app.dnp.go.th › opac › multimedia › research › c00674 › c00674-2.pdf...

39
ผลงานที่เปนผลการดําเนินการที่ผานมา ลักษณะของสังคมพืชในพื้นที่สถานีวิจัยพืชสมุนไพรและเครื่องเทศ จังหวัดหนองคาย Plant Community Characteristics in Medical and Spicy Plant Research Station, Nong Khai Province ปราโมท จงกลวานิชสุข PRAMOTE CHONKOLWANITSUK กองคุมครองพันธุสัตวปาและพืชปาตามอนุสัญญา กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช .. 2551

Upload: others

Post on 27-Feb-2020

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: app.dnp.go.th › opac › multimedia › research › C00674 › C00674-2.pdf ลักษณะของส ังคมพืชในพื้นที่ ...(3) สารบ ญภาพ

ผลงานที่เปนผลการดําเนินการที่ผานมา

ลักษณะของสังคมพืชในพื้นที่สถานีวิจัยพืชสมุนไพรและเครื่องเทศ จังหวัดหนองคาย

Plant Community Characteristics in Medical and Spicy Plant Research Station,

Nong Khai Province

ปราโมท จงกลวานิชสุข

PRAMOTE CHONKOLWANITSUK

กองคุมครองพันธุสัตวปาและพืชปาตามอนุสัญญา กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช

พ.ศ. 2551

Page 2: app.dnp.go.th › opac › multimedia › research › C00674 › C00674-2.pdf ลักษณะของส ังคมพืชในพื้นที่ ...(3) สารบ ญภาพ

ลักษณะของสังคมพืชในพื้นที่สถานีวิจัยพืชสมุนไพรและเครื่องเทศ

จังหวัดหนองคาย

ปราโมท จงกลวานิชสุข1

บทคัดยอ

ในการศึกษาลักษณะของสังคมพืชในพื้นที่สถานีวิจัยพืชสมุนไพรและเครื่องเทศ จังหวัด

หนองคาย โดยวางแปลงตัวอยางขนาด 20 x 50 ตารางเมตร ใหกระจายครอบคลุมพื้นที่รวม 76 หมูไม ในแตละหมูไมประกอบดวยแปลงยอยขนาด 10 x 10 ตารางเมตร จํานวน 10 แปลง (0.1 เฮกแตร) เพื่อทําการเก็บขอมูลพรรณไม ทําการจําแนกสังคมพืช โดยอาศัยคาดัชนีความสําคัญ (Importance Value Index, IVI) ของพรรณไม ดวยวิธีการจัดกลุมหมูไม (Agglomerative cluster analysis)

จากการศึกษาพบพรรณไม 48 วงศ 114 สกุล 206 ชนิดพันธุ คาดัชนีความหลากหลายของชนิดพันธุ (Shannon-Wiener Index of species diversity) มีคาระหวาง 1.56 - 4.68 การจัดกลุมหมูไมได 3 สังคม คือ 1.) ปาเบญจพรรณ (Mixed Deciduous Forest) 2.) ปาดิบแลง (Dry Evergreen Forest) และ3.) ปาเต็งรัง (Dry Dipterocarp Forest) ทั้งนี้ ความหนาแนนของพรรณไมในปาเต็งรังมีคามากทีสุ่ด คือ 702 ตนตอเฮกแตร และมีพรรณไมที่มีเสนผานศูนยกลางขนาดกลางถึงใหญจํานวนมากกวาอีกสองสังคม ทําใหพื้นที่หนาตัดของพรรณไมในปาเต็งรังมีคามากที่สุด เทากับ 25.68 ตารางเมตรตอเฮกแตร สวนในปาดิบแลงแมมีความหนาแนนเทากับ 494 ตนตอเฮกแตร ซ่ึงนอยกวาปาเบญจพรรณ คือ 538 ตนตอเฮกแตร แตมีพื้นที่หนาตัดมากกวา คือ 15.28 ตารางเมตรตอเฮกแตร โดยปาเบญจพรรณมีพื้นที่หนาตัดเทากับ 8.34 ตารางเมตรตอเฮกแตร หมายความวา พรรณไมในปาเบญจพรรณมีเสนผานศูนยกลางขนาดกลางถึงใหญจํานวนนอยที่สุด คําสําคัญ: สังคมพืช, ปาดิบแลง, ปาเบญจพรรณ, ปาเต็งรัง, หนองคาย

1 กองคุมครองพันธุสัตวปาและพืชปาตามอนุสัญญา กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช

Page 3: app.dnp.go.th › opac › multimedia › research › C00674 › C00674-2.pdf ลักษณะของส ังคมพืชในพื้นที่ ...(3) สารบ ญภาพ

Plant Community Characteristics in Medical and Spicy Plant Research Station,

Nong Khai Province

Pramote Chonkolwanitsuk1

Abstract

Plant Community Characteristics in Medical and Spicy Plant Research Station, Nong Khai

Province was carried out by surveying and collecting data from selected area of plant distribution totalling 76 stands (20 x 50 m2/stand) of which further divided into 10 small plots of 10 x 10 m2, were recorded and collected plant data. The stand group was classified based on Importance Value Index (IVI) by Agglomerative cluster analysis.

The results is presented 206 species 114 genera (48 families). Shannon-Wiener Index of species diversity were 1.56-4.68. In study area could be divided into three plant communities: Mixed Deciduous Forest, Dry Evergreen Forest and Dry Dipterocarp Forest. The density of tree over 4.5 cm. in DBH is highest in Dry Dipterocarp Forest, being 702 trees/ha, Mixed Deciduous Forest: 538 trees/ha and Dry Evergreen Forest: 494 trees/ha. In Dry Evergreen Forest and Mixed Deciduous Forest, the frequency of small trees is highest and decreased to larger size. In Dry Dipterocarp Forest, the maximum density of large and medium tree size. Therefore, the total basal area of Dry Dipterocarp Forest (25.68 m2/ha) is comparatively more than the total basal area of Dry Evergreen Forest (15.28 m2/ha) and Mixed Deciduous Forest (8.34 m2/ha).

Keywords: Plant Community, Dry Evergreen Forest, Mixed Deciduous Forest,

Dry Dipterocarp Forest, Nong Khai

1 Division of Wild Fauna and Flora Protection,

National Park, Wildlife and Plant Conservation Department

Page 4: app.dnp.go.th › opac › multimedia › research › C00674 › C00674-2.pdf ลักษณะของส ังคมพืชในพื้นที่ ...(3) สารบ ญภาพ

(1)

สารบัญ หนา สารบัญ (1) สารบัญตาราง (2) สารบัญภาพ (3) คํานํา 1 วัตถุประสงค 2 อุปกรณและวธีิการ 3 ผลและวิจารณ 13 สรุปและขอเสนอแนะ 21 คํานิยม 23 เอกสารอางอิง 24 ภาคผนวก 26

Page 5: app.dnp.go.th › opac › multimedia › research › C00674 › C00674-2.pdf ลักษณะของส ังคมพืชในพื้นที่ ...(3) สารบ ญภาพ

(2)

สารบัญตาราง

ตารางที่ หนา 1 คาสูงสุด ต่ําสุด และคาเฉลี่ยรายเดือน ของสถานีวิจัยพืชสมุนไพรและ

เครื่องเทศ จังหวัดหนองคาย 10 2 คาสูงสุด ต่ําสุด และคาเฉลี่ยรายป ของสถานีวิจยัพืชสมนุไพรและเครื่องเทศ

จังหวดัหนองคาย 10 3 คาดัชนีความหลากหลายของชนิดพันธุ (Shannon-Wiener Index of Diversity)

ของแตละสังคมพืช ในพืน้ทีส่ถานีวิจัยพืชสมุนไพรและเครื่องเทศ จังหวัดหนองคาย 21

ตารางผนวกที่ 1 พรรณไมในสังคมพืช ในพืน้ที่สถานีวิจยัพืชสมุนไพรและเครื่องเทศ

จังหวดัหนองคาย 27

Page 6: app.dnp.go.th › opac › multimedia › research › C00674 › C00674-2.pdf ลักษณะของส ังคมพืชในพื้นที่ ...(3) สารบ ญภาพ

(3)

สารบัญภาพ

ภาพที ่ หนา 1 แผนที่พื้นที่ศกึษา สถานีวิจยัพืชสมุนไพรและเครื่องเทศ จังหวดัหนองคาย 8 2 จํานวนชนิดพนัธุไมของสังคมพืชตางๆ ที่กระจายบริเวณพื้นที่สถานวีิจัยพืช

สมุนไพรและเครื่องเทศ จังหวัดหนองคาย 13 3 การจัดกลุมหมูไมในพืน้ที่สถานีวิจยัพืชสมุนไพรและเครื่องเทศ จังหวัด

หนองคาย โดยวิธี Agglomerative cluster analysis (ใชคาแสดงถึงความคลายคลึงกันของหนวยตัวอยางแบบ Bray and Curtis (1957) และวิธีเชื่อมหนวยตัวอยางแบบ Ward’s Method) 15

Page 7: app.dnp.go.th › opac › multimedia › research › C00674 › C00674-2.pdf ลักษณะของส ังคมพืชในพื้นที่ ...(3) สารบ ญภาพ

1

คํานํา

การศึกษาสังคมพืชโดยอาศัยลักษณะเชิงปริมาณ (quantitative characteristics) เปนการนําลักษณะ

ทางปริมาณในรูปของตัวเลขไปบรรยายลักษณะของสังคมพืช ขอมูลสําคัญในเชิงปริมาณสามประการ คือ คาความหนาแนน (density) คาความเดน (dominance) ในรูปแบบตางๆ ตามความเหมาะสม และคาความถี่หรือความบอยคร้ังของโอกาสที่จะพบ (frequency) ของไมแตละชนิด สามารถนําไปสูการบรรยายและวิเคราะหสังคมพืชในดานตางๆ โดยสามารถนําคาทั้งสามนี้ไปประเมินการแสดงออกและเปรียบเทียบการมีสวนสําคัญของชนิดไมนั้นตอสังคมไดโดยเปลี่ยนเปนคาดัชนีความสําคัญ (Importance Value Index ; IVI) (อุทิศ,2542) ซ่ึงการนําคาดัชนีความสําคัญอยางนอยสองประการ แปลงลักษณะเชิงปริมาณเปนคาสัมพัทธ (relative) สามารถแสดงใหเห็นถึงความสําคัญทางนิเวศวิทยา (ecological importance) ของพันธุไมแตละชนิดในสังคม (Curtis,1959) หรือแสดงถึงความสําเร็จทางนิเวศวิทยาของพรรณไมในการครอบครองพื้นที่นั้นๆ ทําใหการเปรียบเทียบความสําคัญของพันธุไมในสังคมไดงายและเดนชัดยิ่งขึ้น โดยพันธุไมชนิดใดที่มีคาดัชนีความสําคัญสูง แสดงวาเปนพันธุไมเดนและสําคัญในพื้นที่ (สมศักดิ์,2520)

