บทคัดย่อienetwork2012.spu.ac.th/.../ienetwork2012-0681.docx · web view2.2.2...

12
กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกก ก.ก. 2555 17-19 กกกกกก 2555 กกกกก กกกกกกกก คคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคค คคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคค คคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคค คคคคคคคคคค คคคคคคคคคคคคคค The appropriation of transferring school milk bags into fuel for the west and south sides in the pyrolysis process by considering the transportation cost สสสสสสส สสสสสส 1* , สสสสสสส สสสสสสสสส 2 , สสสสสสสสสสส สสส สสสส 3 1,2 สสสสสสสสสสสสสสสสสสส สสสสสสสสสสสสสสสสส สสสสสสสสสสส สสสสสสสสสส (สสสสสสสสสสส) สสสสสสสส 12120 3 สสสสสสสสสสสสสสสสสสสส สสสสสสสสสสสสสสสสส สสสสสสสสสสส สสสสสสสสสส (สสสสสสสสสสส) สสสสสสสส 12120 E-mail: supreeya_jom@hotmail.com * Supreeya Sangmanee 1* Woraratana Pattaraprakorn 2 Pornrapeepat Bhasaputra 3 1,2 Department of chemical Engineering, Faculty of Engineering, Thammasat University, Pathumthani 10900 3 Department of Electrical Engineering, Faculty of Engineering, Thammasat University, Pathumthani 10900 E-mail: supreeya_jom@hotmail.com * คคคคคคคค สสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสส สสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสส สสสสสสสสส สสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสส สสสสสสสสสสสสสส สสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสส

Upload: others

Post on 29-Dec-2019

2 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: บทคัดย่อienetwork2012.spu.ac.th/.../IENETWORK2012-0681.docx · Web view2.2.2 กระบวนการล คว แฟคช น (Liquefaction) เป นการนำขยะไปใส

การประชุมวชิาการขา่ยงานวศิวกรรมอุตสาหการ ประจำาปี พ.ศ. 2555

17-19 ตลุาคม 2555 ชะอำา เพชรบุรี

ความเหมาะสมในการแปรรูปถงุนมโรงเรยีนเป็นน้ำ�ามนัเชื�อเพลิงส้ำาหรบัพื�นท่ีภาคตะวนัตกและภาคใต้โดยกระบวนการไพโร

ไลซสิ โดยพจิารณาต้นทนุการขนสง่The appropriation of transferring school

milk bags into fuel for the west and south sides in the pyrolysis process by

considering the transportation costสปุรยีา แสงมณี1*, วรรตัน์ ปัตรประกร 2, พรระพพีฒัน์ ภาสบุตร 3

1,2 ภาควชิาวศิวกรรมเคม ีคณะวศิวกรรมศาสตร ์มหาวทิยาลัยธรรมศาสตร ์(ศูนย์รงัสติ) ปทมุธานี 12120

3 ภาควชิาวศิวกรรมไฟฟา้ คณะวศิวกรรมศาสตร ์มหาวทิยาลัยธรรมศาสตร ์(ศูนย์รงัสติ) ปทมุธานี 12120

E-mail: [email protected]*

Supreeya Sangmanee1* Woraratana Pattaraprakorn2

Pornrapeepat Bhasaputra31,2Department of chemical Engineering, Faculty of Engineering,

Thammasat University, Pathumthani 10900

3Department of Electrical Engineering, Faculty of Engineering, Thammasat University,

Pathumthani 10900E-mail: [email protected]*

บทคัดยอ่ในงานวจิยัน้ีเป็นการนำาเสนอวธิกีารจดัการขยะถงุนมโรงเรยีนซึ่งเป็นขยะพลาสติกที่เกิดขึ้นอยูท่กุพื้นท่ีในประเทศไทย แมว้า่ทกุโรงเรยีนจะมกีารจดัการเพื่อลดปรมิาณขยะท่ีเกิดขึ้น แต่วธิกีารสว่นใหญ่ล้วนแล้วแต่ก่อใหเ้กิดปัญหาสิง่แวดล้อมตามมาทัง้สิน้ งานวจิยันี้จงึทำาการศึกษาความเหมาะสมในการตัง้โรงแปรรูปถงุนมโรงเรยีนเป็นนำ้ามนัเชื้อเพลิงด้วยกระบวนการไพโรไลซสิ โดยการวเิคราะหศั์กยภาพจากพื้นท่ีท่ีมคีวามเสีย่งด้านต้นทนุจากการขนสง่มากที่สดุคือภาคตะวนัตกและภาคใต้ พบวา่พื้นที่ดังกล่าวมศัีกยภาพในการผลิตเป็นนำ้ามนัเชื้อเพลิงได้ถึง 640,174 ลิตรต่อปี และจาก

