การนําทรัพย สินของ...

48
การนําทรัพยสินของกลางตามกฎหมายวาดวยการปาไมที่ฝากไว เคลื่อนยายออกจากบริเวณที่รับฝากและนําไปแสวงหาประโยชนโดยมิชอบ พุฒิพงษ อบสุวรรณ นิติกร ๖ว กลุมงานสืบสวนสอบสวน กองนิติการ กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช .. ๒๕๔๙

Upload: others

Post on 03-Mar-2020

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: การนําทรัพย สินของ ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00078/C00078-2.pdf · ความอาญา การจัดการของกลางในคด

การนําทรัพยสินของกลางตามกฎหมายวาดวยการปาไมที่ฝากไว เคลื่อนยายออกจากบริเวณที่รับฝากและนําไปแสวงหาประโยชนโดยมิชอบ

พุฒิพงษ อบสุวรรณ นิติกร ๖ว

กลุมงานสบืสวนสอบสวน กองนิติการ กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช

พ.ศ. ๒๕๔๙

Page 2: การนําทรัพย สินของ ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00078/C00078-2.pdf · ความอาญา การจัดการของกลางในคด

การนําทรัพยสินของกลางตามกฎหมายวาดวยการปาไมที่ฝากไว เคลื่อนยายออกจากบริเวณที่รับฝากและนําไปแสวงหาประโยชนโดยมิชอบ

พุฒิพงษ อบสุวรรณ นิติกร ๖ว

กลุมงานสบืสวนสอบสวน กองนิติการ กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช

พ.ศ. ๒๕๔๙

Page 3: การนําทรัพย สินของ ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00078/C00078-2.pdf · ความอาญา การจัดการของกลางในคด

(๑)

การนําทรัพยสินของกลางตามกฎหมายวาดวยการปาไมท่ีฝากไวเคล่ือนยายออกจากบริเวณ ท่ีรับฝากและนําไปแสวงหาประโยชนโดยมิชอบ

นายพฒุิพงษ อบสุวรรณ

บทคัดยอ

เมื่อวันที่ ๔ กรกฎาคม ๒๕๔๕ พนักงานเจาหนาที่จากสํานักงานปาไมจังหวัดเชียงใหม (ในขณะนั้น)รวมกับเจาหนาที่จากสวนปองกันและปราบปรามที่ ๓ (ภาคเหนือ)ไดเขาดําเนินการตรวจสอบหางหุนสวนจํากัดเชียงใหม ที.ดี. หมูที่ ๖ ตําบลสบเตี๊ยะ อําเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม พบการกระทําความผดิตามกฎหมายเกี่ยวกับการปาไม เจาหนาที่จึงไดรวมกันทําการจับกุมและแจงขอกลาวหาใหนายนพดล ตาวงค ผูกระทําความผิดกฎหมายวาดวยการปาไมทราบ และควบคุมตัว ผูกระทําความผิดสงพนักงานสอบสวนทองที่เกิดเหตุ สวนของกลางที่ใชในการกระทําความผิดได ทําบันทึกเปนเอกสารหลักฐานฝากไวกับ นายสมคิด ประมังคะตา ตอมาเมื่อวันที่ ๗ ตุลาคม ๒๕๔๕ พนักงานเจาหนาที่จากสํานักงานปาไมจังหวัดเชียงใหม(ในขณะนั้น)รวมกับเจาหนาที่จากสวนปองกันและปราบปรามที่ ๓ (ภาคเหนือ)ไดตรวจสอบพื้นที่ดังกลาวอีกครั้งหนึ่ง ปรากฎวาไดมีการกระทําความผิดซ้ําในบริเวณดังกลาวขึ้นอีก คณะเจาหนาที่จึงไดทําการจับกุมและแจงขอกลาวหาใหนายรุง อวมคุม กับพวกรวม ๕ คน ซ่ึงเปนผูกระทําความผิดทราบโดยบุคคลดังกลาวยอมรับสารภาพวาไดกระทําความผิดตามขอกลาวหาจริง สงพนักงานสอบสวนแหงทองที่เกิดเหตุสถานีตํารวจภูธรอําเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช เห็นวา พนักงานเจาหนาที่ที่จับกุมเปนเจาหนาที่ตามความหมายของมาตรา ๔ และเปนการกระทําในการปฏิบัติหนาที่ตามความหมายของมาตรา ๑๐ แหงพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ สําหรับของกลางในคดีความผิดดังกลาว เห็นวา การทําบันทึกฝากของกลางที่ใชในการกระทําความผิด เจาหนาที่ ที่เกี่ยวของไมปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงเกษตรและสหกรณ วาดวยการปฏิบัติเกี่ยวกับของกลางในคดีความผิดเกี่ยวกับการปาไม พ.ศ. ๒๕๓๓ ลงวันที่ ๒๐ สิงหาคม ๒๕๓๓ และการที่พนักงานเจาหนาที่ลงนามในฐานะผูฝาก ของกลางในบันทึกฝากทรัพยของกลางดังกลาวไมปฎิบัติตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ จึงทําใหบันทึกฝากทรัพยมีผลผูกพันเฉพาะผูฝากและผูรับฝากตามมาตรา ๖๕๗ แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยเทานั้น โดยไมมีผลผูกพันกับทางราชการกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช แตอยางใด เมื่อพนักงานอัยการเจาของสํานวน มีคําสั่งใหพนักงานสอบสวนจัดการของกลางตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา ๘๕ โดยเห็นวาเปนทรัพยที่ไมใชทรัพยที่ใชในการกระทําความผิด ของกลางในคดีความผิดเกี่ยวกับกฎหมายวาดวยการปาไมขางตน จึงเปนทรัพยสิน

Page 4: การนําทรัพย สินของ ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00078/C00078-2.pdf · ความอาญา การจัดการของกลางในคด

(๒) ของหางหุนสวนจํากัดเชียงใหม ที.ดี. ที่เจาของทรัพยสินมีสิทธิที่จะติดตามเอาทรัพยคืน เขายึดถือครอบครองตลอดจนดูแลรักษาทรัพยสินของตนไดตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย และเมื่อของกลางยังไมใชทรัพยที่ใชในการกระทําความผิดและยังไมไดตกเปนของแผนดิน ดังนั้น จึงไมมีทรัพยสินของทางราชการเสียหายแตอยางใด คําหลัก การแตงตั้งคณะกรรมการสอบขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ อํานาจสืบสวนของ

พนักงานเจาหนาที่ การเขียนบันทึกการจับกุม การจัดการของกลางในคดีความผิดวาดวยการปาไม การรวบรวมพยานหลักฐาน อํานาจการสอบสวนของพนักงานสอบสวน อํานาจของพนักงานอัยการในการสั่งสํานวนคดีตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา การจัดการของกลางในคดีเมื่อพนักงานอัยการมีคําสั่งแลว

Page 5: การนําทรัพย สินของ ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00078/C00078-2.pdf · ความอาญา การจัดการของกลางในคด

(๓)

คํานํา

การนําทรัพยสินของกลางตามกฎหมายวาดวยการปาไมทีฝ่ากไวเคลื่อนยายออกจากบริเวณ ที่รับฝากและนําไปแสวงหาประโยชนโดยมิชอบ ผูเขียนไดศึกษาคนควาเริ่มแตการแตงตั้งคณะกรรมการสอบสวนขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ตามพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ.๒๕๓๙ การเขียนบันทึกการจับกุม การรวบรวมพยานหลักฐาน อํานาจการสืบสวนสอบสวนของพนักงานสอบสวน อํานาจของพนักงานอัยการในการสั่งสํานวนคดีตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา การจัดการของกลางในคดีความผิดวาดวยการปาไม การจัดการของกลางเมื่อพนักงานอัยการสั่งเด็ดขาดไมฟองตามระเบียบกระทรวงเกษตรและสหกรณ วาดวยการปฏิบัติเกี่ยวกับของกลางในคดีความผิดเกี่ยวกับการปาไม พ.ศ. ๒๕๓๓ ฉบับลงวันที่ ๒๐ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๓๓ โดยเฉพาะอยางยิ่ง การรวบรวมพยานหลักฐานถือวาเปนเรื่องที่สําคัญ หากพนักงานเจาหนาที่ไดกระทําโดยความรัดกุม รอบคอบ และชอบดวยกฎหมายแลวก็จะทําใหผูกระทําความผิดไดรับการถูกลงโทษตามกฎหมาย แตในทางกลับกันหากเจาหนาที่ผูรวบรวมเอกสารพยานหลักฐานไดกระทําไปโดยขาดความรัดกุมและไมไดศึกษาในเรื่องที่เกี่ยวของใหถองแทและรอบคอบอาจทําใหไมสามารถเอาตัวผูกระทําผิดมาฟองลงโทษได อาจกอความเสียหายตอสังคมสวนรวมอีก แตอยางไรก็ตามพนักงานเจาหนาที่ตองคํานึงไวเสมอวา ผูกระทําความผิดในคดีอาญาตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยใหสันนิษฐานไวกอนวาผูตองหาหรือจําเลยเปนผูบริสุทธิ์ จนกวาจะมีคําพิพากษาอันถึงที่สุดวาผูนั้นไดกระทําความผิด จะปฏิบัติตอบุคคลนั้นเสมือนเปนผูกระทําความผิดมิได ทั้งนี้ ผูขอรับการประเมินไดใชความวิริยะอุตสาหะศึกษาคนควาหลักวิชาการกฎหมายซึ่งมีความยุงยากซับซอน เพื่อประโยชนของทางราชการหรือประชาชนและเพื่อความกาวหนาในการปฏิบัติงานในหนาที่ราชการที่เกี่ยวของตอไป

นายพฒุิพงษ อบสุวรรณ

ผูขอรับการประเมิน

Page 6: การนําทรัพย สินของ ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00078/C00078-2.pdf · ความอาญา การจัดการของกลางในคด

(๔)

สารบัญ หนา

บทคัดยอ (๑) คํานํา (๓) สารบัญ (๔) บทที่ ๑ บทนาํ - ความเปนมา ๑ - การศึกษา ๓ -วัตถุประสงค ๒๐ บทที่ ๒ วิธีการศึกษา - การแตงตั้งคณะกรรมการสอบขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที ่ ๒๑ - การเขียนบันทึกการจับกุม ๒๓

- การรวบรวมพยานหลักฐาน ๒๗ - อํานาจการสืบสวนสอบสวนของพนักงานสอบสวน ๒๘

- อํานาจของพนักงานอยัการในการสั่งสํานวนคดีตามประมวลกฎหมาย วิธีพิจารณาความอาญา ๓๐ - การจัดการของกลางในคดคีวามผิดวาดวยการปาไม ๓๒ -การจัดการของกลางเมื่อพนกังานอัยการสั่งเด็ดขาดไมฟอง ๓๕ บทที่ ๓ ผลและการวเิคราะหผล ๓๗ บทที่ ๔ สรุปผล ๓๘ บรรณานุกรม ๓๙ภาคผนวก ๔๐ - ระเบียบกระทรวงเกษตรและสหกรณ วาดวยการปฏิบัติเกี่ยวกับของกลางในคดี ความรับผิดเกี่ยวกับการปาไม พ.ศ. ๒๕๓๓ ๔๑ - หนังสือกองนิติการ คณะกรรมการสอบสวนขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด ที่ ทส ๐๙๐๓.๓/พิเศษ ๖ ลงวันที่ ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๔๘ ๔๕ - คําสั่งจังหวัดเชียงใหม ที่ ๑๔๖๑/๒๕๔๓ ลงวันที่ ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๔๓ ๖๑ - คําสั่งจังหวัดเชียงใหม ที่ ๑๒๘๑/๒๕๔๔ ลงวันที่ ๒๔ พฤษภาคม ๒๕๔๔ ๖๘ - คําสั่งจังหวัดเชียงใหม ที่ ๒๗๙๕/๒๕๔๔ ลงวันที่ ๑๕ ตุลาคม ๒๕๔๔ ๗๑ - คําสั่งจังหวัดเชียงใหม ที่ ๒๕๔/๒๕๔๕ ลงวันที่ ๒๙ มกราคม ๒๕๔๕ ๗๔

Page 7: การนําทรัพย สินของ ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00078/C00078-2.pdf · ความอาญา การจัดการของกลางในคด

(๕) - คําสั่งกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช ที่ ๑๐๑/๒๕๔๘ ลงวันที่๑๕ ตุลาคม ๒๕๔๔ ๗๖ - หนังสือสถานีตํารวจภูธรอําเภอจอมทอง ที่ ชม ๐๒๒๐/๓๔๖ ลงวันที่ ๒๗ สิงหาคม ๒๕๔๕ ๗๙ - รายงานการสอบสวนของสถานีตํารวจภูธรอําเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม ลงวันที่ ๒๗ สิงหาคม ๒๕๔๕ ๘๐ - หนังสือสํานักงานอัยการจังหวัดเชียงใหม ที่ อส (ชม) ๐๐๓๑/๑๔๐๙๑ ลงวันที่ ๒๔ ตุลาคม ๒๕๔๕ ๘๕ - หนังสือสํานักงานอัยการจังหวัดเชียงใหม ที่ อส (ชม) ๐๐๓๑/๕๕๓๓ ลงวันที่ ๑๓ มิถุนายน ๒๕๔๘ ๘๗ - หนังสือสํานักบริหารงานกลาง กองการเจาหนาที่ (เดิม) ที่ ทส ๐๙๐๒.๓/๑๑๕๒ ลงวันที่ ๔ ตุลาคม ๒๕๔๗ ๙๐ - หนังสือหนวยปองกันรักษาปา ที่ ชม ๑๙ หวยโจ จังหวัดเชียงใหม ที่ ชม ๐๐๑๑.๓๒/๕ ลงวันที่ ๑๖ มกราคม ๒๕๔๖ ๙๕ - รายงานการสอบสวนสถานีตํารวจภูธรอําเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม ลงวันที่ ๘ พฤศจิกายน ๒๕๔๕ ๙๖

Page 8: การนําทรัพย สินของ ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00078/C00078-2.pdf · ความอาญา การจัดการของกลางในคด

บทท่ี ๑ บทนํา

ความเปนมา

เมื่อวันที่ ๔ กรกฎาคม ๒๕๔๕ เวลาประมาณ ๑๔.๓๐ น. พนักงานเจาหนาที่ประจําหนวยปองกนัรักษาปาที่ ชม.๑๙ (หวยโจ) และสาํนักงานปาไมเขตเชยีงใหม (เดิม) ไดเดนิทางไปยังหางหุนสวนจํากดั เชียงใหม ที.ดี. ทองที่หมูที่ ๖ ตําบลสบเตี๊ยะ อําเภอจอมทอง จังหวดัเชยีงใหม เมื่อไปถึงพนักงานเจาหนาที่ไดรวมดําเนินการตรวจสอบบริเวณพื้นทีด่ังกลาว พบวาการกระทําของหางหุนสวนจํากดั เชียงใหม ที.ดี. เปนความผิดตามพระราชบัญญัติปาสงวนแหงชาติ พ.ศ.๒๕๐๗ และพระราชบัญญัติอุทยานแหงชาติ พ.ศ.๒๕๐๔ จึงไดแจงขอกลาวหาใหนายนพดล ตาวงค ผูรับมอบอํานาจจากนายอดุลย เอี่ยมแพร หุนสวนผูจัดการ หางหุนสวนจํากัดเชียงใหม ที.ดี.ทราบ ทําบันทึกการตรวจยดึ/จับกมุ ลงวันที่ ๔ กรกฎาคม ๒๕๔๕ และ นําตัวนายนพดล ตาวงค ผูตองหา พรอมกับรวบรวมเอกสารพยานหลักฐานที่เกี่ยวของทั้งหมดสงพนักงานสอบสวนสถานีตํารวจภูธรอําเภอจอมทอง จังหวัดเชยีงใหมดําเนนิการสืบสวนสอบสวนตามระเบียบและกฎหมายตอไป โดยมอบใหนายสถาพร รอดทุกข เจาพนกังานปาไม ๕ หวัหนาหนวยปองกนัรักษาปาที่ ชม. ๑๙ (หวยโจ) เปนผูไปแจงความกลาวโทษตาม ปจว. ลําดับ ๗ เวลา ๒๐.๐๐ น.คดีที่ ๒๗๙/๒๕๔๕ ยึดทรัพยที ่๑๕๑/๒๕๔๕

ตอมาเมื่อวันที ่๕ กรกฎาคม ๒๕๔๕ เวลาประมาณ ๐๙.๓๐ น. พนกังานเจาหนาทีป่ระจําหนวยปองกนัรักษาปาที่ ชม. ๑๙ (หวยโจ)และพนักงานเจาหนาที่ทีเ่กีย่วของไดเขารวมดําเนินการตรวจสอบพื้นที่ดังกลาวอีกครั้งหนึ่งวามีพื้นที่สวนใดอยูในเขตปาสงวนแหงชาติปาจอมทองและพื้นที่สวนใดอยูในเขตอุทยานแหงชาติออบหลวง และเมื่อเวลาประมาณ ๑๑.๓๐ น. นายสถาพร รอดทุกข ไดทําบันทึกสงมอบ – รับมอบทรัพยที่ยดึจํานวน ๖ รายการ/คัน ไวกับนายสุรัตน นีสูงเนิน (ผูรับมอบ) และทาํบันทึกฝากทรัพยไวกับนายสมคิด ประมังคะตา ผูรับฝากทรัพย ไดแก

๑. รถแบคโฮยี่หอ KOMUTSU รุน PC ๒๐๐ – ๖ หมายเลขเครื่อง C ๑๐๘๘๙ จํานวน ๑ คัน ๒. รถแบคโฮยี่หอ KOMUTSU รุน PC ๒๐๐ – ๖ หมายเลขเครื่อง C ๑๐๙๖๐ จํานวน ๑ คัน ๓. รถแบคโฮยี่หอ KOMUTSU หมายเลขเครื่อง ๖ D ๑๕๗๖๗๓๖๐๒ จํานวน ๑ คัน ๔.รถเจาะกระแทกยีห่อ FURUKAWA หมายเลขเครื่อง ETD ๒๑ – ๘๑๒๔ จํานวน ๑ คัน ๕. รถเจาะกระแทกยีห่อ FURUKAWA หมายเลขเครื่อง HCR ๙ – DS ๕๑๓๓๗๐ จํานวน ๑ คัน ๖.รถเจาะกระแทกยีห่อ FURUKAWA หมายเลขเครื่อง B ๑ – ๗๖๕๐๑๐ จํานวน ๑ คัน

สําหรับกรณีทีน่ายสถาพร รอดทุกข ไดทําเปนหนังสือฝากทรัพยและสงมอบทรัพยตามบันทึกฉบับลงวันที่ ๕ กรกฎาคม ๒๕๔๕ โดยไมไดทําเปนสัญญาจางเฝารักษาตามระเบียบของทางราชการ เนื่องจากนายสถาพร รอดทุกข เห็นวาบริเวณที่รับฝาก ณ บานเลขที่ ๒๑๑/๑ หมู ๖ อําเภอจอมทอง จังหวดัเชียงใหม และเปนที่ตั้งหางหุนสวนจาํกดัเชยีงใหม ที.ดี. เปนสถานที่ที่มคีวามปลอดภยั ประกอบกบั ทรัพยสิน

Page 9: การนําทรัพย สินของ ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00078/C00078-2.pdf · ความอาญา การจัดการของกลางในคด

ดังกลาวอยูในระหวางการดําเนินคดีของพนักงานสอบสวนตามคดีที่ ๒๗๙/๒๕๔๕ และการยึดทรัพยที่ ๑๕๑/๒๕๔๕ นายสถาพร รอดทุกข เห็นวาคงไมมีบุคคลใดกลาที่จะนําทรัพยสินที่ตรวจยึดตามกฎหมายไปแสวงหาผลประโยชนได สวนกรณีที่นายสถาพร รอดทุกข ทําเปนบันทึกการฝากทรัพยนั้นเห็นวา นายสมคิด ประมังคะตา ผูรับฝากเปนบุคคลที่มีหลักแหลงตลอดจนมีหนาที่การงานที่มั่นคงซึ่งหากนายสมคิด ประมังคะตา ไมปฏิบัติตามขอตกลงในบันทึกดังกลาว ก็นาจะดําเนินการตามกฎหมายกับนายสมคิด ประมังคะตา ได อีกทั้งนายสมคิด ประมังคะตา ยังไดปฏิบัติตนชวยเหลือทางราชการ ไมไดเรียกรองคาจางในการรับฝากทรัพยสินดังกลาว ทําใหประหยัดเงินงบประมาณของทางราชการที่ตองใชในการดําเนินการจางเฝารักษาตามระเบียบและในการดําเนินการดังกลาวนี้ นายสถาพร รอดทุกข ยังไดทําบันทึกสงมอบ – รับมอบทรัพยที่ใชในการกระทําความผิดดังกลาวไวกับนายสุรัตน นีสูงเนิน ผูรับมอบดวย ซ่ึงนายสุรัตน นีสูงเนิน ยืนยันวาจะรักษาทรัพยสินที่ยึดไวในที่ปลอดภัยจนกวาคดีจะถึงที่สุดโดยไมติดใจเรียกรองคาเสียหายใด ๆ หากเกิดความเสียหายแกอุปกรณที่ใชในการกระทําความผิดดังกลาวขึ้น

โดยที่ในระหวางที่ทรัพยสินอยูที่ผูรับฝากและผูรับมอบทรัพยนั้น นายสถาพร รอดทุกข และเจาหนาที่ประจําหนวยฯ ไดเขาไปตรวจสอบดูแลทรัพยสินดังกลาวเพื่อใหมีการปฏิบัติตามขอตกลงตามนัยบันทึกฉบับลงวันที่ ๕ กรกฎาคม ๒๕๔๕ เปนระยะ ในขณะที่นายสถาพร รอดทุกข ปฏิบัติงานในหนาที่หัวหนาหนวยปองกันรักษาปาที่ ชม. ๑๙ (หวยโจ) นั้น หนวยฯมีอัตรากําลังของเจาหนาที่ที่มีอยูไมเพียงพอตอการปองกันจับกุมปราบปรามผูกระทําความผิดใหทั่วถึงได เนื่องจากหนวยฯ มีพื้นที่รับผิดชอบ จํานวน ๒ อําเภอ ไดแก อําเภอจอมทองและกิ่งอําเภอดอยหลอ ซ่ึงเปนพื้นที่บริเวณกวาง