พื้นที่ของสถานีวิจัยพืชสมุนไพรและเครื่องเทศ จังหวัดหนองคาย เคยมีการสัมปทานทําไมมาแลวในระหวางป พ.ศ. 2516 – 2523 และมีปญหาไฟปาเกิดขึ้นเปนประจํา ทําใหสังคมพืชในพื้นที่สวนใหญอยูในระหวางกระบวนการทดแทนทางธรรมชาติ การศึกษาลักษณะของสังคมพืชซ่ึงเปนขอมูลพื้นฐานดานวิทยาศาสตรจึงมีความสําคัญอยางยิ่งสําหรับการจัดการทรัพยากรปาไมในพื้นที่ ตามที่ Cain et al. (1956) แสดงใหเห็นวา การศึกษาสังคมพืชในเชิงปริมาณสามารถใชบรรยายลักษณะเชิงปริมาณของพันธุไมในเขตรอนไดดีเทาๆกับในเขตอบอุน และ Greig-Smith (1964) ระบุวาเปนวิธีที่ดีที่สุดวิธีหนึ่งในการเปรียบเทียบระหวางชนิดพันธุพืช เนื่องจากขอมูลลักษณะของสังคมพืชที่ไดคอนขางละเอียดสามารถใชจําแนก ประเมินและเปรียบเทียบไดงาย ถูกตองและชัดเจนมากกวาวิธีการดานกายภาพอื่นๆ ทําใหสามารถบริหารจัดการพื้นที่ไดอยางเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ ตอไป

Page 8: app.dnp.go.th › opac › multimedia › research › C00674 › C00674-2.pdf ลักษณะของส ังคมพืชในพื้นที่ ...(3) สารบ ญภาพ

2

วัตถุประสงคของการวิจัย

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อที่จะทราบ

1. ขอมูลองคประกอบของพรรณพืช ในพื้นที่สถานีวิจัยพชืสมุนไพรและเครื่องเทศ จังหวัด

หนองคาย 2. ลักษณะของสังคมพืชในพืน้ที่ที่ศึกษา 3. ดัชนีความหลากหลายของชนิดพันธุพืชแตละสังคมพืชในพื้นที่ที่ศึกษา

Page 9: app.dnp.go.th › opac › multimedia › research › C00674 › C00674-2.pdf ลักษณะของส ังคมพืชในพื้นที่ ...(3) สารบ ญภาพ

3

อุปกรณและวิธีการ

อุปกรณ

1. แผนที่ระวางมาตราสวน 1: 50,000 2. เครื่องมือคนหาพิกดัทางภูมิศาสตร (Global Position System, GPS) 3. Altimeter 4. Haga hypsometer 5. เข็มทิศ 6. เชือกและเทปวัดระยะทาง 7. สายวัดและไมบรรทัด 8. มีด 9. แผนปายเขยีนสัญลักษณติดพันธุไม (tag) 10. แวนขยาย 11. แอลกอฮอล 95 เปอรเซ็นต 12. อุปกรณและสารเคมีในการเก็บตวัอยางดินและการวเิคราะหดนิ 13. คอมพิวเตอรและโปรแกรมสําเร็จรูป 14. กลองถายรูป

วิธีการ

1. การคัดเลือกพื้นที่ศึกษาและวิธีการสุมตวัอยาง

1.1 วางแปลงตวัอยางเพื่อศึกษาสังคมพืช

• กําหนดแนวเพื่อวางแปลงตัวอยางใหมีระยะหาง 2,000 เมตร ตามแนวทิศเหนอื - ใต ใหกระจายครอบคลุมพื้นที่ที่ทําการศึกษา จากนั้นวางแปลงตัวอยางตามแนวทิศตะวันออก - ตะวันตก ทุกระดับความสูง 100 เมตร จากน้ําทะเลปานกลาง ตามทิศดานตะวันออก - ตะวันตก โดยใหแปลง

ตัวอยางมีขนาด 20 ×50 ตารางเมตร

Page 10: app.dnp.go.th › opac › multimedia › research › C00674 › C00674-2.pdf ลักษณะของส ังคมพืชในพื้นที่ ...(3) สารบ ญภาพ

4

• ในแปลงตัวอยางขนาด 20 × 50 ตารางเมตร แบงเปนแปลงยอยขนาด 10 × 10 ตารางเมตร ไดทั้งหมด 10 แปลงตัวอยาง ในแตละแปลงยอยทําการบันทึกชนิดพันธุไม และวัดเสนผาศูนยกลางเพียงอก ตั้งแต 4.5 เซนติเมตรขึ้นไป โดย Diameter tape วัดความสูงของตนไม และความ

สูงถึงกิ่งสดกิ่งแรกดวย Haga Hypsometer ที่มุมลางของแปลงขนาด 10 × 10 ตารางเมตร วางแปลง

ตัวอยางขนาด 4 × 4 ตารางเมตร ทําการบันทึกชนิดพันธุไม และจํานวนชนิดพันธุไม ซ่ึงเปนพรรณไมที่มีความสูงมากกวา 1.30 เมตร แตมีขนาดเสนผาศูนยกลางเพียงอกต่ํากวา 4.5 เซนติเมตร และวางแปลง

ตัวอยางขนาด 1 × 1 ตารางเมตร ทําการนับจํานวนและบันทึกพันธุไมของกลาไมที่มีความสูงนอยกวา 1.30 เมตร

2. การเก็บขอมูลส่ิงแวดลอม

2.1 ขอมูลภูมิประเทศ

ในแตละหมูไมทําการบันทึกความสูงเหนือระดับน้ําทะเลปานกลางโดยใช Altimeter บันทึกความลาดชันโดยใชเครื่อง Haga hypsometer และทิศของดานลาดโดยเข็มทิศ

2.2 ขอมูลดิน

ในแตละหมูไม (20 x 50 ตารางเมตร) ทําการขุดหลุมตรงกลางแปลง 1 หลุมตอหมูไม และเก็บตัวอยางดนิในแตละหลุมที่ระดับความลึก 0-10 เซนติเมตร จากผิวดิน เพื่อนําไปวิเคราะหคุณสมบัติทางดานกายภาพและดานเคมีของดิน

ก. คุณสมบัตทิางกายภาพของดิน ไดแก ลักษณะเนื้อดิน (soil texture) ปริมาณความชื้นในดิน ความหนาแนนรวมของดิน (bulk density) ความพรุนของดิน ความหนาแนนอนุภาคของดิน (particle density)

ข. คุณสมบัติทางเคมีของดิน ไดแก คา pH ปริมาณอินทรียวตัถุในดนิ ปริมาณไนโตรเจน

ปริมาณฟอสฟอรัส ปริมาณโพแทสเซียม ปริมาณแคลเซียม ปริมาณแมกนีเซียม

Page 11: app.dnp.go.th › opac › multimedia › research › C00674 › C00674-2.pdf ลักษณะของส ังคมพืชในพื้นที่ ...(3) สารบ ญภาพ

5

=

X 100

X 100

3. การวิเคราะหขอมูลสังคมพืช

3.1 การศึกษาการจัดกลุมหมูไม (Cluster analysis)

เก็บขอมูลพรรณไมในแตละแปลงโดยทําการบันทึก ชนิดพันธุ จํานวนตนของแตละชนิดพันธุ

ความสูงของแตละตน และเสนผาศูนยกลางที่ความสูงเพียงอกของพรรณไมแตละชนิด

3.1.1 จากขอมูลที่ไดจากการสํารวจพรรณไมในแปลงตัวอยาง จํานวน 76 หมูไม นําขอมูลของตนไมทุกตนของแตละชนิดพันธุ ที่มขีนาดเสนผาศนูยกลางเพยีงอกตั้งแต 4.5 เซนติเมตรขึ้นไปในแตละหมูไม นําขอมูลมาวิเคราะหเชิงปริมาณ อันไดแก คาความหนาแนน (density) คาความถี่ (frequency) และคาความเดน (dominance) ของพรรณไมแตละชนดิในแตละหมูไม คํานวณคาความหนาแนนสมัพัทธ (relative density) ความถี่สัมพัทธ (relative frequency) ความเดนสัมพทัธ (relative dominance) และคาดัชนีความสําคัญ (Importance Value Index, IVI) ของพรรณไมแตละชนิดในแตละหมูไมดังนี ้

ก. ความหนาแนน (density) เปนจํานวนตนของพืชชนิดนัน้ตอหนวยพืน้ที ่หรือตอ

แปลงควอแดรท (Kershaw, 1964; Phillips, 1959) ใชในกรณีที่ทําการนับจํานวนตนจริงๆ คาความหนาแนนที่ใชในทีน่ี้คือ คาความหนาแนนสัมพัทธ (relative density) คํานวณไดตามสูตร

คาความหนาแนนสัมพัทธ จํานวนตนของพืชชนิดนั้นทั้งหมด

(relative density) (%) จํานวนตนของพืชทุกชนิดรวมกัน ความหนาแนนของพืชชนิดนัน้ ความหนาแนนรวมของพืชทุกชนิด

ข. ความถี่ (frequency) เปนคาที่ช้ีถึงการกระจายของพืชแตละชนิดในเนื้อที่ และคาความถี่ที่ใชในการศึกษาไดแก คาความถี่สัมพัทธ (relative frequency) คํานวณไดตามสูตร คาความถี่สัมพัทธ คาความถี่ของพืชชนิดนั้น (relative frequency) (%) ผลรวมของคาความถี่ของพืชทุกชนิด

หรือ =

= X 100

Page 12: app.dnp.go.th › opac › multimedia › research › C00674 › C00674-2.pdf ลักษณะของส ังคมพืชในพื้นที่ ...(3) สารบ ญภาพ

6

ค. คาความเดน (dominance) เปนคาที่ช้ีใหเห็นวาพืชชนิดนั้นมีอิทธิพลตอสังคมพืชที่มันขึ้นอยูมากนอยเพยีงใด พชืที่มีความเดนมากเปนพืชทีม่ีอิทธิพลตอที่นั้นมาก ความเดนของพืชในที่นี้ใชคาความเดนสมัพัทธ (relative dominance) คํานวณไดตามสูตร

คาความเดนสมัพัทธ ผลรวมของพื้นที่หนาตัดของพรรณไมชนิดนั้น (relative dominance) (%) ผลรวมของพื้นที่หนาตดัของพรรณไมทุกชนิด

ง. คาดัชนีความสําคัญ (Importance Value Index, IVI) ในการศึกษาสังคมพืชในครั้งนี้

เปนคาที่รวมคาความถี่สัมพัทธ (relative frequency) คาความหนาแนนสัมพัทธ (relative density) และคาความเดนสัมพทัธ (dominance density) เขาดวยกันตามวิธีของ Curtis (1959) ซ่ึงมีคาตั้งแต 0-300 เปอรเซ็นต