Page 2: บทคัดย่อienetwork2012.spu.ac.th/.../IENETWORK2012-0681.docx · Web view2.2.2 กระบวนการล คว แฟคช น (Liquefaction) เป นการนำขยะไปใส

การประชุมวชิาการขา่ยงานวศิวกรรมอุตสาหการ ประจำาปี พ.ศ. 2555

17-19 ตลุาคม 2555 ชะอำา เพชรบุรี

การวเิคราะหผ์ลตอบแทนทางเศรษฐศาสตรพ์บวา่ใหผ้ลตอบแทนท่ีคุ้มค่าทกุดัชนี โดยใชร้ะยะเวลาในการคืนทนุเพยีง 1.55 ปี ใหค้่าเงินปัจจุบนัสทุธทิี่เป็นบวกคือ 155,656,680 บาท ใหค้่าอัตราผลตอบแทนภายในท่ีสงูกวา่ค่าท่ียอมรบัได้ที่ 83% และใหค้่าอัตราผลตอบแทนต่อต้นทนุท่ีมากกวา่หนึ่งคือ 2.83 แต่หากพจิารณาถึงต้นทนุการขนสง่พบวา่การตัง้โรงงานเพยีงแหง่เดียวในพื้นท่ีภาคตะวนัตกและภาคใต้ จะทำาใหไ้ด้ผลตอบแทนทางเศรษฐศาสตรล์ดลงเมื่อค่าขนสง่เพิม่สงูขึ้น ซึ่งต้นทนุค่าขนสง่ตำ่าสดุจะต้องไมส่งูกวา่ 156%, 115%, และ 180% ของต้นทนุ จงึจะทำาใหค้่าเงินปัจจุบนัสทุธเิป็นบวก, อัตราผลตอบแทนภายในยอมรบัได้, และอัตราผลตอบแทนต่อต้นทนุมากกวา่หนึ่ง ตามลำาดับค้ำาหลัก ถงุนมโรงเรยีน, ต้นทนุการขนสง่, ดัชนีทางเศรษฐศาสตร์

AbstractThis research is to present the management of school milk bags which become plastic garbage in many areas around Thailand. Although several schools have a way to decrease the amount of garbage bags, but most of those ways are all causing environment disorders in return. So this research studies the appropriation of transferring school milk bags into fuel by pyrolysis process. By potential evaluation, the risk areas due to the higher logistic cost are southern and west region of Thailand. These two areas have potentials to transfer the bags into fuel 640,174 liters per year. Based on the economic evaluation, all index are worth, by considering of payback period (PB), net present value (NPV), internal rate of return (IRR) and benefit cost ratio (B/C) which is 1.55 years, 155,656,680 baht, 83% and 2.83, respectively. When logistic cost is included and only one factory is settled, the benefit will decrease. If the logistic cost is lower than 156%, the NPV will be positive. While the logistic cost is lower than 115%, IRR is higher than minimum attractive rate. Finally, when the logistic cost is lower than 180%, the B/C is more than 1. Keywords: schools milk bags, transportation cost, economic index

1. บทน้ำาของเสยีที่เกิดขึ้นจากอุตสาหกรรม

ผลิตนมหลักๆคือ นม นำ้า และสารเคมใีน

การล้างระบบ ซึ่งมกีารจดัการในสว่นของการบำาบดันำ้าเสยีที่ได้มาตรฐานของโรงงานอยูแ่ล้ว แต่ขยะท่ีเกิดขึ้นหลังจาก

Page 3: บทคัดย่อienetwork2012.spu.ac.th/.../IENETWORK2012-0681.docx · Web view2.2.2 กระบวนการล คว แฟคช น (Liquefaction) เป นการนำขยะไปใส

