บทคัดย่อ - burapha university · บทคัดย่อ...

7
บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการสร้างนโยบายและมาตรการการพัฒนาสวนเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเฉลิมพระชนมพรรษา 80 ปี (สวน ต้าหนักน้าเดิม) โดยจ้าแนกตามลักษณะส่วนบุคคลและจ้าแนกตามคุณลักษณะทางเศรษฐกิจและสังคม การศึกษาครั้งนี้ใช้วิธีการศึกษาเชิงส้ารวจ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวม ข้อมูล คือ แบบสอบถาม (Questionnaire) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ ประชาชนผู้ที่อาศัยอยู่ในเขตเทศบาลเมืองชลบุรีที่ไปใช้ประโยชน์จากสวนเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเฉลิมพระชนมพรรษา 80 ปี (สวนต้าหนักน้าเดิม) จ้านวน 400 คน สถิติท่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ (Frequency) ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Average) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) การวิเคราะห์ความแตกต่างโดยการทดสอบ Independent Sample t-test และ One-way ANOVA ส้าหรับการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ ก้าหนดนัยส้าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ผลการวิจัย ประชาชนผู้ใช้ประโยชน์จากสวนเฉลิมพระเกียรติฯ มีปัจจัยส่วนบุคคลและปัจจัยด้านคุณลักษณะทางเศรษฐกิจและสังคม มีความคิดเห็นต่อแนวทางทางการ สร้างนโยบายและมาตรการการพัฒนาสวนสาธารณะไม่แตกต่างกัน ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 66.5 มีอายุตั้งแต่ 21-25 ปี และ 26-30 ปี คิดเป็นร้อย ละ 32.2 รองลงมามีอายุตั้งแต่ 31-35 ปี คิดเป็นร้อยละ 16.5 ซึ่งส่วนใหญ่มีระดับการศึกษามัธยมศึกษาตอนต้น คิดเป็นร้อยละ 43.2 มีอาชีพนักเรียน/ นักศึกษา คิดเป็นร้อยละ 73.5 มี รายได้เฉลี่ยต่อเดือน 5,000-10,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 48.2 ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีลักษณะที่อยู่อาศัยทาวน์เฮ้าส์ คิดเป็นร้อยละ 30.8 มีจ้านวนสมาชิกในครอบครัว 1-3 คน คิดเป็นร้อยละ 68.8 และมีระยะทางมาสวนสาธารณะ 1-5 กิโลเมตร คิดเป็นร้อยละ 94.0 โดยมีค่าใช้จ่ายในการเดินทาง 11-20 บาท คิดเป็นร้อยละ 47.8 และรองลงมามีค่าใช้จ่ายใน การเดินทาง 1-10 บาท คิดเป็นร้อยละ 21.5 ความคิดเห็นของประชาชนผู้ใช้ประโยชน์ต่อแนวทางการสร้างนโยบายและมาตรการการพัฒนาสวนสาธารณะเทศบาลเมืองชลบุรี กรณีศึกษา: สวนเฉลิมพระเกียรติฯ (สวนต้าหนักน้า) ในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า อันดับแรก คือ ด้านสภาพแวดล้อมและภูมิทัศน์ อยู่ในระดับมาก อันดับ 2 คือ ด้านการอนุรักษ์เชิงพัฒนา อยู่ในระดับปานกลาง อันดับ 3 คือ ด้านการจัดระเบียบการให้บริการ อยู่ในระดับปานกลาง และอันดับสุดท้าย คือ ด้านสื่อประชาสัมพันธ์ อยูในระดับปานกลาง โดย ชุติมา อมรโรจนาวงศ์ ดร.ชนิสรา แก้วสวรรค์ แนวทางการสร้างนโยบายและมาตรการการพัฒนาสวนสาธารณะเทศบาลเมืองชลบุรี กรณีศึกษา: สวนสาธารณะ สวนเฉลิม พระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเฉลิมพระชนมพรรษา 80 ปี (สวนต้าหนักน้าเดิม) (A GUIDELINE TO ESTABLISH POLICY AND MEASUREMENT TO DEVELOP PUBLIC PARK OF CHON BURI CITY MUNICIPALITY, A CASE STUDY OF 80TH ANNIVERSARY OF KING BHUMIBOL PARK (WATER MANSION). Abtract This research attempts to establish policy and measurement to develop 80th anniversary of King Bhumibol Park (Water Mansion) by classifying personal characteristics, as well as economic and social characters. This survey study applied questionnaires to collect data from 400 residents residing in Chon Buri city municipality who visited 80th anniversary of King Bhumibol Park. The statistics to analyze the data included descriptive statistics consisting frequency, percentage, average, and standard deviation, Independent Sample t-test to analyze different variables and One-way ANOVA at the statistically significant level of 0.05. The findings reveal that personal factors as well as economic and social characters of residents visiting the park did not influence their attitudes toward establishment policy and measurement to develop the park. The majority of respondents were female (66.5 per cent), were 21-25 years old and 26-30 years old (32.2 per cent), were 31-35 years old (16.5 per cent), obtained high school certificate (43.2 per cent), were students (73.5 per cent), earned the average monthly income of 5,000-10,000 baht (48.2 per cent), residing in townhouse (30.8 per cent), had one to three family members (68.8 per cent), and were one to five kilometers away from the park (94.0 per cent), spent 11-20 baht for transportation (47.8 per cent) and spent 1-10 baht for transportation (21.5 per cent). The opinion toward the establishment of policy and measurement to develop public park in Chon Buri city municipality, a case study of 80th anniversary of King Bhumibol Park (Water Mansion) were at moderate levels. When considering in each aspect, it can be arranged from the greatest to the least as follows: environment and scenery (High level), developmental conservation (Moderate level), service arrangement (Moderate level), and publication (Moderate level), respectively. KEYWORDS: GUIDELINE TO ESTABLISH DEVELOPMENT POLICY AND EASUREMENT/ PUBLIC PARK TYPE