2.1.2 คาดัชนีความสําคัญ (Importance Value Index, IVI) ที่ไดนาํมาจัดหมูไม (Cluster analysis) สราง Dendrogram (Ludwig and Reynold, 1988) โดยวิธี Agglomerative cluster analysis ซ่ึงใชตารางของความคลายคลึง (similarity matrix) โดยใชคาดชันีความคลายคลึงกัน (Index of Similarity, IS) ตามวิธีของ Bray and Cutis (1957) จากสูตร

IS = 100

กําหนดให IS = คาดัชนีความคลายคลึงกัน (Index of Similarity) W = ผลรวมของคา Importance Value Index ที่เปนคาต่ําของชนิด

พันธุไมที่ปรากฏทั้ง 2 หมูไม a, b = ผลรวมของคา Importance Value Index ของทุก ชนิดพันธุของหมูไม 1 และ 2 ตามลําดับ

2.1.3 จัดกลุมหมูไมตามขั้นตอนตอไปนี ้

จ. จากตารางของคาความคลายคลึง เลือกหมูไมคูที่มีความคลายคลึงกัน (IS) มากที่สุด ทําการรวมหมูไมทั้งสองเขาเปนหมูไมเดียวกันดวยวิธีการเชื่อมหนวยตวัอยางแบบ Ward’s Method

=

2W a + b

x

X 100

Page 13: app.dnp.go.th › opac › multimedia › research › C00674 › C00674-2.pdf ลักษณะของส ังคมพืชในพื้นที่ ...(3) สารบ ญภาพ

7

i = 1

S

ฉ. หมูไมใหมซ่ึงไดจากการรวมและหาคาเฉลี่ยความคลายคลึงจะกลับเขาไปในตารางของความคลายคลึง ดังนั้นหมูไมใหมจะมจีํานวนหมูไมใหมนอยลงไป 1 หมูไม ทําการเลือกหมูไมที่มีความคลายคลึงกันมากที่สุดทําการรวมหมูไมทั้งสองเขาดวยกนั และหาคาเฉลี่ยความคลายคลึงของทั้งสองหมูไม เชนเดยีวกับขอ จ. ทําเชนนี้ไปเรื่อยๆ จนหมดหมูไม แลวนําคา IS ของหมูไมที่รวมกนัมาสราง dendrogram (ทวี, 2529)

3.2 การหาคาดัชนีความหลากหลายของชนดิพันธุ (Shannon-Wiener Index of Diversity)

คาดัชนีความหลากหลายของชนิดพันธุ (Shannon-Wiener Index of Diversity) เปนคาที่ใชประเมินความหลากหลายของสังคมพืชในดานชนิดพันธุ (species diversity) คํานวณดวยสมการของ Shannon-Wiener function (อุทิศ, 2542) จากสูตร

H = - ∑ (Pi log2 Pi)

เมื่อ H = คาดัชนีความหลากหลายของชนิดพันธุ (Shannon-Wiener Index of Diversity)

Pi = สัดสวนระหวางจํานวนตนของชนดิพันธุไมชนดินั้นตอ จํานวนตนของชนิดพนัธุไมทุกชนิดรวมกัน S = จํานวนชนิดพันธุไมทัง้หมดที่ปรากฏ

Page 14: app.dnp.go.th › opac › multimedia › research › C00674 › C00674-2.pdf ลักษณะของส ังคมพืชในพื้นที่ ...(3) สารบ ญภาพ

8

ภาพที่ 1 แผนที่พื้นที่ศึกษา สถานีวิจัยพืชสมุนไพรและเครื่องเทศ จังหวัดหนองคาย

Page 15: app.dnp.go.th › opac › multimedia › research › C00674 › C00674-2.pdf ลักษณะของส ังคมพืชในพื้นที่ ...(3) สารบ ญภาพ

9

สถานที่ทําการศึกษา พื้นที่ที่ทําการวิจัยอยูในปาอนุรักษเพื่อวิจัยการปาไมของสถานีวิจัยพืชสมุนไพรและเครื่องเทศ จังหวัดหนองคาย ตั้งอยูในพื้นที่ปาสงวนแหงชาติ พานพราว – แกงไก ซ่ึงอยูในพื้นที่ปาโครงการน้ําฮวย – หวยทอน (นค.1) ตอนที่ 5, 6 และ 7 ทองที่อําเภอสังคม จังหวัดหนองคาย มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 50 ตารางกิโลเมตร (กรมปาไมไดอนุมัติและประกาศเปนพื้นที่ปาอนุรักษเพื่อการวิจัย เมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2539) สํานักงานตั้งอยูบริเวณ หมูที่ 6 บานมวงน้ําไพร กิโลเมตรที่ 6 ถนน ร.พ.ช. สายผาแดง – นาบอน อําเภอสังคม จังหวัดหนองคาย

อาณาเขต

ทิศเหนือ เสนทางหลวงจังหวัดหนองคาย-เลยและพื้นที่โซน E ทิศใต พื้นที่ โซน E ทิศตะวนัออก พื้นที่ โซน E ทิศตะวนัตก พื้นที่ โซน E

ลักษณะพื้นท่ีโดยทั่วไป

สภาพพื้นที่สวนใหญเปนภูเขาและมีพื้นที่ราบลูกคลื่นลอนลาดสลับลําธาร มีความลาดชันระหวาง 30 – 60 เปอรเซ็นต มีความสูงจากระดับน้ําทะเลปานกลางประมาณ 220 – 853 เมตร ปกคลมุดวยปาดิบแลง บริเวณยอดเขาจะมีสภาพเปนปาเต็งรัง และปาเบญจพรรณ นอกจากนี้ยังมีสวนกลวย ตลอดจนพื้นที่ที่ถูกแผวถางทําไร ทําสวนยางพารา โดยเฉพาะบริเวณรอบ ๆ แนวขอบเขต โดยทั่วไปแลวสภาพปาเปนปาดิบแลงคอนขางอุดมสมบูรณและมีความหลากหลายทางชีวภาพของพืชพรรณและสัตวปา

ลักษณะทางธรณี

สภาพของดิน มีลักษณะเปนดินรวนปนทราย ดินลูกรัง และดินเหนียว และมีความอุดมสมบูรณคอนขางสูงเนื่องจากมี อินทรียวัตถุและมีปริมาณฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนระดับปานกลาง มีการระบายน้ําไดดี

ลักษณะภูมิอากาศ

คาอุณหภูมิเฉลี่ยตลอดป อุณหภูมิสูงสุด 30 องศาเซลเซียส และ ปริมาณน้ําฝนเฉลี่ยทั้งป (1มกราคม-กันยายน 2550) ปริมาณน้ําฝน 1,472 มิลลิเมตร (ป พ.ศ. 2550)

Page 16: app.dnp.go.th › opac › multimedia › research › C00674 › C00674-2.pdf ลักษณะของส ังคมพืชในพื้นที่ ...(3) สารบ ญภาพ

10

ตารางที่ 1 คาสูงสุด ต่ําสุด และคาเฉลี่ยรายเดือน ของปริมาณน้ําฝน สถานีวิจยัพืชสมุนไพรและเครื่องเทศ จังหวัดหนองคาย (พ.ศ. 2550)

เดือน ปริมาณน้ําฝนสูงสุด (ม.ม.)

ปริมาณน้ําฝนต่ําสุด (ม.ม.)

ปริมาณน้ําฝน รายเดือน (ม.ม.)

มกราคม 0 0 0 กุมภาพันธ 0 0 0 มีนาคม 0 0 0 เมษายน 0 0 0 พฤษภาคม 60 10 211 มิถุนายน 60 10 318 กรกฎาคม 43 5 172 สิงหาคม 120 9 386 กันยายน 136 3 385 ตุลาคม 0 0 0 พฤศจิกายน 0 0 0 ธันวาคม 0 0 0 รวม 419 37 1,472

ที่มา : สถานีวิจัยพืชสมุนไพรและเครื่องเทศ จังหวัดหนองคาย

ตารางที่ 2 คาสูงสุด คาต่ําสุด และคาเฉลี่ยรายป ของประมาณน้ําฝน สถานีวิจยัพืชสมุนไพรและ เครื่องเทศ จังหวดัหนองคาย (ระยะเวลา 5 ป พ.ศ. 2546 – 2550)

ป พ.ศ. ปริมาณน้าํฝนสูงสุด (ม.ม.)

ปริมาณน้าํฝนต่ําสุด (ม.ม.)

ปริมาณน้าํฝนเฉล่ีย รายป (ม.ม.)

2546 396 77 1,119.5 2547 386 49.4 1,434.3 2548 347 20 1,321 2549 354 24 1,322 2550 419 37 1,472

ที่มา : สถานีวิจัยพืชสมุนไพรและเครื่องเทศ หนองคาย

Page 17: app.dnp.go.th › opac › multimedia › research › C00674 › C00674-2.pdf ลักษณะของส ังคมพืชในพื้นที่ ...(3) สารบ ญภาพ

11

ลักษณะพืชพรรณ

ปาเบญจพรรณ (Mixed Deciduous Forest)

โดยทั่วไปลักษณะเปนปาโปรง ประกอบดวยไมยืนตนขนาดกลางและขนาดใหญ พื้นปารกทึบและปามีไมไผขึ้นอยูอยางหนาแนน ในฤดูแลงตนไมเกือบทุกชนิดจะผลัดใบ พรรณไมสําคัญที่ขึ้นอยู ไดแก ประดู ตะแบก ยมหอม ยางนา ยางแดง พะยอม ตะเคียน แดง จําปปา กระบาก งิ้วปา ตะไครตน อบเชยไทย กระทอนปา มะไฟปา คูน มะคาโมง คอเขียว ฯลฯ สวนไมไผที่พบ ไดแก ไผปา ไผบง ไผขาวหลาม ไผซาง ไผซางนวล ไผเปาะ ไผเฮียะ ไผไร ไผปลองยาว และไผลวก ปาเตง็รัง (Dry Dipterocarp Forest)

มักพบในบริเวณดินตื้น แหงแลง ลักษณะของดินเปนดินปนทราย หรือดินลูกรัง พรรณไมที่ขึ้นอยูโดยทั่วไป เปนไมขนาดเล็กถึงปานกลาง ขึ้นกระจัดกระจายทั่วไปและมีขนาดใหญในบรเิวณทีม่ีดินลึก มักมีลักษณะเปนปาโปรง พื้นปาไมรกทึบและมีลูกไมของไมใหญขึ้นอยูหนาแนน พรรณไมที่สําคัญ ไดแก เต็ง รัง เหียง พลวง มะขามปอม ล้ินฟา ยอปา และไมกอชนิดตาง ๆ สวนไมพื้นลางไดแก ปรง หญาคา ลูกไมและกลาไมใหญชนิดตาง ๆ ยังพบเห็ดดินชนิดตางๆ ขึ้นมากมาย เชน เห็ดระโงก เห็ดผ้ึง เห็ดผ้ึงหางนกยูง เห็ดเผาะ เห็ดโคน เห็ดถาน เห็ดน้ําหมาก เห็ดนาแหล เปนตน ปาดิบแลง (Dry Evergreen Forest)

