ระบบนิเวศลุ มน้ําที่สูงในภาคเหน...

29
ระบบนิเวศลุมน้ําที่สูงในภาคเหนือประเทศไทย พรชัย ปรีชาปญญา สถานีวิจัยตนน้ําดอยเชียงดาว กลุมลุมน้ํา สวนวิจัยและพัฒนาสิ่งแวดลอมปาไม สํานักวิชาการปาไม กรมปาไม 2541

Upload: others

Post on 11-Feb-2020

6 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ระบบนิเวศลุ มน้ําที่สูงในภาคเหน ือประเทศไทยapp.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/P044101.pdf · 1. บทนํา

ระบบนิเวศลุมน้ําที่สงูในภาคเหนือประเทศไทย

พรชัย ปรีชาปญญา สถานีวิจัยตนน้ําดอยเชียงดาว

กลุมลุมน้ํา สวนวิจัยและพัฒนาสิ่งแวดลอมปาไม สํานักวิชาการปาไม กรมปาไม

2541

Page 2: ระบบนิเวศลุ มน้ําที่สูงในภาคเหน ือประเทศไทยapp.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/P044101.pdf · 1. บทนํา

1. บทนํ า

เมื่อพิจารณาถึงเปาหมายหลักในการจัดการลุมนํ้ า เปนที่ยอมรับกันวาพื้นที่ตนนํ้ าลํ าธารที่เปนภูเขาสูงทางภาคเหนือตอนบนเปนแหลงที่เอื้ออํ านวยที่สํ าคัญที่สุดของประเทศ ทั้งนี้เพราะพื้นที่ดังกลาวประกอบดวยภูเขาสูงสลับซับซอน พืชพรรณขึ้นปกคลุมหนาแนน ขณะเดียวกันก็เปนพื้นที่ฝนตกชุก สมบัติดิน ลมฟาอากาศ และลักษณะภูมิประเทศที่เหมาะตอการปลดปลอยนํ้ าใหแกพื้นที่รับนํ้ าทั้งตอนลสง เปนประโยชนตอการเกษตร การอุปโภคบริโภค การทองเที่ยว กาคมนาคมและกิจกรรมอื่น ทั้งนี้เพราะองคประกอบตาง ๆ เชน พืชพรรณ ดิน นํ้ า และลักษณะกายภาพอื่น ๆภายในลุมนํ้ า ประกอบดวยชนิด ปริมาณสัดสวน และหนาที่ที่เหมาะสมที่กอใหเกิดสมดุลของระบบนิเวศในลุมนํ้ าสมํ่ าเสมอตลอดมา แตอยางไรก็ตาม เนื่องจากหลายปที่ผานมา จนกระทั่งถึงปจจุบัน ทรัพยากรปาไมของประเทศไทยในทุกภูมิภาคไดถูกทํ าลายเปนจํ านวนมาก โดยเฉพาะอยางยิ่งพื้นที่ตนนํ้ าลํ าธาร เกษตรกรใชประโยชนที่ดินในรูปแบบที่ไมถูกตอง ทํ าใหดุลยภาพของระบบนิเวศลุมนํ้ าที่เคยปกคลุมดวยพืชพรรณแตกสลาย และเสื่อมโทรมลงในเวลาอันรวดเร็ว อันเปนผลกอใหเกิดภาวะนํ้ าทวมโดยฉับพลัน หรือเกิดชวงฤดูแลงที่ยาวนานขึ้นกวาที่เคยเปน ที่ราบลุมสองฝงแมนํ้ าในภาคเหนือและภาคกลาง ซึ่งเปนแหลงเพาะปลูกที่กวางใหญ และประกอบดวยชุมชนใหญนอยเปนจํ านวนมากของประเทศ ไดรับความเสียหายจากอุทกภัยและภัยภิบัติหลายรูปแบบเปนประจํ า เหตุการณดังกลาวไดทวีความรุนแรงเพิ่มข้ึนอยางนาเปนหวง แมวารัฐบาลทุกยุคทุกสมัยไดตระหนักถึงปญหาดังกลาว และไดพยายามฟนฟูสภาพตนนํ้ าลํ าธารใหมีสภาพนิเวศที่ดีข้ึน โดยเรงดํ าเนินการปลูกสรางสวนปา ยังยั้งการทํ าลายปา ทั้งในลักษณะของการจัดใหมีกฏหมายรักษาปาในรูปของอุทยานแหงชาติ เขตรักษาพันธุสัตวปา และมติคณะรัฐมนตรีวาดวยการจัดชั้นคุณภาพลุมนํ้ า การดํ าเนินงานปรับปรุงสภาพนิเวศของพื้นที่แหลงตนนํ้ าลํ าธารไมประสพความสํ าเร็จเทาที่ควร ทั้งนี้เพราะวาขาดความรวมมือจากชุมชน

การชักชวนประชาชนในชนบทใหทันมารวมมือกับรัฐในการปรับปรุงพื้นที่ตนนํ้ า เปนเรื่องที่ละเอียดออน และแนวทางพัฒนาตองใหบังเกิดผลรวมกันระหวางรัฐ และประชาชน ซึ่งในปจจุบันทั้งนักวิชาการ และผูบริหารระดับสูง เห็นพองตองกันวา แนวทางวนเกษตรเปนกรรมวิธีอีกแนวทางหนึ่งที่ชวยลดความขัดแยงที่เกิดขึ้นดังกลาวได (นิพนธ,2525; พรชัย,2527; อํ านวย,2528;สอาด,2529; พรชัย,2531; พิทยา, 2540; Nair, 1993; Preechapanya; 1996) ทั้งนี้เพราะระบบวนเกษตรโดยทั่วไปมักกอใหเกิดประโยชนแกประชาชนโดยสวนรวมของประเทศในดานเศรษฐกิจ สังคม และสภาพแวดลอมตาง ๆ เปนตนวาการอนุญาตใหเพาะปลูกพืช และ/หรือเลี้ยงสัตวในสวนปา หรือ

Page 3: ระบบนิเวศลุ มน้ําที่สูงในภาคเหน ือประเทศไทยapp.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/P044101.pdf · 1. บทนํา

2ปาธรรมชาติ โดยจัดระบบพื้นที่กํ าหนดขึ้นใหม ใหประกอบดวยสัดสวน และหนาที่ของพืช และ/หรือสัตว ที่เอื้ออํ านวยประโยชนซึ่งกันและกันทั้งทางตรงและทางออม รักษาสภาพนิเวศที่คอนขางมั่นคงได ในขณะเดียวกันก็สงผลในดานเศรษฐกิจแกประชาชน

เอกสารฉบับนี้ประกอบไปดวย สาระสํ าคัญเกี่ยวกับลักษณะทั่วไปของระบบนิเวศลุมนํ้ าที่สูงของภาคเหนือตอนบน โดยกลาวถึงลักษณะทั่วไป และการใชประโยชนที่ดินในพื้นที่ดังกลาว(หัวขอที่ 2) จากนั้นกลาวเนนถึงลักษณะนิเวศเฉพาะบนที่สูง (หัวขอ 3) ในหัวขอที่ 4 กลาวถึงสาเหตุและผลกระทบที่เกิดจากการทํ าลายปาในภาคเหนือ และในหัวขอที่ 5 อธิบายถึงแนวความคิดเกี่ยวกับการจัดการลุมนํ้ าแบบยั่งยืน โดยเฉพาะแนวพระราชดํ าริของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวที่วาดวยเศรษฐกิจชุมชน ที่ทรงมีพระราชประสงคใหชุมชนรูจักชวยตนเองมากกวาการพึ่งสังคมเมือง หัวขอสุดทาย กลาวถึงรูปแบบการใชประโยชนที่ดินแบบ “วนเกษตร” ที่เหมาะสมกับการพัฒนาและอนุรักษแหลงตนนํ้ าลํ าธาร2. ลักษณะนิเวศภาคเหนือตอนบน

ภาคเหนือตอนบนประกอบพื้นที่ประมาณ 85,900 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 1 ใน 5ของพื้นที่ทั้งประเทศ ระหวางเสนรุงที่ 17-20 องศาเหนือ และ เสนแวงที่ 97-101 องศาตะวันออกประกอบดวย 8 จังหวัดไดแก เชียงใหม เชียงราย ลํ าปาง แพร นาน ลํ าพูน พะเยา และ แมฮองสอนมีความลาดชันจนถึงประมาณ 35 เปอรเซนต เปนพื้นที่ราบประมาณ 10 เปอรเซนต เปนพื้นที่ราบประมาณ 10 เปอรเซนต ที่ดอนประมาณ 17 เปอรเซนต และ ที่สูงประมาณ 73 เปอรเซนต (กรมพัฒนาที่ดิน, 2536)

การใชประโยชนที่ดินในภูมิภาคนี้ โดยเฉพาะที่ราบ ศุภชัย และคณะ (2539) อธิบายวาปริมาณที่เนินตลิ่งริมแมนํ้ าสวนใหญถูกใชเปนที่อยูอาศัย และปลูกลํ าไยเปนพืชหลัก นอกจากนั้นปลูกพืชอ่ืนเปนพืชเสริม เชน ยาสูบ และผักตาง ๆ บริเวณที่ราบลุมหุบเขาถูกใชเปนที่นาที่ปลูกขาวในฤดูฝน โดยเฉพาะขาวเหนียวที่เปนอาหารหลักของคนในภาคเหนือ ใชนํ้ าจากระบบชลประทานหลวง และชลประทานราษฎร ที่มีอยูทั่วไปสลับกับการปลูกขาวนาปรัง กระเทียม หอมหัวใหญหอมแดง ถั่วเหลือง มันฝร่ัง พริก ขาวโพด และ พืชผักอื่น ๆ

บริเวณเนินเขา พรชัย (2540) กลาววา ถูกใชในการปลูกปาเศรษฐกิจ โดยเฉพาะไมสัก ซึ่งมีทั้งที่ดํ าเนินการโดยเกษตรกรและหนวยงานของรัฐ หรือปลอยไวเปนปาธรรมชาติ โดยชนิดของปาประกอบดวยปาเต็งรัง และปาเบญจพรรณ อยางไรก็ตาม ปาในที่เนินเขามักเสื่อมโทรมเนื่องจากราษฎรมักบุกรุกเขาไปใชประโยชน ตัดไมและหาของปา เชน หนอไม เห็ด ดอก ผล และใบไม

Page 4: ระบบนิเวศลุ มน้ําที่สูงในภาคเหน ือประเทศไทยapp.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/P044101.pdf · 1. บทนํา

3เปนอาหาร และขายเปนรายไดเสริม ในบางแหงใชปลูกตนจามจุรีเพื่อเลี้ยงครั่ง และเปนที่ปลอยสัตวเลี้ยงจํ าพวก วัว ควาย ในชวงฤดูทํ านาปลูกพืชไร เชน ขาวโพด ขาวไร ยาสูบ ถั่วเหลือง ออยสับปะรด มันเทศ หรือ มันสํ าปะหลัง หรือปลูกพืชสวนเชน มะมวง สมเขียวหวาน ล้ินจี่ และ กลวย

ที่สูง พื้นที่สวนใหญเปนปาดิบเขาเปนแหลงตนนํ้ าที่สํ าคัญ มีบางสวนเปนปาสน ในอดีตพื้นที่ประมาณครึ่งหนึ่งถูกใชในการทํ าไรฝน ปลูกบาวไร และขาวโพดอาหารสัตว ในปจจุบันพื้นดินเหลานี้สวนใหญถูกปลอยทิ้งเปนที่รกรางวางเปลา กลายเปนทุงหญาคา สาบควาย หรือ เฟรนตางๆ ข้ึนทดแทน งายตอการเกิดไฟปาในฤดูแลง และเปนการยากตอการทดแทนทางธรรมชาติที่ทํ าใหกลับคืนเปนปาไมเหมือนเดิม พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวจึงมีพระราชดํ าริให กองอนุรักษตนนํ้ า(ปจจุบันแยกออกเปน 2 สวนราชการคือ สวนอนุรักษตนนํ้ า และ กลุมลุมนํ้ า) กรมปาไม ดํ าเนินการปลูกปาเพื่อปรับปรุงตนนํ้ า ในป พ.ศ.2515 ในระยะแรกของการดํ าเนินงาน ไดมีความพยายามปลูกไมด้ังเดิมของปาดิบเขาโดยเฉพาะไมตระกูลกอ แตไมประสบความสํ าเร็จ จนตองเปลี่ยนมาปลูกสนสามใบ จึงทํ าใหการปลูกปาเปนไปไดอยางดี แตอยางไรก็ตามก็จํ าเปนตองปองกันไฟปาเปนอยางดี เพราะวาตนสนตายงายเมื่อถูกไฟไหม ในขณะที่พื้นที่บางสวนถูกใชในการปลูกพืชเศรษฐกิจอ่ืน เชน กระหลํ่ าปลี มะเขือเทศ มันฝร่ัง ขิง และ หอมหัวใหญ โดยขาดมาตรการอนุรักษดินและนํ้ า และควบคุมการใชสารเคมีที่เปนพิษภัยตอส่ิงแวดลอมในดิน นํ้ า และบรรยากาศ บางสวนเกษตรกรบนที่สูงยังคงดํ ารงวิถีชีวิตอยางเดิมโดยการทํ าไรหมุนเวียน นอกจากนั้นชาวเขาบางเผาที่ปลูกฝนบางครอบครัวหันมาปลูกไมผลเมืองหนาว เชน ทอ บวย พลับ และ สาลี่ หรือ พืชเครื่องดื่ม เชน ชา กาแฟ หรือ ดอกไม เห็ด หรือผักเมืองหนาว ภายใตการดูแลของสวนราชการที่รวมงานกันภายใตโครงการหลวง ในขณะที่กลุมที่ไมปลูกฝนบางครอบครัวปลูกพืชผสมผสานในลักษณะสวนหลังบาน สวนชาวปาเมี่ยงที่เปนชนเผาไทย และผูที่มีเชื้อสายผสมผสานกับชาวเขายังคงประกอบอาชีพโดยการเก็บใบเมี่ยง (ชา) โดยอาศัยภูมิบัญญัติด้ังเดิมที่ดํ ารงมานานกวา 2,000ป พอ ๆ กับการปลูก และเก็บใบชาของคนจีน (Weatherstone, 1992; Preechapanya, 1996)สวนในพื้นที่หุบเขาแคบ ๆ ต้ังแตที่ดอนไปจนที่สูงถูกใชในการทํ านาขั้นบันได วิลาศลักษณ และคณะ (2539) อธิบายวา ในพื้นที่หุบเขาแคบ ๆ เกษตรกรสามารถควบคุมนํ้ าได โดยระบบชลประทานพื้นบาน สํ าหรับพันธุขาวก็เปนขาวพื้นเมืองที่ทนตออากาศหนาวเย็น (รายละเอียดการใชประโยชนที่ดินบนที่สูงกลาวในทายนี้)3. ที่สูง

