงสถิตของเทวดาในการทําหนาท่ีรักษาเมืองเชียงตุงนอกจากน้ีสําหรับหนองน้ําใหญซึ่งถือเปน

องคประกอบสําคัญของเมืองก็มีเทวดารักษาหนองน้ําดวย หรือประตูเมืองที่มีทั้งหมด 12 ประตู2 พบวามี

เทวดารักษา เชน ประตูเจนเมือง การใหความสําคัญของตนยางซึ่งเปนไมหมายเมืองที่จอมมน ปรากฏวามี

หอเทวดาอยูคูกับตนไมหมายเมืองดวย การนับถือรุกขเทวดาหรือเทวดาที่รักษาตนไมเปนคติการนับถือ

อารักษตามแบบแผนความเชื่อที่ปรากฎอยูในภูมิภาคเอเชียอาคเนย ที่มักจะใหความสําคัญกับ ตนไม

ใหญดวยถือเปนที่สถิตของเทวดาอารักษ ทั้งตนไมใหญที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ หรือตนไมที่มีอยูคูหมูบาน

ก็จะมีหอเทวดา อารักษสิงสถิตอยูโดยจะมี มีประเพณีเลี้ยงผีเปนประจําทุกๆ ป เพื่อใหเทวดาเหลานั้นทํา

หนาที่ปกปกรักษาผูคนในชุมชนใหอยูเย็นเปนสุข

เมืองเชียงตุงมีความหลากหลายทางชาติพันธที่ดําเนินชีวิตและวัฒนธรรมรวมกันในสังคมผานการ

เวลาซึ่งมีความเปลี่ยนแปลงทางการเมืองและสังคมวัฒนธรรม แตสิ่งหนึ่งที่ชาวเชียงตุงยังคงรักษาสืบทอด

ยึดถือปฏิบัติสืบตอมาคือการนับถือเทวดาท่ีปรากฎอยูตามจุดตาง ๆ ของเมืองเชียงตุงซึ่งถือเปนพื้นที่

ศักด์ิสิทธิ์ท่ีชาวเมืองยังใหความเคารพ โดยแตเดิม “เจาฟา” เปนผูดูแล ซึ่งการนับถือเทวดาถือเปนหนาท่ีท่ี

ตองปฏิบัติเพื่อใหเกิดความเจริญ ไมทําใหเกิดความเสื่อมตอบานเมือง

ในเมืองเชียงตุงมีเทวดารักษาเมืองที่สําคัญทั้งหมด 8 แหง คือ

รูป 1 หอเจาแสงติบ หรือ หอไมศรีเมือง

_______________ 2สืบศักดิ์ แสนยาเกียรติคุณ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม แบบแผนงานศิลปะ สถาปตยกรรมของพุทธสถานใน

เมืองชียงตุง รัฐฉาน สหภาพพมา ดุษฎีนิพนธ สาขาภูมิภาคลุมนํ้าโขงและสาละวินศึกษา

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

164

1. เทวดารักษาไมสะหรีใจเมือง(ไมศรีใจเมือง) เปนที่ต้ังหอเทวดาท่ีสําคัญมากของเมืองเชียงตุง

เพราะมีตนไมศรี (ตนโพธิ์) อันเปนตนไมศักด์ิสิทธิ์ประจําเมือง โดยมีเทวดารักษาคือ เจาแสงทิพย (เจาแสงติบ)

เจาผาปน และเจาคําไว

ประเพณีเลี้ยงเทวดารักษาเมืองเชียงตุงและรักษาตนไมศรีเมือง จะจัดในชวงเทศกาลสงกรานต

ในเดือนเมษายนและอีกครั้งในชวงกอนวันเขาพรรษา แตละชุมชนจะนําหมู ปลา ไก และไข พรอม

พวงดอกไมมาถวายตามในวันที่กอพะกาเมืองเปนผูกําหนดพิธีนี้3

กอพะกาเมืองเปนผูดําเนินการ ทางเชียงตุงเรียกงานนี้วา “งานกะชุนยองเยสูนปอย” เปนธรรมเนียม

ปฏิบัติที่ผสมผสานระหวางการนับถือเทวดา (ผี) และการนับถือพุทธศาสนาในเวลาเดียวกัน โดยกําหนด

เอาวันสําคัญทางพุทธศาสนา (วันวิสาขบูชา) เปนการกําหนดวันสรงน้ําในเวลา 4 โมงเย็น ชาวเชียงตุง

ยังนําขาวปลา อาหาร ขนม และผลไมมาถวายรวมถึงการสืบชะตาและ มักจะนิยมนําไมคํ้าชะตามาคํ้าท่ี

ตนโพธิ์ ซึ่งเปนธรรมเนียมปฏิบัติที่คลายกับชาวลานนา (ภาคเหนือตอนบน)

2. เจาหลวงกาด (หอเจาฟา) อยูบริเวณหนาหอเจาฟา มีประเพณีเลี้ยงเทวดาเมือง ประมาณ

เดือน 5 แรม 10 คํ่า ประมาณเดือนมีนาคม เน่ืองจาก หอเจาหลวงกาดเปนท่ีเก็บศาสตราวุธของเจาฟา

ในอดีตเมื่อถึงงานประเพณี จะนําเอาศาสตราวุธออกมารวมทําพิธี ในการเลี้ยงเทวดา(เจาหลวงกาด)

ในอดีตเจาฟาจะเปนเจาภาพ

_____________________

3 สัมภาษณ นายแสงคํา คงแสงจึง เลขานุการกลุมศาสนาวัฒนธรรม สภาวัฒนธรรมเมืองเชียงตุง (กอพะกาเมือง), วันท่ี

9 พฤษภาคม 2552

รูป 2 ลานกวาง บริเวณ หอเจาหลวงกาด หรือ

เรียกวา “เจาหลวงหัวกาด”

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

165

3. เทวดาท่ีโปงหนองราย (อยูบนจอมมน) เปนเทวดาเมืองที่รักษาตนยาง หรือ ไมหมายเมือง

มีประเพณีเลี้ยงเทวดา ในชวงเดือนเมษายน ในเทศกาลสงกรานต ปจจุบันหอเทวดาโปงหนองรายไดมีการ

นําพระพุทธรูปมาประดิษฐานไวภายใน ทําเลที่ต้ังหอยังเปนตําแหนงเดิม

เจาหลวงหัวกาด

4. เจากาง (เทวดาเจากาง หนองตุง) อยูทางทิศใตของหนองตุงทําหนาท่ีเปนเทวดารักษา

หนองตุงซึ่งเปนหนองน้ําใหญกลางใจเมืองซึ่งในอดีต ชาวเชียงตุงจะใหความสําคัญมากโดย เจาฟาจะตอง

มาทําการเลี้ยงเทวดาดวยตนเอง ประมาณเดือน 3 หรือ มกราคม

5. เจาหลวงเจน(หอเทวดาเจาหลวงเจน) “เจน” เปนภาษาไทยเขินหมายถึงปกปองรักษา4 อยู

ทางทิศใตของเมืองเชียงตุง จากการบอกเลาของแมบัวคํา อายุ 67 ป อยูบานนอยหนอ “ถาใครมีโทษหนัก

