ระบบการจัดการคุณภาพ gap พืช...

40
ระบบการจัดการคุณภาพ : GAP พืช สับปะรดโรงงาน จัดพิมพโดย กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ สิงหาคม 2551

Upload: others

Post on 24-Dec-2019

2 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ระบบการจัดการคุณภาพ GAP พืช ...oard1.doa.go.th/GAP/pdf/สับปะรด... · 2013-06-03 · no. ขั้นตอนการผลิต

ระบบการจัดการคุณภาพ : GAP พืช สับปะรดโรงงาน

จัดพิมพโดย

กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ

สิงหาคม 2551

Page 2: ระบบการจัดการคุณภาพ GAP พืช ...oard1.doa.go.th/GAP/pdf/สับปะรด... · 2013-06-03 · no. ขั้นตอนการผลิต

สารบัญ

ลําดับที่ หนา 1. นโยบายคุณภาพสับปะรดโรงงาน 3 2. วัตถุประสงคคุณภาพสับปะรดโรงงาน 7 3. แผนควบคุมการผลิตสับปะรดโรงงาน 11 4. ระเบียบปฏิบัต ิGAP (Good Agricultural Practice)ระบบการผลิต สับปะรดโรงงานระดับเกษตรกร

25

5. ภาคผนวก ก.คําแนะนําหลักการปฏิบัติตามระบบการผลิตสับปะรดโรงงาน

37

Page 3: ระบบการจัดการคุณภาพ GAP พืช ...oard1.doa.go.th/GAP/pdf/สับปะรด... · 2013-06-03 · no. ขั้นตอนการผลิต

นโยบายคุณภาพสับปะรดโรงงาน

Page 4: ระบบการจัดการคุณภาพ GAP พืช ...oard1.doa.go.th/GAP/pdf/สับปะรด... · 2013-06-03 · no. ขั้นตอนการผลิต

(ก) นโยบายคุณภาพ

3

นโยบายคุณภาพสับปะรดโรงงาน

“เราจะผลิตสับปะรดโรงงานที่มีคุณภาพและไดมาตรฐานเปนที่พึงพอใจของคูคาและผูบริโภค” เพ่ือใหบรรลุตามนโยบายคุณภาพสับปะรดโรงงาน ในฐานะ “เกษตรกร” ผลิตสับปะรดโรงงาน ภายใต “ระบบการจัดการคุณภาพ : GAP สับปะรดโรงงาน” ของกรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ จะดําเนินการดังนี ้

1. บุคลากรทุกคนในแปลงมีสวนรวมในระบบการจัดการคุณภาพ 2. ผลิตสับปะรดโรงงานอยางซ่ือตรง ตามความตองการของคูคาและผูบริโภค และได

มาตรฐาน 3. พัฒนาบุคลากร และผลิตผลอยางตอเนื่อง 4. ธํารงรักษาและทบทวนระบบพรอมท้ังมีการปรับปรุงใหทันสมัย

ในฐานะ “เกษตรกร” ผลิตสับปะรดโรงงาน ภายใต “ระบบการจัดการคุณภาพ : GAP สับปะรดโรงงาน” ยืนยันการผลิตสับปะรดโรงงานเพ่ือใหมีคุณภาพและไดมาตรฐาน ตาม “ระเบียบปฏิบัติ GAP ระบบการผลิตสับปะรดโรงงานระดับเกษตรกร” เพ่ือเสริมสรางความเช่ือม่ันในสินคาสับปะรดโรงงาน ดังนี้

1. มีการจัดสุขลักษณะฟารม 2. มีการจัดการเครื่องมือและอุปกรณการเกษตร 3. มีการจัดการปจจัยการผลิต 4. มีการปฏิบัติและการควบคุมการผลิต 5. มีการบันทึกและการควบคุมเอกสาร

ลงช่ือ ………………………………………. (……………………………………….)

“เกษตรกร” ผลิตสับปะรดโรงงาน ภายใต “ระบบการจัดการคุณภาพ : GAP สับปะรดโรงงาน”

Page 5: ระบบการจัดการคุณภาพ GAP พืช ...oard1.doa.go.th/GAP/pdf/สับปะรด... · 2013-06-03 · no. ขั้นตอนการผลิต

วัตถุประสงคคุณภาพสับปะรดโรงงาน

Page 6: ระบบการจัดการคุณภาพ GAP พืช ...oard1.doa.go.th/GAP/pdf/สับปะรด... · 2013-06-03 · no. ขั้นตอนการผลิต