คร้ันตอมาเมื่อวันที่ ๗ ตุลาคม ๒๕๔๕ พนักงานเจาหนาที่ประจําหนวยปองกันรักษาปาที่ ชม. ๑๙ (หวยโจ) และพนักงานเจาหนาที่ที่เกี่ยวของไดตรวจสอบพื้นที่เกิดเหตุอีกครั้งหนึ่งทราบวามีการกระทําความผิดเกี่ยวกับกฎหมายปาไมในบริเวณดังกลาวอีก พนักงานเจาหนาที่จึงไดเขารวมกันจับกุมผูกระทําความผิดพระราชบัญญัติปาสงวนแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๐๗ และพระราชบัญญัติอุทยานแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๐๔แจงขอกลาวหาใหนายรุง อวมคุม กับพวกรวม ๕ คน ซ่ึงเปนผูกระทําความผิดรับทราบ โดยบุคคลดังกลาวรับสารภาพวาไดกระทําความผิดตามขอกลาวหาจริง พนักงานเจาหนาที่จึงไดรวมกันทําบันทึกการตรวจยึด/จับกุมและทําบัญชีอุปกรณการกระทําความผิด ลงวันที่ ๗ ตุลาคม ๒๕๔๕ จากนั้นมอบหมายใหนายสถาพร รอดทุกขแจงความกลาวโทษตอพนักงานสอบสวนสถานีตํารวจภูธรอําเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม ดําเนินคดีตามกฏหมายตอไป ตาม ปจว.ลําดับ ๑๐ เวลา ๑๘.๐๐ น.คดีที่ ๔๑๕/๒๕๔๕ ยึดทรัพยที่ ๒๔๓/๒๕๔๕ สําหรับอุปกรณที่ใชในการกระทําความผิด จํานวน ๖ รายการ ๘ ช้ิน/คัน ไดแก

๑.รถแบคโฮยี่หอ KOMUTSU รุน PC ๒๐๐ – ๖ หมายเลขเครื่อง C ๑๐๘๘๙ จํานวน ๑ คัน ๒.รถแบคโฮยีห่อ KOMUTSU รุน PC ๒๐๐ – ๖ หมายเลขเครื่อง C ๑๐๙๖๐ จํานวน ๑ คัน ๓. รถแบคโฮยี่หอ KOMUTSU รุน PC ๒๐๐ – ๖ หมายเลขเครื่อง ๙๔๙๙๒ จํานวน ๑ คัน ๔. รถเจาะกระแทกยี่หอ KOMUTSU จํานวน ๑ คัน

Page 10: การนําทรัพย สินของ ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00078/C00078-2.pdf · ความอาญา การจัดการของกลางในคด

๕. รถบรรทุกสิบลอ ยี่หออีซูซุ หมายเลขทะเบียน ๘๑ – ๕๙๘๒ เชยีงใหม จํานวน ๑ คัน ๖. สายไฟสําหรับจุดระเบิด จาํนวน ๓ มวน. กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช เชื่อวาเกิดจากการกระทําของเจาหนาที่ จึงอาศัย

อํานาจตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยหลักเกณฑการปฏิบัติเกี่ยวกับความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ ขอ ๘ แตงตั้งคณะกรรมการสอบขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด ตามคําสั่งที่ ๑๐๑/๒๕๔๘ ลงวันที่ ๑๙ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๘ เร่ือง กรณีมีการนําทรัพยสินของกลางที่ฝากไวเคลื่อนยายออกจากบริเวณที่รับฝากและนําทรัพยสินของกลางไปแสวงหาผลประโยชน การศึกษา พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาท่ี พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกวา พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป มาตรา ๓ บรรดากฎหมาย กฎ และขอบังคับใด ๆ ในสวนที่มีบัญญัติไวแลวในพระราชบัญญัตินี้ หรือซ่ึงขัดหรือแยงกับบทแหงพระราชบัญญัตินี้ ใหใชพระราชบัญญัตินี้แทน มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี้ เจาหนาที่ หมายความวา ขาราชการ พนักงาน ลูกจาง หรือผูปฏิบัติงานประเภทอื่น ไมวาจะเปนการแตงตั้งในฐานะเปนกรรมการหรือฐานะอื่นใด หนวยงานของรัฐ หมายความวา กระทรวง ทบวง กรม หรือสวนราชการที่เรียกชื่ออยางอื่นและมฐีานะเปนกรม ราชการสวนภูมิภาค ราชการสวนทอง ถ่ิน และรัฐวิสาหกิจที่ตั้ งขึ้นโดยพระราชบัญญัติหรือพระราชกฤษฎีกา และใหหมายความรวมถึงหนวยงานอ่ืนของรัฐที่มีพระราชกฤษฎีกากําหนดใหเปนหนวยงานของรัฐตามพระราชบัญญัตินี้ดวย มาตรา ๕ หนวยงานของรัฐตองรับผิดตอผูเสียหายในผลแหงละเมิดที่เจาหนาที่ของตนไดกระทําในการปฏิบัติหนาที่ ในกรณีนี้ผูเสียหายอาจฟองหนวยงานของรัฐดังกลาวไดโดยตรง แตจะฟองเจาหนาที่ไมได ถาการละเมิดเกิดจากเจาหนาที่ซ่ึงไมไดสังกัดหนวยงานของรัฐแหงใดใหถือวากระทรวงการคลังเปนหนวยงานของรัฐที่ตองรับผิดตามวรรคหนึ่ง มาตรา ๖ ถาการกระทําละเมิดของเจาหนาที่มิใชการกระทําในการปฏิบัติหนาที่ เจาหนาที่ตองรับผิดในการนั้นเปนการเฉพาะตัว ในกรณีนี้ผูเสียหายอาจฟองเจาหนาที่ไดโดยตรง แตจะฟองหนวยงานของรัฐไมได

Page 11: การนําทรัพย สินของ ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00078/C00078-2.pdf · ความอาญา การจัดการของกลางในคด

๔ มาตรา ๗ ในคดีที่ผูเสียหายฟองหนวยงานของรัฐ ถาหนวยงานของรัฐเห็นวาเปนเรื่องที่เจาหนาทีต่องรับผิดหรือตองรวมรับผิด หรือในคดีที่ผูเสียหายฟองเจาหนาที่ถาเจาหนาทีเ่หน็วาเปนเรื่องที่หนวยงานของรัฐตองรับผิดหรือตองรวมรับผิด หนวยงานของรัฐหรือเจาหนาทีด่งักลาวมีสิทธิขอใหศาลที่พิจารณาคดนีัน้อยูเรียกเจาหนาที่หรือหนวยงานของรัฐ แลวแตกรณี เขามาเปนคูความในคด ี ถาศาลพิพากษายกฟองเพราะเหตุที่หนวยงานของรัฐหรือเจาหนาที่ที่ถูกฟองมิใชผูตองรับผิด ใหขยายอายุความฟองรองผูที่ตองรับผิดซึ่งมิไดถูกเรียกเขามาในคดีออกไปถึงหกเดือนนับแตวันที่คําพิพากษานั้นถึงที่สุด มาตรา ๘ ในกรณีทีห่นวยงานของรัฐตองรับผิดใชคาสินไหมทดแทนแกผูเสียหายเพื่อการละเมิดของเจาหนาที่ใหหนวยงานของรัฐมสิีทธิเรียกใหเจาหนาที่ผูทําละเมิดชดใชคาสนิไหมทดแทนดังกลาวแกหนวยงานของรัฐไดถาเจาหนาที่ไดกระทําการนั้นไปดวยความจงใจหรือประมาทเลินเลออยางรายแรง สิทธิเรียกใหชดใชคาสินไหมทดแทนตามวรรคหนึ่งจะมีไดเพียงใดใหคํานึงถึงระดับความรายแรงแหงการกระทําและความเปนธรรมในแตละกรณีเปนเกณฑโดยมิตองใหใชเต็มจํานวนของความเสียหายก็ได ถาการละเมิดเกิดจากความผิดหรือความบกพรองของหนวยงานของรัฐหรือระบบการดําเนินงานสวนรวม ใหหักสวนแหงความรับผิดดังกลาวออกดวย ในกรณีที่การละเมิดเกดิจากเจาหนาทีห่ลายคน มิใหนําหลักเรื่องลูกหนี้รวมมาใชบังคับและเจาหนาทีแ่ตละคนตองรับผิดใชคาสินไหมทดแทนเฉพาะสวนของตนเทานั้น มาตรา ๙ ถาหนวยงานของรัฐหรือเจาหนาที่ไดใชคาสินไหมทดแทนแกผูเสียหาย สิทธิที่จะเรียกใหอีกฝายหนึ่งชดใชคาสินไหมทดแทนแกตนใหมีกาํหนดอายุความหนึ่งปนับแตวันที่หนวยงานของรัฐหรือเจาหนาทีไ่ดใชคาสินไหมทดแทนนัน้แกผูเสียหาย มาตรา ๑๐ ในกรณีที่เจาหนาที่เปนผูกระทําละเมิดตอหนวยงานของรัฐไมวาจะเปนหนวยงานของรัฐที่ผูนั้นอยูในสังกัดหรือไม ถาเปนการกระทําในการปฏิบัติหนาที่การเรียกรองคาสินไหมทดแทนจากเจาหนาที่ใหนําบทบัญญัติมาตรา ๘ มาใชบังคับโดยอนุโลม แตถามิใชการกระทําในการปฏิบัติหนาที่ใหบังคับตามบทบัญญัติแหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย สิทธิเรียกรองคาสินไหมทดแทนจากเจาหนาที่ทั้งสองประการตามวรรคหนึ่ง ใหมีกําหนดอายุความสองปนับแตวันที่หนวยงานของรัฐรูถึงการละเมิดและรูตัวเจาหนาที่ ผูจะพึงตองใชคาสินไหมทดแทน และกรณีที่หนวยงานของรัฐเห็นวาเจาหนาที่ผูนั้นไมตองรับผิด แตกระทรวงการคลังตรวจสอบแลวเห็นวาตองรับผิด ใหสิทธิเรียกรองคาสินไหมทดแทนนั้นมีกําหนดอายุความหนึ่งปนับแตวันที่หนวยงานของรัฐมีคําสั่งตามความเห็นของกระทรวงการคลัง มาตรา ๑๑ ในกรณีที่ผูเสียหายเหน็วา หนวยงานของรัฐตองรับผิดตามมาตรา ๕ ผูเสียหายจะยืน่คําขอตอหนวยงานของรัฐใหพิจารณาชดใชคาสินไหมทดแทนสําหรับความเสียหายที่เกิดแกตนก็ได ในการนีห้นวยงานของรัฐตองออกใบรับคําขอใหไวเปนหลักฐานและพิจารณาคําขอนั้นโดยไมชักชา เมื่อ

Page 12: การนําทรัพย สินของ ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00078/C00078-2.pdf · ความอาญา การจัดการของกลางในคด

หนวยงานของรัฐมีคําสั่งเชนใดแลวหากผูเสียหายยังไมพอใจในผลการวินิจฉัยของหนวยงานของรัฐก็ใหมีสิทธิรองทุกขตอคณะกรรมการวินิจฉัยรองทุกขตามกฎหมายวาดวยคณะกรรมการกฤษฎีกาไดภายในเกาสิบวันนับแตวันที่ตนไดรับแจงผลการวินิจฉัย ใหหนวยงานของรัฐพิจารณาคําขอที่ไดรับตามวรรคหนึ่งใหแลวเสร็จภายในหนึ่งรอยแปดสิบวัน หากเรื่องใดไมอาจพิจารณาไดทันในกําหนดนั้นจะตองรายงานปญหาและอุปสรรคใหรัฐมนตรีเจาสังกัดหรือกํากับหรือควบคุมดูแลหนวยงานของรัฐแหงนั้นทราบและขออนุมัติขยายระยะเวลาออกไปได แตรัฐมนตรีดังกลาวจะพิจารณาอนุมัติใหขยายระยะเวลาใหอีกไดไมเกินหนึ่งรอยแปดสิบวัน มาตรา ๑๒ ในกรณีที่เจาหนาที่ตองชดใชคาสินไหมทดแทนที่หนวยงานของรัฐไดใชใหแกผูเสียหายตามมาตรา ๘ หรือในกรณีที่เจาหนาที่ตองใชคาสินไหมทดแทนเนื่องจากเจาหนาที่ผูนั้นไดกระทําละเมิดตอหนวยงานของรัฐตามมาตรา ๑๐ ประกอบกับมาตรา ๘ ใหหนวยงานของรัฐที่เสียหายมีอํานาจออกคําสั่งเรียกใหเจาหนาที่ผูนั้นชําระเงินดังกลาวภายในเวลาที่กําหนด มาตรา ๑๓ ใหคณะรัฐมนตรีจัดใหมีระเบียบเพื่อใหเจาหนาที่ซ่ึงตองรับผิดตามมาตรา ๘ และมาตรา ๑๐ สามารถผอนชําระเงินที่จะตองรับผิดนั้นไดโดยคํานึงถึงรายได ฐานะ ครอบครัวและความรับผิดชอบ และพฤติการณแหงกรณีประกอบดวย มาตรา ๑๔ เมื่อไดมีการจัดตั้งศาลปกครองขึ้นแลว สิทธิรองทุกขตอคณะกรรมการวินิจฉัยรองทุกขตามมาตรา ๑๑ ใหถือวาเปนสิทธิฟองคดีตอศาลปกครอง มาตรา ๑๕ ใหนายกรัฐมนตรีรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้

ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยหลักเกณฑการปฏิบัติเก่ียวกับความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาท่ี พ.ศ. ๒๕๓๙ โดยที่ไดมีการตราพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ ขึ้น และกฎหมายดังกลาวมีหลักการเกี่ยวกับความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ซ่ึงเปลี่ยนแปลงไปจากแนวทางปฏิบัติในเรื่องความรับผิดทางแพงที่ทางราชการถือปฏิบัติในปจจุบัน โดยไดแยกความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ออกเปนเหตุที่เนื่องมาจากการปฏิบัติหนาที่และท่ีไมใชการปฏิบัติหนาที่ โดยเมื่อมีความเสียหายเนื่องมาจากการปฏิบัติหนาที่นั้น หนวยงานของรัฐจะตองรับภาระชดใชคาเสียหายไปกอน สวนเจาหนาที่ของรัฐจะรบัผิดชดใชคาเสียหายตอหนวยงานของรัฐเพียงใดนั้น ใหไปไลเบี้ยตอไปในภายหลัง โดยจะยึดหลักวาจะเรียกเอาแกเจาหนาที่ของรัฐเฉพาะกรณีความเสียหายนั้นเกิดขึ้นโดยจงใจหรือประมาทเลินเลออยางรายแรงเทานั้น นอกจากนี้ ในกรณีที่เจาหนาที่ของรัฐตองรับผิดชดใชคาเสียหายใหเจาหนาที่ของรัฐสามารถผอนชําระคาสินไหมทดแทนไดโดยคํานึงถึงรายได ฐานะ ครอบครัวและความรับผิดชอบ และพฤติการณแหงกรณีประกอบดวยสําหรับความเสียหายที่เกิดจากการที่ไมใชการปฏิบัติหนาที่ เจาหนาที่ของรัฐจะตองถูกฟองและชดใชคาสินไหมทดแทนเปนการสวนตัวโดยไมเกี่ยวกับทางราชการสมควรวางระเบียบกําหนดหลักเกณฑก า รปฏิ บั ติ เ กี่ ย ว กั บคว ามรั บ ผิ ดท า งละ เ มิ ด ขอ ง เ จ าหน า ที่ ใ ห เ หม าะสมและสอดคล อ งกั บ

Page 13: การนําทรัพย สินของ ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00078/C00078-2.pdf · ความอาญา การจัดการของกลางในคด

๖ พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที ่ พ.ศ. ๒๕๓๙ คณะรัฐมนตรีจึงมีมติใหวางระเบียบไว ดังตอไปนี ้ ขอ ๑ ระเบียบนี้เรียกวา ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยหลักเกณฑการปฏิบัติเกีย่วกับความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ ขอ ๒ ระเบียบนี้ใหใชบังคับตั้งแตวนัถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป ขอ ๓ ใหยกเลิก (๑) ระเบียบความรับผิดชอบของขาราชการในทางแพง ซ่ึงออกตามมติคณะรัฐมนตรี โดยหนังสือสํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ดวน ที่ นว ๑๕๕/๒๕๐๓ ลงวันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๐๓ (๒) หนังสือกระทรวงการคลัง ที่ ๑๓๕๘๒,๑๓๕๘๓ (บคร)./๒๕๐๔ ลงวนัที่ ๒๔ เมษายน ๒๕๐๔ (๓) หนังสือกระทรวงการคลัง ที่ กค ๐๕๐๘/๖๔๖๖ ลงวันที่ ๑๑ มีนาคม ๒๕๐๙ (๔) หนังสือกระทรวงการคลัง ที่ กค ๐๕๐๘/๑๐๒๘๓ ลงวันที่ ๕ เมษายน ๒๕๑๖ (๕) หนงัสือกระทรวงการคลัง ที่ กค ๐๕๐๘/ว.๒๗๒๗๔ ลงวนัที่ ๑๙ กรกฎาคม ๒๕๒๕ (๖) หนังสือกระทรวงการคลัง ที่ กค ๐๕๑๔/๒๑๗๓๘ ลงวันที่ ๗ พฤษภาคม ๒๕๒๘ (๗) หนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค ๐๕๑๔/๒๓๐๒ ลงวันที่ ๑๖ เมษายน ๒๕๒๙ (๘) หนังสือกระทรวงการคลัง ที่ กค ๐๕๑๔/๑๒๔๖๑ ลงวันที่ ๒๕ มีนาคม ๒๕๓๐ (๙) หนังสือกระทรวงการคลงั ที่ กค ๐๕๑๔/๕๒๓๓๓ ลงวันที่ ๒๙ ตุลาคม ๒๕๓๐ (๑๐) หนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค ๐๕๑๔/๕๙๗๕ ลงวันที่ ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๓๐ (๑๑) หนังสือกระทรวงการคลัง ที่ กค ๐๕๑๔/๒๓๒๒๘ ลงวนัที่ ๑๐ พฤษภาคม ๒๕๓๑ (๑๒) หนังสือกระทรวงการคลัง ที่ กค ๐๕๑๔/๖๓๑๑๙ ลงวันที่ ๒๐ ธันวาคม ๒๕๓๑ บรรดาระเบียบ ขอบังคับ หรือมติคณะรัฐมนตรีอ่ืนใดในสวนที่กําหนดไวแลวในระเบียบนี้ หรือซ่ึงขัดหรือแยงกับระเบียบนี้ ใหใชระเบยีบนี้แทน ขอ ๔ ในระเบียบนี ้ เจาหนาที่ หมายความวา ขาราชการ พนักงาน ลูกจาง หรือผูปฏิบัติงานประเภทอื่น ไมวาจะเปนการแตงตั้งในฐานะเปนกรรมการหรือฐานะอื่นใดบรรดาซึ่งไดรับแตงตั้งหรือถูกสั่งใหปฏิบัติงานใหแกหนวยงานของรัฐ คณะกรรมการ หมายความวา คณะกรรมการสอบขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด ผูแตงตั้ง หมายความวา ผูแตงตั้งคณะกรรมการขึ้นเพื่อปฏิบัติตามระเบียบนี้ ความเสียหาย หมายความวา ความเสียหายที่เกิดจากการละเมิดอยางใด ๆ แตไมรวมถึงการออกคําสั่งหรือกฎ ขอ ๕ ใหนายกรัฐมนตรีรักษาการตามระเบียบนี ้

Page 14: การนําทรัพย สินของ ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00078/C00078-2.pdf · ความอาญา การจัดการของกลางในคด

กรณีเจาหนาท่ีกระทําละเมิดตอหนวยงานของรัฐ ขอ ๖ ในหมวดนี ้ หนวยงานของรัฐ หมายความวา กระทรวง ทบวง กรม หรือ สวนราชการที่เรียกชื่ออยางอื่นและมีฐานะเปนกรม ราชการสวนภูมิภาค ราชการสวนทองถ่ิน รัฐวิสาหกิจที่จัดตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติหรือพระราชกฤษฎีกาหรือหนวยงานอื่นของรัฐตามกฎหมายวาดวยความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ ขอ ๗ เมื่อเกิดความเสียหายแกหนวยงานของรัฐ ใหเจาหนาที่ที่เกี่ยวของแจงตอผูบังคับบัญชาโดยไมชักชา และใหมีการรายงานตามลําดับชั้นถึงหัวหนาหนวยงานของรัฐแหงนั้น ขอ ๘ เมื่อเกิดความเสียหายแกหนวยงานของรัฐแหงใด และหัวหนาหนวยงานของรัฐแหงนั้นมีเหตุอันควรเชื่อวาเกิดจากการกระทําของเจาหนาที่ของหนวยงานของรัฐแหงนั้น ใหหัวหนาหนวยงานของรัฐดังกลาวแตงตั้งคณะกรรมการสอบขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดขึ้นคณะหนึ่งโดยไมชักชา เพื่อพิจารณาเสนอความเห็นเกี่ยวกับผูตองรับผิดและจํานวนคาสินไหมทดแทนที่ผูนั้นตองชดใช คณะกรรมการตามวรรคหนึ่ง ใหมีจํานวนไมเกินหาคน โดยแตงตั้งจากเจาหนาที่ของหนวยงานของรัฐแหงนั้นหรือหนวยงานของรัฐอื่นตามที่เห็นสมควร กระทรวงการคลังอาจประกาศกําหนดวาในกรณีความเสียหายที่เกิดขึ้นมีมูลคาความเสียหายตั้งแตจํานวนเทาใด จะใหมีผูแทนของหนวยงานของรัฐหนวยงานใดเขารวมเปนกรรมการดวยก็ได ในการแตงตั้งคณะกรรมการ ใหกําหนดเวลาแลวเสร็จของการพิจารณาของคณะกรรมการไวดวย ขอ ๙ ถาเจาหนาที่ของหนวยงานของรัฐแหงหนึ่งทําใหเกิดความเสียหายแกหนวยงานของรัฐอีกแหงหนึ่ง ใหเจาหนาที่ผูทําใหเกิดความเสียหายแจงตอผูบังคับบัญชาและใหมีการรายงานตามลําดับชั้นจนถึงหัวหนาหนวยงานของรัฐที่ตนสังกัด เวนแต (๑) ถาเจาหนาที่ผูทําใหเกดิความเสียหายเปนรัฐมนตรี ใหแจงตอนายกรฐัมนตรี (๒) ถาเจาหนาที่ผูทําใหเกิดความเสียหายเปนกรรมการที่ตั้งขึ้นเพื่อปฏิบัติงานในหนวยงานของรัฐแหงใด ใหแจงตอหัวหนาหนวยงานของรัฐแหงนั้น (๓) ถาเจาหนาที่ผูทําใหเกิดความเสียหายเปนผูซ่ึงไมไดสังกัดหนวยงานของรัฐแหงใด ใหแจงตอกระทรวงการคลัง (๔) ถาเจาหนาที่ผูทําใหเกิดความเสียหายเปนผูซ่ึงไมมีผูบังคับบัญชาและมิใชผูปฏิบัติงานในราชการสวนทองถ่ิน รัฐวิสาหกิจที่จัดตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติหรือพระราชกฤษฎีกา หรือหนวยงานอื่นของรัฐตามกฎหมายวาดวยความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ ใหแจงตอผูมีอํานาจกํากับดูแล ผูแตงตั้งตน หรือผูซ่ึงสั่งใหตนปฏิบัติงานใหแกหนวยงานของรัฐ ขอ ๑๐ ในกรณีความเสียหายเกิดขึ้นตามขอ ๙ ใหหัวหนาหนวยงานของรัฐที่ไดรับความเสียหายและหัวหนาหนวยงานของรัฐที่เจาหนาที่ผูนั้นสังกัดหรือผูซ่ึงระเบียบนี้กําหนดใหเปนผูรับแจงตามขอ ๙ (๑) (๒) (๓) หรือ (๔) แลวแตกรณี มีอํานาจรวมกันแตงตั้งคณะกรรมการ