การประชุมวชิาการขา่ยงานวศิวกรรมอุตสาหการ ประจำาปี พ.ศ. 2555

17-19 ตลุาคม 2555 ชะอำา เพชรบุรี

นัน้คือถงุนมซึ่งเป็นพลาสติกท่ียอ่ยสลายได้ยาก โดยเฉพาะอยา่งยิง่ตัง้แต่ปี 2535 ถึงปัจจุบนัประเทศไทยมโีครงการอาหารเสรมิ(นม)โรงเรยีน เพื่อใหเ้ด็กนักเรยีนในระดับก่อนวยัเรยีนถึงชัน้ ป.6 ของโรงเรยีนทกุสงักัดทัว่ประเทศได้รบัด่ืมนมท่ีมคีณุภาพตามประกาศของกระทรวงสาธารณสขุ โดยใหเ้ด็กนักเรยีนด่ืมนมพาสเจอรไ์รสแ์บบถงุปีละอยา่งน้อย 200 วนั [1] ทำาใหเ้กิดขยะจากถงุนมโรงเรยีนทัว่ประเทศมากถึง 1,288,891,600 ถงุ หรอื 3,532 ตันเป็นอยา่งน้อย เมื่อดเูฉพาะพื้นที่พบวา่โซนท่ี 3 ท่ีม ี37 จงัหวดัประกอบไปด้วยภาคกลางบางสว่น ภาคตะวนัออก และภาคตะวนัออกเฉียงเหนือมปีรมิาณขยะจากถงุนมโรงเรยีนมากที่สดุถึง 2,072 ตันต่อปี รองลงมาคือโซนท่ี 2 ท่ีม ี22 จงัหวดัประกอบไปด้วยภาคตะวนัตกและภาคใต้ และโซนที่ 1 ท่ีม ี17 จงัหวดัประกอบไปด้วยภาคกลางบางสว่นและภาคเหนือ ตามลำาดับดังแสดงในรูปที่ 1 [2]

รูปท่ี 1 ปรมิาณขยะจากถงุนมโรงเรยีนปี 2553 จำาแนกตามเขตพื้นท่ี

จากรูปท่ี 1 จะเหน็วา่โซนที่ 2 คือภาค

ตะวนัตกและภาคใต้นัน้มรีะยะทางการขนสง่ที่ไกลกวา่พื้นท่ีโซนอ่ืนๆ ดังนัน้โซนท่ี 2 จงึมคีวามเสีย่งในการลงทนุก่อสรา้งโครงการมากที่สดุ ผู้วจิยัจงึเลือกพื้นท่ีดังกล่าวมาศึกษาหาความเหมาะสมในครัง้นี้

การจดัการขยะจากถงุนมโรงเรยีนมีหลายวธิกีารแตกต่างกันอันเนื่องมาจากกิจกรรม วฒันธรรม ค่านิยม พื้นท่ี เป็นต้น จากการสำารวจพบวา่การจดัการขยะจากถงุนมโรงเรยีนมสีดัสว่นของการท้ิงลงถังขยะมากท่ีสดุ รองลงมาคือ เผาทำาลาย การชัง่กิโลขาย การทำาสิง่ประดิษฐ ์การทำาประโยชน์อ่ืนๆ เชน่ ถงุเพาะชำา ผ้ากันเปื้ อน เป็นต้น และอ่ืนๆตามลำาดับ ดังแสดงในรูปท่ี 2

รูปท่ี 2 สว่นประกอบของวธิกีารจดัการขยะถงุนมโรงเรยีน

จากสว่นประกอบของวธิกีารจดัการขยะถงุนมโรงเรยีนที่แสดงขา้งต้นแมว้า่บางสว่นดเูหมอืนจะชว่ยลดขยะลงได้บา้งจากการทำาสิง่ประดิษฐห์รอืประโยชน์อ่ืนๆแต่ก็เป็นเพยีงสว่นเล็กน้อยเท่านัน้ สว่นใหญ่ล้วนแล้วแต่ก่อใหเ้กิดปัญหาสิง่แวดล้อมทัง้สิน้ไมว่า่จะเป็นการเผาทำาลาย

Page 4: บทคัดย่อienetwork2012.spu.ac.th/.../IENETWORK2012-0681.docx · Web view2.2.2 กระบวนการล คว แฟคช น (Liquefaction) เป นการนำขยะไปใส