(ข) วัตถุประสงคคุณภาพ

7

วัตถุประสงคคุณภาพสับปะรดโรงงาน ในฐานะ“เกษตรกร” ผลิตสับปะรดโรงงาน ภายใต “ระบบการจัดการคุณภาพ : GAP สับปะรดโรงงาน” ของกรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ กําหนดวัตถุประสงคคุณภาพ ดังนี ้

1. ผลิตสับปะรดท่ีมีเสนผาศูนยกลางและความยาวผลไมนอยกวา 9.0 เซนติเมตร และไมเกิน 15.5 เซนติเมตร และมีความแกไมนอยกวารอยละ 25 ของท้ังผล (สับปะรดสุกปาดเหลือง)

2. ผลิตสับปะรดท่ีมีสารไนเตรทในผลไมเกิน 15 มิลลิกรัมตอน้ําหนักผล 1 กิโลกรัม 3. ผลิตสับปะรดท่ีปลอดภัยจากสารพิษตกคาง 4. ผลิตสับปะรดท่ีปลอดจากศัตรูพืช

Page 7: ระบบการจัดการคุณภาพ GAP พืช ...oard1.doa.go.th/GAP/pdf/สับปะรด... · 2013-06-03 · no. ขั้นตอนการผลิต

แผนควบคุมการผลิตสับปะรดโรงงาน

Page 8: ระบบการจัดการคุณภาพ GAP พืช ...oard1.doa.go.th/GAP/pdf/สับปะรด... · 2013-06-03 · no. ขั้นตอนการผลิต

(ค) แผนควบคุมการผลิต

แผนควบคุมการผลิตสับปะรดโรงงาน

เพ่ือใหบรรลุตามนโยบายคุณภาพสับปะรดโรงงาน “เราจะผลิตสับปะรดโรงงานที่มีคุณภาพและไดมาตรฐานเปนที่พึงพอใจของคูคาและผูบริโภค” และบรรลุตามวัตถุประสงคคุณภาพ ดังนี ้

1. ผลิตสับปะรดท่ีมีเสนผานศูนยกลางไมนอยกวา 9.0 เซนติเมตร และไมเกิน 15.5 เซนติเมตร และมีความสุกแกไมนอยกวารอยละ 25 ของท้ังผล (สับปะรดสุกปาดเหลือง) 2. ผลิตสับปะรดท่ีมีสารไนเตรทในผลไมเกิน 15 มิลลิกรัมตอน้ําหนักผล 1 กิโลกรัม 3. ผลิตสับปะรดท่ีปลอดภัยจากสารพิษตกคาง 4. ผลิตสับปะรดท่ีปลอดจากศัตรูพืช

ในฐานะ“เกษตรกร” การผลิตสับปะรดโรงงาน ภายใต “ระบบการจัดการคุณภาพ : GAP สับปะรดโรงงาน” ของกรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ มีแผนควบคุมการผลิต ดังรายละเอียดท่ีแนบ

11

Page 9: ระบบการจัดการคุณภาพ GAP พืช ...oard1.doa.go.th/GAP/pdf/สับปะรด... · 2013-06-03 · no. ขั้นตอนการผลิต

(ค) แผนควบคุมการผลิต

แผนควบคุมการผลิตสับปะรดโรงงาน No. ขั้นตอนการผลิต อันตราย มาตรการควบคุม CP/CCP คาควบคุม การเฝาระวัง การแกไขปญหา ส่ิงที่ตองบันทึก 1. การจัดการเพ่ือให

สับปะรดมีการเจริญเติบโต สมํ่าเสมอ

1.1 การคัดขนาดหนอพันธุ

ตนและผลผลิตไมสมํ่าเสมอ

แยกปลูกตามขนาดหนอพันธุ (โดยใชหลักเกณฑตามคําแนะนํา) และแปลงหนอพันธุตองไมมีการแพรระบาดของโรคเห่ียว

CCP ในแปลงเดียวกันมีหนอท่ีตางขนาดคละปน ไมเกิน 10%

คัดขนาดหนอพันธุกอนปลูกในแตละแปลง ดังนี ้หนอขนาดใหญ : น้ําหนักมากกวา 700 กรัม แตไมเกิน 900 กรัม หนอขนาดกลาง : น้ําหนักมากกวา 500 กรัม แตไมเกิน 700 กรัม หนอขนาดเล็ก :น้ําหนักมากกวา 300 กรัม แตไมเกิน 500 กรัม