Upload: others

Post on 05-Aug-2020

12 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: บทคัดย่อ - Burapha University · บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการสร้าง

บทคัดย่อ การวิจัยคร้ังนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการสร้างนโยบายและมาตรการการพัฒนาสวนเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเฉลิมพระชนมพรรษา 80 ปี (สวนต้าหนักน้้าเดิม) โดยจ้าแนกตามลักษณะส่วนบุคคลและจ้าแนกตามคุณลักษณะทางเศรษฐกิจและสังคม การศึกษาคร้ังนี้ใช้วิธีการศึกษาเชิงส้ารวจ เคร่ืองมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม (Questionnaire) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคร้ังนี้ คือ ประชาชนผู้ที่อาศัยอยู่ในเขตเทศบาลเมืองชลบุรีที่ไปใช้ประโยชน์จากสวนเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเฉลิมพระชนมพรรษา 80 ปี (สวนต้าหนักน้้าเดิม) จ้านวน 400 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ (Frequency) ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Average) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) การวิเคราะห์ความแตกต่างโดยการทดสอบ Independent Sample t-test และ One-way ANOVA ส้าหรับการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ ก้าหนดนัยส้าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ผลการวิจัย ประชาชนผู้ใช้ประโยชน์จากสวนเฉลิมพระเกียรติฯ มีปัจจัยส่วนบุคคลและปัจจัยด้านคุณลักษณะทางเศรษฐกิจและสังคม มีความคิดเห็นต่อแนวทางทางการสร้างนโยบายและมาตรการการพัฒนาสวนสาธารณะไม่แตกต่างกัน ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 66.5 มีอายุตั้งแต่ 21-25 ปี และ 26-30 ปี คิดเป็นร้อยละ 32.2 รองลงมามีอายุตั้งแต่ 31-35 ปี คิดเป็นร้อยละ 16.5 ซึ่งส่วนใหญ่มีระดับการศึกษามัธยมศึกษาตอนต้น คิดเป็นร้อยละ 43.2 มีอาชีพนักเรียน/ นักศึกษา คิดเป็นร้อยละ 73.5 มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 5,000-10,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 48.2 ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีลักษณะที่อยู่อาศัยทาวน์เฮ้าส์ คิดเป็นร้อยละ 30.8 มีจ้านวนสมาชิกในครอบครัว 1-3 คน คิดเป็นร้อยละ 68.8 และมีระยะทางมาสวนสาธารณะ 1-5 กิโลเมตร คิดเป็นร้อยละ 94.0 โดยมีค่าใช้จ่ายในการเดินทาง 11-20 บาท คิดเป็นร้อยละ 47.8 และรองลงมามีค่าใช้จ่ายในการเดินทาง 1-10 บาท คิดเป็นร้อยละ 21.5 ความคิดเห็นของประชาชนผู้ใช้ประโยชน์ต่อแนวทางการสร้างนโยบายและมาตรการการพัฒนาสวนสาธารณะเทศบาลเมืองชลบุรี กรณีศึกษา: สวนเฉลิมพระเกียรติฯ (สวนต้าหนักน้้า) ในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า อันดับแรก คือ ด้านสภาพแวดล้อมและภูมิทัศน์ อยู่ในระดับมาก อันดับ 2 คือ ด้านการอนุรักษ์เชิงพัฒนา อยู่ในระดับปานกลาง อันดับ 3 คือ ด้านการจัดระเบียบการให้บริการ อยู่ในระดับปานกลาง และอันดับสุดท้าย คือ ด้านสื่อประชาสัมพันธ์ อยู่ในระดับปานกลาง

