บทคัดย่อ - nopparat.go.th · บทคัดย่อ...

25
1 บทคัดย่อ ในปัจจุบันมีการนาหลอดเลือดชนิดเฮปาริน (Heparinized Tube) มาใช้ในการเก็บตัวอย่างเลือด สาหรับตรวจทางชีวเคมีแทนหลอดเลือดที่ไม่มีสารกันเลือดแข็ง (Plain Tube) ทาให้ผู้ป่วยได้รับผลการตรวจ รวดเร็วขึ้น เพราะไม่ต้องรอให้เลือดแข็งตัวก่อน การศึกษาวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบหา ความสัมพันธ์และความแตกต่างของผลการตรวจวิเคราะห์หาสารชีวเคมีในเลือดทางเคมีคลินิก ในตัวอย่าง Heparinized Plasma กับ Plain Serum ได้แก่ Blood urea nitrogen (BUN), Creatinine, Cholesterol, Triglyceride, Very-low-density lipoprotein (VLDL), HDL- Cholesterol, LDL- Cholesterol, Total protein, Albumin, Total bilirubin, Direct bilirubin, Aspartate aminotransferase (AST), Alanine aminotransferase (ALT), Alkaline Phosphatase, Sodium, Potassium, Chloride, carbon dioxide (CO 2) และนาผลการตรวจวิเคราะห์ไปทดสอบทางสถิติ พบว่าผล การตรวจวิเคราะห์ทั้งตัวอย่างทั้ง Heparinized Plasma และ Serum ให้ผลไปในทิศทางเดียวกัน และไม่พบ ความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (r>7, P>0.005) ยกเว้น Total protein และ Potassium ซึ ่งมี ความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ P=0.0023, P=0.0001 ตามลาดับ แต่ผลการตรวจทั้ง 2 ชนิด ให้ผล ในทิศทางเดียวกัน จากการศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่า Heparinized Plasma สามารถนามาตรวจวิเคราะห์ หาสารชีวเคมีในเลือดทางเคมีคลินิกแทน Plain Serum ได้

Upload: others

Post on 11-Aug-2020

6 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: บทคัดย่อ - nopparat.go.th · บทคัดย่อ ในปัจจุบันมีการน าหลอดเลือดชนิดเฮปาริน

1

บทคัดย่อ

ในปัจจุบันมีการน าหลอดเลือดชนิดเฮปาริน (Heparinized Tube) มาใช้ในการเก็บตัวอย่างเลือดส าหรับตรวจทางชีวเคมีแทนหลอดเลือดที่ไม่มีสารกันเลือดแข็ง (Plain Tube) ท าให้ผู้ป่วยได้รับผลการตรวจรวดเร็วขึ้น เพราะไม่ต้องรอให้เลือดแข็งตัวก่อน การศึกษาวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพ่ือเปรียบเทียบหาความสัมพันธ์และความแตกต่างของผลการตรวจวิเคราะห์หาสารชีวเคมีในเลือดทางเคมีคลินิก ในตัวอย่าง Heparinized Plasma กับ Plain Serum ได้แก่ Blood urea nitrogen (BUN), Creatinine, Cholesterol, Triglyceride, Very-low-density lipoprotein (VLDL), HDL- Cholesterol, LDL- Cholesterol, Total protein, Albumin, Total bilirubin, Direct bilirubin, Aspartate aminotransferase (AST), Alanine aminotransferase (ALT), Alkaline Phosphatase, Sodium, Potassium, Chloride, carbon dioxide (CO2) และน าผลการตรวจวิเคราะห์ไปทดสอบทางสถิติ พบว่าผลการตรวจวิเคราะห์ทั้งตัวอย่างทั้ง Heparinized Plasma และ Serum ให้ผลไปในทิศทางเดียวกัน และไม่พบความแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ (r>7, P>0.005) ยกเว้น Total protein และ Potassium ซ่ึงมีความแตกต่างอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ P=0.0023, P=0.0001 ตามล าดับ แต่ผลการตรวจทั้ง 2 ชนิด ให้ผลในทิศทางเดียวกัน จากการศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่า Heparinized Plasma สามารถน ามาตรวจวิเคราะห์หาสารชีวเคมีในเลือดทางเคมีคลินิกแทน Plain Serum ได ้

Page 2: บทคัดย่อ - nopparat.go.th · บทคัดย่อ ในปัจจุบันมีการน าหลอดเลือดชนิดเฮปาริน

2

Abstract

Now aday, Heparinzed Tube has brought to collect blood for chemistry testing instead of Plain Tube. So the patients can decrease a waiting time of result because Heparinzed Tube was centrifuged immediately after collection while Plain Tube must be centrifuged after clotted form. Plasma was the blood after Heparinzed Tube centrifugation and Serum was the blood after Plain Tube. The purpose of this study was to compare the difference of blood chemistry result such as Blood urea nitrogen (BUN), Creatinine, Cholesterol, Triglyceride, Very-low-density lipoprotein (VLDL), HDL- Cholesterol, LDL- Cholesterol, Total protein, Albumin, Total bilirubin, Direct bilirubin, Aspartate aminotransferase (AST), Alanine aminotransferase (ALT), Alkaline Phosphatase, Sodium, Potassium, Chloride, carbon dioxide (CO2) between plasma of Heparinzed Tube with serum of Plain Tube and find the association too. The result were shown that non significantly, p > 0.005 from blood chemistry result between plasma of Heparinzed Tube with serum of Plain Tube excepted Total protein and Potassium significantly, p < 0.005. And there was positive association between their blood chemistry result.

Page 3: บทคัดย่อ - nopparat.go.th · บทคัดย่อ ในปัจจุบันมีการน าหลอดเลือดชนิดเฮปาริน

3

บทน ำ

1. ควำมเป็นมำและควำมส ำคัญของปัญหำ

การพัฒนาระบบบริการทางห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ในโรงพยาบาลนพรัตนราชธานี เพ่ือให้ผู้รับบริการ เชื่อมั่นและพึงพอใจในบริการ ได้ผลการตรวจวิเคราะห์ที่ถูกต้อง แม่นย า รวดเร็ว ปลอดภัย ด้วยคุณภาพมาตรฐานระดับสากล ตอบสนองนโยบายกรมการแพทย์ และยุทธศาสตร์ของโรงพยาบาลในโครงการเชิงกลยุทธ์ซึ่งเป็นการพัฒนาระบบบริการอย่างมืออาชีพ (Service Quality and excellent project) จึงทบทวนกระบวนการปฏิบัติงานทางห้องปฏิบัติการและท าการศึกษางานวิจัยที่ผ่านมา พบว่าสามารถลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน ท าให้ผู้รับบริการได้รับผลการตรวจเร็วขึ้นและได้รับผลการตรวจวิเคราะห์ถูกต้องตามมาตรฐาน โดยใช้ Plasma แทน Serum ได้1,2,3,4 และนิยมใช้ heparin เป็นสารกันเลือดแข็งในการเตรียม Plasma ส าหรับตรวจหาสารชีวเคมีในเลือด ท าให้สามารถลดขั้นตอนก่อนการตรวจวิเคราะห์และลดระยะเวลาการรอผลลงได้ 15-30 นาที เมื่อพิจารณาทางด้านต้นทุนของวัสดุ อุปกรณ์ในการเก็บตัวอย่างตรวจแล้ว พบว่าไม่ได้เพ่ิมขึ้นจากเดิม และเพ่ือเพ่ิมความเชื่อมั่นในผลการตรวจวิเคราะห์ที่ถูกต้องน่าเชื่อถือ จึงท าการศึกษาเปรียบเทียบผลการตรวจวิเคราะห์ทางเคมีคลินิกในตัวอย่าง Heparinized Plasma กับ Plain Serum แตกต่างกันหรือไม่ Serum เป็นตัวอย่างตรวจที่นิยมน ามาท าการตรวจวิเคราะห์ทางเคมีคลินิกในงานประจ าวัน ซึ่งมีขั้นตอนการเตรียม คือ เมื่อเจาะเลือดใส่ Plain Tube แล้ว ต้องตั้งเลือดทิ้งไว้ รอให้เลือดแข็งตัวสมบูรณ์ (clotted blood) ก่อน ซึ่งใช้เวลา 15-30 นาที ขึ้นอยู่กับปัจจัยในการแข็งตัวของเลือดผู้ป่วยแต่ละคน โดยเฉพาะรายที่ได้รับการรักษาด้วยยาต้านการแข็งตัวของเลือดจะใช้เวลานานกว่าปกติ แล้วจึงน าไปปั่นแยกเอาส่วน serum 4,5,6 มาใช้ในการตรวจวิเคราะห์ ถ้าไม่รอให้เลือดแข็งตัวสมบูรณ์ จะได้ตัวอย่างที่ไม่ได้คุณภาพ เกิด Fibrin clot รบกวนการท างานของเครื่องตรวจวิเคราะห์ มักจะเป็นสาเหตุที่ท าให้เครื่องขัดข้องท าให้ระยะเวลาในการรอผลนานกว่าปกติ แต่ถ้าใช้ Heparinized tube เมื่อเจาะเลือดเรียบร้อย สามารถน าไปปั่นแยก Plasma ได้ทันที น า Plasma ไปท าการตรวจวิเคราะห์ โดยไม่ต้องรอกระบวนการแข็งตัวของเลือด4,5,6 นอกจากนี้ยังช่วยลดปัญหา Fibrin ที่เกิดในกระบวนการการแข็งตัวของเลือดไปรบกวนการตรวจวิเคราะห์ ดังนั้น ในกรณีที่ผู้รับบริการต้องการผลเร่งด่วนมากๆ เช่น ผู้ป่วยอุบัติเหตุ ผู้ป่วยผ่าตัด ผู้ป่วยวิกฤตในหอผู้ป่วยหนัก (ICU) การใช้ Heparinized Plasma ในการตรวจวิเคราะห์ทางเคมีคลินิก จะช่วยให้ผู้รับบริการได้รับผลเร็วขึ้น ทันต่อการรักษาของแพทย์