โดยทั่วไปแลวปาดิบแลงจะพบเปนบริเวณแคบ ๆ ตามหุบเขาริมลําหวย ลําธารที่คอนขางชุมชื้น ลักษณะ ของดินเปนดินรวนปนทราย มักมีความอุดสมบูรณกวาปาเบญจพรรณและปาเต็งรัง พรรณไมที่สําคัญที่ ปรากฏในปาชนิดนี้ไดแก ยางแดง ตะเคียน มะไฟ ประดู ลําไยปา คอแลน มะมวงปา กระทอนปา กระบาก พะยอม ชัน ชิงชัน พยุง ตะเคียนทอง ตะไครตน ซ่ึงพรรณไมในปาดิบแลงนี้มีทั้งชนิดที่ผลัดใบและไมผลัดใบขึ้นรวมกัน สําหรับไมพื้นลางไมสูรกนัก มักเปนกลาของไมใหญ สวนของไมชนิดอื่น ๆ ที่ปรากฏไดแก ไผ ไผซางปา หวาย ขาปา และไมตระกูลปาลม กลวยปา ฯลฯ

Page 18: app.dnp.go.th › opac › multimedia › research › C00674 › C00674-2.pdf ลักษณะของส ังคมพืชในพื้นที่ ...(3) สารบ ญภาพ

12

ลักษณะพันธุสัตว

สัตวเล้ียงลูกดวยนมที่พบในพื้นที่ ไดแก เกง กระจง อีเห็น หมูปา ตะกวด ล่ิน ตุน อน หมาปา ลิง ลิงลม กระรอก กระเลน บาง สัตวเล้ือยคลาน เชน งูจงอาง งูเหา งูกะปะ งูสามเหลี่ยม งูเหลือม งูหลาม งูสิง งูสิงดง และ กระทาง (กิ่งกายักษ) ซ่ึงมักจะอาศัยตามลําหวยน้ําไพร นอกจากนี้ยังพบนกหลายชนิด ไดแก นกเคาแมว นกเหยี่ยว นกเขา เหยี่ยวนกเขา นกเขาเปา นกขาบ นกแกง นกเดาดิน นกเดาลม นกกระปูด นกกางเขนดง นกขุนแผน ไกปา นกกินปลี นกเหลือง นกกระจิบ นกกระสา นกไกนา

ลักษณะทางเศรษฐกิจและสังคม

ประชากรสวนมากในทองที่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมโดยอาศัยน้ําฝน ในบริเวณที่ราบซ่ึงมีเพียงเล็กนอย ชนิดพืชที่ปลูกมากไดแก กลวยน้ําวา ยางพารา ใบยาสูบ ขาวโพด ถ่ัวเหลือง งา สวนใหญเปนการทําไรหมุนเวียน

ระยะเวลาทําการศึกษา

ทําการวิจยัระหวางเดือนเมษายน พ.ศ.2550 ถึงเดือนเมษายน พ.ศ.2551

Page 19: app.dnp.go.th › opac › multimedia › research › C00674 › C00674-2.pdf ลักษณะของส ังคมพืชในพื้นที่ ...(3) สารบ ญภาพ

13

ปาดิบแลง

ปาเต็งรัง

ปาเบญจพรรณ

77 ชนิด

14 ชนิด 12 ชนิด

45 ชนิด

1 ชนิด

42 ชนิด 15 ชนิด

ผลและวิจารณ

องคประกอบของชนิดพรรณไมในสงัคมพืชในพื้นท่ีศึกษา การศึกษาลักษณะของสังคมพืชในพื้นที่สถานีวิจัยพืชสมุนไพรและเครื่องเทศ จังหวัดหนองคาย โดยวางแปลงตัวอยางขนาด 20x50 ตารางเมตร ใหกระจายครอบคลุมพื้นที่ รวม 76 หมูไม ในแตละหมูไมประกอบดวยแปลงยอยขนาด 10 x 10 ตารางเมตร จํานวน 10 แปลง (0.1 เฮกแตร) พบพรรณไม 48 วงศ 114 สกุล 206 ชนิดพันธุ ซ่ึงในจํานวนนี้วงศที่มีพรรณไมมากที่สุด คือ EUPHORBIACEAE พบพรรณไมจํานวน 23 ชนิดพันธุ รองลงมาคือ LEGUMINOSAE-PAPILIONOIDEAE จํานวน 16 ชนิดพันธุ RUBIACEAE จํานวน 14 ชนิดพันธุ และ LAURACEAE จํานวน 11 ชนิดพันธุ ตามลําดับ (ตารางผนวกที่ 1)

ภาพที่ 2 จํานวนชนดิพันธุไมของสังคมพืชตางๆ ที่กระจายบริเวณพืน้ที่

สถานีวิจยัพืชสมุนไพรและเครื่องเทศ จังหวดัหนองคาย

Page 20: app.dnp.go.th › opac › multimedia › research › C00674 › C00674-2.pdf ลักษณะของส ังคมพืชในพื้นที่ ...(3) สารบ ญภาพ

14

เมื่อพิจารณาองคประกอบของพรรณไมในแตละสังคมพบวา พรรณไมที่พบในทุกสังคมพืชในพื้นที่ศึกษาบริเวณพื้นที่สถานีวิจัยพืชสมุนไพรและเครื่องเทศ จังหวัดหนองคาย มีทั้งสิ้น 45 ชนิดพันธุ พรรณไมที่พบเฉพาะปาเบญจพรรณ มี 14 ชนิดพันธุ ที่พบเฉพาะปาดิบแลง มี 77 ชนิดพันธุ ที่พบเฉพาะปาเต็งรัง มี 12 ชนิดพันธุ พรรณไมที่พบในปาเบญจพรรณและปาดิบแลง มี 42 ชนิดพันธุ ที่พบในปาดิบแลงและปาเต็งรัง มี 15 ชนิดพันธุ และพบในปาเต็งรังและปาเบญจพรรณ มีเพียง 1 ชนิดพันธุ (ภาพที่ 2)

พรรณไมที่มีการกระจายทุกสังคมพืชมีจํานวน 45 ชนิดพันธุ จากจํานวน 206 ชนิดพันธุ คิดเปนรอยละ 21.84 % สวนชนิดที่มีการกระจายเฉพาะสังคมมี 103 ชนิดพันธุ คิดเปนรอยละ 50.00 % แสดงใหเห็นวาพรรณไมในพื้นที่สถานีวิจัยพืชสมุนไพรและเครื่องเทศ จังหวัดหนองคาย สวนใหญไมไดกระจายสม่ําเสมอตลอดทั้งพื้นที่ แตมีการกระจายอยูในพื้นที่ที่มีชวงของปจจัยแวดลอมที่เหมาะสมเฉพาะตอการเจริญเติบโตของพรรณไมแตละชนิดพันธุ

การกระจายพันธุของไผในพื้นที่ศึกษา เรียงลําดับตามลําดับความสําคัญจากมากไปนอย คือ ไผไร (Gigantochloa albociliata (Munro) Munro) ไผขาวหลาม (Cephalostachyum pergracile Munro) ไผซาง (Dendrocalamus strictus (Roxb.) Nees) ซางดอย (Bambusa membranacea (Munro) และ ไผเปาะ (Dendrocalamus giganteus Munro) C.M.A.Stapleton & N.H.Xia) ตามลําดับ นอกจากนี้ยังพบ ไผบง (Bambusa nutans Wall.) และ ไผเฮียะ (Cephalostachyum virgatum Kurz) กระจายพันธุในพื้นที่อีกบางสวน

Page 21: app.dnp.go.th › opac › multimedia › research › C00674 › C00674-2.pdf ลักษณะของส ังคมพืชในพื้นที่ ...(3) สารบ ญภาพ

15

MOD

Distance (Objective Function)

Information Remaining (%)

0

100

6.8E+00

75

1.4E+01

50

2.1E+01

25

2.7E+01

0

A1E6D3E22D6E5E11A2A3D4-1F3D17F6I1F15D19G2G3A4D5F7B2D9B1B3E18F8-1I3D12D14E9F12C13F11F8G6H3F9F10C4C5C9E17F14E19E20C6D10E8H2D13E8-1B4C7D7-1D11E10D8F13C10E21E4C12E16E13E15D18F3-1F4C11E7E3E12G7E14I2

15 ภาพที่ 3 การจัดกลุมหมูไมในพืน้ที่สถานีวิจยัพืชสมุนไพรและเครื่องเทศ จังหวดัหนองคาย โดยวิธี Agglomerative cluster analysis

(ใชคาแสดงถึงความคลายคลึงกันของหนวยตัวอยางแบบ Bray and Curtis (1957) และวิธีเชื่อมหนวยตัวอยางแบบ Ward’s Method)

สังคมปาเต็งรัง

สังคมปาเบญจพรรณ

สังคมปาดิบแลง

NONGKHAI PROJECT

Page 22: app.dnp.go.th › opac › multimedia › research › C00674 › C00674-2.pdf ลักษณะของส ังคมพืชในพื้นที่ ...(3) สารบ ญภาพ

16

การจัดกลุมหมูไม (Cluster analysis)

การศึกษาสังคมพืชซ่ึงอาศัยลักษณะเชิงปริมาณ (quantitative characteristics) โดยใชคาดัชนีความสําคัญ ในการประเมินการปรากฏและเปรียบเทียบการมีสวนสําคัญของชนิดไมนั้นตอสังคม (อุทิศ, 2542) เปนวิธีการศึกษาที่นิยมใชกับการศึกษาสังคมพืชทั่วไป โดยใหความสําคัญกับองคประกอบชนิดไมที่เปนกลุมของไมยืนตนเปนหลัก ซ่ึงจากการศึกษาในครั้งนี้พบวาสามารถนําวิธีดังกลาวมาใชกับการจําแนกสังคมพืชในพื้นที่ที่อยูในกระบวนการทดแทนไดคอนขางดี

จากการศึกษาสังคมพืชในพื้นที่สถานีวิจัยพืชสมุนไพรและเครื่องเทศ จังหวัดหนองคาย โดยอาศัยคาดัชนีความสําคัญของพรรณไม (Importance Value Index, IVI) ในแตละหมูไมตัวอยาง มาจําแนกกลุมหมูไม โดยวิธีจัดกลุมหมูไม (Agglomerative cluster analysis) โดยใชคาดัชนีความความคลายคลึงกัน (Index of Similarity, IS) ตามวิธีของ Bray and Curtis (1957) และวิธีเชื่อมหนวยตัวอยางแบบ Ward’s Method สราง Dendrogram โดยกําหนดคาของ IS อยูระหวาง 15.66 % - 20.75 % เพื่อจัดกลุมหมูไม ซึ่งสามารถจัดกลุมหมูไมได 3 สังคม (ภาพที่ 3) คือ 1. ปาเบญจพรรณ (Mixed Deciduous Forest) ประกอบดวยหมูไม 23 หมูไม มีจํานวนพรรณไม 102 ชนิดพันธุ พรรณไมเดนในสังคมนี้ ไดแก ผาเสี้ยน (Vitex canescens Kurz) สวนพรรณไมที่มีคาดัชนีความสําคัญรองลงมา ไดแก ยาบใบยาว (Colona flagrocarpa (C.B.Clarke) Craib) ตะเคียนหนู (Anogeissus acuminata (Roxb. ex DC.) Guill. & Perr. var. lanceolata C.B.Clarke) ประดู (Pterocarpus macrocarpus Kurz) กางขี้มอด ( Albizia odoratissima (L.f.) Benth.) ปอเลียงฝาย (Eriolaena candollei Wall.) คอเขียว (Livistonia speciosa Kurz) ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana Pierre ex Gagnep.)