Page 15: การนําทรัพย สินของ ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00078/C00078-2.pdf · ความอาญา การจัดการของกลางในคด

๘ ขอ ๑๑ ในกรณีที่เกิดความเสียหายแกหนวยงานของรัฐมากกวาหนึ่งแหง และหรือความเสียหายเกิดจากผลการกระทําของเจาหนาที่หลายหนวยงาน ใหผูมีอํานาจแตงตั้งคณะกรรมการตามขอ ๘ หรือขอ ๑๐ บรรดาที่เกี่ยวของ แลวแตกรณี รวมกันแตงตั้งคณะกรรมการ ขอ ๑๒ ถาผูมีอํานาจแตงตั้งคณะกรรมการตามขอ ๘ ขอ ๑๐ หรือขอ ๑๑ ไมดําเนินการแตงตั้งคณะกรรมการภายในเวลาอันควรหรือแตงตั้งกรรมการโดยไมเหมาะสม ใหปลัดกระทรวง ปลัดทบวง หรือรัฐมนตรีซ่ึงเปนผูบังคับบัญชาหรือกํากับดูแลหรือควบคุมการปฏิบัติงานของบุคคลดังกลาวมีอํานาจแตงตั้งคณะกรรมการหรือเปลี่ยนแปลงกรรมการแทนผูมีอํานาจแตงตั้งนั้นไดตามที่เห็นสมควร ขอ ๑๓ ในการประชุมคณะกรรมการตองมีกรรมการมาประชุมไมนอยกวากึ่งหนึ่งของกรรมการทั้งหมดจึงจะเปนองคประชุม ถาประธานกรรมการไมอยูในที่ประชุมหรือไมสามารถปฏิบัติหนาที่ได ใหกรรมการที่มาประชุมเลือกกรรมการคนใดคนหนึ่งขึ้นทําหนาที่แทน มติที่ประชุมใหถือเสียงขางมาก กรรมการที่ไมเห็นดวยกับมติที่ประชุมอาจทําความเห็นแยงมติที่ประชุมรวมไวในความเห็นของคณะกรรมการได ขอ ๑๔ ในการปฏิบัติหนาที่ ใหคณะกรรมการมีอํานาจหนาที่พิจารณาขอเท็จจริงอันเกี่ยวกับการกระทําละเมิด โดยตรวจสอบขอเท็จจริงและรวบรวมพยานหลักฐานทั้งปวงที่เกี่ยวของ รับฟงพยานบุคคล หรือพยานผูเชี่ยวชาญ และตรวจสอบเอกสาร วัตถุ หรือสถานที่ กระทรวงการคลังอาจกําหนดแนวทางการสอบขอเท็จจริง การทําบันทึก และการรายงานผล เพื่อเปนแนวทางปฏิบัติเปนการทั่วไปได ขอ ๑๕ คณะกรรมการตองใหโอกาสแกเจาหนาที่ที่เกี่ยวของหรือผูเสียหายไดช้ีแจงขอเท็จจริงและโตแยงแสดงพยานหลักฐานของตนอยางเพียงพอและเปนธรรม ขอ ๑๖ เมื่อคณะกรรมการพิจารณาเสร็จแลว ใหเสนอความเห็นไปยังผูแตงตั้ง ถาผูแตงตั้งขอใหทบทวนหรือสอบสวนเพิ่มเติม ใหคณะกรรมการรีบดําเนินการใหเสร็จสิ้นภายในเวลาที่ผูแตงตั้งกําหนด ความเห็นของคณะกรรมการตองมีขอเท็จจริงและขอกฎหมายที่แจงชัดและตองมีพยานหลักฐานที่สนับสนุนประกอบดวย ความเหน็ของคณะกรรมการไมผูกมัดผูแตงตั้งหรือรัฐที่จะมีความเห็นเปนอยางอื่น ขอ ๑๗ เมื่อผูแตงตั้งไดรับผลการพิจารณาของคณะกรรมการแลวใหวินิจฉัยส่ังการวามีผูรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนหรือไม และเปนจํานวนเทาใดแตยังมิตองแจงการสั่งการใหผูที่เกี่ยวของทราบ ใหผูแตงตั้งสงสํานวนภายในเจ็ดวันนับแตวันวินิจฉัยส่ังการใหกระทรวงการคลังเพื่อตรวจสอบ เวนแตเปนเรื่องที่กระทรวงการคลังประกาศกําหนดวาไมตองรายงานใหกระทรวงการคลังตรวจสอบ ใหกระทรวงการคลังพิจารณาโดยไมชักชา และใหมีอํานาจตรวจสอบพยานหลักฐานที่เกี่ยวของ ในกรณีที่เห็นสมควรจะใหบุคคลใดสงพยานหลักฐานหรือมาใหถอยคําเพื่อประกอบการพิจารณาเพิ่มเติมอีกก็ได

Page 16: การนําทรัพย สินของ ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00078/C00078-2.pdf · ความอาญา การจัดการของกลางในคด

๙ ในระหวางการพิจารณาของกระทรวงการคลัง ใหผูแตงตั้งสั่งการใหตระเตรียมเรื่องใหพรอมสําหรับการออกคําสั่งใหเจาหนาที่ชําระคาสินไหมทดแทนหรือดําเนินการฟองคดีเพื่อมิใหขาดอายุความสองปนับจากวันที่ผูแตงตั้งวินิจฉัยส่ังการ ใหกระทรวงการคลังพิจารณาใหแลวเสร็จกอนอายุความสองปส้ินสุดไมนอยกวาหกเดือน ถากระทรวงการคลังไมแจงผลการตรวจสอบใหทราบภายในกําหนดเวลาดังกลาว ใหผูแตงตั้งมีคําสั่งตามที่เห็นสมควรและแจงใหผูที่เกี่ยวของทราบ เวนแตในกรณีหนวยงานของรัฐนั้นเปนราชการสวนทองถ่ิน รัฐวิสาหกิจ ที่จัดตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติหรือพระราชกฤษฎีกา หรือหนวยงานอื่นของรัฐตามกฎหมายวาดวยความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ ใหกระทรวงการคลังพิจารณาใหแลวเสร็จกอนอายุความสองปส้ินสุดไมนอยกวาหนึ่งป ถากระทรวงการคลังไมแจงผลการตรวจสอบใหทราบภายในกําหนดเวลาดังกลาว ใหผูแตงตั้งมีคําสั่งตามที่เห็นสมควรและแจงใหผูที่เกี่ยวของทราบ ขอ ๑๘ เมื่อกระทรวงการคลังพิจารณาเสร็จแลว ใหผูแตงตั้งมีคําสั่งตามความเห็นของกระทรวงการคลัง และแจงคําสั่งนั้นใหผูที่เกี่ยวของทราบ แตในกรณีที่หนวยงานของรัฐที่เสียหายเปนราชการสวนทองถ่ิน รัฐวิสาหกิจ ที่จัดตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติหรือพระราชกฤษฎีกา หรือหนวยงานอื่นของรัฐตามกฎหมายวาดวยความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ ใหผูบังคับบัญชาหรือผูกํากับดูแลหรือควบคุมหนวยงานของรัฐแหงนั้นวินิจฉัยส่ังการใหหนวยงานของรัฐดังกลาวปฏิบัติตามที่เห็นวาถูกตอง ในกรณีที่หนวยงานของรัฐที่ เสี ยหายตามวรรคหนึ่ งสั่ งการตามความเห็นของกระทรวงการคลัง ใหผูแตงตั้งดําเนินการเพื่อออกคําสั่งใหชําระคาสินไหมทดแทน หรือฟองคดีตอศาลอยาใหขาดอายุความหนึ่งปนับแตวันที่ผูแตงตั้งแจงคําสั่งใหผูรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนทราบ ขอ ๑๙ การแจงคําสั่งใหผูที่เกี่ยวของทราบตามขอ ๑๗ และขอ ๑๘ ใหแจงดวยวาผูนั้นมีสิทธิรองทุกขตอคณะกรรมการวินิจฉัยรองทุกขและฟองคดีตอศาลไดพรอมกับแจงกําหนดอายุความรองทุกขและอายุความฟองคดีตอศาลใหทราบดวย ขอ ๒๐ ในกรณีรวมกันแตงตั้งคณะกรรมการตามขอ ๑๐ หรือขอ ๑๑ ใหผูแตงตั้งรวมรวมกันวินิจฉัยส่ังการ และเสนอความเห็นทั้งหมด ไมวาจะเห็นตรงกันหรือไม ไปยังกระทรวงการคลัง และเมื่อไดดําเนินการตามขอ ๑๗ และขอ ๑๘ แลวถาผลในช้ันที่สุดผูแตงตั้งรวมยังมีความเห็นตามขอ ๑๘ แตกตางกันจนหาขอยุติไมไดก็ใหเสนอเรื่องใหคณะรัฐมนตรีวินิจฉัยช้ีขาด ขอ ๒๑ ในการพิจารณาของกระทรวงการคลัง ใหมี คณะกรรมการพิจารณาความรับผิดทางแพง เปนผูพิจารณาใหความเห็นตอกระทรวงการคลัง ใหคณะกรรมการตามวรรคหนึ่งประกอบดวยอธิบดีกรมบัญชีกลางเปนประธานกรรมการ ผูแทนสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ผูแทนสํานักงานอัยการสูงสุด ผูแทนสํานักงานตรวจเงินแผนดิน และผูแทนกระทรวงการคลังตามจํานวนที่จําเปนซึ่งปลัดกระทรวงการคลังแตงตั้ง เปนกรรมการ คณะกรรมการพิจารณาความรับผิดทางแพงอาจแตงตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อปฏิบัติหนาที่ตามที่มอบหมายได

Page 17: การนําทรัพย สินของ ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00078/C00078-2.pdf · ความอาญา การจัดการของกลางในคด

๑๐ ในการประชุมของคณะกรรมการพิจารณาความรับผิดทางแพงใหนําความในขอ ๑๓ มาใชบังคับโดยอนุโลม ขอ ๒๒ ในกรณีที่ความเสียหายเกิดแกเงิน ใหใชเปนเงินแตเพยีงอยางเดียว ขอ ๒๓ ในกรณีที่ความเสยีหายมไิดเกดิแกเงิน จะดําเนนิการดังตอไปนีแ้ทนการชาํระเงนิกไ็ด (๑) ชดใชเปนทรัพยสินอยางเดียวกัน โดยมีสภาพ คุณภาพ ปริมาณ และลักษณะเดียวกันกับทรัพยสินที่สูญหายหรือเสียหายและใชงานแทนไดเชนเดียวกับทรัพยสินที่สูญหายหรือเสียหาย โดยทําสัญญายินยอมชดใชคาสินไหมทดแทนเปนทรัพยสินดังกลาว (๒) ซอมแซมหรือบูรณะทรพัยสินที่ชํารุดเสียหายใหคงสภาพเดิม โดยทําสัญญาวาจะจดัการใหทรัพยสินคงสภาพเหมือนเดิมภายในเวลาไมเกินหกเดือน (๓) การชดใชเปนทรัพยสินหรือการซอมแซมหรือบูรณะทรัพยสินที่แตกตางไปจาก (๑) หรือ (๒) ตองไดรับความเห็นชอบจากกระทรวงการคลังกอน การชดใชคาเสียหายเปนทรัพยสินหรือการซอมแซมหรือบูรณะทรัพยสินตามวรรคหนึ่ง ใหมีการตรวจรับตามระเบียบวาดวยการพัสดุของทางราชการหรือของหนวยงานของรัฐนั้น ๆ การทําสัญญาตามวรรคหนึ่งตองจัดใหมีผูค้ําประกัน และในกรณีที่เห็นสมควรจะใหวางหลักประกันดวยก็ได ขอ ๒๔ ในกรณีที่เจาหนาที่ผูรับผิดตาย ใหรีบดําเนินการตามระเบียบนี้โดยอนุโลม เพื่อใหไดขอยุติโดยเร็วและระมัดระวังอยาใหขาดอายุความมรดก ในกรณีที่ผูแตงตั้งเห็นวาเจาหนาที่ตองรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนแกหนวยงานของรัฐ ใหสงเรื่องใหพนักงานอัยการเพื่อฟองผูจัดการมรดกหรือทายาทตอไป ในกรณีของผูแตงตั้งรวมถามีความเห็นแตกตางกันใหดําเนินการไปพลางกอนตามความเห็นของผูแตงตั้ง สําหรับหนวยงานของรัฐที่เสียหาย และถาตอมามีขอยุติเปนประการใดใหแกไขเปลี่ยนแปลงการดําเนินการไปตามนั้น ขอ ๒๕ ในกรณีที่เจาหนาที่ตองรับผิดและขอผอนชําระคาสินไหมทดแทนไมวาจะเกิดขึ้นในขั้นตอนใด ใหหนวยงานของรัฐที่เสียหายกําหนดจํานวนเงินที่ขอผอนชําระนั้นตามความเหมาะสม โดยคํานึงถึงรายได คาใชจายในการดํารงชีพตามฐานานุรูปของเจาหนาที่ ความรับผิดชอบที่บุคคลนั้นมีอยูตามกฎหมายหรือศีลธรรมอันดี และพฤติการณแหงกรณีประกอบดวยในการใหผอนชําระ ตองจัดใหมผูีค้าํประกนั และในกรณีที่เห็นสมควรจะใหวางหลักประกันดวยก็ได ขอ ๒๖ กระทรวงการคลังอาจประกาศกําหนดหลักเกณฑเกี่ยวกับการค้ําประกัน การวางหลักประกัน หนังสือผอนชําระ และสัญญาค้ําประกันก็ได ขอ ๒๗ ในกรณีที่เจาหนาที่ตองชดใชคาสินไหมทดแทน แมปรากฏวาเจาหนาที่ไมสามารถชําระหนี้ได ใหหนวยงานของรัฐที่ เสียหายพิจารณาผอนผันตามความเหมาะสมตามหลักเกณฑที่กระทรวงการคลังกําหนดและตองไมดําเนินคดีลมละลายแกผูนั้น แตถาการที่ไมสามารถชําระหนี้ไดนั้นเกิดจากการประพฤติช่ัวอยางรายแรงของเจาหนาที่หรือเจาหนาที่กระทําการใด ๆ อันเปนการประพฤติช่ัวอยาง

Page 18: การนําทรัพย สินของ ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00078/C00078-2.pdf · ความอาญา การจัดการของกลางในคด

๑๑

รายแรงเพื่อใหหนวยงานของรัฐไมไดรับชําระหนี้ครบถวน ใหหนวยงานของรัฐที่เสียหายสงเรื่องใหพนักงานอัยการดําเนินคดีลมละลาย ขอ ๒๘ การประนีประนอมยอมความไมวาจะเกิดขึ้นในขั้นตอนใดตองไดรับความเห็นชอบจากกระทรวงการคลังกอน เวนแตกระทรวงการคลังจะประกาศกําหนดเปนอยางอื่น ขอ ๒๙ ในกรณีตามขอ ๒๖ ขอ ๒๗ หรือขอ ๒๘ ถาเกี่ยวกับหนวยงานของรัฐที่เปนราชการสวนทองถ่ิน รัฐวิสาหกิจที่จัดตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติหรือพระราชกฤษฎีกา หรือหนวยงานอื่นของรัฐตามกฎหมายวาดวยความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ การดําเนินการใหเปนไปตามระเบียบสําหรับหนวยงานของรัฐแหงนั้น

กรณีเจาหนาท่ีของรัฐกระทําละเมิดตอบุคคลภายนอก ขอ ๓๐ ในหมวดนี้ หนวยงานของรัฐ หมายความวา กระทรวง ทบวง กรม หรือสวนราชการที่เรียกชื่ออยางอื่นและมีฐานะเปนกรม และราชการสวนภูมิภาคแตไมรวมถึงราชการสวนทองถ่ิน รัฐวิสาหกิจ หรือหนวยงานอ่ืนของรัฐ ขอ ๓๑ ในกรณีที่เจาหนาที่ทําใหเกิดความเสียหายตอบุคคลภายนอกถาเจาหนาที่ผูนั้นเห็นวาความเสียหายเกิดขึ้นเนื่องในการที่ตนไดกระทําในการปฏิบัติหนาที่ ให เจาหนาที่ ผูนั้นแจงตอผูบังคับบัญชาโดยไมชักชา และใหมีการรายงานตามลําดับชั้นถึงหัวหนาหนวยงานของรัฐแหงนั้น แตในกรณีที่เจาหนาที่เปนรัฐมนตรีหรือกรรมการที่ตั้งขึ้นเพื่อปฏิบัติงานในหนวยงานของรัฐหรือผูซ่ึงไมสังกัดหนวยงานของรัฐแหงใดหรือผูซ่ึงไมมีผูบังคับบัญชา ใหดําเนินการตามขอ ๙ (๑) (๒) (๓) หรือ (๔) และใหนําขอ ๘ ถึงขอ ๒๐ มาใชบังคับโดยอนุโลม ขอ ๓๒ ในกรณีที่ผูเสียหายยื่นคําขอใหหนวยงานของรัฐชดใชคาสินไหมทดแทน ใหหนวยงานของรัฐที่เจาหนาที่ผูนั้นสังกัด หรือกระทรวงการคลัง ในกรณีที่เจาหนาที่มิไดสังกัดหนวยงานใด หรือหนวยงานของรัฐแหงใดแหงหนึ่ง ในกรณีที่ความเสียหายเกิดจากผลการกระทําของเจาหนาที่หลายหนวยงาน รับคําขอนั้นและดําเนินการตามระเบียบนี้โดยไมชักชา ในกรณีที่ ผู เสียหายยื่นคําขอผิดหนวยงาน ใหหนวยงานผู รับคําขอรีบสงเรื่องไปยังหนวยงานของรัฐที่เห็นวาเปนหนวยงานของรัฐที่จะตองรับผิดชอบพิจารณาตอไปและใหแจงใหผูยื่นคําขอทราบ กรณีดังกลาวนี้ใหถือวาหนวยงานของรัฐไดรับคําขอใหชดใชคาสินไหมทดแทนนับแตวันที่ไดรับคําขอที่สงมานั้น ขอ ๓๓ เมื่อไดรับคําขอตามขอ ๓๒ และหนวยงานของรัฐที่ไดรับคําขอไวเห็นวาเปนเรื่องที่เกี่ยวกับตน ใหแตงตั้งคณะกรรมการเพื่อดําเนินการตอไปโดยไมชักชา ขอ ๓๔ ในกรณีที่ตองชดใชคาสินไหมทดแทนใหแกผูยื่นคําขอใหหนวยงานของรัฐที่ตองชดใชคาสินไหมทดแทนปฏิบัติตามที่กระทรวงการคลังกําหนด

Page 19: การนําทรัพย สินของ ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00078/C00078-2.pdf · ความอาญา การจัดการของกลางในคด

๑๒ ใหคิดดอกเบี้ยตามอัตราดอกเบี้ยผิดนัดนับแตวันกระทําละเมิดในจํานวนเงินที่ตองชดใชคาสินไหมทดแทนใหแกผูยื่นคําขอจนถึงวันชําระคาสินไหมทดแทน ขอ ๓๕ ในกรณีที่ผูเสียหายฟองคดีตอศาล ใหผูมีอํานาจแตงตั้งตั้งคณะกรรมการโดยไมชักชา เวนแตจะไดมีการตั้งคณะกรรมการดังกลาวไวแลว และใหประสานงานกับสํานักงานอัยการสูงสุดเพื่อเตรียมการตอสูคดีตอไป พรอมทั้งรายงานใหกระทรวงการคลังทราบและปฏิบัติตามที่ไดรับคําแนะนําจากกระทรวงการคลัง ขอ ๓๖ ถาผูแตงตั้งเห็นวาความเสียหายเกิดจากเจาหนาที่มิไดกระทําในการปฏิบัติหนาที่ หรือเมื่อไดฟงความเห็นของคณะกรรมการ หรือไดรับทราบผลการพิจารณาของกระทรวงการคลังแลว เห็นวาความเสียหายเกิดจากเจาหนาที่มิไดกระทําในการปฏิบัติหนาที่ ใหเรียกเจาหนาที่ผูนั้นเขามาเปนคูความในคดีดวย ขอ ๓๗ ถาผลการพิจารณาของผูแตงตั้งยุติเปนที่สุดวา ความเสียหายเกิดจากเจาหนาที่ไดกระทําในการปฏิบัติหนาที่ จะตองไมมีการเรียกเจาหนาที่เขามาเปนคูความในคดี แตถาผูเสียหายไดฟองเจาหนาที่ตอศาลกอนแลวหรือมีการเรียกเจาหนาที่เขามาเปนคูความในคดีกอนแลว ใหผูแตงตั้งแจงผลการพิจารณาใหพนักงานอัยการเพื่อแถลงตอศาล เพื่อใหเจาหนาที่มีโอกาสพนจากการเปนคูความในคดี และขอใหพนักงานอัยการชวยเหลือทางคดีแกเจาหนาที่ในระหวางนั้นดวย ขอ ๓๘ ในกรณีหนวยงานของรัฐตองรับผิดตอบุคคลภายนอกในความเสียหายทีเ่กดิขึน้จากการปฏิบัติหนาที่ของเจาหนาที่นั้น ความรับผิดของเจาหนาที่จะมีหรือไม และเพียงใด เปนกรณีที่หนวยงานของรัฐจะพิจารณาไลเบี้ยเอาจากเจาหนาที่ในภายหลัง ซ่ึงคณะกรรมการ ผูแตงตั้ง และกระทรวงการคลัง แลวแตกรณี ตองพิจารณาดวยวาจะมีการไลเบี้ยหรือไม หรือจะไลเบี้ยใหชดใชเพียงใด และใหนําขอ ๒๒ ถึงขอ ๒๙ มาใชบังคับกับการชดใชคาสินไหมทดแทนที่หนวยงานของรัฐไดใชใหแกผูเสียหาย โดยอนุโลม

ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๒ (๒๐) “บันทึก” หมายความถึงหนังสือใดที่พนักงานฝายปกครองหรือตํารวจจด

ไวเปนหลักฐานในการสอบสวนความผิดอาญา รวมทั้งบันทึกคํารองทุกขและคํากลาวโทษดวย มาตรา ๙ บันทึกตองระบุสถานที่ วันเดือนปที่ทํา นาม และตําแหนงของเจาพนักงานผูทํา เมื่อเจาพนักงานทําบันทึกโดยรับคําสั่งจากศาลหรือโดยคําสั่งหรือคําขอของเจาพนักงานอื่น

ใหเจาพนักงานนั้นกลาวไวดวยวาไดรับคําสั่งหรือคําขอเชนนั้นและแสดงดวยวาไดทําไปอยางใดใหเจาพนักงานผูทําบันทึกลงลายมือช่ือของตนในบันทึกนั้น

มาตรา ๑๑ บันทึกหรือถอยคําสํานวนนั้นใหเจาพนักงานหรือศาลอานใหผูใหถอยคําฟงถามีขอความแกไข ทักทวง หรือเพิ่มเติม ใหแกใหถูกตองหรือมิฉะนั้นก็ใหบันทึกไว และใหผูใหถอยคําลงลายมือช่ือรับรองวาถูกตองแลว

ถาบุคคลที่ตองลงลายมือช่ือในบันทึกหรือถอยคําสํานวนไมสามารถหรือไมยอมลงใหบันทึกหรือรายงานเหตุนั้นไว