หรือทําไมดี ทําใหตอบานเมืองเสื่อมเสียตองเอาคนไปฆาเพื่อแลกชีวิตของตนเอง หรือในการนั่งเมืองซึ่ง

หมายถึงการขึ้นครองนครเชียงตุงหรือการนั่งเมืองตองประกอบพิธี “ปกเสาเจนน่ังเมือง”5 แตไดยกเลิกแลว

หลังจากเปลี่ยนรูปแบบการปกครอง คงเหลือแตประเพณีการเลี้ยงเจาหลวงเจน ประมาณเดือน 8 กอน

เขาพรรษา

______________________ 4 นายทวี สวางปญญากูร “พงศวดารเมืองเชียงตุง” หนังสือแจกเปนบัตรพลีงานพระราชทานเพลิงศพ เจาแมทิพวรรณ

ณ เชียงตุง 27 มกราคม 2533 , หนา 33 5 เจาฟาเมื่อจะขึ้นคลองเมืองเชียงตุงตองประกอบพิธีบวงสรวงเทวดา ท่ีรักษาเมืองกอนทําพิธีอ่ืน ๆ

รูป 3 พระพทุธรูปประดิษฐานในหอเดิม

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

166

6. เจาฟากุม หรือ เจาฟุง (น้ําปุง) อยูบริเวณปากทางเขาเมืองเชียงตุง ตรงทางเขาบอน้ําพุรอน

ในอดีตในชวงฤดูหนาว เจาฟาพรอมขาราชบริพาน มักจะไปอาบนํ้าที่บอน้ําฟุง บอน้ํารอน และถือโอกาสไป

เลี้ยงเทวดาเมือง ปจจุบันการเลี้ยงเทวดาน้ําปุง ยังกําหนดเวลาตามอยางในอดีต ยึดเอาชวงฤดูหนาวไป

เลี้ยงเพื่อขอใหชาวเมืองเชียงตุงอุดมสมบูรณในการเก็บเก่ียวทางการเกษตร

7. เจาสิงหคี เปนเทวดาเมืองที่ชาวเชียงตุง ไปอาราธนาเชิญมาจากเมืองพมามีหออยูใกล วัดมังกาละ

ทางทิศเหนือของเมืองเชียงตุงไมมีประเพณีการเลี้ยงประจําปแตมีการเซนสรวงโดยชาวชุมชนและชาวเมือง

8. กูเจาฟา ต้ังอยูบริเวณหนาหอเจาหลวงกาด ทางทิศเหนือของเมืองเชียงตุง เปนกู ประดิษฐาน

เถาอัฐิ อดีตเจาฟาผูครองนครเชียงตุง เชน เจาฟารัตนกอนแกวอินทรแถลง, เจาฟากองไต, เจาฟาแกมเมือง

และเจานางอ่ืนๆ ชาวเชียงตุงจึงยกยองและนับถือใหเปนเทวดาเมือง มีประเพณีสรงน้ํากูเจาฟาในชวง

วันสงกรานตของทุกๆป

นอกจากเทวดาท่ีรักษาเมือง ทั้ง 8แหงแลว ชาวเชียงตุงยังใหความสําคัญกับเทวดาท่ีรักษาวัด

แชนเดียวกับกับเทวดารักษาเมือง ซึ่งในอดีตเจาฟาจะเปนผูดูแล และไปประกอบพิธีเลี้ยงเทวดารักษาวัด

ดวยตนเองเมื่อถึงเวลาที่กําหนดขึ้น เชน

1. วัดพระธาตุจอมศรี อยูทางทิศใตของเมืองเชียงตุง เดิมเปนวัดของชาวไทเขิน (ไต) ปจจุบัน

เปนของชาวไทใหญ เทวดาที่รักษาวัดพระธาตุจอมศรี มีหอเทวดาอยูบริเวณนอกวัด ทางทิศตะวันออก

ทางดานซายของถนนเขาวัด มีทั้งหมด 4 หอ คือ หอเจาแสงขาว, หอเจาหลวงมหาสุวรรณ, หอเจาเกาเมือง

หอเจาดอยเมือง เปนเทวดาที่รักษาภูเขา และตนไมทั้งหมดบนดอยจอมศรี อีกทั้งมีหนาที่ปกปองรักษา

พระธาตุจอมศรีดวยมีประเพณีเลี้ยง 2 ครั้ง ครั้งแรก ในวันขึ้น15คํ่า เดือน 4 มน ตรงกับเดือนมีนาคม

เปนวันสรงนํ้าพระธาตุดวย การถวายอุทิศให (ตานหา) ดวยผลไมและขนม ครั้งที่ 2 ในวันแรม 15 คํ่าเดือน

7 ตรงกับเดือนมิถุนายน มีประเพณีเลี้ยงหมู 1 ตัว ไก 2 ตัว ผลไมตาง ๆ ที่หอเจาแสงขาวมีรางทรงเรียกวา

หมอลง คือนางหลั่น ชาวบานบวกครกโดยมีการลงทรงเปนประจําทุก ๆ ปของประเพณีเดือน 7 ดับ (แรม

15 คํ่า) ปจจุบันไดยายหอเจาแสงขาวจากบานบวกครก มาอยูรวมกับหอเจามหาสุวรรณและหอเจาเกา

เมืองจึงมีการเลี้ยงครั้งที่สอง6

_______________________ 6สัมภาษณ อายยี่ติ๊บ บานบวกครก เมืองเชียงตุง วันท่ี 10 พฤษภาคม. 2552

รูป 4 หอเจาฟาและกูอัฐิเจานายและเจานาง

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

167

- หอเจาแสงขาว มีรูปปนเทวดาชายนั่งชันเขา (ใสชุดสีขาว) ไมมีผาทรง ภายในหอ มีเครื่องบูชา

เชน น้ําตน แจกันดอกไม ไมตุง เปนเครื่องบูชาอยูบนแทน

รูป 5 หอเจาแสงขาว (ยายมาจากบานบวกครก)

- หอเจาหลวงมหาสุวรรณ ไมมีรูปปน แตมีแทนวางเครื่องบูชา โดยในแจกันใสใบหมากปู

ซึ่งคลายกับหอผีในเขตลานนา โดยเฉพาะในเขตอําเภอแมทะ จังหวัดลําปาง

รูป 6 เคร่ืองสักการะในหอเจาลวงมหาสุวรรณ

- หอเจาดอยเมือง (รอยเมือง) เปนหอ ขนาดเล็กมีเสาเดียวคลายหอเทวดาทั่วๆ ไป อยูระหวาง

หอเจาแสงขาว และหอเจาเกาเมือง

_______________________

6สัมภาษณ อายยี่ติ๊บ บานบวกครก เมืองเชียงตุง วันท่ี 10 พฤษภาคม. 2552

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

168

- หอเจาเกาเมือง มีรูปปน เทวดาชาย – หญิง 2 องค มีผาคลองสีตางๆ มือถือมีดดาบ มีผาโผก

