วิวัฒนาการของการปฏ...

24
วิวัฒนาการของการปฏิรูปที่ดินในประเทศไทย: ศึกษาเฉพาะกรณีการออกกฎหมายปฏิรูปที่ดิน (.. 2475 - .. 2518) Development of land reform in Thailand: A case study on the passing of land reform law (BE 2475 - BE 2518) วีรวัฒน อริยะวิริยานันท * พุทธกาล รัชธร ** แล ดิลกวิทยรัตน *** Veerawat Ariyaviriyanant, Buddhagarn Rutchatorn, Lae Dilokvidhyarat บทคัดยอ เศรษฐศาสตรการเมืองในการออกกฎหมายปฏิรูปที่ดินพ . . 2475 ถึง . . 2518 มีอยูสาม ระลอกใหญ ระลอกแรกในป .. 2476 เคาโครงการเศรษฐกิจที่คณะราษฎรนําเสนอมีเนื้อหาสาระใน การรวมที่ดินถูกตอตานจากคณะเจาและขุนนางขาราชการชั้นสูงอยางรุนแรงจนนายปรีดี พนมยงคถูก ปลดและตองลี้ภัยไปตางประเทศ ระลอกที่สองรัฐบาลจอมพล พิบูลสงครามไดตราพระราชบัญญัติให ใชประมวลกฎหมายที่ดิน 2497 ที่มีเนื้อหาสาระในการจํากัดการถือครองที่ดินซึ่งตอมาถูกยกเลิกโดย ประกาศคณะปฏิวัติฉบับที49 ระลอกที่สามภายหลังเหตุการณ 14 ตุลาคม . . 2516 จากการเรียกรอง ที่ดินทํากินของสหพันธชาวนาชาวไร และรัฐบาลเฉพาะกาลไดตราพระราชบัญญัติปฏิรูปที่ดินเพื่อ เกษตรกรรม . . 2518 ซึ่งมีเนื้อหาสาระในการจัดหาที่ดินรกรางวางเปลาหรือที่ดินของรัฐเพื่อให ราษฎรทํากินประกาศเปนกฎหมายในสมัยรัฐบาลคึกฤทธิปราโมชและใชตอเนื่องมาจนถึงทุกวันนีการศึกษาใชทฤษฎีเศรษฐศาสตรการเมืองที่มองทุกสรรพสิ่งแบบองครวม (Holistic) โดยไม แยกสวนไมวาจะเปนปจจัย เศรษฐกิจ การเมือง สังคม วัฒนธรรม ความเชื ่อ คานิยม อุดมการณ กฎหมาย กฎระเบียบ ขนบธรรมเนียม ประเพณีฯลฯ รวมทั้งแนวคิดเรื่องกรรมสิทธที่ดินหลากหลายรูปแบบ ไดแก กรรมสิทธิ์ตามธรรมชาติ กรรมสิทธิ์รวมหมูชุมชน กรรมสิทธแนวพุทธและกรรมสิทธิ์เอกชน ผลของการศึกษาพบวานโยบายปฏิรูปที่ดินที่มาจากความตั้งใจจะแกไขปญหาที่ดินซึ่งดํารงอยู กอนการเปลี่ยนแปลง 2475 ของคณะราษฎร แตการที่คณะราษฎรไมสามารถกุมอํานาจไดอยางเบ็ดเสร็จ และนโยบายปฏิรูปที่ดินดวยการรวมที่ดินสงผลกระทบกระเทือนการถือครองที่ดินของคณะเจาและขุน นางขาราชการชั้นสูงทําใหถูกตอตานจนกลายเปนสิ่งตองหามที่จะพูดถึง ในขณะที่ความตั้งใจของจอม พล พิบูลสงคราม สามารถผานเปนกฎหมายไดเพราะการกุมอํานาจในฐานะหัวหนาคณะรัฐประหาร แตถูกยกเลิกเพราะขัดกับหลักการเศรษฐกิจเสรีตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจของธนาคารโลก สวน ... ปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม .. 2518 เกิดจากสถานการณทางการเมืองในยุคที่ประชาธิปไตยเบงบาน และไมถูกตอตานเพราะเนื้อหาสาระไมกระทบกระเทือนการถือครองที่ดินของกลุมทุน คําสําคัญ: การถือครองที่ดิน, ปฏิรูปที่ดิน, กรรมสิทธิ์ที่ดิน * นิสิตปริญญาโทศิลปศาสตรมหาบัณฑิตหลักสูตรเศรษฐศาสตรการเมือง คณะเศรษฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, [email protected] ** รองศาสตราจารย คณะเศรษฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย *** รองศาสตราจารย คณะเศรษฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, [email protected]

Upload: others

Post on 09-Sep-2019

4 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: วิวัฒนาการของการปฏ ิรูปที่ดินในประเทศไทย ศึกษาเฉพาะกรณ ี ... · ที่ดินเป

วิวัฒนาการของการปฏรูิปที่ดินในประเทศไทย: ศึกษาเฉพาะกรณีการออกกฎหมายปฏิรูปที่ดิน (พ.ศ. 2475 - พ.ศ. 2518)

Development of land reform in Thailand: A case study on the passing of land reform law (BE 2475 - BE 2518)

วีรวัฒน อริยะวิริยานนัท* พุทธกาล รัชธร** แล ดิลกวิทยรัตน*** Veerawat Ariyaviriyanant, Buddhagarn Rutchatorn, Lae Dilokvidhyarat

บทคัดยอ เศรษฐศาสตรการเมืองในการออกกฎหมายปฏิรูปท่ีดินพ.ศ. 2475 ถึง พ.ศ. 2518 มีอยูสามระลอกใหญ ๆ ระลอกแรกในป พ.ศ. 2476 เคาโครงการเศรษฐกิจท่ีคณะราษฎรนําเสนอมีเนื้อหาสาระในการรวมท่ีดินถูกตอตานจากคณะเจาและขุนนางขาราชการช้ันสูงอยางรุนแรงจนนายปรีดี พนมยงคถูกปลดและตองล้ีภัยไปตางประเทศ ระลอกท่ีสองรัฐบาลจอมพล ป พิบูลสงครามไดตราพระราชบัญญัติใหใชประมวลกฎหมายท่ีดิน 2497 ท่ีมีเนื้อหาสาระในการจํากัดการถือครองท่ีดินซ่ึงตอมาถูกยกเลิกโดยประกาศคณะปฏิวัติฉบับท่ี 49 ระลอกท่ีสามภายหลังเหตุการณ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 จากการเรียกรองท่ีดินทํากินของสหพันธชาวนาชาวไร และรัฐบาลเฉพาะกาลไดตราพระราชบัญญัติปฏิรูปท่ีดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518 ซ่ึงมีเนื้อหาสาระในการจัดหาที่ดินรกรางวางเปลาหรือท่ีดินของรัฐเพื่อใหราษฎรทํากินประกาศเปนกฎหมายในสมัยรัฐบาลคึกฤทธ์ิ ปราโมชและใชตอเนื่องมาจนถึงทุกวันนี้ การศึกษาใชทฤษฎีเศรษฐศาสตรการเมืองท่ีมองทุกสรรพส่ิงแบบองครวม (Holistic) โดยไมแยกสวนไมวาจะเปนปจจัย เศรษฐกิจ การเมือง สังคม วัฒนธรรม ความเช่ือ คานิยม อุดมการณ กฎหมาย กฎระเบียบ ขนบธรรมเนียม ประเพณีฯลฯ รวมท้ังแนวคิดเร่ืองกรรมสิทธท่ีดินหลากหลายรูปแบบ ไดแก กรรมสิทธ์ิตามธรรมชาติ กรรมสิทธ์ิรวมหมูชุมชน กรรมสิทธแนวพุทธและกรรมสิทธ์ิเอกชน ผลของการศึกษาพบวานโยบายปฏิรูปท่ีดินท่ีมาจากความตั้งใจจะแกไขปญหาที่ดินซ่ึงดํารงอยูกอนการเปล่ียนแปลง 2475 ของคณะราษฎร แตการที่คณะราษฎรไมสามารถกุมอํานาจไดอยางเบ็ดเสร็จและนโยบายปฏิรูปท่ีดินดวยการรวมท่ีดินสงผลกระทบกระเทือนการถือครองท่ีดินของคณะเจาและขุนนางขาราชการชั้นสูงทําใหถูกตอตานจนกลายเปนส่ิงตองหามท่ีจะพูดถึง ในขณะท่ีความต้ังใจของจอมพล ป พิบูลสงคราม สามารถผานเปนกฎหมายไดเพราะการกุมอํานาจในฐานะหัวหนาคณะรัฐประหาร แตถูกยกเลิกเพราะขัดกับหลักการเศรษฐกิจเสรีตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจของธนาคารโลก สวน พ.ร.บ. ปฏิรูปท่ีดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518 เกิดจากสถานการณทางการเมืองในยุคท่ีประชาธิปไตยเบงบานและไมถูกตอตานเพราะเนื้อหาสาระไมกระทบกระเทือนการถือครองท่ีดินของกลุมทุน

คําสําคัญ: การถือครองท่ีดิน, ปฏิรูปท่ีดิน, กรรมสิทธิ์ท่ีดิน *นิสิตปริญญาโทศิลปศาสตรมหาบัณฑิตหลกัสูตรเศรษฐศาสตรการเมือง คณะเศรษฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, [email protected] **รองศาสตราจารย คณะเศรษฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ***รองศาสตราจารย คณะเศรษฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, [email protected]

Page 2: วิวัฒนาการของการปฏ ิรูปที่ดินในประเทศไทย ศึกษาเฉพาะกรณ ี ... · ที่ดินเป

2

Development of land reform in Thailand: A case study on the passing of land reform law (1932 - 1975)

Veerawat Ariyaviriyanant* Buddhagarn Rutchatorn** Lae Dilokvidhyarat***

Abstract There were three significant cases on political economy of the passing of land reform law between 1932 to1975. The first was in year 1933, the draft of the economic plan, aimed at consolidating all the land by the State, proposed by the People’s Party. This was strongly against by the elites and the high ranking bureaucrats. The resistance on the proposal resulted in Pridi’s dismissal from his post and had to seek asylum aboard. Next, Piboonsongkram government was succeeded on passing the law that limited the seizure of land holding but was revoked later by the Revolutionary Decree No. 49. The third was after the October 14, 1973 student uprising incident, when the Federation of Agriculturist demanding for farm land, the then Ad Hoc government had passed on the land reform law for agricultural purpose by allocating wasted land and government-owned-land. The demand was made effective by Kurkrit Pramote’s government and the law lasted until today. The study utilize the Political Economy approach which takes into analysis the total social element of a society such as political, economic, cultural, ideological and legal factors. This includes the perception of property right in various forms such as natural property right, collective property right, Buddhism property right, and private property right. The study revealed that the land reform policy initiated by the People’s Party to solve the land holding problems that prevail before the 1932 Revolution was made forgotten because the People’s Party had no real Administration Power and the consolidation of land infringed the land holding of the elites and the high ranking bureaucrats. In Piboonsongkram’s case such a law could be passed on due to his capacity as head of the Revolutionary Council but also revoked later as it was against the principle of the free trade policy by the World Bank Development Plan. The third was passed on by a favorable political atmosphere and was not revoked as it was not infringed the land holding of the Capitalist group.

Keywords: Land Holding, Land Reform, Property Right *Master of Art in Political Economy student, Faculty of Economics, Chulalongkorn University, [email protected] **Assoc. Prof. Faculty of Economics, Chulalongkorn University ***Assoc. Prof. Faculty of Economics, Chulalongkorn University, [email protected]

Page 3: วิวัฒนาการของการปฏ ิรูปที่ดินในประเทศไทย ศึกษาเฉพาะกรณ ี ... · ที่ดินเป

3

บทนํา

ท่ีดินเปนปจจัยการยังชีพท่ีสําคัญท่ีสุดของมนุษยไมวาในยุคใดสมัยใดนอกเหนือจากแรงงาน เพราะท่ีดินนอกจากจะใชเปนท่ีอยูอาศัยแลวยังเปนแหลงอาหารท้ังตามธรรมชาติในสังคมบุพกาล เปนแหลงผลิตอาหารในสังคมเกษตรกรรมและเปนแหลงวัตถุดิบท่ีใชในอุตสาหกรรมของสังคมท่ีพัฒนาสูงข้ึนตอๆ กันมาจนถึงปจจุบัน แมวาในภายหลังระบบทุนนิยมจะไดรังสรรคปจจัยการผลิตอ่ืนๆ ข้ึนมาใชนอกเหนือจากท่ีดินและแรงงาน เชนเร่ืองทุน เร่ืองนวัตกรรมรวมท้ังเร่ืองสิทธิทางปญญาก็ตามที ท่ีดินก็ยังไมเคยคลายความสําคัญลงแตกลับจะเพิ่มทวีความสําคัญยิ่งข้ึน เพราะท่ีดินในระบบทุนนิยมยังสามารถแปลงเปนทุนไดดีกวาปจจัยการผลิตอยางอ่ืนๆ อีกดวย และเนื่องจากขนาดของท่ีดิน (รวมท้ังผืนน้ํา) มีอยูเทาเดิมไมสามารถเพิ่มข้ึนได ในขณะท่ีจํานวนประชากรของโลก (ผูใชท่ีดิน) ท่ีเร่ิมจากจํานวนนอยแตแรกไดเพิ่มจํานวนมากข้ึนแบบทวีคูณตามลําดับ (ฉัตรทิพย นาถสุภา, 2546:45) การใชประโยชนจากท่ีดินท่ีตางคนตางใชตามความจําเปนของตนแบบถอยทีถอยอาศัยกันโดยไมมีระบบกรรมสิทธ์ิท่ีแนนอนในสังคมบุพกาลระยะแรกก็คอยๆ แปรเปล่ียนไปตามพัฒนาการของพลังการผลิต รวมท้ังพัฒนาการของระบบสังคมท่ีซับซอนข้ึน ท่ีดินท่ีเคยเปนของสาธารณะ (The Common) ท่ีทุกคนในสังคมมีสิทธ์ิท่ีจะแบงปนการใชประโยชนรวมกันไดก็คอยๆ ถูกแปรเปล่ียนไปเปนกรรมสิทธ์ิรวมหมูเฉพาะของชุมชน (collective property right) จนในทายท่ีสุดมนุษยก็ไดสรางสถาบันกฎหมายข้ึนมาเพื่อทําใหท่ีดินเปนกรรมสิทธ์ิของปจเจกบุคคล (private property right) ทําใหเกิดการหวงหาม การกีดกันไปจนถึงการตอสูแยงชิงกรรมสิทธ์ิท่ีดินจนเกิดเปนความขัดแยงข้ึนในหมูมวลมนุษยชาติซ่ึงเปนตนเหตุนําไปสูการสูรบฆาฟนทํารายซ่ึงกันและกัน และการเกิดข้ึนของสงครามนอยใหญรวมท้ังลัทธิการกอการรายท่ีเห็นประจักษไดในสังคมปจจุบัน จะเห็นไดวากรรมสิทธ์ิท่ีดินถูกทําใหแปรเปล่ียนไปตามบริบทและระดับการพัฒนาของพลังการผลิตของสังคม ในสังคมทาส/นายทาส ผูปกครองจะควบคุมกําลังแรงงานเปนหลัก ในสังคมศักดินา/ไพร ผูปกครองจะควบคุมท้ังท่ีดินและแรงงาน แตในสังคมนายทุน/แรงงาน ผูปกครองจะควบคุมท่ีดินใหเปนกรรมสิทธ์ิเด็ดขาดของเอกชนผานการออกกฎหมายจัดการเกี่ยวกับกรรมสิทธ์ิท่ีดินตาง ๆ โดยรัฐท่ีเปนเคร่ืองมือของชนช้ันกลุมนอยเจาของกรรมสิทธ์ิท่ีดิน ฉะนั้นการตอสูเร่ืองท่ีดินในสังคมประชาธิปไตยปจจุบันจึงเปนการตอสูในกระบวนการออกกฎหมายเกี่ยวกับการจัดการท่ีดินเปนหลัก