การประชุมวชิาการขา่ยงานวศิวกรรมอุตสาหการ ประจำาปี พ.ศ. 2555

17-19 ตลุาคม 2555 ชะอำา เพชรบุรี

และท้ิงลงถังขยะซึ่งจะนำาไปฝังกลบต่อไป และการฝังกลบยงัต้องใชร้ะยะเวลา 400-500 ปี จงึจะยอ่ยสลายหมด ดังนัน้จงึมขียะถงุนมโรงเรยีนท่ีตกค้างอยูใ่นหลมุฝังกลบเป็นจำานวนมาก เทคโนโลยีไพโรไลซสิ (pyrolysis) ถือเป็นอีกหนึ่งทางเลือกสำาหรบักระบวนการกำาจดัขยะจำาพวกพลาสติกท่ีสามารถแปรรูปเป็นนำ้ามนัเชื้อเพลิง โดยคณุภาพก่อนการปรบัปรุงก็อยูใ่นชว่งของนำ้ามนัเตาและนำ้ามนัดีเซล ผลิตภัณฑ์ท่ีได้อาจแตกต่างกันตามชนิดของพลาสติก [3] นอกจากสามารถชว่ยลดปรมิาณขยะพลาสติกท่ีกำาจดัยากเพราะต้องใชเ้วลายอ่ยสลายนานนับรอ้ยปีแล้ว ยงัเป็นการตอบสนองกับสภาวะการขาดแคนพลังงานที่โลกกำาลังเผชญิอยูใ่นขณะนี้ด้วย

2. ระเบยีบวธิวีจิยั2.1 ตัวแปรที่มผีลต่อศักยภาพในการผลิตเป็นน้ำ�ามนั

จำานวนวนัที่ผลิตในแต่ละปี ซึ่งจะเป็นการบง่บอกจำานวนถงุนมท่ีเกิดขึ้นด้วย พบวา่ตัง้แต่ปี 2535 ถึงปัจจุบนัประเทศไทยมโีครงการอาหารเสรมิโรงเรยีน เพื่อใหเ้ด็กนักเรยีนในระดับก่อนวยัเรยีนถึงชัน้ ป.6 ของโรงเรยีนทกุสงักัดทัว่ประเทศได้รบัด่ืมนมท่ีมคีณุภาพตามประกาศของกระทรวงสาธารณสขุ โดยใหเ้ด็กนักเรยีนด่ืมนมพาสเจอรไ์รส์แบบถงุปีละอยา่งน้อย 200 วนั งานวจิยั

นี้จงึกำาหนดวนัท่ีผลิตถงุนมในแต่ละปีคือ 200 วนั เพื่อได้ค่าใกล้เคียงความเป็นจรงิมากท่ีสดุ

ประสทิธภิาพการแปรรูป พบวา่ขยะถงุนมโรงเรยีน 1 กิโลกรมัจะใหน้ำ้ามนัเชื้อเพลิงจากกระบวนการไพโร-ไลซสิ 0.75 ลิตร นำ้ามนัเชื้อเพลิงที่ได้จากกระบวนการไพโรไลซสิถงุพลาสติก มีปรมิาณนำ้ามนัดีเซลและนำ้ามนัเบนซนิเป็นองค์ประกอบหลัก รองลงมาคือ Top C5, Furnace Oil, และอ่ืนๆโดยมีอัตราสว่น 68.78%, 27.43%, 1.93%, 0.97%, และ 0.89% ตามลำาดับ [4]2.2 เทคโนโลยใีนการแปรรูปพลาสติกเป็นเชื�อเพลิง

พลาสติกเป็นขยะปิโตรเคมจีงึถกูยอ่ยสลายได้ยากโดยจุลินทรยี ์วธิกีารท่ีจะยอ่ยสลายขยะประเภทนี้จงึต้องอาศัยกระบวนการทางความรอ้นโดยเปล่ียนให้ไปอยูใ่นรูปของสารปิโตรเคมขีัน้ต้นหรอืพลังงานในรูปแบบต่างๆ โดยวธิกีารท่ีจะเปล่ียนขยะเหล่านี้ใหเ้ป็นพลังงานแปรรูปท่ีมคี่าความรอ้นท่ีสงูกวา่อยา่งก๊าซเชื้อเพลิงและนำ้ามนั ม ี3 กระบวนการก็คือ 2.2.1 กระบวนการก๊าซซฟิเิคชนั (Gasification) เป็นการยอ่ยสลายขยะด้วยความรอ้น เพื่อผลิตก๊าซสงัเคราะห์คือ ก๊าซไฮโดรเจนและก๊าซคารบ์อนมอนออกไซด์ [5]2.2.2 กระบวนการลิควแิฟคชนั