คัดเลือกและคัดแยกหนอพันธุแตละขนาดไวเปนหมวดหมู ปลูกหนอพันธุท่ีมีขนาดสมํ่าเสมอกันในแปลงเดียวกัน ในแปลงท่ีมีพาหะของโรคเห่ียว (เพล้ียแปง) ควรจุมหนอพันธุ ดวยสารไธอะมีโทแซม 25% ดับลิวจี อัตรา 4 กรัมตอน้ํา 20 ลิตร หรือ อิมิดาโคลพริด 70% ดับลิวจี อัตรา 4 กรัมตอน้ํา 20 ลิตร

ขนาด และ จํานวนหนอพันธุท่ีใชปลูกในแตละแปลง ชนิด และปริมาณสารเคมีท่ีใช

12

Page 10: ระบบการจัดการคุณภาพ GAP พืช ...oard1.doa.go.th/GAP/pdf/สับปะรด... · 2013-06-03 · no. ขั้นตอนการผลิต

(ค) แผนควบคุมการผลิต

แผนควบคุมการผลิตสับปะรดโรงงาน No. ขั้นตอนการผลิต อันตราย มาตรการควบคุม CP/CCP คาควบคุม การเฝาระวัง การแกไขปญหา ส่ิงที่ตองบันทึก

1.2 การจัดการระยะปลูก

ขนาดผลไมไดมาตรฐาน

ใชระยะปลูกตามคําแนะนํา

CP ปลูกแบบแถวคู ระยะ 25x50x100 ซม. หรือ 30x50x80 ซม. หรือปลูกจํานวน 7,500-8,000 หนอ/ไร ไมควรปลูกเกิน 12,000 ตน/ไร

เตรียมหนอใหเพียงพอกับพ้ืนท่ีปลูก

เลือกระยะปลูกท่ีเหมาะสมใหมีจํานวนตน/ไร ระหวาง 7,500-8,000 ตน แตไมเกิน 12,000 ตน/ไร

อัตราปลูก/ไร

2. การจัดการเพ่ือใหออกดอก และผลผลิตมีคุณภาพไดมาตรฐาน

2.1 การใสปุย ตนไมสมบูรณ และผลิตผลดอยคุณภาพ

ใสปุยใหสอดคลองกับ คาวิเคราะหดิน หรือใสปุยตามคําแนะนํา

CCP ตนมีความสมบูรณไมนอยกวา 90%

ตนแคระแกร็น ใสปุยใหสอดคลองกับคาวิเคราะหท้ังปุยอินทรียและปุยเคมี ตามความตองการของพืช หรือ ใสปุยเคมีท่ีมีสัดสวนของ

ธาตุไนโตรเจน : ฟอสฟอรัส : โพแทสเซียม2:1:3 เชน 12-6-18 อัตรา 50 กรัมตอตนตอฤดูแบงใส 2 ครั้ง ครั้งแรกหลังปลูก

วัน เวลา ชนิด และวิธีการใสปุย

13

Page 11: ระบบการจัดการคุณภาพ GAP พืช ...oard1.doa.go.th/GAP/pdf/สับปะรด... · 2013-06-03 · no. ขั้นตอนการผลิต

(ค) แผนควบคุมการผลิต

แผนควบคุมการผลิตสับปะรดโรงงาน No. ขั้นตอนการผลิต อันตราย มาตรการควบคุม CP/CCP คาควบคุม การเฝาระวัง การแกไขปญหา ส่ิงที่ตองบันทึก

1-3 เดือน หรือหลังฝนตก และใสครั้งท่ี 2 หลังใหปุยครั้งแรก 2-3 เดือน ใสบริเวณกาบใบลางของตน

2.2 การใหน้ํา ตนไมสมบูรณ และผลิตผลดอยคุณภาพ

มีการจัดการน้ําตามคําแนะนํา

CCP ตนมีความสมบูรณไมนอยกวา 90%

ประเมินอาการขาดน้ําของตนสับปะรดตั้งแตเริ่มปลูก ชวงการเจริญเติบโตของตนระยะ 1 เดือนหลังการบังคับดอก ชวงการพัฒนาการของดอกและผล และกอนเก็บเกี่ยว โดยสังเกตความสมบูรณของตน

ชวง 1-5 เดือนหลังปลูกใหน้ํา 11,200 ลิตร/ไร/สัปดาห ชวง 5 เดือนหลังปลูกถึงกอนเก็บเกี่ยว ใหน้ํา 6,700 ลิตร/ไร/สัปดาห หลังการใสปุยครั้งสุดทายตองใหน้ําเต็มท่ี เพ่ือใหปุยละลายจนหมด หยุดใหน้ํากอนเก็บเกี่ยว 15-30 วัน