ประเทศไทยภายหลังการเปล่ียนแปลงการปกครอง 24 มิถุนายน 2475 ไดมีปรากฎการณของ

กระบวนการออกกฎหมายปฏิรูปท่ีดินสามระลอกใหญ ๆ กลาวคือระลอกแรกท่ีเกิดจากความตั้งใจจะแกไขปญหาการถือครองท่ีดินท่ีดํารงอยูกอนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง คณะราษฎรสายพลเรือนหัวกาวหนาซ่ึงนําโดยนายปรีดี พนมยงคไดมีดําริท่ีจะปฏิรูปท่ีดินดวยการรวมที่ดินโดยรัฐเพื่อใหราษฎรทุกคนมีท่ีทํากินอยางท่ัวหนากันดังปรากฎอยูในเคาโครงการเศรษฐกิจของคณะราษฎร (สมุดปกเหลือง) แต

Page 4: วิวัฒนาการของการปฏ ิรูปที่ดินในประเทศไทย ศึกษาเฉพาะกรณ ี ... · ที่ดินเป

4ก็ไมประสบความสําเร็จเนื่องจากไดรับการปฏิเสธและตอตานจากพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว (สมุดปกขาว) รวมท้ังเหลาขุนนางและขาราชการชั้นสูงจนในท่ีสุดนายปรีดี พนมยงคถูกกลาวหาวาเปนคอมมิวนิสตและตองล้ีภัยไปอยูตางประเทศ (เดือน บุนนาค, 2552) หลังจากนั้นชนช้ันขุนนางและขาราชการช้ันสูงโดยเฉพาะขาราชการสายทหารก็ผลัดเปล่ียนกันแยงชิงอํานาจรัฐโดยทําการปฏิวัติ/รัฐประหารนับเฉพาะท่ีสําคัญ ๆ รวมท้ังส้ิน 18 คร้ัง สําเร็จ 11 คร้ัง ลมเหลว 7 คร้ัง วนเวียนกันอยูตลอดระยะเวลา 78 ป (เชาวนะ ไตรมาศ, 2550:142-160) สงผลใหระบบเศรษฐกิจของประเทศไทยเปนแบบกึ่งศักดินา กึ่งเมืองข้ึน ความต้ังใจปฏิรูปท่ีดินระลอกท่ีสองในสมัยจอมพล ป. พิบูลสงครามโดยการตราพระราชบัญญัตจัดท่ีดินเพื่อความเปนธรรมแกสังคมและพระราชบัญญัติใหใชประมวลกฎหมายท่ีดิน 2497 ซ่ึงจํากัดการถือครองท่ีดินท้ังสําหรับการเกษตรกรรม, การทําอุตสาหกรรมและสําหรับท่ีอยูอาศัย แตก็ถูกยกเลิกไปโดยประกาศคณะปฏิวัติฉบับท่ี 49 ในการทํารัฐประหารโดยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตในป พ.ศ. 2502, และระลอกท่ีสามภายหลังเหตุการณเรียกรองประชาธิปไตยของนิสิตนักศึกษาและประชาชนซ่ึงนําไปสูเหตุการณวันวิปโยคเม่ือ 14 ตุลาคม 2516 รัฐบาลพระราชทานของนายสัญญา ธรรมศักดิ์ไดตราพระราชบัญญัติปฏิรูปท่ีดินเพื่อการเกษตรกรรม พ.ศ. 2518 และมามีผลใชบังคับในสมัยรัฐบาลหมอมราชวงค คึกฤทธ์ิ ปราโมช ซ่ึงมีเนื้อหาสาระในการจัดสรรท่ีดินรกรางวางเปลาหรือท่ีดินของรัฐเพื่อใหเกษตรกรยากจนไรท่ีดินทํากินใหสามารถหาเล้ียงชีพได ซ่ึงเปนแคการผอนคลายความตึงเครียดจากการเรียกรองของบรรดาสมาชิกสหพันธชาวนาชาวไรเทานั้นเองพระราชบัญญัติฉบับนี้ใชมาจนถึงปจจุบัน

มนุษยเลือกเกิดไมไดไมใชเ ง่ือนไขท่ีทําใหเกิดความแตกตางในสังคมบุพกาล สถาบัน

กรรมสิทธ์ิในระบบทุนนิยมทําใหบางคนท่ีบังเอิญเกิดมาในครอบครัวชนช้ันสูงไดเปรียบคนสวนใหญท่ีเกิดในครอบครัวชนชั้นกรรมาชีพทําใหสังคมเกิดความขัดแยง แตระบบกรรมสิทธ์ิก็สรางแรงจูงใจและประสิทธิภาพในการผลิต ในขณะท่ีมนุษยมีท้ังความดี มีเหตุผล ความคิดสรางสรรค และความเห็นแกตัว ความดุราย พรอมท่ีจะทําลายลางกันอยูในตัวท้ังส้ิน รัฐในฐานะองคอธิปตยควรเปนผูทําหนาท่ีจัดสรร แบงปน ปจจัยการผลิตซ่ึงปจจัยการผลิตท่ีสําคัญก็คือท่ีดินเพื่อใหเกิดความเปนธรรมในสังคมและบรรเทาความขัดแยงกับลดชองวางของรายไดระหวางชนช้ันเพื่อสรางความสมดุลในการพัฒนาทางเศรษฐกิจแทนการเปนเคร่ืองมือของชนช้ันนายทุน เพื่อหลีกเล่ียงทฤษฎีปฏิวัติชาวนา/กรรมาชีพท่ีเกิดข้ึนในหลาย ๆ ประเทศมาแลว ตัวอยางเชนในประเทศฝร่ังเศส ประเทศสหภาพโซเวียตรัสเซีย ประเทศสาธารณะประชาชนจีน ประเทศเวียดนาม ประเทศลาวและประเทศกัมพูชาเปนตน ประเทศไทยกาวเขาสูระบบประชาธิปไตย ต้ังแตเปล่ียนแปลงการปกครอง 2475 เปนตนมา ตลอดเวลา 78 ปสังคมมีความเหล่ือมลํ้าของรายไดและมีความขัดแยงสูงโดยวัดไดจากการชุมนุมเรียกรองของเกษตรกรและสมัชชาคนจนอยู เปนเนืองนิจ จึงมีคําถามวา ความลมเหลวในการปฏิรูปท่ีดินท่ีผานมาจนถึงปจจุบันมี

Page 5: วิวัฒนาการของการปฏ ิรูปที่ดินในประเทศไทย ศึกษาเฉพาะกรณ ี ... · ที่ดินเป

5ปฏิสัมพันธทางอํานาจและผลประโยชนของกลุมใดท่ีสนับสนุนหรือตอตานอยูเบ้ืองหลังบางรวมท้ังใครไดประโยชน หรือใครเสียประโยชนอยางไร ประเด็นนี้จึงเปนเร่ืองท่ีนาสนใจศึกษาเพื่อใหเกิดความเขาใจอันจะเปนประโยชนในการนําไปเปนขอมูลสําหรับผูบริหารประเทศใชประกอบการพิจารณาหาแนวทางในการปฏิรูปท่ีดินใหมีผลเปนรูปธรรมตอไปรวมท้ังเพื่อเปนประโยชนสําหรับการศึกษาวิจัยในข้ันตอไปสําหรับผูสนใจการปฏิรูปท่ีดินในอนาคต

วัตถุประสงคของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาปรากฎการณของการออกกฎหมายปฏิรูปท่ีดินในประเทศไทยในแตละยุคต้ังแต พ.ศ.

2475 จนถึง พ.ศ. 2518 2. เพื่อวิเคราะหปจจัยทางเศรษฐศาสตรการเมืองท่ีมีผลตอปรากฎการณดังกลาว

วิธีการศึกษา วิทยานิพนธนี้เปนการวิจัยเอกสาร (Documentary Research) เอกสารขอมูลท่ีใชในการคนความี 2 ประเภทกลาวคือ

1. เอกสารช้ันตน (Primary source of data) เชนบันทึกทางประวัติศาสตร เอกสารในหอจดหมายเหตุ กฎหมายปฏิรูปท่ีดินตาง ๆ มติคณะรัฐมนตรี รายงานการประชุมสภาผูแทนราษฎร รายงานการประชุมรัฐสภา รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการสภาฯ รายงานประจําป ฯลฯ

2. เอกสารช้ันรอง (Secondary source of data) เชนเอกสารทางวิชาการ หนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ ขอมูลในเว็บไซครวมท้ังงานวิจัยตาง ๆ ท้ังในและตางประเทศ

กรอบแนวคิดทฤษฎีและงานวิจัยท่ีเก่ียวของ

การทบทวนวรรณกรรมปริทัศนสําหรับการศึกษาวิจัยนี้จะแบงออกเปนสองสวนกลาวคือสวนท่ีเปนแนวคิดและทฤษฎีซ่ึงใชเปนกรอบในการวิเคราะหและสวนท่ีเปนการศึกษาเอกสารงานวิจัยท่ีเกี่ยวของกับความสัมพันธระหวางคนกับท่ีดินและกรรมสิทธ์ิในท่ีดิน

แนวคิดและทฤษฎีท่ีใชเปนกรอบในการวิเคราะห

การวิเคราะหโดยใชกรอบของเศรษฐศาสตรการเมืองเปนการวิเคราะหปรากฎการณทางเศรษฐกิจการเมืองและสังคมแบบองครวม (Holistic) โดยไมแยกสวนไมวาจะเปนปจจัยทางเศรษฐกิจ การเมือง สังคม วัฒนธรรม ความเช่ือ คานิยม อุดมการณ ขนบธรรมเนียมประเพณี กฎหมายและกฎระเบียบ ฯลฯ ซ่ึงเช่ือวาทุกสรรพส่ิงในโลกนี้ลวนเคล่ือนไหวเปล่ียนแปลงอยูตลอดเวลาอยางมีพลวัต (Dynamic) จากดานปริมาณสูดานคุณภาพ ตางรอยรัดเปนหนึ่งเดียวเกี่ยวของสัมพันธกันเปนเหตุและผล

Page 6: วิวัฒนาการของการปฏ ิรูปที่ดินในประเทศไทย ศึกษาเฉพาะกรณ ี ... · ที่ดินเป

6สงเสริมหรือขัดแยงตอกันและกันตามหลักของวัตถุนิยมวิภาษวิธี นอกจากนั้นยังคํานึงถึงมิติทางประวัติศาสตรซ่ึงมองวาสังคมมนุษยยอมเคล่ือนไหวเปล่ียนแปลงจากอดีตสูปจจุบันและตอไปในอนาคตอยางมีพลวัตไมหยุดนิ่ง เศรษฐศาสตรการเมืองเช่ือวาปรากฎการณหรือการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจการเมืองและสังคมเปนผลมาจากปฏิสัมพันธเชิงอํานาจของกลุมผลประโยชนตาง ๆ ในสังคม ฉะนั้นการวิเคราะหปรากฎการณหรือการเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมการเมืองตาง ๆ จึงจําเปนตองวิเคราะหถึงอํานาจและผลประโยชนท่ีอยูเบ้ืองหลังปรากฎการณหรือการเปล่ียนแปลงนั้น ๆ ดวยจึงจะเห็นภาพท่ีแทจริงได ท้ังนี้กรอบการวิเคราะหดวยเศรษฐศาสตรการเมืองจะเปนกรอบใหญ ซ่ึงครอบคลุมกรอบการวิเคราะหดวยทฤษฎีอ่ืน ๆ ท่ีเกี่ยวของอีกเชน ทฤษฎีของมารกซิสมท่ีวาดวยความขัดแยงและการตอสูทางชนช้ัน (class conflict & class struggle), การปฏิวัติชาวนา และกรอบแนวคิดเร่ืองกรรมสิทธ์ิในการถือครองท่ีดินหลากหลายรูปแบบ เชนกรรมสิทธ์ิท่ีดินตามธรรมชาติ (natural property right) กรรมสิทธ์ิท่ีดินรวมหมูชุมชน (collective property right) กรรมสิทธ์ิท่ีดินเอกชน (private property right) รวมท้ัง กรอบแนวคิดวิถีการผลิตแบบเอเชีย (Asiatic Mode of Production) กรอบแนวคิดเร่ืองการถือครองกรรมสิทธ์ิท่ีดินมีนัยท่ีสําคัญเช่ือมโยงไปถึงระบบเศรษฐกิจท่ีดํารงอยูของสังคมซ่ึงเปนฐานเศรษฐกิจหรือโครงสรางสวนลาง เชนกรรมสิทธ์ิท่ีดินตามธรรมชาติและกรรมสิทธ์ิท่ีดินรวมหมูชุมชนแสดงถึงระบบเศรษฐกิจแบบบุพกาล กรรมสิทธ์ิท่ีดินแนวพุทธและวิถีการผลิตแบบเอเชียบงบอกถึงระบบเศรษฐกิจแบบศักดินา กรรมสิทธ์ิท่ีดินเอกชนหมายถึงระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมและหากรัฐถือกรรมสิทธ์ิท่ีดินเองก็จะอธิบายวาระบบเศรษฐกิจของรัฐนั้นเปนสังคมนิยม ซ่ึงยังสามารถขยายความอธิบายตอไปถึงความสัมพันธทางการผลิตของแตละระบบเศรษฐกิจอีกดวย เชนสัมพันธกันดวยความเปนเครือญาติ ดวยท่ีดิน หรือดวยเงินตรา และแตละระบบเศรษฐกิจก็จะมีโครงสรางสวนบนท่ีคอยกํากับหรือเอ้ืออํานวยใหเกิดความสอดคลองสมดุลในสังคมซ่ึงผูวิจัยจะไดนําไปเปนกรอบในการวิเคราะหปรากฎการณท่ีเกิดข้ึนของสังคมไทยในชวงเวลาท่ีตองการศึกษา สวนเอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวของกับความสัมพันธระหวางคนกับท่ีดินและกรรมสิทธ์ิในท่ีดินผูวิจัยเลือกใชงานวิจัยท่ีสอดคลองกับแนวคิดเร่ืองกรรมสิทธ์ิรูปแบบตาง ๆ ดังกลาวซ่ึงสามารถนํามาอธิบายยืนยันถึงความเปลี่ยนแปลงของทั้งโครงสรางสวนบนและโครงสรางสวนลางในแตละชวงเวลาของเนื้อหาในวิทยานิพนธดวย