ศรีษะคลายนักรบ ภายในหอ ยังปรากฏเครื่องดนตรี นํ้าตน แจกันดอกหมากปูและรูปปนเสือไวคอย

ปกปองรักษาหอ

2. วัดพระธาตุแสงเมือง มีหอเทวดาอยูทิศเหนือของวัด อยูนอกเขตวัด คือ

- หอเจาเกาเมือง อยูทางทิศเหนือของวัด หอ อยูทางดานซายมือของทางขึ้นพระธาตุใตตนโพธิ์

ใหญ มีรูปเทวดาปูนปน 3 องค มีรูปเทวดาเปนปูนปนหญิง 1 องค มือถือ มีดดาบ มีผาคลองคอ ผาโพก

ศีรษะสีขาว รูปปูนปนเทวดาชาย 2 องค มือถือดาบ ภายในหอ มีรูปเสือ 2 ตัว เครื่องบูชาที่ชาวบานนํามา

ถวายจะใสถุงและนําไปแขวนไวท่ีมือของเทวดา

- หอเจาหวย เจาดอย (เจาลอย) อยูทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของวัดพระธาตุแสงเมือง

หอเจาหวย เจาดอย อยูทางขวามือของทางขึ้นวัด เปนเทวดาที่ทําหนาท่ีรักษาวัด หวยและดอย โดยมี

ประเพณีการเลี้ยงดวย ควายเปนประจําทุกป และชาวบานจะมีการเลี้ยงทุกขึ้น-แรม 15คํ่า มีรูปเทวดาปูนปน

มือถือดาบ มีผาคลองคอ มีเครื่องแตงกายท่ีตางจากรูปปนเทวดาที่อ่ืนๆ คือมีหมวกทรงแหลม (กระโจม)

คลายชฎาของกษัตริยหรือเจาฟา ภายในหอมีรูปมา และรูปเทวดาองคเล็กอยูบนผนัง

รูป 7 เทวดาชาย-หญิง ภายในหอเจาเกาเมอืง

รูป 8 เทวดาปูนปน 3 องคภายในหอเจาเกาเมือง

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

169

3. วัดพระธาตุจอมดอย มีเทวดารักษาพระธาตุอยูทิศตะวันออก บริเวณทางขึ้นพระธาตุ ภายในหอ

มีรูปปนชาย-หญิง น่ังหันหนาเขาหาพระธาตุ ยังมีเทวดารักษาพระธาตุท่ีเปนตํานาน ถึงปจจุบันมีเศรษฐี

สองผัวเมีย เปนเจาผูศรัทธาสรางพระธาตุจอมดอยในเวลานั้น เจาฟาสั่งใหชาวบานทั้งหมดไปชวยกันสราง

กําแพงเมือง แตสองผัวเมียเศรษฐี ขึ้นมาสรางพระธาตุ ไมไดไปสรางกําแพงตามคําสั่งของเจาฟา ความรูถึง

เจาฟาๆ จึงสั่งประหารชีวิตสองผัวเมียนั้น สองผัวเมียกอนจะโดนประหารชีวิต ไดอธิฐานไมใหเจาฟาหรือ

เจาผูครองนครเชียงตุงไดขึ้นมาไหวพระธาตุจอมดอย อีกมีเรื่องเลาวาครั้งหนึ่งเจาฟา จะขึ้นมาไหวพระธาตุ

แตไมสามารถขึ้นมาได เพราะชางไมยอมขึ้น จึงไมไดขึ้นมาไหวต้ังแตนั้นมา ภายในบริเวณลานพระธาตุ

ปรากฏหอเทวดาที่มีรูปปนของสองผัวเมียเศรษฐี ชาวบานจึงยกยองสองผัวเมีย เปนเทวดารักษาพระธาตุ

รูป 9 เทวดาปูนปนภายในหอเจาหวย เจาดอย

รูป 10 เทวดารักษาพระธาตุจอมดอย

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

170

4. วัดพระธาตุ จอมทอง มีเทวดารักษาพระธาตุสรางเปนหอ (ศาล) อยูทางทิศใตของวัด และอยู

ในบริเวณวัด ไมมีรูปปนเทวดา ชาวบานจะนําผลไม มาถวายเกือบทุกวัน

วัดในเมืองเชียงตุงยังปรากฏหอเทวดาที่อยูภายในวัดนิยมทําเปน 5 ชอง เพื่อใสเครื่องบูชา มักจะ

ต้ังอยูหนาพระวิหารบางวัดยังปรากฏหอเทวดาที่มีรูปปูนปนขนาดเทาของจริงอยูหลายๆ หอ ภายในวัด

เดียว บางวัดนิยมที่จะทําหอพระอุปคุต การนําเครื่องบูชา และอาหารคาว-หวานมาถวายในทุกๆ วัน 15

คํ่า แรม 15 คํ่า

เทวดาที่รักษาหมูบานหรือชุมชน มักเรียกวา “หอเทวดาบาน” จะปรากฏอยูตรงทางแยกเขา

หมูบานหรือกลางหมูบาน บางแหงจะอยูติดตลาดและเปนที่สาธารณะหรือบริเวณที่มีพื้นที่โลงกวางจะสราง

เปนหอ ใหญและมักจะอยูใตตนไมใหญ (ตนโพธิ์) และปนรูปเทวดาแตงตัวคลายกษัตริย (เจาฟา) จะมี

ชาวบานนําอาหารคาว–หวานมาถวายเกือบทุกวัน การบูชาดวยชองตุง ดอกไมธูปเทียน น้ําตน แจกัน

ดอกไม

เทวดารักษาบอนํ้าทิพยทางเขาวัดยางกวงหรือที่เรียกวา” เทวดาบอนํ้าออย” เปนบอน้ําที่สําคัญ

ของชาวเชียงตุงเจาเมือง (เจาฟา) มักจะนํานํ้าบอออยไปประกอบพิธีกรรมที่สําคัญและน้ําที่บอนี้มีรสหวาน

กวาน้ําบออ่ืนๆ เปนหอท่ีสรางขึ้นครอบตนโพธิ์มีรูปเทวดาปูนปนชาย–หญิงอยูดานใน มีประเพณีเลี้ยง

ประมาณเดือน 9 (กอนเขาพรรษา) ในอดีตเจาฟาตองมาเลี้ยงเทวดาน้ําบอออย และเดือน 8 จะมีพิธีเลี้ยง

ใหญมักจะนําหมูมาเลี้ยงหรือนําไกมาเลี้ยง เปนประเพณีที่ของชาวเชียงตุงทํากันในทุก ๆ ป

รูป 11 หอเทวดาบานใตตนโพธิ์ใหญ

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

171

รูป 12 เทวดารักษาบอน้ํากลางหมูบาน

เทวดาที่รักษาภายในหมูบานบางแหงจะสรางเปนหอ (ศาล) ภายในบริเวณที่มีรั้วรอบขอบชิด

มีเทวดาหลายองคท่ีอยูพื้นที่เดียวกัน หอ (ศาล) ที่สําคัญมักจะมีผูคนมาบูชาทุกวัน เครื่องบูชามักจะเปน