ไมหนุม (sapling) มีความหนาแนน 4,592.39 ตนตอเฮกแตร พรรณไมที่พบจํานวนมาก ไดแก ตะเคียนหนู (Anogeissus acuminata (Roxb. ex DC.) Guill. & Perr. var. lanceolata C.B.Clarke) ขวาว (Haldina cordifolia (Roxb.) Ridsdale) ตะครอ (Schleichera oleosa Merr.) ตีนนก (Vitex pinnata L.) และ ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana Pierre ex Gagnep.)

ไมพื้นลาง ประกอบดวยกลาไม ปอแดง (Sterculia guttata Roxb.) ยาบใบยาว (Colona flagrocarpa (C.B.Clarke) Craib) ประดู (Pterocarpus macrocarpus Kurz) ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana Pierre ex Gagnep.) โหมแจวนา (Hedyotis diffusa Willd.) ตอไส

Page 23: app.dnp.go.th › opac › multimedia › research › C00674 › C00674-2.pdf ลักษณะของส ังคมพืชในพื้นที่ ...(3) สารบ ญภาพ

17

(Allophylus cobbe (L.) Raeusch.) ไผไร (Gigantochloa albociliata (Munro) Munro) ไผซาง (Dendrocalamus strictus (Roxb.) Nees) และ กลอย (Dioscorea hispida Dennst. var. hispida) เปนตน

การกระจายพันธุของไผในสังคม เรียงลําดับตามความถี่และความหนาแนนของจํานวนกอจากมากไปนอย คือ ไผขาวหลาม (Cephalostachyum pergracile Munro) ไผไร (Gigantochloa albociliata (Munro) Munro) ไผซาง (Dendrocalamus strictus (Roxb.) Nees) และซางดอย (Bambusa membranacea (Munro) C.M.A.Stapleton & N.H.Xia) ตามลําดับ นอกจากนี้ยังพบ ไผเฮียะ

(Cephalostachyum virgatum Kurz) กระจายพันธุในพื้นที่อีกเล็กนอย

พื้นที่หนาตัดของไมในปาเบญจพรรณ เทากับ 8.34 ตารางเมตรตอเฮกแตร ความหนาแนนเทากับ 538 ตนตอเฮกแตร

2. ปาดิบแลง (Dry Evergreen Forest) ประกอบดวยหมูไม 36 หมูไม มีจํานวนพรรณไม 179

ชนิดพันธุ พรรณไมเดนในสังคมนี้ ไดแก กระบก (Irvingia malayana Oliv. ex A.W.Benn.) ยางแดง (Dipterocarpus turbinatus C.F.Gaertn.) ประดู (Pterocarpus macrocarpus Kurz) มังตาน (Schima wallichii (DC.) Korth.) ยางปาย (Dipterocarpus costatus C.F.Gaertn.) กอนอย (Lithocarpus microspermus A.Camus) กอหยุม (Castanopsis argyrophylla King ex Hook.f.) กระบาก (Anisoptera costata Korth.) เหมือดโลด (Aporosa villosa (Lindl.) Baill.) พะยอม (Shorea roxburghii G.Don) และตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana Pierre ex Gagnep.)

ไมหนุมมีความหนาแนน 7,899.31 ตนตอเฮกแตร พรรณไมที่พบจํานวนมาก ไดแก ตะเคียนหนู (Anogeissus acuminata (Roxb. ex DC.) Guill. & Perr. var. lanceolata C.B.Clarke) มะไฟ ( Baccaurea ramiflora Lour.) เมาสรอย (Antidesma acidum Retz.) พญารากดํา (Diospyros variegata Kurz) ติ้วขน (Cratoxylum formosum (Jack) Dyer subsp. pruniflorum (Kurz) Gogel) ประดู (Pterocarpus macrocarpus Kurz) และ ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana Pierre ex Gagnep.) นอกจากนี้ยังพบ ขาวสารปา (Pavetta tomentosa Roxb. ex Sm. var. tomentosa) มะกอกพราน (Turpinia pomifera (Roxb.) DC.) และ แมวคลองตอ (Camellia tenii Sealy)

ไมพื้นลางประกอบดวยกลาไม เหมือดโลด (Aporosa villosa (Lindl.) Baill.) ประดู (Pterocarpus macrocarpus Kurz) ยาบใบยาว (Colona flagrocarpa (C.B.Clarke) Craib) ปอแดง (Sterculia guttata Roxb.) กระพี้เขาควาย (Dalbergia cultrata Graham ex Benth.) กระบก (Irvingia malayana Oliv. ex A.W.Benn.) ติ้วขน (Cratoxylum formosum (Jack) Dyer subsp. pruniflorum (Kurz) Gogel) ตอไส (Allophylus cobbe (L.) Raeusch.) ไผไร (Gigantochloa albociliata (Munro) Munro)

Page 24: app.dnp.go.th › opac › multimedia › research › C00674 › C00674-2.pdf ลักษณะของส ังคมพืชในพื้นที่ ...(3) สารบ ญภาพ

18

ไผซาง (Dendrocalamus strictus (Roxb.) Nees) ไผขาวหลาม (Cephalostachyum pergracile Munro) กูดงอแง (Lygodium japonicum (Thumb. ex Murray) Sw.) กลอย (Dioscorea hispida Dennst. var. hispida) เถาประสงค (Streptocaulon juventas (Lour.) Merr.) เปนตน

การกระจายพันธุของไผในสังคม เรียงลําดับตามความถี่และความหนาแนนของจํานวนกอจากมากไปนอย คือ ไผไร (Gigantochloa albociliata (Munro) Munro) ไผขาวหลาม (Cephalostachyum pergracile Munro) ไผซาง (Dendrocalamus strictus (Roxb.) Nees) และซางดอย (Bambusa membranacea (Munro) C.M.A.Stapleton & N.H.Xia) ตามลําดับ นอกจากนี้ยังพบ ไผบง (Bambusa nutans Wall.) และ ไผเฮียะ (Cephalostachyum virgatum Kurz) กระจายพันธุในพื้นที่บางสวน

พื้นที่หนาตัดของไมในปาดิบแลงเทากับ 15.28 ตารางเมตรตอเฮกแตร ความหนาแนนเทากับ 494 ตนตอเฮกแตร

3. ปาเต็งรัง (Dry Dipterocarp Forest) ประกอบดวยหมูไม 17 หมูไม มีจํานวนพรรณไม 73 ชนิดพันธุ พรรณไมเดนในสังคมนี้ ไดแก รัง (Shorea siamensis Miq.) ซ่ึงมีคาดัชนีความสําคัญของพรรณไมสูงที่สุดสุดจํานวน 16 หมูไม มีคาระหวาง 85.23-216.43 สวนพรรณไมที่มีคาดัชนีความสําคัญรองลงมา ไดแก กอนก (Lithocarpus polystachyus (A.DC.) Rehder) แขงกวาง (Wendlandia tinctoria (Roxb.) DC.) เหมือดโลด (Aporosa villosa (Lindl.) Baill.) กระบก (Irvingia malayana Oliv. ex A.W.Benn.) กาสามปก (Vitex peduncularis Wall. ex Schauer) ประดู (Pterocarpus macrocarpus Kurz) กระบาก (Anisoptera costata Korth.) ยางแดง (Dipterocarpus turbinatus C.F.Gaertn.)

ไมหนุมมีความหนาแนน 1,580.88 ตนตอเฮกแตร พรรณไมที่พบจํานวนมาก ไดแก รัง (Shorea siamensis Miq.) ตีนนก (Vitex pinnata L.) เมาสรอย (Antidesma acidum Retz.) และ ประดู(Pterocarpus macrocarpus Kurz)

ไมพื้นลางประกอบดวยกลาไม รัง (Shorea siamensis Miq.) เหมือดโลด (Aporosa villosa (Lindl.) Baill.) ประดู (Pterocarpus macrocarpus Kurz) ตีนนก (Vitex pinnata L.) กระพี้เขาควาย

(Dalbergia cultrata Graham ex Benth.) โหมแจวนา (Hedyotis diffusa Willd.) ไผไร (Gigantochloa albociliata (Munro) Munro) ไผซาง (Dendrocalamus strictus (Roxb.) Nees) ไผเปาะ (Dendrocalamus giganteus Munro) หญาแหวหมู (Cyperus rotundus L.) ผักปลาบ (Commelina diffusa Burm.f.) กลอย (Dioscorea hispida Dennst. var. hispida) เปนตน

การกระจายพันธุของไผในปาสังคม เรียงลําดับตามความถี่และความหนาแนนของจํานวนกอจากมากไปนอย คือ ไผเปาะ (Dendrocalamus giganteus Munro) ไผไร (Gigantochloa albociliata

Page 25: app.dnp.go.th › opac › multimedia › research › C00674 › C00674-2.pdf ลักษณะของส ังคมพืชในพื้นที่ ...(3) สารบ ญภาพ

19

(Munro) Munro) ซางดอย (Bambusa membranacea (Munro) C.M.A.Stapleton & N.H.Xia) ไผซาง (Dendrocalamus strictus (Roxb.) Nees) ไผขาวหลาม (Cephalostachyum pergracile Munro) ตามลําดับ

พื้นที่หนาตัดของไมในปาเต็งรังเทากับ 25.68 ตารางเมตรตอเฮกแตร ความหนาแนนเทากับ

702 ตนตอเฮกแตร เมื่อเปรียบเทียบสังคมพืชที่พบในพื้นที่สถานีวิจัยพืชสมุนไพรและเครื่องเทศ จังหวัดหนองคาย