โดย ชุติมา อมรโรจนาวงศ์ ดร.ชนิสรา แก้วสวรรค์

แนวทางการสร้างนโยบายและมาตรการการพัฒนาสวนสาธารณะเทศบาลเมืองชลบุรี กรณีศึกษา: สวนสาธารณะ สวนเฉลิม พระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเฉลิมพระชนมพรรษา 80 ป ี(สวนตา้หนักน ้าเดิม)

(A GUIDELINE TO ESTABLISH POLICY AND MEASUREMENT TO DEVELOP PUBLIC PARK OF CHON BURI CITY MUNICIPALITY, A CASE STUDY OF 80TH ANNIVERSARY OF KING BHUMIBOL PARK (WATER MANSION).

Abtract This research attempts to establish policy and measurement to develop 80th anniversary of King Bhumibol Park (Water Mansion) by classifying

personal characteristics, as well as economic and social characters. This survey study applied questionnaires to collect data from 400 residents residing in Chon Buri city municipality who visited 80th anniversary of King Bhumibol Park. The statistics to analyze the data included descriptive statistics consisting frequency, percentage, average, and standard deviation, Independent Sample t-test to analyze different variables and One-way ANOVA at the statistically significant level of 0.05.

The findings reveal that personal factors as well as economic and social characters of residents visiting the park did not influence their attitudes toward establishment policy and measurement to develop the park. The majority of respondents were female (66.5 per cent), were 21-25 years old and 26-30 years old (32.2 per cent), were 31-35 years old (16.5 per cent), obtained high school certificate (43.2 per cent), were students (73.5 per cent), earned the average monthly income of 5,000-10,000 baht (48.2 per cent), residing in townhouse (30.8 per cent), had one to three family members (68.8 per cent), and were one to five kilometers away from the park (94.0 per cent), spent 11-20 baht for transportation (47.8 per cent) and spent 1-10 baht for transportation (21.5 per cent). The opinion toward the establishment of policy and measurement to develop public park in Chon Buri city municipality, a case study of 80th anniversary of King Bhumibol Park (Water Mansion) were at moderate levels. When considering in each aspect, it can be arranged from the greatest to the least as follows: environment and scenery (High level), developmental conservation (Moderate level), service arrangement (Moderate level), and publication (Moderate level), respectively. KEYWORDS: GUIDELINE TO ESTABLISH DEVELOPMENT POLICY AND EASUREMENT/ PUBLIC PARK TYPE

Page 2: บทคัดย่อ - Burapha University · บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการสร้าง
Page 3: บทคัดย่อ - Burapha University · บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการสร้าง