Page 5: บทคัดย่อienetwork2012.spu.ac.th/.../IENETWORK2012-0681.docx · Web view2.2.2 กระบวนการล คว แฟคช น (Liquefaction) เป นการนำขยะไปใส

การประชุมวชิาการขา่ยงานวศิวกรรมอุตสาหการ ประจำาปี พ.ศ. 2555

17-19 ตลุาคม 2555 ชะอำา เพชรบุรี

(Liquefaction) เป็นการนำาขยะไปใสใ่นนำ้าหรอืของเหลวท่ีสามารถละลายนำ้ามนัได้ แล้วใหค้วามรอ้นอยา่งชา้ๆ คล้ายการตุ๋น จนกระทัง่ขยะยอ่ยสลายกลายเป็นนำ้ามนั [6]2.2.3 กระบวนการไพโรไลซสิ (Pyrolysis) เป็นการนำาขยะไปผ่านความรอ้นในระบบปิดในสภาพท่ีไมม่ีออกซเิจนเพื่อไมใ่หข้ยะถกูเผาไหมก้ลายเป็นความรอ้นเพยีงอยา่งเดียว องค์ประกอบของขยะจะแตกตัวเล็กลงจนอยู่ในรูปแบบของก๊าซเชื้อเพลิงหรอืนำ้ามนั [7]

ในแต่ละกระบวนการมคีวามเหมาะสมในการแปรรูปผลิตภัณฑ์ท่ีแตกต่างกัน โดยขอ้ดีขอ้เสยีในแต่ละกระบวนการได้แสดงไวด้ังตารางท่ี 1 ซึ่งกระบวนการไพโรไลซสิเป็นกระบวนการท่ีเหมาะสมในการแปรรูปพลาสติกเป็นนำ้ามนั จงึมคีวามน่าสนใจในการนำามาวจิยัครัง้นี้

ตารางท่ี 1 เปรยีบเทียบขอ้ดีขอ้เสยีในกระบวนการแปรรูปพลาสติก

กระบวนการ

ขอ้ดี ขอ้เสยี

ก๊าซซฟิเิคชนั

เหมาะกับระบบการผลิตไฟฟา้ขนาดเล็กเชน่หมูบ่า้นหา่งไกล

- มกัมนีำ้ามนัดิน (Tar) ผสมในเชื้อเพลิง จงึมกัมปัีญหาต่อเครื่องยนต์- ได้เชื้อเพลิงท่ี

เป็นก๊าซเท่านัน้ลิควแิฟ

คชนัได้เชื้อเพลิงท่ีเป็นของเหลว

- ใชเ้วลานาน- มรีะบบท่ียุง่ยาก- ได้เชื้อเพลิงของเหลวเท่านัน้

ไพโรไลซสิ

- มรีะบบท่ีไมยุ่ง่ยากซบัซอ้น- ได้เชื้อเพลิงทัง้ก๊าซและนำ้ามนั

ต้องทำาการกลัน่แยกเป็นนำ้ามนัชนิดต่างๆ

2.3 ก า ร ห า ผ ล ต อ บ แ ท น ท า งเศรษฐศาสตร์

ผู้วจิยัเลือกใหค้วามสำาคัญเฉพาะนำ้ามนัดีเซลและนำ้ามนัเบนซนิเน่ืองจากให้ปรมิาณอัตราสว่นท่ีสงูอีกทัง้ยงัเป็นนำ้ามนัที่ใชป้ระโยชน์สำาหรบัรถขนสง่ภายในองค์กรด้วย ซึ่งนำ้ามนัดีเซลราคา 29.83 บาทต่อลิตร และนำ้ามนัเบนซนิราคา 41.05 บาทต่อลิตร (อ้างอิงจากราคาขายปลีกมาตรฐานในเขต กทม.และปรมิณฑล ในวนัท่ี 29 พ.ค.55) โดยกำาหนดใหเ้พิม่ขึ้น 3% ต่อปี โดยไมค่ิดค่าขนสง่ อายุโครงการ 15 ปี อัตราผลตอบแทนตำ่าสดุที่น่าสนใจ (Minimum Attractive Rate of Return, MARR) เท่ากับ 5% ราคาต้นทนุ