แนวคิดสิทธิตามธรรมชาติในการถือครองท่ีดินสูระบบกรรมสิทธ์ิเอกชน

ตามหลักทฤษฎีเสรีนิยมแนวธรรมชาติของจอหน ลอค การใชพลังแรงงานของมนุษยไปสัมพันธกับธรรมชาติทําใหเกิดวัตถุส่ิงของข้ึนใหมกรรมสิทธ์ิของส่ิงนั้นยอมตกเปนของเจาของพลังแรงงาน สังคมในยุคบุพกาลท่ียังไมมีความเจริญกาวหนาทางวิทยศาสตรวิทยาการใด ๆ มนุษยใชพลังแรงงานของตนเองในการเสาะแสวงหาลาสัตวหรือสกัดวัสดุส่ิงของจากธรรมชาติเพื่อการดํารงชีวิตของตนเอง ไมวาจะเปนการหาพืช ผัก ผลไม หรือ การลาสัตว จับปลา ซ่ึงในยุคดังกลาวนี้ปจจัยในการผลิตท่ี

Page 7: วิวัฒนาการของการปฏ ิรูปที่ดินในประเทศไทย ศึกษาเฉพาะกรณ ี ... · ที่ดินเป

7สําคัญท่ีสุดมีเพียงสองปจจัยเทานั้น คือธรรมชาติ (ท่ีดินรวมท้ังผืนน้ํา) และพลังแรงงานไมมีระบบกรรมสิทธ์ิใด ๆ ท่ีดินเปนปจจัยท่ีมีอยูตามธรรมชาติ พลังแรงงานเปนของแตละบุคคล ทุกคนมีสิทธิเสรีภาพในการสัมพันธกับปจจัยการผลิตที่มีอยูตามธรรมชาติ (ท่ีดินและผืนน้ํา) เพื่อใหไดมาซ่ึงปจจัยในการยังชีพของตนตราบเทาท่ีไมไปละเมิดสิทธิเสรีภาพของผูอ่ืน เนื่องจากพลังการผลิตในยุคนี้ตํ่าและไมมีประสิทธิภาพ ผลผลิตจึงมีเพียงพอสําหรับการยังชีพเทานั้น ความสัมพันธระหวางมนุษยกับมนุษยเปนไปในลักษณะชวยเหลือเกื้อกูลกัน ความแตกตางเหล่ือมลํ้าระหวางมนุษยดวยกันมีไมมากซ่ึงสวนใหญเกิดจากความขยันไหวพริบและทักษะรวมท้ังความพึงพอใจของแตละบุคคลเทานั้น(Locke, 1952:16-30) สิทธิตามธรรมชาติในการถือครองทรัพยสินรวมท้ังท่ีดินของชุมชนจึงเกิดข้ึนต้ังแตบริบทของสังคมบุพกาลซ่ึงมนุษยอยูรวมกันเปนชุมชมและสมาชิกทุกคนในชุมชนเกี่ยวดองเปนเครือญาติกันหมดผานการสมรสหมู (Group Marriage) วิถีการผลิตเปนการเสาะแสวงหาอาหารจากธรรมชาติกอปรกับจํานวนคนมีนอยแตท่ีดินมีเหลือเฟอผูชายทุกคนตองชวยกันออกหาอาหาร ผูหญิงอยูดูแลครอบครัวและงานบานไมมีความเหล่ือมลํ้าของอํานาจระหวางเพศ ผูอาวุโสในชุมชนเปนผูตัดสินความขัดแยง ท่ีดินเปนของชุมชนรวมกันไมมีกรรมสิทธ์ิสวนบุคคลใด ๆ ท้ังส้ินอํานาจแบงตามหนาท่ีของชายและหญิงรวมท้ังผูอาวุโส ความสัมพันธเปนแบบเก้ือกูลกัน ไมมีการขูดรีดหรือเอารัดเอาเปรียบรวมท้ังการกดคนอ่ืนลงเปนทาส

เม่ือพลังการผลิตไดคอย ๆ พัฒนาข้ึนจนมนุษยรูจักการปลูกพืช ทําไรทํานารวมท้ังการเล้ียงปศุ

สัตวเพื่อใชเปนอาหารทําใหเร่ิมเกิดสวนเกินข้ึนและระบบครอบครัวไดคอย ๆ วิวัฒนาการเปล่ียนไปจากการสมรสหมูเปนการสมรสหมูท่ีมีเง่ือนไข เชนการหามสมรสขามรุนกันบาง การหามไมใหพี่นองหญิงชายจากมารดาเดียวกันสมรสกันบางหรือท่ีเรียกวาครอบครัวแบบ พิวนาลวน (Punaluan) จนในท่ีสุดแปรเปล่ียนมาเปนครอบครัวแบบผัวเดียวเมียเดียว (Monogamy Family) เฉกเชนในปจจุบันสิทธิทางมารดาท่ีใชมาแตเดิมก็ไดถูกยกเลิกไปและเปล่ียนเปนสิทธิทางบิดา (Father Right) กรรมสิทธ์ิในท่ีดินท่ีแตเดิมเปนของชุมชนก็พลอยคอย ๆ แปรเปล่ียนไปเปนกรรมสิทธ์ิของสวนบุคคลโดยเฉพาะของบิดา วิวัฒนาการตอมาคือการเกิดข้ึนของรัฐและสถาบันท่ีถูกสรางข้ึนเพื่อปกปองกรรมสิทธ์ิเอกชนแนวคิดเร่ืองรัฐในสังคมตะวันตกมีท้ังท่ีสนับสนุนระบบกษัตริยและระบบประชาธิปไตยโดยทฤษฎีสัญญาประชาคม (social contract Thomas Hobbes, John Locke, Jean-Jacques Rousseau) (Engels: 1978)

แนวคิดสิทธิในการถือครองท่ีดินแบบชุมชน

แนวคิดการถือครองท่ีดินรวมกันแบบชุมชน (collective property right) หรือแนวคิดท่ีปฏิเสธกรรมสิทธ์ิสวนบุคคล (private property right) แตก็ไมสนับสนุนกรรมสิทธ์ิของรัฐเชน โรเบิรต โอเวน (Robert Owen, 1771-1858) เสนอใหคนรวมกลุมกัน 800-1,200 คนชวยกันทํากินในที่ดินประมาณ

Page 8: วิวัฒนาการของการปฏ ิรูปที่ดินในประเทศไทย ศึกษาเฉพาะกรณ ี ... · ที่ดินเป

81,500-4,500 ไรในรูปแบบสหกรณโดยจัดหมูบานใหเปนรูปส่ีเหล่ียมมีบานพัก ท่ีเก็บของ ยุงฉางและท่ีพักผูปวยตามดานขนานท้ังส่ีดาน ตรงกลางปลูกสรางโบสถ โรงเรียน โรงครัวและโรงอาหาร และปกครองโดยคณะกรรมธิการที่มีอายุระหวาง 35-45 ป และเสนอใหแลกเปล่ียนส่ิงของกันโดยไมตองมีกําไร ซ่ึงจะทําใหสังคมเกิดความสงบสุข สวนชารล ฟูริเอ (Charles Fourier, 1772-1837) เสนอใหต้ัง “ฟาลังสแตร (phalanstere)” ซ่ึงคลายกับระบบสหกรณของโอเวนแตมีการแบงกําไรกันระหวางเจาของทุน แรงงานและฝายจัดการในอัตราสวนท่ีแรงงานได 5/12 เจาของทุนได 4/12 และฝายบริหารจัดการได 3/12 ตามลําดับ (ฉัตรทิพย นาถสุภา, 2546:71-80)

แนวคิดสิทธิในการถือครองท่ีดินแนวมารกซีสม

หากพิจารณาพัฒนาการของสังคมตามทฤษฎีมารกซิสม จะอธิบายวาภายหลังจากท่ีมนุษยเรียนรูการพัฒนาพลังการผลิตดวยการใชเคร่ืองมือท่ีทันสมัยข้ึนผลิตภาพการผลิตก็เพิ่มพูนข้ึนจนมากพอท่ีจะเล้ียงคนไดมากข้ึนโดยท่ีคนบางคนอาจจะไมจําเปนตองออกแรงทํางานใหเหนื่อยยาก ทําใหคนฉลาดและแข็งแรงกวาเห็นชองทางขูดรีดเอารัดเอาเปรียบผูท่ีออนแอกวา โดยวิธีการสรางสถาบันท่ีเรียกวากรรมสิทธ์ิข้ึนเพื่อสรางความชอบธรรมในการขอแบงเอาผลผลิตท่ีไดไปเปนของตนเอง ความสัมพันธระหวางมนุษยก็แปรเปล่ียนไปเปนสังคมชนช้ันท่ีคนกลุมนอยเปนเจาของปจจัยการผลิตโดยเฉพาะท่ีดิน และคนกลุมใหญจําเปนตองพึ่งพาคนกลุมนอยท่ีเปนเจาของปจจัยการผลิตไปโดยปริยาย เม่ือพลังการผลิตไดรับการพัฒนากาวหนาข้ึนเปนลําดับ ความสัมพันธระหวางมนุษยในสังคมก็พัฒนาข้ึนไปเพื่อใหสอดคลองกับการพัฒนาของพลังการผลิต เปนความสัมพันธแบบทาสกับนายทาส, ไพรกับศักดินาและกรรมกรกับนายทุนตามลําดับซ่ึงก็คือสังคมชนช้ันท่ีฝายหนึ่งขูดรีดอีกฝายหนึ่ง ความขัดแยงระหวางชนช้ันในสังคมมนุษยก็บังเกิดข้ึนต้ังแตบัดนั้นเปนตนมาท้ังในรูปแบบการแขงขัน การตอสูแยงชิงทรัพยากรธรรมชาติ การชุมนุมประทวงเรียกรองสิทธ์ิเสรีภาพตาง ๆ การกอการจราจล การปฏิวัติ/รัฐประหารและความขัดแยงไดขยายไปถึงระดับโลกกอใหเกิดขบวนการกอการราย หรือแมแตสงครามใหญนอยนับคร้ังไมถวนรวมท้ังสงครามโลกถึงสองคร้ังท่ีผานมาซ่ึงคราชีวิตมนุษยไปเปนจํานวนมากแนวคิดเกี่ยวกับท่ีดินของมารกซ ท่ีดินควรเปนกรรมสิทธ์ิของสังคมไมควรเปนกรรมสิทธ์ิของเอกชน (ฉัตรทิพย นาถสุภา, 2546: 142-279)

แนวคิดสิทธิในการถือครองท่ีดินแนวพุทธ แนวคิดสิทธิในการถือครองท่ีดินแนวพุทธเปนแนวคิดท่ีใชอธิบายวิวัฒนาการการถือครองท่ีดินท่ีเร่ิมตนจากชุมชนไปสูการถือครองโดยกษัตริยของกลุมประเทศในเอชียท่ีนับถือศาสนาพุทธ (รวมท้ังประเทศไทย) ปรากฎอยูในพระสูตรท่ีช่ือวาอัคคัญญสูตรทีฆนิกายมหาวรรคโดยเทาความยอนไปถึงการกําเนิดโลกท่ีผานระยะเวลาอันยาวนานรวมท้ังกระบวนการท่ีกอใหเกิดส่ิงมีชีวิตใกลเคียงกบัแนวคิดแบบ

