กรณีศึกษาว ธ การทดลอง เป นกรณ ศ กษา (pilot...

28
กรณีศึกษา ความสัมพันธระหวางดัชนีมวลกาย และความยาวขาเปรียบเทียบ กับรอยพิมพฝาเทาเพื่อบอกลักษณะการเดินของแตละบุคคล คณะผูวิจัย นางสาวณัฐธลักษณ ภักดีณรงค นางสาวศริญญา จารยลี นางสาวสุสดี รังคะกนก นางสาวอาณา อุปการ นางสาวอุมาพร อติชาติมณี เสนอ อาจารยพัชรา สินลอยมา รายงานสวนนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษา วิชาหลักการนิติวิทยาศาสตร ภาคเรียนที1 ปการศึกษา 2550 สาขาวิชานิติวิทยาศาสตร คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

Upload: others

Post on 12-Jul-2020

5 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: กรณีศึกษาว ธ การทดลอง เป นกรณ ศ กษา (Pilot study) หาความส มพ นธ ระหว างระหว างด

กรณีศึกษา ความสัมพันธระหวางดัชนีมวลกาย และความยาวขาเปรียบเทียบ กับรอยพิมพฝาเทาเพ่ือบอกลกัษณะการเดินของแตละบุคคล

คณะผูวิจัย

นางสาวณัฐธลักษณ ภักดีณรงค นางสาวศริญญา จารยล ี นางสาวสุสดี รังคะกนก นางสาวอาณา อุปการ

นางสาวอมุาพร อติชาติมณี

เสนอ

อาจารยพัชรา สินลอยมา

รายงานสวนน้ีเปนสวนหน่ึงของการศึกษา

วิชาหลักการนิติวิทยาศาสตร ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2550

สาขาวิชานิติวิทยาศาสตร คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

Page 2: กรณีศึกษาว ธ การทดลอง เป นกรณ ศ กษา (Pilot study) หาความส มพ นธ ระหว างระหว างด

สารบัญ

เรื่อง หนา สารบัญ ก สารบัญตาราง ข สารบัญรูปภาพ ค กิตติกรรมประกาศ ง โครงงานวิจัย - บทคัดยอ 1 - บทท่ี 1 บทนํา 3 - บทท่ี 2 ทบทวนวรรณกรรม 7 - บทท่ี 3 วิธีการทดลอง 14 - บทท่ี 4 ผลการทดลอง 16 - บทท่ี 5 อภิปรายผล 18 - บทท่ี 6 สรุปผล 19 บรรณานุกรม จ ภาคผนวก ฉ ภาคผนวก ก แบบสอบถามเพื่อหาความสัมพันธระหวางดัชนีมวลกาย ความยาวขา

กับรอยพิมพฝาเทาเพื่อบอกลักษณะการเดินของแตละบุคคล ภาคผนวก ข ภาพวิธีการทดลอง

Page 3: กรณีศึกษาว ธ การทดลอง เป นกรณ ศ กษา (Pilot study) หาความส มพ นธ ระหว างระหว างด

สารบัญตาราง

เรื่อง หนา ตารางท่ี 1 คุณลักษณะของผูเขารวมการทดลอง 16 ตารางท่ี 2 ความสัมพันธของคาดัชนีมวลกาย (BMI) 17 ตารางท่ี 3 ความสัมพันธของความยาวขา 17

Page 4: กรณีศึกษาว ธ การทดลอง เป นกรณ ศ กษา (Pilot study) หาความส มพ นธ ระหว างระหว างด

สารบัญรูปภาพ

เรื่อง หนา ภาพท่ี 1 วงจรการเดินของมนุษย 8 ภาพท่ี 2 Flat index = AB/CD 10 ภาพท่ี 3 วิธีการวัด stride length , step length , step width , foot angle 11

Page 5: กรณีศึกษาว ธ การทดลอง เป นกรณ ศ กษา (Pilot study) หาความส มพ นธ ระหว างระหว างด

กิตติกรรมประกาศ

รายงานฉบับนี้เสร็จสมบูรณข้ึนได เนื่องจากความเอ้ือเฟอจากบุคคลหลายทาน คือ อาจารยพัชรา สินลอยมา และผูเขารวมการศึกษาท่ีใหความรวมมือ ในการตอบแบบสอบถามและทําการทดลอง นอกจากนี้ยังไดรับการอํานวยความสะดวกในการคนควาเอกสารจาก หองสมุดคณะแพทยศาสตร ศิริราชพยาบาล และหองสมุดคณะแพทยศาสตร รามาธิบดี คณะผูวิจัยกราบขอบพระคุณคณะบุคคลตังกลาว และผูท่ีไมไดเอยนามไว ณ ท่ีนี้ดวย

คณะผูวจิัย

Page 6: กรณีศึกษาว ธ การทดลอง เป นกรณ ศ กษา (Pilot study) หาความส มพ นธ ระหว างระหว างด

กรณีศึกษา กรณีศึกษาเร่ือง (ภาษาไทย) ความสัมพันธระหวางดัชนีมวลกาย และความยาวขาเปรียบเทียบ

กับรอยพิมพฝาเทาเพื่อบอกลักษณะการเดินของแตละบุคคล (ภาษาอังกฤษ) Relation to compare BMI and long leg with individual footprint

shape for gait characteristics รายชื่อคณะผูวิจัย

นางสาวณัฐธลักษณ ภักดีณรงค 50312308 นางสาวศริญญา จารยลี 50312310 นางสาวสุสดี รังคะกนก 50312337 นางสาวอาณา อุปการ 50312343 นางสาวอุมาพร อติชาติมณ ี 50312346

บทคัดยอ วัตถุประสงค เพื่อหาความสัมพันธระหวางดัชนีมวลกาย (BMI) และความยาวขาเปรียบเทียบกับ

รอยพิมพฝาเทาเพื่อบอกลักษณะการเดินของแตละบุคคล สมมติฐาน 1) คาดัชนีมวลกาย (BMI) มีความสัมพันธกับรูปแบบของเทา (flat index) ระยะ

รอยพิมพฝาเทาขางเดียวกันท่ีอยูติดกัน (stride length) ระยะจุดตํ่าสุดของรอยพิมพฝาเทาคนละขางท่ีอยูติดกัน (step length) ระยะในแนวนอนระหวางจุดตํ่าสุดของรอยพิมพฝาเทาคนละขางท่ีอยูติดกัน (step width) ความเร็วในการเดิน (velocity) และจังหวะในการเดิน (cadence) 2) คาความยาวขา มีความสัมพันธกับระยะรอยพิมพฝาเทาขางเดียวกันท่ีอยูติดกัน (stride length) ระยะจุดตํ่าสุดของรอยพิมพฝาเทาคนละขางท่ีอยูติดกัน (step length) ความเร็วในการเดิน (velocity) และจังหวะในการเดิน (cadence)

Page 7: กรณีศึกษาว ธ การทดลอง เป นกรณ ศ กษา (Pilot study) หาความส มพ นธ ระหว างระหว างด