Page 20: การนําทรัพย สินของ ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00078/C00078-2.pdf · ความอาญา การจัดการของกลางในคด

๑๓ มาตรา ๑๒ เอกสารซึ่งศาลหรือเจาพนักงานเปนผูทําคํารองทุกข คํากลาวโทษคําใหการ

จําเลยหรือคํารองซึ่งยื่นตอเจาพนักงานหรือศาล จักตองเขียนดวยน้ําหมึกหรือพิมพดีดหรือพิมพ ถามีผิดที่ใดหามมิใหลบออก ใหเพียงแตขีดฆาคําผิดนั้นแลวเขียนใหม ผูพิพากษา เจาพนักงานหรือบุคคลผูแกไขเชนนั้นตองลงนามยอรับรองไวที่ขางกระดาษ

ถอยคําตกเติมในเอกสารดั่งบรรยายในมาตรานี้ตองลงนามยอของผูพิพากษาเจาพนักงานหรือบุคคลผูซ่ึงตกเติมนั้นกํากับไว

มาตรา ๑๓ การสอบสวน ไตสวนมูลฟองหรือพิจารณา ใหใชภาษาไทย แตถามีการจําเปนตองแปลภาษาไทยเปนภาษาตางประเทศ หรือภาษาตางประเทศเปนภาษาไทย ก็ใหใชลามแปล

เมื่อมีลามแปลคําใหการ คําพยานหรืออ่ืนๆ ลามตองแปลใหถูกตอง ลามตองสาบานหรือปฏิญาณตนวาจะทําหนาที่โดยสุจริตใจ จะไมเพิ่มเติมหรือตัดทอนสิ่งที่แปลใหลามลงลายมือช่ือในคําแปลนั้น

ในกรณีที่ผูเสียหาย ผูตองหา จําเลย หรือพยานไมสามารถพูดหรือเขาใจภาษาไทยไดและไมมีลาม ใหพนักงานสอบสวน พนักงานอัยการ หรือศาลจัดหาลามใหโดยมิชักชา

ใหพนักงานสอบสวน พนักงานอัยการ หรือศาลสั่งจายคาปวยการแกลามที่จัดหาใหตามมาตรานี้ตามระเบียบที่กระทรวงมหาดไทย สํานักงานอัยการสูงสุด หรือกระทรวงยุติธรรมแลวแตกรณีกําหนดโดยไดรับความเห็นชอบจากกระทรวงการคลัง

มาตรา ๘๓ ในการจับนั้น เจาพนักงานหรือราษฎรซึ่งทําการจับตองแจงแกผูที่จะถูกจับนั้นวาเขาตองถูกจับ แลวส่ังใหผูถูกจับไปยังที่ทําการของพนักงานสอบสวนแหงทองที่ที่ถูกจับพรอมดวยผูจับ เวนแตสามารถนําไปที่ทําการของพนักงานสอบสวนผูรับผิดชอบไดในขณะนั้น ใหนําไปที่ทําการของพนักงานสอบสวนผูรับผิดชอบดังกลาว แตถาจําเปนก็ใหจับตัวไป

ในกรณีที่เจาพนักงานเปนผูจับ ตองแจงขอกลาวหาใหผูถูกจับทราบ หากมีหมายจับใหแสดงตอผูถูกจับ พรอมทั้งแจงดวยวา ผูถูกจับมีสิทธิที่จะไมใหการหรือใหการก็ไดและถอยคําของผูถูกจับนั้นอาจใชเปนพยานหลักฐานในการพิจารณาคดีไดและผูถูกจับมีสิทธิที่จะพบและปรึกษาทนายความ หรือผูซ่ึงจะเปนทนายความ ถาผูถูกจับประสงคจะแจงใหญาติหรือผูซ่ึงตนไววางใจทราบถึงการจับกุมที่สามารถดําเนินการไดโดยสะดวกและไมเปนการขัดขวางการจับหรือการควบคุมผูถูกจับหรือทําใหเกิดความไมปลอดภัยแกบุคคลหนึ่งบุคคลใด ก็ใหเจาพนักงานอนุญาตใหผูถูกจับดําเนินการไดตามสมควรแกกรณ ีในการนี้ใหเจาพนักงานผูจับนั้นบันทึกการจับดังกลาวไวดวย

ถาบุคคลซึ่งจะถูกจับขัดขวางหรือจะขัดขวางการจับ หรือหลบหนีหรือพยายามจะหลบหนี ผูทําการจับมีอํานาจใชวิธีหรือการปองกันทั้งหลายเทาที่เหมาะสมแกพฤติการณแหงเรื่องในการจับนั้น

มาตรา ๘๔ เจาพนักงานหรือราษฎรผูทําการจับตองเอาตัวผูถูกจับไปยังที่ทําการของพนักงานสอบสวนตามมาตรา ๘๓ โดยทันที และเมื่อถึงที่นั้นแลว ใหสงตัวผูถูกจับแกพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจของที่ทําการของพนักงานสอบสวนดังกลาว เพื่อดําเนินการดังตอไปนี้

Page 21: การนําทรัพย สินของ ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00078/C00078-2.pdf · ความอาญา การจัดการของกลางในคด

๑๔ (๑) ในกรณีที่เจาพนักงานเปนผูจับใหเจาพนักงานผูจับนั้นแจงขอกลาวหา และรายละเอียด

เกี่ยวกับเหตุแหงการจับใหผูถูกจับทราบ ถามีหมายจับใหแจงใหผูถูกจับทราบและอานใหฟงและมอบสําเนาบันทึกการจับแกผูถูกจับ

(๒) ในกรณีที่ราษฎรเปนผูจับ ใหพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจซึ่งรับมอบตัวบันทึกชื่อ อาชีพ ที่อยูของผูจับ อีกทั้งขอความและพฤติการณแหงการจับนั้นไว และใหผูจับลงลายมือช่ือกํากับไวเปนสําคัญเพื่อดําเนินการแจงขอกลาวหาและรายละเอียดแหงการจับใหผูถูกจับทราบและแจงใหผูถูกจับทราบดวยวาผูถูกจับมีสิทธิที่จะไมใหการหรือใหการก็ได และถอยคําของผูถูกจับอาจใชเปนพยานหลักฐานในการพิจารณาคดีได

เมื่อไดดําเนินการตามวรรคหนึ่งแลวใหพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจ ซ่ึงมีผูนําผูถูกจับมาสงแจงใหผูถูกจับทราบถึงสิทธิตามที่กําหนดไวในมาตรา ๗/๑ รวมทั้งจัดใหผูถูกจับสามารถติดตอกับญาติหรือผูซ่ึงผูถูกจับไววางใจเพื่อแจงใหทราบถึงการจับกุมและสถานที่ที่ถูกควบคุมไดในโอกาสแรกเมื่อผูถูกจับมาถึงที่ทําการของพนักงานสอบสวนตามวรรคหนึ่ง หรือถากรณีผูถูกจับรองขอใหพนักงานฝายปกครองหรือ

ตํารวจเปนผูแจง ก็ใหจัดการตามคํารองขอนั้นโดยเร็ว และใหพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจบันทึกไว ในการนี้มิใหเรียกคาใชจายใดๆ จากผูถูกจับ

ในกรณีที่จําเปน เจาพนักงานหรือราษฎรซึ่งทําการจับจะจัดการพยาบาลผูถูกจับเสียกอนนําตัวไปสงตามมาตรานี้ก็ได

ถอยคําใดๆ ที่ผูถูกจับใหไวตอเจาพนักงานผูจับ หรือพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจในชัน้จับกุมหรือรับมอบตัวผูถูกจับ ถาถอยคํานั้นเปนคํารับสารภาพของผูถูกจับวาตนไดกระทําความผิดหามมิใหรับฟงเปนพยานหลักฐาน แตถาเปนถอยคําอื่น จะรับฟงเปนพยานหลักฐานในการพิสูจนความผิดของผูถูกจับไดตอเมื่อไดมีการแจงสิทธิตามวรรคหนึ่ง หรือตามมาตรา ๘๓ วรรคสอง แกผูถูกจับแลวแตกรณี

มาตรา ๘๕ เจาพนักงานผูจับหรือรับตัวผูถูกจับไว มีอํานาจคนตัวผูตองหา และยึดสิ่งของตางๆ ที่อาจใชเปนพยานหลักฐานได

การคนนั้นจักตองทําโดยสุภาพ ถาคนผูหญิงตองใหหญิงอื่นเปนผูคน ส่ิงของใดที่ยึดไวเจาพนักงานมีอํานาจยึดไวจนกวาคดีถึงที่สุด เมื่อเสร็จคดีแลวก็ใหคืนแก

ผูตองหาหรือแกผูอ่ืน ซ่ึงมีสิทธิเรียกรองขอคืนสิ่งของนั้น เวนแตศาลจะสั่งเปนอยางอื่น มาตรา ๑๕๘ ฟองตองทําเปนหนังสือ และมี (๑) ช่ือศาลและวันเดือนป (๒) คดีระหวางผูใดโจทกผูใดจําเลย และฐานความผิด (๓) ตําแหนงพนักงานอัยการผูเปนโจทก ถาราษฎรเปนโจทกใหใสช่ือตัว นามสกุล อายุ ที่

อยู ชาติและบังคับ (๔) ช่ือตัว นามสกุล ที่อยู ชาติและบังคับของจําเลย

Page 22: การนําทรัพย สินของ ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00078/C00078-2.pdf · ความอาญา การจัดการของกลางในคด

๑๕ (๕) การกระทําทั้งหลายที่อางวาจําเลยไดกระทําผิด ขอเท็จจริงและรายละเอียดที่เกี่ยวกับ

เวลาและสถานที่ซ่ึงเกิดการกระทํานั้นๆ อีกทั้งบุคคลหรือส่ิงของที่เกี่ยวของดวยพอสมควรเทาที่จะใหจําเลยเขาใจขอหาไดดี

ในคดีหมิ่นประมาท ถอยคําพูด หนังสือ ภาพขีดเขียนหรือส่ิงอื่นอันเกี่ยวกับขอหมิ่นประมาท ใหกลาวไวโดยบริบูรณหรือติดมาทายฟอง

(๖) อางมาตราในกฎหมายซึ่งบัญญัติวาการกระทําเชนนั้นเปนความผิด (๗) ลายมือช่ือโจทก ผูเรียง ผูเขียนหรือพิมพฟอง มาตรา ๑๒๐ หามมิใหพนักงานอัยการยื่นฟองคดีใดตอศาล โดยมิไดมีการสอบสวนในความผิดนั้นกอน มาตรา ๑๒๑ พนักงานสอบสวนมีอํานาจสอบสวนคดีอาญาทั้งปวง แตถาเปนคดีความผิดตอสวนตัว หามมิใหทําการสอบสวนเวนแตจะมีคํารองทุกขตามระเบียบ มาตรา ๑๒๒ พนักงานสอบสวนจะไมทําการสอบสวนในกรณีตอไปนี้ก็ได (๑) เมื่อผูเสียหายขอความชวยเหลือ แตไมยอมรองทุกขตามระเบียบ (๒) เมื่อผูเสียหายฟองคดีเสียเองโดยมิไดรองทุกขกอน (๓) เมื่อมีหนังสือกลาวโทษเปนบัตรสนเทห หรือบุคคลที่กลาวโทษดวยปากไมยอมบอกวาเขาคือใคร หรือไมยอมลงลายมือช่ือในคํากลาวโทษหรือบันทึกคํากลาวโทษ มาตรา ๑๒๓ ผูเสียหายอาจรองทุกขตอพนักงานสอบสวนได คํารองทุกขนั้นตองปรากฏชื่อและที่อยูของผูรองทุกข ลักษณะแหงความผิด พฤติการณตาง ๆ ที่ความผิดนั้นไดกระทําลง ความเสียหายที่ไดรับและชื่อหรือรูปพรรณของผูกระทําผิดเทาที่จะบอกได คํารองทุกขนี้จะทําเปนหนังสือหรือรองดวยปากก็ได ถาเปนหนังสือ ตองมีวันเดือนป และลายมือช่ือของผูรองทุกข ถารองดวยปาก ใหพนักงานสอบสวนบันทึกไว ลงวันเดือนป และลงลายมือช่ือผูบันทึกกับผูรองทุกขในบันทึกนั้น มาตรา ๑๒๔ ผูเสียหายจะรองทุกขตอพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจ ซ่ึงมีตําแหนงหนาที่รองหรือเหนือพนักงานสอบสวน และเปนผูซ่ึงมีหนาที่รักษาความสงบเรียบรอยตามกฎหมายก็ได เมื่อมีหนังสือรองทุกขยื่นตอเจาพนักงานเชนกลาวแลว ใหรีบจัดการสงไปยังพนักงานสอบสวน และจะจดหมายเหตุอะไรไปบางเพื่อประโยชนของพนักงานสอบสวนก็ได เมื่อมีคํารองทุกขดวยปากใหรีบจัดการใหผูเสียหายไปพบกับพนักงานสอบสวนเพื่อจดบันทึกคํารองทุกขนั้นดั่งบัญญัติในมาตรากอน ในกรณีเรงรอนเจาพนักงานนั้นจะจดบันทึกเสียเองก็ได แตแลวใหรีบสงไปยังพนักงานสอบสวน และจะจดหมายเหตุอะไรไปบางเพื่อประโยชนของพนักงานสอบสวนก็ได

Page 23: การนําทรัพย สินของ ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00078/C00078-2.pdf · ความอาญา การจัดการของกลางในคด

๑๖ มาตรา ๑๒๕ เมื่อพนักงานสอบสวน หรือพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจ ไดกระทําการสืบสวนหรือสอบสวนไปทั้งหมดหรือแตสวนหนึ่งสวนใดตามคําขอรองใหชวยเหลือ ใหตกเปนหนาที่ของพนักงานนั้นจัดการใหมีคํารองทุกขตามระเบียบ ตามบทบัญญัติแหงมาตรา ๑๒๓ และ ๑๒๔ มาตรา ๑๒๖ ผูรองทุกขจะแกคํารองทุกขระยะใด หรือจะถอนคํารองทุกขเสียเมื่อใดก็ได ในคดีซ่ึงมิใชความผิดตอสวนตัว การถอนคํารองทุกขเชนนั้นยอมไมตัดอํานาจพนักงานสอบสวนที่จะสอบสวน หรือพนักงานอัยการที่จะฟองคดีนั้น มาตรา ๑๒๗ ใหนําบทบัญญัติในมาตรา ๑๒๓ ถึง ๑๒๖ มาบังคับโดยอนุโลมในเรื่องคํากลาวโทษเจาพนักงานผูมีหนาที่รับคํากลาวโทษจะไมบันทึกคํากลาวโทษในกรณีตอไปนี้ก็ได (๑) เมื่อผูกลาวโทษไมยอมแจงวาเขาคือใคร (๒) เมื่อคํากลาวโทษเปนบัตรสนเทห คํากลาวโทษซึ่งบันทึกแลวแตผูกลาวโทษไมยอมลงลายมือช่ือเจาพนักงานผู รับคํากลาวโทษจะไมจัดการแกคํากลาวโทษนั้นก็ได มาตรา ๑๒๘ พนักงานสอบสวนมีอํานาจใหเจาพนักงานอื่นทําการแทนดั่งตอไปนี้ (๑) การใดในการสอบสวนอยูนอกเขตอํานาจของตน มีอํานาจสงประเด็นไปใหพนักงานสอบสวน ซ่ึงมีอํานาจทําการนั้นจัดการได (๒) การใดเปนสิ่งเล็กนอยในการสอบสวน ซ่ึงอยูในเขตอํานาจของตนไมวาทําเองหรือจัดการตามประเด็น มีอํานาจสั่งใหผูอยูใตบังคับบัญชาทําแทนได แตทั้งนี้เมื่อประมวลกฎหมายนี้หรือกฎหมายอื่นมิไดเจาะจงใหทําดวยตนเอง มาตรา ๑๒๙ ใหทําการสอบสวนรวมทั้งการชันสูตรพลิกศพ ในกรณีที่ความตายเปนผลแหงการกระทําผิดอาญา ดั่งที่บัญญัติไวในประมวลกฎหมายนี้อันวาดวยการชันสูตรพลิกศพ ถาการชันสูตรพลิกศพยังไมเสร็จ หามมิใหฟองผูตองหายังศาล

การสอบสวนสามัญ มาตรา ๑๓๐ ใหเร่ิมการสอบสวนโดยมิชักชา จะทําการในที่ใด เวลาใด แลวแตจะเห็นสมควร โดยผูตองหาไมจําตองอยูดวย มาตรา ๑๓๑ ใหพนักงานสอบสวนรวบรวมหลักฐานทุกชนิด เทาที่สามารถจะทําได เพื่อประสงคจะทราบขอเท็จจริงและพฤติการณตาง ๆ อันเกี่ยวกับความผิดที่ถูกกลาวหา และเพื่อจะรูตัวผูกระทําผิดและพิสูจนใหเห็นความผิด มาตรา ๑๓๒ เพื่อประโยชนแหงการรวบรวมหลักฐาน ใหพนักงานสอบสวนมีอํานาจดังตอไปนี้ (๑) ตรวจตัวผูเสียหายเมื่อผูนั้นยินยอม หรือตรวจตัวผูตองหา หรือตรวจสิ่งของหรือที่ทางอันสามารถอาจใชเปนพยานหลักฐานได ใหรวมทั้งทําภาพถาย แผนที่ หรือภาพวาด จําลอง หรือพิมพลายนิ้วมือ ลายมือหรือลายเทากับใหบันทึกรายละเอียดทั้งหลายซ่ึงนาจะกระทําใหคดีแจมกระจางขึ้น

Page 24: การนําทรัพย สินของ ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00078/C00078-2.pdf · ความอาญา การจัดการของกลางในคด

๑๗ (๒) คนเพื่อพบสิ่งของ ซ่ึงมีไวเปนความผิด หรือไดมาโดยการกระทําผิด หรือไดใชหรือสงสัยวาไดใชในการกระทําผิด หรือซ่ึงอาจใชเปนพยานหลักฐานได แตตองปฏิบัติตามบทบัญญัติแหงประมวลกฎหมายนี้วาดวยคน (๓) หมายเรียกบุคคลซึ่งครอบครองสิ่งของ ซ่ึงอาจใชเปนพยานหลักฐานได แตบุคคลที่ถูกหมายเรียกไมจําตองมาเองเมื่อจัดสงสิ่งของมาตามหมายแลว ใหถือเสมือนไดปฏิบัติตามหมาย (๔) ยึดไวซ่ึงสิ่งของที่คนพบหรือสงมาดั่งกลาวไวในอนุมาตรา (๒) และ (๓) มาตรา ๑๓๓ พนักงานสอบสวนมีอํานาจออกหมายเรียกผูเสียหาย หรือบุคคลใดซึ่งมีเหตุอันควรเชื่อวาถอยคําของเขาอาจเปนประโยชนแกคดี ใหมาตามเวลาและสถานที่ในหมาย แลวใหถามปากคําบุคคลนั้นไว การถามปากคํานั้นพนักงานสอบสวนจะใหผูใหถอยคําสาบานหรือปฏิญาณตัวเสียกอนก็ได และตองปฏิบัติตามบทบัญญัติแหงประมวลกฎหมายนี้วาดวยพยานบุคคล หามมิใหพนักงานสอบสวนตักเตือน พูดใหทอใจหรือใชกลอุบายอื่นเพื่อปองกันมิใหบุคคลใดใหถอยคํา ซ่ึงอยากจะใหดวยความเต็มใจ มาตรา ๑๓๔ เมื่อผูตองหาถูกเรียก หรือสงตัวมา หรือเขาหาพนักงานสอบสวนเอง หรือปรากฏวาผูใดซึ่งมาอยูตอหนาเจาพนักงานเปนผูตองหา ใหถามชื่อตัว นามสกุล ชาติ บังคับ บิดามารดา อายุ อาชีพ ที่อยู ที่เกิด และแจงขอหาใหทราบ และตองบอกใหทราบกอนวา ถอยคําที่ผูตองหากลาวนั้นอาจใชเปนพยานหลักฐานยันเขาในการพิจารณาได เมื่อผูตองหาเต็มใจ ใหการอยางใดก็ใหจดคําใหการไว ถาผูตองหาไมเต็มใจใหการเลย ก็ใหบันทึกไว มาตรา ๑๓๕ หามมิใหพนักงานสอบสวนทําหรือจัดใหทําการใด ๆ ซ่ึงเปนการลอลวง หรือขูเข็ญ หรือใหสัญญากับผูตองหาเพื่อจูงใจใหเขาใหการอยางใด ๆ ในเรื่องที่ตองหานั้น มาตรา ๑๓๖ พนักงานสอบสวนจะจับและควบคุม หรือจัดการใหจับหรือควบคุมผูตองหาหรือบุคคลใดซึ่งในระหวางสอบสวนปรากฏวาเปนผูกระทําผิดหรือจะปลอยช่ัวคราวโดยไมมีประกันเลย หรือมีประกัน หรือมีประกันและหลักประกันดวย หรือปลอยไปตามบทบัญญัติแหงประมวลกฎหมายนี้ในเร่ืองนั้น ๆ ก็ได มาตรา ๑๓๗ พนักงานสอบสวนขณะทําการอยูในบานเรือนหรือในสถานที่อ่ืน ๆ มีอํานาจส่ังมิใหผูใดออกไปจากที่นั้น ๆ ช่ัวเวลาเทาที่จําเปน มาตรา ๑๓๘ พนักงานสอบสวนมีอํานาจสอบสวนเองหรือสงประเด็นไปสอบสวนเพื่อทราบความเปนมาแหงชีวิตและความประพฤติอันเปนอาจิณของผูตองหา แตตองแจงใหผูตองหาทราบขอความทุกขอที่ไดมา มาตรา ๑๓๙ ใหพนักงานสอบสวนบันทึกการสอบสวนตามหลักทั่วไปในประมวลกฎหมายนี้อันวาดวยการสอบสวนและใหเอาบันทึก เอกสารอื่นซึ่งไดมาอีกทั้งบันทึกเอกสารทั้งหลายซ่ึงเจาพนักงานอื่นผูสอบสวนคดีเดียวกันนั้นสงมารวมเขาสํานวนไว

Page 25: การนําทรัพย สินของ ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00078/C00078-2.pdf · ความอาญา การจัดการของกลางในคด