กลวย มะพราว ธูปเทียน บางแหงก็มีหลักชาง หลักมา ในเชียงตุง จะพบหอเทวดาบานอยูทุกหมูบานจะมี

ประเพณีการเลี้ยงแลวแตการกําหนดของแตละหมูบาน

เทวดารักษาภายในบาน ในเชียงตุง ไมนิยมท่ีจะหอเทวดาอยูในบาน แมจันต๊ิบอายุ 50 ป อาชีพทํา

เครื่องเขิน กลาววา “ในเชียงตุงจะนิยมทําหอเทวดาไวหนาบาน สรางดวยปูน ทําเปนชองเปดดานหนา

คลายกับหอเทวดาวัด แตมีชองเดียว ภายในหอไมนิยมมีรูปปนเทวดา มีเครื่องสักการะ เชน น้ําตน แจกัน

ดอกไม ชอตุง จะถวายนํ้าและอาหารทุกเชา เพราะที่บานแมจันต๊ิบทําการคาและมีอาชีพทําเครื่องเงิน ทํา

เครื่องเขิน มีความเชื่อวา เทวดาจะคอยชวยใหครอบครัวคาขายดี”

รูป 13 หอเทวดารักษาภายในบาน

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

172

ชาวเชียงตุงยังใหความสําคัญของการปองกัน ปกปอง เชนการนําใบไมมงคลและทํา”ตะแหลว”

เพื่อปองกันผีปอบ ผีกะ และไมใหคนในครอบครัวลมปวย เชน เสนหญาคา, หญาแพรก, ใบพุทรา (ใบบะตัน)

ใบมะกลวยกา (ใบฝรั่ง) ใบดอกแมงแข (ใชใบดอกอะไรก็ได) ใบดอกบุญนากและใบมะเก๋ียง ทั้งหมด

7 ชนิด มัดเปนกํา ผูกติดกับตาแหลว ใสไวที่ประตูบาน หรือประตูเมือง ปหน่ึงใส 2 ครั้ง และจะเปลี่ยนตอน

สงกรานต และเมื่อบานมีงานศพ เมื่อนําศพออกจากบานแลว ก็จะนําเครื่องพิธีเหลาน้ีมาติดไวที่หนาประตูบาน

และนําน้ําสมปอยมารด เพื่อปองกันผีราย7

การประทับทรง หรือเรียกวา “หมอลง” จากการสัมภาษณ แมบัวคํา (2552) กลาววา เทวดาจะ

เลือกผูที่มีผมหอม และไดรับคัดเลือกก็จะอาราธนาลงผูที่เทวดาเลือก เปนรางทรง8 จากการศึกษาพบ

รางทรง ชื่อ นาง ตอตันจี่ อายุ 75 ป อยูบานปาแดง (ใกล ตม. เชียงตุง) เปนหมอลงมาได 40 ป เปน

ชาวพมา มีเชื้อสายของชาวอินเดีย (แขก) ลูกสาวมาแตงงานที่เชียงตุงและตามลูกมาอยู ลงเทวดา 37 องค

รวมถึงเจาเกาเมือง บานสรางดวยดิน ทางทิศใตของบานมีหอเทวดา อยูใตตนไมใหญ

ภายในบาน มีห้ิงบูชาและหองนอนอยูบริเวณเดียวกัน บนหัวนอนพบวามีหิ้งพระอยูดานบน และ

หิ้งเทวดา (เจาแมการี) และเครื่องบูชา ดอกไม ธูปเทียน มะพราว กลวย เมี่ยงบุหรี่ น้ําอัดลม และขนม

ตางๆ ทําเปนชั้นอยูดานลาง มีผูชวย “หมอลง” คอยรับใชเทวดาที่มาประทับทรง เทวดาลงมาเพื่อ

ชวยเหลือมนุษยเพื่อบอกสิ่งรายใหกลายเปนดีและบอกถึงการสงเคราะห ไมมีประเพณีการฟอน จะประทับ

ทรงทุกวัน โดยเฉพาะวันเสารจะประทับทรงท้ังวัน

_______________ 7สัมภาษณ นางจันทรติ๊บ บานจอมมน,วันท่ี 10 พฤษภาคม 2552 8สัมภาษณ นางบัวคํา บานปาแดง, วันท่ี 10 พฤษภาคม 2552

รูป 14 ตอตันจี่ “หมอลง”

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

173

การตานกองทราย การบูชาเทียนไฟ หรือพิธีสงเคราะห ชาวเชียงตุงยึดถือปฏิบัติเปนประจําทุกป

โดยเฉพาะชาวเชียงตุงท่ีนับถือศาสนาพุทธ ชวงระยะเวลา 1 ป มีความเชื่อวา มนุษยเราจะมีเคราะหหรือมี

สิ่งเหนือธรรมชาติที่สามารถทําใหชีวิตเจ็บปวย หรือทําใหคนครอบครัวลมปวยลง มักจะทําพิธีเปน

ครอบครัว ชาวเชียงตุงนิยมท่ีจะมาทําพิธีนี้ ท่ีวัดพระสิงห โดยใหผูแทนครอบครัวเปนผูทําพิธีแทนเปน

ตัวแทนอายุของคนในครอบครัวรวมกันอยูรอบๆ โดยมี เทียนบูชาเคราะห อยูตรงกลาง ชาวเชียงตุงเรียก

พิธีนี้วา “สงราหู” “สงธาตุท้ังสี่” เครื่องพิธีจะอยูในซุมไมออสามขา มีสะตวง 9 หอง หรือที่เรียกวา

“สงภาพ”

เคร่ืองประกอบพิธีกรรม ในการสืบชะตา ท่ีวัดใหมนาหลวง (เมืองมา) การทําในสะตวง 9 หองอยู

ในซุมไมออ 4 เลม ในสะตวง ประกอบดวย กลวยดิบ, ขาวเปลือก, ดอกไม, ชอขาว, ขาวตม ขนม, ตุงรูป

เทวดา (เขียนคาถาประจําทิศ) เทียน (สีสาย) 4 เลม หองตรงกลางสะตวง เขียน วัน เดือน ป เกิดของผูที่จะ

สงเคราะห ตนกลวย ตนออย เปนตน9

จากการศึกษาแนวคิด ความเชื่อการนับถือผี ในเขตภาคเหนือตอนบน อําเภอแมทะ จังหวัดลําปาง

มีแนวคิดและคติ ท่ีแฝงอยูในวิถีชีวิต ประจําวันของสังคม ซึ่งตางก็ใชสัญลักษณ ท่ีพบเห็นและอยูกับ

ธรรมชาติ เชน ตนไมใหญ, หนองน้ํา, แมน้ํา, ภูเขา ฯลฯ ประกอบกับการใชความคิด การสัมผัสผาน