Page 9: วิวัฒนาการของการปฏ ิรูปที่ดินในประเทศไทย ศึกษาเฉพาะกรณ ี ... · ที่ดินเป

9วิทยาศาสตรตอเนื่องจนถึงวิวัฒนาการของการกําเนิดมนุษย อัคคัญญสูตรกลาวถึงสภาวะตามธรรมชาติท่ีมีความสงบสุขสอดคลองกับแนวคิคสิทธิตามธรรมชาติของชุมชนซ่ึงไมมีกรรมสิทธ์ิทรัพยสินสวนบุคคล ชุมชนมีมากอนครอบครัว ในสวนของกําเนิดครอบครัวมีความคลายคลึงกับแนวคิดของเองเกลสท่ีกลาวถึงวิวัฒนาการจากการสมรสหมูไปสูระบบผัวเดียวเมียเดียวซ่ึงนําไปสูการสะสมอาหารและทรัพยสมบัติอันเปนตนกําเนิดของระบบกรรมสิทธ์ิสวนตัวข้ึน อัคคัญญสูตรระบุวาเนื่องจากมนุษยมีท้ังความดีและกิเลสในตัวเอง ผลกระทบจากภายนอกทําใหกิเลสในตัวมนุษยคอย ๆ เผยออกมาเร่ิมจากการแบงช้ันวรรณะ, ความโลภ, ความทะนงและความกําหนัด โดยเฉพาะความกําหนัดทําใหจําเปนตองสรางบานเรือนเพื่อใชเปนท่ีสมสูและเปนตนกําเนิดระบบครอบครัวและกรรมสิทธ์ิเอกชนตอมา และจากการสูญเสียความดีของมนุษยในสภาวะธรรมชาติกอใหเกิดความขัดแยงทําใหมีความจําเปนตองสรรหาบุคคลท่ีพิเศษกวาคนอ่ืน ๆ ในสังคมข้ึนมาเปนคนกลางในการควบคุมความประพฤติของมนุษยท่ีจะกระทําการละเมิดผูอ่ืนท่ีเรียกวา “มหาชนสมมุติ” ซ่ึงมีหนาท่ีปกปองคุมครองคนดีและลงโทษคนไมดีโดยไดรับการแบงปนอาหารและทรัพยสินจากคนอ่ืนๆ ในสังคมเปนคาตอบแทน “มหาชนสมมุติ” นี้ไดวิวัฒนาการมาเปนระบบกษัตริยหรือพระเจาแผนดิน (ผูเปนเจาของแผนดิน) อัคคัญญสูตรยังไดกลาวถึงกษัตริยวาเปนผูปกปกษรักษาการเกษตร หรือราชาคือผูมีกายงาม ซ่ึงลวนเปนการแสดงถึงคุณสมบัติของผูปกครองในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยท้ังส้ิน (สมบัติ จันทรวงศและชัยอนันต สมุทวณิช, 2523: 25-39) แนวคิดวิถีการผลิตแบบเอเชีย (Asiatic Mode of Production) วิถีการผลิตแบบเอเชีย เปนทฤษฎีท่ีมารกซใชอธิบายสภาวะการณของสังคมเศรษฐกิจการเมืองในประเทศเอเชียยุคกอนทุนนิยมซ่ึงมีความแตกตางจากระบบฟวดัลของประเทศในยุโรปอยางส้ินเชิง กลาวคือประเทศท้ังหลายในเอเชีย (รวมท้ังประเทศไทย)ในยุคกอนทุนนิยมมีกษัตริยถือครองกรรมสิทธ์ิท่ีดินทั้งหมดแตเพียงผูเดียวแตเนื่องจากกษัตริยไมปรารถนาในการใชประโยชนจากท่ีดินดวยตัวเองจึงจําตองอาศัยชุมชนและชาวนาในการใชแรงงานเพื่อประกอบการใหเกิดผลผลิตงอกเงยข้ึนโดยมีเง่ือนไขใหหัวหนาชุมชนรวบรวมผลผลิตสวนหนึ่งของชุมชนใหเปนผลตอบแทนการอนุญาตใหทํากินในท่ีดินของกษัตริยทําใหกษัตริยเปนเสมือนหนึ่งเจาของในลักษณะสัญลักษณ และเนื่องจากสภาพเชนนี้เปนอยูยาวนานทําใหชุมชนมีสถานะเสมือนหน่ึงเปนเจาของท่ีดินท่ีแทจริงแตจัดสรรแบงปนใหครอบครัวในชุมชนไดใชสิทธ์ิในการเพาะปลูกทําประโยชนโดยมีการจัดสรรใหมเปนชวง ๆ เมื่อมีสมาชิกของชุมชนเพิ่มข้ึนหรือเปล่ียนแปลงไป อยางไรก็ตามกษัตริยมีสิทธ์ิในการริบท่ีดินคืน บุคคลหรือชุมชนหากท้ิงท่ีทํากินไปก็จะสูญเสียสิทธ์ิในการทํากินนั้นไปทันที มารกซเห็นวาสภาพการผลิตแบบเอเชียนี้เปนอุปสรรคขัดขวางการเปล่ียนแปลงของสังคมไปสูทุนนิยมและเทากับขัดขวางการพัฒนาไปสูสังคมนิยม เนื่องจากประการแรกวิถีการผลิตแบบเอเชียไมเอ้ืออํานวยตอการกําเนิดของชนช้ันนายทุนเพราะกษัตริย

Page 10: วิวัฒนาการของการปฏ ิรูปที่ดินในประเทศไทย ศึกษาเฉพาะกรณ ี ... · ที่ดินเป

10ไมสนใจในการประกอบการเศรษฐกิจแตพอใจในการเก็บสวยเทานั้นและขุนนางผูปกครองเปนเพียงตัวแทนของกษัตริยท่ีคอยดูแลผลประโยชนแทนกษัตริยเทานั้นไมมีกรรมสิทธ์ิในท่ีดินท่ีเปนของเอกชน ชุมชนเปนเจาของท่ีแทจริงและจัดสรรใหบุคคลในชุมชนใชทํากินแตเพียงอยางเดียว ประการท่ีสองความสัมพันธของคนในชุมชนไมเอ้ืออํานวยใหเกิดแรงงานอิสระซ่ึงเปนปจจัยสําคัญในระบบทุนนิยม เพราะแรงงานผูกพันกับชุมชนเหนียวแนนไมสามารถแตกตัวออกมาเปนแรงงานอิสระไดโดยงาย (แล ดิลกวิทยรัตน, 2526: 1-22) เอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวของกับความสัมพันธระหวางคนกับท่ีดินและกรรมสิทธ์ิในท่ีดิน

งานวิจัยชุดประวัติศาสตรเศรษฐกิจชุมชนหมูบานท้ังส่ีภาคของประเทศไทยซ่ึงดําเนินการวิจัยในชวงป 2543 -2545 โดยคณะของศาสตราจารย ฉัตรทิพย นาถสุภาและคณะ ภาคอีสานดําเนินการโดยสุวิทย ธีรศาศวัตและคณะ (2546) ภาคเหนือดําเนินการโดย ยศ สันตสมบัติและคณะ (2546) ภาคกลางดําเนินการโดยพอพันธ อุยยานนทและคณะ (2546) ภาคใตดําเนินการโดยสงบ สงเมืองและคณะ (2546) ตางคนพบในทํานองเดียวกันวากอนการพัฒนาเศรษฐกิจตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจแหงชาติ 2504 ชุมชนหมูบานไทยมีเศรษฐกิจแบบพอยังชีพ สามารถพึ่งตนเองได ความสัมพันธเปนแบบเครือญาติ ชุมชนมีความเขมแข็ง รายละเอียดของการสัมพันธกับธรรมชาติอาจแตกตางกันไปบางตามสภาพภูมิอากาศและภูมิประเทศ ในดานรูปแบบการครอบครองท่ีดินของชุมชนกอน “ยุคพืชพาณิชย (2503)” ยังใชวิธีการจับจองแบบสังคมบุพกาล เชนการหักรางถางปา การสรางแนวเขตโดยใชส่ิงท่ีมีตามธรรมชาติเชนการบากตนไมใหเปนแนวเขต การขมวดหญาคาใหเปนแนวเขต ฯลฯเปนตน ส่ิงท่ีนาสังเกตก็คือการไมมีเอกสารสิทธ์ิใด ๆท้ังส้ินแตก็ไมมีกรณีท่ีเกิดเปนขอพิพาทเร่ืองท่ีดิน ยกเวนในภาคกลางซ่ึงมีการพัฒนาของระบบกรรมสิทธ์ิลํ้าหนาไปกวาภาคอ่ืน ๆ นอกจากการจับจองดังกลาวแลว การไดมาซ่ึงท่ีดินก็อาจไดจากการยกใหกัน เชนหากชอบพอกันก็ยกท่ีดินใหกันเพื่อใหมาอยูดวยกันจุดมุงหมายก็เพื่อจะไดชวยเหลือเกื้อกูลซ่ึงกันและกันหรือยกใหลูกหลานในลักษณะเปนมรดก และสวนใหญยังเปนการยกใหแกลูกผูหญิงมากกวาลูกผูชาย การซ้ือขายคอย ๆ เกิดข้ึนในภายหลังซ่ึงถึงแมหลังสมัยรัชกาลท่ี 4 ทางราชการจะออกเอกสารสิทธ์ิให ชุมชนก็ไมคอยสนใจเพราะเสียคาใชจายและไมมีปญหาเร่ืองพิพาทเกี่ยวกับกรรมสิทธ์ิ ตอเม่ือจํานวนนาลดนอยลงและเร่ิมมีระบบเงินกู ชาวนาจึงไดมาออกเอกสารสิทธ์ิเพื่อนําไปคํ้าประกันการกูเงินมากกวาการแสดงกรรมสิทธ์ิ กอนยุคพืชพาณิชยถึงแมประชาชนจะสามารถจับจองท่ีดินไวทํากินไดอยางอิสระก็ตามจํานวนปาก็ยังมีมากถึงรอยละ 64-94 ของพ้ืนท่ีท้ังหมดสัดสวนของพื้นท่ีใชทําไร นามีเพียงรอยละ 6-26 เทานั้นและขนาดการถือครองตอครัวเรือนก็มีจํานวนต้ังแต 15-32 ไร แตเม่ือระบบพืชพาณิชยไดแทรกซึมเขามาในชุมชนหลัง พ.ศ. 2507 ภายในเวลาเพียง 31 ป (2538) สัดสวนของปาลดลงเหลือเพียงรอยละ 12 ในขณะท่ีพื้นท่ีถือครองการเกษตรเพ่ิมข้ึนเปนเกือบรอยละ 60 และจํานวนการถือครองของชาวนาสวนใหญลดลงโดยเฉพาะชาวนาในรุนหลัง ๆ คําถามก็

Page 11: วิวัฒนาการของการปฏ ิรูปที่ดินในประเทศไทย ศึกษาเฉพาะกรณ ี ... · ที่ดินเป

11คือในเม่ือพื้นท่ีปาลดลงในขณะท่ีพื้นท่ีการเกษตรเพิ่มข้ึนแตการถือครองของชาวนาลดลงสวนตางหายไปไหนคําตอบก็คือเกิดปรากฎการณในการถือครองพ้ืนท่ีการเกษตรโดย คนนอกภาคเกษตรจํานวนมาก และตอมาคนทําเกษตรตองกลายมาเปนผูเชาท่ีนาจากคนนอกภาคการเกษตรเพ่ือทําการเกษตรอีกทอดหนึ่งจากการรุกคืบเขามาของระบบทุนนิยมท่ีคอย ๆ ทําลายระบบชุมชนใหออนแอลง

จากงานวิจัยเร่ืองประวัติคลองรังสิตของสุนทรี อาสะไวย (2530)ไดช้ีใหเห็นการเปล่ียนแปลง

จากการครอบครองท่ีดินโดยชนช้ันผูปกครองท่ีไมประสงคจะประกอบการทางเศรษฐกิจเอง จึงอนุญาตใหประชาชนสามารถท่ีจะจับจองท่ีดินไดโดยการแสดงความจํานงผานการทําเคร่ืองหมายเขตแนวเพื่อท่ีจะใชทําประโยชนเปนสําคัญแลกกับสวยในอดีตไดแปรเปล่ียนไปเปนการจับจองผานบริษัทขุดคลองแลคูนาสยามโดยตองชําระคาท่ีดินตามอัตราท่ีบริษัทฯกําหนด อันเปนผลมาจากความคิดท่ีจะพัฒนาพืชพาณิชย ทําใหจําเปนตองสรางระบบชลประทานขนานใหญ แตชนช้ันผูปกครองไทยไมพรอมท่ีจะลงทุนและรับความเส่ียงเองจึงไดใหสัมปทานแกบริษัทเอกชนเปนผูดําเนินการลงทุนแลกกับสิทธิในการขายท่ีดินริมสองฝงคลองเปนการเร่ิมตนระบบการซ้ือขายท่ีดินและการมีกรรมสิทธ์ิเด็ดขาดในท่ีดินของเอกชนอยางแทจริงโดยท่ีชวงเปล่ียนผานดังกลาวเนื่องจากไมมีระบบการจัดเก็บขอมูลใด ๆ มากอน การจัดสรรที่ดินโดยรัฐบาลควบคูกับเอกชนทําใหเกิดการทับซอนท้ังท่ีต้ังใจและไมต้ังใจ รวมท้ังกรณีการทุจริต เชนการปลอมแปลงเอกสาร ใบเหยียบย่ํา ใบจับจอง ตราแดง ตราจอง โฉนด ฯลฯ กอใหเกิดขอพิพาทเร่ืองท่ีดินเปนจํานวนมาก เนื่องจากท่ีดินเร่ิมถูกทําใหกลายเปนสินคาท่ีมีมูลคาประกอบกับการทําโฆษณาของบริษัททําใหท้ังราษฎรและขาราชการจํานวนมากตางตองการเปนเจาของทําใหเกิดการแกงแยงท่ีดินในบริเวณคลองรังสิตกันจนในท่ีสุดรัฐบาลตองลงมาจัดการโดยต้ังคณะกรรมการข้ึนมาสอบสวนผลปรากฎวาพวกผูมีบรรดาศักดิ์เปนฝายฉอฉลเพื่อท่ีจะแยงท่ีดินของราษฎรท่ีจับจองไวกอน ทําใหในเวลาตอมารัฐบาลไดจัดระบบทะเบียนท่ีดินท่ีกระชับยิ่งข้ึนรวมท้ังการจัดระเบียบการศาลยุติธรรมเพ่ือแกไขขอพิพาทเกี่ยวกับท่ีดินในท่ีสุด เปนการกาวเขาสูการปกปองกรรมสิทธ์ิในระบบทุนนิยมตามแบบตะวันตกอยางเต็มตัวในเวลาตอมา

งานวิจัยของนพรัตน นุสสธรรม (2520) อรทิพย เทสสิริ (2524) และกนิษฐา ชิตชาง (2547)ได

สรุปไวในแนวใกลเคียงกันวาระบบการจัดการท่ีดินตามกฎหมายตราสามดวงท่ีใชมาแตโบราณไมสอดคลองกับวิวัฒนาการของระบบเศรษฐกิจท่ีไดเปล่ียนแปลงไปมากต้ังแตรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวรัชกาลท่ี 4 ไดทําสัญญาการคากับประเทศตาง ๆ ทําใหมีความจําเปนในการปฏิรูปกฎหมายท่ีดินในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว อันเนื่องมาจากสาเหตุสองประการกลาวคือ ประการแรกเปนปญหาทางเทคนิคการจัดการท่ีดิน (ซ่ึงเปนปญหามาแตโบราณกาล) เอกสารแสดงกรรมสิทธ์ิในท่ีดินไมเปนระบบ เกิดการซํ้าซอนเพราะเจาพนักงานท่ีออกเอกสารสิทธ์ิสลับ