ชวงเวลา อัตรา และปริมาณน้ําท่ีให

2.3 การปองกันการตกคางของไนเตรท

ไนเตรทตกคางใน ผลเกินคามาตรฐานท่ีกําหนด

จัดการปุย น้ํา และเขตกรรมตามคําแนะนํา

CCP

ไมมีผลสับปะรดท่ีมีไนเตรทตกคางในผลเกิน 15 มิลลิกรัมตอน้ําหนักผล 1 กิโลกรัม

จัดการน้ําและปุยตามคําแนะนําอยางเครงครัด และตองไมทําลายจุกสับปะรด

ในแหลงปลูกท่ีเคยพบ ไนเตรทตกคางในผลสูงกวา 15 มิลิกรัมตอน้ําหนักผล 1 กิโล กรัม ตองเก็บตัวอยางใบในระยะบังคับดอก วิเคราะหปริมาณธาตุโมลิบดินัม หากพบความเขมขน

ชนิด อัตรา และ ปริมาณปุยท่ีให ปริมาณและ ชวงเวลาท่ีใหน้ํา

14

Page 12: ระบบการจัดการคุณภาพ GAP พืช ...oard1.doa.go.th/GAP/pdf/สับปะรด... · 2013-06-03 · no. ขั้นตอนการผลิต

(ค) แผนควบคุมการผลิต

แผนควบคุมการผลิตสับปะรดโรงงาน No. ขั้นตอนการผลิต อันตราย มาตรการควบคุม CP/CCP คาควบคุม การเฝาระวัง การแกไขปญหา ส่ิงที่ตองบันทึก

ของธาตุต่ํากวา 1 สวนในลานสวน พนธาตุโมลิบดินัม อัตรา 5 มิลลิกรัมตอตน ผสมน้ํา 75 มิลลิลิตรในระยะดอกแดง หรือโพแทสเซียมคลอไรด อัตรา 8 กรัมตอตนหลังบังคับดอกแลว 75 วัน โดยผสมน้ํา 75 มิลลิลิตร หลังจากบังคับดอกไมควรให ปุยไนโตรเจน หลังการใสปุยครั้งสุดทาย

ตองใหน้ําเต็มท่ีเพ่ือใหปุยละลายจนหมด

2.4 การกําจัด วัชพืช

ตนไมสมบูรณ และผลิตผลดอยคุณภาพ

มีการควบคุมวัชพืชตามคําแนะนํา

CP

แปลงสะอาด ไมมีวัชพืช

ตรวจประเมิน และควบคุมกําจัดวัชพืช

วัชพืชฤดูเดียว ใชพารา- ควอท 27.6% เอสแอล อัตรา 300-600 มิลลิลิตร กอนเตรียมดินหรือ หรือกอนปลูกสับปะรด 5-7 วัน หรือสารโบรมาซิล 80%ดับลิวพี อัตรา 500-600 กรัม หรือสารไดยูรอน 80% ดับลิวพี อัตรา 500-600 กรัมตอไร หลัง

ชนิด อัตรา เวลา และปริมาณสารเคมีท่ีใช

15

Page 13: ระบบการจัดการคุณภาพ GAP พืช ...oard1.doa.go.th/GAP/pdf/สับปะรด... · 2013-06-03 · no. ขั้นตอนการผลิต

(ค) แผนควบคุมการผลิต

แผนควบคุมการผลิตสับปะรดโรงงาน No. ขั้นตอนการผลิต อันตราย มาตรการควบคุม CP/CCP คาควบคุม การเฝาระวัง การแกไขปญหา ส่ิงที่ตองบันทึก

ปลูกกอนวัชพืชงอก หรือวัชพืชมี 4-6 ใบ ขณะดินมีความช้ืน หรือสารโบรมาซิล80% ดับลิวพี + สารอามีทรีน 80% ดับลิวพี อัตราสวน 1:1 อัตรา 400-600 กรัมตอไร พนหลังปลูกตั้งแตวัชพืชงอกจนถึงออกดอกเม่ือดินมีความช้ืน วัชพืชขามป ใชไกลโฟเสท 48% เอสแอล อัตรา 600-800 มิลลิลิตรตอไร เม่ือมีวัชพืชขึ้นหนาแนน หรือพนกอนการ เตรียมดิน หรือกอนปลูกสับปะรด 10-15 วัน หรือสารโบรมาซิล 80% ดับลิวพี + สารอามีทรีน 80% ดับลิวพี อัตราสวน 1:1 อัตรา 400-600 กรัมตอไร หลังปลูกตั้งแตวัชพืชงอกจนถึงออกดอกเม่ือดินมีความช้ืน