ทั้ง 3 สังคม พบวา ความหนาแนนของพรรณไมในปาเต็งรังมีคามากที่สุด คือ 702 ตนตอเฮกแตร และมีพรรณไมที่มีเสนผานศูนยกลางขนาดกลางถึงใหญจํานวนมากกวาอีกสองสังคม ทําใหพื้นที่หนาตัดของพรรณไมในปาเต็งรังมีคามากที่สุด เทากับ 25.68 ตารางเมตรตอเฮกแตร สวนในปาดิบแลงแมมีความหนาแนนเทากับ 494 ตนตอเฮกแตร ซึ่งนอยกวาปาเบญจพรรณ คือ 538 ตนตอเฮกแตร แตมีพื้นที่หนาตัดมากกวา คือ 15.28 ตารางเมตรตอเฮกแตร โดยปาเบญจพรรณมีพื้นที่หนาตัดเทากับ 8.34 ตารางเมตรตอเฮกแตร หมายความวา พรรณไมในปาเบญจพรรณมีเสนผานศูนยกลางขนาดกลางถึงใหญจํานวนนอยที่สุด

ทั้งนี้อาจเนื่องจาก พื้นที่สถานีวิจัยพืชสมุนไพรและเครื่องเทศ จังหวัดหนองคาย เปนพื้นที่ที่เคยมีการสัมปทานทําไมมาแลวในระหวางป พ.ศ. 2516 – 2523 ประกอบกับมีปญหาไฟปาเกิดขึ้นเปนประจําจากราษฎรที่อาศัยโดยรอบพื้นที่ ทําใหปาเบญจพรรณและปาดิบแลงไดรับผลกระทบจนไมสามารถเกิดกระบวนการทดแทนตามธรรมชาติไดอยางสมบูรณ ซ่ึงแตกตางจากพรรณไมในปาเต็งรังที่มีการปรับตัวใหสามารถทนไฟได (อุทิศ, 2542)

นอกจากนั้น การกระจายพันธุของไผในทุกสังคมพืชในบริเวณที่ศึกษา โดยพิจารณาจํานวนกอตอจํานวนแปลงยอยที่มีไผปรากฏ พบวา คาเฉลี่ยมีคาใกลเคียงกัน คือ ปาเบญจพรรณเทากับ 3.71 กอ/แปลง ปาดิบแลงเทากับ 3.746 กอ/แปลง และปาเต็งรังเทากับ 3.32 กอ/แปลง แตเมื่อพิจารณาจํานวนแปลงยอยที่มีไผปรากฏตอจํานวนแปลงยอยของแตละสังคมพืชแลว ปรากฏวา ในปาเบญจพรรณและปาดิบแลงนั้นมีสัดสวนเทากับ 30.43% และ 28.06% ตามลําดับ แตปาเต็งรังมีสัดสวนเพียง 16.71% เทานั้น

Page 26: app.dnp.go.th › opac › multimedia › research › C00674 › C00674-2.pdf ลักษณะของส ังคมพืชในพื้นที่ ...(3) สารบ ญภาพ

20

คาดัชนีความหลากหลายของชนิดพันธุ (Shannon-Wiener Index of Diversity)

คาดัชนีความหลากหลายของชนิดพันธุ (Shannon-Wiener Index of Diversity) ของแตละหมูไมในพื้นที่ศึกษาอยูระหวาง 1.56 - 4.68 โดยคาดัชนีความหลากหลายของชนิดพันธุเฉลี่ยของปาดบิแลงมคีามากที่สุด คือ 3.72 คาดัชนีความหลากหลายของชนิดพันธุเฉลี่ยของปาเบญจพรรณ คือ 3.54 และคาดัชนีความหลากหลายของชนิดพันธุเฉลี่ยของปาเต็งรังมีคานอยที่สุด คือ 2.60

คาดัชนีความหลากหลายของชนิดพันธุของสังคมพืชในการศึกษาครั้งนี้ สอดคลองกับการศึกษาของพงษศักดิ์ และคณะ (2522) ซ่ึงเมื่อเปรียบเทียบพบวาปาดิบแลงบริเวณลุมน้ําพรม จังหวัดชัยภูมิ มีคาดัชนีความหลากหลายของชนิดพันธุมากที่สุดเทากับ 4.89 รองลงมา คือ ปาผสมผลัดใบเทากับ 3.49 และปาเต็งรังมีคานอยที่สุดเทากับ 1.93

Kreb (1972) กลาววา คาดัชนีความหลากหลายของชนิดพันธุ คือ ความมากนอยของชนิดพันธุพืช ซ่ึงอาศัยในระบบนิเวศหนึ่งๆ โดยมีความสัมพันธกับความเดนของพืช Shimwell (1971) ระบุวา คาดัชนีความหลากหลายของชนิดพันธุ เปนตัวช้ีวัดเสถียรภาพ (stability) ของสังคมพืช หากมคีาดัชนีความหลากหลายของชนิดพันธุสูงแสดงวาเปนสังคมพืชที่มีเสถียรภาพมาก เนื่องจากไดผานกระบวนการทดแทน(succession) จนมีพืชเดนเกิดมากขึ้น จํานวนพืชรองจะลดลง ทําใหสังคมพืชมีสมดุลดานนิเวศวิทยา จึงเกิดการเปลี่ยนแปลงตามธรรมชาตินอย ซ่ึงจากการเปรียบเทียบพบวาปาเต็งรังมีคาดัชนีความหลากหลายของชนิดพันธุนอยที่สุด และมากขึ้นในสังคมปาผสมพลัดใบ ปาดิบแลง ปาดิบเขา และปาดิบชื้น ตามลําดับ (อุดมพันธ, 2532)

Page 27: app.dnp.go.th › opac › multimedia › research › C00674 › C00674-2.pdf ลักษณะของส ังคมพืชในพื้นที่ ...(3) สารบ ญภาพ

21

ตารางที่ 3 คาดัชนีความหลากหลายของชนิดพันธุ (Shannon-Wiener Index of Diversity) ของ แตละสังคมพืช ในปาพืน้ที่สถานีวิจัยพชืสมุนไพรและเครื่องเทศ จังหวัดหนองคาย

หมายเหตุ SD = สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

n = จํานวนหมูไมในสังคมนั้น

สรุป

1. พรรณไมในพื้นที่สถานีวิจัยพืชสมุนไพรและเครื่องเทศ จังหวัดหนองคาย พบพรรณไม 48 วงศ 114 สกุล 206 ชนิดพันธุ

2. โดยอาศัยคาดัชนีความสําคัญของพรรณไม สามารถจัดกลุมหมูไมได 3 สังคม คือ ปาดิบแลง (Dry Evegreen Forest) ปาเบญจพรรณ (Mixed Deciduous Forest) และ ปาเต็งรัง (Dry Dipterocarp Forest)

3. คาดัชนีความหลากหลายของชนิดพันธุเฉลี่ยของปาดิบแลงมีคามากที่สุด คือ 3.72 รองลงมาไดแก ปาเบญจพรรณ คือ 3.54 และปาเต็งรังมีคานอยที่สุด คือ 2.60

4. สังคมพืชในพื้นที่สถานีวิจัยพืชสมุนไพรและเครื่องเทศ จังหวัดหนองคาย แบงไดเปน ปาดิบแลง ครอบคลุมพื้นที่มากทุด คือ 47.37% รองลงมา คือ ปาเบญจพรรณครอบคลุมพื้นที่ 30.26% และปาเต็งรัง 22.37%

Shannon-Wiener Index of Diversity สังคมพืช

ต่ําสุด สูงสุด คาเฉลี่ย SD n

ปาดิบแลง 2.45 4.68 3.72 0.54 36

ปาเบญจพรรณ 2.67 4.14 3.54 0.41 23

ปาเต็งรัง 1.56 3.55 2.60 0.52 17

Page 28: app.dnp.go.th › opac › multimedia › research › C00674 › C00674-2.pdf ลักษณะของส ังคมพืชในพื้นที่ ...(3) สารบ ญภาพ

22

ขอเสนอแนะ

1. การศึกษาขอมูลความสัมพันธระหวางสังคมพืชและปจจัยแวดลอมในพื้นที่ จะทําใหไดขอมูล

ที่แสดงใหเหน็ถึงความสัมพันธของการกระจายของพรรณไมชัดเจนมากยิ่งขึ้น 2. ผลการศึกษาครั้งนี้นาจะเปนขอมูลสวนหนึ่งที่สามารถนําไปประกอบในการศึกษาและพัฒนา

ทางดานนิเวศวิทยา การจัดการปาไม และการอนุรักษพรรณไมในพื้นที่สถานีวจิัยพืชสมุนไพรและเครื่องเทศ จังหวัดหนองคายในอนาคต

Page 29: app.dnp.go.th › opac › multimedia › research › C00674 › C00674-2.pdf ลักษณะของส ังคมพืชในพื้นที่ ...(3) สารบ ญภาพ

23

คํานิยม ขอกราบขอบพระคุณหัวหนากลุมงานวิจัยพันธุพืชปามีคา หายาก และใกลสูญพันธุ สํานักวิจัย

การอนุรักษปาไมและพันธุพืช เปนอยางยิ่ง สําหรับโอกาส คําแนะนํา และเมตตาใหกําลังใจในการจัดทําเอกสารนี้

ขอขอบคุณพี่ตี๋ นองจุม พี่ ๆและนอง ๆ ที่กลุมงานวิจัยพันธุพืชปามีคา หายาก และใกลสูญพันธุ สําหรับกําลังใจและแรงงานในการจัดการขอมูล

ขอขอบคุณอยางสูง สําหรับความเอื้อเฟอในการดูแลอยางอบอุนตลอดระยะเวลาระหวางการเก็บขอมูลของพี่สายันต โคตรรัตน หัวหนาสถานีวิจัยพืชสมุนไพรและเครื่องเทศ จังหวัดหนองคาย

ขอขอบคุณเปนอยางยิ่ง สําหรับพี่พยัคฆ มณีอเนกคุณ ที่ยอมเปนที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ ซ่ึงใหคําแนะนํา ชวยเหลือทุกดานและทุกครั้งที่รองขอ และคุณปญญา สุขสมกิจ ที่อนุเคราะหโปรมแกรมคอมพิวเตอรในการวิเคราะหผลและคําแนะนําดานวิชาการอันเปนประโยชนอยางยิ่ง

Page 30: app.dnp.go.th › opac › multimedia › research › C00674 › C00674-2.pdf ลักษณะของส ังคมพืชในพื้นที่ ...(3) สารบ ญภาพ

24

เอกสารอางอิง ทวี ไชยเรืองศิริกุล. 2529. ลักษณะโครงสรางของสังคมพชืปาดิบแลงในประเทศไทย. วิทยานิพนธ

ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. พงษศักดิ์ สหนุาฬุ, มณฑล จําเริญพฤกษ, บุญฤทธิ์ ภูริยากร, ปรีชา ธรรมานนท, วสุิทธิ์ สุวรรณาภินันท,

และ บัวเรศ ประไชโย. 2522. การเปรียบเทียบลักษณะโครงสรางของปา 3 ชนดิ บริเวณลุมน้ําพรม จังหวัดชัยภูมิ. รายงานวนศาสตรวิจัย เลมที่ 63. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ.