๑๘ เอกสารที่ยื่นเปนพยานใหรวมเขาสํานวน ถาเปนสิ่งของอยางอื่นใหทําบัญชีรายละเอียดรวมเขาสํานวนไว มาตรา ๑๔๐ เมื่อพนักงานสอบสวนผูรับผิดชอบในการสอบสวน เห็นวาการสอบสวนเสร็จแลว ใหจัดการอยางหนึ่งอยางใดดั่งตอไปนี้ (๑) ถาไมปรากฏวาผูใดเปนผูกระทําความผิดและความผิดนั้นมีอัตราโทษจําคุกอยางสูงไมเกินสามป ใหพนักงานสอบสวนงดการสอบสวน และบันทึกเหตุที่งดนั้นไว แลวใหสงบันทึกพรอมกับสํานวนไปยังพนักงานอัยการ ถาอัตราโทษอยางสูงเกินกวาสามป ใหพนักงานสอบสวนสงสํานวนไปยังพนักงานอัยการพรอมทั้งความเห็นที่ควรใหงดการสอบสวน ถาพนักงานอัยการสั่งใหงด หรือใหทําการสอบสวนตอไป ใหพนักงานสอบสวนปฏิบัติตามนั้น (๒) ถารูตัวผูกระทําผิด ใหใชบทบัญญัติในสี่มาตราตอไปนี้ มาตรา ๑๔๑ ถารูตัวผูกระทําความผิด แตเรียกหรือจับตัวยังไมไดเมื่อไดความตามทางสอบสวนอยางใด ใหทําความเห็นวาควรสั่งฟองหรือส่ังไมฟองสงไปพรอมกับสํานวนยังพนักงานอัยการ ถาพนักงานอัยการเห็นชอบดวยวาควรสั่งไมฟอง ใหยุติการสอบสวนโดยสั่งไมฟอง และใหแจงคําสั่งนี้ใหพนักงานสอบสวนทราบ ถาพนักงานอัยการเห็นวาควรสอบสวนตอไป ก็ใหส่ังพนักงานสอบสวนปฏิบัติเชนนั้น ถาพนักงานอัยการเห็นวาควรสั่งฟอง ก็ใหจัดการอยางหนึ่งอยางใดเพื่อใหไดตัวผูตองหามา ถาผูตองหาอยูตางประเทศ ใหพนักงานอัยการจัดการเพื่อขอใหสงตัวขามแดนมา มาตรา ๑๔๒ ถารูตัวผูกระทําความผิดและผูนั้นถูกควบคุม หรือขังอยู หรือปลอยช่ัวคราวหรือเชื่อวาคงไดตัวมาเมื่อออกหมายเรียก ใหพนักงานสอบสวนทําความเห็นตามทองสํานวนการสอบสวน วาควรสั่งฟองหรือส่ังไมฟองสงไปยังพนักงานอัยการพรอมดวยสํานวน ในกรณีที่เสนอความเห็นควรสั่งไมฟอง ใหสงแตสํานวนพรอมดวยความเห็นไปยังพนักงานอัยการ สวนตัวผูตองหาใหพนักงานสอบสวนมีอํานาจปลอยหรือปลอยช่ัวคราว ถาผูตองหาถูกขังอยู ใหขอเองหรือขอใหพนักงานอัยการขอตอศาลใหปลอย ในกรณีที่เสนอความเห็นควรสั่งฟอง ใหพนักงานสอบสวนสงสํานวนพรอมกับผูตองหาไปยังพนักงานอัยการ เวนแตผูตองหานั้นถูกขังอยูแลว แตถาเปนความผิด ซ่ึงพนักงานสอบสวนเปรียบเทียบได และผูกระทําความผิดไดปฏิบัติตามเปรียบเทียบนั้นแลว ใหบันทึกการเปรียบเทียบนั้นไว แลวสงไปใหพนักงานอัยการพรอมดวยสํานวน มาตรา ๑๔๓ เมื่อไดรับความเห็นและสํานวนจากพนักงานสอบสวนดังกลาวในมาตรากอน ใหพนักงานอัยการปฏิบัติดั่งตอไปนี้

Page 26: การนําทรัพย สินของ ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00078/C00078-2.pdf · ความอาญา การจัดการของกลางในคด

๑๙ (๑) ในกรณีที่มีความเห็นควรสั่งไมฟอง ใหออกคําสั่งไมฟอง แตถาไมเห็นชอบดวย ก็ใหส่ังฟองและแจงใหพนักงานสอบสวนสงผูตองหามาเพื่อฟองตอไป (๒) ในกรณีมีความเห็นควรสั่งฟอง ใหออกคําสั่งฟองและฟองผูตองหาตอศาล ถาไมเห็นชอบดวย ก็ใหส่ังไมฟอง ในกรณี หนึ่งกรณีใดขางตน พนักงานอัยการมีอํานาจ (ก) ส่ังตามที่เห็นควร ใหพนักงานสอบสวนดําเนินการสอบสวนเพิ่มเติมหรือสงพยานคนใดมาใหซักถามเพื่อส่ังตอไป (ข) วินิจฉัยวาควรปลอยผูตองหา ปลอยช่ัวคราว ควบคุมไว หรือขอใหศาลขัง แลวแตกรณี และจัดการหรือส่ังการใหเปนไปตามนั้น ในคดีฆาตกรรม ซ่ึงผูตายถูกเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ฆาตาย หรือตายในระหวางอยูในความควบคุมของเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ อธิบดีกรมอัยการหรือผูรักษาการแทนเทานั้นมีอํานาจออกคําสั่งฟองหรือไมฟอง มาตรา ๑๔๔ ในกรณีที่พนักงานอัยการมีคําสั่งฟอง ถาความผิดนั้นเปนความผิดซึ่งอาจเปรียบเทียบได ถาเห็นสมควรพนักงานอัยการมีอํานาจดั่งตอไปนี้ (๑) ส่ังใหพนักงานสอบสวนพยายามเปรียบเทียบคดีนั้น แทนการที่จะสงผูตองหาไปยัง พนักงานอัยการ (๒) เมื่อผูตองหาถูกสงมายังพนักงานอัยการแลว ส่ังใหสงผูตองหาพรอมดวยสํานวนกลับไปยังพนักงานสอบสวนใหพยายามเปรียบเทียบคดีนั้น หรือถาเห็นสมควรจะสั่งใหพนักงานสอบสวนอ่ืนที่มีอํานาจจัดการเปรียบเทียบใหก็ได มาตรา ๑๔๕ ในกรณีที่มีคําสั่งไมฟอง และคําสั่งนั้นไมใชของอธิบดีกรมอัยการ ถาในนครหลวงกรุงเทพธนบุรี ใหรีบสงสํานวนการสอบสวนพรอมกับคําสั่งไปเสนออธิบดีกรมตํารวจ รองอธิบดีกรมตํารวจ หรือผูชวยอธิบดีกรมตํารวจ ถาในจังหวัดอื่นใหรีบสงสํานวนการสอบสวนพรอมกับคําสั่งไปเสนอผูวาราชการจังหวัด แตทั้งนี้มิไดตัดอํานาจพนักงานอัยการที่จะจัดการอยางใดแกผูตองหาดังบัญญัติไวในมาตรา ๑๔๓ ในกรณีที่อธิบดีกรมตํารวจ รองอธิบดีกรมตํารวจหรือผูชวยอธิบดีกรมตํารวจในนครหลวงกรุงเทพธนบุรี หรือผูวาราชการจังหวัดในจังหวัดอื่นแยงคําสั่งของพนักงานอัยการ ใหสงสํานวนพรอมกับความเห็นที่แยงกันไปยังอธิบดีกรมอัยการเพื่อช้ีขาด แตถาคดีจะขาดอายุความหรือมีเหตุอยางอื่นอันจําเปนจะตองรีบฟองก็ใหฟองคดีนั้นตามความเห็นของอธิบดีกรมตํารวจ รองอธิบดีกรมตํารวจ ผูชวยอธิบดีกรมตํารวจ หรือผูวาราชการจังหวัดไปกอน บทบัญญัติในมาตรานี้ ใหนํามาบังคับในการที่พนักงานอัยการจะอุทธรณ ฎีกา หรือถอนฟอง ถอนอุทธรณและถอนฎีกาโดยอนุโลม มาตรา ๑๔๖ ใหแจงคําสั่งเด็ดขาดไมฟองคดีใหผูตองหาและผูรองทุกขทราบ ถาผูตองหาถูกควบคุมหรือขังอยู ใหจัดการปลอยตัวไปหรือขอใหศาลปลอยแลวแตกรณี

Page 27: การนําทรัพย สินของ ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00078/C00078-2.pdf · ความอาญา การจัดการของกลางในคด

๒๐ มาตรา ๑๔๗ เมื่อมีคําสั่งเด็ดขาดไมฟองคดีแลว หามมิใหมีการสอบสวนเกี่ยวกับบุคคลนั้นในเรื่องเดียวกันนั้นอีก เวนแตจะไดพยานหลักฐานใหมอันสําคัญแกคดี ซ่ึงนาจะทําใหศาลลงโทษผูตองหานั้นได

วัตถุประสงค

๑. เพื่อใหพนักงานเจาหนาที่ของกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช หรือบุคคลผูทีม่ีความสนใจศึกษา มีความรูความเขาใจเกี่ยวกับขอบเขตและความหมายเกี่ยวกับการบันทึกการจับกุมในความผิดเกี่ยวกับกฎหมายวาดวยการปาไม สามารถนําไปใชในการปฏิบัติราชการได

๒. เพื่อใหพนักงานเจาหนาที่ของกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช หรือบุคคลผูที่มีความสนใจศึกษา มีความรูความเขาใจเกี่ยวกับอํานาจการสอบสวนของพนักงานสอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

๓. เพื่อใหพนักงานเจาหนาที่ของกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช หรือบุคคลผูที่มีความสนใจศึกษา มีความรูความเขาใจเกี่ยวกับอํานาจสั่งคดีของพนักงานอัยการตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

๔. เพื่อใหพนักงานเจาหนาที่ของกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช หรือบุคคลผูที่มีความสนใจศึกษา มีความรูความเขาใจเกี่ยวกับการจัดการของกลางในความผิดกฎหมายวาดวยการปาไมสามารถนําไปใชในการปฏิบัติราชการได

๕. เพื่อใหพนักงานเจาหนาที่ของกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช หรือบุคคลผูที่มีความสนใจศึกษา มีความรูความเขาใจเกี่ยวกับการสอบสวนของคณะกรรมการสอบสวนขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ตามพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ ๖. เพื่อใหพนักงานเจาหนาที่ของกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืชหรือบุคคลผูที่มีความสนใจศึกษา มีความรูความเขาใจเกี่ยวกับการรวบรวบขอเท็จจริง ขอกฎหมายและระเบียบกฏเกณฑของทางราชการ สามารถนําไปใชในการปฏิบัติราชการใหเกิดประโยชนตอทางราชการได

Page 28: การนําทรัพย สินของ ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00078/C00078-2.pdf · ความอาญา การจัดการของกลางในคด

๒๑

บทท่ี ๒ วิธีการศึกษา

การแตงตั้งคณะกรรมการสอบสวนขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาท่ี การแตงตั้งคณะกรรมการสอบสวนความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่เกี่ยวกับกรณีมีการนําทรัพยสินของกลางที่ฝากไวเคลื่อนยายออกไปจากบริเวณที่รับฝากและนําทรัพยสินของกลางไปแสวงหาผลประโยชน ตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยหลักเกณฑการปฎิบัติเกี่ยวกับความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ.๒๕๓๙ ไดวางแนวทางปฏิบัติเอาไววา เมื่อเกิดความเสียหายตอหนวยงานของรัฐ ใหเจาหนาที่ที่เกี่ยวของแจงหรือรายงานตอผูบังคับบัญชาตามลําดับชั้นโดยไมชักชาและใหมีการรายงานตามลําดับชั้นจนถึงหัวหนาหนวยงานของรัฐแหงนั้น หมายความวา เมื่อเกิดความเสียหายขึ้น ความเสียหายที่เกิดขึ้นนั้นอาจจะเกิดขึ้น จากการละเมิดอยางใดๆก็ไดทั้งสิ้น แตไมรวมถึงการออกกฎหรือการออกคําสั่ง ใหบุคคลที่เกี่ยวของรายงานตอผูบังคับบัญชาตามลําดับจนถึงผูบังคับบัญชาสูงสุดในหนวยงานนั้น ในสวนของกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปาและพันธุพืช ผูบังคับบัญชาสูงสุดก็คืออธิบดี ดังนั้นเมื่อมีความเสียหายเกิดแกหนวยงานของกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปาและพันธุพืช ตองรายงานขอเท็จจริงทั้งหมดตออธิบดีฯและเมื่ออธิบดีพิจารณาแลวมีเหตุอันควรเชื่อวาเกิดจากการกระทําของเจาหนาที่ของกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปาและพันธุพืชจะ มีคําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการสอบสวนขอเท็จจริงขึ้นคณะหนึ่ง ตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยหลักเกณฑการปฎิบัติเกี่ยวกับความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ.๒๕๓๙ เพื่อพิจารณาเสนอความเห็นเกี่ยวกับผูตองรับผิดและจํานวนคาสินไหมทดแทนที่บุคคลผูกระทําความผิดจะตองรับผิดชดใช โดยคณะกรรมการสอบสวนขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่คณะหนึ่งมีจํานวนไมเกิน ๕ คน ทั้งนี้ ตามที่กําหนดไวในขอที่ ๘ วรรคสอง แหงระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยหลักเกณฑการปฎิบัติเกี่ยวกับความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ.๒๕๓๙ การแตงตั้งคณะกรรมการสอบสวนขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีฯดังกลาวไมไดหามไววาจะแตงตั้งคณะกรรมการฯเปนจํานวนคี่เสมอไป จะเปนจํานวนคูหรือจํานวนคี่ก็ได แตเพื่อไมใหเกิดปญหาในทางปฎิบัติกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปาและพันธุพืชจะแตงตั้งคณะกรรมการฯเปนจํานวนคี่เสมอ เนื่องจากคณะกรรมการฯอาจมีความเห็นในขอเท็จจริงและขอกฏหมายในบางเรื่องไมตรงกันจําเปนจะตองลงมติเสียงขางมากเพื่อพิจารณาวินิจฉัยขอเท็จจริงหรือขอกฎหมายนั้น แตอยางไรก็ตามกรรมการฯที่ไมเห็นดวยกับฝายขางมากก็สามารถทําความเห็นแยงรวมไวในสํานวนความได การแตงตั้งคณะกรรมการสอบสวนขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ หนวยงานของรัฐ หรือหนวยงานตนสังกัด ที่เกิดความเสียหายนั้นจะตองแตงตั้งจากเจาหนาที่ภายในของหนวยงานของรัฐแหงนั้น แตขอกําหนดนี้ก็ไมไดเปนขอกําหนดตายตัวในกรณีที่เกิดความเสียหายหนวยงานของรัฐอีกแหงหนึ่งมีสวนไดรับความเสียหายอยูดวย หนวยงานของรัฐแหงนั้นก็อาจตั้งคณะกรรมการฯ รวมสอบสวนขอเท็จจริงพิจารณาวินิจฉัยไปตามรูปความได ในการนี้

Page 29: การนําทรัพย สินของ ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00078/C00078-2.pdf · ความอาญา การจัดการของกลางในคด

กระทรวงการคลังอาจประกาศกําหนดวาในกรณีความเสียหายที่เกิดขึ้นมีมูลคาความเสียหายตั้งแตจํานวนเทาใดจะใหมีผูแทน

๒๒ ของหนวยงานของรัฐหนวยงานใดเขารวมเปนกรรมการดวยก็ไดในการแตงตั้งคณะกรรมการใหกําหนดเวลาแลวเสร็จของการพิจารณาของคณะกรรมการไวดวยซ่ึงตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยหลักเกณฑการปฏิบัติเกี่ยวกับความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ ไดกําหนดใหผูมีอํานาจแตงตั้งคณะกรรมการจะตองระบุในคําสั่งไปดวยวาใหคณะกรรมการที่ไดรับการแตงตั้งสอบสวนขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่กําหนดเวลาแลวเสร็จภายในวันใดแตขอกําหนดดังกลาวมิใชขอกําหนดที่มีขอบเขตจํากัด หากมีความจําเปนเพื่อประโยชนแหงความยุติธรรมคณะกรรมการที่ไดรับแตงตั้งก็สามารถขอขยายระยะเวลาการสอบสวนขอเท็จจริงตอผูมีอํานาจแตงตั้งดังกลาวได ในการประชุมของคณะกรรมการสอบสวนขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ จะตองมีคณะกรรมการมาประชุมไมนอยกวากึ่งหนึ่งจึงจะครบองคประชุม ถาประธานกรรมการไมอยูในที่ประชุมหรือไมสามารถปฏิบัติหนาที่ได ใหกรรมการที่มาประชุมเลือกกรรมการคนใดคนหนึ่งขึ้นทําหนาที่เปนประธานในที่ประชุมแทน มติที่ประชุมใหถือเสียงขางมาก หากกรรมการคนใดไมเห็นดวยกับมติที่ประชุมอาจทําความเห็นแยงมติที่ประชุมรวบรวมไวในความเห็นของคณะกรรมการหรือรวบรวมไวในสํานวนการสอบสวนได ในการปฏิบัติหนาที่ใหคณะกรรมการดังกลาวมีอํานาจหนาที่พิจารณาขอเท็จจริงเกี่ยวกับการกระทําละเมิด โดยการสอบสวนขอเท็จจริงและรวบรวมพยานหลักฐานทั้งปวงที่เกี่ยวของ รับฟงพยานบุคคล หรือพยานผูเชี่ยวชาญและมีอํานาจในการตรวจสอบเอกสาร พยานวัตถุ หรือสถานที่ใด ๆ ที่เกี่ยวของกับตนเหตุแหงการละเมิด กระทรวงการคลังอาจกําหนดแนวทางการสอบสวนขอเท็จจริง การทําบันทึก การรายงานผลเพื่อเปนแนวทางปฏิบัติโดยทั่วไปก็ได เมื่อคณะกรรมการพิจารณาแลวเสร็จใหเสนอความเห็นไปยังผูแตงตั้งซึ่งในสวนของกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช เมื่อคณะกรรมการสอบสวนขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดดําเนินการสอบสวน รวบรวมพยานหลักฐานทั้งปวงที่เกี่ยวของรับฟงพยานบุคคลหรือพยานผูเชี่ยวชาญ ตรวจสอบเอกสารพยานวัตถุหรือสถานที่แลวก็ตองรายงานตออธิบดีกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช ตอมาเมื่อผูแตงตั้งหรืออธิบดีมีความเห็นเปนอยางอื่นอาจขอใหคณะกรรมการสอบสวนขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด สอบสวนเพิ่มเติมหรืออาจสั่งใหทบทวนการสอบสวนก็ไดในการนี้ ใหคณะกรรมการรีบดําเนินการใหแลวเสร็จภายในระยะเวลาที่ผูมีอํานาจแตงตั้งกําหนด ในการสอบสวนขอเท็จจริงความเห็นของคณะกรรมการจะตองมีขอเท็จจริงและขอกฎหมายที่ชัดแจงและตองมีพยานหลักฐานสนับสนุนขอเท็จจริงและขอกฎหมายดังกลาวประกอบดวย ความเห็นของคณะกรรมการฯ ไมผูกมัดผูแตงตั้ง กลาวอีกนัยหนึ่งก็คือไมผูกมัดความเห็นของกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช หรือ อธิบดีฯที่จะมีความเห็นเปนอยางอ่ืน เมื่อผูแตงตั้งไดรับผลการพิจารณาของคณะกรรมการแลวใหวินิจฉัยส่ังการวาจะมีผูรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนหรือไมและเปนจํานวนเทาใด ใหผูแตงตั้งคณะกรรมการสอบสวนฯ สงสํานวนการสอบสวนภายในเจ็ดวันนับตั้งแตวินิจฉัยส่ังการ ใหกระทรวงการคลังพิจารณาตรวจสอบ เวนแตเปนเรื่องที่กระทรวงการคลังประกาศกําหนดวาไมตองรายงาน ตามประกาศกระทรวงการคลังเรื่องความรับผิดทาง

Page 30: การนําทรัพย สินของ ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00078/C00078-2.pdf · ความอาญา การจัดการของกลางในคด

ละเมิดของเจาหนาที่ที่ไมตองรายงานใหกระทรวงการคลังตรวจสอบ ประกาศ ณ ๑๐ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๔๘ ซ่ึงมีสาระสําคัญ ดังนี้

๒๓

๑. ความเสียหายเกิดขึ้นกับทรัพยสินของหนวยงานของรัฐจากสาเหตุทั่วไป (เชน อุบัติเหตุเพลิงไหม ทรัพยสินเสียหายหรือสูญหาย เปนตน) ซ่ึงมิไดมีสาเหตุจากการทุจริต เงินขาดบัญชีหรือการไมปฏิบัติตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ มติคณะรัฐมนตรีหรือขอบังคับตาง ๆ หนวยงานของรัฐไมตองสงเรื่องใหกระทรวงการคลังตรวจสอบ ดังนี้ ๑.๑ สําหรับสวนราชการคาเสียหายครั้งละไมเกิน ๕๐๐,๐๐๐ บาท ๑.๒ สําหรับราชการสวนทองถ่ิน รัฐวิสาหกิจ และหนวยงานอื่นของรัฐ คาเสียหายครั้งละไมเกิน ๑,๐๐๐,๐๐๐ บาท ๑.๓ ความเสียหายที่มีจํานวนเกินกวาขอ ๑.๑ และ ๑.๒ และหนวยงานของรัฐพิจารณาแลวเห็นวา ผูตองรับผิดตองชดใชคาเสียหายตั้งแตรอยละ ๗๕ ของคาเสียหายทั้งหมด ๒. ความเสียหายเกิดขึ้นแกหนวยงานของรัฐซึ่งมีสาเหตุจากการทุจริต เงินขาดบัญชีหรือการไมปฏิบัติตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ มติคณะรัฐมนตรีหรือขอบังคับตาง ๆ (เชน การไมปฏิบัติตามกฎหมายวาดวยวิธีการงบประมาณหรือระเบียบที่เกี่ยวของกับการเงินการคลัง การจัดซื้อจัดจางไมปฏิบัติตามระเบียบฯ วาดวยการพัสดุหรือฝาฝนมติคณะรัฐมนตรี เปนตน) หนวยงานของรัฐไมตองสงเรื่องใหกระทรวงการคลังตรวจสอบ ดังนี้ ๒.๑ ความเสียหายซึ่งมีสาเหตุจากการทุจริตและหนวยงานของรัฐไดพิจารณาใหผูทุจริตรับผิดชดใชเต็มจํานวนความเสียหายและพิจารณาใหผูเกี่ยวของที่ประมาทเลินเลออยางรายแรงจนเปนโอกาสหรือชองทางใหเกิดการทุจริตชดใชคาเสียหายเต็มจํานวนความเสียหายตามพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ แลว ๒.๒ ความเสียหายซึ่งมีสาเหตุจากการที่เงินขาดบัญชีหรือการไมปฏิบัติตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ มติคณะรัฐมนตรีหรือขอบังคับตาง ๆ และตองมิไดเกิดจากการทุจริต เมื่อหนวยงานของรัฐไดพิจารณาใหผูกระทําโดยจงใจหรือประมาทเลินเลออยางรายแรงชดใชคาเสียหายเต็มจํานวนความเสียหายตามพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ แลว ความเสียหายเหลานี้เปนความเสียหายที่หนวยงานของรัฐหรือกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช ไมตองสงเรื่องใหกระทรวงการคลังตรวจสอบ แตหนวยงานของรัฐจะตองรายงานความเสียหายที่เกิดขึ้นตามแบบที่กระทรวงการคลังกําหนดไปใหกระทรวงการคลังทราบทุกสามเดือน ในสวนความเสียหายอื่น ๆ หนวยงานของรัฐหรือกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช จะตองรายงานใหกระทรวงการคลังพิจารณาตรวจสอบเสมอ เมื่อกระทรวงการคลังไดรับสํานวนการสอบสวนจากหนวยงานของรัฐแลวใหกระทรวงการคลังพิจารณาโดยไมชักชาและใหมีอํานาจตรวจสอบพยานหลักฐานที่เกี่ยวของ ในกรณีที่เห็นสมควรใหบุคคลใดสงสํานวนหลักฐานหรือใหบุคคลใดใหมาใหถอยคําเพื่อประกอบการพิจารณาวินิจฉัยเพิ่มเติมก็ได ในระหวางการพิจารณาของกระทรวงการคลังใหผูแตงตั้งคณะกรรมการสอบสวนขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด ส่ังการใหเตรียมเรื่องใหพรอมสําหรับการออกคําสั่งใหเจาหนาที่