ที่สูงในความหมายของ นักภูมิศาสตร หมายถึง พื้นที่ที่เปนภูเขาสูง และมีความลาดชันมาก ในความหมายของ นักนิเวศวิทยา หมายถึง พื้นที่ที่เปนที่ลาดชันเปนแหลงตนนํ้ าลํ าธารที่

Page 5: ระบบนิเวศลุ มน้ําที่สูงในภาคเหน ือประเทศไทยapp.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/P044101.pdf · 1. บทนํา

4สํ าคัญ และไมเหมาะเพื่อการเกษตร Nair (1993)กลาววา ที่สูงควรเปนพื้นที่มีความสูงมากกวา900 เมตร จากระดับนํ้ าทะเล โดย Nair ประมาณพื้นที่ที่มีความสูงระหวาง 900-1,800 เมตร จากระดับนํ้ าทะเลอยูในเขตรอนประมาณ 20 เปอรเซนต ของพื้นที่เขตรอนทั้งหมด ประกอบไปดวยครึ่งหนึ่งของเทือกเขาแอนดีส ในทวีปอเมริกาใต บางสวนของประเทศบราซิล และ เวเนซูเอลา ภูเขาในแถบาริเบียน หลายสวนของตะวันออก และตอนกลางของทวีปอัฟริกาคามารูน ที่ราบสูงเดคคานในประเทศอินเดีย และบางสวนของเอเซียตะวันออกเฉียงใต สํ าหรับที่มีความสูงมากกวา 1,800เมตร จากระดับนํ้ าทะเลอยูในเขตรอนประมาณ 3 เปอรเซนต ของพื้นที่เขตรอนทั้งหมด ประกอบดวยพื้นที่ในบริเวณเทือกเขาแอนดิส ภูเขาในประเทศเอธิโอเปยที่สูงของเคนยา ภาคเหนือของประเทศเมียนมาร และ ภูเขาในประเทศปาปวนิวกีนีเขตที่สูงที่มีลักษณะกึ่งอบอุนในแถบเทือกเขาหิมาลัย

ประเทศไทย เกษม (2539) กลาววาจากการวิเคราะหของนักภูมิศาสตรในกรมพัฒนาที่ดินกํ าหนดไววา ที่สูงคือ บริเวณที่มีความสูงพื้นที่ที่สูงกวาระดับนํ้ าทะเลมากกวา 700 เมตร จากขอกํ าหนดดังกลาว เกษม พบวาประเทศไทยมีที่สูงถึง 35 เปอรเซนต โดยพบในภาคเหนือมากที่สุดประมาณ 17 เปอรเซนต ของพื้นที่ทั้งหมด จากขอสรุปของ เกษม (2539) ที่กลาวอางถึงผลการศึกษาของ KWRS (1996) Coleman (1953) Satterland (1972) Black (1991) Brooks et al.(1991) Herrera et al. (1981) และ UNESCO (1980) กลาววา

“พื้นที่สูง เปนพื้นที่นาเปนพื้นที่ตนนํ้ าที่สามารถใหนํ้ าตอพื้นที่ตอนลางที่ไหลตลอดปทั้งฤดูฝนและฤดูแลง ทั้งนี้ทั้งนั้นพื้นที่ดังกลาวตองปกคลุมดวยปาไม โดยเฉพาะปาเขตรอน แตถาปราศจากพืชคลุมดินหรือไมมีตนไมปกคลุมดินแลวทํ าใหในฤดูฝนเกิดนํ้ าไหลหลากมาก และอาจเกิดอุทกภัย สวนในฤดูแลงนํ้ าในลํ าธารเหือดแหงเพราะวาขาดแคลนนํ้ าที่ปลดปลอยลงสูลํ าธาร”

เกษม (2539) อางวา กรมพัฒนาที่ดิน ยังจัดแบงอีกลักษณะหนึ่งคือ พื้นที่สูงควรมีความสูงจากระดับนํ้ าทะเลมากกวา 500 เมตร และมีความลาดชันมากกวา 35 เปอรเซนต โดยกํ าหนดใหเปนปาตนนํ้ าลํ าธาร สวนพื้นที่มีความสูงดังกลาว แตมีความลาดชันนอยกวา 35 เปอรเซนตใชเพื่อการเกษตรโดยมีมาตรการอนุรักษดินและนํ้ า ซึ่งหากกํ าหนดมาตรการนี้ทํ าใหมีที่สูงที่ควรเปนปาไมประมาณ 50 เปอรเซนต ของพื้นที่ภาคเหนือ และพื้นที่สูงที่ทํ าการเกษตรไดประมาณ 14เปอรเซนต ของพื้นที่ภาคเหนือ บรรเทาปญหาความขัดแยงใชประโยชนที่ดินในระกับหนึ่ง โดยประชาชนที่อาศัยบนที่สูงสามารถใชที่ดินบริเวณที่ราบหุบเขาในเชิงอนุรักษ โดยมีมาตรการอนุรักษดินและนํ้ า และปองกันหรือลดมลพิษ

Page 6: ระบบนิเวศลุ มน้ําที่สูงในภาคเหน ือประเทศไทยapp.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/P044101.pdf · 1. บทนํา

5ระเบียบสํ านักนายกรัฐมนตรี วาดวยการบริหารการพัฒนาชุมชน ส่ิงแวดลอม และการ

ควบคุมพิชเสพติดบนที่สูง พ.ศ.2540 (สํ านักนายกรัฐมนตรี, 2540) ในจังหวัดที่มีชุมชนบนที่สูงเปนไปอยางมีเอกภาพและประสิทธิภาพ สามารถบรรลุวัตถุประสงค และเปาหมายที่กํ าหนดไวในแผนแมบท พ.ศ.2540-2544 โดยกํ าหนดความหมายของพื้นที่สูงไววา

“พื้นที่ที่เปนที่อยูของชาวเขาเผาตาง ๆ หรือเปนที่ต้ังบานเรือน และที่ทํ ากินที่มีความลาดชันโดยเฉลี่ยมากกวารอยละ 35 หรือมีความสูงมากกวาระดับนํ้ าทะเล 500 เมตรขึ้นไปในจังหวัดตาง ๆ 20 จังหวัด คือ เชียงใหม แมฮองสอน เชียงราย พะเยา นาน ลํ าพูน ลํ าปาง แพร ตากเพชรบูรณ เลย พิษณุโลก สุโขทัย กํ าแพงเพชร กาญจนบุรี อุทัยธานี สุพรรณบุรี ราชบุรี ประจวบคีรีขันธุ และเพชรบุรี”

คณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ (ปจจุบันเปลี่ยนเปนสํ านักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดลอม) จัดใหมีการจัดชั้นคุณภาพลุมนํ้ าเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใชประโยชนที่ดิน โดยเฉพาะที่สูง ซึ่ง เกษม (2539) กลาววา การกํ าหนดชั้นคุณภาพลุมนํ้ า (Watershed classification, WSC)หมายถึง การจํ าแนกแบงเขตพื้นที่ลุมนํ้ าตามคุณภาของดินตอสมรรถนะการพังทลาย และความเปราะบางทางสิ่งแวดลอม โดยมีตัวแปรา คือ ความสูงของพื้นที่ ความลาดชัน ลักษณะแผนดินลักษณะปฐพีวิทยา และ ลักษณะธรณีวิทยา โดยกํ าหนดการใชประโยชนที่ดินออกเปน 5 ชั้น ดังรายละเอียดในตารางที่ 1.1 โดยที่ชั้นที่ 1 แยกเปน 1A เปนพื้นที่มีปาธรรมชาติ และ 1B เปนพื้นที่ที่ไมมีปาธรรมชาติเหลืออยู พื้นที่ชั้นที่ 1 สวนใหญอยูบนที่สูง และเปนแหลงตนนํ้ าที่มีความสํ าคัญในพื้นที่ชั้นที่ 2 จัดเปนแหลงตนนํ้ าที่สํ าคัญรองลงมา การดํ าเนินการกํ าหนดชั้นคุณภาพลุมนํ้ าทํ าใหประเทศไทยมีพื้นที่แหลงตนนํ้ าชั้นที่ 1 ประมาณ 16.5 เปอรเซนต และชั้นที่ 2 ประมาณ 1.5 เปอรเซนต ของพื้นที่ของประเทศทั้งหมด เกษม กลาววาไดมีความพยายามที่นํ าแนวนโยบายเกี่ยวกับการจัดชั้นคุณภาพลุมนํ้ ามาทดลองใชโดยคณะรัฐมนตรีใหความเห็นชอบเมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน2536 ใหดํ าเนินงานโครงการจัดการลุมนํ้ าตัวอยางทั่วประเทศ ตามความเห็นชอบของคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ โดยใหดํ าเนินการในพื้นที่ลุมนํ้ าแมแตงเปนพื้นที่ตัวแทนลุมนํ้ าในภาคเหนือ ในทองที่อํ าเภอแมแตง เชียงดาว และ เวียงแหง จังหวัดเชียงใหม ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 2,000 ตารางกิโลเมตร โดยใหกรมปาไม และ กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม รวมกับสวนราชการอื่น ๆ อีก 9 หนวยงาน ดํ าเนินงาน

Page 7: ระบบนิเวศลุ มน้ําที่สูงในภาคเหน ือประเทศไทยapp.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/P044101.pdf · 1. บทนํา

6ตารางที่ 1 ลักษณะของชั้นคุณภาพลุมนํ้ า

พื้นที่ลุมนํ้ าชั้นที่ 1 หมายถึงพื้นที่ภายในลุมนํ้ าที่ควรสงวนไวเปนตนนํ้ าลํ าธาร เปนพื้นที่สูงหรือตอนบนของลุมนํ้ า สวนใหญเปนเทือกเขาที่ประกอบไปดวย หุบเขา หนาผา ยอดเขาแหลม และ/หรือรองนํ้ ามาก สวนใหญปกคลุมไปดวย ปาดงดิบ ปาดิบเขา หรือ ปาสนเขา สวนใหญมีความลาดชันเฉลี่ยประมาณ 80 เปอรเซนต และประกอบไปดวยลักษณะทางธรณีวิทยา และลักษณะทางปฐพีวิทยาที่ที่งายตอการพังทลายพื้นที่ลุมนํ้ าชั้นที่ 2 หมายถึงพื้นที่ภายในลุมนํ้ าที่ควรสงวนไวเปนตนนํ้ าลํ าธารในระดับรองลงมาและสามารถใชประโยชนเพื่อกิจกรรมสํ าคัญ เชนการทํ าไม และเหมืองแรเปนตน เปนพื้นที่ภูเขาที่มีลักษณะมน และมีความกวางไมมากนัก หรือเปนบริเวณลาดเขาที่มีแนวลาดเทปานกลางประกอบไปดวยรองนํ้ าคอนขางกวาง สภาพปาเปนปาดงดิบที่ถูกถาง หรือเปนปาเสื่อมสภาพ แตสวนใหญเปนปาเต็งรัง และ/หรือ ปาเบญจพรรณมีความลาดชันโดยเฉลี่ยระหวาง 30-35 เปอรเซนต ลักษณะทางธรณีวิทยาที่ประกอบไปดวยหิน ซึ่งงายตอการชะลางพังทลาย ดินพื้นถึงลึกปานกลาง ความอุดมสมบูรณต่ํ าถึงปานกลาง และสมรรถนะการพังทลายสูงพื้นที่ลุมนํ้ าชั้นที่ 3 หมายถึงพื้นที่ภายในลุมนํ้ าซึ่งสามารถใชประโยชนไดทั้งกิจกรรมทํ าไม เหมืองแร และปลูกไมผลยืนตน โดยสวนใหญเปนที่ดอน และลาดเนินเขา ปกคลุมดวย หรือเคยปกคลุมดวยปาเบญจพรรณ ปาเต็งรัง หรือปาดงดิบ มีความลาดชันเฉลี่ยระหวาง 25-35 เปอรเซนตลักษณะทางธรณีประกอบดวยหิน หรือตะกอนที่ทับถมทํ าใหยากตอการชะลางพังทลายพื้นที่ลุมนํ้ าชั้นที่ 4 หมายถึงพื้นที่ภายในลุมนํ้ าที่สภาพปาถูกถางใชทํ าประโยชนเพื่อปลูกพืชไรเปนเนินเขาหรือที่สองฝงลํ านํ้ าที่เปนที่ดอน ปาที่ปกคลุม หรือปาที่เคยปกคลุม เปนปาผสมผลัดใบปาเต็งรัง และ/หรือปาละเมาะมีความลาดชันโดยเฉลี่ยระหวาง 6-25 เปอรเซนต ลักษณะทางธรณีคลายกับพื้นที่ลุมนํ้ าชั้นที่ 3 ดินลึกถึงคอนขางลึก ความอุดมสมบูรณของดินคอนขางสูง และสมรรถนะการพังทลายตํ่ าพื้นที่ลุมนํ้ าชั้นที่ 5 หมายถึงพื้นที่ภายในลุมนํ้ าซึ่งเปนที่ราบหรือลุม หรือเนินลาดเอียงเล็กนอยสวนใหญปาถูกถางเพื่อใชประโยชนการเกษตร โดยเฉพาะการทํ านา ปาสวนอาจเปนปาละเมาะปาเต็งรัง หรือปาดงดิบความลาดชันเฉลี่ยตํ่ ากวา 5 เปอรเซนต ลักษณะทางธรณีเปนพวกดินตะกอน ดินลึกถึงลึกมาก ความอุดมสมบูรณของดินสูง และสมรรถนะการพังทลายตํ่ าที่มา: เกษม (2539)