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาเปรียบเทียบผลการตรวจวิเคราะห์ทางเคมีคลินิกในตัวอย่าง Heparinized Plasma กับ Plain Serum ถ้าผลการตรวจวิเคราะห์ไม่มีความแตกต่าง สามารถน าตัวอย่าง Heparinized Plasma มาใช้แทน Plain Serum ส่งผลให้ผู้รับบริการจะได้รับผลการตรวจที่ถูกต้อง น่าเชื่อถือ และเร็วขึ้น ประมาณ 15-30 นาที และก าหนดให้ทุกหน่วยงานที่ต้องเก็บตัวอย่างเลือดเพ่ือตรวจวิเคราะห์หาสารชีวเคมีในเลือดทางเคมีคลินิกถือปฏิบัติในแนวทางเดียวกัน คือ เก็บตัวอย่างเลือดใส่ Heparinized Tube แทนการเก็บตัวอย่างเลือดใส่ใน Plain tube

Page 4: บทคัดย่อ - nopparat.go.th · บทคัดย่อ ในปัจจุบันมีการน าหลอดเลือดชนิดเฮปาริน

4

2. วัตถุประสงค์ของกำรวิจัย ศึกษาเปรียบเทียบผลการตรวจวิเคราะห์หาสารชีวเคมีในเลือดทางเคมีคลินิกในตัวอย่าง Heparinized Plasma กับ Plain Serum แตกต่างกันหรือไม่

3. ค ำนิยำม

Heparinized Tube หลอดส าหรับเก็บตัวอย่างเลือดที่มีสารกันเลือดแข็งชนิด Heparinized Heparinized Plasma ส่วนของน้ าเหลืองที่ได้จากหลอดเก็บตัวอย่างเลือดที่มี Heparin เป็นสารกัน

เลือดแข็ง และปั่นแยกท่ีความเร็ว 3000 รอบ/นาที เป็นเวลา 5 นาท ีPlain Tube หลอดส าหรับเก็บตัวอย่างเลือดที่ไม่มีสารกันเลือดแข็ง Plain Serum ส่วนของน้ าเหลืองจากหลอดเก็บตัวอย่างเลือด ชนิด Plain Tube ที่รอให้เลือดแข็งตัว

โดยสมบูรณ์ ซึ่งต้องใช้เวลา 15-30 นาที แล้วปั่นแยกที่ความเร็ว 3000 รอบ/นาที เป็นเวลา 5 นาท ี

4. สถำนที่ท ำกำรทดลอง/เก็บข้อมูล กลุ่มงานพยาธิวิทยา โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี

5. ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับจำกกำรวิจัย น าข้อมูลที่ได้จากการศึกษานี้ มาพิจารณาปรับปรุงระบบบริการในเรื่องการเก็บตัวอย่างเลือด เพ่ือให้

ผู้รับบริการได้ผลการตรวจวิเคราะห์ที่รวดเร็วขึ้น และถูกต้อง น่าเชื่อถือ เชื่อมั่นและพึงพอใจในบริการ โดยการใช้ Heparinized Tube มาใช้แทน Plain Tube ส่วนต้นทุนค่าวัสดุหรืออุปกรณ์ท่ีใช้ในการเก็บตัวอย่างเลือด ที่ใช้ Heparinized Tube ไม่แตกต่าง Plain Tube

Page 5: บทคัดย่อ - nopparat.go.th · บทคัดย่อ ในปัจจุบันมีการน าหลอดเลือดชนิดเฮปาริน

5

ทบทวนเอกสำร หลอดส าหรับเก็บตัวอย่างเลือดทางห้องปฏิบัติการเคมีคลินิกท่ีนิยมใช้เป็นประจ า คือ หลอดชนิดที่ไม่มี

สารกันเลือดแข็ง (Plain tube) ที่ต้องการให้เลือดแข็งตัวและแยกจึงน าไปปั่นแยกเก็บ Serum ไปท าการตรวจวิเคราะห์ ซึ่งต้องใช้เวลาในกระบวนการแข็งตัวของเลือดอย่างน้อย 15-30 นาที และจะต้องใช้เวลานานขึ้นกรณีท่ีผู้ป่วยได้รับการรักษาด้วยยาละลายลิ่มเลือด (1) ค่า Potassiumจะสูงขึ้นเนื่องจากในกระบวนการแข็งตัวของเลือด Potassium จะถูกปล่อยออกจากเซลล์ (4) การที่เซลล์เม็ดเลือดแตกก็ส่งผลให้ค่า Potassium สูงขึ้นด้วย (4,9) ดังนั้น การปั่นเลือดที่ยังอยู่ในกระบวนการแข็งตัวที่ไม่สมบูรณ์ อาจท าให้เซลล์แตกส่งผลให้ Potassium สูงขึ้นได ้

หลอดส าหรับเก็บตัวอย่างเลือดท่ีมีสารกันเลือดแข็งเฮปาริน (Heparin tube) ซึ่งมีลิเธียมเป็นส่วนประกอบ (Lithium heparin) ท าหน้าที่ยับยั้งการสร้างไฟบริน (Fibrin) ในกระบวนการแข็งตัวของเลือด นอกจากนี้ยังมีคุณสมบัติรักษาสมดุลน้ าภายในและภายนอกเซลล์ได้ดี มีไอออนประจุบวกต่ าจับกับสารอ่ืนได้น้อย (7) นิยมใช้ในการเตรียม Plasma ส าหรับการตรวจวิเคราะห์ทางเคมีคลินิกที่ต้องการผลเร็วเป็นหลัก สามารถลดระยะเวลาในการรอคอยผลลงได้ 15-30 นาที เนื่องจากน าหลอดเลือดไปปั่นแยก Plasma ได้ทันทีโดยไม่ต้องรอกระบวนการแข็งตัวของเลือด และเหมาะกับการตรวจ Potassium มากกว่าหลอดชนิดที่ไม่มีสารกันเลือดแข็ง เพราะระหว่างการแข็งตัวของเลือด Potassium จะถูกปล่อยออกจากเซลล์ ท าให้ค่าที่วัดได้สูงกว่าความเป็นจริง การที่ความเข้มข้นของโปรตีนใน Plasma สูงกว่าใน Serum เนื่องจากใน Plasma มีปัจจัยการแข็งตัวของเลือดอยู่ครบ (8)