Page 6: บทคัดย่อienetwork2012.spu.ac.th/.../IENETWORK2012-0681.docx · Web view2.2.2 กระบวนการล คว แฟคช น (Liquefaction) เป นการนำขยะไปใส

การประชุมวชิาการขา่ยงานวศิวกรรมอุตสาหการ ประจำาปี พ.ศ. 2555

17-19 ตลุาคม 2555 ชะอำา เพชรบุรี

เครื่องจกัรทัง้ระบบขึ้นกับขนาดกำาลังผลิตดังแสดงในรูปท่ี 3 [8]

รูปท่ี 3 สว่นประกอบของเครื่องจกัรทัง้ระบบท่ีใชใ้นการแปรรูปขยะ

3. ผลการวจิยัและอภิปรายผล3.1 การหาศักยภาพในการผลิตเป็นน้ำ�ามนัในพื�นท่ีภาคตะวนัตกและภาคใต้

จากการวเิคราะหห์าศักยภาพในการแปรรูปพลาสติกเป็นนำ้ามนัในพื้นที่ภาคตะวนัตกและภาคใต้ แสดงดังตารางที่ 2

ตารางท่ี 2 ปรมิาณผลิตภัณฑ์เชื้อเพลิงท่ีได้ในพื้นท่ีภาคตะวนัตกและภาคใต้

ปรมิาณถงุนมต่อปี (kg)

ปรมิาณนำ้ามนัเชื้อเพลิง (ลิตร)

ทัง้หมด

ดีเซล เบนซนิ

853,566

640,174

440,312

175,600

3.2 การหาผลตอบแทนทางเศรษฐศาสตร์

การวเิคราะหห์าผลตอบแทนทางเศรษฐศาสตรจ์ากโครงการตัง้โรงงานผลิตนำ้ามนัเชื้อเพลิงจากขยะพลาสติกถงุนมโรงเรยีนในพื้นที่ภาคตะวนัตกและภาคใต้โดยใชข้อ้กำาหนดดังแสดงในตารางท่ี 3 พบวา่ใหผ้ลตอบแทนที่คุ้มค่าทกุดัชนี โดยใชร้ะยะเวลาในการคืนทนุ (Payback period, PB) เพยีง 1.55 ปี ใหค้่าเงินปัจจุบนัสทุธ ิ(Net present value, NPV) ท่ีเป็นบวกคือ 155,656,680 บาท ใหค้่าอัตราผลตอบแทนภายใน (Internal rate of return, IRR) ท่ีสงูกวา่ค่าท่ียอมรบัได้ท่ี 83% และใหค้่าอัตราผลตอบแทนต่อต้นทนุ (Benefit to cost ratio, B/C) ท่ีมากกวา่หนึ่งคือ 2.83

ตารางท่ี 3 ขอ้กำาหนดในการวเิคราะหผ์ลตอบแทนทางเศรษฐศาสตร์

ขนาด(ตัน/

วนั)

ค่าแปรรูป(บาท/ลิตร)

ค่าแรง(ล้าน

บาท/ปี)

ค่าปรกึษา(บาท/ปี)

151520

2.002.503.504.00

1.442.163.604.32

10,00043,750103,75

0137,50

0

ดัชนีทางเศรษฐศาสตรจ์ะแปรผันตรงกับขนาดของโรงแปรรูปพลาสติกเป็นนำ้ามนัโดยเมื่อขนาดโรงแปรรูปใหญ่

Page 7: บทคัดย่อienetwork2012.spu.ac.th/.../IENETWORK2012-0681.docx · Web view2.2.2 กระบวนการล คว แฟคช น (Liquefaction) เป นการนำขยะไปใส

การประชุมวชิาการขา่ยงานวศิวกรรมอุตสาหการ ประจำาปี พ.ศ. 2555

17-19 ตลุาคม 2555 ชะอำา เพชรบุรี

ขึ้นก็จะใหค้่า NPV มากขึ้นดังแสดงในรูปท่ี 4 เนื่องจากการใหป้รมิาณนำ้ามนัเชื้อเพลิงมากขึ้นนัน่เอง สว่นค่า IRR และ B/C พบวา่ใหค้่าเพิม่มากขึ้นตามขนาดโรงผลิตเชน่กัน แต่ไมค่งท่ีโดยเมื่อถึงจุดหนึ่งจะใหอั้ตราสว่นการเพิม่ขึ้นของดัชนีท่ีลดลงดังแสดงในรูปท่ี 5 และรูปท่ี 6 ตามลำาดับ