Page 8: ระบบนิเวศลุ มน้ําที่สูงในภาคเหน ือประเทศไทยapp.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/P044101.pdf · 1. บทนํา

7 การจัดชั้นคุณภาพลุมนํ้ าเปนการจัดแบงกวาง ๆ ที่ดํ าเนินการทั้งประเทศทํ าใหที่ราบหุบเขาเล็ก ๆ ควรเปนพื้นที่ทํ านาหรือการเกษตรเชิงอนุรักษก็ถูกกํ าหนดเปนปาตนนํ้ าลํ าธาร ตอไปคงมีการดํ าเนินการที่มีการจัดทํ ารายละเอียดมากขึ้น กลาวคือ มีการวางแผนการใชประโยชนที่ในลุมนํ้ าขนาดเล็กบนที่สูง โดยเฉพาะการวางแผนที่ประชาชนมีสวนรวมตัดสินใจ ดังที่ทดลองดํ าเนินการแลวในโครงการวนศาสตรชุมชนบนที่สูง ที่ดํ าเนินการโดยสวนอนุรักษตนนํ้ า สํ านักอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ กรมปาไม และ คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม โดยการสนับสนุนของมูลนิธิ Ford Forest Department, 1989)

กลาวโดยสรุป การกํ าหนดความหมายของความสูงสํ าหรับที่สูงในภาคเหนือ ควรกํ าหนดไวที่ระดับความสูงมากกวา 900 เมตรจากระดับนํ้ าทะเล เปนแหลงตนนํ้ าที่สํ าคัญของภาคเหนือ และภาคกลางของประเทศ โดยมีลักษณะทางนิเวศที่เปนเอกลักษณ โดยรายละเอียดที่กลาวถึงตอไปนี้ไดแก ลักษณะภูมิประเศ (หัวขอที่ 3.1) อธิบายถึงลักษณะทั่วไปเปนภูเขาที่มีอิทธิพลตอการปลดปลอยนํ้ าเปนแหลงตนนํ้ าสายสํ าคัญ ลักษณะภูมิอากาศ (หัวขอที่ 3.2) บรรยายถึงลักษณะอากาศ โดยเฉพาะการตกของฝนที่มีปริมาณมาก และยาวนานเปนบริเวณที่มีฝนตกมากแหงหนึ่งของโลก ลักษณะธรณีวิทยา (หัวขอที่ 3.3) ที่อธิบายลักษณะของชั้นหินที่นํ้ าในดินซึมผานลงไปในความลึกไดยากทํ าใหนํ้ าในลํ าธารมีปริมาณมาก และไหลตลอดทั้งป ลักษณะปฐพีวิทยา(หัวขอที่ 3.4) กลาวถึงเนื้อดินที่มีประสิทธิภาพในการอุมนํ้ า และปลดปลอยนํ้ า แตงายตอการชะลางพังทลาย ลักษณะอุทกวิทยา (หัวขอที่ 3.5) บรรยายพื้นที่สูงในภูมิอากาศนี้ที่จัดวาเปนแหลงที่มีผลผลิตของนํ้ าที่ดีแหงหนึ่งของโลก พืชพรรณ (หัวขอที่ 3.6) ที่อธิบายลักษณะความหลากหลายทางชีวภาพ โดยเฉพาะปาดิบเขาที่เปนปาที่สํ าคัญในการควบคุมระบบนิเวศลุมนํ้ าที่สูง สัตวปา(หัวขอ 3.7) ที่กลาวถึงความหลากหลายของสัตวปาที่เคยมีมากมายในอดีต และการลดลงของสัตวทั้งจํ านวน และชนิด ลักษณะประชากร (หัวขอที่ 3.8) ที่ประกอบไปดวยชุมชนชาวเขา และคนไทยที่อาศัยอยูปะปนกัน ทั้งที่อพยพมาจากประเทศขางเคียง และที่มีถิ่นกํ าเนิดในประเทศ นอกจากนั้นยังอัญเชิญแนวพระราชดํ าริของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ในหัวขอที่ 3.9 ที่เกี่ยวกับความยั่งยืนของการจัดการลุมนํ้ า และระบบวนเกษตร และสุดทายในหัวขอ 3.10 กลาวถึง กฏระเบียบที่เกี่ยวของกับที่สูงที่ถูกกํ าหนดขึ้นมาเพื่อจัดระเบียบชุมชน เพื่อการใชและอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ และความหลากหลายทางชีวภาพ

3.1 ลักษณะภูมิประเทศ

Page 9: ระบบนิเวศลุ มน้ําที่สูงในภาคเหน ือประเทศไทยapp.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/P044101.pdf · 1. บทนํา

ภูมิประเทศของภาคเหนือตอนบนประกอบดวยเทือกเขาสลับซับซอน เปนสวนหนึ่งจองกลุมขุนเขาใหญหิมาลัยที่มีอาณาเขตตั้งแตตอนเหนือของประเทศปากีสถาน ติดตอมาทางตะวัน 8ออกบริเวณพรมแดนอินเดีย และ จีน โดยมีประเทศเนปาล และภูฐาน อยูบนบางสวนของขุนเขาและยาวเรื่อยมาทางตอนเหนือของประเทศเมียนมาร จากนั้นสวนหนึ่งแยกขึ้นเหนือไปทางตอนใตของประเทศจีน และสวนหนึ่งแยกลงสูทางใตลงสูทางตอนเหนือของประเทศไทย โดย พิชัย (2539)อธิบายวาเทือกเขาที่ตอจากเทือกเขาหิมาลัยสู ทางทิศเหนือของเอเซียตะวันออกเฉียงใตเปนเทือกเขารุนเกามีอายุประมาณ 10 ลานป เปนเทือกเขาที่มีขนาดไมสูงใหมมากนัก และบริเวณเปลือกโลกสวนที่คอนขางสงบตัว กลาวคือ ไมเกิดแผนดินไหวและภูเขาไฟระเบิดในสวนของเทือกเขาที่อยูทางเหนือของประเทศไทย ประกอบไปดวยคือ

(1) ทิวเขาแดนลาว ที่เปนทิวยาวจากเหนือลงใต จากตอนใตของประเทศจีนตอเนื่องผานดานตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศเมียนมาร และตอมาในประเทศไดยดานตะวันตกเฉียงเหนือของภาคเหนือ (ศุภชัย และคณะ,2539) บริเวณอํ าเภอแมอาย และ ฝาง จังหวัดเชียงใหม ที่ดอยอางขาง และดอยผาหมปก และยางตามชายแดนภาคตะวันตกเฉียงเหนือของภาคเหนือ บรรจบกับเทือกเขาถนนธงชัยบริเวณดอยสามหมื่น อํ าเภอเชียงดาว และกิ่งอํ าเภอเวียงแหง จังหวัดเชียงใหม และอํ าเภอปาย จังหวัดแมฮองสอน และบางสวนทอดยาวไปตามพรมแดนไทย-เมียนมาร บริเวณทิศเหนือ และตะวันตกของจังหวัดแมฮองสอน และบางสาวนทอดยาวไปตามพรมแดนไทย-เมียนมาร บริเวณทิศเหนือ และตะวันตกของจังหวัดแมฮองสอน รวมเปนระยะทางในประเทศไทยประมาณ 120 กิโลเมตร และมียอดเขาที่มีความสํ าคัญคือ ดอยผาหมปก (สูง 2,285 เมตรจากระดับนํ้ าทะเล) เทือกเขาแดนลาวเปนตนสายสํ าคัญในประเทศไทย คือ แมนํ้ าปาย แมนํ้ ากกนํ้ าแมแตง และแมนํ้ าปงตอนบน (บริเวณอํ าเภอเชียงดาว)

(2) เทือกเขาธงชัย เทือกเขานี้อยูทางทิศตะวันตกของภาคเหนือ โดยศุภชัย และคณะ(2539) กลาววา เทือกเขาวางตัวสามแนวขนานกันจากทิศเหนือลงสูทิศใต ไดแก แนวตะวันตก ที่เปนพรมแดนระหวางไทยและเมียนมาร โดยเปนตนนํ้ า แมนํ้ ายวม แมนํ้ าปาย และ แมนํ้ าเมย แนวกลางที่เปนแนวกันระหวางจังหวัดเชียงใหม และแมฮองสอน และตาก บรรจบกับแนวตะวันตกที่อํ าเภอทาสองยาง จังหวัดตาก โดยเปนตนนํ้ า แมนํ้ ายวม แมนํ้ าปาย และ แมนํ้ าแมแจม และ แนวตะวันออก ประกอบดวยเขาที่เปนแนวที่ผานกลางอํ าเภอเชียงดาว และตอลงมาที่แนวรอยตอระหวางอํ าเภอแมแจม กับ อํ าเภอแมแตง สะเมิง สันปาตอง และฮอด จังหวัดเชียงใหม แนวนี้มีเทือกเขาที่สํ าคัญคือ เทือกเขาสุเทพ-อินทนนท และเทือกเขาเชียงดาว ประกอบดวยยอดเขาที่มีความสํ าคัญคือ ดอยอินทนนท (สูงประมาณ 2,565 เมตร จากระดับนํ้ าทะเล) ดอยปุย (สูง

Page 10: ระบบนิเวศลุ มน้ําที่สูงในภาคเหน ือประเทศไทยapp.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/P044101.pdf · 1. บทนํา

ประมาณ 2,560 เมตรจากระดับนํ้ าทะเล) และดอยเชียงดาว (สูงประมาณ 2,190 เมตร จากระดับนํ้ าทะเล) โดยเฉพาะดอยเชียงดาวเปนภูเขาหินปูนทั้งลูก แนวเทือกเขานี้เปนแหลงตนนํ้ า แมนํ้ า 9แมแจม แมขาน แมริม แมวาง แมต่ืน แมแตง และแมปงตอนบน เทือกเขาทั้งสามบรรจบกันแลวทอดตัวยาวไปบรรจบเทือกเขาตะนาวศรี ที่อํ าเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี

(3) เทือกเขาผีปนนํ้ า ศุภชัย และคณะ (2539) กลาววาเทือกเขานี้เร่ิมจากบริเวณดอยถวยสันแบงระหวางอํ าเภอไชยปราการ และอํ าเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม ทอดตัวไปทางทิศตะวันออกเฉียงใตซึ่งเปนแหลงตนนํ้ าแมนํ้ าปงตอนบนผานเสนทางสายเชียงใหม-ฝาง บริเวณดอยหัวโทอํ าเภอเชียงดาว ทอดยาวไปตามแนวตะวันออกเฉียงเหนือผานดอยชาง และดอยหางสอบ ซึ่งเปนสันปนแมนํ้ าฝาง กก และลาว ที่เปนแมนํ้ าสาขาแมนํ้ าโขง เทือกเขาผีปนนํ้ าวกลงทางใตผานดอยผีปนนํ้ า หรือดอยนางแกว ถึงดอยโจ ที่เปนสันแบงอํ าเภอพราว กิ่งอํ าเภอแมวาง และดอยสะเก็ดจังหวัดเชียงใหม อํ าเภอเวียงปาเปา จังหวัดเชียงราย อํ าเภอแมทา จังหวัดลํ าพูน อํ าเภอเมืองจังหวัดพะเยา และอํ าเภอแจซอน และอํ าเภอวังเหนือ จังหวัดลํ าปาง เปนแหลงตนนํ้ าของแมนํ้ างัดและกวง ที่เปนลุมนํ้ าสาขาแมนํ้ าปง แมนํ้ าวัง ลาว และอิง แนวนี้บางสวนทอดยาวลงสูทางทิศใตประกอบดวยเทือกเขาขุนตาล เปนเสนแบงจังหวัดเชียงใหม ลํ าพูน และลํ าปาง มียอดเขาขุนตาลเปนยอดเขาสูงสุด บางสวนแนวทิวเขาทอดตัวไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ และเหนือผานกิ่วมันหกและทอดตัวไปตามทิศตะวันออกเฉียงใตผานถนนพหลโยธิน ที่กิโลเมตรที่ 117 จากจังหวัดลํ าปาง แบงเขตจังหวัดลํ าปาง และพะเยา และวกขึ้นเหนือ และทิศตะวันออกผานดอยผายอม ไปจดเทือกเขาหลวงพระบางเทือกเขาในชวงนี้เปนแหลงตนนํ้ าวังยม และนาน ประเดิมชัย (2523)สรุปวา เทือกเขาผีปนนํ้ าความยาวประมาณ 400 กิโลเมตร ประกอบดวยยอดเขาสูงไดแก ดอยผาจอ (สูงประมาณ 2,010 เมตร จากระดับนํ้ าทะเล) และดอยผายอม (สูงประมาณ 1,740 เมตร จากระดับนํ้ าทะเล) เทือกเขาผีปนนํ้ านับวาเปนเทือกเขาที่มีความสํ าคัญมากตอภูมิภาคนี้ กลาวคือเปนตนนํ้ าสายสํ าคัญของประเทศ และเทือกเขาทั้งเทือกอยูในแผนดินไทย โดยที่ไมมีพรมแดนประเทศเพื่อนบาน การจัดการเทือกเขาแหงนี้ไมมีความจํ าเปนตองอาศัยความรวมมือจากประเทศเพื่อนบานเหมือนเทือกเขาอื่น