Page 31: การนําทรัพย สินของ ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00078/C00078-2.pdf · ความอาญา การจัดการของกลางในคด

ชําระคาสินไหมทดแทนหรือดําเนินการฟองคดีเพื่อไมใหขาดอายุความสองปนับแตวันที่ผูแตงตั้งวินิจฉัยส่ังการ ใหกระทรวงการคลังพิจารณาใหแลวเสร็จกอนอายุความสองปส้ินสุดลง ไมนอยกวาหกเดือน

๒๔

การเขียนบันทึกการจับกุม การเขียนบันทึกการจับกุมผูกระทําความผิดเกี่ยวกับกฎหมายวาดวยการปาไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช ไดแจงเวียนแนวทางปฏิบัติเพื่อใหสอดคลองกับประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาซึ่งไดแกไขปรับปรุงใหมเมื่อป พ.ศ. ๒๕๔๗ โดยพระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ฉบับที่ ๒๒) พ.ศ. ๒๕๔๗ เปนการแกไขเพิ่มเติมครั้งใหญมีความมุงหมายเพื่อคุมครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนใหมากยิ่งขึ้นโดยเฉพาะหลักกฎหมายเกี่ยวกับการจับกุม การตรวจคน และที่สําคัญอีกประการหนึ่งก็คือ การแจงสิทธิตาง ๆ แกบุคคลผูถูกจับกุมตามมาตรา ๘๓ และ ๘๔ แหงประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาซึ่งไดแกไขเพิ่มเติมใหมป พ.ศ. ๒๕๔๗ ซ่ึงเกี่ยวกับการปฏิบัติงานของพนักงานเจาหนาที่โดยตรงหากพนักงานเจาหนาที่ไมปฏิบัติตามหลักเกณฑที่กฎหมายกําหนดดังกลาวยอมมีผลกระทบกระเทือนตอการดําเนินคดีตอผูกระทําความผิด เนื่องจากไมอาจรับฟงถอยคําตาง ๆ ที่ผูถูกจับกุมใหไวตอพนักงานเจาหนาที่ผูจับกุมเปนพยานหลักฐานเพื่อพิสูจนความผิดไดและเพื่อปองกันไมใหพนักงานเจาหนาที่ที่ปฏิบัติหนาที่ราชการตามระเบียบกฎเกณฑถูกฟองเปนคดีอาญา ดังนั้นเพื่อใหการปฏิบัติงานของพนักงานเจาหนาที่ถูกตองตามหลักเกณฑขอกฎหมายใหม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืชจึงไดวางแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับกรณีดังกลาวตามหนังสือที่ ทษ ๐๙๐๓.๔/๒๕๒๖ ลงวันที่ ๑๕ กุมภาพันธ ๒๕๔๙ เร่ือง แนวทางปฏิบัติของพนักงานเจาหนาที่ในการจับกุมและคนผูกระทําความผิดตามกฎหมายเกี่ยวกับการปาไม และไดเวียนแนวทางปฏิบัติใหกับ รองอธิบดีกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพนัธุพชื ทกุทาน , ผูเชี่ยวชาญเฉพาะดานนโยบายและแผนทุกทาน, ผูตรวจราชการกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช ทุกทาน, ผูอํานวยการสํานักทุกสํานัก , ผูอํานวยการสํานักบริหารพื้นที่อนุรักษที่ ๑-๑๖ , ผูอํานวยการสํานักบริหารพื้นที่อนุรักษสาขาทุกสาขา , ผูอํานวยการกองทุกกอง, หัวหนากลุมตรวจสอบภายใน, หัวหนากลุมพัฒนาระบบบริหาร, ผูอํานวยการศูนยปฏิบัติการโครงการปลูกปาถาวรเฉลิมพระเกียรติฯ และผูจัดการโครงการจัดการพื้นที่คุมครองอยางมีสวนรวม ทราบแลว โดยมีตัวอยางการเขียนบันทึกการจับกุมและการบันทึกการสงตัวผูถูกจับแกพนักงานสอบสวน ตามลําดับ ดังนี้

บันทึกการจบักุม เขียนที่............................................................

ตําบล...........อําเภอ.................จังหวดั............. วันที่.........เดือน.................................พ.ศ......... บันทึกฉบับนี้ทําขึ้นเพื่อเปนหลักฐานแสดงวา ดวยเมื่อวันที่............เดือน ............................พ.ศ.........เวลา..........น. คณะพนักงานเจาหนาที่ประกอบดวย...............................................................................................ไดรวมกันออกตรวจปราบปรามการกระทําความผิดกฎหมายเกี่ยวกับการปาไม ในพื้นที่.............................................ซ่ึงเปนพื้นที่ที่รับผิดชอบ

Page 32: การนําทรัพย สินของ ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00078/C00078-2.pdf · ความอาญา การจัดการของกลางในคด

บริเวณปา...............................ตําบล.........................อําเภอ..............................จังหวัด.................................พิกัดที่................................ไดพบบุคคลกําลัง (พฤติการณแหงการกระทําความผิด) คณะพนักงานเจาหนาที่

๒๕ ไดแสดงตนวาเปนพนักงานเจาหนาที่และถามชื่อ ทราบชื่อวา......................................................อายุ............... สัญชาติ............................ภูมิลําเนา........................................................................................................พนักงานเจาหนาที่ไดแจงแกบุคคลดังกลาววาทานตองถูกจับ และแจงใหผูถูกจับทราบวา……………………

..........................................................(เชนพืน้ที่ที่ผูถูกจับแผวถางอยูในเขตอุทยานแหงชาติ ดอยหลวง ตามพระราชบัญญัติอุทยานแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๐๔) และพนักงานเจาหนาทีด่ําเนินการดังนี ้

(๑) แจงขอกลาวหาใหผูถูกจบัทราบวาไดกระทําความผิดในขอหา..................................................... ..................................ตามพระราชบัญญัติ.......................................................................................................... (๒) แจงใหผูถูกจับทราบวาผูถูกจับมีสิทธิจะไมใหการหรอืใหการกไ็ด (๓) แจงใหผูถูกจับทราบวาถอยคําของผูถูกจับอาจใชเปนพยานหลักฐาน (๔) แจงใหผูถูกจับทราบวาผูถูกจับมีสิทธิที่จะพบและปรกึษาทนายความหรือผูที่จะเปนทนายความ (๕) ถาผูถูกจับประสงคจะแจงใหญาติหรือผูที่ตนไววางใจทราบถึงการจับที่สามารถดําเนินไดโดยสะดวกไมเปนการขัดขวางการจับหรือการควบคุมผูถูกจับ หรือทําใหเกิดความไมปลอดภัยแกบุคคลหนึ่งบุคคลใด พนักงานเจาหนาที่ผูจับอนุญาตใหผูถูกจับดําเนินการไดตามสมควรแกกรณี ..............................................................................ผูถูกจับไดทราบขอกลาวหาและสิทธิของผูถูกจับ และผูถูกจับไดใหถอยคําแกพนักงานเจาหนาที่ดังนี้………………………………………………….. ........................................................................................................................................................................... เหตุเกิดที่บริเวณ.....................................ในเขต......................ทองที่ตําบล............................อําเภอ..........................จังหวัด.............................วันที่.......เดือน..................พ.ศ.........เวลา.........................น. ดังรายละเอียดตามแผนที่เกิดเหตุที่แนบทายบันทึกการจับกุมนี้ และในการจับกุมครั้งนี้ พนักงานเจาหนาที่ผูจับไดถายรูปไวเปนหลักฐานและพนักงานเจาหนาที่ผูจับไดตรวจยึด..........................................จํานวน..........................................รายละเอียดปรากฏตามบัญชีของกลางที่แนบทายบันทึกการจับกุมนี้ พนักงานเจาหนาที่ผูจับไดนําตัว.................................................ผูถูกจับและของกลาง (เทาที่จะทําได) ไปกลาวโทษตอพนักงานสอบสวนสถานีตํารวจ................................................เพื่อดําเนินคดีตอไป ในการจับกุมและตรวจยึดของกลางครั้งนี้ คณะพนักงานเจาหนาที่ผูจับไดกระทําไปตามอํานาจหนาที่มิไดขูเข็ญหรือทําอันตรายแกรางกายจิตใจผูใด และมิไดเรียกรองทรัพยสินเงินทองจากผูถูกจับกุมให...........................................................................ฟง และใหผูถูกจับอานบันทึกการจับนี้แลวรับวาถูกตองเปนความจริง และใชบันทึกการจับกุมนี้เปนพยานหลักฐานในชั้นพนักงานสอบสวนและชั้นศาลได จึงไดลงลายมือช่ือไวเปนหลักฐานตอพนักงานเจาหนาที่ผูจับ

(ลงชื่อ)....................................................................ผูถูกจับ

(ลงชื่อ)....................................................................พนักงานเจาหนาที่ผูจับ

Page 33: การนําทรัพย สินของ ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00078/C00078-2.pdf · ความอาญา การจัดการของกลางในคด

(ลงชื่อ)....................................................................พนักงานเจาหนาที่ผูจับ/ผูบันทึก/ผูอาน ๒๖

บันทึกการสงตัวผูถูกจับแกพนักงานสอบสวน

เขียนที่สถานีตาํรวจ......................................... ตําบล...........อําเภอ.................จังหวดั.............

วันที่.........เดือน.................................พ.ศ.........

บันทึกฉบับนี้ทําขึ้นเพื่อเปนหลักฐานแสดงวา วันที่............เดอืน ............................พ.ศ.........เวลา..........น. ...........................................คณะพนักงานเจาหนาผูจับผูกระทําความผิดกฎหมายเกีย่วกับการปาไม ตามบันทึกการจับกุมลงวันที่........เดือน...........................พ.ศ.................ไดนําตัว............................................................ผูถูกจับพรอมของกลางที่ตรวจยดึ(........................................................) สงแก.............................................................................พนักงานสอบสวนสถานีตํารวจ............................................ณ ที่ทําการสถานีตํารวจ........................................โดยกลาวโทษตอพนักงานสอบสวนสถานีตํารวจ.............................................ตามบันทึกประจําวัน...........เวลา.....................น. คดีที่..............................ลงวันที่.......เดือน.........................พ.ศ...............................และพนักงานเจาหนาที่ผูจับไดดําเนินการดงันี ้

(๑) แจงขอกลาวหาให................................................................................ผูถูกจับทราบวาไดกระทําความผิดฐาน.........................................ตามพระราชบัญญัติ............................................................ (๒) แจงรายละเอียดเกีย่วกับเหตุแหงการจบัให.....................................................................ผูถูกจับทราบ (๓) แจงใหผูถูกจับทราบวามหีมายคนและไดอานหมายคนใหผูถูกจับฟง (กรณีมหีมายคน) (๔) พนักงานเจาหนาที่ผูจับไดมอบสําเนาบันทึกการจับกุมให.............................................. .............................................ผูถูกจับ อานใหผูเกี่ยวของฟงแลว รับวาถูกตองเปนความจริง จึงไดลงลายมือช่ือไวเปนหลักฐาน (ลงชื่อ)....................................................................ผูถูกจับ (ลงชื่อ)....................................................................พนักงานเจาหนาที่ผูจับ (ลงชื่อ)....................................................................พนักงานเจาหนาที่ผูจับ/ผูบันทึก/ผูอาน (ลงชื่อ)....................................................................พนักงานสอบสวนผูรับตัวผูถูกจับ

Page 34: การนําทรัพย สินของ ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00078/C00078-2.pdf · ความอาญา การจัดการของกลางในคด
Page 35: การนําทรัพย สินของ ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00078/C00078-2.pdf · ความอาญา การจัดการของกลางในคด

๒๗

การรวบรวมพยานหลักฐาน การรวบรวมพยานหลักฐานเพื่อดําเนินคดีกบัผูกระทําความผิดเกี่ยวกับกฎหมายวาดวยการปาไมนั้นจะตองรวบรวมพยานหลักฐานทุกชนดิเทาที่สามารถทําไดเพื่อพิสูจนความผิดและเพือ่ที่จะเอาตวัผูกระทําความผิดมาฟองลงโทษ ดังนี ้

(๑) พยานบุคคล ไดแก บุคคลธรรมดาที่เบิกความดวยวาจาตอศาล ที่ตองเปนบุคคลที่เขาใจและตอบคําถามได และเปนผูที่ไดเห็น ไดยิน หรือทราบขอความเกี่ยวกับในเรื่องทีจ่ะใหการเปนพยานนัน้มาดวยตนเองโดยตรง หรือผูเชีย่วชาญตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๙๕ มาตรา ๙๘ และมาตรา ๑๑๓ ดังนั้น บคุคลที่เกี่ยวของที่สามารถสนับสนุนขออางในการดําเนินคดีไดควรตองระบุพยานบุคคลไวในบญัชีระบุพยาน ซ่ึงในกรณนีี้ก็ไดแก ผูเขารวมทําการจับกุมในคดีอาญา ผูคํานวณคาเสียหาย ผูเชี่ยวชาญเกีย่วกับการคิดคํานวณคาเสียหาย นิตกิรผูเปนเจาของสํานวนในการเบิกความตอศาลเกี่ยวกับประเด็นเรื่องอํานาจในการฟองรองตามกฎหมาย เปนตน (๒) พยานวัตถุ ไดแก วัตถุส่ิงของทุกชนิด รวมถึง สถานที่เกิดเหตุ หรือภาพถายสถานที่เกิดเหต ุสถานที่ที่ใกลเคียงหรือติดกบัที่เกิดเหตุ ตวัอยางของดนิในพื้นทีเ่กิดเหตุ ซ่ึงในคดีแพงนั้นมีการกลาวถึงพยานวัตถุนอยมาก ที่ปรากฏในกฎหมาย เชน ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๘๘ กําหนดใหอางพยานวัตถุเปนพยานได ดังนั้นในการดาํเนินคดแีพงนีท้ี่สําคัญก็ไดแก ภาพถายสถานที่เกิดเหตุทีม่ีการบุกรุกทําลายปาบริเวณขางเคยีงกับที่เกิดเหตุเพื่อเปรียบเทียบ พรอมวันเวลาที่บันทึกภาพถายไว ซ่ึงในทางคดีนั้นถือวาภาพถายเปนภาพจาํลองวัตถุหรือเปนพยานวัตถุได เนื่องจากภาพถายเปนภาพจําลองวัตถุที่สามารถแสดงสภาพตางๆ ของที่เกิดเหตุไดเปนอยางดีวาในขณะเกิดเหตุนั้นปามีสภาพอยางไร ถูกบุกรุกทาํลายมากนอยแคไหน สภาพปาบริเวณใกลเคยีงที่ไมถูกทําลายมีสภาพแตกตางกบัสภาพปาบริเวณที่ถูกทําลายมากนอยเพียงใด ซ่ึงสิ่งเหลานี้สามารถที่จะใชเปนพยานประกอบการพิจารณาใหศาลใชดุลยพินจิในการกําหนดคาเสียหายไดใกลเคียงความเปนจริงมากทีสุ่ด จึงมีความจําเปนอยางยิ่งตองบันทกึภาพถายไวอยางละเอียดครบถวน และรวบรวมเปนพยานหลักฐานในการคิดคํานวณคาเสียหายไดเปนอยางด ี (๓) พยานเอกสาร ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑ อนุ ๗ บัญญัติวา “เอกสาร” หมายความวา กระดาษหรือวัตถุอ่ืนใดซึ่งไดทําการใหปรากฏความหมายดวยตัวอักษร ตัวเลขผัง หรือแผนแบบอยางอื่น จะเปนโดยวิธีพิมพถายภาพหรือวิธีอ่ืนอันเปนหลักฐานแหงความหมายนั้น และการอางเอกสารเปนพยานตองระบุอางเอกสารไวในบัญชีระบุพยานตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๘๘ ดังนั้น พยานเอกสารจึงมีความจําเปนอยางยิ่งตอการอางเปนพยานหลักฐานในคดีแพงจะตองปฏิบัติใหถูกตองตามหลักเกณฑที่กฎหมายกําหนด กลาวคือตองเปนตนฉบับเอกสาร เวนแตคูความที่เกี่ยวของทุกฝายตกลงกันวาสําเนาเอกสารนั้นถูกตอง หรือตนฉบับหาไมไดเพราะสูญหายหรือถูกทําลายโดยเหตุสุดวิสัย หรือตนฉบับอยูในความอารักขาหรือควบคุมของทางราชการ หรือสําเนาเอกสารที่เจาหนาที่รับรองถูกตองแลวก็สามารถรับฟงหรืออางสําเนาเอกสารไดตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๙๓ ดังนั้น ในกรณีดําเนินคดีแพงนี้พยานเอกสารที่เกี่ยวของไดแก บันทึกการจับกุมหรือสําเนาที่รับรองถูกตองโดยเจาหนาที่

Page 36: การนําทรัพย สินของ ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00078/C00078-2.pdf · ความอาญา การจัดการของกลางในคด

๒๘

เอกสารรายละเอียดขอเท็จจริงที่เกี่ยวกับการกระทําผิด แผนที่แสดงผลการตรวจสอบรังวัดพื้นที่ ปาไมที่เสียหาย แผนที่แนบทายพระราชกฤษฎีกา หรือประกาศคณะรัฐมนตรีกําหนดเขตหามลาสัตวปา เอกสารอางอิง การคํานวณคาเสียหาย และเอกสารประกอบการคํานวณคาเสียหาย สําเนาทะเบียนบาน รายงานผลคดีอาญาหนังสือบอกกลาวทวงถามใหชําระคาเสียหาย เปนตน อํานาจการสืบสวนสอบสวนของพนักงานสอบสวน

เมื่อพนักงานเจาหนาที่จากสํานักงานปาไมจังหวัดเชียงใหม (ในขณะนั้น)รวมกบัเจาหนาที่จากสวนปองกันและปราบปรามที่ ๓ (ภาคเหนือ)ไดเขาดําเนินการตรวจสอบหางหุนสวนจํากัดเชียงใหม ที.ดี. หมูที่ ๖ ตําบลสบเตี๊ยะ อําเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม พบการกระทําความผิดตามกฎหมายเกี่ยวกับการปาไม เจาหนาที่จึงไดรวมกันทําการจับกุมและแจงขอกลาวหาใหนายนพดล ตาวงค ผูกระทําความผิดกฎหมายวาดวยการปาไมทราบ และควบคุมตัว ผูกระทําความผิดสงพนักงานสอบสวนทองที่เกิดเหตุ พรอมกับแจงความกลาวโทษตอพนักงานสอบสวนสถานีตํารวจภูธรอําเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหมทําการสืบสวนสอบสวนแสวงหาพยานหลักฐานเพื่อที่จะเอาตัวผูกระทําผิดมาฟองลงโทษตามกฎหมาย ซ่ึงการสอบสวนหมายความรวมถึงการรวบรวมพยานหลักฐานและการดําเนินการทั้งหลายอื่นตามบทบัญญัติแหงประมวลกฎหมายนี้ซ่ึงพนักงานสอบสวนไดทําไปเกี่ยวกับความผิดที่กลาวหา เพื่อที่จะทราบขอเท็จจริงหรือพิสูจนความผิดและเพื่อจะเอาตัวผูกระทําผิดมาฟองลงโทษ ทั้งนี้ ตามมาตรา ๒(๑๑)แหงประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา พนักงานสอบสวนมีอํานาจสอบสวนคดีอาญาทั้งปวง แตถาเปนคดีอาญาความผิดตอสวนตัวหามมิใหพนักงานสอบสวนทําการสอบสวนเวนแตจะมีคํารองทุกขจากผูเสียหายตามระเบียบในความผิดอาญาแผนดินพนักงานสอบสวนสามารถทําการสอบสวนความผิดได ไมวาจะเปนการที่พนักงานสอบสวนรูเหตุแหงความผิดเองหรือมีบุคคลหนึ่งบุคคลใดมากลาวโทษหากเปนความผิดอาญาแผนดินแลวพนักงานสอบสวนก็มีอํานาจในการสอบสวนทั้งสิ้น ดังนั้น แมไมมีคํารองทุกขของผูเสียหายหรือคํากลาวโทษของบุคคลหนึ่งบุคคลใดพนักงานสอบสวนก็สามารถทําการสอบสวนได ในเรื่องดังกลาวนี้ศาลฎีกาไดมีคําพิพากษาตัดสินไวเปนบรรทัดฐานแลวตามคําพิพากษาศาลฎีกาที่ ๓๗๖๓/๒๕๒๗ วินิจฉัยวา คดีความผิดลหุโทษตาม ป.อาญา มาตรา ๓๖๘, ๓๘๖ มิใชคดีความผิดตอสวนตัวเมื่อพนักงานสอบสวนไดทําการสอบสวนแลว พนักงานอัยการยอมมีอํานาจเปนโจทกฟองคดีตอศาลได ตาม ป.วิ.อาญา มาตรา ๑๒๐ ผูรองทุกขหรือกลาวโทษใหดําเนินคดีนี้ จะเปนผูใดหามีความสําคัญไม และฎีกา ๔๖๒/๒๕๔๗ วินิจฉัยวา ความผิดตามพระราชบัญญัติเครื่องหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ และความผิดตามพระราชบัญญัติยาสูบ พ.ศ. ๒๕๐๙ เปนความผิดอาญาตอแผนดิน เจาพนักงานยอมมีอํานาจจับกุมผูกระทําผิดและพนักงานสอบสวนก็มีอํานาจจับกุมผูกระทําผิดและพนักงานสอบสวนก็มีอํานาจทําการสอบสวนได ไมวาจะมีผูเสียหายรองทุกขหรือมีผูกลาวโทษผูกระทําผิดหรือไม แมจะวินิจฉัยวาการมอบอํานาจใหรองทุกขไมชอบดวยกฎหมายก็ไมมีผลทําใหการดําเนินคดีนี้แกจําเลยไมชอบดวยกฎหมาย อุทธรณของจําเลยในปญหาดังกลาวจึงไมเปนสาระแกคดีอันควรไดรับการวินิจฉัย แตถาเปนความผิดตอสวนตัวแลวการที่พนักงานสอบสวนจะมีอํานาจสอบสวน

Page 37: การนําทรัพย สินของ ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00078/C00078-2.pdf · ความอาญา การจัดการของกลางในคด