วิธีการทดลอง เปนกรณีศึกษา (Pilot study) หาความสัมพันธระหวางระหวางดัชนีมวลกาย (BMI) และความยาวขาเปรียบเทียบกับรอยพิมพฝาเทาเพื่อบอกลักษณะการเดินของแตละบุคคล กระทําโดยหาผูเขารวมการทดลอง มีคุณสมบัติ ดังนี้ เพศใดก็ได อายุมากกวา 15 ปบริบูรณข้ึนไป ไมมีภาวะโรคท่ีกอใหเกิดการออนแรงของกลามเน้ือ เชน อัมพฤกษ อัมพาต เปนตน มาตอบแบบสอบถาม ผูวิจัยวัดความยาวขาของผูเขารวมการทดลอง ผูเขารวมการทดลอง เดินบนกระดาษขาวขนาด 51 เซนติเมตร(cm) × 2 เมตร(m) ในระหวางท่ีผูเขารวมการทดลองกําลังเดินบนกระดาษขาวใหผูวิจัยจับเวลาต้ังแตจุดเร่ิมตน จนกระท่ังส้ินสุดการเดิน จึงนํารอยเทาการเดินท่ีไดมาทําการวัดและหาความสัมพันธ

ผลการทดลอง มีผูเขารวมการทดลองท้ังหมด 31 คน เพศชาย (รอยละ 58) เพศหญิง (รอยละ 42) 15-20 ป (รอยละ 13) อายุ 21-29 ป (รอยละ 16) มากวาหรือเทากับ 30 ป (รอยละ 71) มีคา BMI นอยกวา 25 กิโลกรัม/เมตร2 (รอยละ 74) BMI 25-29.9 กิโลกรัม/เมตร2 (รอยละ 13) BMI มากกวาหรือเทากับ 30 กิโลกรัม/เมตร2 (รอยละ 13) ดัชนีมวลกาย (BMI) กับรูปแบบของเทา (flat index) (α < 0.05) ระยะรอยพิมพฝาเทาขางเดียวกนัท่ีอยูติดกัน (stride length) (α < 0.05) ระยะจดุตํ่าสุดของรอยพิมพฝาเทาคนละขางท่ีอยูติดกนั (step length) (α < 0.05) ระยะในแนวนอนระหวางจดุตํ่าสุดของรอยพิมพฝาเทาคนละขางท่ีอยูติดกัน (step width) (α < 0.05) ความเร็วในการเดิน (velocity) (α < 0.05) และจังหวะในการเดิน (cadence) (α < 0.05) แสดงวามีความสัมพันธกัน

ความยาวขา กับระยะรอยพิมพฝาเทาขางเดยีวกันท่ีอยูติดกัน (stride length) (α < 0.05) ระยะจุดตํ่าสุดของรอยพิมพฝาเทาคนละขางท่ีอยูติดกัน (step length) (α < 0.05) ความเร็วในการเดิน (velocity) (α < 0.05) และจังหวะในการเดิน (cadence) (α < 0.05) แสดงวามีความสัมพันธกัน

อภิปรายผล จากงานวิจัยท่ีไดทบทวนวรรณกรรมและจากกรณีศึกษาพบวาคาดัชนีมวลกาย (BMI) และความยาวขามีผลการศึกษาแนวโนมเปนไปทางเดียวกัน

สรุปผล คาดัชนีมวลกาย (BMI) กับความยาวขา เปนปจจัยท่ีมีความสัมพันธตอรอยพิมพฝาเทาเพื่อบอกลักษณะการเดินของแตละบุคคล กลาวคือ สามารถบอกถึงรูปแบบของเทา (flat index) ระยะรอยพิมพฝาเทาขางเดียวกันท่ีอยูติดกัน (stride length) ระยะรอยพิมพฝาเทาคนละขางท่ีอยูติดกัน (step length) ระยะในแนวนอนระหวางรอยพิมพฝาเทาคนละขางท่ีอยูติดกัน (step width) ความเร็วในการเดิน (velocity) และ จังหวะในการเดิน (cadence)

Page 8: กรณีศึกษาว ธ การทดลอง เป นกรณ ศ กษา (Pilot study) หาความส มพ นธ ระหว างระหว างด

บทท่ี 1 บทนํา

1.1 ท่ีมาและปญหา การเกิดคดีความตางๆโดยเฉพาะคดีความทางดานอาชญากรรม ผูกระทําผิดมักท้ิงพยานหลักฐานไวกับตัวผูกระทําผิด ผูถูกกระทํา และบริเวณสถานท่ีเกิดเหตุเสมอ พยานหลักฐานเหลานี้อาจเปน เสนผม เสนขน เศษกระจก โลหิต อสุจิ รอยฝามือ ฝาเทา เปนตน ในอดีตพยานหลักฐานท่ีเปนพยานวัตถุดังกลาวไมไดรับความสนใจเทาใดนัก แตกลับสนใจพยานหลักฐานในรูปแบบพยานบุคคลแวดลอม โดยการใหปากคําเปนสวนใหญ ซ่ึงพยานบุคคลจัดไดวาเปนพยานท่ีไมนาเช่ือถือ เนื่องจากพยานบุคคลสามารถกลับคําใหการ ลืม หรือสับสนได สงผลใหคดีความนั้นเปล่ียนแปลงไป หรือไมสามารถสรุปคดีความตองทําการสืบสวน สอบสวนตอไป แตในปจจุบันใหความสนใจพยานหลักฐาน ท่ีเปนพยานวัตถุซ่ึงมีความนาเช่ือถือ พนักงานสืบสวน สอบสวน และศาล รับฟงมากท่ีสุด เนื่องจากเปนพยานหลักฐานท่ีสามารถพิสูจน ไมสามารถเปล่ียนแปลงได เห็นเปนรูปธรรม และเปนลายลักษณอักษร ดังท่ีไดกลาวมาแลววา พยานหลักฐานท่ีเปนพยานวัตถุในสถานท่ีเกิดเหตุมีหลายชนิด แตในบริเวณสถานท่ีเกิดเหตุ ส่ิงหนึ่งท่ีถือวาพบไดบอยมาก คือ รอยฝาเทา ซ่ึงอาจเกิดเปนรอยประทับท่ีมาจากเทาเปลา หรือรองเทา รวมไปถึงถุงเทาดวย ซ่ึงการท่ีคนรายท้ิงรองรอยฝาเทาไวในสถานท่ีเกิดเหตุ สามารถนํามาสันนิษฐานพฤติกรรมของคนรายได โดยอาจดูจากเสนทางท่ีคนรายเคล่ือนท่ี ลักษณะการกาวเดิน รูปรางและพยาธิสภาพโรคของคนราย เปนตน และถึงแมวารอยฝาเทาจะสามารถพบในสถานท่ีเกิดเหตุไดบอย แตยังไมไดรับการยอมรับ อาจเปนเพราะผูตรวจสถานท่ีเกิดเหตุยังไมใหความสําคัญ หรืออาจมีความรูไมเพียงพอ จากการศึกษาขอมูลคําพิพากษาของศาลในประเทศสวิสเซอรแลนด รอยรองเทาพบไดประมาณ 35% ของสถานท่ีเกิดเหตุท้ังหมด และจากขอมูลของหนวยงานแหงหนึ่ง ซ่ึงมีการเนนเร่ืองความสําคัญ ตําแหนงท่ีตรวจหา และวิธีการตรวจเก็บรอยรองเทา ใหกับผูตรวจสถานท่ีเกิดเหตุ ปรากฏวาเปอรเซ็นตของคดีท่ีสงรอยประทับของรองเทาไปตรวจท่ีหองปฏิบัติการเพิ่มจาก 5% ข้ึนไปถึงประมาณ 60% (สันต์ิ สุขวัจน, 2545 : 3)