ความเป็นมาและความส้าคัญของปัญหา

การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทยที่ผ่านมา ก่อให้เกิดผลกระทบต่อการด้ารงชีวิตและส่งผลต่อสุขภาพของประชาชน โดยเฉพาะผู้ที่อาศัยอยู่ในเขตชุมชนเมืองที่ต้องก้มหน้าท้ามาหากิน เพื่อสู้กับสภาวะเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน รวมทั้งการเกิดสภาพแวดล้อมที่เสื่อมโทรมลงและมีปัญหาเกี่ยวกับโรคภัยไข้เจ็บต่าง ๆ ตามมา ซึ่งมีผลมาจากการด้าเนินชีวิตในปัจจุบันที่ไม่ถูกต้อง ต่างเกิดขึ้นมาจากการบริโภคอาหาร การด้าเนินชีวิตประจ้าวัน การท้างาน การพักผ่อน และสิ่งส้าคัญ คือ ขาดการออกก้าลังกาย เพื่อให้ผู้ที่อาศัยในเขตชุมชนเมืองมีสุขภาพร่างกายที่ดีและแข็งแรงขึ้น สวนสาธารณะในเขตชุมชนเมืองจึงเป็นปัจจัยส้าคัญและต้องสามารถตอบสนองต่อการใช้ประโยชน์ (ณรงค์ ซองทุมมินทร์, 2551) สวนสาธารณะเป็นสถานที่และเป็นพื้นที่ที่ใช้ในการพักผ่อนหย่อนใจ ผ่อนคลายความ เครียด และผู้คนส่วนใหญ่มักจะใช้พื้นที่นี้ในการออกก้าลังกายและท้ากิจกรรมต่าง ๆ ลักษณะทั่วไปของสวนสาธารณะจะมีบรรยากาศที่ร่มร่ืน มีต้นไม้และดอกไม้นานาพันธุ์ มีนกและมีแมลงหลายสายพันธุ์ มีการออกแบบพื้นที่เพื่อใช้ในการท้ากิจกรรมต่าง ๆ ให้เกิดความเหมาะสมกับการใช้งาน โดยเฉพาะสวนสาธารณะที่ตั้งอยู่ในเขตชุมชนเมืองที่มีผู้อาศัยอยู่จ้านวนมากและจะต้องสามารถตอบสนองต่อการใช้ประโยชน์ได้มากที่สุดและควรที่จะมีการพัฒนาสภาพสวนสาธารณะให้ดีอยู่เสมอ (ณรงค์ ซองทุมมินทร์, 2551) จังหวัดชลบุรี ตั้งอยู่ในเขตภาคตะวันออกของประเทศไทยหรือด้านริมฝั่งทะเลตะวันออกของอ่าวไทย และในเขตเทศบาลเมืองชลบุรี มีพื้นที่สวนสาธารณะในความรับผิดชอบทั้งหมดจ้านวน 5 แห่ง ได้แก่ สวนสุขภาพเทศบาลเมืองชลบุรี, สวนเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเฉลิมพระชนมพรรษา 80 ปี (สวนต้าหนักน้้าเดิม), ลานเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์พระบรมราชินีนาถ เฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 12 สิงหาคม 2547, สวนเฉลิมพระเกียรติฯ รัชกาลที่ 9 และสวนสาธารณะปลายคลองสังเขปด้านทิศเหนือ สวนเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเฉลิมพระชนมพรรษา 80 ปี (สวนต้าหนักน้้าเดิม) ก็เป็นสวนสาธารณะแห่งหนึ่งในความรับผิดชอบของเทศบาลเมืองชลบุรี มีขนาดพื้นที่ใหญ่ที่สุดในบรรดาสวนสาธารณะทั้งหมด 5 แห่ง และผู้ที่อาศัยอยู่ในเขตเทศบาลเมืองชลบุรีส่วนใหญ่ ก็มักจะเดินทางมาพักผ่อนหย่อนใจ ผ่อนคลายความเครียด ออกก้าลังกายและใช้ประโยชน์จากสวนเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเฉลิมพระชนมพรรษา 80 ปี (สวนต้าหนักน้้าเดิม) กันมาก จึงท้าให้สภาพทั่วไปของสวนเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเฉลิมพระชนมพรรษา 80 ปี (สวนต้าหนักน้้าเดิม) ในปัจจุบันค่อนข้างจะมีสภาพที่ทรุดโทรม ขาดการปรับปรุงและพัฒนา จากความเป็นมาและความส้าคัญข้างต้น ผู้วิจัยเห็นว่าควรที่จะสร้างนโยบายและมาตรการการพัฒนาสวนเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเฉลิมพระชนมพรรษา 80 ปี (สวนต้าหนักน้้าเดิม)ให้ดีขึ้น โดยน้าข้อมูลที่ได้จากการศึกษาน้ามาใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาสวนเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเฉลิมพระชนมพรรษา 80 ปี (สวนต้าหนักน้้าเดิม) เพื่อให้ผู้ที่ใช้ประโยชน์จากสวนเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเฉลิมพระชนมพรรษา 80 ปี (สวนต้าหนักน้้าเดิม) มีความพึงพอใจมากที่สุด