Page 12: วิวัฒนาการของการปฏ ิรูปที่ดินในประเทศไทย ศึกษาเฉพาะกรณ ี ... · ที่ดินเป

12ปรับเปล่ียนไปแลวแตพระมหากษัตริยจะทรงแตต้ังรวมท้ังเอกสารตนฉบับก็ไมมีการจัดเก็บอยางเปนระบบทําใหเม่ือเกิดกรณีพิพาทเร่ืองท่ีดิน ศาลยุติธรรมไมสามารถตัดสินคดีความไดอยางมีประสิทธิภาพ อนึ่งเอกสารแสดงกรรมสิทธ์ิกอนรัชกาลท่ี 5 เปนไปเพื่อการจัดเก็บภาษีมากกวาการแสดงความเปนเจาของท่ีดิน ประการท่ีสองเปนปญหาท่ีเกิดจากการเปล่ียนแปลงระบบเศรษฐกิจจากเศรษฐกิจพอยังชีพไปเปนเศรษฐกิจแบบตลาด การขุดคลองตาง ๆ เพื่อขยายการทํานาเพื่อปอนตลาดตางประเทศโดยเฉพาะคลองรังสิตทําใหท่ีดินมีราคาแพงข้ึน เกิดการแกงแยงท่ีดินระหวางราษฎรกับราษฎรกันเอง และระหวางราษฎรสามัญชนกับผูมีบรรดาศักดิ์ จนทําใหเกิดขอพิพาทกันข้ึนมากมาย ฉะนั้นการปฏิรูปกฎหมายเกี่ยวกับท่ีดินจึงมีจุดมุงหมายในการจัดการปญหาดานการบริหารและการระงับขอพิพาทดังกลาว นพรัตน อรทิพย และกนิษฐาไมไดวิเคราะหการปฏิรูปกฎหมายท่ีดินดังกลาวไปถึงนัยของการเปล่ียนวิถีการผลิต (Mode of Production) ดวยกลาวคือระบบการจัดการท่ีดินตามกฎหมายตราสามดวงน้ันเนนท่ีการครอบครองทําประโยชนจากท่ีดินเปนหลัก หากใครไมไดทําประโยชนหรือละท้ิงไปก็หมดสิทธ์ิไปดวยซ่ึงระบบน้ี “ผูมีบรรดาศักดิ์” ไมสามารถครอบครองท่ีดินไดเนื่องจากไมไดเปนผูทําประโยชนในท่ีดิน แตเม่ือเปล่ียนไปใชกฎหมายท่ีดินระบบทอแรนส (โฉนดแผนท่ี) ซ่ึงริเ ร่ิมข้ึนในประเทศออสเตรเลียและประเทศมาเลเซียรวมท้ังประเทศสิงคโปรรวมทั้งประเทศไทยไดนํามาใชในภายหลัง (นพรัตน นุสสธรรม, 107) ระบบกรรมสิทธ์ิแบบทอแรนสกอใหเกิดกรรมสิทธ์ิเด็ดขาดข้ึนกลาวคือใครถือเอกสารกรรมสิทธ์ิก็เปนเจาของท่ีดินท่ีผูอ่ืนไมสามารถจะลวงละเมิดไดอีกตอไปโดยไมจําเปนตองทําประโยชนในท่ีดินเปนการเปล่ียนกฎเกณฑใหมซ่ึงทําใหเกิดการมีข้ึนของ 2 ส่ิงท่ีมีความสําคัญมากในระบบทุนนิยมคือ หนึ่ง เกิดเจาของท่ีดินท่ีมีกรรมสิทธ์ิเด็ดขาดโดยไมจําเปนตองทําประโยชนในท่ีดินของตนเองหรือท่ีเรียกวา (Absentee Landlords) และ สองทําใหเกิดแรงงานเสรีท่ีหลุดขาดจากท่ีดินซ่ึงจําเปนตอระบบทุนนิยมข้ึนเปนการเปล่ียนวิถีการผลิตจากระบบศักดินาไปเปนระบบทุนนิยมโดยปริยายและองคประกอบของระบบทอเรนสท่ีเอ้ืออํานวยใหการโอนกรรมสิทธ์ิงาย รวดเร็ว ประหยัดคาใชจายและรัฐยังรับประกันกรรมสิทธ์ิของผูปรากฎช่ือในทะเบียนคนสุดทายอีกดวย ทําใหท่ีดินท่ีเปนเพียงปจจัยการผลิตในอดีตเพิ่มเติมคุณลักษณะเปนทรัพยสินท่ีซ้ือขายถายโอนจํานองกันไดอยางคลองงาย งานวิจัยของอรทิพย ยังไดใหขอมูลเพิ่มเติมจากงานของนพรัตนวาพระคลังขางท่ีเปนเจาของท่ีดินรายใหญท่ีสุดของประเทศในขณะน้ันรวมท้ังพระบรมวงศานุวงศและขุนนางช้ันผูใหญฉะนั้นการสํารวจสภาพการถือครองท่ีดินภายหลังพ.ศ. 2475 จึงเปนเร่ืองท่ีนาศึกษาวิจัยขยายผลตอไป (อรทิพย เทสสิริ, 2524: 157)

จากรายงานการสํารวจเศรษฐกิจชนบทของสยามประเทศในปค.ศ. 1930–ค.ศ.1931 (พ.ศ. 2473-

พ.ศ. 2474)โดยซิมเมอแมน (Zimmerman:1999) ศาสตราจารยจากมหาวิทยาลัยฮารวารด เฉพาะท่ีเกี่ยวกับการถือครองท่ีดินของครอบครัวชาวสยามโดยแบงเปนส่ีภาคพบวาประชาชนผูไมมีท่ีดินใน

Page 13: วิวัฒนาการของการปฏ ิรูปที่ดินในประเทศไทย ศึกษาเฉพาะกรณ ี ... · ที่ดินเป

13ครอบครองตามลําดับมากไปหานอย ภาคกลางรอยละ 36, ภาคเหนือรอยละ 27, ภาคใตรอยละ 14 และภาคอีสานรอยละ 18, เฉล่ียจํานวนการถือครองท่ีดินตอครอบครัว (ผลเฉล่ียรวมผูไมมีท่ีดินท่ีอาศัยอยูในหมูบานดวย) ภาคกลาง 28 ไรใชจริง 24 ไร, ภาคเหนือ 10 ไรใชจริง 10 ไร, ภาคใต 8ไรใชจริง 6 ไร และภาคอีสาน 6 ไรใชจริง 7 ไร ท่ีเหลือหรือขาดจะเปนการเชาหรือใหผูอ่ืนเชา, จํานวนการถือครองท่ีมากท่ีสุดในแตละภาค ภาคกลาง 302 ไร, ภาคเหนือ 1,027 ไร, ภาคใต 97 ไร, ภาคอีสาน 38 ไร ท้ังนี้นับรวมการถือครองผานสิทธิท่ีเกิดจากการหักรางถางพงดวย ครอบครัวท่ีไมมีท่ีดินสวนใหญเปนพอคา หรือแรงงาน บางคนจน บางคนอยูในสภาพท่ีดีพอสมควร โดยเฉล่ียไมมีความแตกตางทางดานทรัพยสินสําหรับผูมีและไมมีท่ีดิน ท่ีดินสวนใหญอยูในมือของชาวสยาม มีเพียงขอยกเวนสําหรับภาคใตท่ีชาวไทยมาเลย เชาท่ีจากชาวไทยมาเลยดวยกัน ชาวจีนและชาวตางประเทศบางสวนในภาคกลางเปนเจาของท่ีดินดวย สัดสวนของผูเชาท่ีดินมีต้ังแตรอยละ 5 ถึงรอยละ 30 มากท่ีสุดคือธัญบุรีมีถึงรอยละ 94 ทางภาคเหนือและภาคอีสานผูเชากับเจาของท่ีดินแบงปนผลผลิตกันเปนคาเชา ในภาคใตและภาคกลางบางสวนแบงผลผลิตแตสวนใหญจายเปนเงินคาเชา ในภาคกลางท่ีอําเภอธัญบุรีซ่ึงชาวนาสวนใหญเชาท่ีดินนั้นความสัมพันธระหวางเจาท่ีดิน (ซ่ึงอยูในกรุงเทพฯ) และผูเชาไมคอยราบร่ืนนัก การเชาเปนการเชาปตอป ตางฝายก็เกี่ยงกันในการพัฒนาที่ดิน นอกจากน้ันปญหาที่ดินกระจัดกระจายเปนแปลงเล็กแปลงนอยซ่ึงทําใหไมคุมในการใชเพาะปลูกก็เปนอีกปญหาหนึ่ง ขอนาสังเกตการสํารวจนี้เกิดข้ึนในชวงเศรษฐกิจตกตํ่าท่ัวโลก (The Great Depression) รัฐบาลไทยตองปลดขาราชการกวารอยละ 20 และสถานการณของประเทศอยูภายใตบรรยากาศของการปฏิวัติเพื่อเปล่ียนแปลงการปกครองท่ีเกิดตามมาในป 2475

สวนงานวิจัยของ ประยูร ดํารงชิตานนท (2550) เม่ือนํามาประติดประตอกับงานของ นพรัตน แสดงใหเห็นวาแมเวลาผานไปกวา 100 ปภายหลังการปฏิรูปกฎหมายท่ีดินและระหวางนั้นก็ยังมีการออกกฎหมายเพิ่มเติมรวมท้ังการแกไขกฎหมายอีกหลาย ๆ ฉบับแตจนบัดนี้ความขัดแยงในเร่ืองกรรมสิทธ์ิท่ีดินยังเปนปญหาและมีแนวโนมท่ีจะลุกลามมากข้ึนตามลําดับ ความขัดแยงเกี่ยวกับปญหาท่ีดินในประเทศไทยระหวางป พ.ศ. 2546-2548 มีจํานวนถึง 740 (หนา 89)โดยเฉพาะเม่ือระบบกรรมสิทธ์ิในสังคมทุนนิยมใหกรรมสิทธ์ิแกเอกชนและรัฐเทานั้นแตละเลยกรรมสิทธ์ิชุมชนท่ีมีมาแตสังคมบุพกาลและการปดกั้นการมีสวนรวมของภาคประชาสังคมในการบริหารจัดการทรัพยากรที่ดินรวมกัน

งานวิจัยของวิสากร สระทองคํา (2523) พบวาปญหาและอุปสรรคซ่ึงกอใหเกิดความลมเหลวใน

การปฏิรูปท่ีดินคือ รัฐบาลขาดความจริงใจในการปฏิรูปท่ีดินเพื่อเกษตรกรรมทําใหนโยบายของรัฐบาลแตละชุดท่ีผลัดกันเขามาบริหารประเทศไมไดมีนโยบายไปในแนวทางเดียวกันสงผลใหการดําเนินการ

Page 14: วิวัฒนาการของการปฏ ิรูปที่ดินในประเทศไทย ศึกษาเฉพาะกรณ ี ... · ที่ดินเป

14ปฏิรูปท่ีดินไมตอเนื่องและเกิดความสับสนตอผูปฏิบัติงาน รัฐบาลบางชุดต้ังใจจะปฏิรูปท่ีดินอยางจริงจังบางแตอายุของรัฐบาลก็ส้ันไปรัฐบาลบางชุดก็ใชการปฏิรูปท่ีดินเปนเพียงเคร่ืองมือในการตอสูกับลัทธิคอมมิวนิสตโดยไมไดคํานึงถึงประสิทธผลดานอ่ืน ๆ เปนตน และสืบเนื่องจากความไมจริงใจในการปฏิรูปท่ีดินดังกลาวก็สงผลตอเนื่องใหปญหาดานกฎหมายที่ไมชัดเจนทําใหเกิดการตีความที่หลากหลายคงอยูไมไดรับการแกไขสงผลไปถึงฝายปฏิบัติการหลายดานเชนปญหาการจัดซ้ือท่ีดิน ปญหาการใหสิทธิแกเกษตรกร เปนตน นอกจากนั้นปญหาดานการบริหารงาน การทับซอนในการกํากับของกระทรวงและหนวยงานท่ีเกี่ยวของ เชนกระทรวงการคลัง กระทรวงเกษตรและสหกรณ สํานักงานปฏิรูปท่ีดินเพื่อการเกษตรกรรม คณะกรรมการปฏิรูปท่ีดินกรุงเทพมหานคร ทําใหการปฏิบัติงานเปนไปดวยความยากลําบาก รวมท้ังการจัดสรรงบประมาณท่ีนอยเกินไปเม่ือเทียบกับขอบเขตของงานท่ีตองทําใหบรรลุในแตละปและปญหาเร่ืองการทับซอนของผลประโยชนและการแทรกแซงจากฝายการเมือง

จากการวิจัยของสุจิต จงประเสริฐ (2540) เกี่ยวกับการออกเอกสารสิทธิในท่ีดินจังหวัด

หนองคายพบวานักการเมืองรวมมือกับนักธุรกิจ (ในกรณีนี้เปนเครือญาติกัน) ในรูปผลประโยชนทับซอนเขามาแทรกแซงการทํางานของขาราชการประจําซ่ึงมีอํานาจหนาท่ีตามกฎหมายโดยเสนอใหผลประโยชน (ใหคุณ) หรือขมขูบังคับโดยใชอํานาจและอิทธิพล (ใหโทษ) ทําใหการออกเอกสารสิทธิในท่ีดินเกิดการเบ่ียงเบนบิดเบือนจากเจตนารมณของกฎหมาย ประชาชนหรือเกษตรกรถูกใชเปนเคร่ืองมือในการออกเอกสารสิทธิกอนแลวโอนขายใหกับบริษัทเอกชนเพ่ือนําไปเปนหลักทรัพยคํ้าประกันการกูเงินจากสถาบันการเงิน (ธนาคารกรุงเทพพานิชยการ) จากนั้นนักการเมืองก็นําเงินดังกลาวกลับมาซ้ือเสียงเพื่อหาอํานาจทางการเมืองอีกทอดหน่ึงจากนั้นก็ใชอํานาจทางการเมืองแทรกแซงขาราชการเพื่อใหไดผลประโยชนทางเศรษฐกิจวนเวียนอยูอยางนี้โดยท่ีประชาชนหรือเกษตรกรท่ีแทจริงไมไดประโยชนจากนโยบายหรือโครงการปฏิรูปท่ีดินเทาท่ีควรจะเปน