16

Page 14: ระบบการจัดการคุณภาพ GAP พืช ...oard1.doa.go.th/GAP/pdf/สับปะรด... · 2013-06-03 · no. ขั้นตอนการผลิต

(ค) แผนควบคุมการผลิต

แผนควบคุมการผลิตสับปะรดโรงงาน No. ขั้นตอนการผลิต อันตราย มาตรการควบคุม CP/CCP คาควบคุม การเฝาระวัง การแกไขปญหา ส่ิงที่ตองบันทึก

2.5 การจัดการเพ่ือใหออกดอก

การออกดอกไมพรอมกัน

ใชสารบังคับดอกตามคําแนะนํา

CCP ในแปลงเดียวกันมีการออกดอกไมนอยกวา 90%

สุมช่ังน้ําหนักตนกอนบังคับดอก

ใชสารเอทธิฟอน 48% เอสแอล อัตรา 7 มิลลิลิตร ผสมกับปุยเคมีสูตร 46-0-0 อัตรา 300 กรัมตอน้ํา 20 ลิตร ตนละ 60-75 มิลลิลิตร หรือ ใชถานแกส (แคลเซียมคารไบด) อัตรา 1-2 กรัมตอตน โดยแบงใส 2 ครั้งในขณะท่ีมีน้ําอยูในยอด บังคับในชวงเย็นหรือ กลางคืน หากมีฝนตกภายในเวลา 2 ช่ัวโมงหลังจากหยอดสาร ตองหยอดสารซํ้าภายใน 2-3 วันหลังฝนตก

สารเคมีหรือวิธี ปฏิบัติเพ่ือบังคับดอก วัน เวลา ท่ีบังคับดอก

3. การจัดการเพ่ือผลิตสับปะรดที่ปลอด ภัยจากสารพิษตกคาง

ผลิตผลไมปลอดภัยตอผูบริโภค

ใชสารเคมีตามท่ีระบุในการแกไขปญหาในแผนควบคุมการผลิต

CCP ปริมาณสารพิษตกคางไมเกินคามาตรฐานท่ีกําหนด

ใชสารเคมี ตามคําแนะนํา วิเคราะหสาเหตุ ชะลอการเก็บเกี่ยวผลิตผล

ชนิด อัตรา เวลา และปริมาณสารเคมีท่ีใช วิธีปฏิบัติอ่ืน นอกเหนือจากการใชสารเคมี

17

Page 15: ระบบการจัดการคุณภาพ GAP พืช ...oard1.doa.go.th/GAP/pdf/สับปะรด... · 2013-06-03 · no. ขั้นตอนการผลิต

(ค) แผนควบคุมการผลิต

แผนควบคุมการผลิตสับปะรดโรงงาน No. ขั้นตอนการผลิต อันตราย มาตรการควบคุม CP/CCP คาควบคุม การเฝาระวัง การแกไขปญหา ส่ิงที่ตองบันทึก 4. การจัดการเพ่ือผลิต

สับปะรดโรงงานที่ปลอดจากศัตรูพืช

4.1 การปองกันกําจัดแมลงศัตร ู

ผลิตผลดอยคุณภาพ

สํารวจชนิดและปริมาณแมลงศัตรูสับปะรดทุกเดือน

CP พบเพล้ียแปงมากกวาหรือเทากับ 10 ตัวตอตน

สํารวจชนิด และปริมาณเพล้ียแปงและมดทุก 1 เดือน ตั้งแตเริ่มปลูกจนถึงเก็บเกี่ยว

เพลี้ยแปง : ปองกันกําจัดเพล้ียแปง โดยพนไธอะมีโทแซม 25%ดับลิวจี อัตรา 2 กรัม หรืออิมิดาโคลพริด 10% เอสแอล อัตรา 20 มิลลิกรัม หรือไดโนทีฟูแรน 10% ดับลิวพี อัตรา 20 กรัมหรือ อะเซททามิพริด 20% เอสพี อัตรา 10 กรัมตอน้ํา 20 ลิตร เฉพาะบริเวณท่ีพบเพล้ียแปงระบาดและงดพนในระยะใกลเก็บเกี่ยว มด : ปองกันกําจัดมด ซ่ึงเปนพาหะในการแพรกระจาย เพล้ียแปงไปตามสวนตางๆ ของสับปะรด ดวยวิธีทางเขตกรรม หรือใชเหยื่อพิษไฮดราเมทิลนอน