วัตถุประสงค์การวิจัย เพื่อเป็นการสร้างนโยบายและมาตรการการพัฒนาสวนเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเฉลิมพระชนมพรรษา 80 ปี (สวนต้าหนักน้้าเดิม) โดยจ้าแนกตามลักษณะส่วนบุคคลและจ้าแนกตามคุณลักษณะทางเศรษฐกิจและสังคม

สมมติฐานของการวิจัย 1. ปัจจัยด้านคุณลักษณะส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้ ผู้อาศัยในเขตชุมชนเทศบาลเมืองชลบุรีมีความคิดเห็นต่อแนวทางการสร้างนโยบายและมาตรการการพัฒนาสวนเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเฉลิมพระชนมพรรษา 80 ปี (สวนต้าหนักน้้าเดิม) ไม่แตกต่างกัน 2. ปัจจัยด้านคุณลักษณะทางเศรษฐกิจและสังคม ได้แก่ ลักษณะที่อยู่อาศัย จ้านวนสมาชิกในครอบครัว ระยะทางจากบ้านมาสวนสาธารณะ ค่าใช้จ่ายในการเดินทางของกลุ่มผู้อาศัยในเขตชุมชนเทศบาลเมืองชลบุรีมีความคิดเห็นต่อแนวทางการสร้างนโยบายและมาตรการการพัฒนาสวนเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเฉลิมพระชนมพรรษา 80 ปี (สวนต้าหนักน้้าเดิม) ไม่แตกต่างกัน

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. น้ามาเป็นนโยบายและมาตรการการพัฒนาสวนเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเฉลิมพระชนมพรรษา 80 ปี (สวนต้าหนักน้้าเดิม) ให้สอดคล้องกับความต้องการใช้ประโยชน์ 2. น้าไปประยุกต์ใช้กับมาตรการการพัฒนาสวนสาธารณะอ่ืน ๆ ในเขตพื้นที่ความรับผิดชอบของเทศบาลเมืองชลบุรีได้ 3. ท้าให้สามารถรองรับความต้องการใช้สวนเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเฉลิมพระชนมพรรษา 80 ปี (สวนต้าหนักน้้าเดิม) ที่อาจเพิ่มสูงขึ้นในอนาคตได้

ขอบเขตของการวิจัย 1. ด้านเนื้อหา ครอบคลุมเนื้อหา 3 ด้าน คือ ปัจจัยด้านคุณลักษณะส่วนบุคคลของผู้อาศัยในเขตชุมชนเทศบาลเมืองชลบุรี, ปัจจัยด้านคุณลักษณะทางเศรษฐกิจและสังคม, ปัจจัยด้านความคิดเห็นต่อนโยบายและมาตรการการพัฒนาสวนเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเฉลิมพระชนมพรรษา 80 ปี (สวนต้าหนักน้้าเดิม) ของผู้ที่อาศัยในเขตชุมชนเทศบาลเมืองชลบุรี 2. ประชากรที่ศึกษา ท้าการศึกษาประชาชนผู้ที่อาศัยอยู่ในเขตเทศบาลเมืองชลบุรีที่ไปใช้ประโยชน์จากสวนเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเฉลิมพระชนมพรรษา 80 ปี (สวนต้าหนักน้้าเดิม) 3. ระยะเวลาในการด้าเนินการศึกษาในช่วงเวลา ตั้งแต่เดือนธันวาคม พ.ศ. 2559 ถึงเดือนกุมภาพันธ์ 2560

Page 4: บทคัดย่อ - Burapha University · บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการสร้าง