(4) เทือกเขาหลวงพระบาท โดย ประเดิมชัย (2523) อธิบายวา เทือกเขานี้เร่ิมจากริมแมนํ้ าโขงฝงขวาในเขตตํ าบลแมวงยาย อํ าเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย เปนแนวยาวลงไปทางทิศใตเปนเสนแบงเขตแดนไทย กับลาว จนถึงภูเมียง หรือยอดหวยนาหมันในเขตตํ าบลเดนเหล็ก อํ าเภอนํ้ าปาด จังหวัดอุตรดิตถยาวประมาณ 450 กิโลเมตร ยอดเขาสูง คือ ดอยภูเมียง (สูงประมาณ2,300 เมตร จากระดับนํ้ าทะเล) ภูสอยดาว (สูงประมาณ 2,100 เมตร จากระดับนํ้ าทะเล) และ

Page 11: ระบบนิเวศลุ มน้ําที่สูงในภาคเหน ือประเทศไทยapp.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/P044101.pdf · 1. บทนํา

ดอยหลวงพระบาท (สูงประมาณ 2,100 เมตร จากระดับนํ้ าทะเล) เปนแหลงตนนํ้ าในเขตประเทศลาวที่ไหลลงสูแมนํ้ าวัง ยม และ นาน

103.2 ลักษณะภูมิอากาศ

ศุภชัย และคณะ (2539) กลาววา ภาคเหนือตอนบนตั้งอยูในเขตอิทธิพลของลมมรสุมตะวันออกจากทะเลจีนใต และ มรสุมตะวันตกเฉียงใตจากอาวเบงกอล ที่นํ าความชื้นและฝนจากทะเลมาตกและไดรับความแหงแลง และความหนาวเย็นจากมรสุมตะวันตกเฉียงเหนือที่พัดมาจากประเทศจีน โดยพนจากอิทธิพลของลมเฉื่อยทะเลจากอางไทย ในฤดูหนาวอากาศหนาวจัด เชนเดียวกันในฤดูรอนก็รอนจัด

นอกจากนั้นที่สูง Preechapanya (1996) กลาววาภูเขามีลักษณะพิเศษที่มีฝนตกมากเนื่องจากการที่ลมหุบเขาหอบมวลอากาศหอบเอาไอนํ้ า และเมื่อลอยตัวสูงขึ้นเนื่องจากภูเขาบังคับทํ าใหมวลอากาศขยายตัวและเสียพลังงานทํ าใหไอนํ้ ากลั่นตัวเปนหยดนํ้ า และตกเปนฝน โดยในชวงที่ฝนตกเปนบริเวณที่เปนแนวหมอกที่มองเห็นจากเมืองเชียงใหมได ในระดับความสูงประมาณ1,250-1,600 เมตร จากระดับนํ้ าทะเล (เกษท และคณะ,2524) เปนแถบที่เปนปาดิบเขา การตกของฝนเนื่องจากลมทองถิ่นเปนสาเหตุใหเกิดสังคมพืชปาชนิดนี้ที่มีความอุดมสมบูรณ ลมหุบเขาเกิดขึ้นทุกวัน แตโอกาสที่มีฝนตกมากเปนชวงฤดูฝนที่บรรยากาศมีไอนํ้ าในปริมาณที่มากพอ จากการที่ไดรับอิทธิพลจากลมทองถิ่นดวยเชนนี้ จึงทํ าใหมีฝนตกบนที่สูงมากกวาที่ราบ

จากการรวบรวมขอมูลทางอุตุนิยมวิทยา จากที่สถานีตรวจอากาศบริเวณสถานีวิจัยลุมนํ้ าหวยคอกมา ดอยปุย ใกลกับพระตํ าหนักภูพิงคราชนิเวศน ระหวาง พ.ศ.2509-2524 เกษม และคณะ (2524) พบวามีปริมาณนํ้ าฝนเฉลี่ยประมาณ 2,000 มิลลิเมตร ปละประมาณ 140 วัน ในชวงดวลา 9-10 เดือน ความชื้นของอากาศเฉลี่ยประมาณ 78 เปอรเซนต อุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ20 องศาเซลเซียส ต่ํ าสุดในเดือนธันวาคมประมาณ 17 องศาเซลเซียส สูงสุดในเดือนมีนาคมประมาณ 36 องศาเซลเซียส ความเร็วลมเฉลี่ย 9 กิโลเมตร ตอ ชั่วโมง และ อัตราการระเหยนํ้ าจากถาดระเหยตลอดปประมาณ 1,122 มิลลิเมตร เกษม และคณะ กลาววาสถานีวิจัยลุมนํ้ าดังกลาวต้ังอยูในแนวที่เปนตัวแทนของปาดิบเขา ซึ่งเปนบริเวณที่เปนแนวหมอก โดยวิจารณวา ปริมาณความชื้นในบรรยากาศที่สูง โดยเฉพาะในปาดิบเขาคอนขางสูงตลอดเวลา เพราะการปกคลุมที่หนาแนนในขณะที่ความเร็วของลมชามาก

3.3 ลักษณะธรณีวิทยา

Page 12: ระบบนิเวศลุ มน้ําที่สูงในภาคเหน ือประเทศไทยapp.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/P044101.pdf · 1. บทนํา

พื้นที่สูงในภาคเหนือ อภิสิทธิ์ (2519) กลาววา ลักษณะธรณีเปนหินชุดตะนาวศรีสลับหินแกรนิตเกือบตลอดพื้นที่ ซึ่ง เกษม และคณะ (2524) สํ ารวจที่ลุมนํ้ าหวยคอกมา ดอยปุย เชียงใหมพบวาโครงสรางธรณีแบบ North West Continental Highlands ประกอบดวยหินแกรนิต ครอตไซคไมกา - ซิสต และหินทราย แตสวนใหญพบหินแกรนิตในยุค Triassic และ Late Gretacious ซึ่งเปน 11หินที่เกามาก ปรากฏอยูรวมกับหินครอตไซค นอกจากนั้นพบภูเขาหินปูนบางแหง

การที่พื้นดินของที่สูงรอบรับดวยหิน โดยเฉพาะหินแกรนิต และหินตะกอน ที่ทึบ แข็ง ไมคอยมีรูพรุนและรอยแตกทํ าใหนํ้ าที่ซึมลงไปที่ชั้นดิน ไมหายไปตามความลึกของโลก นํ้ าถูกบังคับใหไหลไปตามชั้นดินเปนนํ้ าผิวดิน และนํ้ าตามชั้นดินตามรอยตอดินและนํ้ า และไหลลงสูลํ าธารเปนสาเหตุหนึ่งที่ทํ าใหนํ้ าในลํ าธารที่สูงมีปริมาณมาก สํ าหรับพื้นที่ที่รองรับดวยชั้นหินที่เปนหินปูนที่มีไมมากนัก ตัวอยางเชน บริเวณดอยเชียงดาว และดอยอางขาง มีนํ้ าไหลในลํ าธารนอย และเปนชวง ๆ ทั้งนี้เนื่องจากหินปูนมักมีรูพรุนขนาดใหญทํ าใหนํ้ าที่ซึมลงสูชั้นดินหายไหลลงสูความลึกของโลก พื้นที่ดังกลาวมักขาดแคลนนํ้ าในฤดูแลง

3.4 ลักษณะปฐพีวิทยาเกษม และคณะ (2524) ศึกษาดินปาดิบเขา ดอยปุย เชียงใหม พบวาดินที่สูงจัดอยูใน Doi

Pui Series เปนดินพวก Reddish Brown Latteritic Soils หรือ Palehumulte (เอิบ, 2526) ดินเปนกรดปานกลางมีเปอรเซนตของอินทรียวัตถุสูง มีฟอสฟอรัสและโทแทสเซียมที่นํ าไปใชประโยชนไดต่ํ า การเกาะยึดเม็ดดินคอนขางตํ่ า เนื้อดินเปนดินรวนปนทราย โครงสรางของดินสวนใหญเปนแบบกลองถึงเหลี่ยม ขนาดของเม็ดดินปานกลาง ซึ่งเปนดินที่งายตอการพังทลายโดยมีคาดัชนีความยากงายในการถูกชะลางพังทลายของดิน (Kfactor) ในสมการสูญเสียดินสากลที่ประเมินจากพลังงานฝนผนวกกับนํ้ าไหลบาหนาดินเทากับ 0.19 (วีระชาติ, 2524)

การที่ดินมีธาตุอาหารนอย ทั้งที่เปนดินในพื้นที่ปาไม เพราะวาธาตุอาหารถูกตนไมตรึงดูดไปใชและเก็บไวในเรือนยอด กิ่ง กาน และลํ าตน Preechapanya (1996) อยางไรก็ตามการที่ตนไมทิ้งใบสมํ่ าเสมอทํ าใหโอกาสที่ธาตุอาหารสูญเสียไปการชะลางนอยมาก และเปนประโยชนตอการปลูกพืชที่ชอบข้ึนในรมเงา กลาวคือมีธาตุอาหารหนาดินในปริมาณที่เพียงพอ และระยะเวลาที่พอเหมาะ ซึ่งจะกลาวรายละเอียดในบทที่เกี่ยวกับการปลูกชาในพื้นที่ปาไมในภายหลัง

เกษม และคณะ(2524) พบวาการอุมนํ้ าของดินสูงสุดโดยเฉลี่ยในปาดิบเขามากกวาสองเทาของความชื้นในสนาม แสดงใหเห็นวาดินในปาดิบเขามีความพรุนมาก และมีอินทรียวัตถุคอน

Page 13: ระบบนิเวศลุ มน้ําที่สูงในภาคเหน ือประเทศไทยapp.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/P044101.pdf · 1. บทนํา

ขางสูง สวนความชื้นที่จุดเหี่ยวเฉานั้นคิดเปนเกือบครึ่งหนึ่งของปริมาณความชื้นในสนาม ทํ าใหดินสามารถเก็บกักนํ้ าไวในพื้นไดประโยชนคอนขางสูง อยางไรก็ตามดินที่เปนดินรวน ทํ าใหถูกชะลางไดงาย และการที่ดินอุมนํ้ าไดมาก และนํ้ าไมสามารถซึมลงในชั้นหินไดสะดวก ประกอบกับเปนพื้นที่ลาดชัน และฝนตกหนัก ดังโอกาสที่เกิดการพังของดิน (land slide) ไดงาย

3.5 ลักษณะอุทกวิทยา 12ลักษณะการไหลของนํ้ าในลํ าธาร จากการศึกษาของ เพิ่มศักดิ์ (2520) จากพื้นที่ลุมนํ้ า

ขนาดเล็กที่หวยคอกมา บริเวณปาดิบเขา ดอยปุย เทือกเขาสุเทพ เชียงใหม โดยใชเขื่อนวัดนํ้ าแบบ1200-v-Notch พบวามีปริมาณในลํ าธารประมาณ 1,400,000 ลูกบากศเมตร ตอ ตารางกิโลเมตรโดยเปนนํ้ าในฤดูแลงประมาณ 400,000 ลูกบากศเมตร หรือประมาณ 30 เปอรเซนต โดยมีนํ้ าไหลบาหนาดินจากการศึกษาของนิวัติ (2524) พรชัย (2527) ดวยแปลงตรวจวัดตะกอนขนาด 4x20เมตร ในบริเวณใกลกัน ประมาณ 10-18 มิลลิเมตร ตอป และ พรชัย ยังรายงานวา ปริมาณตะกอนดินที่ถูกชะลางดวยนํ้ าไหลบาหนาดินประมาณ 20 กิโลกรัม ตอ เฮกแตร ตอป และคาดัชนีพืชคลุมดินที่เกิดจากประเมินพลังงานจลนของฝน (R,Rainfall factor) พลังงานจลนของฝน (R, Rainfallfactor) พลังงานจลนของนํ้ าพืชหยด (Th, Throughfall factor) พลังงานจลนของฝนและนํ้ าไหลบาหนาดินในสมการการสูญเสียดินสากล (Universal Soil Loss Equation) ประมาณ 0.0001290.000330 0.000124 ตามลํ าดับ สวนตะกอนในลํ าธาร เพิ่มศักดิ์ พบวามีประมาณ 350 กิโลกรัมตอป ซึ่งสวนใหญเปนการพังทลายของดินบริเวณสองฝงลํ าธาร

คุณภาพของนํ้ าในลํ าธาร สิทธิชัย (2525) พบวามีปริมาณโลหะหนักในดินจากลํ าธารในปาดิบเขาที่เดียวกัน พบแคดเมี่ยม ตะกั่ว และ ปรอท คอนขางสูงประมาณ 2.46 6.63 มิลลิกรัม ตอกิโลกรัม และ 35.48 ไมโครกรัม ตอ กิโลกรัม ตามลํ าดับ สวนในนํ้ าพบเพียง 4.26 13.55 และ 0.06ไมโครกรัมตอลิตร ตามลํ าดับ ซึ่งตํ่ ากวามาตรฐานของนํ้ าและตะกอนในลํ าธาร สวนปริมาณวัตถุเปนพิษพบปริมาณคอนขางตํ่ า โดยพบในดินตะกอน 10 ชนิด และนํ้ า 4 ชนิด สวนคุณภาพนํ้ าทางชีววิทยา ปริญญา (2525) พบปริมาณแบคทีเรียที่บริเวณเดียวกันที่นับไดภายใน 48 ชั่วโมง หลังเก็บตัวอยางนํ้ า ประมาณ 390 เซลตอมิลลิลิตร โคลิฟอรม ทั้งหมด ฟคอลโคลิฟอรม และฟคอลสเตรปโตคอคไค ประมาณ 2,000 180 และ 460 MPN/100ml. โดยพบมากในฤดูฝน เกิดจากการชะลางเอามูลสัตวลงสูลํ าธาร