ผลการศึกษาและขอวิจารณ ระบบกรรมสิทธ์ิท่ีดินของไทยต้ังแตสมัยกรุงสุโขทัย กรุงศรีอยุธยา จนถึงกรุงรัตนโกสินทร

ตอนตนถูกแบงแยกออกเปนสองสวน กลาวคือสวนความเปนเจาของท่ีดิน (Property Right) ถูกทําใหเปนของพระเจาแผนดิน สวนสิทธิในการใชประโยชน (Right of Usufruct) นั้นไดอนุญาตใหผูทําประโยชนในท่ีดินซ่ึงอาจจะเปนชุมชนหรือบุคคลทํากินเพื่อแลกกับสวย รูปแบบความสัมพันธทางเศรษฐกิจโดยอาศัยท่ีดินเปนเคร่ืองมือสรางความผูกพันลักษณะนี้เปนไปเพื่อใหเอ้ืออํานวยตอการปกครองในระบอบศักดินาซ่ึงเจาขุนมูลนายไมประสงคท่ีจะประกอบการทางเศรษฐกิจดวยตนเองจึงออกแบบคงความเปนเจาของท่ีดินเอาไวเทานั้น พรอมท้ังอนุญาตใหไพรทาสเปนผูเขาทําประโยชนในท่ีดินโดยตองแบงผลผลิตท่ีไดในรูปของสวย (กรมศิลปกร, 2521: 388-389)

Page 15: วิวัฒนาการของการปฏ ิรูปที่ดินในประเทศไทย ศึกษาเฉพาะกรณ ี ... · ที่ดินเป

15 พื้นฐานทางเศรษฐกิจของไทยในชวงเวลาดังกลาวเปนเศรษฐกิจแบบพอยังชีพ (Subsistent

Economy) ไมมีการแบงงานการทําเฉพาะอยาง การคาขายภายในประเทศเปนการแลกเปล่ียนโดยตรง (Barter System) มีการคาขายกับตางประเทศโดยทางเรือบางโดยเฉพาะกับประเทศจีน ในสมัยกรุงศรีอยุธยาการคากับตางประเทศขยายตัวข้ึนจึงไดเกิดหนวยงานที่เรียกวาพระคลังขางท่ี ทําการผูกขาดการคาขายกับตางประเทศท้ังหมด ระบบเงินตราซ่ึงเปนส่ือกลางในการแลกเปล่ียนเร่ิมถูกนํามาใชในรัชสมัยพระน่ังเกลาเจาอยูหัวรัชกาลท่ี 3 การคาคอยๆ เกิดข้ึนเฉพาะบางพื้นท่ี (มยุรี นกยูงทอง, 2527:494-533) นับต้ังแตประเทศสยามทําสนธิสัญญาบาวร่ิงกับประเทศอังกฤษในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวรัชกาลท่ี 4 ในป พ.ศ. 2398 ระบบทุนนิยมท่ียังเปนเพียงหนอออนอยูในระบบเศรษฐกิจแบบศักดินาก็เร่ิมแตกหนอและเพ่ิมความเร็วในการขยายตัวมากข้ึน แตก็เปนเพียงการคาในลักษณะท่ีประเทศไทยเปนแหลงสงปอนวัตถุดิบ เปนตลาดรองรับการระบายสินคาราคาถูกและเปนแหลงระบายการลงทุนของจักวรรดินิยมท่ีแผขยายอยูในภูมิภาคเอเชียเทานั้น ลักษณะเชนนี้ทําใหเศรษฐกิจของประเทศไทยถูกขนานนามวาเปนเศรษฐกิจกึ่งเมืองข้ึน ซ่ึงมีผลกระทบตอโครงสรางความสัมพันธทางการผลิตดั้งเดิมเพียงเล็กนอยเทานั้นจึงไมเปนการทําลายระบบศักดินา สถาบันกษัตริยยังคงระบบกรรมสิทธ์ิในท่ีดินรวมท้ังรายไดจากแรงงานและภาษีในระบบเดิมไวได (ฉัตรทิพย นาถสุภาและสุธี ประศาสนเศรษฐ, 2527:172-173)

ผลจากการปฏิวัติอุตสาหกรรมของประเทศอังกฤษในศตวรรษที่ 18 และลัทธิการลาอาณานิคม

เพื่อแสวงหาตลาดและแหลงวัตถุดิบในเวลาตอมาไดสงผลใหโครงสรางสวนลางหรือวิถีการผลิตของประเทศไทยเปล่ียนแปลงไปจากเศรษฐกิจพอยังชีพเปนเศรษฐกิจแบบตลาดซ่ึงมีผลกดดันกอใหเกิดการเปล่ียนแปลงท่ีสงผลตอโครงสรางสวนบนของไทย ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวรัชกาลท่ี 5 พระองคไดริเร่ิมใหมีการปฏิรูประบบบริหารราชการแผนดินรวมท้ังระบบกฎหมายตาง ๆ ตามการเปล่ียนแปลงซ่ึงสวนใหญเปนแรงกดดันจากภายนอก มีการประกาศปลดปลอยสตรี (พ.ศ. 2411) ตามดวยการประกาศเลิกทาส (เร่ิม พ.ศ. 2417) รวมท้ังการประกาศเลิกไพร (พ.ศ. 2448) (ฉัตรทิพย นาถสุภาและสุธี ประศาสนเศรษฐ, 2527:201) การปลดปลอยแรงงานเกณฑดังกลาวมีนัยของการสรางใหเกิดแรงงานเสรีซ่ึงแทท่ีจริงเปนการปรับตัวของชนช้ันผูปกครองเพ่ือใหรองรับกับวิถีการผลิตท่ีเปล่ียนแปลงไป พรอมกับการปรับระบบกรรมสิทธ์ิท่ีดินใหมดวยการปฏิรูประบบกฎหมายท่ีดินจากกฎหมายตราสามดวงใหเปนระบบกรรมสิทธ์ิท่ีดินแบบทอแรนส (โฉนดแผนท่ี) พ.ศ. 2444 (นพรัตน นุสสธรรม, 2520:106-107) กฎหมายท่ีดินระบบทอแรนสคือระบบการจดทะเบียนท่ีดินในรัฐออสเตรเลียใตซ่ึงผานความเห็นชอบจากสภาฯและตราเปนพระราชบัญญัติในป ค.ศ. 1857โดยยึดหลักความเรียบงายในการโอนกรรมสิทธ์ิ การมีแผนท่ีอยูหลังโฉนดทําใหไมจําเปนตองสอบสวนหรือรังวัดใหมซ่ึงสงผลใหเกิด

Page 16: วิวัฒนาการของการปฏ ิรูปที่ดินในประเทศไทย ศึกษาเฉพาะกรณ ี ... · ที่ดินเป

16ความรวดเร็วรวมท้ังประหยัดคาใชจายในการโอนกรรมสิทธ์ินอกจากน้ันรัฐยังทําหนาท่ีเปนนายประกันกรรมสิทธ์ิของผูปรากฎช่ือเปนเจาของคนสุดทายในทะเบียนอีกดวยโดยมีขอยกเวนเฉพาะกรณีมีการฉอฉลเทานั้น ระบบทอแรนสเกิดข้ึนจากแรงบันดาลใจของเซอรโรเบิรต ทอแรนสชาวอังกฤษซ่ึงเห็นปญหายุงยากเกี่ยวกับท่ีดินของผูอพยพในชวงท่ีประเทศออสเตรเลียใชกฎหมายท่ีนํามาจากอังกฤษซ่ึงเปนมรดกจากยุคศักดินาทําใหเพื่อน ๆ และผูใกลชิดของเขาตองใชเวลานานหลายปและเสียคาใชจายทวมหัวในกระบวนการพิสูจนกรรมสิทธ์ิท่ีดินและสุดทายก็ไดเอกสารกรรมสิทธ์ิท่ีไมสามารถซ้ือขายได (Francis, 1972:3-9) กฎหมายท่ีดินระบบทอแรนสไดทําใหความเปนเจาของท่ีดิน (Property right) และสิทธิในการใชประโยชนจากท่ีดิน (Right of Usufruct) ท่ีเคยแยกกันทําหนาท่ีถูกผนวกเขาดวยกันกลายเปนกรรมสิทธ์ิเด็ดขาดหน่ึงเดียวซ่ึงไมแยกความเปนเจาของและสิทธิในการใชประโยชนออกจากกันเชนเดิมอีกตอไป เปนการปรับเปล่ียนรูปแบบความสัมพันธทางเศรษฐกิจจากระบอบศักดินาเปนระบอบทุนนิยมเพื่อใหสอดคลองกับพัฒนาการของพลังการผลิตท่ีสูงข้ึน ความสัมพันธทางการผลิตรูปแบบใหมนี้จําเปนตองผนวกกรรมสิทธท่ีดินท้ังสองสวนเขาดวยกันท้ังนี้เพื่อใหแรงงานท่ีเคยติดอยูกบัท่ีดินหลุดขาดออกจากท่ีดินอยางเด็ดขาด เพราะปรัชญาในระบอบทุนนิยมนั้นตองการแรงงานเสรีโดยใชเงินตราหรือคาจางเปนเคร่ืองมือเช่ือมความสัมพันธแทนท่ีท่ีดิน เม่ือกรรมสิทธ์ิสวนบุคคลรวบยอดถูกสถาปนาข้ึน ท่ีดินก็ไดกลายเปนอสังหาริมทรัพยท่ีมีราคาสูงข้ึน เพราะกรรมสิทธ์ิท่ีเด็ดขาดและชัดเจนสามารถใชเปนหลักทรัพยอางอิงได ทําใหชนทุกช้ันหันมาสนใจจับจองท่ีดินกันมากข้ึนและเกิดเจาของท่ีดินรายใหญท่ีไมไดทําประโยชนในท่ีดิน (Absentee Landlord) ซ่ึงมีนัยของการเปล่ียนท่ีดินจากการเปนปจจัยการผลิต (Means of Production) ใหเปนทรัพยสิน (Commodity) ท่ีทุกคนพึงปรารถนาจนเกิดกรณีพิพาทเร่ืองท่ีดินมากมายระหวาง รัฐกับชุมชน รัฐกับเอกชน รัฐกับวัด เอกชนกับเอกชนและระหวางรัฐกับคนในกํากับของตางชาติ และเนื่องจากรัฐบาลมิไดมีการจํากัดการถือครองที่ดินจึงเปนโอกาสของชนช้ันบรรดาศักดิ์ท่ีเขามาจับจองเปนเจาท่ีดินรายใหญมากมายนอกเหนือจากท่ีดินท่ีเคยไดรับพระราชทานมาแลวในอดีต ในขณะท่ีสามัญชนคนสวนใหญกลายเปนผูท่ีไรซ่ึงกรรมสิทธ์ิในท่ีดินรวมทั้งการสูญเสียสิทธิในการใชประโยชนจากท่ีดินท่ีเคยมีในอดีตแตเกากอนอีกดวย ทําใหเกิดปญหาการถือครองท่ีดิน (อรทิพย เทสสิริ, 2524:153-157)

ในสมัยรัฐบาลจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต (พ.ศ. 2501- พ.ศ. 2506) ซ่ึงอยูในชวงเวลาท่ีโลกถูกแบง

ออกเปนสองอุดมการณคืออุดมการณแบบเศรษฐกิจเสรีนําโดยสหรัฐอเมริกาและอุดมการณเศรษฐกิจแบบรวมศูนย (คอมมิวนิสต) นําโดยสหภาพโซเวียตและสาธารณะรัฐประชาชนจีนหรือท่ีเรียกวาสงครามเย็น ประเทศไทยกลายเปนเปาหมายและจุดยุทธศาสตรของท้ังสองอุดมการณ ประเทศสหรัฐอเมริกาและธนาคารโลกไดชิงยื่นขอเสนอใหความชวยเหลือมากมายท้ังทางการเงิน การทหาร การศึกษา รวมท้ังแผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับท่ี 1 จากธนาคารโลกซ่ึงจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตตอบรับ

Page 17: วิวัฒนาการของการปฏ ิรูปที่ดินในประเทศไทย ศึกษาเฉพาะกรณ ี ... · ที่ดินเป

17ขอเสนอโดยดุษฎีสงผลใหการดําเนินนโยบายของรัฐบาลถูกช้ีนําโดยสหรัฐอเมริกาและธนาคารโลก เชนการยกเลิกกฎหมายบางมาตราของพระราชบัญญัติใหใชประมวลกฎหมายท่ีดิน 2497 ท่ีจํากัดการถือครองหรือหามการถือครองของคนตางชาติ นอกจากนั้นยังปรับปรุงกฎหมายสงเสริมการลงทุนใหเอกชนและตางชาติไดสิทธิประโยชนและความสะดวกรวดเร็วในการลงทุนประกอบการทางเศรษฐกิจในประเทศไทยย่ิงข้ึน (สินีนาฎ เวชแพทย, 2539:17-32) ซ่ึงเปนการสงเสริมใหเกิดการถือครองท่ีดินแบบกระจุกตัวอยูกับนายทุนเปนสวนใหญในขณะท่ีชาวนาชาวไรตองสูญเสียท่ีดิน จากขอมูลของกรมท่ีดินซ่ึงประมวลอยูในงานวิจัยของดวงมณี เลาวกุลและคณะ ซ่ึงแสดงใหเห็นหลักฐานการกระจุกตัวของการถือครองท่ีดินท้ังประเภทบุคคลธรรมดาและนิติบุคคลรวมกันในเขตกรุงเทพมหานครในป 2551 โดยมีพื้นท่ีรวมผูถือครองท่ีดินเนื้อท่ีมากท่ีสุด 50 อันดับแรกรวมกันคิดเปน 93,314.40 ไร ในขณะท่ีพื้นท่ีรวมผูถือครองท่ีดินเนื้อท่ีนอยท่ีสุด 50 อันดับสุดทายรวมกันมีเพียง 0.32 ไร คิดเปนสัดสวนมากที่สุด/นอยท่ีสุดเทากับ 291,607.50 เทา ขอมูลในลักษณะเดียวกันในเทศบาลหน่ึงของจังหวัดชลบุรี พื้นท่ีรวมผูถือครองท่ีดินเนื้อท่ีมากท่ีสุด 19 อันดับแรกรวมกันคิดเปน 2,008.66 ไร ในขณะท่ีพื้นท่ีรวมผูถือครองที่ดินเนื้อท่ีนอยท่ีสุด 19 อันดับสุดทายรวมกันมีเพียง 0.04 ไร คิดเปนสัดสวนมากท่ีสุด/นอยท่ีสุดเทากับ 42,287.63 เทา (ดวงมณี เลาวกุลและคณะ,2552:6-13) ซ่ึงสอดคลองกับงานวิจัยของกรมพัฒนาท่ีดินท่ีระบุวาท่ีดินสวนใหญอยูในมือของคนกลุมนอยเพียงแค10 % แตถือท่ีดินเฉล่ียมากกวา100 ไร/คน ในขณะท่ีคนสวนใหญอีก 90 % ถือท่ีดินเฉล่ียนอยกวา 1 ไร/คน และในจํานวนคนกลุมนอยนี้ นักการเมือง รัฐมนตรีและเครือญาติตางถือครองท่ีดินคนละหลายรอยแปลงบางคนถือเกือบพันแปลง (อัจฉรา รักยุติธรรม, 2548:28)