ชนิด อัตรา เวลา และปริมาณสารเคมีท่ีใช

18

Page 16: ระบบการจัดการคุณภาพ GAP พืช ...oard1.doa.go.th/GAP/pdf/สับปะรด... · 2013-06-03 · no. ขั้นตอนการผลิต

(ค) แผนควบคุมการผลิต

แผนควบคุมการผลิตสับปะรดโรงงาน No. ขั้นตอนการผลิต อันตราย มาตรการควบคุม CP/CCP คาควบคุม การเฝาระวัง การแกไขปญหา ส่ิงที่ตองบันทึก

0.73% จี อัตรา 275 กรัมตอไร โรยหรือหวานในแปลงสับปะรดกอนปลูกและหลังปลูก 6 เดือน

4.2 การปองกันกําจัดโรค

ผลผลิตลดลง และดอยคุณภาพ

สํารวจชนิดและปริมาณการแพรระบาดของโรคทุกเดือน

CP ไมพบตนท่ีเปนโรค สํารวจการแพรระบาดของโรค

โรคเหี่ยว : กําจัดตนท่ีเปนโรคท้ิง ใชหนอพันธุจากแหลงท่ีไมมีการแพรระบาดของโรคเห่ียว ปองกันกําจัดมดและเพล้ียแปงตามคําแนะนําขางตน โรครากเนาหรือตนเนา : เก็บตนสับปะรดท่ีเปนโรคเผาทําลาย ใชสารเมตาแลกซิล 25% ดับลิวพี อัตรา 20-40 กรัม หรือสาร ฟอสเอทิลอลูมิเนียม 80% ดับลิวพี อัตรา 80-100 กรัม หรือสารฟอสฟอรัสแอซิค 40% อัตรา 100 มิลลิลิตรตอน้ํา 20 ลิตร จุมหนอกอนปลูก และพนทุก 2 เดือน

ชนิด อัตรา ปริมาณการใชสารเคมี วิธีปฏิบัติอ่ืนๆ 19

Page 17: ระบบการจัดการคุณภาพ GAP พืช ...oard1.doa.go.th/GAP/pdf/สับปะรด... · 2013-06-03 · no. ขั้นตอนการผลิต

(ค) แผนควบคุมการผลิต

แผนควบคุมการผลิตสับปะรดโรงงาน No. ขั้นตอนการผลิต อันตราย มาตรการควบคุม CP/CCP คาควบคุม การเฝาระวัง การแกไขปญหา ส่ิงที่ตองบันทึก

เฉพาะบริเวณท่ีพบอาการโรค หยุดพนสารกอนเก็บเกี่ยว 14 วัน

โรคผลแกน : พนปุยโพแทส เซียมคลอไรด อัตรา 1 กิโลกรัมตอน้ํา 20 ลิตร ประมาณ 90-105 วันหลังการบังคับดอก

5. การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว

5.1 อายุการ เก็บเกี่ยว

ผลผลิตดอยคุณภาพ

เก็บเกี่ยวเม่ือมีความสุกแกไมนอยกวารอยละ 25 ของท้ังผล (สับปะรดสุกปาดเหลือง)

CCP

มีผลสับปะรดท่ีสุกแกไมไดมาตรฐานคละปนไมเกิน 5% ของผลิตผลท้ังหมด

ประเมินอายุของผลหลังวันบังคับดอกหรือสุมปาดดูเนื้อ ผลกอนการเก็บเกี่ยว

สุมปาดดูเนื้อผลกอนการเก็บ เกี่ยว และเก็บเกี่ยวผลท่ีสุกแกไดท่ี ชะลอการเก็บเกี่ยว เม่ือความ สุกแกยังไมไดท่ี

วัน เดือน ปท่ีบังคับ ดอกและเก็บเกี่ยว ปริมาณผลผลิตท่ี เก็บเกี่ยวในแตละรุน

5.2 วิธีการเก็บเกี่ยวและการขนยาย

ผลิตผลเสียหาย

เก็บเกี่ยวและ ขนยายดวย ความระมัดระวัง

CP ผลผลิตเสียหายจากการเก็บเกี่ยวและการขน ยาย ไมเกิน 5%ของผลผลิตท้ังหมด

ใชแรงงานท่ีมีความชํานาญ อุปกรณอยูในสภาพพรอมใชงาน และขนยายผลิตผลอยางเหมาะสม

จัดอบรมใหความรูในวิธีการเก็บเกี่ยวท่ีถูกตองใหแกแรงงานท่ีจะทําการเก็บเกี่ยว

จํานวนผลิตผลท่ี เก็บเกี่ยว จํานวนผลิตผลท่ี เสียหายจากการเก็บ

20

Page 18: ระบบการจัดการคุณภาพ GAP พืช ...oard1.doa.go.th/GAP/pdf/สับปะรด... · 2013-06-03 · no. ขั้นตอนการผลิต