๒๙

ไดจะตองมีคํารองทุกขของผูเสียหายเสียกอน ความผิดอาญาทั้งหมดไมวาจะเปนความผิดอาญาตามประมวลกฎหมายอาญาหรือความผิดอาญาตามกฎหมายอื่นถือไดวาเปนความผิดอาญาตอแผนดินทั้งสิ้นเวนแตจะมีบทบัญญัติวาเปนความผิดอันยอมความกันได ในสวนของกรณีความผิดตอสวนตัวหรือความผิดอันยอมความกันไดถาผูเสียหายขอความชวยเหลือจากพนักงานสอบสวนแตไมยอมรองทุกขตามระเบียบหรือกรณีที่ผูเสียหายยื่นฟองคดีเสียเองโดยไมไดรองทุกขตอพนักงานสอบสวนกอนหรือกรณีเมื่อมีหนังสือกลาวโทษตอพนักงานสอบสวนเปนบัตรสนเทห หรือกรณีมีผูกลาวโทษตอพนักงานสอบสวนดวยปากเปลาไมยอมบอกช่ือผูกลาววาเปนใครหรือผูกลาวโทษไมยอมลงลายมือช่ือในคํากลาวโทษหรือบันทึกการกลาวโทษเหตุดังที่กลาวมานี้พนักงานสอบสวนจะไมทําการสอบสวนก็ไดเปนเรื่องเกี่ยวกับดุลยพินิจของพนักงานสอบสวนที่เปนบทบัญญัติใหอํานาจพนักงานสอบสวนจะไมทําการสอบสวนก็ได เมื่อมีการกระทําความผิดอาญาเกิดขึ้นใหพนักงานสอบสวนเริ่มทําการสอบสวนโดยไมชักชา พนักงานสอบสวนจะทําการสอบสวน ณ ที่ใดหรือเวลาใดก็ไดแลวแตจะเห็นสมควร ในการดําเนินการสอบสวนไมจําเปนตองใหผูตองหาอยูดวยและตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ มาตรา ๒๔๑ บัญญัติวา “ ในคดีอาญา ผูตองหาหรือจําเลยยอมมีสิทธิไดรับการสอบสวนหรือการพิจารณาคดีดวยความเร็ว ตอเนื่อง และเปนธรรม ในชั้นสอบสวน ผูตองหามีสิทธิใหทนายความหรือผูซ่ึงตนไววางใจเขาฟงการสอบปากคําตนได ผูเสียหายหรือจําเลยในคดีอาญายอมมีสิทธิตรวจหรือคัดสําเนาคําใหการของตนในชั้นสอบสวนหรือเอกสารประกอบคําใหการของตนเมื่อพนักงานอัยการไดยื่นฟองคดีตอศาลแลวทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ ในคดีอาญาที่พนักงานอัยการมีคําสั่งเด็ดขาดไมฟองแลว ผูเสียหาย ผูตองหา หรือผูมีสวนไดเสีย ยอมมีสิทธิขอทราบสรุปพยานหลักฐานพรอมความเห็นของพนักงานสอบสวนและพนักงานอัยการในการสั่งคดี ทั้งนี้ตามกฎหมายบัญญัติ” ดังคําพิพากษาฎีกาที่ ๖๖๑/๒๔๙๐ ซ่ึงวินิจฉัยวา เจาพนักงานผูมีอํานาจสอบสวนจะทําการสอบสวน ณ ที่ใด เวลาใดก็ได แลวแตจะเห็นสมควร แมจะทําการสอบสวนในที่ซ่ึงอยูตางจังหวัดกับทองที่ของตนก็ทําได และคําพิพากษาฎีกาที่ ๑๐๓๔/๒๔๙๑ ซ่ึงวินิจฉัยวา เมื่อมีพนักงานสอบสวนนั่งสอบสวนอยูแลว แมมีผู อ่ืนมานั่งสอบสวนรวมดวยก็ไมทําใหการสอบสวนนั้นเสียไป ในการสอบสวนกฎหมายกําหนดใหพนักงานสอบสวนมีอํานาจรวบรวมหลักฐานทุกชนิดเทาที่สามารถจะทําได เพื่อความประสงคจะทราบขอเท็จจริงและพฤติการณตาง ๆ อันเกี่ยวกับความผิดที่ถูกกลาวหา เพื่อจะรูตัวผูกระทําผิดและพิสูจนใหเห็นความผิดหรือความบริสุทธิ์ของผูตองหา อํานาจที่สําคัญอีกประการหนึ่งของพนักงานสอบสวนในขณะทําการสอบสวนก็คือ (๑) ตรวจตัวผูเสียหายเมื่อผูนั้นยินยอมหรือตรวจตัวผูตองหา ตรวจสิ่งของหรือที่ทางอันสามารถอาจใชเปนพยานหลักฐานไดใหรวมทั้งทําภาพถาย แผนที่ หรือภาพวาด ภาพจําลองหรือพิมพลายนิ้วมือ ลายมือหรือลายเทากับใหทําบันทึกลายละเอียดทั้งหลายซ่ึงนาจะกระทําใหคดีแจมกระจางขึ้น (๒) คนเพื่อพบสิ่งของ ซ่ึงมีไวเปนความผิด หรือไดมาโดยการกระทําผิด หรือไดใชหรือสงสัยวาไดใชในการกระทําผิด หรือซ่ึงอาจใชเปนพยานหลักฐานได แตตองปฏิบัติตามบทบัญญัติแหงประมวลกฎหมายนี้วาดวยคน (๓) หมายเรียกบุคคลซึ่งครอบครองสิ่งของ ซ่ึงอาจใชเปนพยานหลักฐานได

Page 38: การนําทรัพย สินของ ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00078/C00078-2.pdf · ความอาญา การจัดการของกลางในคด

๓๐ แตบุคคลไดถูกหมายเรียกไมจําตองมาเองเมื่อจัดสงสิ่งของมาตามหมายแลว ใหถือเสมือนวาไดปฏิบัติตามหมาย (๔) ยึดไวซ่ึงสิ่งของที่คนพบหรือสงมาดวย ดังกลาวไวในอนุมาตรา (๒) และ (๓)

อํานาจการสอบสวนของพนักงานสอบสวนที่สําคัญอีกประการหนึ่ง ก็คือ ในกรณีที่พนักงานสอบสวนสอบสวนความผิดที่มีโทษประหารชีวิตหรือในคดีที่ผูตองหามีอายุไมเกิน ๑๘ ป ในวันที่พนักงานสอบสวนแจงขอกลาวหาแกผูกระทําความผิดนั้นกอนเริ่มทําการสอบสวน ใหถามคําใหการผูตองหาเสียกอนโดยใหพนักงานสอบสวนถามผูตองหาวา “ผูตองหามีทนายความหรือไม ถาไมมี ก็ใหรัฐจัดหาทนายความให” ซ่ึงเปนบทบัญญัติของกฎหมายที่บังคับใหพนักงานสอบสวนจัดหาทนายความให ในคดีที่มีอัตราโทษจําคุกกอนเริ่มถามคําใหการของผูตองหา ใหพนักงานสอบสวนสอบถามผูตองหาวามีทนายความหรือไม ถาไมมีและผูตองหาตองการทนายความก็ใหรัฐจัดหาใหในประเด็นนี้มิไดบังคับพนักงานสอบสวนวาตองจัดหาทนายความให เพียงแตกฎหมายบัญญัติไววาหากผูตองหาไมมีทนายความ และผูตองหามีความประสงคจะแตงตั้งทนายความแลวก็ใหรัฐจัดหาทนายความให เมื่อไดจัดหาทนายความใหกับผูตองหาแลว หากตอมามีความจําเปนเรงดวนทนายความไมอาจมาพบผูตองหาไดโดยมิไดแจงเหตุขัดของใหพนักงานสอบสวนทราบหรือแจงเหตุขัดของใหพนักงานสอบสวนทราบแลวแตไมสามารถมาพบผูตองหาในเวลาอันสมควรได ในกรณีดังกลาวนี้ใหพนักงานสอบสวนทําการสอบสวนผูตองหาไปโดยไมตองรอทนายความก็ไดแตวาพนักงานสอบสวนจะตองบันทึกเหตุนั้นไวในสํานวนการสอบสวนดวย ดังคําพิพากษาศาลฎีกาที่ ๓๙๗๑/๒๕๔๒ ซ่ึงวินิจฉัยวา เปนหนาที่ของศาลชั้นตนที่จะตองสอบสวนตามจําเลยกอนเร่ิมพิจารณาคดีมีอัตราจําคุกวา จําเลยมีและตองการทนายความหรือไม ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๑๗๓ วรรคสอง เมื่อไมปรากฏวาศาลชั้นตนไดมีการดําเนินการดังกลาว การดําเนินกระบวนพิจารณาของศาลชั้นตนจึงไมถูกตอง จําเปนตองดําเนินการใหมใหถูกตอง แมจําเลยมิไดฎีกาในปญหานี้ก็ตาม ตอจากนั้นเมื่อพนักงานสอบสวนทําการสอบสวนสรุปสํานวนรวบรวมเอกสารพยานหลักฐานและขอเท็จจริงเสร็จเรียบรอยแลวจะตองสงสํานวนพรอมทั้งความเห็นวาควรสั่งฟองหรือไมฟองผูตองหาตอพนักงานอัยการตอไป อํานาจของพนักงานอยัการในการสั่งสํานวนคดตีามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

เมื่อพนักงานอยัการไดรับสํานวนการสอบสวนจากพนกังานสอบสวนพรอมทั้งความเห็นของพนกังานสอบสวนในดานคดีวาควรสั่งฟองหรือไมฟองผูตองหาหรือไม อยางไร แลวใหพนกังานอัยการปฏิบัติดังนี ้ (๑) เมื่อพนักงานอัยการไดตรวจพิจารณาสํานวนการสอบสวนจากพนักงานสอบสวนแลวมีความเห็นควรสั่งไมฟองในกรณีนี้ใหพนักงานอัยการออกคําสั่งไมฟองผูตองหา แตถาพนักงานอัยการมีความเห็นวาควรสั่งฟองก็ใหแจงพนักงานสอบสวนสงตัวผูตองหาเพื่อส่ังฟองตอไป (๒) ในกรณีที่พนักงานอัยการมีความเห็นสั่งฟองก็ใหออกคําสั่งฟองและดําเนินการฟองผูตองหาตอศาลตอไป

Page 39: การนําทรัพย สินของ ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00078/C00078-2.pdf · ความอาญา การจัดการของกลางในคด

๓๑ จากกรณีขอที่ (๑) และขอที่ (๒) ดังกลาวขางตน พนักงานอัยการเจาของสํานวนมีอํานาจสั่งพนักงานสอบสวนใหดําเนินการสอบสวนเพิ่มเติมหรือส่ังใหพนักงานสอบสวนสงพยานคนใดมาใหซักถามเพิ่มเติมตอไปก็ได หรือส่ังตามที่เห็นสมควรเพื่อประโยชนในการพิจารณาคดี และเพื่อความยุติธรรม อีกทั้งมีอํานาจในการวินิจฉัยวาควรปลอยตัวผูตองหา ปลอยช่ัวคราว ควบคุมตัวผูตองหาไวหรือขอใหศาลสั่งขังแลวแตกรณีก็ได สําหรับในคดีฆาตกรรมซึ่งผูตายถูกเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ฆาตาย หรือตายในระหวางควบคุมของเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ อธิบดีกรมอัยการหรือผูรักษาราชการแทนปจจุบันก็คือหมายถึงอัยการสูงสุดหรือผูรักษาราชการแทนเทานั้นมีอํานาจออกคําสั่งฟองหรือไมฟองผูตองหาตอศาล ในคดีฆาตกรรมซึ่งผูตายถูกเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติหนาที่ฆาตาย หรือตายในระหวางการควบคุมของเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการไปตามหนาที่ หมายถึง คดีวิสามัญฆาตกรรม การวิสามัญฆาตกรรมเปนเรื่องที่จะตองพิจารณาจากขอเท็จจริงที่เกิดขึ้นวาลักษณะอยางไรเปนวิสามัญฆาตกรรมหรือไมเปนวิสามัญฆาตกรรม เปนกรณี ๆ ไป มิใชพิจารณาจากการตั้งสํานวนการสอบสวนของพนักงานสอบสวนแตอยางใด ซ่ึงเรื่องดังกลาวนี้ไดมีคําพิพากษาศาลฎีกาที่ ๓๑๐๐/๒๕๓๒ ซ่ึงวินิจฉัยวา การที่จะกลาวอางวาตนเปนเจาพนักงานฆาผูตายเพราะเหตุจากการปฏิบัติราชการตามหนาที่หรือผูตายตายอยูในระหวางการควบคุมของตนซึ่งเปนการปฏิบัติราชการตามหนาที่ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๑๔๓ วรรคสามนั้น ตองไดกลาวอางขึ้นในชั้นที่ถูกกลาวหาวาเปนผูกระทําความผิด เพื่อพนักงานสอบสวนจะไดเสนอสํานวนการสอบสวนและความเห็นตอพนักงานอัยการตามมาตรา ๑๔๒ หรือตออธิบดีกรมอัยการ หรือผูรักษาราชการแทนตามมาตรา ๑๔๓ วรรคสาม ไดถูกตอง เมื่อมิไดมีการกลาวอางเชนวานั้น ในชั้นที่ถูกกลาวหาแลวการที่พนักงานสอบสวนดําเนินการสอบสวนเชิงคดีอาญาธรรมดารวมทั้งการที่พนักงานอัยการออกคําสั่งฟองจึงเปนการชอบดวยกฎหมายแลว

ในสํานวนการสอบสวนของพนักงานสอบสวนที่สงใหพนักงานอัยการนั้นถาสํานวนนั้นพนักงานอัยการพิจารณาแลวเห็นวา ความผิดที่พนักงานสอบสวนสอบสวนมานั้นเปนความผิดที่อาจเปรียบเทียบไดเมื ่อพนักงานอัยการเห็นสมควร พนักงานอัยการจะสั ่งใหพนักงานสอบสวนทําการเปรียบเทียบคดีนั ้นแทนการสงสํานวนการสอบสวนและผูตองหาฟองยังศาลก็ได ในกรณีเดียวกันหากพนักงานสอบสวนไดสงตัวผูตองหาพรอมกับสํานวนการสอบสวนแลวพนักงานอัยการเจาของสํานวนอาจสงสํานวนพรอมกับตัวผูตองหาคืนไปใหพนักงานสอบสวนเพื่อใหพนักงานสอบสวนทําการเปรียบเทียบตามบทบัญญัติของกฎหมายตอไป

ในการสั่งสํานวนการสอบสวนของพนักงานอัยการถาพนักงานอัยการเห็นวาสํานวนการสอบสวนของพนักงานสอบสวนที่สงมาใหนั้นพนักงานอัยการเห็นวาสมควรมีคําสั่งไมฟองคดีตอศาล อาจจะเปนเพราะขาดพยานหลักฐานหรือมูลความผิดไมปรากฏถึงตัวผูตองหาใหพนักงานอัยการออกคําสั่งไมฟองผูตองหาและสงสํานวนพรอมความเห็นคืนไปยังพนักงานสอบสวนในกรณีดังกลาวนี้หากเปนสาํนวนการสอบสวนที่อยูในกรุงเทพมหานครใหสงสํานวนการสอบสวนพรอมคําสั่งดังกลาวเสนอตออธิบดีกรมตํารวจ รองอธิบดีกรมตํารวจ หรือผูชวยอธิบดีกรมตํารวจพิจารณาวา เห็นชอบดวยกับความเห็นของพนักงานอัยการ

Page 40: การนําทรัพย สินของ ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00078/C00078-2.pdf · ความอาญา การจัดการของกลางในคด

๓๒

หรือไม หากไมเห็นชอบดวยก็ใหสงความเห็นของอธิบดีกรมตํารวจ รองอธิบดีกรมตํารวจ หรือผูชวยอธิบดีกรมตํารวจ กลับคืนไปใหพนักงานอัยการเพื่อฟองผูตองหาตอศาลตอไป ในกรณีเชนนี้หากพนักงานอัยการเห็นชอบดวยกับความเห็นของอธิบดีกรมตํารวจ รองอธิบดีกรมตํารวจ หรือผูชวยอธิบดีกรมตํารวจ ก็ใหพนักงานอัยการเจาของสํานวนฟองผูตองหาตอศาลตอไปเชนเดียวกัน แตอยางไรก็ตามหากพนักงานอัยการไมเห็นชอบดวยกับความเห็นของอธิบดีกรมตํารวจ รองอธิบดีกรมตํารวจ หรือผูชวยอธิบดีกรมตํารวจ ก็ใหสงสํานวนไปใหอัยการสูงสุด ความเห็นของอัยการสูงสุดเปนที่ยุติ ในกรณีที่สํานวนการสอบสวนของพนักงานสอบสวนเกิดนอกเขตกรุงเทพมหานครความเห็นของพนักงานอัยการที่ส่ังสํานวนการสอบสวนควรส่ังไมฟองผูตองหาตอศาลใหสงสํานวนคําสั่งไมฟองผูตองหาตอผูวาราชการจังหวัดพิจารณาอีกครั้งหนึ่ง หากผูวาราชการจังหวัดเห็นชอบวาไมควรฟองผูตองหาตอศาล คดีดังกลาวก็เปนอันยุติ แตถาผูวาราชการจังหวัดเห็นวาควรสั่งฟองผูตองหาตอศาลก็ใหสงสํานวนการสอบสวนไปยังพนักงานอัยการพิจารณา หากพนักงานอัยการเห็นวาควรสั่งฟองตามความเห็นของผูวาราชการจังหวัดก็ใหฟองคดีนั้นตอศาลตอไป แตถาไมเห็นชอบดวยตามความเห็นของผูวาราชการจังหวัดก็ใหเสนอสํานวนการสอบสวนดังกลาวตออัยการสูงสุดพิจารณา ความเห็นของอัยการสูงสุดเปนประการใดก็ใหเปนที่ยุติตามนั้น การจัดการของกลางในคดคีวามผิดวาดวยการปาไม กรณีพนักงานอัยการมีคําสั่งเด็ดขาดไมฟองคดี คําสั่งเด็ดขาดไมฟองคดีของพนักงานอัยการตามพระราชบัญญัติปาไม พุทธศักราช ๒๔๘๔ มาตรา ๖๔ ทวิ วรรคแรก หมายถึง คําสั่งเด็ดขาดไมฟองผูตองหาหรือไมฟองในฐานความผิดที่กลาวหา การแจงใหพนักงานสอบสวนจัดการตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา ๘๕ วรรคทาย เปนการแจงพนักงานสอบสวนหรือเจาหนาที่พึงปฏิบัติตอของกลางในคดีเทานั้น มิใชเปนการสั่งเด็ดขาดไมฟองในฐานความผิดที่กลาวหา ซ่ึงกรมปาไมไดเรียนใหผูวาราชการจังหวัดทุกจังหวัดทราบและสั่งเจาหนาที่ถือปฏิบัติตามหนังสือกรมปาไม ที่ กษ ๐๗๐๗/๒๓๒๗๖ ลงวันที่ ๓๐ สิงหาคม ๒๕๒๘ ในคดีการกระทําความผิดตามกฎหมายเกี่ยวกับการปาไมที่ผูตองหาหลบหนี แตพนักงานอัยการสั่งฟองและออกหมายจับก็ดี หรือคดีที่พนักงานอัยการสั่งฟองแตไมขอริบของกลางก็ดี หรือคดีที่พนักงานอัยการสั่งงดการสอบสวนก็ดี มิใชเปนกรณีที่พนักงานอัยการสั่งเด็ดขาดไมฟองคดี และไมมีผลใหคดีถึงที่สุดทั้งสิ้น ทั้งนี้ตามหนังสือสํานักงานอัยการสูงสุด ดวนมาก ที่ อส ๐๐๐๒/๑๒๔๒๕ ลงวันที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๓๔ ซ่ึงกรมปาไมไดสงสําเนาหนังสือสํานักงานอัยการสูงสุดดังกลาว ใหผูวาราชการจังหวัดทุกจังหวัด ปาไมเขตทุกเขต และหนวยงานที่เกี่ยวของ เพื่อทราบและถือเปนแนวทางปฏิบัติ ตามหนังสือกรมปาไม ที่ กษ ๐๗๐๕.๐๓/ว.๗๘๑๑ ว.๗๘๑๒ และ ว.๗๘๑๓ ลงวันที่ ๑๘ มีนาคม ๒๕๓๗ ตามลําดับในกรุงเทพมหานคร เมื่อพนักงานอัยการมีคําสั่งไมฟองคดี และคําสั่งนั้นไมใชของอัยการสูงสุด ตองสงสํานวนการสอบสวนพรอมกับคําสั่งไปเสนออธิบดีกรมตํารวจ รองอธิบดีกรมตํารวจหรือผูชวย

Page 41: การนําทรัพย สินของ ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00078/C00078-2.pdf · ความอาญา การจัดการของกลางในคด

๓๓

อธิบดีกรมตํารวจ ถาอธิบดีฯ รองอธิบดีฯ หรือผูชวยอธิบดีฯ แยงคําสั่งของพนักงานอัยการ ใหสงสํานวนพรอมกับความเห็นที่แยงกันไปยังอัยการสูงสุดเพื่อช้ีขาด ในจังหวัดอื่น (นอกจากกรุงเทพมหานคร) เมื่อพนักงานอัยการมีคําสั่งไมฟองคดีและคําสั่งนั้นไมใชของอัยการสูงสุด ตองสงสํานวนการสอบสวนพรอมกับคําสั่งไปเสนอผูวาราชการจังหวัด ถาผูวาราชการจังหวัดแยงคําสั่งของพนักงานอัยการ ใหสงสํานวนพรอมกับความเห็นที่แยงกันไปยังอัยการสูงสุดเพื่อช้ีขาด ซ่ึงหากอัยการสูงสุดชี้ขาดใหฟองคดี พนักงานอัยการตองดําเนินการฟองคดีตามที่อัยการสูงสุดไดช้ีขาดใหฟองคดี ทั้งนี้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา ๑๔๕ กรณีไมของกลางในคดีความผิด พระราชบัญญัติปาไม พุทธศักราช ๒๔๘๔ ที่พนักงานอัยการสั่งไมฟอง และมิไดส่ังการเกี่ยวกับของกลาง หรือในกรณีที่พนักงานอัยการใหจัดการกับของกลางตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๘๕ วรรคทาย ถาภายใน ๑ ป นับแตวันยึดเจาของ มิไดมารองขอไมของกลางคืน ถือวาไมของกลางนั้นตกเปนของแผนดิน ตามมาตรา ๑๓๒๗ แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ทั้งนี้ ตามหนังสือกรมปาไม ที่ กส ๐๗๑๓/๑๘๐๖๐ ลงวันที่ ๑๖ ตุลาคม ๒๕๒๔ เรียนผูวาราชการจังหวัดสุราษฎรธานี และไดสงสําเนาหนังสือดังกลาวใหผูวาราชการจังหวัดทุกจังหวัด ทราบและสั่งเจาหนาที่ถือปฏิบัติ ตามหนังสือกรมปาไม ที่ กส ๐๗๑๓/๑๘๐๖๑ ลงวันที่ ๑๖ ตุลาคม ๒๕๒๔ และแจงปาไมเขตทุกเขตและหนวยงานที่เกี่ยวของ ทราบและสั่งเจาหนาที่ถือปฏิบัติ ตามหนังสือกรมปาไม ที่ กส ๐๗๑๓/๑๘๐๖๒ ลงวันที่ ๑๖ ตุลาคม ๒๕๒๔