พื้นท่ีดินในประเทศไทยมีจํานวนท้ังส้ินคิดเปน 320.7 ลานไร (พื้นท่ีจํานวน 513,115 ตาราง

กิโลเมตร X 625ไร = 320.7ลานไร) กรมท่ีดินกระทรวงมหาดไทยไดออกโฉนดท่ีดินท่ีมีกรรมสิทธ์ิเด็ดขาดตามระบบทอแรนส

ใหกับเอกชนต้ังแต พ.ศ. 2444 จนถึงปจจุบันไปแลวท้ังส้ิน 127,694,113 ลานไร (รายงานประจําปกรมท่ีดิน, 2551:93) ซ่ึงคิดเปนรอยละ 39.8 ของท่ีดินท้ังหมดของประเทศ

ในขณะท่ีสํานักงานการปฏิรูปท่ีดินเพื่อเกษตรกรรมซ่ึงดําเนินการมาต้ังแตป พ.ศ. 2518 มีผล

การดําเนินการจัดท่ีดินและมอบสิทธิการใชประโยชนพื้นท่ีปฏิรูปท่ีดินท้ังประเทศจนถึง 30 กันยายน 2551 คิดเปนจํานวนราย 1,852,007 ราย เปนจํานวนแปลง 2,355,965 แปลงและเปนจํานวนไรเทากับ 29,813,826 ไรเฉล่ียรายละประมาณ 16 ไร (รายงานประจําปสปก, 2551:100) ซ่ึงคิดเปนรอยละ 9.1 ของท่ีดินท้ังหมดของประเทศ

Page 18: วิวัฒนาการของการปฏ ิรูปที่ดินในประเทศไทย ศึกษาเฉพาะกรณ ี ... · ที่ดินเป

18 สวนท่ีเหลือถูกรัฐบาลประกาศใหเปนพื้นท่ีปาสงวนแหงชาติตามกฎกระทรวงท่ัวประเทศ

จํานวน 1,221 ปารวมเนื้อท่ี 143.9 ลานไร (ประกาศในราชกิจจินุเบกษาเลม 124 ตอนท่ี 79 ก ลงวันท่ี 12 พฤศจิกายน 2550) ซ่ึงคิดเปนรอยละ 48.7 ของท่ีดินท้ังหมดของประเทศในจํานวนนี้รวมท่ีดินของราชพัสดุอยูดวย 9.461 ลานไรและรวมท่ีดินราชพัสดุของหนวยทหารอีกประมาณ 3.039 ลานไร (รายงานประจําปกรมธนารักษ, 2551:42)

จากขอมูลขางตนทําใหเห็นภาพรวมของการถือครองที่ดินของประเทศท่ีกระจุกตัวอยูในมือ

เอกชนเกือบ 40% และรัฐอีกเกือบ 50% ในขณะท่ีเกษตรกรยากจนไรท่ีทํากินจําตองไดรับความอนุเคราะหจากสํานักงานปฏิรูปท่ีดินเพื่อเกษตรกรรมไดรับการจัดสรรท่ีดินไมถึง 10% ซ่ึงในจํานวนนี้ยังมีนายทุนเปนเจาของแอบแฝงอีกเปนจํานวนมาก กรรมสิทธ์ิท่ีดินแบบชุมชนตามแนวคิดแบบธรรมชาติเกิดข้ึนต้ังแตสังคมบุพกาล ระบอบการปกครองและผูปกครองเกิดข้ึนภายหลังเม่ือพลังการผลิตพัฒนาข้ึนพรอมกับความสัมพันธทางการผลิตท่ีเปล่ียนแปลงไปรัฐท่ีเกิดข้ึนภายหลังแตถูกสรางใหมีความชอบธรรมในการกําหนดกติกาในการถือครองท่ีดินไดปรับเปล่ียนรูปแบบและวิธีการถือครองท่ีดินใหเหมาะสมกับสภาวะวิสัยท่ีเปล่ียนแปลงไปแตก็เปนไปในลักษณะท่ีเอ้ืออํานวยตอชนช้ันสูงกลุมนอยในแตละยุคแตละสมัย เชนชนช้ันศักดินาในยุคสมบูรณาญาสิทธิราชย ตอจากนั้นก็เปนชนช้ันนายทุนในยุคเศรษฐกิจเสรีนิยม (เอนก นาคะบุตร, 2536:2-4) และท้ังหมดก็เปนการตอสูในกระบวนการออกกฎหมายเกี่ยวกับการจัดการท่ีดินซ่ึงประชาชนคนธรรมดาเสียเปรียบอยูตลอดเวลาเน่ืองจากราษฎรยังไมเคยไดอํานาจรัฐหรือตัวแทนท่ีเปนตัวแทนของคนสามัญมากพอท่ีจะเขาไปในสภาฯเพ่ือชวยกันออกกฎหมายท่ีเอ้ืออํานวยตอชาวนาชาวไรเลย

บทสรุป ผลของการศึกษาพบวาในยุคศักดินาต้ังแตคร้ังกรุงสุโขทัย กรุงศรีอยุธยา จนถึงตอนตนกรุงรัตนโกสินทรกรรมสิทธ์ิท่ีดินถูกแยกเปนสองสวนพระเจาแผนดินเปนเจาของท่ีดิน (Ownership) ราษฎรไดสิทธิในการใชประโยชนทํากินแลกกับการสงสวยและเกณฑแรงงานผานระบบเจาขุนมูลนายซ่ึงดูแลแทนพระมหากษัตริยอีกทอดหน่ึงระบบเศรษฐกิจในชวงนี้เปนเศรษฐกิจแบบพอยังชีพ (Subsistence Economy) ท่ีดินถูกใชเปนปจจัยในการยังชีพ (Means of Living)โครงสรางสวนบนและโครงสรางสวนลางสอดคลองสัมพันธกันจนถึงภายหลังการเซ็นตสนธิสัญญาเบาวร่ิงในป 2398 ทําใหฐานทางเศรษฐกิจของไทยเปดเช่ือมตอกับระบบเศรษฐกิจโลกเน่ืองจากแรงกดดันของมหาอํานาจในการเสาะแสวงหาแหลงวัตถุดิบและตลาดสําหรับระบายสินคาและทุนซ่ึงมาพรอมกับลัทธิการลาอาณานิคม เพื่อปรับตัวใหสอดรับกับสภาพความเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกิจสังคมโลกท่ีสงผลกระทบประเทศท่ัวท้ัง

Page 19: วิวัฒนาการของการปฏ ิรูปที่ดินในประเทศไทย ศึกษาเฉพาะกรณ ี ... · ที่ดินเป

19เอเชีย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลท่ี 5 ไดปรับปรุงระบบบริหารราชการแผนดินใหทันสมัยตามแบบตะวันตกตามดวยการเลิกทาส เลิกไพรและปลดปลอยสตรีพรอมท้ังปฏิรูปกฎหมายจัดการท่ีดินจากกฎหมายตราสามดวงไปเปนระบบทอแรนส (โฉนดแผนท่ี) ท่ีมีผลเปนการผนวกกรรมสิทธ์ิท่ีดินท้ังความเปนเจาของและสิทธิในการใชประโยชนท่ีเคยแยกกันเขาเปนหนึ่งเดียวท่ีเรียกวากรรมสิทธ์ิเอกชนซ่ึงกอใหเกิดเจาของท่ีดินท่ีไมไดอยูในพื้นท่ี (Absentee Landlords) และแรงงานเสรีท่ีหลุดจากท่ีดิน ทําใหการถือครองท่ีดินเกิดภาวะการกระจุกตัวอยูในมือของชนช้ันสูง ท่ีดินกลายเปนสินคา (Commodity) ท่ีมีราคาสูง สงผลกระทบใหเกิดชาวนาชาวไรไรที่ดินเพิ่มข้ึนอยางรวดเร็วจนกลายเปนปญหานับแตบัดนั้นเปนตนมา การปรับเปล่ียนโครงสรางสวนลางใหสอดรับกับระบบทุนนิยมโลกในขณะท่ียังคงรักษาโครงสรางสวนบนไวในระบอบศักดินาเปนตนเหตุของความไมสมดุลของระบบและความขัดแยงสะสมในสังคมจนกอใหเกิดปรากฎการณของการเปล่ียนแปลงการปกครอง 2475 เพื่อปรับโครงสรางสวนบนใหสอดคลองกับโครงสรางสวนลางท่ีกาวหนาไปกอนแลวในที่สุด ในชวงนี้จนถึงป พ.ศ. 2502 ยังเปนการปรับเปล่ียนภายในประเทศไทยเองอันเนื่องมาจากสภาวะแวดลอมจากภายนอกประเทศเทานั้น แตหลังจากการรัฐประหารยึดอํานาจของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต รัฐบาลเผด็จการของไทยไดไปรับเอาแผนพัฒนาเศรษฐกิจตามคําแนะนําของธนาคารโลกมาเปนแนวนโยบายแหงรัฐภายใตบรรยากาศของสงครามเย็นทําใหโครงสรางสวนลางของไทยผนวกเปนสวนหนึ่งของระบบเศรษฐกิจโลกอยางสมบูรณในขณะท่ีโครงสรางสวนบนไมไดเปนประชาธิปไตยท่ีสมบูรณ ยิ่งสงผลใหการถือครองท่ีดินเกิดภาวะการกระจุกตัวในมือคนสวนนอย ดังเชนงานวิจัยของ ดวงมณี เลาวกุลและคณะพบวาผูถือครองท่ีดินมากท่ีสุดในกรุงเทพฯ 50 รายแรกตอผูถือครองท่ีดินนอยท่ีสุด 50 รายสุดทายเทากับ 291,607.50 เทา และขอมูลจากกรมท่ีดินและสํานักงานปฏิรูปท่ีดินเพื่อเกษตรกรรมแสดงใหเห็นวาท่ีดินเกือบ 40% เปนกรรมสิทธ์ิของเอกชน และท่ีดินอีก 50% รัฐประกาศความเปนเจาของผานกฎหมายปาสงวนแหงชาติ กฎหมายท่ีดินราชพัสดุฯลฯ เหลือท่ีดินเพียงไมถึง 10% ท่ีสํานักงาน ส.ป.ก. นํามาจัดสรรใหชาวนาชาวไรไรท่ีดินทํากินจํานวน 1.8 ลานกวารายไดทํากินเทานั้นซ่ึงในท่ีดิน ส.ป.ก. ก็ยังมีคนรวยแอบแฝงตัวถือครองอยูดวย ภายหลังการเปล่ียนแปลงการปกครอง 2475 จนถึงปจจุบันไดมีความพยายามปฏิรูปที่ดินเพื่อปรับเปล่ียนกรรมสิทธ์ิการถือครองท่ีดินท่ีกระจุกตัวอยูใหกระจายสูกลุมคนตาง ๆ เพื่อใหเกิดความเปนธรรมอยู 3 ระลอกซ่ึงมีผลสรุปของการวิจัยดังตอไปนี้

นโยบายปฏิรูปท่ีดินระลอกแรก (พ.ศ. 2476) ท่ีมาจากความตั้งใจท่ีจะแกไขปญหาการถือครองท่ีดินซ่ึงดํารงอยูกอนการเปล่ียนแปลงการปกครอง 24 มิถุนายน 2475 ของคณะราษฎรสายพลเรือนนําโดยนายปรีดี พนมยงคถูกตอตานอยางรุนแรงจากคณะเจาและขุนนางขาราชการช้ันสูงรวมท้ังสวนหนึ่งของคณะราษฎร เพราะนโยบายปฏิรูปท่ีดินดวยการรวมที่ดินสงผลกระทบกระเทือนอยางรุนแรงตอการถือครองท่ีดินของคณะเจาและขุนนางขาราชการชั้นสูงซ่ึงเปนกลุมท่ีถือครองท่ีดินเปนจํานวนมาก