Page 9: กรณีศึกษาว ธ การทดลอง เป นกรณ ศ กษา (Pilot study) หาความส มพ นธ ระหว างระหว างด

ในดานการแพทยผูท่ีมีดัชนีมวลกาย (BMI) ท่ีมากกวาหรือเทากับ 25 กิโลกรัม/เมตร2 จัดอยูในภาวะผูมีน้ําหนักเกิน ดังนั้นจึงมักมีปญหาของขาทอนลาง โดยเฉพาะฝาเทาท้ังสองขาง เนื่องจากมีแรงกดของฝาเทาท่ีบริเวณ longitudinal arch และ metatarsal head มาก สงผลใหเกิดเทาแบน (flat foot) นอกจากนี้ดัชนีมวลกาย (BMI) และความยาวขาอาจเปนปจจัยสงผลใหเกิดการกาวเดินที่แตกตางกันสามารถชี้เฉพาะบุคคลได

ดังนั้นคณะผูศึกษาจึงมีความสนใจหาความสัมพันธระหวางดัชนีมวลกาย (BMI) และความยาวขาเปรียบเทียบกับรอยพิมพฝาเทา เพื่อบอกลักษณะการเดินของแตละบุคคล เนื่องจากรอยฝาเทาสามารถบอกการช้ีเฉพาะลักษณะบางอยางและพฤติกรรมของผูกระทําผิด พบไดบอยในสถานท่ีเกิดเหตุ แตผูตรวจสถานท่ีเกิดเหตุยังไมใหความสําคัญกับรอยฝาเทาเทาไรนัก 1.2 วัตถุประสงค

เพื่อหาความสัมพันธระหวางดัชนีมวลกาย (BMI) และความยาวขาเปรียบเทียบกับรอยพิมพฝาเทาเพื่อบอกลักษณะการเดินของแตละบุคคล

1.3 สมมติฐาน 1) คาดัชนีมวลกาย (BMI) มีความสัมพันธกับรูปแบบของเทา (flat index) ระยะรอยพิมพฝาเทาขางเดียวกันท่ีอยูติดกัน (stride length) ระยะจุดตํ่าสุดของรอยพิมพฝาเทาคนละขางท่ีอยูติดกัน (step length) ระยะในแนวนอนระหวางจุดตํ่าสุดของรอยพิมพฝาเทาคนละขางท่ีอยูติดกัน (step width) ความเร็วในการเดิน (velocity) และจังหวะในการเดิน (cadence)

2) ความยาวขา มีความสัมพันธกับระยะรอยพิมพฝาเทาขางเดียวกันท่ีอยูติดกัน (stride length) ระยะจุดตํ่าสุดของรอยพิมพฝาเทาคนละขางท่ีอยูติดกัน (step length) ความเร็วในการเดิน (velocity) และจังหวะในการเดิน (cadence)

Page 10: กรณีศึกษาว ธ การทดลอง เป นกรณ ศ กษา (Pilot study) หาความส มพ นธ ระหว างระหว างด

1.4 ขอบเขต กรณีศึกษานี้ (Pilot study) เนนในเร่ืองการหาความสัมพันธระหวางดัชนีมวลกาย (BMI)

และความยาวขาเปรียบเทียบกับรอยพิมพฝาเทาเพื่อบอกลักษณะการเดินของแตละบุคคล โดยสามารถดูไดจากรูปแบบของเทา (flat index) ระยะรอยพิมพฝาเทาขางเดียวกันท่ีอยูติดกัน (stride length) ระยะจุดตํ่าสุดของรอยพิมพฝาเทาคนละขางท่ีอยูติดกัน (step length) ระยะในแนวนอนระหวางจุดตํ่าสุดของรอยพิมพฝาเทาคนละขางท่ีอยูติดกัน (step width) ความเร็วในการเดิน (velocity) และ จังหวะในการเดิน (cadence) จะไดนําไปประยุกตการออกสถานท่ีเกิดเหตุ

1.5 ระยะเวลาดําเนินงาน

No. Activities June'05 July'05 August'05 September'05

1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4

1. ทบทวนวรรณกรรม

2. ออกแบบกรณศึีกษา

- กําหนดวัตถุประสงค

- ประโยชนท่ีจะไดรับ

- เขียนวิจยัท่ีเกีย่วของ

- กําหนดวิธีดําเนินการ

3. ทําการทดลอง

4. ทําการวิเคราะหขอมูล

-หาคาทางเชิงสถิติ

-สรุปผลจากขอมูลท่ีไดรับ

5. เขียนและนําเสนอ

Page 11: กรณีศึกษาว ธ การทดลอง เป นกรณ ศ กษา (Pilot study) หาความส มพ นธ ระหว างระหว างด

1.6 ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ 1.6.1. สามารถนํามาประยุกตกับสถานการณการตรวจสถานท่ีเกิดเหตุท่ีพบรองรอยฝาเทาเนื่องจาก เปนพื้นฐานความรูเบ้ืองตน 1.6.2. สามารถนําผลการวิจัยไปประยุกตใชในการพัฒนาและงานวิจัยท่ีเกี่ยวของตอไปในอนาคต 1.7 คํานิยามคาํศัพทท่ีเก่ียวของ

gait cycle หมายถึง วงจรการเดินของมนุษย 1 รอบ เร่ิมจากระยะท่ีสนเทาของขาขางหนึ่งแตะพ้ืน จนถึงระยะท่ีสนเทาของขาขางเดียวกนัแตะพื้นอีกคร้ังหนึ่ง

stance phases หมายถึง ระยะท่ีเทารับน้ําหนัก เร่ิมจากระยะท่ีสนเทาแตะพื้น จนถึงระยะท่ีเทาพนพื้น

swing phases หมายถึง ระยะท่ีขาแกวงเทาพนพื้น เร่ิมต้ังแตระยะท่ีเทาพนพื้น จนถึงระยะท่ีสนเทาแตะพื้นอีกคร้ังหนึ่ง

footprint หมายถึง รอยพิมพฝาเทา flat index หมายถึง รูปแบบของเทา stride length หมายถึง ระยะรอยพิมพฝาเทาขางเดียวกันท่ีอยูติดกนั step length หมายถึง ระยะจดุตํ่าสุดของรอยพิมพฝาเทาคนละขางท่ีอยูติดกัน step width หมายถึง ระยะในแนวนอนระหวางจุดตํ่าสุดของรอยพิมพฝาเทาคนละขางท่ีอยู

ติดกัน foot angle หมายถึง มุมระหวางเสน แกนเทากับเสนในแนวต้ัง velocity หมายถึง ความเร็วในการเดิน cadence หมายถึง จังหวะในการเดิน

body mass index (BMI) หมายถึง คาดัชนีมวลกายท่ีคํานวณจากน้ําหนักและสวนสูง เพื่อใชเปรียบเทียบความสมดุลระหวางน้ําหนกัตัว ตอความสูงของมนุษย ซ่ึงคิดคนโดย Adolphe Quetelet ชาวเบลเยยีม คาดัชนีมวลกายหาไดโดยนําน้ําหนกัตัวหารดวยกําลังสองของสวนสูง anterior superior iliac spine (ASIS) หมายถึง ปุมกระดกูบริเวณสะโพก medial malleolus หมายถึง กระดูกตาตุมดานใน longitudinal arch หมายถึง อุมเทาบริเวณฝาเทา

metatarsal head หมายถึง กระดูกนิ้วเทา

Page 12: กรณีศึกษาว ธ การทดลอง เป นกรณ ศ กษา (Pilot study) หาความส มพ นธ ระหว างระหว างด