คุณภาพทางกายภาพ อนันต (2525) ศึกษาที่ปาดิบเขาแหงเดียวกัน พบวา นํ้ าในลํ าธารมีคาอุณหภูมิ การนํ าไฟฟา ความกระดาง และความเปนกรดเปนดางตํ่ า แตความขุน และสีมีคาใน

Page 14: ระบบนิเวศลุ มน้ําที่สูงในภาคเหน ือประเทศไทยapp.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/P044101.pdf · 1. บทนํา

ระดับปานกลาง โดยกลาวสรุปวา นํ้ าจากปาดิบเขามีความใส สะอาด คอนขางดีมาก สามารถนํ ามาใชเพื่อการบริโภคได

3.6 ลักษณะพืชพรรณ(1) ปาดิบเขาขึ้นในระดับความสูง 900 เมตร จากนํ้ าทะเลขึ้นไป โดยสมศักดิ์ (2535)

กลาววา ปาชนิดนี้ไดรับอิทธิพลจากพรรณไมในเขตเทือกเขาหิมาลัย และจีนใต Williams (1965)ใหความเห็นวาปาดิบเขาขึ้นอยูที่ระดับความสูง 1,000-2,400 เมตรจากนํ้ าทะเล พบกระจัดกระจายทั่ว 13ไปในจังหวัดภาคเหนือสวนภาคกลางและภาคตะวันออกเฉียงเหนือพบที่ จังหวัดกาญจนบุรี และนครราชสีมา (เทียม,2515) ประกอบไปดวยพันธุไมประมาณ 180 ชนิด (ชุมพล,2521) ซึ่งเปนไมใหญ เชน กอแปน กอเดือย สารภีปา กอแดง และ เหมือดคนตัวเมีย ข้ึนอยูบนสันเขา ต่ํ าลงมาเปนพวกไม กอเดือย ทะโล กํ ายาน ไก และ กอหมน มีการปกคลุมเรือนยอดประมาณ 85 เปอรเซนตความหนาแนนของไมใหญประมาณ 132 ตน/ไร ลูกไมมีความหนาแนนประมาณ 160 ตน/100 ตารางเมตร ชั้นเรือนยอดจํ านวน 4 ชั้น (สุรีย และ พิศาล, 2513; นิพนธ, 2516) สวนใหญเปนลูกไมกอเดือย ไมพื้นลางประกอบ พวกเฟรน กลวยไมดิน มอส กุหลาบปา (เทียม, 2515) ผักกูดตาง ๆและไมไผบางชนิด (จํ าลอง และธวัชชัย, 2516) บริเวณใกลลํ าหวยประกอบดวยพันธุไมชอบนํ้ าเชน ตองสาด ชะพลู กลวยแดง บอน ข้ึนอยูหนาแนน (สนิท และ สามัคคี, 2520) มวลชีวภาพเหนือดินทั้งหมดของพันธุไมที่ข้ึนในปาดิบเขามีคาเฉลี่ยประมาณ 173 ตัน/เฮกแตร (อรุณ, 2525)

(2) ปาสนเขา เปนปากลุมเล็ก ๆ ที่ข้ึนอยูบนที่สูง สวนใหญพบบริเวณสันเขา ไมสวนใหญไดแกสองสองใบ โดยมีสนสามใบขึ้นปะปนไมมากนักประมาณ 10 เปอรเซนต มีความสูงประมาณ30 เมตร สภาพปาคอนขางแหงแลง ลักษณะปาโปรง ชั้นเรือนยอดประมาณ 2 ชั้น พันธุไมชั้นบนคือ สนสองใบ และ สนสามใบ ไมพื้นลางสวนใหญเปนพืชตระกูลหญา (สมคิด, 2524)

(3) ปากึ่งอัลไพล เปนปากลุมเล็กที่มีอยูที่ยอดเขาและสันเขาบริเวณดอยเชียงดาว โดยธวัชชัย และคณะ (2528) อธิบายวาเปนสังคมพืชที่ไมมีไมใหญ ประกอบไปดวยพืชลมลุก และไมพุมขนาดเล็ก เปนพรรณไมในเขตอบอุน และบางชนิดเปนพรรณไมในสังคมอัลไพน เปนสังคมพืชที่อยูแนวเขตปาไม (timber line) ซึ่ง Smittinand (1996) กลาววาประกอบไปดวยพืชลมลุก เชนสกุล Geranium, Primula, Saxifraga และไมพุมเตี้ย เชน สกุล Rhododendron, Rosa,Zanthoxylum เปนสวนใหญ มีตนไมข้ึนหางกระจัดกระจาย เชน คอดอย ชมพูพานพญามะขามปอม กวม นางพญาเสือโครง กุหลาบปา กุหลาบดอย และชมพูเชียงดาว

Page 15: ระบบนิเวศลุ มน้ําที่สูงในภาคเหน ือประเทศไทยapp.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/P044101.pdf · 1. บทนํา

(3) ทุงหญา เปนพืชที่รกรางวางเปลาที่เกิดขึ้นจากการทํ าไรเลื่อนลอย ที่ดินขาดความอุดมสมบูรณ พืชที่ข้ึนประกอบไปดวยหญาคา หญาไมกวาด หญายูง สาบเสือ สาบควาย เฟรนนางแยม ตะไครตน และพืชลมลุกอื่น เมื่อถึงฤดูแลงพื้นที่เหลานี้ติดไปไดงาย เปนปญหาที่นับวันจะรุนแรงขึ้น พื้นที่เหลานี้เปนพื้นที่ใหญที่เกิดขึ้นบนที่สูงในลุมนํ้ าแมแจม แมแตง นาน กก ลาว และลุมนํ้ าสาขาลุมนํ้ าสาละวิน

3.7 สัตวปา

14ที่สูงในภาคเหนือของประเทศไทยจัดวาเคยเปนแหลงที่มีสัตวานาพรรณ ทั้งนกที่เปนสัตว

ประจํ าถิ่นและนกอพยพ โดย รุงโรจน (2536) พบนกยายถิ่นที่ดอยอินทนนทที่นาสนใจในฤดูหนาวไดแก นกปากซอมดง นกเดินดง นกจับแมลง นกเขนทองแดง นกพิราบปาอกลาย นกจาบปกออนสีแดง และนกประจํ าถิ่น เชน นกกินปลีหางยาว นกกระทาดงคอสีแสด นกปกแพรสีมวง นกศิวะหางสีนํ้ าตาล และนกอัญชันหางดํ า นอกจากนั้นยังมีสัตวเลี้ยงลูกดวยนํ้ านม เชน ชาง ลิง ชะนี หมีอีเห็น หมูปา หรือ หนู ปลาชนิดตาง ๆ สัตวเลื้อยคลาย สัตวสะเทินนํ้ าสะเทินบก หรือ แมแตแมลงตาง ๆ แตอนื่องจากปาสูงในภูมิภาคนี้ถูกบุกรุกทํ าลาย และมีชุมชนอยูมากจนทํ าใหสัตวตาง ๆ ถูกทํ าลายสูญหายไปเปนจํ านวนมาก ในปจจุบันพบวาในบริเวณปาแหงนี้ โดยเฉพาะปาดิบเขาดอยอินทนนทมีสัตวหลายชนิด หายาก และใกลจะสูญพันธุ ตัวอยางเชน สัตวสะเทินนํ้ าสะเทินบก และเลื้อยคลาน จารุจินต (2532) พบวามีกระทาง อ่ึงกรายพมา กบดอยชาง เตาปูลู และเตาเดือยในขณะที่บางชนิดพบเฉพาะที่ปาดิบเขาแหงเดียวกันเทานั้น เชน เขียดหนังปุมภูเขา และงูลายสาบทองสามขีด

3.8 ลักษณะสังคมประชากรประชาชนที่อาศัยบนที่สูง มีทั้งที่เปนชาวไทยที่อพยพไปจากพื้นราบเนื่องจากการตองการ

ที่ดินทํ ากิน และชาวเขาที่อพยพหนีภัยทางการเมือง รวมแลวประมาณ 700,000 คน (TribalResearch Institute, 1995) คนไทยที่อพยพไปอยูบนเขาสวนใหญปลูกชาเพื่อผลิตเมี่ยงมีประมาณ200,000 คน สวนชาวเขาคาดวามีประมาณ 500,000 คน ประกอบดวยกลุมใหญ ๆ 4 กลุม ตามตระกูลภาษา คือ

ตระกูล จีน-ธิเบต ประกอบดวย กระเหรี่ยง มง เยา ลีซอ มูเซอ และ อีกอ(สุนทรี,2529)

ตระกูลออสโตรเนเซียน ประกอบดวย ล้ัวะ วา ละวา ถิ่น และ ขมุ (สุนทรี, 2529)

Page 16: ระบบนิเวศลุ มน้ําที่สูงในภาคเหน ือประเทศไทยapp.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/P044101.pdf · 1. บทนํา

ตระกูล ไทย คือ ไทยใหญ และ ไทยยองตระกูล จีนฮอ

โดยกลุมแรก ที่สาม และ ที่ส่ี อพยพมาจากประเทศขางเคียงทางทิศเหนือของประเทศไทยดวยเหตุผลทางการเมืองที่ขัดแยงกับเจาของประเทศ สํ าหรับกลุมที่สอง Kunstradter (1988)ศึกษาพบวา เปนชนพื้นเมืองเดิมในเขตลุมนํ้ าโขง และเจาพระยา กอนนั้นคนไทยเขาครอบครองดินแดนสวนนี้ บรรพบุรุษของคนเหลานี้เคยอยูในที่ราบมากอน จึงอพยพหนีข้ึนไปอยูบนที่สูงเมื่อสูญเสียอํ านาจทางการเมือง

15ชาวเขาในกลุมแรก ยกเวน กระเหรี่ยง สวนใหญเคยปลูกฝนเปนอาชีพ และทํ าไรเลื่อนลอย

อ่ืนเพื่อผลิตอาหารทํ าใหพื้นที่แหลงตนนํ้ าลํ าธารถูกทํ าลายเปนจํ านวนมาก สวนกระเหรี่ยง และชาวเขาในกลุมที่สองนั้นประกอบอาชีพโดยการทํ าไรหมุนเวียน และการทํ านาตามขั้นบันได สวนจีนฮอนั้นประกอบอาชีพคาขายในหมูบาน หรือ ทํ าสวนแบบชาวจีนทั่วไปในอดีตจีนฮอเปนพอคาฝนดวย สํ าหรับ ไทยใหญ และ ไทยยองนั้นประกอบอาชีพโดยการทํ าไรหมุนเวียน และการทํ าสวนแบบสวนหลังบาน

3.9 แนวพระราชดํ าริพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงเปนผูบุกเบิกในการแกปญหาบนที่สูง โดยทรงใหดํ าเนิน

การภายใตโครงการพัฒนาชาวเขาตั้งแตป พ.ศ. 2512 สงเสริมใหชาวเขาปลูกพืชเศรษฐกิจทดแทนการทํ าไรเลื่อนลอยและทดแทนการปลูกฝน จัดใหมีการดํ าเนินงานปลูกปาเพื่อรักษาตนนํ้ าลํ าธารสวนหนึ่งพระราชดํ าริที่คัดมาจากหนังสือเร่ือง “พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช กับงานพัฒนา (สํ านักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดํ าริ,2513) กลาววา

“...........เร่ืองที่ชวยชาวเขาและโครงการชาวเขานั้น มีประโยชนโดยตรงกับชาวเขา เพื่อสงเสริมและสนับสนุนใหชาวเขามีความเปนอยูดีข้ึน สามารถที่จะเพาะปลูกสิ่งที่จะเปนประโยชน และเปนรายไดกับเขาเองที่มีโครงการเชนนี้จุดประสงคอยางหนึ่งก็คือ มนุษยธรรม อยากที่จะใหผูที่อยูในที่ทุรกันดารสามารถที่จะมีความรูและพยุงตัวมีความเจริญได อีกอยางหนึ่งก็เปนเรื่องชวยในทางที่ทุกคนเห็นวาควรจะชวย เพราะเปนปญหาใหญก็คือปญหาเรื่องยาเสพติด ถาเราสามารถที่จะชวยชาวเขาใหปลูกพืชที่เปนประโยชนมาก เขาจะเลิกปลูกฝนทํ าใหนโยบายการระงับการปราบการสูบฝนและการคาฝนไดผลดี อันนี้ก็เปนผลอยางยิ่ง ผลอีกอยางหนึ่งที่สํ าคัญมากก็คือ ชาวเขาตามที่รู เปนผูที่ทํ าการเพาะปลูกที่อาจทํ าใหบานเมืองเราไปสูหายนะไดโดยถางปาและเพาะปลูก

Page 17: ระบบนิเวศลุ มน้ําที่สูงในภาคเหน ือประเทศไทยapp.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/P044101.pdf · 1. บทนํา

โดยวิธีที่ไมถูกตอง ถาพวกเราทุกคนไปชวยเขาก็เทากับชวยบานเมืองใหมีความอยูดีกินดี และปลอดภัยไดอีกทั้งประเทศเพราะวาเราสามารถทํ าโครงการนี้ไดสํ าเร็จ ใหเขาอยูเปนหลักแหลงสามารถอยูดีกินดีพอสมควร และสนับสนุนนโยบายที่รักษาปาไม รักษาดินใหเปนประโยชนตอไปประโยชนอันนี้จะยั่งยืนมาก................”