รูปท่ี 4 ผลของขนาดโรงแปรรูปต่อค่า NPV

รูปท่ี 5 ผลของขนาดโรงแปรรูปต่อค่า IRR

รูปท่ี 6 ผลของขนาดโรงแปรรูปต่อค่า B/C

แต่อยา่งไรก็ตามการตัง้โรงงานเพื่อแปรรูป ต้นทนุขนสง่นับเป็นปัจจยัที่สำาคัญ ดังนัน้ในงานวจิยันี้จงึทำาการวเิคราะหผ์ลกระทบจากต้นทนุขนสง่ต่อความเหมาะสมในการตัง้โรงงาน พบวา่ค่า NPV จะมคี่ามากกวา่ศูนยห์ากต้นทนุขนสง่ตำ่ากวา่ 156% ของต้นทนุรวม ดังแสดงในรูปท่ี 7 ค่า IRR จะมคี่าสงูกวา่ค่าท่ียอมรบัได้เมื่อต้นทนุขนสง่ตำ่ากวา่ 115% ของต้นทนุรวม ดังแสดงในรูปท่ี 8 และค่า B/C จะมคี่ามากกวา่หนึ่งเมื่อต้นทนุขนสง่ตำ่ากวา่ 180% ของต้นทนุรวม ดังแสดงในรูปท่ี 9

Page 8: บทคัดย่อienetwork2012.spu.ac.th/.../IENETWORK2012-0681.docx · Web view2.2.2 กระบวนการล คว แฟคช น (Liquefaction) เป นการนำขยะไปใส

การประชุมวชิาการขา่ยงานวศิวกรรมอุตสาหการ ประจำาปี พ.ศ. 2555

17-19 ตลุาคม 2555 ชะอำา เพชรบุรี

รูปท่ี 7 ค่า NPV ท่ีได้จากการคิดค่าต้นทนุขนสง่

รูปท่ี 8 ค่า IRR ท่ีได้จากการคิดค่าต้นทนุขนสง่

รูปท่ี 9 ค่า B/C ท่ีได้จากการคิดค่าต้นทนุขนสง่จะเหน็ได้วา่ต้นทนุค่าขนสง่นัน้มผีลก

ระทบต่อผลตอบแทนท่ีจะได้รบั ดังนัน้ตำาแหน่งการตัง้โรงงานแปรรูปจงึเป็นสิง่สำาคัญ ผู้วจิยัจงึคิดวา่ควรจะต้องมกีารตัง้โรงงาน 1 โรงสำาหรบัการรวมกลุ่มกันของผู้ประกอบการแปรรูปนมที่อยูพ่ื้นที่ใกล้เคียงกัน เพื่อท่ีจะลดปัญหาด้านต้นทนุการขนสง่ท่ีจะเกิดขึ้น ซึ่งสามารถเลือกจุดท่ีสนใจได้ดังท่ีแสดงในรูปท่ี 10

การวเิคราะหโ์ดยละเอียดเพื่อตัดสนิใจในการกำาหนดพื้นท่ีตัง้ของโรงงานที่มีความเป็นไปได้ในการนำาไปใชง้านนัน้กำาลังอยูร่ะหวา่งการศึกษาซึ่งจะนำาเสนอในบทความครัง้ต่อไป

รูปท่ี 10 จุดท่ีน่าสนใจในการตัง้โรงงานแปรรูป

4. สรุปผลการวจิยัการไพโรไลซสิถงุพลาสติกนม

โรงเรยีนในพื้นท่ีภาคตะวนัตกและภาคใต้

Page 9: บทคัดย่อienetwork2012.spu.ac.th/.../IENETWORK2012-0681.docx · Web view2.2.2 กระบวนการล คว แฟคช น (Liquefaction) เป นการนำขยะไปใส