Page 6: บทคัดย่อ - nopparat.go.th · บทคัดย่อ ในปัจจุบันมีการน าหลอดเลือดชนิดเฮปาริน

6

ระเบียบวิธีวิจัย

1. รูปแบบกำรศึกษำ การศึกษานี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงทดลอง (Experimental Research) เปรียบเทียบผลการตรวจ

วิเคราะห์หาสารชีวเคมีในเลือดทางเคมีคลินิก โดยการท าการทดลองจากตัวอย่างเลือดผู้ป่วยที่เหลือจากการตรวจ ไปตรวจวิเคราะห์ด้วยเครื่องตรวจวิเคราะห์อัตโนมัติ Cobas Integra

2. ตัวอย่ำงที่ใช้ในกำรศึกษำ

ตัวอย่างเลือดจากผู้ป่วยที่มาตรวจรักษาท่ีโรงพยาบาลนพรัตนราชธานี กรุงเทพฯ และแพทย์สั่งตรวจเลือด โดยคัดเลือกเฉพาะรายที่มีต้องเก็บตัวอย่างเลือดใส่ในหลอดเลือดทั้ง 2 ชนิดที่ต้องการใช้ในศึกษา คือ หลอดเลือดชนิดเฮปาริน (Heparinized Tube) และ หลอดเลือดที่ไม่มีสารกันเลือดแข็ง (Plain Tube) ระหว่างวันที่ 1 พฤษภาคม 2557 ถึงวันที่ 31 มิถุนายน 2557

2. กำรเก็บรวบรวมข้อมูล เก็บข้อมูลตามแนวทางการปฏิบัติการวิจัยที่ดี (Good Clinical Practice) โดย - อธิบายวัตถุประสงค์โครงการวิจัย - ผู้เข้าร่วมโครงการวิจัยจะได้รับเอกสานแนะน าส าหรับอาสาสมัคร (ภาคผนวก ??) - ประโยชน์ที่ผู้เข้าร่วมโครงการวิจัยจะได้รับ - ผู้เข้าร่วมโครงการวิจัยลงนามในใบยินยอมโดยได้รับการบอกกล่าวและเต็มใจ (ภาคผนวก ??)

บันทึกผลการตรวจวิเคราะห์ในแบบบันทึกข้อมูลงานวิจัย (Case record form) (ภาคผนวก ??)

3. วิธีกำรทดสอบ ท าการทดสอบตามแนวทางที่ปฏิบัติกับผู้ป่วย โดย - หลังจากเจาะเลือดใส่ Heparinized tube แล้วน าไปปั่นแยก Plasma เมื่อได้ Plasma แล้วให้

ท าการทดสอบทันที โดยไม่รอตรวจวิเคราะห์พร้อม Serum - หลังจากเจาะเลือดใส่ Plain tube รอให้เลือดแข็งตัวสมบูรณ์ (รอประมาณ 15-30 นาที) น าไป

ปั่นแยก serum เมื่อได้ serum แล้วให้ท าการทดสอบทันที - เปรียบเทียบผลการทดสอบทั้ง 2 ตัวอย่าง ตามสมมุติฐาน ตรวจวิเคราะห์หาสารชีวเคมีในเลือด ได้แก่ BUN, Creatinine, Cholesterol, Triglyceride,

VLDL, HDL- Cholesterol, LDL- Cholesterol, Total protein, Albumin, Total bilirubin, Direct bilirubin, AST (SGOT), ALT (SGPT), Alkaline Phosphatase, Sodium, Potassium, Chloride, CO2 ด้วยเครื่องตรวจวิเคราะห์อัตโนมัติ Cobas INTEGRA โดยใช้น้ ายาส าเร็จรูป ของบริษัทโรชไดแอกโนสติกส์ (ประเทศไทย) จ ากัด ซ่ึงแต่ละการทดสอบ วิเคราะห์ควบคู่กับสารควบคุมคุณภาพในระดับสูงและต่ า และข้ันตอนการตรวจวิเคราะห์ตามวิธีการของบริษัทผู้ผลิต ใช้หลักการดังนี้

3.1. การตรวจวิเคราะห์ BUN ใช้หลักการ Kinetic Test 3.2. การตรวจวิเคราะห์ Creatinine ใช้หลักการ Enzymatic colorimetric method 3.3. การตรวจวิเคราะห์ Cholesterol ใช้หลักการ Enzymatic colorimetric method 3.4. การตรวจวิเคราะห์ Triglyceride ใช้หลักการ Enzymatic colorimetric method

Page 7: บทคัดย่อ - nopparat.go.th · บทคัดย่อ ในปัจจุบันมีการน าหลอดเลือดชนิดเฮปาริน

7

3.5. การตรวจวิเคราะห์ HDL- Cholesterol ใช้หลักการ Homogeneous Enzymatic colorimetric Assay

3.6. การตรวจวิเคราะห์ LDL- Cholesterol ใช้หลักการ Homogeneous Enzymatic colorimetric Assay

3.7. การตรวจวิเคราะห์ Total protein ใช้หลักการ colorimetric Assay 3.8. การตรวจวิเคราะห์ Albumin ใช้หลักการ colorimetric Assay with endpoint method 3.9. การตรวจวิเคราะห์ Total bilirubin ใช้หลักการ Diazo method 3.10. การตรวจวิเคราะห์ Direct bilirubin ใช้หลักการ Diazo method 3.11. การตรวจวิเคราะห์ Aspartate Aminotransferase (AST) ใช้หลักการ Kinetic 3.12. การตรวจวิเคราะห์ Alanine Aminotransferase (ALT) ใช้หลักการ Diazo method 3.13. การตรวจวิเคราะห์ Alkaline phosphatase ใช้หลักการ colorimetric Assay 3.14. การตรวจวิเคราะห์ Sodium ใช้หลักการ ISE Indirect 3.15. การตรวจวิเคราะห์ Potassium ใช้หลักการ ISE Indirect 3.16. การตรวจวิเคราะห์ Chloride ใช้หลักการ ISE Indirect 3.17. การตรวจวิเคราะห์ Alkaline phosphatase ใช้หลักการ ISE Indirect

4. กำรวิเครำะห์และประมวลผลข้อมูล

เก็บและการวิเคราะห์ข้อมูลจากผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ โดยใช้โปรแกรม STATA version 11.0 ท าการวิเคราะห์ข้อมูล และศึกษาเปรียบเทียบโดยใช้สถิติ paired-T test

Page 8: บทคัดย่อ - nopparat.go.th · บทคัดย่อ ในปัจจุบันมีการน าหลอดเลือดชนิดเฮปาริน

8

ผลกำรศึกษำ

การตรวจวิเคราะห์หาสารชีวเคมีในเลือดทางเคมีคลินิกในตัวอย่าง Heparinized Plasma กับ Serum ได้แก่ BUN, Creatinine, Cholesterol, Triglyceride, VLDL, HDL- Cholesterol, LDL- Cholesterol, Total protein, Albumin, Total biliirubin, Direct bilirubin, AST (SGOT), ALT (SGPT), Alkaline Phosphatase, Sodium, Potassium, Chloride, CO2 ได้ผลการทดสอบตามตารางที่ 1

ตารางที่ 1. เปรียบเทียบผลการตรวจวิเคราะห์หาสารชีวเคมีในตัวอย่าง Heparinized Plasma กับ Plain Serum แสดงค่าเฉลี่ย (Mean) ค่าต่ าสุด (Minimum) ค่าสูงสุด (Maximum) ในกลุ่มตัวอย่าง

TEST Plasma value (unit) serum value (unit)