จากแนวพระราชดํ าริแสดงใหเห็นวาพระองคทานทรงมีสายพระเนตรถึงความจํ าเปนที่ตองพัฒนาชุมชนบนที่สูงควบคูไปกับการพัฒนาระบบนิเวศ โดยที่ไมทรงละเลยสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ปาไมควรมีประโยชนในลักษณะอเนกประสงค โดยทรงกลาววาลักษณะทั่วไปของปาไมอีก 3 อยาง และ ให 16ประโยชน 4 อยาง ตามพระราชดํ ารัส (สํ านักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดํ าริ, 2540) วา

“..............ปาไมที่จะปลูกนั้น สมควรที่จะปลูกแบบปาใชไมหนึ่ง ปาสํ าหรับใหผลหนึ่ง ปาสํ าหรับใชเปนฟนอยางหนึ่ง อันนี้แยกออกไปเปนกวาง ๆ ใหญ ๆ การที่จะปลูกตนไมสํ าหรับไดประโยชนดังนี้ ในคํ าวิเคราะหของกรมปาไมรูสึกวาไมใชปาไม เปนสวน หรือจะเปนสวนมากกวาปาไม แตในความหมายของการชวยเหลือเพื่อตนนํ้ าลํ าธารนั้น ปาไมเชนนี้จะเปนสวนผลไมก็ตามหรือเปนสวนไมฟนก็ตาม นั่นแหละเปนปาไมที่ถูกตองเพราะทํ าหนาที่เปนปา คือ เปนตนไม และทํ าหนาที่เปนทรัพยากรในดานสํ าหรับใหผลที่มาเปนประโยชนแกประชาชนได.........”

โดยทรงมีพระราชดํ ารัสเพิ่มเติมวา“..............การปลูกปาถาจะใหราษฎรมีประโยชนใหเขาอยูไดใหใชวิธีปลูกไม 3 อยาง แต

มีประโยชน 4 อยาง คือ ไมใชสอย ไมกินได ไมเศรษฐกิจ โดยปลูกรองรับการชลประทาน ปลูกรับซับนํ้ า และปลูกอุดชวงไหลตามรองหวย โดยรับนํ้ าฝนอยางเดียว ประโยชนที่ 4 คือ ไดระบบอนุรักษดินและนํ้ า..............”

พระองคทรงมีพระราชดํ าริถึงวิธีการพัฒนาปาตนนํ้ าลํ าธาร (สํ านักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดํ าริ, 2540) ไว 2 ประการคือ ประการแรกหากมีแหลงนํ้ าใกลเคียงบริเวณนั้นโดยมีพระราชดํ ารัสใหเร่ิมจากการทํ าฝายขนาดเล็ก (checkdam) หรือนิยมเรียกกันทั่วไปวา “ฝายตนนํ้ าลํ าธาร” หรือ “ฝายชะลอความชื้น” เพื่อเพิ่มความชื้นใหกับดิน และทํ าใหงายในการปลูกตนไมบริเวณใกลเคียง ประการที่สอง หากวาไมมีนํ้ าใหสงนํ้ าไปหลอเลี้ยงในพื้นที่กอน แลวจึงดํ าเนินการปลูกปา

3.10 กฏระเบียบ

Page 18: ระบบนิเวศลุ มน้ําที่สูงในภาคเหน ือประเทศไทยapp.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/P044101.pdf · 1. บทนํา

เนื่องจากแหลงตนนํ้ าลํ าธารมีความสํ าคัญดังนั้นจึงมี กฏหมาย พระราชบัญญัติ และมติรัฐมนตรีที่เขาไปเกี่ยวกับการจัดการแหลงตนนํ้ า หรือ ที่สูงทั้งทางตรง และทางออม ดังนี้คือ

(1) มติคณะรัฐมนตรีวาดวยการจัดชั้นคุณภาพลุมนํ้ า โดยคณะรัฐมนตรีมีมติที่เกี่ยวขอกับปาสูงในภาคเหนือตอนบนในสวนที่เกี่ยวกับการจัดชั้นคุณภาพลุมนํ้ า เมื่อป พ.ศ. 2528 และ 2538(เกษม, 2539) โดยเนนการจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดินในเขตลุมนํ้ า

(2) กฏหมายที่เกี่ยวกับอุทยานแหงชาติ และเขตรักษาพันธุสัตวปา กฏหมายทั้งสองฉบับนี้ไมเกี่ยวกับการรักษาเขตตนนํ้ าลํ าธารโดยตรง แตอยางไรก็เปนกฏหมายที่ปองกันการบุกรุกทํ าลายปาไมที่มีประสิทธิภาพ หากเทียบกับกฏหมายอื่น

17(3) กฏหมายที่เกี่ยวกับการใชและอนุรักษปาสงวน(4) มติคณะรัฐมนตรีวาดวยการบริหารพัฒนาชุมชนที่สูง ส่ิงแวดลอม และการควบคุมพืช

เสพติด(5) รัฐธรรมนูญฉบับประชาชน พ.ศ.2540 ที่กํ าหนดใหองคกรของชุมชนสามารถใช และ

อนุรักษความหลากหลายทางชีวภาพ และทรัพยากรธรรมชาติอ่ืนนอกจากนั้นในแตละชุมชนมีกฏระเบียบของตนเองที่เกี่ยวกับการรักษาพื้นที่ปาตนนํ้ า เชน

ปาซับนํ้ าของคนไทย (สุรํ าล, 2530) ของชาวกระเหรี่ยง (อุไรวรรณ, 2530) และปาผีอยูของชาวเขามง4. สาเหตุและผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการทํ าลายปาในภาคเหนือตอนบน

เปนเวลานานกวา 150 ปแลวที่ชนกลุมนอยอพยพเขามาอาศัยในเขตภูเขาทางภาคเหนือของตอนบนของประเทศไทย (Preechapanya, 1996) ทั้งเหตุผลทางการเมือง และเหตุผลทางเศรษฐกิจจากประเทศจีน ลาว และเมียนมาร โดยเขามากในชวงที่เปลี่ยนการปกครองในจีน และลาว ตลอดจนการอพยพหนีภัยสงครามการเมืองในเมียนมาร (Kunstadter, 1992) การอพยพจากประเทศเพื่อนบานเขาสูประเทศไทยทางอนเหนือกระทํ าไดงาย และยากตอการปองกันเพราะวามีแผนดินติดตอกันเปนระยะแนวยาว เปนปาไม และภูเขาสูงชันยากแกการตรวจสอบ เนื่องจากผูอพยพสามารถประกอบอาชีพที่กอใหเกิดรายไดมากกวาการที่อยูในประเทศเดิม จึงเรงใหเกิดการอพยพมากยิ่งขึ้น แมแตคนไทย ทั้งที่ไปแตงงานกับคนที่อพยพไปกอน และการเขาไปเปนแรงงานหรือเขาไปหาที่ดินทํ ากิน (Catillo, 1990: Preechapanya, 1996)

ที่สูงในเขตภูเขารในภาคเหนือตอนบนควรไดรับการสงวนไวเพื่อเปนแหลงตนนํ้ าลธาร แตถูกใชเพื่อทํ าการเพาะปลูก ทํ าใหพื้นปาที่อุดมสมบูรณถูกตัดทํ าลายเปนจํ านวนมาก แตอยางไรก็ตามการใชประโยชนในที่ดินนั้นแตกตางกัน Kunstadter (1978) สรุปไว 4 แบบ คือ

Page 19: ระบบนิเวศลุ มน้ําที่สูงในภาคเหน ือประเทศไทยapp.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/P044101.pdf · 1. บทนํา

(1) ไรเลื่อนลอย เปนรูปแบบการใชประโยชนที่ดินที่ใชที่ดินในระยะเวลาสั้น ประมาณ 1-2ป บนพื้นที่ที่มีความลาดชันมาก โดยขาดมาตรการอนุรักษดินและนํ้ า จนดินเสื่อมตวามอุดมสมบูรณในเวลาอันรวดเร็ว และทิ้งพื้นที่ไปตัดทํ าลายปาไมในที่อ่ืนตอไป วิธีการนี้ทํ าใหเกิดพื้นที่รกรางวางเปลาขึ้นอยางมากมายเปนที่สูง ทั้งนี้เพราะวามีการตัดตนไม และทํ าลายจนไมเหลือตอไวทํ าใหการฟนตัวของปาเปนไปไดยาก มีแตวัชชพืชบางอยางขึ้นไดเทานั้น และงายตอการติดไฟทํ าใหโอกาสในการฟนตัวของปาเปนไปไดยาก โอกาสที่เมล็ดไมตกสัมผัสดินยากมาก และเมื่อเกิดไฟไหมปาก็ทํ าลายกลาไม และเมล็ดไมดังกลาว การใชที่ดินรูปแบบนี้ดํ าเนินการโดยชนเผาที่อดีตปลูกฝน เชน มง เยา มูเซอร ลีซอ และ อีกอ หลังจากที่ฝนกลายเปนพืชเสพติดที่ผิดกฏหมายประกอบกับการมีการพัฒนาถนนที่สะดวกในการขนสงสินคา คนกลุมนี้จึงหันไปปลูกเศรษฐกิจอ่ืน 18แทน โดยเฉพาะกะหลํ่ าปลี โดยรับเขาเทคโนโลยี่มาจากพื้นราบ แตขาดการระมัดระวังในการใชทํ าใหมีการใชสารเคมีปริมาณมาก สงผลกระทบตอระบบนิเวศบนพื้นที่ลุมนํ้ าบนที่สูง หากมีความตองการของตลาดมาก เกษตรกรกลุมนี้จึงขยายพื้นที่ปลูกมากขึ้นทํ าใหพื้นที่ปาถูกทํ าลายเปนเงาตามตัว

(2) ไรหมุนเวียน เปนรูปแบบการทํ าไรที่เกษตรกรใชที่ดินปาไม โดยการตัดทํ าลายและเผาเพื่อใหดินมีธาตุอาหารมากขึ้น และเพาะปลูกในชวงระยะเวลาหนึ่ง ประมาณ 1-2 ป จนดินขาดความอุดมสมบูรณก็ปลอยใหที่ดินกลับคืนไปเปนปาอีกครั้ง เนื่องจากเกษตรกรกลุมนี้ปลอยใหมีตอไมอยูมาก จึงทํ าใหตนไมเจริญเติบโตไดเร็ว และคืนสภาพเปนปาไดเร็ว โดยที่มีแปลงหมุนเวียนประมาณ 3-5 แปลง ทํ าใหพื้นที่ปาไมถูกทํ าลายไมมากนัก การดํ าเนินการทํ าไรแบบนี้สวนใหญดํ าเนินการโดยชุมชน การตัดตนไม และการเพาะปลูกกระทํ ารวมกัน และเมื่อไดผลผลิตแลวก็แบงปนในหมูบาน ชนกลุมที่ปลูกพืชในลักษณะการทํ าไรหมุนเวียนประกอบดวยชนเผาที่ไมปลูกฝนประกอบไปดวย ลัวะ วา ขมุ และ ถิ่น

(3) ปาเมี่ยง เปนระบบวนเกษตรดั้งเดิมที่มีมาชานาน โดยการปลูกตนชาผสมผสานในพื้นที่ปาดิบเขา ตนชาตนหนึ่ง ๆ มีอายุมาก และสามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตไดยาวนาน โดยที่ไมตองการเขตกรรมมากนัก และไมจํ าเปนตองใชระบบชลประทาน โดยทางออมสวนชาเมี่ยงทํ าหนาที่เสมือนปากันชนที่ชวยปองกันปาตนนํ้ าลํ าธาร โดยเฉพาะปาดิบเขา และ ปาสนเขาทั้งในแงของการปองกันไฟปา การปองกันผูอ่ืนบุกรุกปา กลุมชนที่ปลูกชาเมี่ยง คือ คนไทยที่อพยพไปอยูบนที่สูงผสมผสานกลุมชนเผาตระกูลออสโตรเนเซียน

(4) นาชั้นบันได เปนระบบการเกษตรบริเวณที่ราบหุบเขา ซึ่งเปนวัฒนธรรมการเกษตรของชนเผากระเหรี่ยง โดยการทํ าขั้นบันไดดินเพื่อปลูกขาว โดยรักษาพื้นที่แหลงตนนํ้ าลํ าธารเพื่อใชในการเปนแหลงนํ้ าชลประทาน ซึ่ง อุไรวรรณ (2532) กลาววา เปนปาซับนํ้ าที่มีสภาพปาที่อุดท

Page 20: ระบบนิเวศลุ มน้ําที่สูงในภาคเหน ือประเทศไทยapp.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/P044101.pdf · 1. บทนํา

สมบูรณที่ปรากฏใหเห็นกระจายทั่วไปบริเวณเขตถูเขาซึ่งเปนเขตชุมชนของชาวกระเหรี่ยง เปนปาที่ถูกกํ าหนดเขตไวชัดเจน โดยมีขอตกลง กฏเกณฑ และบทลงโทษสํ าหรับการละเมิด ที่นาของในระบบนี้คลายกับนาของชาวไทยพื้นราบ ที่พรชัย และคณะ (2528) ระบุวามิใชเปนแหลงผลิตขาวอยางเดียว แตแหลงผลิตขาวอยางเดียว แตแหลงอาหารหลายชนิด เชน ปลา กบ งู และ สัตวขนาดเล็กอื่น และ พืชนํ้ าขนาดเล็ก เชน สาหราย และ พืชผักพื้นบาน อาจกลาวไดวาที่นาเสมือนแหลงอาหารที่สํ าคัญของชุมชนกระเหรี่ยง นอกจากนั้น พรชัย (2531) พบวา หลังฤดูทํ านา ฟางขาว และตอซัง เปนแหลงอาหารของวัว ควาย ที่เคยเลี้ยงในปาที่ขาดแคลนอาหารในฤดูแลง