ความรูสึกท่ีเปนนามธรรม ที่ไมสามารถพิสูจนได เปนการสรางสัญลักษณใหสัมผัสได เปนรูปธรรม ผาน

การแสดงออกทางดาน พิธีกรรม การสรางสิ่งศักด์ิสิทธิ์ ใหรับรูและสัมผัสไดเชน การสรางรูปเคารพ การ

สรางหอ หรือ การประทับทรง โดยใช มนุษย เปนสื่อระหวางสิ่งเหนือธรรมชาติ กับการรับรูที่ผูคนในสังคม

ตองการความชวยเหลือ ใหไดมาซึ่งความอุดมสมบูรณทางการเกษตร ไมใหเกิดภัยพิบัติในชุมชน ในเขตเมือง

_______________ 9 สัมภาษณ พอยี่ติ๊บ,วัดพระสิงห เชียงตุง, วันท่ี 7 พฤษภาคม 2552

รูป 15 สะตวง 9 หอง หรือ “สงภาพ”

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

174

ความตองการเหลานี้ เปนพื้นฐานความคิดที่คลายกันกับการนับถือเทวดาเมืองเชียงตุง โดยมีพิธีกรรมทาง

ศาสนาเขามามีบทบาทผสมผสานจนกลายเปนประเพณีท่ียึดถือสืบตอมาจนถึงปจจุบัน เชน

การนับถือตนไมใหญท่ีเชียงตุง จะใหความสําคัญกับไมยาง ที่เรียกวา “ไมหมายยาง” หรือ “ไม

หมายเมือง” อยูบนดอยจอมมน เปนตนไมใหญที่มีตนเด่ียว ตนเดียว มีลําตนสูงต้ังตรง และมักจะไมอยู

เปนกลุม หรือเปนตนโพธิ์ใหญตนเดียว เปนตน การนับถือตนไมใหญในเขตอําเภอแมทะจังหวัดลําปางนั้น

มักจะใหความสําคัญกับกลุมตนไมใหญ ท่ีเรียกวา “ดง” แตสิ่งท่ีแสดงถึงความเคารพตอตนไมใหญคือมี

ความเชื่อวา ที่ตนไมมีเทวดารักษา ที่อําเภอแมทะ จังหวัดลําปาง มักจะนําผาสีตางๆ ผูกไว และสรางหอ

(ศาล) ไวกลางดงไมใหญนั้น มีประเพณีการเลี้ยงประจําปที่กําหนดวัน เดือน ป อยางชัดเจน มีระเบียบ

แบบแผนการเลี้ยง โดยผานรางทรง ซึ่งที่เมืองเชียงตุงน้ัน ไมมีกําหนดวันที่ชัดเจน แตจะกําหนดเดือนในการ

เลี้ยง ไมผานรางทรง หรือ “หมอลง” การเลี้ยงเทวดาเมืองจะดูแลโดยชาวบานนําขาวปลา อาหารมาถวาย

แทบทุกวัน โดยเฉพาะวันขึ้นและแรม 15 คํ่า

การนับถือเทวดารักษาเมืองเชียงตุง ที่สําคัญทั้ง 8 แหง จะอยูกระจายอยูท่ัวทั้งเมืองเชน ท่ีรักษา

หนองน้ํา คือเจากางหนองตุง รักษาประตูเมือง เชน หอเจาหลวงเจน หรือรักษาไมสะศรีใจเมืองเปนตน การ

สรางหอผี หรือหอเทวดามีทั้งที่สรางรูปเคารพและเปนหอใหญ มีเครื่องบูชา แตท่ีเมืองเชียงตุงมักจะนิยม ท่ี

จะสรางรูปเคารพเปนรูปชาย-หญิง มีเครื่องแตงกายคลายกษัตริย และมีชื่อระบุบอกไวอยางชัดเจนเชน

เจาแสงทิพย เจาผาปน เปนตน ซึ่งที่อําเภอแมทะ จังหวัดลําปางไมนิยมที่จะสรางรูปเหมือน หรือปนรูปไว

ขางในหอ ที่อําเภอแมทะ จังหวัดลําปาง จะเรียกวา “หอเจาพอบาน” รักษาแตละเขต มักจะอยูในดงไม

ใหญ และมีชื่อเทวดา เชน เจาพอปูบานหนามปูยา, เจาพอบานปงหอศาล หรือ เจาขอมือเหล็ก บานปาตัน

หลวง สิ่งที่ชาวบานยึดถือ และปฏิบัติคลายคลึงกันคือประเพณีสรงน้ํา10

ที่เชียงตุง เรียกวา “ประเพณีสรงนํ้าหอเทวดาเมือง” ในชวงประเพณีสงกรานต (ปใหม) ที่อําเภอ

แมทะ จังหวัดลําปาง จะเรียกวา “ประเพณีรดนํ้าดําหัวเจาพอบาน” แตที่อําเภอแมทะจังหวัดลําปาง

จะเชิญเทวดาประทับรางทรงเพื่อทําพิธีรดนํ้าดําหัว ท่ีเชียงตุงไมมีการประทับทรง หรือ”หมอลง” จะเปน

ขาราชการ (กอพะกาเมืองเชียงตุง) และชาวบานเปนผูประกอบพิธีสรงนํ้าเทวดาเมือง ทั้ง 8 แหง11

การนับถือเทวดาท่ีรักษาวัดท่ีเมืองเชียงตุงนั้น เชน วัดพระธาตุจอมศรี, วัดพระธาตุแสงเมือง,

วัดพระธาตุจอมดอย และวัดพระธาตุจอมคํา และวัดอ่ืนๆ ในเมืองเชียงตุง จะใหความสําคัญกับเทวดาท่ี

รักษาวัด ที่เรียกวา “เจาเกาเมือง” และ “เจาหวย” “เจาดอย” เนื่องจากวัดที่เชียงตุงอยูบนเนินสูง หรือที่

เรียกวา “จอม” เปนเทวดาท่ีรักษาหวย หรือ หนองนํ้า และรักษาภูเขาที่ประดิษฐานพระธาตุที่สําคัญของ

เมืองเชียงตุง และเจาเกาเมือง เปนเทวดาที่เปนผูกอต้ังริเริ่มสรางวัดที่อยูบนดอยตางๆ มักจะสรางรูปเคารพ

_______________ 10สัมภาษณ พอกํานันปุกคํา ตะมะพุฒ,อําเภอแมทะ วันท่ี 18 พฤษภาคม และ ดงแสงรัง เลขานุการกอพะกา (ศาสนาและ

วัฒนธรรมเชียงตุง) วันท่ี 7 พฤษภาคม 2552 11สัมภาษณ พอวาร ดวงทิพย ประธานกรรมการวัดนาตคหลวง อ.แมทะ วันท่ี 10 ตุลาคม 2552

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

175

ชาย-หญิง มีเครื่องแตงกายคลายนักรบ มักจะสรางหอเทวดาไวนอกบริเวณวัดหรือสรางหอเทวดาไวในวัด