P value mean±SD Min Max mean±SD Min Max

BUN 17.75±14.65 7 62 17.54±14.65 7 64 0.9533 Creatinine 2.33±3.69 0.50 13.79 2.22±3.5 0.48 12.78 0.9009 Cholesterol 195.10±37.27 103 288 200.1±37.36 105 294 0.4752 Triglyceride 131.48±93.93 35 519 132.74±93.50 34 506 0.9425 VLDL 28.02±19.75 7 104 28.29±19.56 8 101 0.9463 HDL- Cholesterol 55.62±20.80 26 143 55.31±21.44 26 154 0.9424 LDL- Cholesterol 126.43±34.87 52 208 128.37±35.40 52 215 0.7923 Total protein 7.57±0.43 6.7 8.7 7.29±0.47 6.2 8.3 0.0023 Albumin 4.33±0.29 3.5 4.9 4.35±0.30 3.4 4.8 0.6656 Total bilirubin 0.56±0.51 0.19 3.82 0.55±0.51 0.18 3.86 0.9308 Direct bilirubin 0.19±.07 0 0.39 0.19±0.7 0 0.39 0.6213 AST (SGOT) 36.01±77.43 8 601 36.40±77.60 8 603 0.9738 ALT (SGPT) 33.23±57.06 5 433 34.06±60.23 5 438 0.9268 Alkaline Phosphatase 73.53±29.50 17 213 74.88±30.61 20 218 0.7722 Sodium 138.35±2.72 127 143 138.63±2.67 128 144 0.5287 Potassium 3.96±0.36 3.1 4.9 4.24±0.04 3.4 5.0 <0.001 Chloride 101.35±3.31 92 109 102.19±3.08 93 109 0.1072 CO2 24.85±2.42 20 31 24.69±2.63 18 31 0.7012

Page 9: บทคัดย่อ - nopparat.go.th · บทคัดย่อ ในปัจจุบันมีการน าหลอดเลือดชนิดเฮปาริน

9

ตารางที่ 2. เปรียบเทียบผลการตรวจวิเคราะห์หาสารชีวเคมีในตัวอย่าง Heparinized Plasma กับ Plain Serum แสดงค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน (Pearson correlation coefficient), ความแตกต่างของค่าเฉลี่ย (Mean difference) , ช่วงความเชื่อมั่นท่ี 95% (95% Limits Of Agreement)

TEST Pearson’s correlation

Mean difference

95%LOA P value

BUN 0.998 0.212 -1.3 to 1.8 0.9533 Creatinine 0.996 0.110 -0.4 to 0.7 0.9009 Cholesterol 0.996 -4.966 -13.6 to 3.6 0.4752 Triglyceride 0.984 -1.259 -9.2 to 6.7 0.9425 VLDL 0.999 -0.271 -2.2 to1.7 0.9463 HDL- Cholesterol 0.999 0.313 -5.2 to 5.8 0.9424 LDL- Cholesterol 0.991 -1.935 -9.0 to 5.1 0.7923 Total protein 0.681 0.280 -0.3 to 0.8 0.0023 Albumin 0.963 -0.025 -0.2 to 0.1 0.6656 Total bilirubin 0.998 0.009 -0.1 to 0.1 0.9308 Direct bilirubin 0.896 0.007 -0.06 to 0.07 0.6213 AST (SGOT) 1.000 -0.393 -3.7 to 2.9 0.9738 ALT (SGPT) 0.995 -0.833 -12.4 to 10.7 0.9268 Alkaline Phosphatase 0.994 -1.345 -7.4 to 4.7 0.7722 Sodium 0.924 -0.924 -2.3 to 1.7 0.5287 Potassium 0.665 -0.276 -0.7 to 0.1 0.0001 Chloride 0.841 -0.842 -4.0 to 2.3 0.1072 CO2 0.713 0.158 -3.6 to 3.9 0.7012

Page 10: บทคัดย่อ - nopparat.go.th · บทคัดย่อ ในปัจจุบันมีการน าหลอดเลือดชนิดเฮปาริน

10

-2-1

12

0

Diffe

rence

of pb

un

and s

bu

n

10 20 30 40 50 60Mean of pbun and sbun

observed average agreement 95% limits of agreement

y=0 is line of perfect average agreement

10

20

30

40

50

60

pb

un

10 20 30 40 50 60sbun

reduced major axis line of perfect concordance

05

10

15

pcr

eatin

ine

0 5 10 15screatinine

reduced major axis line of perfect concordance

-.5

.51

0

Diff

ere

nce

of pcre

atin

ine

and

scr

eatin

ine

0 5 10 15Mean of pcreatinine and screatinine

observed average agreement 95% limits of agreement

y=0 is line of perfect average agreement

รูปที่ 1 ก รูปที่ 1 ข

รูปที่ 1. แสดงผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของการตรวจวิเคราะห์ Plasma BUN กับ Serum BUN

น าผลการตรวจวิเคราะห์ BUN จาก Heparinized Plasma และ Serum หาความสัมพันธ์ ให้ผลสอดคล้องกันในทิศทางเดียวกัน (กราฟรูปที่ 1 ก) หาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน (Pearson correlation coefficient) มีความสัมพันธ์กัน เท่ากับ 0.998 (กราฟรูปที่ 1 ข) ช่วงความเชื่อม่ัน 95% อยู่ในช่วง -1.3 ถึง 1.8 ที่ระดับนัยส าคัญ P value <0.05 พบว่ามีความความแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยส าคัญทางสถิติ (P value =0.9533 ) (ตารางที่ 1.)

รูปที่ 2 ก รูปที่ 2 ข

รูปที่ 2. แสดงผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของการตรวจวิเคราะห์ Plasma Creatinine กับ Serum Creatinine

น าผลการตรวจวิเคราะห์ Creatinine จาก Heparinized Plasma และ Serum หาความสัมพันธ์ ให้ผลสอดคล้องกันในทิศทางเดียวกัน (กราฟรูปที่ 2 ก) หาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน (Pearson correlation coefficient) มีความสัมพันธ์กัน เท่ากับ 0.996 (กราฟรูปที่ 2 ข) ช่วงความเชื่อม่ัน 95% อยู่ในช่วง -0.4 ถึง 0.7 และที่ระดับนัยส าคัญ P value <0.05 พบว่ามีความความแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยส าคัญทางสถิติ (P value = 0.9009) (ตารางที่ 1.)

Page 11: บทคัดย่อ - nopparat.go.th · บทคัดย่อ ในปัจจุบันมีการน าหลอดเลือดชนิดเฮปาริน

11

100

150

200

250

300

pch

oles

tera

l

100 150 200 250 300scholesteral

reduced major axis line of perfect concordance

-15

-10

-55

0

Diff

ere

nce

of pch

ole

ste

ral a

nd

sch

ole

stera

l100 150 200 250 300

Mean of pcholesteral and scholesteral

observed average agreement 95% limits of agreement

y=0 is line of perfect average agreement

0

10

020

030

040

050

0

ptr

igly

cerid

e

0 100 200 300 400 500striglyceride

reduced major axis line of perfect concordance

-10

-55

10

15

0

Diff

ere

nce

of ptr

igly

ceri

de

and

str

igly

cerid

e

0 100 200 300 400 500Mean of ptriglyceride and striglyceride

observed average agreement 95% limits of agreement

y=0 is line of perfect average agreement

รูปที่ 3 ก รูปที่ 3 ข

รูปที่ 3. แสดงผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของการตรวจวิเคราะห์ Plasma Cholesterol กับ Serum Cholesterol

น าผลการตรวจวิเคราะห์ Cholesterol จาก Heparinized Plasma และ Serum หาความสัมพันธ์ ให้ผลสอดคล้องกันในทิศทางเดียวกัน (กราฟรูปที่ 3 ก) หาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน (Pearson correlation coefficient) มีความสัมพันธ์กัน เท่ากับ 0.996 (กราฟรูปที่ 3 ข) ช่วงความเชื่อม่ัน 95% อยู่ในช่วง -13.6 ถึง 3.6 และท่ีระดับนัยส าคัญ P value <0.05 พบว่ามีความความแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยส าคัญทางสถิติ ( P value = 0.4752) (ตารางที่ 1.)