วิธีด้าเนินการวิจัย

ประชากรท่ีใช้ในการวิจัย ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ จ้านวน 35,932 คน คือ ประชาชนผู้ที่อาศัยอยู่ในเขตเทศบาลเมืองชลบุรีที่ไปใช้ประโยชน์จากสวนเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเฉลิมพระชนมพรรษา 80 ปี (สวนต้าหนักน้้าเดิม) จากการเฝ้าสังเกตการณ์เป็นเวลา 1 เดือน ต้ังแต่วันที่ 1-30 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ช่วงเวลาที่เก็บข้อมูล คือ เวลา 5.00-7.00 น. และ 16.00-20.00 น. กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการวิจัย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคร้ังนี้ คือ ประชาชนผู้ที่อาศัยอยู่ในเขตเทศบาลเมืองชลบุรีที่ไปใช้ประโยชน์จากสวนเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเฉลิมพระชนมพรรษา 80 ปี (สวนต้าหนักน้้าเดิม) จากการก้าหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างในกรณีทราบจ้านวนแน่นอน (Finite Population) โดยมีความคลาดเคลื่อนในการประมาณไม่เกิน 0.05 โดยใช้ตารางส้าเร็จรูปของทาโร ยามาเน ได้ขนาดตัวอย่างเท่ากับ 396 คน เพื่อป้องกันข้อผิดพลาดจะต้องเก็บแบบสอบถามเพิ่มจ้านวน 4 ชุดจะเท่ากับ 400 ชุดหรือเก็บจนกว่าข้อมูลจะอิ่มตัว และใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบรายสะดวก การเก็บรวบรวมข้อมูล

1. เคร่ืองมือในการวิจัยใช้แบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ที่มีประเด็นค้าถามปลายเปิด 2. วิธีการเก็บข้อมูลในการศึกษาครั้งนี้ผู้วิจัยเป็นผู้ด้าเนินการรวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง โดยด้าเนินการตามขั้นตอนดังนี้

2.1 ผู้วิจัยขอสัมภาษณ์ประชาชนผู้ที่อาศัยอยู่ในเขตเทศบาลเมืองชลบุรีที่ไปใช้ประโยชน์จากสวนเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเฉลิมพระชนมพรรษา 80 ปี (สวนต้าหนักน้้าเดิม) โดยใช้เวลาในการเก็บข้อมูลเป็นวันจันทร์-วันอาทิตย์ แบ่งการเก็บข้อมูลเป็น 2 ช่วงเวลา คือ เวลา 5.00-7.00 น. และ 16.00-20.00 น. โดยการขอสัมภาษณ์ตามแบบสอบถามที่ได้เตรียมไว้จ้านวน 400 ฉบับ โดยใช้ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล 30 วัน

2.2 ผู้วิจัยน้าแบบสอบถามที่ได้มาลงรหัสเพื่อน้าไปวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ ข้อมูลที่ได้จากแบบสอบถามจะน้ามาวิเคราะห์ด้วยเคร่ืองคอมพิวเตอร์ โดยใช้โปรแกรม คอมพิวเตอร์ส้าเร็จรูป สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive statistic) คือ การอธิบายลักษณะทั่ว ๆ ไปของข้อมูลที่เก็บรวบรวมมาได้ โดยการน้าเสนอเป็นตารางร้อยละ ความถี่ ค่าเฉลี่ย

Page 5: บทคัดย่อ - Burapha University · บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการสร้าง
Page 6: บทคัดย่อ - Burapha University · บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการสร้าง