สรางเปนหอเทวดามีหาชองซึ่งแตกตางจากหอเทวดาท่ีอําเภอแมทะ จังหวัดลําปาง ท่ีเรียกวา “หอผีเสื้อ

วัด” เปนหอผีของอดีตเจาอาวาสที่มรณภาพในวัดนั้น ไดอาราธนาใหมาดูแลรักษาวัด เชน หอเสือวัดบาน

เหมี้ยง, หอเส้ือวัดบานนาคต มักจะสรางหอไวในวัดบางวัด ยังมีหอผี ที่รักษาวัด ที่เรียกวา “กุมภัณฑ”

หรือเรียกวา “อาฮักษวัด” เปนเทวดาท่ีรักษาวัดจะมีหนาที่ปกปอง รักษา พื้นที่ของบริเวณวัดทั้งหมด12 วัด

ในเมืองเชียงตุง และวัดในเขตอําเภอแมทะจังหวัดลําปาง มีประเพณีการเลี้ยง เทวดาหรือผีเสื้อวัด ในชวง

ประเพณีการสรงน้ําพระธาตุเหมือนกันการนับถือเทวดาท่ีรักษาหมูบานและชุมชนในเมืองเชียงตุง เรียกวา “หอ

เทวดารักษาบาน” จะสรางอาคารใหญ หรือ “หอ” จะสรางดวยปูนหลังคาเปนโดม และสรางรูปเคารพไวขางใน

หอ เชน หอเทวดาบานเชียงขุม, หอเทวดาบานนอยนอ, หอเทวดานํ้าบอออย เปนตน ซึ่งที่อําเภอแมทะ จังหวัด

ลําปาง จะเรียกวา “หอผีเสื้อบาน” มักจะสรางเปนอาคารไม ยกพื้นสูง ไมมีการปนรูปเคารพแตมีประเพณี

การบูชาที่คลายกัน เชน การเลี้ยงดวยหมู, ไก, มะพราว และกลวย ชาวบาน มักจะมาขออธิษฐานเรื่อง

การเจ็บปวย หรือขอใหร่ํารวย และเรื่องอ่ืนๆ เมื่อประสบผลตามที่ขอไว จะนําอาหาร–คาวหวานมาถวาย

ทั้งที่เชียงตุง และท่ีอําเภอแมทะ จังหวัดลําปาง มีแนวคิดที่มีพื้นฐานเดียวกัน คือ ตองการใหปกปกษรักษา

และคุมครองใหคนที่อยูในชุมชน และในหมูบานอยูอยางมีความสุข

การประทับทรง ในเมืองเชียงตุง จะเรียกผูที่เทวดามาประทับทรงวา “หมอลง” และที่อําเภอ แมทะ

จังหวัดลําปางเรียกวา การ “ลงผ”ี และเรียกเทวดาท่ีมาประทับทรงวา “เจาทรง” หรือ “มาขี่” ซึ่งมีแนวคิด

ที่คลายกัน คืน ผูที่ไดรับเลือกเปนเจาทรงนั้น

เปนผูที่มีผมหอมและเปนคนสะอาด เรียบรอย มักเปนสุภาพสตรี จะไดรับคัดเลือกใหเทวดาประทับ

ทรงได แตที่อําเภอแมทะจังหวัดลําปาง เทวดาจะเปนผูที่ทําใหรางทรงเจ็บปวย ทําอยางไรก็ไมหายตองรับ

เปนรางทรงจึงจะหายจากการเจ็บปวยนั้น ซึ่งที่เมืองชียงตุง เมื่อรูวาผูใด เทวดาเลือกใหเปนรางทรงแลว

(จะมีอาการคลายคนบา) จะตองมีผูท่ีมาทําพิธี ที่เรียกวา “การอารธนาลง” เทวดา จึงประทับทรงได

เทวดาจึงมาประทับทรงไดท้ังท่ีเชียงตุงและที่อําเภอแมทะ จังหวัดลําปางนั้น การมาประทับทรงของเทวดา

มีวัตถุประสงคเดียวกัน คือ การมาเพื่อชวยเหลือมนุษย หรือมาบอกลางรายของบานเมืองของชุมชน และ

บอกถึงวิธีแกในรูปของพิธีกรรม เชน พิธีสงเคราะห ท่ีเชียงตุงจะเรียกวา “สงภาพ” ที่อําเภอแมทะ จังหวัด

ลําปาง จะเรียกวา “สงสะตวง” ซึ่งท้ังสองที่ทําจากกาบกลวยแบงเปน 9 หองเหมือนกัน และมีเครื่อง

ประกอบพิธีที่คลายคลึงกัน เชน ไมคํ้าสืบชะตา เมื่อเสร็จพิธีแลวมักจะนําไปคํ้าที่ตนโพธิ์ ท่ีวัดหรือที่ไหนก็

ไดที่มีตนโพธิ์ มีความหมายถึงการคํ้าชีวิตของตนเองครอบครัวและคํ้าชูพระพุทธศาสนา13

_______________ 12อนุกูล ศิริพันธุ “การศึกษาเคร่ืองประกอบพิธีกรรมของผีเจานายในเขตอําเภอแมทะ จังหวัดลําปาง “ 2533, หนา 44. 13พระครูสิริสุตาภิมนต “นานาสาระวาทะทักเทศฯ” คูมือการศึกษาพิธีกรรมลานนา มจร.ลําพูน ,2545.

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

176

จะเห็นวาความเชื่อการนับถือผีของเมืองเชียงตุงและอําเภอแมทะจังหวัดลําปางนั้น มีแนวความคิด

ที่อยูบนพื้นฐานจากความตองการของชุมชน นํามาเพื่อความสุขและความเจริญของบานเมือง

ผานขบวนการทางพิธีกรรม ผานตัวบุคคล ผานระบบการปกครองทางการเมือง การคาขายทางเศรษฐกิจท่ี

ทําใหความเชื่อผีและเทวดาอยูกับการดํารงชีวิตของผูคนท้ังสองเมือง และสิ่งหนึ่งที่ชาวเชียงตุงและ

ชาวอําเภอแมทะ จังหวัดลําปาง ยังไดใหความสําคัญกับพุทธศาสนาอยางเหนียวแนน ผสมกลมกลืน

ระหวางความเชื่อเรื่องผีและวิญญาณ ลัทธิเทวนิยม (ศาสนาพราหมณ) และพุทธศาสนา มีแนวปฏิบัติท่ี

คลายกัน ในความหลากหลายทางสังคม ความเชื่อ การนับถือผี และเทวดา ยังคงเปนสวนหนึ่งที่เปนเครื่อง

ยึดเหนี่ยวจิตใจของผูคนทั้งสองเมืองใหประพฤติปฏิบัติตามจารีต ประเพณีด่ังเดิมของบรรพบุรุษ ตามความ

เชื่อ ชนชาติ และศาสนาของเผาพันธุ จากอดีตสูปจจุบันยังคงสงตอใหกับลูกหลานและอาจจะมีการ

ปรับเปลี่ยนไปตามสถานการณของบานเมือง ทั้งที่เชียงตุงและที่อําเภอแมทะ จังหวัดลําปาง ในอนาคต

สืบตอไป

บรรณานุกรม

ทวี สวางปญญากูร. (2533). พงศวดารเมืองเชียงตุง: หนังสือแจกเปนบัตรพลีงานพระราชทาน

เพลิงศพ เจาแมทิพวรรณ ณ เชียงตุง. ม.ป.ท.: ม.ป.พ.