(ค) แผนควบคุมการผลิต

แผนควบคุมการผลิตสับปะรดโรงงาน No. ขั้นตอนการผลิต อันตราย มาตรการควบคุม CP/CCP คาควบคุม การเฝาระวัง การแกไขปญหา ส่ิงที่ตองบันทึก

เกี่ยวและการขนยาย จํานวนผลิตผล คุณภาพ

5.3 การปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว

5.3.1 การคัดแยก ผลิตผลท่ีมีศัตรูพืช

ผลิตผลดอยคุณภาพ

ตรวจสอบและคัดแยกผลสับปะรดท่ีมีรองรอยการเขาทําลายของศัตรูพืชหรือมีศัตรูพืชอยูบนผลออกจากผลิตผลคุณภาพ

CP มีการคละปนของผลิตผลดอยคุณภาพไมเกิน 5%

ตรวจสอบและคัดแยก ผลสับปะรดท่ีถูกทําลายจากศัตรูพืชและ/หรือพบศัตรูพืชติดอยูบนผล

ตรวจสอบและคัดแยก ผลผลิตท่ีมีศัตรูพืช

ปริมาณผลผลิตท่ี ดอยคุณภาพ

5.3.2 การคัดขนาด

มีการคละปนของผลิตผลตางช้ันขนาด

คัดแยกผลิตผลตรงตามช้ันขนาด

CP

มีการคละปนของผลตางช้ันขนาด ไมเกิน 10%ของผลิตผลในช้ันขนาดนั้น ๆ

ตรวจสอบความถูกตองจากการคัดขนาด

คัดแยกผลท่ีไมอยูในช้ันขนาดเดียวกันออก

ผลการคัดแยก และเปอรเซ็นตผลิตผลท่ีมีการคละปน

21

Page 19: ระบบการจัดการคุณภาพ GAP พืช ...oard1.doa.go.th/GAP/pdf/สับปะรด... · 2013-06-03 · no. ขั้นตอนการผลิต

ระเบียบปฏิบัติ GAP (Good Agricultural Practice)

ระบบการผลิตสับปะรดโรงงานระดับเกษตรกร

Page 20: ระบบการจัดการคุณภาพ GAP พืช ...oard1.doa.go.th/GAP/pdf/สับปะรด... · 2013-06-03 · no. ขั้นตอนการผลิต

25

ระเบียบปฏิบัติ GAP (Good Agricultural Practice) ระบบการผลิตสับปะรดโรงงานระดับเกษตรกร

1. ขอบขาย

ระเบียบปฏิบัติฉบับนีค้รอบคลุมระบบการผลิตสับปะรดโรงงานในทุกขั้นตอนการผลิตท่ีดําเนินการในระดับเกษตรกร เพ่ือใหไดผลิตผลสับปะรดโรงงานท่ีมีคุณภาพและไดมาตรฐานเปนท่ีพึงพอใจของคูคาและผูบริโภค

2. นิยาม

สับปะรดสุกปาดเหลือง หมายถึง ผลสับปะรดมีเนื้อสีเหลืองไมนอยกวารอยละ 25 และไมเกินรอยละ 75 ของท้ังผล เม่ือใชมีดปาดตามความยาวของผล

กล่ินโอ หมายถึง กล่ินผิดปกติจากการหมัก

3. ขอกําหนดวิธีปฏิบัติ เกณฑท่ีกําหนด และวิธีการตรวจประเมิน

ขอกําหนดวิธีการปฏิบัติ เกณฑท่ีกําหนด และวิธีการตรวจประเมินตามระบบการผลิตสับปะรดโรงงาน ใหเปนไปตามตารางท่ี 3.1

ตารางที่ 3.1 ขอกําหนดวิธีปฏิบัติ เกณฑท่ีกําหนด และวิธีการตรวจประเมิน

ลําดับขอกําหนด เกณฑที่กําหนด วิธีตรวจประเมิน

1. แหลงน้ํา น้ําท่ีใช ตองไดจากแหลงท่ีไมมีสภาพแวดลอมซ่ึงกอใหเกิดการปนเปอน

ตรวจพินิจสภาพแวดลอม หากอยูในสภาวะเส่ียงใหตรวจสอบ และวิเคราะหคุณภาพน้ํา * แหลงน้ําไมอยูใกล หรือไหลผานชุมชนหรือคอกสัตว หรือโรงเก็บสารเคมี หรือสถานท่ีผสมสารเคมีสําหรับพนในสวน หรือโรงงานอุตสาหกรรม * ไมเปนน้ําเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมหรือกิจกรรมอ่ืน ๆ หากจําเปนตองใช ตองมีหลักฐานประกอบวา ไดผานการบําบัดน้ําเสียมาแลวตาม