อภิปรายผล ผลการวิเคราะห์ปัจจัยส่วนบุคคลและปัจจัยด้านคุณลักษณะทางเศรษฐกิจและสังคมของผู้ใช้ประโยชน์ มีปัจจัยด้านแนวทางการสร้างนโยบายและมาตรการการพัฒนาสวนสาธารณะ ไม่แตกต่างกัน ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของวินัย พิมพ์แพทย์ (2556) ที่เห็นด้วยกับการศึกษาความคิดเห็นของประชาชนต่อการให้บริการสวนกาญจนาภิเษก ร.9 จังหวัดสระแก้ว ที่ว่า ด้านสภาพแวดล้อมมีความคิดเห็นต่อการบริการในระดับเหมาะสมมาก เพราะสภาพแวดล้อมสวนสาธารณะได้รับการออกแบบให้มีคลอง บึงน้้า ทางเดิน ทางจักรยาน สวนหย่อม ศาลาพักผ่อน ลานกิจกรรม ด้านสิ่งอ้านวยความสะดวกมีความคิดเห็นต่อการให้บริการอยู่ในระดับเหมาะสมปานกลาง และด้านการจัดการให้บริการขั้นพื้นฐานมีความคิดเห็นอยู่ในระดับเหมาะสมปานกลาง ที่เน้นด้านโครงสร้างพื้นฐานต่าง ๆ จากการศึกษาความคิดเห็นของผู้ใช้ประโยชน์จากสวนเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเฉลิมพระชนมพรรษา 80 ปี (สวนต้าหนักน้้าเดิม) อธิปรายผลได้ดังนี้ 1. ผู้ใช้ประโยชน์จากสวนเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเฉลิมพระชนมพรรษา 80 ปี (สวนต้าหนักน้้าเดิม) จ้านวน 400 คน ส่วนใหญ่หญิง มีอายุตั้งแต่ 21-25 ปี และ 26-30 ปี รองลงมามีอายุ 31-35 ปี ซึ่งส่วนใหญ่มีระดับการศึกษามัธยมศึกษาตอนต้น มีอาชีพนักเรียน/ นักศึกษา และมีรายได้ 5,000-10,000 บาท ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับความคิดเห็นต่อแนวทางการสร้างนโยบายและมาตรการการพัฒนาสวนเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเฉลิมพระชนมพรรษา 80 ปี (สวนต้าหนักน้้าเดิม) โดยรวม มีระดับความคิดเห็นปานกลาง ส้าหรับผลการพิจารณารายละเอียดในแต่ละด้านสามารถเรียงล้าดับค่าคะแนนเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยตามเกณฑ์ในการวิเคราะห์ และแปรผลข้อมูล คือ ด้านสภาพแวดล้อมและภูมิศาสตร์ ด้านการอนุรักษ์เชิงพัฒนา ด้านการจัดระเบียบการให้บริการ และด้านสื่อประชาสัมพันธ์ มีระดับความคิดเห็นปานกลาง ดังต่อไปนี้ ระดับความคิดเห็นของผู้ใช้ประโยชน์ต่อแนวทางการสร้างนโยบายและมาตรการการพัฒนาสวนสาธารณะ ด้านสภาพแวดล้อมและภูมิทัศน์ อยู่ในระดับมาก คือ มีการถ่ายเทอากาศในบริเวณต่าง ๆ อย่างเหมาะสม มีความสวยงามและร่มร่ืนของภูมิทัศน์ในบริเวณ และมีจุดพักผ่อนไว้อย่างเพียงพอและเหมาะสม ระดับความคิดเห็นของผู้ใช้ประโยชน์ต่อแนวทางการสร้างนโยบายและมาตรการการพัฒนาสวนสาธารณะ ด้านการอนุรักษ์เชิงพัฒนา อยู่ในระดับปานกลาง คือ มีการส่งเสริมให้ประชาชนได้รับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการอนุรักษ์และพัฒนาสวนสาธารณะ มีการรณรงค์ให้เห็นถึงความส้าคัญเกี่ยวกับสวนสาธารณะ เพื่อการอนุรักษ์และพัฒนาอย่างต่อเนื่อง และมีการสนับสนุนให้ประชาชนที่มาใช้บริการมีส่วนร่วมในการพัฒนาในด้านต่าง ๆ ของสวนสาธารณะอย่างต่อเนื่อง ระดับความคิดเห็นของผู้ใช้ประโยชน์ต่อแนวทางการสร้างนโยบายและมาตรการการพัฒนาสวนสาธารณะ ด้านการจัดระเบียบการให้บริการ อยู่ในระดับปานกลาง คือ มีความสะอาดภายในบริเวณสวนสาธารณะ มีสถานที่จอดรถเพียงพอ และมีห้องสุขา มีความสะอาดถูกสุขลักษณะและมีจ้านวนเพียงพอความต้องการ ระดับความคิดเห็นของผู้ใช้ประโยชน์ต่อแนวทางการสร้างนโยบายและมาตรการการพัฒนาสวนสาธารณะ ด้านสื่อประชาสัมพันธ์ อยู่ในระดับปานกลาง คือ สวนสาธารณะมีการจัดกิจกรรม อาทิเช่น กิจกรรมวิ่งมาราธอน เพื่อสร้างการประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่อง สวนสาธารณะมีการโฆษณาผ่านสื่อต่าง ๆ เช่น วิทยุ เสียงตามสาย ป้ายโฆษณา และสวนสาธารณะมีการจัดให้บริการข่าวสารอย่างเหมาะสม

ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั งต่อไป 1. ควรมีการวิจัย การติดตามผลความคิดเห็นของผู้ใช้ประโยชน์จากสวนเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเฉลิมพระชนมพรรษา 80 ปี (สวนต้าหนักน้้าเดิม) อย่างต่อเน่ือง 2. ควรมีการวิจัย การติดตามผลความคิดเห็นของผู้ใช้ประโยชน์จากสวนสาธารณะในเขตจังหวัดชลบุรี เพื่อเป็นการเปรียบเทียบสวนสาธารณะต่าง ๆ

Page 7: บทคัดย่อ - Burapha University · บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการสร้าง

บรรณานุกรม กฤช อัจริยาภรณ์. (2550). ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการนันทนาการของสวนวชิรเบญจทัศ กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชานันทนาการ, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. เกณฑ์มาตรฐานสวนสาธารณะเพื่อการออกก าลังกาย. (2557). นนทบุรี: กองออกก้าลังกาย เพื่อสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. เจริญทัศน์ จินตเสรี. (2559). การออกก าลังกาย. เข้าถึงได้จาก http://th.www.wikipedia.org ณรงค์ ซองทุมมินทร์. (2551). ความคิดเห็นต่อการพัฒนาสวนสาธารณะทุ่งศรีเมืองของ ประชาชนในเขตเทศบาลนครอุดรธานี. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาสังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนา, มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี. เทศบาลเมืองชลบุรี. (2558). เข้าถึงได้จาก http://www.chonburicity.go.th ธนกฤต แป้นปั้น. (2551). การศึกษาความหวังของประชาชนที่มาใช้บริการสวนสาธารณะเทศบาล เมืองศรีราชา จังหวัดชลบุรี. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารทั่วไป. นานาสาระเพื่อการพัฒนา. (2559). เข้าถึงได้จาก http://paisarnkr.blogspot.com/2014/04/ blog-post_10.html, บวรศักดิ์ อุวรรณโณ และคณะ. (2554). รายงานการศึกษา เร่ือง การมีส่วนร่วมของประชาชนใน กระบวนการนโยบายสาธารณะ (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: เอ.พี.กราฟฟิค ดีไซน์และ การพิมพ์. พลอยชมพู สุทธิกาวิลกลุ. (2555). การศึกษาทัศนคติของผู้ใช้สวนสาธารณะจตุจักรที่มีต่อการจ าท า พื้นที่ออกก าลังกายของสุนัข. กรุงเทพฯ: ภาควิชาการออกแบบและวางผังชุมชนเมือง, มหาวิทยาลัยศิลปากร. ภควดี ศรีอ่อม. (2555). พฤติกรรมการใช้สวนสาธารณะและสภาพแวดล้อมทางภูมิทัศน์ กรณีศึกษา สวนรมณีนาถ. กรุงเทพฯ: ภาควิชาการออกแบบและวางผังชุมชนเมือง, มหาวิทยาลัยศิลปากร. ภัทราวดี อ่ิมศิริ. (2549). การให้บริการสวนสาธารณะเขตลาดกระบัง. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสตร มหาบัณฑิต, สาขาบริการทั่วไป, วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ, มหาวิทยาลัยบูรพา. ภาพทัศนียภาพและบรรยากาศในสวนต าหนักน้ า. (2559). เข้าถึงได้จาก www.wikipedia.org โมเวนและไมเนอร์. (1998). เข้าถึงได้จาก http://mycerebrum.blogspot.com/2010/06/ perception.html วินัย พิมพ์แพทย์. (2556). ความคิดเห็นของประชาชนต่อการให้บริการสวนกาญจนาภิเษก ร.9 ใน ความรับผิดชอบของเทศบาลเมืองอรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว. วิทยานิพนธ์ รัฐประศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการเมืองการปกครอง, คณะรัฐศาสตร์ และนิติศาสตร์, มหาวิทยาลัยบูรพา. วิลาสินี พ่วงสุด. (2550). ความพึงพอใจของประชาชนต่อการจัดการพื้นที่สวนสาธารณะเทศบาล เมืองบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชา การบริหารทรัพยากรป่าไม้, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.