การประชุมวชิาการขา่ยงานวศิวกรรมอุตสาหการ ประจำาปี พ.ศ. 2555

17-19 ตลุาคม 2555 ชะอำา เพชรบุรี

มศัีกยภาพในการผลิตเป็นนำ้ามนัเชื้อเพลิงได้มาก ซึ่งเมื่อพจิารณาที่ดัชนีทางเศรษฐศาสตรท่ี์ได้ พบวา่ดัชนีทางเศรษฐศาสตรท์กุตัวใหผ้ลตอบแทนท่ีคุ้มค่าในการลงทนุโดยใหร้ะยะเวลาในการคืนทนุเพยีงไมเ่กินสองปี ใหค้่าเงินปัจจุบนัสทุธทิี่เป็นบวก ใหค้่าอัตราผลตอบแทนภายในท่ีสงูกวา่ค่าท่ียอมรบัได้ และใหค้่าอัตราผลตอบแทนต่อต้นทนุท่ีมากกวา่หนึ่ง แต่เมื่อพจิารณาด้านต้นทนุการขนสง่พบวา่มขีอ้จำากัดอยูม่าก เนื่องจากภาคตะวนัตกและภาคใต้มรีะยะทางขนสง่ท่ีไกลดังนัน้วธิกีารตัง้โรงงานในบรเิวณท่ีมผีู้ประกอบการแปรรูปนมอยูห่นาแน่นก็จะสามารถลดต้นทนุดังกล่าวได้ ดังนัน้จงึสามารถบอกได้วา่การแปรรูปขยะพลาสติกจากถงุนมโรงเรยีนด้วยกระบวนการไพโรไลซสิในประเทศไทยมีศักยภาพมากพอท่ีจะสามารถลดปัญหาขยะและนำาไปใชเ้ป็นพลังงานทดแทนได้นัน่เอง

กิตติกรรมประกาศขอขอบคณุอาจารยภ์าควชิา

วศิวกรรมเคม ีคณะวศิวกรรมศาสตร ์มหาวทิยาลัยธรรมศาสตรศู์นยร์งัสติ ท่ีได้ใหข้อ้มูลและคำาปรกึษาในการทำาวจิยัโครงการน้ี

เอกสารอ้างอิง[1] สำานักวจิยัเศรษฐกิจการเกษตร

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 2553.

การศึกษาระบบโลจสิติกสน์มพรอ้มด ื่ม . เ อ ก ส า ร ว จิ ยั เ ศ ร ษ ฐ ก ิจการเกษตร. หน้า 25-27.

[2] ก ร ะ ท ร ว ง ศ ึก ษ า ธ กิ า ร . (10 มถินุายน, 2554). ขอ้มูล-สถิติด้านการศึกษา. ค้นเมื่อ 4 พฤษภาคม,

2555, จ า ก http://www.moe.go.th/data_stat/

[3] ศิรริตัน์ จติการค้า. 2554. “จากขยะสูน่ำ้ามนั: เทคโนโลยผีลิตพลังงานทางเลือกที่ดแูลสิง่แวดล้อม”, สำานักพมิพแ์หง่จุฬาลงกรณ์มหาวทิยาลัย, กรุงเทพฯ

[4] กาญจนา และ วรรตัน ์. 2554. การประชุมวชิาการนานาชาติวศิวกรรมเคมแีละเคมปีระยุกต์แหง่ประเทศไทย คร ัง้ ท ี่ 21, สงขลา, ประเทศไทย , 10-11 พฤศจกิายน 2554

[5] Anil, K.R. 1986. Biomass gasification. Alternative Energy in Agriculture, 2: 83-102

[6] Douglas, C.E, and Gary F.S. 1989. Liquid hydrocarbon fuels from biomass. Amer. Chem. Soc, 4: 1160-1166.

[7] Siddiqui, M.N., and Redhwi, H.H. 2009. Pyrolysis of mixed plastics for the recovery of useful products. Fuel Processing Technology, 90: 545-552.

[8] Adrian, M.C., and Paul,

Page 10: บทคัดย่อienetwork2012.spu.ac.th/.../IENETWORK2012-0681.docx · Web view2.2.2 กระบวนการล คว แฟคช น (Liquefaction) เป นการนำขยะไปใส

การประชุมวชิาการขา่ยงานวศิวกรรมอุตสาหการ ประจำาปี พ.ศ. 2555

17-19 ตลุาคม 2555 ชะอำา เพชรบุรี

T.W. 1998. Composition of oils derived from the batch pyrolysis of tyres. Journal of Analytical and Applied Pyrolysis, 44: 131-152.