บทท่ี 2 ทบทวนวรรณกรรม

รายงานฉบับนี้ไดรวบรวมขอมูลจากเอกสาร โดยไดสรุปเนื้อหา เกี่ยวของกับการเดินของ

มนุษยดังนี้ การเดินของมนุษยมีลักษณะเปนวงจร เรียกวา gait cycle โดยวงจรการเดิน 1 รอบ เร่ิมจากระยะท่ีสนเทาของขาขางหน่ึงแตะพื้น จนถึงระยะท่ีสนเทาของขาขางเดียวกันแตะพื้นอีกคร้ังหนึ่ง

2.1 การแบงชวงของการเดิน แบงไดเปน 2 ระยะ (phases) คือ (สุจิตรา บุญหยง, 2547: 1, http://noon.ouhsc.edu/dthompse/gait/knmatics/stride.htm) 2.1.1 ระยะท่ีเทารับน้ําหนัก (stance phases) เร่ิมจากระยะท่ีสนเทาแตะพื้น จนถึงระยะท่ีเทาพนพื้น (60% ของวงจรการเดิน) 2.1.2 ระยะท่ีขาแกวงเทาพนพื้น (swing phases) เร่ิมต้ังแตระยะท่ีเทาพนพื้น จนถึงระยะท่ีสนเทาแตะพื้นอีกคร้ังหนึ่ง (40% วงจรการเดิน) 2.2 ถาแบงชวงการเดินใชระบบของ traditional (สุจิตรา บุญหยง, 2547: 2-3) กลาวไวดังนี้

2.2.1 ระยะท่ีเทารับน้ําหนัก (stance phases) แบงออกเปน 5 ระยะ คือ 1) ระยะท่ีสนเทาสัมผัสพื้น (heel stride) 2) ระยะท่ีฝาเทาวางราบกับพื้น (foot flat) 3) ระยะท่ีเทาขางหนึ่งรับน้ําหนักของรางกายท้ังหมด ระยะนี้ส้ินสุดเม่ือสนเทาของขาขางนี้

พนพื้น (midstance) 4) ระยะท่ีสนเทาของขาขางนี้พนพื้นส้ินสุดเม่ือเหลือแตสวนของปลายเทาสัมผัสพื้น (heel off) 5) ระยะท่ีสวนของปลายเทาสัมผัสพื้นและกําลังออกจากพ้ืน เพื่อสงใหขาขางนี้เคล่ือนไป ขางหนา (toe off)

Page 13: กรณีศึกษาว ธ การทดลอง เป นกรณ ศ กษา (Pilot study) หาความส มพ นธ ระหว างระหว างด

2.2.2 ระยะท่ีขาแกวงเทาพนพื้น (swing phases) แบงออกเปน 3 ระยะ 1) ระยะแรกของชวงแกวงขา ขาจะมีอัตราเรงเพื่อใหเทากาวไปขางหนา ระยะนี้ลําตัวจะอยู หนาตอขาท่ีแกวง (acceleration) 2) ระยะท่ีขากําลังแกวงอยูในแนวเดียวกับลําตัว (ใตลําตัว) เปนระยะท่ีขาหดส้ันมากท่ีสุด เพื่อใหเทาพนพื้น (midswing) 3) ระยะท่ีขาแกวงมาดานหนาตอลําตัว และมีการลดอัตราเรงของขาลง ระยะนี้ลําตัวจะอยู หลังตอขาท่ีแกวง (deceleration)

ภาพท่ี 1 วงจรการเดินของมนุษย (http://me.queensu.ca/people/deluzio/Gait Analysis.php)

การวิเคราะหการเดินทําไดหลายวิธี เชน การวิเคราะหจากรอยพิมพฝาเทา (footprint) การ

วิเคราะหจากการดูลักษณะการเดิน (gait analyse) และการวิเคราะหจากการใช EMG เปนตน

Page 14: กรณีศึกษาว ธ การทดลอง เป นกรณ ศ กษา (Pilot study) หาความส มพ นธ ระหว างระหว างด

โดยการวิเคราะหการเดินจากรอยพิมพฝาเทา (footprint) เปนหลักฐานในการตรวจสถานท่ีเกิดเหตุเสมอ เพราะทุกคร้ังท่ีมีการกาวเทาจะเกิดรอยประทับของเทาลงบนพ้ืน (สันต์ิ สุขวัจน, 2545: 1-6) โดย 2.3 รอยพิมพนิ้วมือ ฝามือ ฝาเทา ในสถานท่ีเกิดเหตุ (อรรถพล, 2546: 11) แบงออกเปน 2 ประเภท คือ

2.3.1 รอยพิมพท่ีมองเห็นไดดวยตาเปลา (Patent Print) ซ่ึงมี 2 ชนิด คือ 1) ชนิด 2 มิติ เปนรอยพิมพท่ีเกิดจากการเปอนสารตางๆ เชนลายนิ้วมือเปอนเลือด เปอนน้ํา

หมึก เปอนฝุนท่ีติดบนพื้นผิวตางๆ สามารถมองเห็นไดอยางชัดเจน 2) ชนิด 3 มิติ เปนลายนิ้วมือ ฝามือ ฝาเทา ท่ีไปสัมผัสและกดลงบนผิววัตถุท่ีเปนของออน

เชน ดินเหนียว ดินน้ํามัน เปนผลทําใหเกิดรองรอยบนวัตถุนั้นเปน 3 มิติ เชน รอยเทาบนดินเหนียว ลายน้ิวมือบนดินน้ํามัน ฯลฯ

2.3.2 รอยลายนิ้วมือ ฝามือ ฝาเทาแฝง (Latent Fingerprint) เปนรอยลายน้ิวมือฝามือ ฝาเทาท่ีมองเห็นไม ชัด หรือมองไมเห็นดวยตาเปลา เชน ลายนิ้วมือติดบนกระจก อาวุธปน กระดาษ ไม ฯลฯ

2.4 รอยพิมพฝาเทา สามารถวิเคราะหไดสองรูปแบบ คือ รอยพิมพฝาเทาแบบอยูกับท่ี (static) และรอยพิมพฝาเทาแบบการเคล่ือนไหว (dynamic)

2.4.1 รอยพิมพฝาเทาแบบอยูกับท่ี (static) (สุจิตรา บุญหยง, 2547: 2) สามารถดูรูปแบบของเทาแตละบุคคลได (flat index) มีวิธีการดังตอไปนี้ 1) กําหนดจุดในสุดของรอยพิมพบริเวณโคนหัวแมเทา สนเทา และสุดยอดของความโคง