สมศักดิ์ สุขวงศ. 2520. นิเวศวิทยาปาไม (คูมือปฏบิัตงิานภาคฤดูรอน). ภาควิชาชวีวิทยาปาไม, คณะวน

ศาสตร, มหาวทิยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ. อุดมพันธ อินทรโยธา. 2532. ลักษณะโครงสรางของสงัคมพชืปาดิบแลงบริเวณสถานีวิจัยสิ่งแวดลอม

สะแกราช อําเภอปกธงชัย จังหวัดนครราชสีมา. วทิยานพินธปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

อุทิศ กุฏอินทร. 2542. นิเวศวิทยาพื้นฐานเพื่อการปาไม. ภาควิชาชวีวิทยาปาไม, คณะวนศาสตร,

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ. Bray, J.R. and J.T. Curtis. 1957. An Orcination of the Upland Forest Community of Southern

Wisconsin. Ecol. Monogr. 27: 325-347. Cain, S.A., G.M. de Oliveira Casto., J. Murca Pires and de Selva. 1956. Application of some

Phytosociological Techniques to some Brazilian Rain Foerst. Amer. J. Bot. 43: 911-12. Curtis, J.T. 1959. The Vegetation of Wisconsin: An Ordination of Plant Communities. Univ.

Wisconsin, Madison. Greig–Smith, P. 1964. Quantitative Plant Ecology. Butterworths, London.

Page 31: app.dnp.go.th › opac › multimedia › research › C00674 › C00674-2.pdf ลักษณะของส ังคมพืชในพื้นที่ ...(3) สารบ ญภาพ

25

Ludwig, J A and Reynold, J.F. 1988. Statistical ecology. John Wiley. New York. Kershaw, K.A. 1964. Quantitative and Dynamic Ecology. Edward Arnold, London. Kreb, C.J. 1972. Ecology : The Experimental Analysis of Distribution and Abundance. Haper &

Row, New York. Phillips, F.W. 1959. Methods Vegetation Study. Henry Hold and Company, Inc., London. Shimwell, D.W. 1971. The Description and Classification of Vegetation. Sidgwick & Jackson,

London.

Page 32: app.dnp.go.th › opac › multimedia › research › C00674 › C00674-2.pdf ลักษณะของส ังคมพืชในพื้นที่ ...(3) สารบ ญภาพ

26

ภาคผนวก

Page 33: app.dnp.go.th › opac › multimedia › research › C00674 › C00674-2.pdf ลักษณะของส ังคมพืชในพื้นที่ ...(3) สารบ ญภาพ

27

ชื่อทั่วไป ชื่อพฤกษศาสตร ชื่อวงศ MDF DEF DDF- Anacardia sp. x

- Gluta sp. x

กุก Lannea coromandelica (Houtt.) Merr. x x

- Mangifera sp. x

รักข้ีหมู Semecarpus albescens Kurz x x

มะกัก Spondias bipinnata Airy Shaw & Forman x x

มะกอก Spondias pinnata (L.f.) Kurz x x

- ANACARDIACEAE (unidentified to genus sp.) x

นมวัว Anomianthus dulcis (Dunn) J.Sinclair x

สะแกแสง Cananga latifolia (Hook.f. & Thomson) Finet & Gagnep x x x

ปอข้ีแฮด Goniothalamus laoticus (Finet & Gagnep.) Ban x

กะเจียน Polyalthia cerasoides (Roxb.) Benth. ex Bedd. x x

- Polyalthia sp. x

ยางโอน Polyalthia viridis Craib x

กลวยนอย Xylopia vielana Pierre x

- ANNONACEAE (unidentified to genus sp.) x x

สัตบรรณ Alstonia scholaris (L.) R.Br. x

โมกหลวง Holarrhena pubescens Wall. ex G.Don x x

โมกมัน Wrightia arborea (Dennst.) Mabb. x x

- APOCYNACEAE (unidentified to genus sp.) x x

เนาใน Ilex umbellulata Loes. AQUIFOLIACEAE x x

แคหางคาง Fernandoa adenophylla (Wall. ex G.Don) Steenis x x x

เพกา Oroxylum indicum (L.) Kurz x x x

แคหิน Stereospermum colias (Buch.–Ham. ex Dillwyn) Mabb. x

แคทราย Stereospermum neuranthum Kurz x

- Stererospermum sp. x x

- BIGNONIACEAE (unidentified to genus sp.) x x x

ง้ิวปา Bombax anceps Pierre var. anceps BOMBACACEAE x x x

มะกอกเกล้ือน Canarium subulatum Guillaumin x x x

ตะคร้ํา Garuga pinnata Roxb. x x

มะแฟน Protium serratum Engl. x x

- BURSERACEAE (unidentified to genus sp.) x

สองสลึง Lophopetalum duperreanum Pierre CELASTRACEAE x

มะพอก Parinari anamense Hance CHRYSOBALANACEAE x x x

ตะเคียนหนู Anogeissus acuminata (Roxb. ex DC.) Guill. & Perr. var.

lanceolata C.B.Clarkex x

สมอพิเภก Terminalia bellirica (Gaertn.) Roxb. x x x

ตารางผนวกที่ 1 พรรณไมในสังคมพืช ในพื้นที่สถานีวิจัยพืชสมุนไพรและเคร่ืองเทศ

จังหวัดหนองคาย

COMBRETACEAE

BURSERACEAE

ANACARDIACEAE

ANNONACEAE

APOCYNACEAE

BIGNONIACEAE

Page 34: app.dnp.go.th › opac › multimedia › research › C00674 › C00674-2.pdf ลักษณะของส ังคมพืชในพื้นที่ ...(3) สารบ ญภาพ

28

ชื่อทั่วไป ชื่อพฤกษศาสตร ชื่อวงศ MDF DEF DDFมะเกลือเลือด Terminalia mucronata Craib & Hutch. x x x

- COMBRETACEAE (unidentified to genus sp.) x

- CONNARACEAE (unidentified to genus sp.) CONNARACEAE x x

กระทงลอย Crypteronia paniculata Blume CRYPTERONIACEAE x

สานหิ่ง Dillenia auria var. trochocarpella Hoogl. x

สานใบใหญ Dillenia grandifolia Wall. ex Hook.f. & Thomson x

สานใหญ Dillenia obovata (Blume) Hoogland x

สานใบเล็ก Dillenia ovata Wall. ex Hook.f. & Thomson x x

สาน Dillenia sp. x x x

กะบาก Anisoptera costata Korth. x x x

ยางปาย Dipterocarpus costatus C.F.Gaertn. x

เหียง Dipterocarpus obtusifolius Teijsm. ex Miq. x

ยางแดง Dipterocarpus turbinatus C.F.Gaertn. x x

- Dipterocarpus sp. x

พะยอม Shorea roxburghii G.Don x x x

รัง Shorea siamensis Miq. x x x

ตะโกพนม Diospyros castanea Fletcher x x

ตับเตาตน Diospyros ehretioides Wall. ex G.Don x x

ตานดํา Diospyros montana Roxb. x

พญารากดํา Diospyros variegata Kurz x x

ดําตะโก Diospyros wallichii King & Gamble x

- Diospyros sp.1 x x

- Diospyros sp.2 x

กาลน Elaeocarpus floribundus Blume ELAEOCARPACEAE x

เมาสรอย Antidesma acidum Retz. x x x

มะเมาขน Antidesma montanum Blume x

มะเมาสาย Antidesma sootepense Craib x

- Antidesma sp. x

เหมือดดูด Aporosa duthieana King ex Pax & K.Hoffm. x

นวลเสี้ยน Aporosa octandra (Buch.–Ham ex D.Don) Vickery var.

octandrax

เหมือดตน Aporosa serrata Gagnep. x

เหมือดโลด Aporosa villosa (Lindl.) Baill. x x x

- Aporosa sp. x

มะไฟ Baccaurea ramiflora Lour. x

เติม Bischofia javensis Blume x

เต็งหนาม Bridelia retusa (L.) A.Juss. x x x

EUPHORBIACEAE

EBENACEAE

COMBRETACEAE

ตารางผนวกที่ 1 (ตอ)

DILLENIACEAE

DIPTEROCARPACEAE

Page 35: app.dnp.go.th › opac › multimedia › research › C00674 › C00674-2.pdf ลักษณะของส ังคมพืชในพื้นที่ ...(3) สารบ ญภาพ

29

ชื่อทั่วไป ชื่อพฤกษศาสตร ชื่อวงศ MDF DEF DDF- Bridelia sp . x

เปลานอย Croton sp. 1 x x x

- Croton sp. 2 x x

ไคร Glochidion daltonii (Mull.Arg.) Kurz x

มันปลา Glochidion sphaerogynum (Mull.Arg.) Kurz x

- Glochidion sp. x

คําแสด Mallotus philippensis Mull.Arg. x x

มะขามปอม Phyllanthus emblica L. x x x

ตาตุมบก Sapium insigne Benth. x

ขันทองพยาบาท Suregada multiflorum (A.Juss.) Baill. x

- EUPHORBIACEAE (unidentified to genus sp.) x

กอหยุม Castanopsis argyrophylla King ex Hook.f. x x

กอนอย Lithocarpus microspermus A.Camus x

กอนก Lithocarpus polystachyus (A.DC.) Rehder x

- Lithocarpus sp. x

- Quercus guangtriensis x

- FAGACEAE (unidentified to genus sp.) x x

ชุมแสงแดง Homalium grandiflorum Benth. FLACOURTIACEAE x

ต้ิวเกล้ียง Cratoxylum cochinchinense (Lour.) Blume x x

ต้ิวขน Cratoxylum formosum (Jack) Dyer subsp. pruniflorum

(Kurz) Gogelx x x

สมกุงใหญ Garcinia lanessanii Pierre x

- Garcinia sp. x

กระบก Irvingia malayana Oliv. ex A.W.Benn. IRVINGIACEAE x x x

ฮอยจั่น Engelhardtia serrata Blume JUGLANDACEAE x x

ชาแปน Callicarpa arborea Roxb. x

ผาเส้ียน Vitex canescens Kurz x x x

หมากเล็กหมากนอยVitex gamosepala Griff. x x

กาสามปก Vitex peduncularis Wall. ex Schauer x x x

ตีนนก Vitex pinnata L. x x x

ฝหมอบ Beilschmiedia fagifolia Nees x x

หนวยนกงุม Beilschmiedia gammieana King ex Hook.f. x

- Cinnamomum sp. x

ตะไครตน Litsea cubeba (Lour.) Pers. x

หมีเหม็น Litsea glutinosa (Lour.) C.B.Rob. x x x

กะทังใบใหญ Litsea grandis (Wall. ex Nees) Hook.f. x

- Litsea sp. x

ตารางผนวกที่ 1 (ตอ)