รูปที่ 4 ก รูปที่ 4 ข

รูปที่ 4. แสดงผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของการตรวจวิเคราะห์ Plasma Triglyceride กับ Serum Triglyceride

น าผลการตรวจวิเคราะห์ Triglyceride จาก Heparinized Plasma และ Serum หาความสัมพันธ์ ให้ผลสอดคล้องกันในทิศทางเดียวกัน (กราฟรูปที่ 4 ก) หาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน (Pearson correlation coefficient) มีความสัมพันธ์กัน เท่ากับ 0.984 (กราฟรูปที่ 4 ข) ช่วงความเชื่อม่ัน 95% อยู่ในช่วง -9.2 ถึง 6.7 และท่ีระดับนัยส าคัญ P value <0.05 พบว่ามีความความแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยส าคัญทางสถิติ ( P value = 0.9452) (ตารางที่ 1.)

Page 12: บทคัดย่อ - nopparat.go.th · บทคัดย่อ ในปัจจุบันมีการน าหลอดเลือดชนิดเฮปาริน

12

020

40

60

80

10

0

pvld

l

0 20 40 60 80 100svldl

reduced major axis line of perfect concordance

-2-1

12

30

Diff

ere

nce

of pvld

l and s

vld

l

0 20 40 60 80 100Mean of pvldl and svldl

observed average agreement 95% limits of agreement

y=0 is line of perfect average agreement

-10

-55

0

Diffe

rence

of ph

dlc

and s

hd

lc

0 50 100 150Mean of phdlc and shdlc

observed average agreement 95% limits of agreement

y=0 is line of perfect average agreement

050

10

015

0

ph

dlc

0 50 100 150shdlc

reduced major axis line of perfect concordance

รูปที่ 5 ก รูปที่ 5 ข

รูปที่ 5. แสดงผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของการตรวจวิเคราะห์ Plasma VLDL กับ Serum VLDL

น าผลการตรวจวิเคราะห์ VLDL จาก Heparinized Plasma และ Serum หาความสัมพันธ์ ให้ผลสอดคล้องกันในทิศทางเดียวกัน (กราฟรูปที่ 5 ก) หาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน (Pearson correlation coefficient) มีความสัมพันธ์กัน เท่ากับ 0.999 (กราฟรูปที่ 5 ข) ช่วงความเชื่อมั่น 95% อยู่ในช่วง -2.2 ถึง 1.7 และท่ีระดับนัยส าคัญ P value <0.05 พบว่ามีความความแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยส าคัญทางสถิติ ( P value = 0.9463) (ตารางที่ 1.)

รูปที่ 6 ก

รูปที่ 6 ข

รูปที่ 6. แสดงผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของการตรวจวิเคราะห์ Plasma HDL-Cholesterol กับ Serum HDL-Cholesterol

น าผลการตรวจวิเคราะห์ HDL-Cholesterol จาก Heparinized Plasma และ Serum หาความสัมพันธ์ ให้ผลสอดคล้องกันในทิศทางเดียวกัน (กราฟรูปที่ 6 ก) หาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน (Pearson correlation coefficient) มีความสัมพันธ์กัน เท่ากับ 0.999 (กราฟรูปที่ 6 ข) ช่วงความเชื่อมั่น 95% อยู่ในช่วง -5.2 ถึง 5.8 และท่ีระดับนัยส าคัญ P value <0.05 พบว่ามีความความแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยส าคัญทางสถิติ ( P value = 0.9424) (ตารางที่ 1.)

Page 13: บทคัดย่อ - nopparat.go.th · บทคัดย่อ ในปัจจุบันมีการน าหลอดเลือดชนิดเฮปาริน

13

-10

-55

10

0

Diffe

rence

of pld

lc a

nd s

ldlc

50 100 150 200Mean of pldlc and sldlc

observed average agreement 95% limits of agreement

y=0 is line of perfect average agreement

50

10

015

020

025

0

pld

lc

50 100 150 200 250sldlc

reduced major axis line of perfect concordance

67

89

pto

talp

rote

in

6 6.5 7 7.5 8 8.5stotalprotein

reduced major axis line of perfect concordance

-.5

.51

0

Diffe

rence

of pto

talp

rote

in a

nd s

tota

lpro

tein

6.5 7 7.5 8 8.5Mean of ptotalprotein and stotalprotein

observed average agreement 95% limits of agreement

y=0 is line of perfect average agreement

รูปที่ 7 ก รูปที่ 7ข

รูปที่ 7. แสดงผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของการตรวจวิเคราะห์ Plasma LDL-Cholesterol กับ Serum LDL-Cholesterol

น าผลการตรวจวิเคราะห์ LDL-Cholesterol จาก Heparinized Plasma และ Serum หาความสัมพันธ์ ให้ผลสอดคล้องกันในทิศทางเดียวกัน (กราฟรูปที่ 7 ก) หาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน (Pearson correlation coefficient) มีความสัมพันธ์กัน เท่ากับ 0.991 (กราฟรูปที่ 7 ข) ช่วงความเชื่อมั่น 95% อยู่ในช่วง -9.0 ถึง 5.1 และท่ีระดับนัยส าคัญ P value <0.05 พบว่ามีความความแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยส าคัญทางสถิติ ( P value = 0.7923 ) (ตารางที่ 1.)

รูปที่ 8 ก รูปที่ 8 ข

รูปที่ 8. แสดงผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของการตรวจวิเคราะห์ Plasma Total protein กับ Serum Total protein

น าผลการตรวจวิเคราะห์ Total protein จาก Heparinized Plasma และ Serum หาความสัมพันธ์ ให้ผลแตกต่างกัน (กราฟรูปที่ 8 ก) หาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน (Pearson correlation coefficient) เท่ากับ 0.681 (กราฟรูปที่ 8 ข) ช่วงความเชื่อมั่น 95% อยู่ในช่วง -0.3 ถึง 0.8 และท่ีระดับนัยส าคัญ P value <0.05 พบว่ามีความความแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ ( P value = 0.0023 ) (ตารางที่ 1.)

Page 14: บทคัดย่อ - nopparat.go.th · บทคัดย่อ ในปัจจุบันมีการน าหลอดเลือดชนิดเฮปาริน

14

3.5

44.5

5

pa

lbum

in

3.5 4 4.5 5salbumin

reduced major axis line of perfect concordance

-.2

-.1

.1.2

0

Diffe

rence

of pa

lbum

in a

nd

sa

lbum

in

3.5 4 4.5 5Mean of palbumin and salbumin

observed average agreement 95% limits of agreement

y=0 is line of perfect average agreement

01

23

4

pto

talb

iliru

bin

0 1 2 3 4stotalbilirubin

reduced major axis line of perfect concordance

-.0

5.0

5.1

0

Diffe

rence

of pto

talb

iliru

bin

an

d s

tota

lbili

rubin

0 1 2 3 4Mean of ptotalbilirubin and stotalbilirubin

observed average agreement 95% limits of agreement

y=0 is line of perfect average agreement

รูปที่ 9 ก รูปที่ 9 ข

รูปที่ 9. แสดงผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของการตรวจวิเคราะห์ Plasma Albumin กับ Serum Albumin

น าผลการตรวจวิเคราะห์ Albumin จาก Heparinized Plasma และ Serum หาความสัมพันธ์ ให้ผลสอดคล้องกันในทิศทางเดียวกัน (กราฟรูปที่ 9 ก) หาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน (Pearson correlation coefficient) มีความสัมพันธ์กัน เท่ากับ 0.963 (กราฟรูปที่ 9 ข) ช่วงความเชื่อม่ัน 95% อยู่ในช่วง -0.2 ถึง 0.1 และท่ีระดับนัยส าคัญ P value <0.05 พบว่ามีความความแตกต่างกันอย่างไมม่ีนัยส าคัญทางสถิติ ( P value = 0.6656 ) (ตารางที่ 1.)