ของรอยพิมพฝาเทาดานใน 2) ลากเสนระหวางจุดในสุดของรอยพิมพบริเวณโคนนิ้วหัวแมเทาและสนเทา เปนฐาน ความโคงของรอยพิมพฝาเทา 3) ลากเสนจากจุดสุดยอดของความโคงของรอยพิมพฝาเทาดานในมาต้ังฉากกับเสนฐาน ความโคงของรอยพิมพฝาเทา 4) คํานวณอัตราสวนระหวางความยาวของฐานความโคงของรอยพิมพฝาเทาและระยะ สูงสุดของความโคงของรอยพิมพฝาเทา

Page 15: กรณีศึกษาว ธ การทดลอง เป นกรณ ศ กษา (Pilot study) หาความส มพ นธ ระหว างระหว างด

ภาพท่ี 1Flat index = AB/CD (สุจิตรา บุญหยง, 2547:4)

2.4.2 รอยพิมพฝาเทาแบบการเคล่ือนไหว (dynamic) (สุจิตรา บุญหยง, 2547 :2-3) มาจากการเดิน ซ่ึงสามารถดูรูปแบบของเทาแตละบุคคลได (flat index) วิธีการหาเชนเดียวกับรอยพิมพฝาเทาแบบอยูกับท่ี (static) นอกจากนี้ สามารถทราบถึง ระยะรอยพิมพฝาเทาขางเดียวกันท่ีอยูติดกัน (stride length) ระยะจุดตํ่าสุดของรอยพิมพฝาเทาคนละขางท่ีอยูติดกัน (step length) ระยะในแนวนอนระหวางจุดตํ่าสุดของรอยพิมพฝาเทาคนละขางท่ีอยูติดกัน (step width) มุมระหวางเสน แกนเทากับเสนในแนวต้ัง (foot angle) มีวิธีการดังตอไปนี้

1) กําหนดจุดสูงสุดของรอยพิมพนิ้วช้ี จุดตํ่าสุดของรอยพิมพสนเทา จากนั้นลากเสนเช่ือม ระหวาง 2 จุดนี้ เปนเสนแกนเทา 2) ลากเสนอางอิงในแนวนอน (แกน X) ผานจุดตํ่าสุดของรอยพิมพฝาเทา 3) ลากเสนระหวางจุดตํ่าสุดของรอยพิมพฝาเทาขางเดียวกันท่ีอยูตอกัน ของรอยพิมพฝาเทา ท้ังสองขาง เสนในแนวต้ัง (แกน Y) 4) วัดระยะในแนวต้ังฉากระหวางจุดตํ่าสุดของรอยพิมพฝาเทาขางเดียวกันท่ีอยูตอกัน (stride length) , ระหวางจุดตํ่าสุดของรอยพิมพฝาเทาคนละขางท่ีอยูติดกัน (step length) 5) วัดระยะในแนวนอนระหวางจุดตํ่าสุดของรอยพิมพฝาเทาคนละขางท่ีอยูติดกัน (step width) 6) วัดมุมระหวางเสน แกนเทากับเสนในแนวต้ัง (foot angle)

Page 16: กรณีศึกษาว ธ การทดลอง เป นกรณ ศ กษา (Pilot study) หาความส มพ นธ ระหว างระหว างด

ภาพท่ี 2 วิธีการวัด stride length , step length , step width , foot angle (สุจิตรา บุญหยง, 2547: 5)

Page 17: กรณีศึกษาว ธ การทดลอง เป นกรณ ศ กษา (Pilot study) หาความส มพ นธ ระหว างระหว างด

นอกจากนี้สามารถคํานวณความเร็วในการเดิน (velocity) และความถ่ีในการเดิน (cadence) จากสูตร Velocity (m/sec) = ระยะทางท่ีเดิน (m) / ระยะเวลาท่ีใชเดิน (sec)

Cadence (steps/min) = จํานวนกาว (steps) / ระยะเวลาท่ีใชเดิน (min) 2.5 ดัชนีมวลกาย (ประณีต เพ็ญศรี, 2548:1, http://thairunning.com) ดัชนีมวลกาย = น้ําหนัก (กิโลกรัม) / ความสูง2 (เมตร2) * น้ําหนักเกิน - ดัชนีมวลกาย 25 - 29.9 กิโลกรัม / เมตร 2 * ภาวะโรคอวน - ดัชนีมวลกาย ≥ 30 กิโลกรัม / เมตร 2

ภาวะท่ีมีดัชนีมวลกาย (BMI) มากกวาหรือเทากับ 25 กิโลกรัม/เมตร2 อยูในภาวะผูมีน้ําหนักเกิน มีผลตอขาทอนลาง ทําใหลักษณะรูปเทา และการกาวเดินเปล่ียนไปจากคนปกติ และความยาวขาวัดต้ังแตบริเวณ ASIS จนถึง medial malleolus อาจมีผลตอการกาวเดินได ซ่ึง 2.6 งานวิจัยท่ีเก่ียวของ

ผูจัดทํารายงานไดรวบรวมผลงานวิจัยท่ีเกี่ยวของและสามารถสรุปผลการทดลอง ไดดังนี้ Hills , 2001 ไดทําการศึกษาเพื่อดูความแตกตางของแรงกดบนฝาเทาระหวางผูมีภาวะอวน และผูไมมีภาวะอวน ในรูปแบบการยืนและการเดิน เปรียบเทียบตามแรงกดท่ีแบงเปนสวนๆของฝาเทาคนปกติ ผูรวมทําการศึกษาเปนชาย 35 คน (อายุ 42.4 ± 10.8 ป ; 67-179 กิโลกรัม) และผูหญิง 35 คน (อายุ40.0 ± 12.6 ป ; 46-150 กิโลกรัม) ผูท่ีมีภาวะอวน (BMI 38.75 ± 5.97 กิโลกรัม/เมตร2) ผูไมมีภาวะอวน (BMI 24.28 ± 3.00 กิโลกรัม/เมตร2) เม่ือเปรียบเทียบระหวางผูมีภาวะอวน และผูไมมีภาวะอวน พบวาผูมีภาวะอวนระยะความกวางของฝาเทาท้ังสองขางและแรงกดของฝาเทาท่ีบริเวณ longitudinal arch และ metatarsal head มากกวาผูไมมีภาวะอวน ในระหวางยืนและเดิน

Paul , 2003 ไดรวบรวมงานวิจัยเกีย่วกับเร่ืองการทดสอบการเดิน 6 นาที เพื่อนํามาเปนรูปแบบการทดสอบผูปวยท่ีมีภาวะโรคหัวใจและปอด เพือ่ดูวาเดนิอยางไรจะปลอดภัย โดยปจจยัท่ีมีผลตอระยะทางท่ีเดิน 6 นาที ความยาวของขา โดยกลาววาระยะขาท่ีส้ัน ทําใหไดระยะทางท่ีนอย นอกจากนี้อาย ุเพศ ภาวะโรคตางๆ น้ําหนกัตัว มีผลตอระยะทางท่ีเดนิ 6 นาที โดยสรุปการเดินทดสอบผูปวยท่ีมีภาวะโรคหวัใจและปอดระยะทางท่ีเดนิ 6 นาทีเหมาะสมเพ่ือนํามาทดสอบ

Page 18: กรณีศึกษาว ธ การทดลอง เป นกรณ ศ กษา (Pilot study) หาความส มพ นธ ระหว างระหว างด