พระครูสิริสุตาภิมนต. (2545). “นานาสาระวาทะทักเทศฯ” คูมือการศึกษาพิธีกรรมลานนา. ลําพูน:

มจร.ลําพูนณัฐพลการพิมพ.

สืบศักด์ิ แสนยาเกียรติคุณ. (2552). แบบแผนงานศิลปสถาปตยกรรมในเมืองเชียงตุง – รัฐฉาน

สหภาพพมา. ดุษฎีนิพนธ สาขาภูมิภาคลุมน้ําโขงและสาละวินศึกษา.

อนุกูล ศิริพันธุ. (2533). การศึกษาเคร่ืองประกอบพิธีกรรมของผีเจานายในเขตอําเภอแมทะ

จังหวัดลําปาง. ม.ป.ท.: ม.ป.พ.

การสัมภาษณ

จายโหลง. บานหนองผากลางนา. สัมภาษณวันที่ 11 พ.ค. 2552.

แมจันต๊ิบ. บานจอมมน. สัมภาษณ เมื่อวันที่ 10 พ.ค. 2552.

อาย ย่ีต๊ิบ. บานบวกครก. สัมภาษณเมื่อวันที่ 10 พ.ค. 2552.

พอ ย่ีต๊ิบ,วัดพระสิงห เชียงตุง, สัมภาษณเมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม 2552.

พอกํานันปุกคํา ตะมะพุฒ, อําเภอแมทะ สัมภาษณเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม 2552

ดงแสงรัง เลขานุการกอพะกา (ศาสนาและวัฒนธรรมเชียงตุง) สัมภาษณเมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม 2552.

บัวคํา บานปาแดง สัมภาษณ วันที่ 10 พฤษภาคม 2552

พอวาร ดวงทิพย ประธานกรรมการวัดนาตคหลวง อ.แมทะ .สัมภาษณ วันท่ี 10 ตุลาคม 2552

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

177

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

178

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

179

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

180

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

181

คําแนะนาํในการเตรยีมและการสงตนฉบับ

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัย

ราชภัฏนครปฐมเปนวารสารที่เกิดขึ้นมาเพื่อรองรับการเผยแพรผลงานทางวิชาการ งานวิจัย วิทยานิพนธ

(ท้ังระดับปริญญาตรีและระดับบัณฑิตศึกษา) และองคความรูจากทองถ่ิน ภูมิปญญาชาวบาน ปราชญ

ชาวบาน ซึ่งเปนองคความรูท่ีสําคัญตอการขับเคลื่อนงานพัฒนาทองถ่ิน

การกําหนดระยะเวลาในการตีพิมพวารสาร

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตรมีกําหนดระยะเวลาการตีพิมพปการศึกษาละ

2 ฉบับ ไดแก ฉบับแรกต้ังแตเดือนมกราคมถึงเดือนมิถุนายน และฉบับที่สองต้ังแตเดือนกรกฎาคมถึงเดือน

ธันวาคม ผลงานที่จะลงตีพิมพในวารสารจะตองผานการกลั่นกรองจากผูทรงคุณวุฒิอยางนอย 2 ทาน

ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม บทความท่ีเจาของบทความเปนบุคคลภายนอก

ทางกองบรรณาธิการจะพิจารณาสงใหผูทรงคุณวุฒิท้ังภายในและภายนอกเปนผูกลั่นกรอง สําหรับ

บทความที่เจาของบทความเปนบุคคลภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม หรือเปนเจาของรวมทางกอง

บรรณาธิการจะพิจารณาสงใหผูทรงคุณวุฒิภายนอกเปนผูกลั่นกรองเทานั้น ทั้งนี้ ผูประสงคจะสงบทความ

ใหกรอกรายละเอียดในหนังสือนําสงบทความวิจัย พรอมกับสงตนฉบับเอกสารบทความจํานวน 3 ฉบับ

และ CD บทความวิชาการจํานวน 1 แผน

ประเภทของบทความ

1. บทความวิจัย หมายถึง บทความที่นําเสนอผลการวิจัยอยางเปนระบบ กลาวถึงความเปนมา

และความสําคัญของปญหา วัตถุประสงค การดําเนินการวิจัย ท้ังนี้ใหรวมถึงบทความจากวิทยานิพนธ

ภาคนิพนธ สารนิพนธ และการศึกษาอิสระ ทั้งในระดับปริญญาตรีและระดับบัณฑิตศึกษา

2. บทความวิชาการทีเปนองคความรูทองถ่ิน หมายถึง บทความหรืองานเขียนซึ่งเปนเรื่องที่

นาสนใจ เปนความรูใหม ถายทอดโดยปราชญชาวบาน และผูท่ีมีความเชี่ยวชาญในสาขาน้ันๆ และแสดง

ใหเห็นถึงเอกลักษณ ภูมิปญญาทองถ่ิน ประเพณีและวัฒนธรรมทองถ่ิน

3. บทความปริทรรศน หมายถึง งานวิชาการที่ประเมินสถานะลาสุดทางวิชาการเฉพาะทางท่ีมี

การศึกษาคนควา มีการวิเคราะหและสังเคราะหองคความรูทางกวางและทางลึกอยางทันสมัยโดยใหขอ

วิพากษที่ชี้ใหเห็นแนวโนมท่ีควรศึกษาและพัฒนาตอไป

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

182

4. บทความวิจารณหนังสือ หมายถึง บทความท่ีวิพากษวิจารณเน้ือหาสาระ คุณคา และคุณูปการ

ของหนังสือ บทความ หรือผลงานศิลปะ อาทิ นิทรรศการทัศนศิลป และการแสดงละครหรือดนตรี โดยใช

หลักวิชาและดุลยพินิจอันเหมาะสม

การเรียงลําดับเน้ือหา

1. ชื่อเรื่อง (Title) ตองมีทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ

2. ชื่อผูเขียน (Author) ตองมีทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ

5. บทคัดยอภาษาไทย ความยาว15-20 บรรทัด (300-350 คํา) จะแบงเปน 2 สวน คือ สวนแรกมี

หัวขอ ไดแก ชื่อเรื่องวิจัย และชื่อผูวิจัย สวนที่สองใหสรุปเน้ือหาของบทความทั้งหมดใหเขาใจ

ที่มาของการทําวิจัย วิธีการโดยยอ ผลที่ไดจากการวิจัย และนําไปใชประโยชนอยางไร และได

ผลลพัธอยางไร

6. คําสําคัญภาษาไทย ไมเกิน 5 คํา (ไมใชวลี หรือ ประโยค) เปนการระบุความสําคัญหลักใน