รูปที่ 10 ก

รูปที่ 10 ข

รูปที่ 10. แสดงผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของการตรวจวิเคราะห์ Plasma Total bilirubin กับ Serum Total bilirubin

น าผลการตรวจวิเคราะห์ Total bilirubin จาก Heparinized Plasma และ Serum หาความสัมพันธ์ ให้ผลสอดคล้องกันในทิศทางเดียวกัน (กราฟรูปที่ 10 ก) หาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน (Pearson correlation coefficient) มีความสัมพันธ์กัน เท่ากับ 0.998 (กราฟรูปที่ 10 ข) ช่วงความเชื่อมั่น 95% อยู่ในช่วง -0.1 ถึง 0.1 และท่ีระดับนัยส าคัญ P value <0.05 พบว่ามีความความแตกต่างกันอย่างไมมี่นัยส าคัญทางสถิติ ( P value = 0.9308) (ตารางที่ 1.)

Page 15: บทคัดย่อ - nopparat.go.th · บทคัดย่อ ในปัจจุบันมีการน าหลอดเลือดชนิดเฮปาริน

15

0.1

.2.3

.4

pd

ire

ctb

iliru

bin

0 .1 .2 .3 .4sdirectbilirubin

reduced major axis line of perfect concordance

-.0

5.0

5.1

.15

0

Diffe

rence

of pd

ire

ctb

iliru

bin

and

sd

ire

ctb

iliru

bin

0 .1 .2 .3 .4Mean of pdirectbilirubin and sdirectbilirubin

observed average agreement 95% limits of agreement

y=0 is line of perfect average agreement

0

20

040

060

0

pa

st

0 200 400 600sast

reduced major axis line of perfect concordance

-55

0

Diffe

rence

of pa

st an

d s

ast

0 200 400 600Mean of past and sast

observed average agreement 95% limits of agreement

y=0 is line of perfect average agreement

รูปที่ 11 ก รูปที่ 11 ข

รูปที่ 11. แสดงผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของการตรวจวิเคราะห์ Plasma Direct Bilirubin กับ Serum Direct Bilirubin

น าผลการตรวจวิเคราะห์ Direct Bilirubin จาก Heparinized Plasma และ Serum หาความสัมพันธ์ ให้ผลสอดคล้องกันในทิศทางเดียวกัน (กราฟรูปที่ 11 ก) หาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน (Pearson correlation coefficient) มีความสัมพันธ์กัน เท่ากับ 0.896 (กราฟรูปที่ 11 ข) ช่วงความเชื่อมั่น 95% อยู่ในช่วง -0.1 ถึง 0.1 และท่ีระดับนัยส าคัญ P value <0.05 พบว่ามีความความแตกต่างกันอย่างไมมี่นัยส าคัญทางสถิติ ( P value = 0.6213 ) (ตารางที่ 1.)

รูปที่ 12 ก รูปที่ 12 ข

รูปที่ 12. แสดงผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของการตรวจวิเคราะห์ Plasma AST กับ Serum AST

น าผลการตรวจวิเคราะห์ AST จาก Heparinized Plasma และ Serum หาความสัมพันธ์ ให้ผลสอดคล้องกันในทิศทางเดียวกัน (กราฟรูปที่ 12 ก) หาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน (Pearson correlation coefficient) มีความสัมพันธ์กัน เท่ากับ 1.000 (กราฟรูปที่ 12 ข) ช่วงความเชื่อม่ัน 95% อยู่ในช่วง -3.7 ถึง 2.9 และท่ีระดับนัยส าคัญ P value <0.05 พบว่ามีความความแตกต่างกันอย่างไมม่ีนัยส าคัญทางสถิติ ( P value = 0.9738) (ตารางที่ 1.)

Page 16: บทคัดย่อ - nopparat.go.th · บทคัดย่อ ในปัจจุบันมีการน าหลอดเลือดชนิดเฮปาริน

16

0

10

020

030

040

0

pa

lt

0 100 200 300 400salt

reduced major axis line of perfect concordance

-60

-40

-20

20

0

Diffe

rence

of pa

lt a

nd

salt

0 100 200 300 400Mean of palt and salt

observed average agreement 95% limits of agreement

y=0 is line of perfect average agreement

050

10

015

020

0

pa

lkp

ho

s

0 50 100 150 200salkphos

reduced major axis line of perfect concordance

-10

-55

10

0

Diff

ere

nce

of pa

lkp

ho

s an

d s

alk

ph

os

0 50 100 150 200Mean of palkphos and salkphos

observed average agreement 95% limits of agreement

y=0 is line of perfect average agreement

รูปที่ 13 ก รูปที่ 13 ข

รูปที่ 13. แสดงผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของการตรวจวิเคราะห์ Plasma ALT กับ Serum ALT

น าผลการตรวจวิเคราะห์ ALT จาก Heparinized Plasma และ Serum หาความสัมพันธ์ ให้ผลสอดคล้องกันในทิศทางเดียวกัน (กราฟรูปที่ 13 ก) หาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน (Pearson correlation coefficient) มีความสัมพันธ์กัน เท่ากับ 0.995 (กราฟรูปที่ 13 ข) ช่วงความเชื่อม่ัน 95% อยู่ในช่วง -12.4 ถึง 10.7 และที่ระดับนัยส าคัญ P value <0.05 พบว่ามีความความแตกต่างกันอย่างไมมี่นัยส าคัญทางสถิติ ( P value = 0.9268) (ตารางที่ 1.)

รูปที่ 14 ก รูปที่ 14 ข

รูปที่ 14. แสดงผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของการตรวจวิเคราะห์ Plasma Alkaline Phosphatase กับ Serum Alkaline Phosphatase

น าผลการตรวจวิเคราะห์ Alkaline Phosphatase จาก Heparinized Plasma และ Serum หาความสัมพันธ์ ให้ผลสอดคล้องกันในทิศทางเดียวกัน (กราฟรูปที่ 14 ก) หาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน (Pearson correlation coefficient) มีความสัมพันธ์กัน เท่ากับ 0.994 (กราฟรูปที่ 14 ข) ช่วงความเชื่อมั่น 95% อยู่ในช่วง -7.4 ถึง 4.7 และท่ีระดับนัยส าคัญ P value <0.05 พบว่ามีความความแตกต่างกันอย่างไมมี่นัยส าคัญทางสถิติ ( P value = 0.7722) (ตารางที่ 1.)

Page 17: บทคัดย่อ - nopparat.go.th · บทคัดย่อ ในปัจจุบันมีการน าหลอดเลือดชนิดเฮปาริน

17

12

513

013

514

014

5pn

a

125 130 135 140 145sna

reduced major axis line of perfect concordance

-4-2

20

Diffe

rence

of pn

a a

nd s

na

125 130 135 140 145Mean of pna and sna

observed average agreement 95% limits of agreement

y=0 is line of perfect average agreement

33.5

44.5

5

pk

3.5 4 4.5 5sk

reduced major axis line of perfect concordance

-1-.

5.5

0

Diff

ere

nce

of pk

an

d s

k

3 3.5 4 4.5 5Mean of pk and sk

observed average agreement 95% limits of agreement

y=0 is line of perfect average agreement

รูปที่ 15 ก รูปที่ 15 ข

รูปที่ 15. แสดงผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของการตรวจวิเคราะห์ Plasma Sodium กับ Serum Sodium

น าผลการตรวจวิเคราะห์ Sodium จาก Heparinized Plasma และ Serum หาความสัมพันธ์ ให้ผลสอดคล้องกันในทิศทางเดียวกัน (กราฟรูปที่ 15 ก) หาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน (Pearson correlation coefficient) มีความสัมพันธ์กัน เท่ากับ 0.924 (กราฟรูปที่ 15 ข) ช่วงความเชื่อม่ัน 95% อยู่ในช่วง -0.3 ถึง 1.7 และท่ีระดับนัยส าคัญ P value <0.05 พบว่ามีความความแตกต่างกันอย่างไมม่ีนัยส าคัญทางสถิติ ( P value = 0.5287) (ตารางที่ 1.)

รูปที่ 16 ก รูปที่ 16 ข

รูปที่ 16. แสดงผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของการตรวจวิเคราะห์ Plasma Potassium กับ Serum Potassium

น าผลการตรวจวิเคราะห์ Potassium จาก Heparinized Plasma และ Serum หาความสัมพันธ์ ให้ผลแตกต่างกัน (กราฟรูปที่ 16 ก) หาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน (Pearson correlation coefficient) มีความสัมพันธ์กัน เท่ากับ 0.665 (กราฟรูปที่ 16 ข) ช่วงความเชื่อมั่น 95% อยู่ในช่วง -0.7 ถึง 0.1 และท่ีระดับนัยส าคัญ P value <0.05 พบว่ามีความความแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ ( P value = <0.0001) (ตารางที่ 1.)