จากการทบทวนวรรณกรรมคณะผูวิจัยสนใจกรณีศึกษาเกี่ยวกับเร่ืองการหาความสัมพันธระหวางดัชนีมวลกาย (BMI) และความยาวขาเปรียบเทียบกับรอยพิมพฝาเทาเพื่อบอกลักษณะการเดินของแตละบุคคล จะไดนํามาประยุกตใชในงานดานนิติวิทยาศาสตร ซ่ึงจากรอยฝาเทาท่ีไดสามารถใหขอมูลเกี่ยวกับผูตองสงสัยไดหลายอยาง เชน ลักษณะรูปเทา การลงน้ําหนักบริเวณเทาสวนใดมากกวากันซ่ึงนํามาประยุกตดูความสึกกรอนของรองเทาผูตองสงสัย รูปแบบการเดิน ขนาดความยาวของขาผูตองสงสัย และความเร็วและทิศทางในการเดิน เปนตน

Page 19: กรณีศึกษาว ธ การทดลอง เป นกรณ ศ กษา (Pilot study) หาความส มพ นธ ระหว างระหว างด

บทท่ี 3 วิธีการทดลอง

การทดลองคร้ังนี้เปนลักษณะกรณีศึกษา (Pilot study) หาความสัมพันธระหวางดัชนีมวล

กาย (BMI) และความยาวขาเปรียบเทียบกับรอยพิมพฝาเทาเพื่อบอกลักษณะการเดินของแตละบุคคลกระทําโดยมีวิธีการทดลอง ดังนี้ 3.1 วิธีการทดลอง แบงออกเปน 5 ข้ันตอน แบงเปน

3.1.1 ขั้นตอนท่ี 1 หาผูเขารวมการทดลอง โดยมีคุณสมบัติ ดังนี้ เพศใดก็ได อายุมากกวา 15 ปบริบูรณข้ึนไป ไมมีภาวะโรคท่ีกอใหเกิดการออนแรงของกลามเน้ือ เชน อัมพฤกษ อัมพาต เปนตน มาทําการตอบแบบสอบถาม ซ่ึงรายละเอียดของแบบสอบถามแบงเปนสองสวน ในสวนท่ีหนึ่งเปนคําถามเกี่ยวกับความยาวของขา และระยะเวลาท่ีใชในการเดินของแตละบุคคล (สวนนี้ผูเขารวมการทดลองไมตองทําการตอบแบบสอบถาม) และสวนท่ีสองเปนคําถามท่ัวไป (รายละเอียดของแบบสอบถามตามภาคผนวก ก)

3.1.2 ขั้นตอนท่ี 2 เตรียมอุปกรณในการดําเนินการทดลอง ไดแก 1) กระดาษขาวขนาด 51 เซนติเมตร(cm) × 2 เมตร(m) 2) หมึกคารบอนด 3) นาฬิกาจับเวลา 4) สายวัด 3.1.3 ขั้นตอนท่ี 3 คณะผูวิจัยไดทําการทดสอบ เพื่อเลือกผูวิจัยท่ีทําการวัดความยาวขา และ

ผูวิจัยท่ีทําการจับเวลาต้ังแตจุดเร่ิมตน จนกระท่ังส้ินสุดการเดิน เพื่อปองกันความผิดพลาดในการวัดความยาวขา และการจับเวลาต้ังแตจุดเร่ิมตน จนกระท่ังส้ินสุดการเดิน มีวิธีการ ดังนี้

การวัดความยาวขา ต้ังแตบริเวณ ASIS จนถึง medial malleolus แบงการวัดความยาวขาเปน 3 คร้ังใหคณะผูวิจัยทุกคนทําการวัดความยาวขา แลวนําคาท่ีไดในแตละคร้ังมารวมและหาคาเฉล่ีย จะไดคาเฉล่ียท้ังหมด 3 คร้ัง ผูวิจัยคนใดมีคาท่ีวัดความยาวขาใกลเคียงกับคาเฉล่ียมากท่ีสุดใน 2 : 3 ผูวิจัยคนนั้นทําหนาท่ีในการวัดความยาวขา

การจับเวลาต้ังแตจุดเร่ิมตน จนกระท่ังส้ินสุดการเดิน แบงการเดินเปน 3 คร้ัง ใหคณะผูวิจัยทุกคนทําการการจับเวลาในแตละคร้ัง แลวนําคาท่ีไดในแตละครั้งมารวมและหาคาเฉล่ีย จะไดคาเฉล่ียท้ังหมด 3 คร้ัง ผูวิจัยคนใดมีคาการจับเวลาตั้งแตจุดเร่ิมตน จนกระท่ังส้ินสุดการเดินใกลเคียงกับคาเฉล่ียมากท่ีสุดใน 2 : 3 ผูวิจัยคนนั้นทําหนาท่ีในการจับเวลา

Page 20: กรณีศึกษาว ธ การทดลอง เป นกรณ ศ กษา (Pilot study) หาความส มพ นธ ระหว างระหว างด

3.1.4 ขั้นตอนท่ี 4 ผูวิจัยทําการวัดความยาวขาของผูเขารวมการทดลอง ต้ังแตบริเวณ ASIS จนถึง medial malleolus แลวทําการบันทึกลงในแบบสอบถามในสวนท่ีหนึ่ง หลังจากนั้นทาหมึกคารบอนด บนฝาเทาท้ังสองขางของผูเขารวมการทดลอง และทําการเดินบนกระดาษขาวจนครบ 2 เมตร(m) ในระหวางท่ีผูเขารวมการทดลองกําลังเดินบนกระดาษขาวใหผูวิจัยจับเวลาตั้งแตจุดเร่ิมตน จนกระท่ังส้ินสุดการเดิน แลวทําการบันทึกลงในแบบสอบถามในสวนท่ีหนึ่ง ผูวิจัยทําการทดลองดังกลาวจนกระท่ังผูเขารวมการทดลองเดินครบจํานวน

3.1.5 ขั้นตอนท่ี 5 เม่ือคณะผูวิจัยทําการทดลองจนกระท่ังผูเขารวมการทดลองเดินครบจํานวน จึงนํารอยฝาเทาการเดินท่ีไดมาทําการวัดหาคารูปแบบของเทา (flat index) ระยะรอยพิมพฝาเทาขางเดียวกันท่ีอยูติดกัน (stride length) ระยะจุดตํ่าสุดของรอยพิมพฝาเทาคนละขางท่ีอยูติดกัน (step length) ระยะในแนวนอนระหวางจุดตํ่าสุดของรอยพิมพฝาเทาคนละขางท่ีอยูติดกัน (step width) ความเร็วในการเดิน (velocity) และจังหวะในการเดิน (cadence) (รายละเอียดของวิธีการวัดมีดังปรากฏในภาพท่ี 1 และ 2)

กรศึกษาในคร้ังนี้ข้ึนอยูกับความสมัครใจ ผูเขารวมการทดลองมีสิทธิท่ีจะปฏิเสธหรือ

สามารถถอดถอนตัวออกจากการทดลองในคร้ังนี้ไดทุกขณะ โดยไมไดรับโทษหรือสูญเสียประโยชนท่ีพึงไดรับ นอกจากนี้ขอมูลสวนตัวและขอมูลอ่ืนๆจะไดรับการปกปดเก็บไวเปนความรับ เปดเผยเฉพาะการสรุปผลการศึกษาเทานั้น