กรณีคดีถึงท่ีสุด คดีถึงที่สุดนั้น อาจถึงที่สุดโดยคําพิพากษาของศาลชั้นตน หรือศาลอุทธรณหรือศาลฎีกา เนื่องจากคูความไมไดอุทธรณ – ฎีกา ซ่ึงจะตองพิจารณาวาคําพิพากษาถึงที่สุดเมื่อใด คําพิพากษาใดซึ่งตามกฎหมายจะอุทธรณหรือฎีกาหรือมีคําขอใหพิจารณาใหมไมไดใหถือวาเปนที่สุดตั้งแตวันที่ไดอานเปนตนไป ทั้งนี้ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา ๑๕ ประกอบประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพงมาตรา ๑๔๗ วรรคแรก คําพิพากษาใดซึ่งอาจอุทธรณ ฎีกา หรือมีคําขอใหพิจารณาใหมได ถามิไดอุทธรณ ฎีกาหรือรองขอใหพิจารณาใหมภายในเวลาที่กําหนดไว ใหถือวาเปนที่สุดตั้งแตระยะเวลาเชนวานั้นไดส้ินสุดลง ทั้งนี้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา ๑๙๘, มาตรา ๒๑๖ และมาตรา ๑๕ ประกอบประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพงมาตรา ๑๔๗ วรรคสอง ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพงมาตรา ๑๔๗ บัญญัติไววา “คําพิพากษาหรือคําสัง่ใด ซ่ึงตามกฎหมายจะอุทธรณหรือฎีกาหรือมีคําขอใหพิจารณาใหมไมไดนั้น ใหถือวาเปนที่สุดตั้งแตวันที่ไดอานเปนตนไป คําพิพากษาหรือคําสั่งใด ซ่ึงอาจอุทธรณ ฎีกา หรือมีคําขอใหพิจารณาใหมไดนั้น ถามิไดอุทธรณ ฎีกา หรือรองขอใหพิจารณาใหมภายในเวลาที่กําหนดไว ใหถือวาเปนที่สุดตั้งแตระยะเวลาเชนวานั้นไดส้ินสุดลง ถาไดมีอุทธรณ ฎีกา หรือมีคําขอใหพิจารณาใหม และศาลอุทธรณ หรือศาลฎีกา หรือศาลชั้นตน

Page 42: การนําทรัพย สินของ ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00078/C00078-2.pdf · ความอาญา การจัดการของกลางในคด

๓๔ ซ่ึงพิจารณาคดีเร่ืองนั้นใหม มีคําสั่งใหจําหนายคดีเสียจากสารบบความ ตามที่บัญญัติไวในมาตรา ๑๓๒ คําพิพากษาหรือคําสั่งเชนวานั้น ใหถือวาเปนที่สุดตั้งแตวันที่มีคําสั่งใหจําหนายคดีจากสารบบความ คูความฝายหนึ่งฝายใดอาจยื่นคําขอตอศาลชั้นตนซึ่งพิจารณาคดีนั้น ใหออกใบสําคัญแสดงวาคําพิพากษาหรือคําสั่งในคดีนั้นไดถึงที่สุดแลว” ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา ๑๕, ๑๙๓ ทวิ, ๑๙๓ ตรี, ๑๙๘, ๒๑๖, ๒๑๘, ๒๑๙, ๒๑๙ ทวิ, ๒๒๐ และ ๒๒๑ บัญญัติไววา มาตรา ๑๕ วิธีพิจารณาขอใดซ่ึงประมวลกฎหมายนี้มิไดบัญญัติไวโดยเฉพาะ ใหนําบทบัญญัติแหงประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพงมาใชบังคับเทาที่พอจะใชบังคับได มาตรา ๑๙๓ ทวิ หามมิใหอุทธรณคําพิพากษาศาลชั้นตนในปญหาขอเท็จจริงในคดี ซ่ึงอัตราโทษอยางสูงตามที่กฎหมายกําหนดไวใหจําคุกไมเกินสามปหรือปรับไมเกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ เวนแตกรณีตอไปนี้ใหจําเลยอุทธรณในปญหาขอเท็จจริงได (๑)จําเลยตองคําพิพากษาใหลงโทษจําคุกหรือใหลงโทษกักขังแทนโทษจําคุก (๒)จําเลยตองคําพิพากษาใหลงโทษจําคุก แตศาลรอการลงโทษไว (๓)ศาลพิพากษาวาจําเลยมีความผิด แตรอการกําหนดโทษไว หรือ (๔) จําเลยตองคําพิพากษาใหลงโทษปรับเกินกวาหนึ่งพันบาท มาตรา ๑๙๓ ตรี ในคดีซ่ึงตองหามอุทธรณตามมาตรา ๑๙๓ ทวิ ถาผูพิพากษาคนใดซึ่งพิจารณาหรือลงชื่อในคําพิพากษา หรือทําความเห็นแยงในศาลชั้นตนพิเคราะหเห็นวาขอความที่ตัดสินนั้นเปนปญหาสําคัญอันควรสูศาลอุทธรณและอนุญาตใหอุทธรณ หรืออธิบดีกรมอัยการหรือพนักงานอัยการ ซ่ึงอธิบดีกรมอัยการไดมอบหมาย ลงลายมือช่ือรับรองในอุทธรณวามีเหตุอันควรที่ศาลอุทธรณจะไดวินิจฉัย ก็ใหรับอุทธรณนั้นไวพิจารณาตอไป มาตรา ๑๙๘ การยื่นอุทธรณ ใหยื่นตอศาลชั้นตนในกําหนดหนึ่งเดือนนับแตวันอาน หรือถือวาไดอานคําพิพากษาหรือคําสั่งใหคูความฝายที่อุทธรณฟง ใหเปนหนาที่ศาลชั้นตนตรวจอุทธรณวาควรจะรับสงขึ้นไปยังศาลอุทธรณหรือไม ตามบทบัญญัติแหงประมวลกฎหมายนี้ ถาเห็นวาไมควรรับใหจดเหตุผลไวในคําสั่งของศาลนั้นโดยชัดเจน มาตรา ๒๑๖ ภายใตบังคับแหงมาตรา ๒๑๗ ถึง ๒๒๑ คูความมีอํานาจฎีกาคัดคานคําพิพากษาหรือคําสั่งศาลอุทธรณภายในหนึ่งเดือนนับแตวันอาน หรือถือวาไดอานคําพิพากษาหรือคําสั่งนั้นใหคูความฝายที่ฎีกาฟง ฎีกานั้น ใหยื่นตอศาลชั้นตน และใหนําบทบัญญัติแหงมาตรา ๒๐๐ และ ๒๐๑ มาบังคับโดยอนุโลม มาตรา ๒๑๘ ในคดีที่ศาลอุทธรณพิพากษายืนตามศาลลางหรือเพียงแตแกไขเล็กนอย และใหลงโทษจําคุกจําเลยไมเกินหาปหรือปรับหรือทั้งจําทั้งปรับ แตโทษจําคุกไมเกินหาป หามมิใหคูความฎีกาในปญหาขอเท็จจริง

Page 43: การนําทรัพย สินของ ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00078/C00078-2.pdf · ความอาญา การจัดการของกลางในคด

๓๕

ในคดีที่ศาลอุทธรณพิพากษายืนตามศาลลางหรือเพียงแตแกไขเล็กนอย และใหลงโทษจําคุกจําเลยเกินหาป ไมวาจะมีโทษอยางอื่นดวยหรือไม หามมิใหโจทกฎีกาในปญหาขอเท็จจริง มาตรา ๒๑๙ ในคดีที่ศาลชั้นตนพิพากษาใหลงโทษจําคุกจําเลยไมเกินสองปหรือปรับไมเกินส่ีหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ถาศาลอุทธรณยังคงลงโทษจําเลยไมเกินกําหนดที่วามานี้ หามมิใหคูความฎีกาในปญหาขอเท็จจริง แตขอหามนี้มิใหใชแกจําเลยในกรณีที่ศาลอุทธรณพิพากษาแกไขมากและเพิ่มเติมโทษจําเลย มาตรา ๒๑๙ ทวิ หามมิใหคูความฎีกาคัดคานคําพิพากษาหรือคําสั่งในขอเท็จจริงในปญหาเรื่องวิธีการเพื่อความปลอดภัยแตอยางเดียว แมคดีนั้นจะไมตองหามฎีกาก็ตาม ในการนับกําหนดโทษจําคุกตามความใน มาตรา ๒๑๘ และ ๒๑๙ นั้น หามมิใหคํานวณกําหนดเวลาที่ศาลมีคําพิพากษาหรือคําสั่งเกี่ยวกับวิธีการเพื่อความปลอดภัยรวมเขาดวย มาตรา ๒๒๐ หามมิใหคูความฎีกาในคดีที่ศาลชั้นตนและศาลอุทธรณพิพากษายกฟองโจทก มาตรา ๒๒๑ ในคดีซ่ึงหามฎีกาไวโดย มาตรา ๒๑๘, ๒๑๙ และ ๒๒๐ แหงประมวลกฎหมายนี้ ถาผูพิพากษาคนใด ซ่ึงพิจารณาหรือลงชื่อในคําพิพากษาหรือทําความเห็นแยงในศาลชั้นตนหรือศาลอุทธรณพิเคราะหเห็นวาขอความที่ตัดสินนั้นเปนปญหาสําคัญอันควรสูศาลสูงสุดและอนุญาตใหฎีกา หรืออธิบดีกรมอัยการลงลายมือช่ือรับรองในฎีกาวามีเหตุอันควรที่ศาลสูงสุดจะไดวินิจฉัย ก็ใหรับฎีกานั้นไวพิจารณาตอไป เมื่อคดีถึงที่สุดแลว การคืนของกลางในกรณีนี้เปนการคืนของกลางเมื่อมีคําพิพากษาถึงที่สุดแลวไมวาของกลางดังกลาวจะเปนทรัพยสินที่ยึดไวตามมาตรา ๖๔ ทวิ แหงพระราชบัญญัติปาไมพุทธศักราช ๒๔๘๔ หรือไมก็ตาม เมื่อคําพิพากษาของศาลถึงที่สุดไมริบของกลางหรือใหคืนของกลาง เชนนี้หากคําพิพากษาดังกลาวระบุใหคืนของกลางแกผูใด พนักงานเจาหนาที่ก็จะตองคืนใหแกผูนั้นในทางกลับกนัหากคาํพิพากษามิไดระบุวาใหคืนของกลางแกผูใด เชน ระบุวาของกลางไมริบหรือมิไดกลาวถึงของกลางเลย พนักงานเจาหนาที่ก็จะตองคืนของกลางดังกลาวใหแกเจาของหรือผูมีสิทธิตามกฎหมาย ทั้งนี้เปนไปตามระเบียบกระทรวงเกษตรและสหกรณวาดวยการปฏิบัติเกี่ยวกับของกลางในความผิดเกี่ยวกับการปาไม พ.ศ. ๒๕๓๓ ขอ ๑๔ และประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา ๘๕ วรรคทาย การจัดการของกลางเมื่อพนักงานอัยการสั่งเด็ดขาดไมฟอง คําสั่งเด็ดขาดไมฟองคดีของพนักงานอัยการตามพระราชบัญญัติปาไม พุทธศักราช ๒๔๘๔ มาตรา ๖๔ ทวิ วรรคแรก หมายถึง คําสั่งเด็ดขาดไมฟองผูตองหาหรือไมฟองในฐานความผิดที่กลาวหา การแจงใหพนักงานสอบสวนจัดการตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา ๘๕ วรรคทาย เปนการแจงพนักงานสอบสวนหรือเจาหนาที่พึงปฏิบัติตอของกลางในคดีเทานั้น มิใชเปนการสั่งเด็ดขาดไมฟองในฐานความผิดที่กลาวหา ซ่ึงกรมปาไมไดเรียนใหผูวาราชการจังหวัดทุกจังหวัดทราบและสั่งเจาหนาที่ถือปฏิบัติตามหนังสือกรมปาไม ที่ กษ ๐๗๐๗/๒๓๒๗๖ ลงวันที่ ๓๐ สิงหาคม ๒๕๒๘ ในคดีการกระทําความผิดตามกฎหมายเกี่ยวกับการปาไมที่ผูตองหาหลบหนี แตพนักงานอัยการสั่งฟองและออกหมายจับก็ดี หรือคดีที่พนักงานอัยการสั่งฟองแตไมขอริบของกลางก็ดี หรือคดีที่

Page 44: การนําทรัพย สินของ ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00078/C00078-2.pdf · ความอาญา การจัดการของกลางในคด

๓๖

พนักงานอัยการสั่งงดการสอบสวนก็ดี มิใชเปนกรณีที่พนักงานอัยการสั่งเด็ดขาดไมฟองคดี และไมมีผลใหคดีถึงที่สุดทั้งสิ้น ทั้งนี้ตามหนังสือสํานักงานอัยการสูงสุด ดวนมาก ที่ อส ๐๐๐๒/๑๒๔๒๕ ลงวันที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๓๔ ซ่ึงกรมปาไมไดสงสําเนาหนังสือสํานักงานอัยการสูงสุดดังกลาว ใหผูวาราชการจังหวัดทุกจังหวัด ปาไมเขตทุกเขต และหนวยงานที่เกี่ยวของ เพื่อทราบและถือเปนแนวทางปฏิบัติ ตามหนังสือกรมปาไม ที่ กษ ๐๗๐๕.๐๓/ว.๗๘๑๑ ว.๗๘๑๒ และ ว.๗๘๑๓ ลงวันที่ ๑๘ มีนาคม ๒๕๓๗ ตามลําดับ

ในกรุงเทพมหานคร เมื่อพนักงานอัยการมีคําสั่งไมฟองคดี และคําสั่งนั้นไมใชของอัยการสูงสุด ตองสงสํานวนการสอบสวนพรอมกับคําสั่งไปเสนออธิบดีกรมตํารวจ รองอธิบดีกรมตํารวจหรือผูชวยอธิบดีกรมตํารวจ ถาอธิบดีฯ รองอธิบดีฯ หรือผูชวยอธิบดีฯ แยงคําสั่งของพนักงานอัยการ ใหสงสํานวนพรอมกับความเห็นที่แยงกันไปยังอัยการสูงสุดเพื่อช้ีขาด ในจังหวัดอื่น (นอกจากกรุงเทพมหานคร) เมื่อพนักงานอัยการมีคําสั่งไมฟองคดีและคําสั่งนั้นไมใชของอัยการสูงสุด ตองสงสํานวนการสอบสวนพรอมกับคําสั่งไปเสนอผูวาราชการจังหวัด ถาผูวาราชการจังหวัดแยงคําสั่งของพนักงานอัยการ ใหสงสํานวนพรอมกับความเห็นที่แยงกันไปยังอัยการสูงสุดเพื่อช้ีขาด ซ่ึงหากอัยการสูงสุดชี้ขาดใหฟองคดี พนักงานอัยการตองดําเนินการฟองคดีตามที่อัยการสูงสุดไดช้ีขาดใหฟองคดี ทั้งนี้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา ๑๔๕

กรณีไมของกลางในคดีความผิด พระราชบัญญัติปาไม พุทธศักราช ๒๔๘๔ ที่พนักงานอัยการสั่งไมฟอง และมิไดส่ังการเกี่ยวกับของกลาง หรือในกรณีที่พนักงานอัยการใหจัดการกับของกลางตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๘๕ วรรคทาย ถาภายใน ๑ ป นับแตวันยึดเจาของ มิไดมารองขอไมของกลางคืน ถือวาไมของกลางนั้นตกเปนของแผนดิน ตามมาตรา ๑๓๒๗ แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ทั้งนี้ ตามหนังสือกรมปาไม ที่ กส ๐๗๑๓/๑๘๐๖๐ ลงวันที่ ๑๖ ตุลาคม ๒๕๒๔ เรียนผูวาราชการจังหวัดสุราษฎรธานี และไดสงสําเนาหนังสือดังกลาวใหผูวาราชการจังหวัดทุกจังหวัด ทราบและสั่งเจาหนาที่ถือปฏิบัติ ตามหนังสือกรมปาไม ที่ กส ๐๗๑๓/๑๘๐๖๑ ลงวันที่ ๑๖ ตุลาคม ๒๕๒๔ และแจงปาไมเขตทุกเขตและหนวยงานที่เกี่ยวของ ทราบและสั่งเจาหนาที่ถือปฏิบัติ ตามหนังสือกรมปาไม ที่ กส ๐๗๑๓/๑๘๐๖๒ ลงวันที่ ๑๖ ตุลาคม ๒๕๒๔

Page 45: การนําทรัพย สินของ ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00078/C00078-2.pdf · ความอาญา การจัดการของกลางในคด

๓๗

บทท่ี ๓ ผลและการวิเคราะหผล

การศึกษาคนควาผลงานในเรื่องนี้ผูเขียนไดคนควาเกี่ยวกับหลักกฎหมายความรับผิดทาง

ละเมิดของเจาหนาที่ตามพระราชบัญญัติความรับผิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ ซ่ึงหลักกฎหมายดังกลาวไดเปลี่ยนแปลงไปจากบทบัญญัติวาดวย ละเมิดในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย โดยแยกความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ออกจากการกระทําละเมิดที่มิใชเปนการปฏิบัติหนาที่ ความเสียหายจากการกระทําละเมิดของเจาหนาที่ในการปฏิบัติหนาที่นั้น หนวยงานของรัฐจะรับภาระชดใชคาสินไหมทดแทนใหแกผูไดรับความเสียหายไปกอน สวนเจาหนาที่จะตองรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนตอหนวยงานของรัฐหรือไม เพียงใดนั้น โดยยึดหลักวาจะเรียกรองเอาผิดกับเจาหนาที่ไดเฉพาะกรณีความเสียหายไดเกิดขึ้นจากการกระทําโดยจงใจหรือประมาทเลินเลออยางรายแรงเทานั้น เมื่อไดศึกษาเรื่องนี้แลวพนักงานเจาหนาที่กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช จะมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับขอบเขต หลักเกณฑ ระเบียบ ขอบังคับของทางราชการและขอกฎหมายเกี่ยวกับการแตงตั้งคณะกรรมการสอบสวนขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดตามพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ การบันทึกการจับกุมผูกระทําความผิดเกี่ยวกับกฎหมายวาดวยการปาไม การบันทึกการสงตัวผูตองหาตอพนักงานสอบสวน อํานาจหนาที่ของพนักงานสอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาซึ่งไดแกไขใหมเมื่อป พ.ศ. ๒๕๔๗ อํานาจของพนักงานอัยการในการสั่งสํานวนเกี่ยวกับคดีตามกฎหมายวาดวยการปาไม การจัดการของกลางตามกฎหมายวาดวยการปาไมในกรณีที่พนักงานอัยการมีความเห็นควรสั่งฟองผูตองหาตอศาล หรือการจัดการของกลางตามกฎหมายวาดวยการปาไมกรณีพนักงานอัยการสั่งไมฟองผูตองหาตอศาลหรือการจัดการของกลางในกรณีที่คดีถึงที่สุด อีกทั้งจะเปนประโยชนตอพนักงานเจาหนาที่กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช สามารถนําไปใชเพื่อปฏิบัติงานใหเกิดประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นได

Page 46: การนําทรัพย สินของ ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00078/C00078-2.pdf · ความอาญา การจัดการของกลางในคด

๓๘

บทท่ี ๔ สรุปผล

การดําเนินการสอบสวนขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด กรณีการนําทรัพยสินของกลางตาม

กฎหมายวาดวยการปาไมที่ฝากไวเคลื่อนยายออกจากบริเวณที่รับฝากและนําไปแสวงหาประโยชนโดยมิชอบ กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช ไดมีคําสั่งที่ ๑๐๑/๒๕๔๘ ลงวันที่ ๑๙ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๘ แตงตั้งคณะกรรมการสอบสวนขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด โดยมีผูขอประเมิน (นายพุฒิพงษ อบสุวรรณ) เปนกรรมการและเลขานุการในคณะกรรมการสอบสวนดังกลาวมีหนาที่ในการรวบรวมขอเท็จจริง ระเบียบหลักเกณฑของทางราชการ หลักกฎหมาย แนวความคิดเห็นทางดานกฎหมายตามนัยคําพิพากษาศาลฎีกา และความเห็นของนักวิชาการดานกฎหมาย โดยศึกษาคนควาเกี่ยวกับการบันทึกการจับกุมอํานาจหนาที่ ในการจับกุมตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา อํานาจการสืบสวนสอบสวนของพนักงานสอบสวนความเห็นของพนักงานอัยการเกี่ยวกับการสั่งคดีอาญาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา การรวบรวมพยานหลักฐานเอกสารเพื่อดําเนินคดีกับผูกระทําความผิดกฎหมายวาดวยการปาไม ตลอดจนศึกษาคนควาเกี่ยวกับหลักเกณฑ ขั้นตอนการสอบสวนของคณะกรรมการสอบสวนขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดตามพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ เปนขั้นเปนตอนตามลําดับเหตุการณ ที่เกิดขึ้น เมื่อพนักงานเจาหนาที่สังกัดกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช ที่ไดศึกษาเรื่องนี้แลวจะมีความรูเกิดความเชี่ยวชาญ สามารถนําไปใชในการปฏิบัติราชการใหเกิดประโยชนตอกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืชสืบไป

Page 47: การนําทรัพย สินของ ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00078/C00078-2.pdf · ความอาญา การจัดการของกลางในคด

๓๙

บรรณานุกรม

สุรศักดิ์ ลิขสิทธิ์วัฒนกุล. ๒๕๔๘. ประมวลกฎหมายวธีิพิจารณาความอาญา ฉบับอางอิง ตัวบท คําอธิบายยอและเอกสารอางอิงเรียงมาตรา. กรุงเทพมหานคร. บริษัท สํานักพิมพวิญูชน จํากัด.

พิชัย นิลทองคาํ. ๒๕๔๑. ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย บรรพ ๑ - ๖. กรุงเทพมหานคร. สํานักพิมพ เมอะแคนอเิคิลจัจ. พิชัย นิลทองคาํ. ๒๕๔๑. ประมวลกฎหมายอาญา. กรุงเทพมหานคร. สํานักพิมพเมอะแคนอิเคิลจจั.

สํานักงาน ก.พ. ๒๕๓๕. พระราชบัญญัติระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๓๕. กรุงเทพมหานคร. สหมิตรออฟเซท.

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. ๒๕๔๒. พระราชบญัญัติความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาท่ี พ.ศ. ๒๕๓๙. กรุงเทพมหานคร. บริษัท ศรีเมืองการพิมพ จํากัด.

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. ๒๕๔๒. ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยหลักเกณฑการปฏิบตั ิ เก่ียวกับความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาท่ี พ.ศ. ๒๕๓๙. กรุงเทพมหานคร. บริษัท ศรีเมืองการพิมพ จํากัด.

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. ๒๕๔๓. คูมือการใชกฎหมายวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองและกฎหมาย ความรับผดิทางละเมิดของเจาหนาท่ี. กรุงเทพมหานคร. บริษัท ศรีเมืองการพิมพ จํากัด.

สํานักอบรมศึกษากฎหมายแหงเนติบณัฑิตยสภา. ม.ป.ป. รวมคําบรรยาย. กรุงเทพมหานคร.

Page 48: การนําทรัพย สินของ ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00078/C00078-2.pdf · ความอาญา การจัดการของกลางในคด

๔๐

ภาคผนวก