Page 18: บทคัดย่อ - nopparat.go.th · บทคัดย่อ ในปัจจุบันมีการน าหลอดเลือดชนิดเฮปาริน

18

90

95

10

010

511

0

pch

lorid

e

90 95 100 105 110schloride

reduced major axis line of perfect concordance

-6-4

-22

0

Diffe

rence

of pch

lorid

e a

nd

sch

lorid

e

90 95 100 105 110Mean of pchloride and schloride

observed average agreement 95% limits of agreement

y=0 is line of perfect average agreement

15

20

25

30

pco

2

15 20 25 30sco2

reduced major axis line of perfect concordance

-55

10

0

Diffe

rence

of pco

2 a

nd s

co

2

20 25 30Mean of pco2 and sco2

observed average agreement 95% limits of agreement

y=0 is line of perfect average agreement

รูปที่ 17 ก รูปที่ 17 ข

รูปที่ 17. แสดงผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของการตรวจวิเคราะห์ Plasma Albumin กับ Serum Albumin

น าผลการตรวจวิเคราะห์ Albumin จาก Heparinized Plasma และ Serum หาความสัมพันธ์ ให้ผลสอดคล้องกันในทิศทางเดียวกัน (กราฟรูปที่ 17 ก) หาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน (Pearson correlation coefficient) มีความสัมพันธ์กัน เท่ากับ 0.841 (กราฟรูปที่ 17 ข) ช่วงความเชื่อม่ัน 95% อยู่ในช่วง -4.0 ถึง 2.3 และท่ีระดับนัยส าคัญ P value <0.05 พบว่ามีความความแตกต่างกันอย่างไมม่ีนัยส าคัญทางสถิติ ( P value = 0.1072) (ตารางที่ 1.)

รูปที่ 18 ก รูปที่ 18 ข

รูปที่ 18. แสดงผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของการตรวจวิเคราะห์ Plasma CO2 กับ Serum CO2

น าผลการตรวจวิเคราะห์ CO2 จาก Heparinized Plasma และ Serum หาความสัมพันธ์ ให้ผลสอดคล้องกันในทิศทางเดียวกัน (กราฟรูปที่ 15 ก) หาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน (Pearson correlation coefficient) มีความสัมพันธ์กัน เท่ากับ 0.731 (กราฟรูปที่ 15 ข) ช่วงความเชื่อม่ัน 95% อยู่ในช่วง -3.6 ถึง 3.9 และท่ีระดับนัยส าคัญ P value <0.05 พบว่ามีความความแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยส าคัญทางสถิติ ( P value = 0.7012) (ตารางที่ 1.)

Page 19: บทคัดย่อ - nopparat.go.th · บทคัดย่อ ในปัจจุบันมีการน าหลอดเลือดชนิดเฮปาริน

19

สรุปและวิจำรณ์ ผลกำรศึกษำ

การตรวจวิเคราะห์หาสารชีวเคมีในเลือดทางเคมีคลินิกในตัวอย่าง Heparinized Plasma กับ Serum ได้แก่ BUN, Creatinine, Cholesterol, Triglyceride, VLDL, HDL- Cholesterol, LDL- Cholesterol, Total protein, Albumin, Total biliirubin, Direct bilirubin, AST (SGOT), ALT (SGPT), Alkaline Phosphatase, Sodium, Potassium, Chloride, CO2 ได้ผลการทดสอบตามตารางที่ 1 เมื่อทดสอบสมมุติฐานทางสถิติทุกการทดสอบที่ระดับนัยส าคัญ P<0.05 พบว่ามีความแตกต่างอย่างไม่มีนัยส าคัญทางสถิติ แสดงว่าผลสอดคล้องไปในทิศทางเดียวกัน ยกเว้น Total protein และ Potassium มีความแตกต่างอย่างมีนัยสัมพันธ์ทางสถิติ ที่ระดับนัยส าคัญ P < 0.05 คือ มีค่า P-value 0.0023, 0.0000 สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน (Pearson correlation coefficient) 0.68, 0.67 ตามล าดับ

การศึกษานี้ พบว่า Total protein และ Potassium มีความแตกต่างอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ ซึ่งสอดคล้องการศึกษาที่ผ่านมา(4,8,9) พบว่า Total protein ใน Plasma สูงกว่า Serum และ Potassium ใน Plasma ต่ ากว่า Serum เนื่องมาจากกระบวนการแข็งตัวของเลือด ซึ่งจะปล่อย Potassium ออกจากเซลล์ ท าให้ค่า Serum Potassium สูงกว่าความเป็นจริง ส่วนใน Plasma ไม่ผ่านกระบวนการแข็งตัวของเลือด ท าให้ปัจจัยการแข็งตัวของเลือดอยู่ครบ จึงเป็นสาเหตุที่ท าให้ใน Plasma มี Total protein สูงกว่า Serum

การศึกษาวิจัยในครั้งนี้ สอดคล้องไปในทิศทางเดียวกันกับการศึกษาที่ผ่านมา กล่าวคือ ทั้ง Heparinized Plasma และ Serum มีความแตกต่างอย่างไม่มีนัยส าคัญทางสถิติ สามารถน า Heparinized Plasma มาใช้ในการตรวจหาสารชีวเคมีในเลือดแทน Serum(1,2,3,4)

Page 20: บทคัดย่อ - nopparat.go.th · บทคัดย่อ ในปัจจุบันมีการน าหลอดเลือดชนิดเฮปาริน

20

เอกสำรอ้ำงอิง

1. Miles RR, Robers RF, Putnam AR, et al. Comparsion of serum and heprinized plasma samples for measurements of chemistry analytes. Clin Chem. 2004;50:1704-1706.

2. Tze-Kiong Er, Li-Yu Tsai, Yuh-Jyh Jong, Bai-Hsiun Chen Selected Analyte Values in Serum Versus. Heparinized Plasma Using the SYNCHRON LX. PRO Assay Methods/Instrument. December 2006 _ Volume 37 Number 12 _2006; 731-732

3. Ladenson JH, Tsai LMB, Micael JM, et al. Serum versus heparinized plasma for eighteen common chemistry tests. Am J Clin Pathol. 1974;62:545-552.

4. Lum G,Gambino SR. A comparision of serum versus heparinized plasma for routine chemistry tests. Am J Clin Pathol. 1974;108-113

5. Boyanton BL, Blick K. Stability studies of twenty-four analytes in human plasma and serum. Clin Chem 2002;48:2242-7.

6. M.P. O’Keane, K. Sean, K.S. Cunningham, “Evaluation of three different specimen types (serum, plasma lithum heparin and serum gel separator) for analysis of certain analytes: Clinical significance of differences in results and efficiency in use”’ Clinical chemistry Laboratory Medicine, 44(5):662-668, 2006.

7. Narayanan S. The pre-analytic phase. An imp0rtant component of laboratory medicine. Am J Clin Pathol 2000; 113: 429-52

8. Lutomski M, Bower H. The effect of thombocytosis on serum potassium and phosphorus concentrations Am J Med Sci 1994; 307:255-8

9. นวพรรณ จารุรักษ์. คู่มือการจัดเก็บตัวอย่างเลือด พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ; แอล.ที.อาร์ต พริ้นติ้ง; 2550: 10, 45.