ระยะเวลาในการดําเนินการศึกษาต้ังแตเดือนมิถุนายน – เดือนสิงหาคม 2550 3.2 วิเคราะหขอมูล

กรศึกษาคร้ังนี้ใชโปรแกรม SPSS for Windows รุน 12 ทําการหาคารอยละ ดวยการแจกแจงความถ่ีแบบทางเดียว และหาความสัมพันธ ดวยการหาคาไค-สแควร

Page 21: กรณีศึกษาว ธ การทดลอง เป นกรณ ศ กษา (Pilot study) หาความส มพ นธ ระหว างระหว างด

บทท่ี 4 ผลการทดลอง

จากการทดลองในคร้ังนี้เปนลักษณะกรณีศึกษา (Pilot study) โดยมีผลการทดลอง ดังนี้

4.1 ผลการทดลอง กรณีศึกษานี้มีผูเขารวมการทดลองท้ังหมด 31 คน แบงออกเปน เพศชาย 18 คน (รอยละ

58) เพศหญิง 13 คน (รอยละ 42) อายุนอยกวาหรือเทากับ 20 ป 4 คน (รอยละ 13) อายุ 21-29 ป 5 คน (รอยละ 16) มากวาหรือเทากับ 30 ป 22 คน (รอยละ 71) มีคา BMI นอยกวา 25 กิโลกรัม/เมตร2

23 คน (รอยละ 74) BMI 25-29.9 กิโลกรัม/เมตร2 4 คน (รอยละ 13) BMI มากกวาหรือเทากับ 30 กิโลกรัม/เมตร2 4 คน (รอยละ 13) (ตารางท่ี 1)

คุณลักษณะ จํานวน รอยละ

ผูเขารวมการทดลอง (คน) (ของผูเขารวมการทดลอง)

เพศ

ชาย 18 58

หญิง 13 42

อายุ

15-20 ป 4 13

อายุ 21-29 ป 5 16

มากวาหรือเทากับ 30 ป 22 71

BMI

นอยกวา 25 กโิลกรัม/เมตร2 23 74

25-29.9 กิโลกรัม/เมตร2 4 13

มากกวาหรือเทากับ 30 กิโลกรัม/เมตร2 4 13

ตารางท่ี 1 คุณลักษณะของผูเขารวมการทดลอง

Page 22: กรณีศึกษาว ธ การทดลอง เป นกรณ ศ กษา (Pilot study) หาความส มพ นธ ระหว างระหว างด

การหาความสัมพันธระหวางคาดัชนีมวลกาย (BMI) กับรูปแบบของเทา (flat index) (α < 0.05) ระยะรอยพิมพฝาเทาขางเดียวกันท่ีอยูกันตอ (stride length) (α < 0.05) ระยะจุดตํ่าสุดของรอยพิมพฝาเทาคนละขางท่ีอยูติดกัน (step length) (α < 0.05) ระยะในแนวนอนระหวางจุดตํ่าสุดของรอยพิมพฝาเทาคนละขางท่ีอยูติดกัน (step width) (α < 0.05) ความเร็วในการเดิน (velocity) (α < 0.05) และจังหวะในการเดิน (cadence) (α < 0.05) มีความสัมพันธกัน (ตารางท่ี 2)

ปจจัย จํานวน α

(คน)

flat

index

stride length

step length

step width velocity cadence

BMI 31 0.000 0.000 0.000 0.000 0.003 0.010

ตารางท่ี 2 ความสัมพันธของคาดัชนีมวลกาย (BMI) (α > 0.05)

ความสัมพันธระหวางความยาวขา กับระยะรอยพิมพฝาเทาขางเดียวกันท่ีอยูกันตอ (stride

length) (α < 0.05) ระยะจุดตํ่าสุดของรอยพิมพฝาเทาคนละขางท่ีอยูติดกัน (step length) (α < 0.05) ความเร็วในการเดิน (velocity) (α < 0.05) และจังหวะในการเดิน (cadence) (α < 0.05) มีความสัมพันธกัน (ตารางท่ี 3)

ปจจัย จํานวน α

(คน) stride length step length velocity cadence

ความยาวขา 31 0.026 0.026 0.025 0.031

ตารางท่ี 3 ความสัมพันธของความยาวขา (α > 0.05)

Page 23: กรณีศึกษาว ธ การทดลอง เป นกรณ ศ กษา (Pilot study) หาความส มพ นธ ระหว างระหว างด

บทท่ี 5 อภิปรายผล

จากกรณีศึกษาและการทบทวนวรรณกรรมพบวาคาดัชนีมวลกาย (BMI) และความยาวขามี

ผลการศึกษาแนวโนมเปนไปทางเดียวกัน กลาวคือ กรณีศึกษานี้ไดทําการทดลองหาความสัมพันธระหวางดัชนีมวลกาย (BMI) และความยาว

ขาเปรียบเทียบกับรอยพิมพฝาเทากับลักษณะการเดินของแตละบุคคล พบวาคาดัชนีมวลกาย (BMI) มีความสัมพันธกับรูปแบบของเทา (flat index) ระยะรอยพิมพฝาเทาขางเดียวกันท่ีอยูติดกัน (stride length) ระยะจุดตํ่าสุดของรอยพิมพฝาเทาคนละขางท่ีอยูติดกัน (step length) ระยะในแนวนอนระหวางจุดตํ่าสุดของรอยพิมพฝาเทาคนละขางท่ีอยูติดกัน (step width) ความเร็วในการเดิน (velocity) และ จังหวะในการเดิน (cadence) ซ่ึงตรงกับงานวิจัยที่เกี่ยวของกลาวไววา คาดัชนีมวลกาย (BMI) มีผลอยางมีนัยสําคัญทําใหเกิดเทาแบน (flat foot) กับระยะในแนวนอนระหวางจุดตํ่าสุดของรอยพิมพฝาเทาคนละขางท่ีอยูติดกัน (step width) กวางมากข้ึน (Hills, 2001: 1674-1679)

นอกจากนี้ผลการทดลองยังพบวาความยาวขา มีความสัมพันธกับระยะรอยพิมพฝาเทาขางเดียวกันท่ีอยูติดกัน (stride length) ระยะรอยพิมพฝาเทาคนละขางท่ีอยูติดกัน (step length) ความเร็วในการเดิน (velocity) และ จังหวะในการเดิน (cadence) ซ่ึงตรงกับงานวิจัยท่ีเกี่ยวของกลาวไววา ความยาวของขาเปนปจจัยท่ีทําใหระยะทางเดิน 6 นาที ไดระยะทางมากข้ึนในผูปวยโรคหัวใจ

(Paul, 2003: 783-785, The American Thoracic Society, 2002:111-117)

Page 24: กรณีศึกษาว ธ การทดลอง เป นกรณ ศ กษา (Pilot study) หาความส มพ นธ ระหว างระหว างด