Page 20: วิวัฒนาการของการปฏ ิรูปที่ดินในประเทศไทย ศึกษาเฉพาะกรณ ี ... · ที่ดินเป

20นอกจากนั้นการท่ีคณะราษฎรไมสามารถกุมอํานาจบริหารในรัฐบาลไดอยางเบ็ดเสร็จภายหลังการปฏิวัติรัฐประหารดวยเหตุผลท่ีตองการการยอมรับจากตางประเทศโดยเฉพาะอังกฤษและฝร่ังเศสซ่ึงมีอาณานิคมอยูโดยรอบประเทศไทยรวมท้ังการตองพึ่งพาประสบการณความรูความสามารถในการบริหารประเทศของกลุมขุนนางขาราชการชั้นสูงเหลานั้นทําใหตองจัดสรรแบงปนอํานาจท้ังดานบริหารและนิติบัญญัติใหกลุมขุนนางขาราชการชั้นสูงเปนจํานวนมากกวาการดํารงตําแหนงของสมาชิกคณะราษฎรเองเสียอีก กอรปกับสมาชิกคณะราษฎรสวนหน่ึงซ่ึงคุมกําลังกองทัพหันไปสนับสนุนกลุมคณะเจาและกลุมขุนนางขาราชการชั้นสูงดวย ทําใหคณะราษฎรท่ีตองการปฏิรูปท่ีดินซ่ึงไมมีอํานาจบริหารอยูในมือแพมติในการประชุมคณะรัฐมนตรีและไมสามารถนําประเด็นการปฏิรูปท่ีดินเขาสูการพิจารณาของสภาผูแทนราษฎรเพราะถูกชิงประกาศพระราชกฤษฎีกาปดสภาผูแทนราษฎรและงดใชรัฐธรรมนูญบางมาตราจนนายปรีดี พนมยงคเองตองล้ีภัยไปตางประเทศและถึงแมนายปรีดี พนมยงคจะไดรับอนุญาตใหเดินทางกลับเขาประเทศในภายหลังก็ตามเคาโครงการเศรษฐกิจท่ีมีเนื้อหาสาระในการรวมท่ีดินก็ไดถูกทําใหกลายเปนส่ิงตองหามท่ีจะพูดถึงอีกตอไป

ในขณะท่ีความตั้งใจปฏิรูปท่ีดินระลอกท่ีสองในสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม (พ.ศ. 2497) ซ่ึงดําเนินนโยบายท้ังทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมแบบชาตินิยมตามแนวคิดของหลวงวิจิตรวาทการเพ่ือปลดพันธนาการของตางชาติท่ีครอบงําเศรษฐกิจของไทย รวมท้ังความตองการสงเสริมการพัฒนาเกษตรกรรม อุตสาหกรรมตามข้ันตอนของการพัฒนาแนวทฤษฎีของโรสทาว (Rostow) เพื่อใหราษฎรไทยอยูดีกินดีข้ึน (ผาณิต รวมศิลป, 2521) แตชาวนาสวนใหญไมมีท่ีนาของตนเองในขณะท่ีผูมีอิทธิพลในสังคมใชท้ังเลหเพทุบาย การขมขู และชองวางของกฎหมายฉกฉวยเอาท่ีดินจากราษฎรไปจนเกิดเปนกรณีพิพาทจํานวนมาก รัฐบาลสามารถตราพระราชบัญญัติจัดท่ีดินเพื่อความเปนธรรมแกสังคมและพระราชบัญญัติใหใชประมวลท่ีดิน 2497 ซ่ึงมีเนื้อหาสาระในการจํากัดการถือครองท่ีดินท้ังในการประกอบการเกษตร อุตสาหกรรมและท่ีอยูอาศัยไดโดยสะดวกก็เพราะการท่ีจอมพล ป. พิบูลสงครามสามารถกุมอํานาจบริหารในฐานะหัวหนาคณะรัฐประหารโดยมีกองทัพสนับสนุนอยูแตอยางไรก็ตามพระราชบัญญัติใหใชประมวลกฎหมายท่ีดิน2497 ในสวนท่ีเกี่ยวกับการจํากัดการถือครองท่ีดิน (มาตรา 34 ถึงมาตรา 49 และมาตรา 94 อนุมาตรา 5 ของประมวลกฎหมายที่ดิน2497) ไดถูกยกเลิกโดยประกาศคณะปฏิวัติฉบับท่ี 49 ลงวันท่ี 13 มกราคม 2502โดยจอมพลสฤษด์ิ ธนะรัชตเพราะการจํากัดการถือครองที่ดินซ่ึงเปนปจจัยการผลิตท่ีสําคัญในระบบทุนนิยมขัดแยงกับหลักการเศรษฐกิจเสรีตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจของธนาคารโลกท่ีจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตไปรับมาเพ่ือพัฒนาประเทศไทยในชวงเวลานั้นซ่ึงทําใหประเทศสหรัฐอเมริกาไดเขามามีบทบาทอยางสูงโดยการอยูเบ้ืองหลังในการผลักดันนโยบายสําคัญ ๆ ของรัฐบาลประเทศไทยต้ังแตนั้นเปนตนมา

Page 21: วิวัฒนาการของการปฏ ิรูปที่ดินในประเทศไทย ศึกษาเฉพาะกรณ ี ... · ที่ดินเป

21สวนพ.ร.บ. ปฏิรูปท่ีดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518 เปนผลของการปฏิรูปท่ีดินระลอกท่ีสาม

ซ่ึงเกิดข้ึนจากการเรียกรองของสหพันธชาวนาชาวไรท่ีมาชุมนุมเรียกรองท่ีดินทํากินตอรัฐบาลเฉพาะกาลของนายสัญญา ธรรมศักดิ์ ในชวงสถานการณทางการเมืองท่ีเอ้ืออํานวยตอการเคล่ือนไหวของพลังภาคประชาชนในยุคท่ีประชาธิปไตยกําลังเบงบานในป พ.ศ. 2517 จนสามารถประกาศใชเปนกฎหมายไดอยางเปนทางการในสมัยรัฐบาล ม.ร.ว. คึกฤทธ์ิ ปราโมชและไดใชมาจนถึงทุกวันนี้หลังจากที่ถูกปดกั้นมาเปนระยะเวลายาวนานโดยเผด็จการทหารในสมัยคณะปฏิวัติ (กนกศักดิ์ แกวเทพ, 2529) กฎหมายฉบับนี้ไมถูกตอตานหรือยกเลิกเหมือนกฎหมายปฏิรูปท่ีดินฉบับกอนหนานี้เพราะเนื้อหาสาระเปนการจัดสรรท่ีดินรกรางวางเปลาหรือท่ีดินของรัฐ (มาตรา 26 อนุ3) เพื่อใหเกษตรกรทํากินในจํานวนเน้ือท่ีดินท่ีไมสงผลกระทบกระเทือนตอการถือครองท่ีดินของกลุมทุนแตเปนเพียงการผอนคลายความตึงเครียดจากการถูกกดข่ีขูดรีดของระบบทุนนิยมซ่ึงเทากับเปนการปรับตัวของระบบทุนนิยมเพื่อใหสามารถขูดรีดตอเนื่องตอไปไดเทานั้น นอกจากน้ันท่ีดินส.ป.ก. สวนใหญยังถูกผูมีอิทธิพลทองถ่ิน นักการเมือง รวมท้ังนายทุนสวมสิทธิในการเปนเกษตรกรเปนจํานวนมากอีกดวย

Page 22: วิวัฒนาการของการปฏ ิรูปที่ดินในประเทศไทย ศึกษาเฉพาะกรณ ี ... · ที่ดินเป

22

บรรณานุกรม ประกาศคณะปฏิวัติฉบับท่ี 49 ลงวันท่ี 13 มกราคม 2502 พระราชบัญญัติปฏิรูปท่ีดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518 พระราชบัญญัติใหใชประมวลกฎหมายท่ีดิน พ.ศ. 2497 รายงานประจําปของกรมท่ีดิน 2551 รายงานประจําปของกรมธนารักษ 2551 รายงานประจําปของสํานักงานการปฏิรูปท่ีดินเพื่อเกษตรกรรม 2551 ภาษาไทย กนกศักดิ์ แกวเทพ. 2529. บทวิเคราะหสหพันธชาวนาชาวไรแหงประเทศไทย: เศรษฐศาสตร

การเมืองวาดวยชาวนาสมัยใหม. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กนิษฐา ชิตชาง. 2547. สิทธิของราษฎรไทยในการใชประโยชนและเปนเจาของท่ีดิน พ.ศ. 2444-

2468: ศึกษากรณีท่ีราบลุมแมน้ําเจาพระยาตอนลาง. วิทยานิพนธปริญญาอักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

กรมศิลปากร. 2521. กฎหมายตราสามดวง ฉัตรทิพย นาถสุภา. 2549. ประวัติศาสตรการปฏิวัติอุตสาหกรรมเปรียบเทียบ กรุงเทพฯ:

สํานักพิมพสรางสรรค ฉัตรทิพย นาถสุภา. 2546. ลัทธิเศรษฐศาสตรการเมือง กรุงเทพฯ: โรงพิมพแหงจุฬาลงกรณ

มหาวิทยาลัย ฉัตรทิพย นาถสุภาและสุธี ประศาสนเศรษฐ. 2527. ระบบเศรษฐกิจไทย พ.ศ. 2394-2453 ใน

ประวัติศาสตรเศรษฐกิจไทยจนถึง พ.ศ. 2484 ฉัตรทิพย นาถสุภาและสมภพ มานะรังสรรค บรรณาธิการ, กรุงเทพฯ: สํานักพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ชวลิต วายุภักตร. 2527. การปฏิรูปเศรษฐกิจในประเทศไทย พ.ศ. 2475-2485 ใน ประวัติศาสตร เศรษฐกิจไทยจนถึง พ.ศ. 2484 ฉัตรทิพย นาถสุภาและสมภพ มานะรังสรรค บรรณาธิการ, กรุงเทพฯ: สํานักพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

เชาวนะ ไตรมาศ. 2550. ขอมูลพื้นฐาน 75 ป ประชาธิปไตยไทย 2475-2550. กรุงเทพฯ: สถาบัน นโยบายศึกษา

ดวงมณี เลาวกุลและคณะ. 2552. โครงการวิจัยเร่ืองนโยบายและมาตรการการคลังเพื่อความเปนธรรม ในการกระจายรายได, กรุงเทพฯ: ศูนยบริการวิชาการเศรษฐศาสตร คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

เดือน บุนนาค. 2552. ทานปรีดี รัฐบุรุษอาวุโส ผูวางแผนเศรษฐกิจไทยคนแรก กรุงเทพฯ:

Page 23: วิวัฒนาการของการปฏ ิรูปที่ดินในประเทศไทย ศึกษาเฉพาะกรณ ี ... · ที่ดินเป

23สํานักพิมพสายธาร

นพรัตน นุสสธรรม. 2520. การปฏิรูปกฎหมายท่ีดินในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา เจาอยูหัว. วิทยานิพนธปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต แผนกประวัติศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

ประยูร ดํารงชิตานนท. 2550. หลักกรรมสิทธ์ิในทรัพยและความขัดแยงอันเกิดจากกรรมสิทธ์ิ ในสังคมไทย. วิทยานิพนธปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑติ, สาขาวิชาเศรษฐศาสตร การเมือง, คณะเศรษฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

ผาณิต รวมศิลป. 2521. นโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ตั้งแต พ.ศ. 2481 ถึง พ.ศ. 2487. วิทยานิพนธปริญญาอักษรศาสตรืมหาบัณฑิต แผนกวิชาประวัติศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

พอพันธ อุยยานนท. 2546. เศรษฐกิจชุมชนหมูบานภาคกลาง กรุงเทพฯ สถาบันวิถีทรรศน ยศ สันตสมบัติ. 2546. พลวัตและความยืดหยุนของสังคมชาวนา: เศรษฐกิจชุมชนภาคเหนือ

และการปรับกระบวนทัศนวาดวยชุมชนในประเทศโลกท่ีสาม. เชียงใหม: บริษัท วิทอิน ดีไซน จํากัด

แล ดิลกวิทยรัตน. (แปล).2526. เวียดนามกับวิถีการผลิตแบบเอเชีย เอเชียปริทัศน ปท่ี 4, ฉบับท่ี 1 (มกราคม – มีนาคม)

วิสากร สระทองคํา. 2523. ปญหาและอุปสรรคของการปฏิรูปท่ีดินในประเทศไทย วิทยานิพนธ ปริญญารัฐศาสตรมหาบัณฑิต, ภาควิชาการปกครอง, บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

สินีนาฎ เวชแพทย. 2539. แนวคิดของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตเก่ียวกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม วิทยานิพนธปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาประวัติศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

สงบ สงเมือง. 2546. เศรษฐกิจชุมชนหมูบานภาคใตในรอบหาทศวรรษ กรุงเทพฯ สถาบันวิถีทรรศน สมบัติ จันทรวงศ, ชัยอนันต สมุทวณิช. 2523. ความคิดทางการเมืองไทยกรุงเทพฯ: สํานักพิมพ

บรรณกิจ สุจิต จงประเสริฐ. 2540. การเมืองในเรื่องการออกเอกสารสิทธิในท่ีดิน.วิทยานิพนธหลักสูตรปริญญา

รัฐศาสตรมหาบัณฑิต , สาขาวิชาการปกครองภาควิชาการปกครอง , บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

สุนทรี อาสะไวย. 2530. ประวัติคลองรังสิต: การพัฒนาท่ีดินและผลกระทบตอสังคม พ.ศ. 2413 – 2457. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

สุวิทย ธีรศาศวัต. 2546. ประวัติศาสตรเศรษฐกิจชุมชนหมูบานอีสาน 2488-2544 กรุงเทพฯ: สํานักพิมพสรางสรรค

Page 24: วิวัฒนาการของการปฏ ิรูปที่ดินในประเทศไทย ศึกษาเฉพาะกรณ ี ... · ที่ดินเป

24

อรทิพย เทสสิริ. 2524. การถือครองท่ีดินในประเทศไทย พ.ศ. 2444-2475: ศึกษาเฉพาะกรณี มณฑลกรุงเทพฯ . วิทยานิพนธหลักสูตรปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต , ภาควิชาประวัติศาสตร, บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

อัจฉรา รักยุติธรรม. 2548. ท่ีดินและเสรีภาพ กรุงเทพฯ: Black Lead Publishing. เอนก นาคะบุตร. 2536 คน กับ ดิน น้ํา ปา จุดเปล่ียนแหงความคิด กรุงเทพฯ: สถาบันชุมชนทองถ่ิน

พัฒนา. ภาษาอังกฤษ Engels, Frederick. 1978. The Origin of the Family, Private Property and the State New York:

International Publishers Francis E. A. 1972. The law and practice relating to Torrens Title in Australasia Volume 1,

Butterworth & Co. (Australia) Ltd. Hobbes, Thomas. 1958. Leviathan Parts I and II New York: The Bobbs-Merrill Company Inc Locke, John. 1952. The Second Treatise of Government New York: The Liberal Arts Press Zimmerman, Carle Clark. 1999. Rural Siam Economic Survey 1930-31 Bangkok: White Lotus

Co., Ltd