Page 21: บทคัดย่อ - nopparat.go.th · บทคัดย่อ ในปัจจุบันมีการน าหลอดเลือดชนิดเฮปาริน

21

ภำคผนวก ก

Page 22: บทคัดย่อ - nopparat.go.th · บทคัดย่อ ในปัจจุบันมีการน าหลอดเลือดชนิดเฮปาริน

22

ภำคผนวก ข

หนังสือยินยอมการเข้าร่วมในโครงการวิจัย INFORMED COSENT FORM

ข้าพเจ้า นาย/นาง/นางสาว....................................................................................... ขอให้ความยินยอมของตนเองที่จะเข้าร่วมในการศึกษาวิจัยเรื่อง “การศึกษาเปรียบเทียบผลการตรวจวิเคราะห์ทางเคมีคลินิกในตัวอย่าง Heparinized Plasma กับ Plain Serum” ข้าพเจ้าได้รับข้อมูลและค าอธิบายเกี่ยวกับการวิจัยนี้แล้ว ข้าพเจ้าได้มีโอกาสซักถามเก่ียวกับการวิจัยนี้และได้รับค าตอบเป็นที่พอใจแล้ว ผู้วิจัยมีความยินดีที่จะเก็บข้อมูลเฉพาะที่เกี่ยวกับตัวข้าพเจ้าเป็นความลับ จะเปิดเผยเฉพาะในรูปที่เป็นผลวิจัย และผู้วิจัยได้ปฏิบัติในสิ่งที่ไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อร่างกายหรือจิตใจของข้าพเจ้าตลอดการวิจัย และรับรองว่าหากเกิดมีอันตรายใดๆ จากการวิจัยดังกล่าว ผู้ยินยอมจะได้รับการรักษาอย่างเต็มที่ และข้าพเจ้ามีเวลาเพียงพอในการตัดสินใจว่าจะเข้าร่วมการศึกษาวิจัยนี้หรือไม่ ข้าพเจ้ายินยอมเข้าร่วมการวิจัยโดยสมัครใจ โดยไม่มีผลกระทบต่อการรักษาพยาบาลที่ข้าพเจ้าจะได้รับ ถ้าหากข้าพเจ้าเป็นผู้ป่วย และในกรณีที่เกิดข้อข้องใจหรือปัญหาที่ข้าพเจ้าต้องการปรึกษากับผู้วิจัย ข้าพเจ้าสามารถติดต่อกับผู้วิจัย คือนางนันทวัน กลึงเทศ ได้ที่กลุ่มงานพยาธิวิทยา โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี โทรศัพท์ ที่ท างาน 02-5174270-9 ต่อ 1359 โทรศัพท์เคลื่อนที่ 081-4476462 โทรสาร 02-9178806 โดยการลงนามนี้ ข้าพเจ้าไม่ได้สละสิทธิ์ใดๆท่ีข้าพเจ้าพึงมีทางกฎหมาย ลงนาม.............................................................ผู้ยินยอม ลงนาม.............................................................พยาน ลงนาม.............................................................พยาน ข้าพเจ้าไม่สามารถอ่านหนังสือได้ แต่ผู้วิจัยได้ค าอธิบายโครงการวิจัยรวมทั้งใบหนังสือยินยอมเข้าร่วมโครงการด้วยความเต็มใจ และได้รับค าตอบต่อทุกข้อสงสัยทั้งหมดแล้ว และข้าพเจ้าจึงลงนามด้วยความเต็มใจ ลงนาม.............................................................ผู้ยินยอม ลงนาม.............................................................พยาน ลงนาม.............................................................พยาน ในกรณีผู้ถูกทดลองยังไม่บรรลุนิติภาวะ จะต้องได้รับการยินยอมจากผู้ปกครอง หรือผู้อุปการคุณโดย ชอบธรรมตามกฎหมาย ลงนาม.............................................................ผู้ยินยอม ลงนาม.............................................................พยาน ลงนาม.............................................................พยาน ในกรณีผู้ถูกทดลองไม่สามารถตัดสินใจเองได้ (โรคจิต – หมดสติ) ให้ผู้แทนโดยชอบด้วยกฎหมาย หรือผู้ปกครอง หรือญาติใกล้ชิดที่สุดเป็นผู้ลงนาม ลงนาม.............................................................ผู้ยินยอม ลงนาม.............................................................พยาน ลงนาม.............................................................พยาน

Page 23: บทคัดย่อ - nopparat.go.th · บทคัดย่อ ในปัจจุบันมีการน าหลอดเลือดชนิดเฮปาริน

23

ภำคผนวก ค

เอกสารแนะน าส าหรับอาสาสมัคร (Participant Information Sheet)

ในเอกสารนี้อาจมี่ข้อความท่ีท่านอ่านแล้วยังไม่เข้าใจ โปรดสอบถามหัวหน้าโครงการวิจัยหรือผู้แทนให้ช่วยอธิบายจนกว่าจะเข้าใจดี ก่อนตัดสินใจเข้าร่วมโครงการการวิจัย ชื่อโครงการ การศึกษาเปรียบเทียบผลการตรวจวิเคราะห์ทางเคมีคลินิกในตัวอย่าง Heparinized Plasma กับ Plain Serum สถานที่วิจัย กลุ่มงานพยาธิวิทยา โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี ผู้ให้ทุน โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี วัตถุประสงค์ของการวิจัย

ศึกษาเปรียบเทียบผลการตรวจวิเคราะห์ทางเคมีคลินิกในตัวอย่าง Heparinized Plasma กับ Plain Serum ซึ่งข้อมูลที่ได้จากการศึกษานี้ สามารถใช้ในการพัฒนาระบบบริการให้ผู้รับบริการได้ผลการตรวจวิเคราะห์ที่ถูกต้อง น่าเชื่อถือ และรวดเร็วขึ้น

ท่านได้รับเชิญให้เข้าร่วมการวิจัยนี้เพราะท่านเป็นผู้ที่ถูกเจาะเลือดเพ่ือส่งตรวจวิเคราะห์ทาง

ห้องปฏิบัติการและน าผลประกอบการรักษา การท าวิจัยนี้ท าขึ้นเพ่ือน าผลที่ได้ไปใช้ในการพัฒนาระบบคุณภาพงานบริการทางห้องปฏิบัติการ กำรเข้ำร่วมโครงกำรวิจัยของท่ำนต้องเป็นไปด้วยควำมสมัครใจ หากท่านไม่เข้าร่วมในโครงการวิจัยนี้จะไม่มีผลกระทบใดๆ ต่อการรักษาพยาบาลของท่านทั้งในปัจจุบันและอนาคต โดยท่านจะได้การตรวจวินิจฉัยและรักษาโรค ตามวิธีการมาตรฐาน รำยช่ือผู้วิจัยที่จะสำมำรถติดต่อได้ หำกมีข้อข้องใจที่จะสอบถำมเกี่ยวข้องกับกำรวิจัย ท่านสามารถ ติดต่อ คุณนันทวัน กลึงเทศ ที่อยู่ กลุ่มงานพยาธิวิทยา โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี 679 รามอินทรา คันนายาว

คันนายาว กรุงเทพฯ 10230 เบอร์โทรศัพท์ 02-5174270-9 ต่อ 1359

Page 24: บทคัดย่อ - nopparat.go.th · บทคัดย่อ ในปัจจุบันมีการน าหลอดเลือดชนิดเฮปาริน

24

Case Record Form (แบบบันทึกข้อมูล)

ID

Sex

age

P-BU

N P-

Crea

tinine

P-

Chol

este

ral

P-Tr

iglyc

eride

P-

VLDL

P-

HDL-

C P-

LDL-

c P-

Tota

l pro

tein

P-Al

bum

in P-

Glob

ulin

P-To

tal b

ilirub

in P-

Dire

ct b

ilirub

in P-

AST

P-AL

T P-

Alk.P

hos.

P-Na

P-

K P-

Chlo

ride

P-Co

2 S-

BUN

S-Cr

eatin

ine

S-Ch

oles

tera

l S-

Trigl

ycer

ide

S-VL

DL

S-HD

L-C

S-LD

L-C

S-To

tal p

rote

in S-

Albu

min

S-Gl

obul

in S-

Tota

l bilir

ubin

S-Di

rect

bilir

ubin

S-AS

T S-

ALT

S-Al

k.Pho

s. S-

Na

S-K

S-Ch

lorid

e S-

Co2

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16

Page 25: บทคัดย่อ - nopparat.go.th · บทคัดย่อ ในปัจจุบันมีการน าหลอดเลือดชนิดเฮปาริน

25