EUPHORBIACEAE

LAURACEAE

FAGACEAE

GUTTIFERAE

LABIATAE

Page 36: app.dnp.go.th › opac › multimedia › research › C00674 › C00674-2.pdf ลักษณะของส ังคมพืชในพื้นที่ ...(3) สารบ ญภาพ

29

MDF DEF DDF- Bridelia sp . x

Croton sp. 1 x x x- Croton sp. 2 x x

Glochidion daltonii (Mull.Arg.) Kurz xGlochidion sphaerogynum (Mull.Arg.) Kurz x

- Glochidion sp. xMallotus philippensis Mull.Arg. x xPhyllanthus emblica L. x x xSapium insigne Benth. xSuregada multiflorum (A.Juss.) Baill. x

- EUPHORBIACEAE (unidentified to genus sp.) xCastanopsis argyrophylla King ex Hook.f. x xLithocarpus microspermus A.Camus xLithocarpus polystachyus (A.DC.) Rehder x

- Lithocarpus sp. x- Quercus guangtriensis x- FAGACEAE (unidentified to genus sp.) x x

Homalium grandiflorum Benth. FLACOURTIACEAE xCratoxylum cochinchinense (Lour.) Blume x xCratoxylum formosum (Jack) Dyer subsp. pruniflorum(Kurz) Gogel

x x x

Garcinia lanessanii Pierre x- Garcinia sp. x

Irvingia malayana Oliv. ex A.W.Benn. IRVINGIACEAE x x xEngelhardtia serrata Blume JUGLANDACEAE x xCallicarpa arborea Roxb. xVitex canescens Kurz x x xVitex gamosepala Griff. x xVitex peduncularis Wall. ex Schauer x x xVitex pinnata L. x x xBeilschmiedia fagifolia Nees x xBeilschmiedia gammieana King ex Hook.f. x

- Cinnamomum sp. xLitsea cubeba (Lour.) Pers. xLitsea glutinosa (Lour.) C.B.Rob. x x xLitsea grandis (Wall. ex Nees) Hook.f. x

- Litsea sp. x

1 ( )

EUPHORBIACEAE

LAURACEAE

FAGACEAE

GUTTIFERAE

LABIATAE

Page 37: app.dnp.go.th › opac › multimedia › research › C00674 › C00674-2.pdf ลักษณะของส ังคมพืชในพื้นที่ ...(3) สารบ ญภาพ

30

ชื่อทั่วไป ชื่อพฤกษศาสตร ชื่อวงศ MDF DEF DDF- Persea declinata (Bl.) Korb x

แหลบุก Phoebe declinata Nees x

แหลบุก Phoebe lanceolata (Wall. ex Nees) Nees x

- LAURACEAE (unidentified to genus sp.) x x

กระโดน Careya sphaerica Roxb. LECYTHIDACEAE x x

มะคาโมง Afzelia xylocarpa (Kurz) Craib x

- Bauhinia sp. x

ราชพฤกษ Cassia fistula L. x x

อะราง Peltophorum dasyrachis (Miq.) Kurz x x

มะคาแต Sindora siamensis Teijsm. & Miq. x

- LEGUMINOSAE–CAESALPINIOIDEAE

(unidentified to genus sp.)x

ปนแถ Albizia lucidior (Steud.) I.C.Nielsen x

กางข้ีมอด Albizia odoratissima (L.f.) Benth. x x x

หนามหัน Acacia comosa Gagnep. x x

- Acacia sp. x

แดง Xylia xylocarpa (Roxb.) Taub. var. xylocarpa x

กวาวเครือ Butea superba Roxb. x x x

กาแซะ Callerya atropurpurea (Wall.) A.M.Schot x

เก็ดแดง Dalbergia dongnaiensis Pierre x x

กระพี้นางนวล Dalbergia cana Graham ex Kurz x

พะยูง Dalbergia cochinchinensis Pierre x x x

กระพี้เขาควาย Dalbergia cultrata Graham ex Benth. x x x

กระพี้เครือ Dalbergia foliacea Wall. x

เก็ดขาว Dalbergia glomeriflora Kurz x x x

ฉนวน Dalbergia nigrescens Kurz x x x

ชิงชัน Dalbergia oliveri Gamble x x

- Dalbergia sp. x x x

ทองหลางปา Erythrina subumbrans Merr. x x x

กระพี้จั่น Millettia brandisiana Kurz x x x

กระเจาะ Millettia leucantha Kurz var. leucantha x

ประดู Pterocarpus macrocarpus Kurz x x x

- LEGUMINOSAE-PAPILIONOIDEAE

(unidentified to genus sp.)x x

ตะแบกเปลือกบาง Lagerstroemia duperreana Pierre ex Gagnep. x x x

อินทรชิต Lagerstroemia loudonii Teijsm. & Binn. x

อินทนิลบก Lagerstroemia macrocarpa Wall. x x x

เสลาขาว Lagerstroemia tomentosa C.Presl x

LYTHRACEAE

LEGUMINOSAE –

CAESALPINIOIDEAE

LEGUMINOSAE –

MIMOSOIDEAE

ตารางผนวกที่ 1 (ตอ)

LEGUMINOSAE –

PAPILIONOIDEAE

LAURACEAE

Page 38: app.dnp.go.th › opac › multimedia › research › C00674 › C00674-2.pdf ลักษณะของส ังคมพืชในพื้นที่ ...(3) สารบ ญภาพ

31

ชื่อทั่วไป ชื่อพฤกษศาสตร ชื่อวงศ MDF DEF DDFเสลาเปลือกบาง Lagerstroemia venusta Wall. x x

เสลาเปลือกหนา Lagerstroemia villosa Wall. ex Kurz x x

- Lagerstroemia sp. x x x

จุมป Michelia baillonii (Pierre) Finet & Gagnep. x

- Michelia sp. x

งาชาง Hibiscus grewiifolius Hassk. MALVACEAE x

- Memecylon sp. MELASTOMATACEAE x

ยมหิน Chukrasia tabularis A.Juss. x

ยมหอม Toona ciliata M.Roem. x x

กัดล้ิน Walsura trichostemon Miq. x

ข้ีอายดง Walsura villosa Wall. x

- Artocarpus chama Buch.-Ham. x

มะหาด Artocarpus lacucha Roxb. x

มะหาดไทย Artocarpus thailandicus C.C. Berg. x

- Artocarpus sp. x x

มะเดื่อดิน Ficus chartacea Wall. ex King var. torulosa Wall. x x

มะเดื่อปลอง Ficus hispida L.f. x x

- Ficus sp. x

ขาวสารหลวง Maesa ramentacea (Roxb.) A.DC. MYRSINACEAE x

หวาหิน Syzygium claviflorum (Roxb.) A.M.Cowan & Cowan x

หวาข้ีนก Syzygium ripicola (Craib) Merr. & L.M.Perry x

- Syzygium sp. x

ตาลเหลือง Ochna integerrima (Lour.) Merr. OCHNACEAE x

คอเขียว Livistonia speciosa Kurz PALMAE x x

- Catunaregam sp. x

- Fagerlindia sp. x x x

กระมอบ Gardenia obtusifolia Roxb. ex Kurz x x

คํามอกหลวง Gardenia sootepensis Hutch. x x x

- Gardenia sp. x

ขวาว Haldina cordifolia (Roxb.) Ridsdale x x x

สมกบ Hymenodictyon orixense (Roxb.) Mabb. x x

กระทุมนา Mitragyna diversifolia (Wall. ex G.Don) Havil. x

กระทุมเนิน Mitragyna rotundifolia (Roxb.) Kuntze x

ยอปา Morinda tomentosa Heyne ex Roth x

- Pavetta sp. x

สะแลงหอมไก Rothmannia sootepensis (Craib) Bremek. x

แขงกวาง Wendlandia tinctoria (Roxb.) DC. x x

- RUBIACEAE (unidentified to genus sp.) x x

MYRTACEAE

RUBIACEAE

MAGNOLIACEAE

ตารางผนวกที่ 1 (ตอ)

MELIACEAE

MORACEAE

LYTHRACEAE

Page 39: app.dnp.go.th › opac › multimedia › research › C00674 › C00674-2.pdf ลักษณะของส ังคมพืชในพื้นที่ ...(3) สารบ ญภาพ

32

ชื่อทั่วไป ชื่อพฤกษศาสตร ชื่อวงศ MDF DEF DDFมะหวด Lepisanthes rubiginosa (Roxb.) Leenh. x

พะบาง Mischocarpus pentapetalus (Roxb.) Radlk. x x

คอแลน Nephelium hypoleucum Kurz x

ตะครอ Schleichera oleosa (Lour.) Oken x x x

ข้ีหนอน Zollingeria dongnaiensis Pierre x x

คนทา Harrisonia perforata (Blanco) Merr. SIMAROUBACEAE x

ลําพูปา Duabanga grandiflora (Roxb. ex DC.) Walp. SONNERATIACEAE x

ปอเลียงฝาย Eriolaena candollei Wall. x x x

ปอแดง Sterculia guttata Roxb. x x

ปอตูบหูชาง Sterculia villosa Roxb. x x x

- STERCULIACEAE (unidentified to genus sp.) x x x

กํายาน Styrax benzoides Craib STYRACACEAE x x

เหมือดหลวง Symplocos cochinchinensis (Lour.) S.Moore subsp.

laurina (Retz.) Noot. x

เหมือดหอม Symplocos racemosa Roxb. x

- Symplocos sp. x

มังตาน Schima wallichii (DC.) Korth. THEACEAE x x

เลียง Berrya mollis Wall. ex Kurz x x

ยาบใบยาว Colona flagrocarpa (C.B.Clarke) Craib x x x

ปอแกนเทา Grewia eriocarpa Juss. x x

- Grewia sp. x

ลาย Microcos paniculata L. x x

พลับพลา Microcos tomentosa Sm. x

- TILIACEAE (unidentified to genus sp.) x x

- VERBENACEAE (unidentified to genus sp.) VERBENACEAE x

หมายเหตุ

MDF คือ Mixed Deciduous Forest (ปาเบญจพรรณ)

DEF คือ Dry Evergreen Forest (ปาดิบแลง)

DDF คือ Dry Dipterocarp Forest (ปาเต็งรัง)

TILIACEAE

SYMPLOCACEAE

ตารางผนวกที่ 1 (ตอ)

SAPINDACEAE

STERCULIACEAE