5. การจัดการลุมนํ้ าเพื่อความยั่งยืน 19พระราชดํ ารัสพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2540 (สํ านักงานจัดการ

ทรัพยสินสวนพระองคและหนวยงานอื่น, 2541)“ถาสามารถที่จะเปลี่ยนใหกลับเปนเศรษฐกิจแบบพอเพียง ไมตองทั้งหมดแมจะไมถึงครึ่ง

อาจจะเศษหนึ่งสวนสี่ก็สามารถที่จะอยูได การแกไขจะตองใชเวลา ไมใชงาย ๆ โดยมากคนก็มจรอนเพราะเดือดรอน แตวาถาทํ าตั้งแตเดี๋ยวนี้ก็จะสามารถที่จะแกไขได”

แนวพระราชดํ ารัสตอนนี้ แสดงใหเห็นถึงแนวคิดเกี่ยวกับเศรษฐกิจแบบเลี้ยงตนเอง ที่สังคมเศรษฐกิจในประเทศที่มีมาแตในอดีต ดังที่เคยมีคํ ากลาวมาแตในสมัยสุโขทัยวา “ในนํ้ ามีปลาในนามีขาว” ที่ประชาชนดํ ารงชีวิตโดยการอยูรวมกับธรรมชาติ จนเปนสวนหนึ่งของระบบนิเวศมากกวาจะกาวลวงเขาไปเอาชนะธรรมชาติตางจากแนวคิด “การปฏิวัติเขียว” (Greenrevolution) ที่พยายามนํ าเทคโนโลยี่สมัยใหม เชน สารเคมี เครื่องจักร และ คอมพิวเตอรเขามาควบคุมการผลิต การผลิตอาหารเพื่อการพอกินพอใชในครอบครัว ทํ าใหเกษตรกรไมจํ าเปนตองทํ าลายทรัพยากรธรรมชาติเพื่อผลิตสินคา และระบบนิเวศและความหลากหลายทางธรรมชาติถูกทํ าลายนอยลง ในทางตรงขามอาจมีสวนในการรักษา ทํ าใหระบบนิเวศโดยรวมมีความยั่งยืน

ตัวชี้ความยั่งยืนของระบบนิเวศหนึ่ง ๆ คือ การที่การหมุนเวียนของธาตุอาหาร หรือ การนํ าธาตุอาหารกลับมาใชใหมในระบบเปนไปอยางสมดุล การสูญเสียพลังงานในชวงของโซอาหารนอยมาก หรือสมดุลของนํ้ าในระบบลุมนํ้ า โดยที่มีปริมาณนํ้ าไหลอยางสมํ่ าเสมอ และมีการควบคุมการชะลางพังทลายของดิน ลดการเกิดนํ้ าทวม และสอดคลองกับการใชทรัพยากรอื่น ๆ (เกษม,2539) ซึ่ง เกษม อธิบายวา พื้นที่ลุมนํ้ ามีความหมายเชนเดียวกับคํ าวา แองนํ้ า พื้นที่รับนํ้ า หรือหนวยอุทกวิทยา โดยพื้นที่ลุมนํ้ าประกอบไปดวยทรัพยากร 3 กลุม อันไดแก ทรัพยากรที่มีชีวิตทรัพยากรที่ไมมีชีวิต และทรัพยากรสังคม ทรัพยากรเหลานี้เปนสวนประกอบของระบบนิเวศลุมนํ้ าโดยที่รูปแบบ ปริมาณ สัดสวน และการกระจาย แตกตางกัน ถาระบบนิเวศลุมนํ้ าไมสมดุล

Page 21: ระบบนิเวศลุ มน้ําที่สูงในภาคเหน ือประเทศไทยapp.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/P044101.pdf · 1. บทนํา

ทรัพยากรในลุมนํ้ าก็เปลี่ยนแปลงไปดวย เพื่อใหการจัดการลุมนํ้ าใหยั่งยืน เกษม แนะนํ าวาตองมีการวางแผนการใชประโยชนที่ดินอยางมีประสิทธิภาพ อนุรักษทรัพยากรอื่น ตลอดจนควบคุมปญหามลพิษ

การใชประโยชนที่ดินรูปหนึ่งที่อาจกอใหเกิดความยั่งยืนในระบบนิเวศลุมนํ้ า คือ ระบบการใชประโยชนที่ดินแบบ “วนเกษตร (Agroforest)” ทั้งนี้เพราะวาไดประโยชนทั้งในดานการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ และผลตอบแทนทางเศรษฐกิจควบคูกัน โดย พรชัย (1996) กลาววาระบบการใชประโยชนที่ดินดังกลาว กอใหเกิดแนวกันชนที่ยั่งยืนทํ าหนาที่ปองกันการทํ าลายปาตนนํ้ า6. ระบบวนเกษตรที่เหมาะสมกับการจัดการลุมนํ้ าในเขตตนนํ้ าลํ าธาร

20ระบบวนเกษตรเปนระบบการใชประโยชนที่ดิน เพื่อประโยชนการปาไม ผสมผสานกับการ

เกษตรและหรือการเลี้ยงสัตว, การประะมง ในเวลาเดียวกันหรือในเวลาที่ตางกัน เพื่อใหเกิดความสมดุลในระบบนิเวศ, เศรษฐกิจและสังคมของเกษตรกรผูใชที่ดิน (Nair, 1993) อยางไรก็ตาม กลุมนักวิจัยที่ทํ างานให International Centre for Research in Agroforestry (ICRAF, 1998) ไดพยายามปรับความหมายไว ดังนี้

Agroforestry is a dynamic, ecologically based, natural resources managementsystem that, through the integration of trees on farms and in the agricultural landscaps,diversifies and sustains production for increased social, economic and environmentalbenefits for land users at all levels.

การประยุกตระบบวนเกษตรเพื่อใชในการปกปองรักษาปาตนนํ้ าลํ าธารนั้น ตองคํ านึงถึงคุณสมบัติของระบบดังกลาวที่เอื้ออํ านวยตอการจัดการลุมนํ้ าขนาดเล็กบนที่สูงโดย พรชัย (2525)กลาวไว ควรมีสมบัติคือ

(1) ลดการชะลางพังทลายของดิน ทั้งความรุนแรงของนํ้ าฝนที่กระทบเม็ดดิน และนํ้ าไหลบาหนาดินที่พัดพาอนุภาคของดิน ตลอดจนชวยเพิ่มความสามารถในการกักเก็บและปลดปลอยนํ้ าของดิน

(2) ลดความรุนแรงของพลังงานความรอนจากดวงอาทิตย ซึ่งทํ าใหการระเหยของนํ้ าลดลง และเพิ่มความชื้นใหกับดิน

(3) ลดการใชสารเคมี อาทิเชน ปุย หรือ ยาปองกันหรือกํ าจัดศัตรูพืช การที่ใชสารเคมีมากทํ าใหคุณภาพของนํ้ าในลํ าธารดอยลง และทํ าใหดินแนน

(4) กองนํ้ าไหลบาหนาดิน และนํ้ าที่ไหลตามผิวดิน ใหมีตะกอนและสารเคมีนอยลง และชะลอการไหลของนํ้ าหนาดิน และชั้นดิน

Page 22: ระบบนิเวศลุ มน้ําที่สูงในภาคเหน ือประเทศไทยapp.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/P044101.pdf · 1. บทนํา

(5) เหมาะสมกับสังคม และเศรษฐกิจของชุมชนบนที่สูง เปนระบบที่ใหผลผลิตที่ตอบสนองความตองการปจจัย 4 และเปนระบบที่เกษตรกรสามารถนํ ากลับไปปฏิบัติไดงาย

7. สรุปที่สูงในภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย เปนพื้นที่มีความสูงจากระดับนํ้ าทะเลมากกวา

900 เมตร มีประมาณ 17 เปอรเซนต ของพื้นที่ภาคเหนือ และสวนใหญถูกกํ าหนดใหเปนชั้นคุณภาพของลุมนํ้ าชั้นที่ 1 มีฝนตกชุก และยาวนาน คุณสมบัติของดิน และหิน เอื้ออํ านวยใหมีการเก็บและปลดปลอยนํ้ าไดดี โดยมีนํ้ าที่สมํ่ าเสมอตลอดทั้งปในปริมาณที่เพียงพอ และใสสะอาดคอน 21ขางดี ปาดิบเชาเปนสังคมพืชที่เดน ในอดีตมีสัตวปาอยูมาก ปจจุบันถูกทํ าลายสูญหายจนบางชนิดกลายเปนสัตวหายาก โดยชุมชนที่เขาไปอยูบนที่สูงมีทั้งผูที่อพยพมาจากนอกประเทศ และคนไทย ทั้งที่เปนผูทํ าลาย และรักษาปา จนกระทั่งพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงมีพระราชดํ าริใหดํ าเนินชีวิตในลักษณะที่สามารถชวยตัวเองได โดยที่ไมทํ าลายปา และรัฐบาลจํ าเปนตองออกกฏหมาย ระเบียบ เพื่อการบังคับใหชุมชนรูจักใช และอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ แนวทางหนึ่งที่จะสามารถแกปญหาไดคือการจัดการลุมนํ้ าที่คํ านึงความยั่งยืน โดยเฉพาะการใชประโยชนที่ดินแบบ“วนเกษตร”

ขอเสนอแนะ(1) การแกปญหาบนที่สูงควรคํ านึงถึงของการจัดการลุมนํ้ าขนาดเล็กบนที่สูง ที่ชุมชนเปน

ผูวางแผนดํ าเนินการ และตรวจสอบ โดยยึดหลักการที่กอใหเกิดยั่งยืนของระบบลุมนํ้ าเหลานั้น ในแตละลุมนํ้ าขนาดเล็กตางมีลักษณะนิเวศ เศรษฐกิจ สังคม และประชากรที่ตางกันตองการจัดการที่มีลักษณะเฉพาะ ดังนั้นการนํ าความคิดการจัดการลุมนํ้ าสํ าเร็จรูปไปใหชุมชนทองถิ่นปฏิบัติจะไมกอใหเกิดผลดี แตจะนํ าความสับสนมาสูชุมชน และในที่สุดก็จะกอใหเกิดความขัดแยงขึ้น อันจะนํ าไปสูการปฏิเสธความรวมมือจากประชาชน ดังนั้น การสงเสริมใหประชาชนจัดการลุมนํ้ า ควรศึกษาภูมิปญญาของชุมชน และผนวกความรูทางวิทยาศาสตรในองคความรูพื้นบานดังกลาว จากนั้นพยายามใหชุมชนคัดเลือกเทคโนโลยี่ที่เหมาะสมที่จะนํ ากลับไปใช

(2) ควรจัดใหมีสถาบันที่ดํ าเนินการวิจัยเกี่ยวกับการจัดการลุมนํ้ าบนภูเขาในภาคเหนือซึ่งจะทํ าใหการศึกษาที่เกี่ยวกับที่สูงเปนองคกรเดียวกัน และตอเนื่อง หากวาไมสามารถดํ าเนินการไดอาจดํ าเนินการในลักษณะเครือขายการวิจัย ทั้งในและนอกประเทศ

8. เอกสารอางอิง

Page 23: ระบบนิเวศลุ มน้ําที่สูงในภาคเหน ือประเทศไทยapp.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/P044101.pdf · 1. บทนํา

กรมพัฒนาที่ดิน. 2536. การชะลางพังทลายของดินในประเทศไทย. กรมพัฒนาที่ดินเกษม จันทรแกว, นิพนธ ต้ังธรรม, สามัคคี บุณญะวัฒน และวิชา นิยม.2524. การวิจัยเกี่ยวกับการจัดการลุมนํ้ าบนที่สูง ภาควิชาอนุรักษวิทยา คณะวนศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร,กรุงเทพ. 62 หนา

เกษม จันทรแกว.2539. หลักการจัดการลุมนํ้ า. ภาควิชาอนุรักษวิทยา, คณะวนศาสตร,มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 22จารุจิตน นกีตะกัฏ.2532. ความหลากหลายของสัตวสะเทินนํ้ าสะเทินบกและสัตวเลื้อยคลานในประเทศไทย ใน ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม, สาขาชีววิทยาสมาคมวิทยาศาสตรแหงประเทศไทยในบรมราชูปถัมภ และองคการยูเสต ความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทย ประชาชน กรุงเทพ หนาที่ 169-204

จํ าลอง เพ็งคลาย และธวัชชัย สันติสุข 2516 พฤษศาสตรปาไมเบื้องตน แผนกพฤษศาสตรและสัตวศาสตร, กองวิจัยผลิตผลปาไม, กรมปาไม

ชุมพล งามผองใส 2512 ลักษณะพืชพรรณของลุมนํ้ าหวยคอกมา การวิจัยลุมนํ้ าที่หวยคอกมาเลมที่ 1. ภาควิชาอนุรักษวิทยา คณะวนศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. กรุงเทพ

เทียม คมกฤส.2515. ชนิดของปาในประเทศไทย. คณะวนศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร,กรุงเทพ. 15 หนา

ธวัชชัย สันติสุข, เต็ม สมิตินันท และ Warren, Y.B.2528. การอนุรักษพรรณไมเขตอบอุนและสังคมพืชภูเขากึ่งอัลไพนบนดอยเชียงดาว สยามสมาคมแผนกธรรมชาติวิทยา ฉบับพิเศษ: การอนุรักษธรรมชาติในประเทศไทยในแงการพัฒนาสังคมเศรษฐกิจ. สยามสมาคม. 165 หนา

นิพนธ ต้ังธรรม 2516. ระบบนิเวศวิทยาของลุมนํ้ าหวยคอกมา การวิจัยลุมนํ้ าที่หวยคอกมา เลมที่12 ภาควิชาอนุรักษวิทยา คณะวนศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพ.