เนื้อเรื่องงานวิจัย ตองเปนคําศัพทที่สามารถใชในการสืบคนหรืออางอิงได

7. บทคัดยอภาษาอังกฤษ แปลจากบทคัดยอภาษาไทย มีขนาดและเน้ือหาเหมือนกับบทคัดยอ

ภาษาไทย

8. คําสําคัญภาษาอังกฤษ (Key words) แปลจากคําสําคัญภาษาไทย

9. บทนํา (Introduction) ชี้ใหเห็นความสําคัญของเรื่องที่ทํา และขอบขอบเขตของปญหาวิจัย

10. วัตถุประสงค (Objective) ระบุวัตถุประสงคการวิจัย หรือวัตถุประสงคเฉพาะที่นําเสนอใน

บทความวิจัยนี้

11. วิธีดําเนินการ (Method) อธิบายวิธีการดําเนินการวิจัยในสาระสําคัญท่ีจําเปน หากมีผูอ่ืน

ตองการทํางานวิจัยในลักษณะเดียวกัน สามารถอานและนําไปปฏิบัติตามไดโดยไมมีขอสงสัย

12. ผลการวิจัย/ขอคนพบ (Result/Finding) แสดงผลที่เกิดขึ้นจากการวิจัยโดยตรง ซึ่งอาจมี

ภาพประกอบ แผนภูมิ ตาราง หรือการสื่อในลักษณะอ่ืน ๆ ที่เขาใจไดงาย

13. อภิปรายผล (Discussion) อภิปรายและอางอิงใหเห็นวาผลการวิจัยดังกลาวนั้น ไดสรางองค

ความรูใหมในสวนใด และอธิบายปรากฏการณที่เกิดจากผลการดําเนินงานใหเห็นเปนรูปธรรม

ไดอยางไร เหมือนหรือแตกตางจาก

14. ผลการวิจัยอ่ืน ๆ

15. ขอเสนอแนะ (Suggestion) แนะนําการนําไปใช และแนะนําเพื่อนําไปตอยอดการวิจัย

16. สรุป (Conclusion) สรุปประเด็นขางตนทุกขอใหไดความกะทัดรัดประมาณ 1 ยอหนา

17. เอกสารอางอิง (Reference) ใชระบบการอางอิงแบบนามป (APA)

วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

183

การพิมพ ขนาดตัวอักษร และความหางระหวางบรรทัด

ผูประสงคจะสงบทความวิชาการตองพิมพตนฉบับดวยโปรแกรม Microsoft Word 2007 มีความ

ยาวรวมทุกรายการ (ชื่อเรื่อง-เอกสารอางอิง และตาราง) จํานวน 15-20 หนา (4,500-6,000 คํา) ขนาด

กระดาษ A4 หางจากขอบทุกดาน 1 นิ้ว ใชแบบอักษร Cordia New ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ระยะ

หางระหวางบรรทัด 1 บรรทัด (Single Space) โดยมีรายละเอียดแตละรายการดังตอไปนี้

1. ชื่อเรื่อง (Title) ขนาดตัวอักษร 20 pt. ตัวหนา จัดไวกลางหนากระดาษ

2. ชื่อผูเขียน (Author) และหัวขอ “บทคัดยอ” หรือ “Abstract” ขนาดตัวอักษร 18 pt. ตัวหนา จัด

ไวกลางหนากระดาษ

3. คําสําคัญ (Key words) และ หัวขอหลัก (Heading) ขนาดตัวอักษร 18 pt. ตัวหนา เน้ือหาของ

คําสําคัญขนาดตัวอักษร 16 pt. จัดชิดขอบกระดาษดานขวา

4. ชื่อขอหัวขอรอง (Sub-heading) และชื่อตารางขนาด 16 pt. ตัวหนา ขอความในตารางขนาด

ตัวอักษร 14 pt. จัดไวกลางหนากระดาษความหางระหวางขอความ เมื่อสิ้นสุดเน้ือหาแลวขึ้นหัวขอหลักเวน

วรรค 2 ตัวอักษร เนื้อหาบรรทัดใหมถัดจากหัวขอใหเวนวรรค 1 ตัวอักษร ตามปกติ

การลงรายการเอกสารอางอิงในเน้ือเร่ืองของบทความ (Citation)

การอางอิงในเน้ือหา (In-text Citation) ของบทความ ใหใชการอางแบบนามป (Author-year)

ปรากฏแทรกอยูในเนื้อหาของบทความ

การสงตนฉบับ

ผูประสงคจะสงบทความ สามารถสงตนฉบับพรอมแนบไฟลขอมูลไดท่ี

กองบรรณาธิการวารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม

เลขท่ี 85 หมู 3 ถนนมาลัยแมน อําเภอเมือง นครปฐม 73000

ทังน้ีบทความวิจัย หรือผลงานวิจัยน้ันจะตองไมเคยเผยแพรในวารสารใด ๆ มากอน

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ กองบรรณาธิการ หรืออาจารยสมศักด์ิ อมรสิริพงศ

โทรศัพท/โทรสาร 034-261066

วารสารวชิาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

184

ใบสมัครสมาชิกวารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

1. ขาพเจา (นาย, นาง, นางสาว, ยศ).........................................นามสกุล..........................................

ขอสมัครเปนสมาชิกวารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

ขอตออายุสมาชิกวารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

2. สมัครในนาม หนวยงาน ชื่อหนวยงาน..........................................................................................

ชื่อผูติดตอ...............................................................................นามสกุล.........................................

3. ที่อยูในการจัดการสงวารสาร

เลขท่ี................................. หมูท่ี....................อาคาร............................................... ชั้นที่...............

กอง/สวน/สํานัก..........................................ถนน.........................................หมูบาน.........................

ซอย....................................แขวง/ตําบล..................................... เขต/อําเภอ...................................

จังหวัด...................................................................... รหัสไปรษณีย................................................

โทรศัพท............................... โทรสาร.................................. e-mail.................................................

4. อัตราคาสมัครสมาชิกวารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม

ขอสมัครสมาชิกวารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร เปนรายป

1 ป (2 ฉบับ) จํานวนเงิน 200 บาท

2 ป (4 ฉบับ) จํานวนเงิน 400 บาท

ทั้งน้ีต้ังแตปที่................ฉบับที่........................... เดือน......................... พ.ศ.................. เปนตนไป

โดยชําระคาสมาชิกเปนเงินสด

ธนาณัติเลขท่ี.......................................ในนาม วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและ

สังคมศาสตร มรน.

โอน ธนาคารกรงุไทย สาขานครปฐม ชื่อบัญชี วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสงัคมศาสตร มรน.

เลขที่บัญชีออมทรัพย 701-0-77492-7

(กรุณาสงใบสมัครพรอมหลักฐานการโอนเงินมาที่ โทรสาร 034-261066)

ลงชื่อ......................................................ผูสมัคร

(........................................................................)

วันที่.................................................................