บทท่ี 6 สรุปผล

กรณีศึกษา (Pilot study) นี้ เพื่อหาความสัมพันธระหวางดัชนีมวลกาย (BMI) และความยาว

ขาเปรียบเทียบกับรอยพิมพฝาเทาเพื่อบอกลักษณะการเดินของแตละบุคคล กระทําโดยหาผูเขารวมการทดลองท้ังหมด 31 คน มีคุณสมบัติ ดังนี้ เพศใดก็ได อายุมากกวา 15 ปบริบูรณข้ึนไป ไมมีภาวะโรคท่ีกอใหเกิดการออนแรงของกลามเน้ือ เชน อัมพฤกษ อัมพาต เปนตน มาทําการตอบแบบสอบถาม ผูวิจัยวัดความยาวขาของผูเขารวมการศึกษา ผูเขารวมการศึกษา เดินบนกระดาษขาวขนาด 51 เซนติเมตร(cm) × 2 เมตร(m) ในระหวางท่ีผูเขารวมการศึกษากําลังเดินบนกระดาษขาวใหผูวิจัยจับเวลาต้ังแตจุดเร่ิมตน จนกระท่ังส้ินสุดการเดิน จึงนํารอยเทาการเดินท่ีไดมาทําการวัดและหาความสัมพันธ ผลปรากฎวา

คาดัชนีมวลกาย (BMI) กับความยาวขา เปนปจจัยท่ีมีผลตอรอยพิมพฝาเทาเพื่อบอกลักษณะการเดินของแตละบุคคล กลาวคือ สามารถบอกถึงการเกิดเทาแบน (flat foot) ระยะรอยพิมพฝาเทาขางเดียวกันท่ีอยูติดกัน (stride length) ระยะรอยพิมพฝาเทาคนละขางท่ีอยูติดกัน (step length) ระยะในแนวนอนระหวางรอยพิมพฝาเทาคนละขางท่ีอยูติดกัน (step width) ความเร็วในการเดิน (velocity) และ จังหวะในการเดิน (cadence)

กรศึกษาในคร้ังนี้สามารถนําไปใชประโยชน โดยนํามาประยุกตกับสถานการณการตรวจสถานท่ีเกิดเหตุท่ีพบรองรอยฝาเทา เนื่องจากเปนพื้นฐานความรูเบ้ืองตน และสามารถนําผลการวิจัยไปประยุกตใชในการพัฒนาและงานวิจัยท่ีเกี่ยวของตอไปในอนาคต

โดยผลการทดลองคร้ังนี้มีขอจํากัดของกรณีศึกษา คือ ผูเขารวมการทดลองจํานวนเพียง 31 คน จากความแมนยําในการจับเวลาและการวัดความยาวขาของผูเขารวมการศึกษา เปนตน

ดังนั้น งานวิจัยในอนาคตควรมีการศึกษา โดยใหจํานวนผูเขารวมการทดลองมากข้ึน อาจมีการศึกษาวาปจจัยทางเพศมีความสัมพันธเปรียบเทียบกับรอยพิมพฝาเทาเพื่อบอกลักษณะการเดินของแตละบุคคลหรือไม และอาจนําความสัมพันธจากผลการศึกษาในคร้ังนี้ไปคํานวณเปนสูตร เปรียบเทียบคาดัชนีมวลกาย ความยาวขา กับระยะรอยพิมพฝาเทาขางเดียวกันท่ีอยูติดกัน (stride length) ระยะจุดตํ่าสุดของรอยพิมพฝาเทาคนละขางท่ีอยูติดกัน (step length) ระยะในแนวนอนระหวางจุดตํ่าสุดของรอยพิมพฝาเทาคนละขางท่ีอยูติดกัน (step width) , มุมระหวางเสน แกนเทากับเสนในแนวต้ัง (foot angle) เพื่อนํามาใชในงานนิติวิทยาศาสตรตอไปในอนาคต

Page 25: กรณีศึกษาว ธ การทดลอง เป นกรณ ศ กษา (Pilot study) หาความส มพ นธ ระหว างระหว างด

บรรณานุกรม

ปราณีต เพ็ญศรี. เอกสารประกอบการสอน เร่ือง Exercise and Obesity จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. 9 กุมภาพันธ 2548:1. สันต์ิ สุขวัจน. รอยประทับของรองเทา. พิมพคร้ังท่ี 2. นครปฐม: ภาควิชาวิทยาการตํารวจ สวนวิชาการสืบสวนสอบสวน กรมบังคับวิทยาการ โรงเรียนนายรอยตํารวจ. 2545: 1-6. สุจิตรา บุญหยง. เอกสารประกอบการสอน เร่ืองปฏิบัติการเร่ือง Normal Gait Analysis I : Footprint จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. 4 สิงหาคม 2547: 1-5. อรรถพล แชมสุวรรณวงศ และคณะ. นิติวิทยาศาสตร 2 เพื่อการสืบสวนสอบสวน. พิมพคร้ังท่ี 4. กรุงเทพฯ: ทีซีจี พร้ินต้ิง. 2546: 9-10. Body Surface Area, Body Mass Index, Available at http://thairunning.com . Accessed Aug 30, 2007. GaitCycle, Available at http://me.queensu.ca/people/deluzio/Gait Analysis.php. Accessed Aug 30, 2007. Hills A P, Hennig E M, Donald M Mc, Bar-Or O. Plantar pressure differences between obese and non-obese adults: a biomechanical analysis. International Journal of Obesity. 2001; 25: 1674-1679. Paul L Enright. The Six-Minute Walk Test. Respiratory Care. 2003; 48: 783-785. This Official Of The American Thoracic Society. American Journal Of Respiratory And Critical Care Medicine. 2002; 166 :111-117. Stride analysis, Available at http://noon.ouhsc.edu/dthompse/gait/knmatics/stride.htm. Accessed Aug 26, 2007.

Page 26: กรณีศึกษาว ธ การทดลอง เป นกรณ ศ กษา (Pilot study) หาความส มพ นธ ระหว างระหว างด

ภาคผนวก

ภาคผนวก ก แบบสอบถามเพ่ือหาความสมัพันธระหวางดชันีมวลกาย และความยาวขา เปรียบเทียบกับรอยพิมพฝาเทาเพื่อบอกลักษณะการเดินของแตละบุคคล

คําถามมีท้ังหมด 2 สวน แบงเปน สวนท่ี 1 คําถามผูวิจัยบันทึก 1. สวนสูง _______________ เซนติเมตร 2. น้ําหนกั _______________ กิโลกรัม 3. ขนาดความยาวของขา (ระหวาง ASIS กับ Medial malleolus) ขางขวา _______________ เซนติเมตร ขางซาย _______________ เซนติเมตร 4. ระยะเวลาท่ีเดิน____________วินาที สวนท่ี 2 คําถามท่ัวไป โปรดทําเคร่ืองหมาย / หนาขอท่ีเลือก 5. เพศ

◊ ชาย ◊ หญิง 6. อายุ

◊ 15-20 ป ◊ 21-25 ป

◊ 26-30 ป ◊ มากกวา 30 ป

______________________________________________

ขอบคุณในการรวมตอบแบบสอบถาม

Page 27: กรณีศึกษาว ธ การทดลอง เป นกรณ ศ กษา (Pilot study) หาความส มพ นธ ระหว างระหว างด

ภาคผนวก ข ภาพวิธีการทดลอง

1) อุปกรณการทดลอง

2) การวัดความยาวขา

Page 28: กรณีศึกษาว ธ การทดลอง เป นกรณ ศ กษา (Pilot study) หาความส มพ นธ ระหว างระหว างด

3) การเดินเพื่อทําการทดลอง