Page 24: ระบบนิเวศลุ มน้ําที่สูงในภาคเหน ือประเทศไทยapp.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/P044101.pdf · 1. บทนํา

นิพนธ ต้ังธรรม, 2525. กลยุทธในการวินิจฉัยและวิจัยระบบวนเกษตรเพื่อประยุกตในการจัดการลุมนํ้ า (ใน) นิพนธ ต้ังธรรม: ระบบวนเกษตรในประเทศไทย: ทฤษฎี และแนวทางปฏิบัติ. คณะวนศาสตร, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

นิวัติ เรืองพานิช, 2524. ความหนาแนนของเรือนยอดตนไมปาดิบเขาที่มีผลตอการสูญเสียดินและนํ้ า. การวิจัยลุมนํ้ าที่หวยคอกมา เลมที่ 7 ภาควิชาอนุรักษวิทยา คณะวนศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพ.

23ประเดิมขัย แสงคูวงษ.2523. ลักษณะภูมิประเทศของที่สูงทางภาคเหนือของประเทศไทย (ใน)นิพนธ ต้ังธรรม: แนวทางพัฒนาทรัพยากรนํ้ าบนที่สูงทางภาคเหนือของประทศไทย ภาควิชาอนุรักษวิทยา, คณะวนศาสตร, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. หนาที่ 13-37

ปริญญา แนนหนา.2525. ผลของการใชที่ดินตอคุณภาพนํ้ าทางบักเตรีวิทยาในบริเวณโครงการหลวงพัฒนาตนนํ้ า หนวยที่ 1 (ทุงจอ) อํ าเภอแมแตง จังหวัดเชียงใหม กรุงเทพ: วิทยานิพนธปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

พรชัย ปรีชาปญญา, สัญญา ศรลัมพ, ชาติชาย ยศยังเยาว และ สิทธิชัย อ๊ึงภากรณ. 2528. ระบบวนเกษตรที่สูง. โครงการพัฒนาที่สูงไทย-เยอรมัน, เชียงใหม. 153 หนา.

พรชัย ปรีชาปญญา.2527. การสูญเสียดินและนํ้ าจากการประยุกตระบบวนเกษตร: การศึกษาเฉพาะกรณีการทํ าสวนกาแฟในปาดิบเขาที่ดอยปุย เชียงใหม: กรุงเทพ: วิทยานิพนธปริญญาโท,มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

พรชัย ปรีชาปญญา.2531. ระบบวนเกษตร. กองอนุรักษตนนํ้ า, กรมปาไม, กรุงเทพ. 123 หนา.

พรชัย ปรีชาปญญา.2540. ระบบวนเกษตรที่เหมาะสมในการพัฒนาแหลงตนนํ้ าในภาคเหนือตอนบน: กรณีศึกษาในพื้นที่ปาเต็งรังและเบญจพรรณ ศูนยศึกษาการพัฒนาหวยฮองไคร อันเนื่องมาจากพระราชดํ าริ, เชียงใหม. 53 หนา

Page 25: ระบบนิเวศลุ มน้ําที่สูงในภาคเหน ือประเทศไทยapp.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/P044101.pdf · 1. บทนํา

พิชัย วาสนาสง.2539. เอเซียตะวันออกเฉียงเหนือในโลกปจจุบัน. วัฒนาพานิช. กรุงเทพ.

พิทยา เพชรมาก.2540. วนเกษตร กลยุทธเพื่อลดความเสี่ยงตอการปลูกปาเอกชน. สวนปลูกปาภาคเอกชน, สํ านักสงเสริมการปลูกปา, กรมปาไม

เพิ่มศักดิ์ มราภิรมย.2520. ลักษณะอุทกวิทยาของดินที่สัมพันธกับนํ้ าในลํ าธารชวงแลงฝนของปาดิบเขาธรรมชาติภาคเหนือของประเทศไทย. กรุงเทพ: วิทยานิพนธปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

24มณฑี โพธิ์ทัย.2528. การปลูกสรางสวนปา. ชุติมาการพิมพ, กรุงเทพ.

รุงโรจน จุกมงคล.2536. ดูนก. สารคดี. กรุงเทพ.

วิลาศลักษณ วองไว, รังสรรค คีรีทวีป และ ปกาสิต เมืองมูล.2538. ระบบการปลูกพืชเขตใชนํ้ าฝนโดยใชโอกาสที่จะมีฝนและทิ้งชวงในพื้นที่ภาคเหนือตอนบน สํ านักวิจัยและพัฒนาการเกษตร, กรมวิชาการเกษตร.

วีระชาติ เทพพิพิธ.2524. การใชแปลงขนาดเล็กหาดัชนีการพังทลายและประสิทธิภาพการเคลื่อนยายตะกอนของปาดิบเขา ดอยปุย เชียงใหม. กรุงเทพ: วิทยานิพนธปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

สํ านักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดํ าริ.2531. พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช กับงานพัฒนา. กราฟฟคซัพพลายส. กรุงเทพ.

สํ านักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดํ าริ.2540. แนวคิดและทฤษฎีการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดํ าริในพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว. 21 เซนจูร่ี.

สํ านักงานจัดการทรัพยสินสวนพระองค, สํ านักงานจัดการทรัพยสินสวนพระมหากษัตริย, บริษัทมงคลชัยพัฒนา จํ ากัด และ บริษัท บางจากปโตรเลียม จํ ากัด, 2541, คูมือการดํ าเนินชีวิตสํ าหรับประชาชน ป 2541 และ ทฤษฎีใหม บริษัท บางจากปโตรเลียม จํ ากัด, กรุงเทพฯ.

Page 26: ระบบนิเวศลุ มน้ําที่สูงในภาคเหน ือประเทศไทยapp.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/P044101.pdf · 1. บทนํา

สํ านักนายกรัฐมนตรี.2540. ระเบียบนายกรัฐมนตรี วาดวยการบริหารการพัฒนาชุมชนส่ิงแวดลอม และการควบคุมพืชเสพติดบนที่สูง. สํ านักนายกรัฐมนตรี. 20 หนา

สิทธิชัย ตันธนะสฤษดิ์.2525. การวิเคราะห ปรอท แคดเมี่ยม และตะกั่ว ในนํ้ าและดินตะกอนของลํ าธารจากบริเวณการใชที่ดินประเภทตาง ๆ บนที่สูง จังหวัดเชียงใหม กรุงเทพฯ: วิทยานิพนธปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

สุนทรี พรหมเมศ.2529. ชาวเขาในประเทศไทย. วิคตอรี่เพาเวอรพอยท. กรุงเทพ. 25สุรพล เจริญรักษ.2530. ปาซับนํ้ า. (ใน) โกมล แพรกทอง. ปาชุมชนในประเทศไทย. กองจัดการที่ดินปาสงวนแหงชาติ กรมปาไม.หนา 49-57

สุรีย ภูมิภมร และพิศาล วสุวานิช.2513. ลักษณะโครงสรางของปาบริเวณหวยคอกมา. การวิจัยลุมนํ้ าที่หวยคอกมา เลมที่ 4. ภาควิชาอนุรักษวิทยา คณะวนศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.กรุงเทพฯ.

สนิท อักษรแกว และสามัคคี บุญยะวัฒน.2520. ลักษณะโครงสรางของปาดิบเขาตามระดับความสูงตางกัน บริเวณดอยปุย เชียงใหม. การวิจัยลุมนํ้ าที่หวยคอกมา เลมที่ 32. ภาควิชาอนุรักษวิทยาคณะวนศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ.

สอาด บุญเกิด.2529. หลักวนเกษตร. กองทุนจัดพิมพตํ าราปาไม, คณะวนศาสตร, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ.

สมคิด ตาหุมาสวัสด์ิ.2524. ผลกระทบดานนิเวศวิทยาและสิ่งแวดลอมที่อาจเกิดขึ้นจากการใชระบบวนวัฒนแบบตัดหมดกับปาสน (ใน) นิพนธ ต้ังธรรม: ผลกระทบดานนิเวศวิทยาและสิ่งแวดลอมที่อาจเกิดขึ้นจากการใชนะบบวนวัฒนแบบตัดหมดกับปาชนิดตาง ๆ ในประเทศไทย. ภาควิชาอนุรักษวิทย, คณะวนศาสตร, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพ. หนาที่ 8/1-8/33.

สมศักดิ์ สุขวงค.2520. นิเวศวิทยาปาไม. คูมือการปฏิบัติงานภาคฤดูรอน. ภาควิชาชีววิทยาปาไม,คณะวนศาสตร, มหาวิทยาเกษตรศาสตร. กรุงเทพฯ 87 หนา

Page 27: ระบบนิเวศลุ มน้ําที่สูงในภาคเหน ือประเทศไทยapp.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/P044101.pdf · 1. บทนํา

สมศักดิ์ สุขวงศ.2520. นิเวศวิทยาปาไม. คูมือการปฏิบัติงานภาคฤดูรอน. ภาควิชาชีววิทยาปาไม,คณะวนศาสตร, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ

ศุภชัย บางเลี้ยง, วิวาศลักษณ วองไว, ดิเรก คงแพ, ทองดี ไชยแกว, พูนสุข พัวพันธุ, พรทิพย เจริญสิน และกาญจนา ดวงสีใส.3539. สภาพแวดลอมทางการเกษตรของภาคเหนือตอนบน, สํ านักวิจัยและพัฒนาการเกษตร เขตที่ 1, กรมวิชาการเกษตร.

26อนันดศักดิ์ สองพราย.2525. ผลกระทบจากการใชประโยชนที่ดินประเภทตาง ๆ บนภูเขาตอคุณภาพนํ้ าบริเวณดอยปุย และทุงจอ จังหวัดเชียงใหม. กรุงเทพฯ. วิทยา นิพนธปริญญาโท,มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

อภิสิทธิ์ เอี่ยมหนอ.2519. ธรณีวิทยา. ไทยวัฒนาพานิช. กรุงเทพฯ.

Kmstadter, P.1992, Impacts of economic development and population change onThailands forest. In: Furtado. J.L., Morgan, W.B., Pfafilin, J.R.and Ruddle, K. (eds),Tropical resource ecology and development. Harwood Academic Publishers,Pennsylvania, 171-190.

KWRS. 1986. Watershed management research on mountains land in Chiangmai.Department of Forestry, Kasetsart University, Bangkok., Thailand. 90 P.

Nair, P.K.R., 1993. An iniroduction to agrotorestry. Kluwer academic publishers. TheNeetherlands.

Preechapanya. P. 1996. Indigenous ecological knowledge about the sustainability oftea gardens in the hill evergreen forest of northern Thailand. Ph.D. Thesis, School ofAgricultural and Forest Sciences, University of wales, Bangor, UK.

Page 28: ระบบนิเวศลุ มน้ําที่สูงในภาคเหน ือประเทศไทยapp.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/P044101.pdf · 1. บทนํา

Royal Forest Department. 1998. Thailand upland social forestry project, phase I. RoyalForest Department, Ministry of Agriculture and Co-operatives, Thailand.

Satterlund, D.R., 1972. Wildland watershed management. The Ronald Press Comp.,New York, USA.

Smittinand, T., 1995. Overview of the status of biodiversity in tropical and temperateforest. in: Boyle, T.J.B. and Boontawee, B.(eds), Measuing in monitoing biodiversity intropical and temperate forest. Center for international forest reserch, Bogor, indonesia.1-4.

27Tribal Research Institute, 1995. The hill tribes of Thailand. Nantakarn Press, ChiangMai, Thailand.

UNESCO. 1980. Strategies for developing an environmental education curricutum: adiscussion guide for UNESCO Training Worjshops on EE. UNESCO, Paris, France.

Weatherstone, J., 1992. Historical introduction. In; Willson, K.C.and Clifford, M.N.(eds),Tea cultivation to consumptio. Chapman and Hall, London, 1-24.

Williams.L.1965. Vegetation of Southeast Asia: a studies of forest type. Department ofAgriculture, Agricuktural Research Service, Washington D.C. USA.

ประวัติผูเขียน

ผูเขียนสํ าเร็จการศึกษาในระดับปริญญาเอกวนศาสตร สาขาวนเกษตร ที่ School of Agriculturaland forest sciences, University of Wales, Bangor, UK. โดยทํ าวิทยานิพนธ Indigenousecological knowledge about the sustainbility of tea gardens in the hill evergreen forest of

Page 29: ระบบนิเวศลุ มน้ําที่สูงในภาคเหน ือประเทศไทยapp.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/P044101.pdf · 1. บทนํา

northern Thailand เมื่อป พ.ศ.2539 และฝกงานที่ Department of Artificial Intelligence,Edinburgh University, Scotland กอนหนานี้จบการศึกษาในระดับปริญญาโทวนศาสตร สาขาการจัดการลุมนํ้ า ที่คณะวนศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร และในระดับปริญญาตรีเกษตรศาสตร สาขาพืชไร ที่คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม เคยทํ างานวิจัยในสาขาวนเกษตรใหกับศูนยศึกษาการพัฒนาหวยฮองไคร อันเนื่องมาจากพระราชดํ าริ, โครงการพัฒนาที่สูงไทย-เยอรมัน, โครงการวิจัยที่รกรางวางเปลาในประเทศไทย และศูนยวิจัยและพัฒนากาแฟอราบิกาที่สูง ปจจุบันทํ าหนาที่นักวิชาการปาไม 7 สถานีวิจัยลุมนํ้ าดอยเชียงดาว เชียงใหม สถานที่ติดตอ: สถานีวิจัยลุมนํ้ าดอยเชียงดาว 130/1 หมูที่ 4 ตํ าบลดอยแกว อํ าเภอแมริม จังหวัดเชียงใหม โทร.053-890931 053-891342