Page 21: ระบบการจัดการคุณภาพ GAP พืช ...oard1.doa.go.th/GAP/pdf/สับปะรด... · 2013-06-03 · no. ขั้นตอนการผลิต

ลําดับขอกําหนด เกณฑที่กําหนด วิธีตรวจประเมิน มาตรฐาน

* หากเปนแหลงน้ําท่ีจัดทําขึ้นใหม บริเวณท่ีเปนแหลงน้ํานั้น ตองไมมีประวัติเคยเปนโรงพยาบาล หรือคอกสัตว หรือโรงงานอุตสาหกรรมมากอน * ใชแผนภูมิ 1 และ 2 Decision tree ความเส่ียงในการปนเปอนจุลินทรียในน้ําใชในระหวางกระบวนการผลิต และน้ําใชในการปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว (หนา 30 และ31)และเอกสารสนับสนุน การประเมินความเส่ียงเนื่องจากการปนเปอน ประกอบการตัดสินใจ

2. พ้ืนที่ปลูก ตองเปนพ้ืนท่ีท่ีไมมีวัตถุอันตรายท่ีจะทําใหเกิดการตกคางหรือปนเปอนในผลิตผล

ตรวจพินิจสภาพแวดลอม หากอยูในสภาวะเส่ียงใหตรวจสอบ และวิเคราะหคุณภาพดิน * พ้ืนท่ีปลูก ตองไมมีประวัติเคยเปนโรงพยาบาล หรือโรงงานอุตสาหกรรม หรือคอกสัตว หรือโรงเก็บสารเคมี หรือสถานท่ีท้ิงขยะมากอน * ตองไมใชพ้ืนท่ีท่ีมีการตรวจพบสารปองกันกําจัดศัตรูพืชกลุมออรแกโน-คลอรีน (OC) และ/หรือ กลุมออรแกโน-ฟอสเฟต (OP)ในดิน หรือในผลิตผลมากอน * ใชแผนภูมิ 3 Decision tree ความเส่ียงเนื่องจากสารพิษตกคางในดิน (หนา 32) ประกอบการตัดสินใจ * ปุยเคมีและปุยอินทรียท่ีใชทางดินมีธาตุโลหะหนัก เชน แคดเมียม ตะกั่ว และปรอทเปนตน ปนเปอนอยู * มีการนําสวนตาง ๆ ของสัตวที

Page 22: ระบบการจัดการคุณภาพ GAP พืช ...oard1.doa.go.th/GAP/pdf/สับปะรด... · 2013-06-03 · no. ขั้นตอนการผลิต

27

ลําดับขอกําหนด เกณฑที่กําหนด วิธีตรวจประเมิน

ไมไดผานการหมัก (compost)

หรือบม (aging) มาใชเปนปุย ใชแผนภูมิ 4 Decision treeความเส่ียงในการปนเปอน จุลินทรียเนื่องจากปุยและสารเสริมประสิทธิภาพปุย (หนา 33) และเอกสารสนับสนุน การประเมินความเส่ียงเนื่องจากการปนเปอน ประกอบการตัดสินใจ

3. การใชวัตถุอันตรายทางการเกษตร

หากมีการใช ใหใชตามคําแนะนําหรืออางอิงคําแนะนําของกรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ หรือตามคําแนะนําในฉลากท่ีขึ้นทะเบียนกับ กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ ตองใชสารเคมีใหสอดคลองกับรายการสารเคมีท่ีประเทศคูคาอนุญาตใหใช หามใชวัตถุอันตรายท่ีระบุในทะเบียนวัตถุอันตรายทางการเกษตรท่ีหามใช

ตรวจสอบสถานท่ีเก็บรักษา วัตถุอันตรายทางการเกษตร (รายละเอียดภาคผนวก ก ขอ 1.3) ตรวจบันทึกขอมูลการใชวัตถุอันตรายทางการเกษตร และสุมตัวอยางวิเคราะหสารพิษตกคางในผลิตผล กรณีมีขอสงสัย

4. การเก็บรักษาและการขนยายผลิตผลในแปลง

สถานท่ีเก็บรักษาตองสะอาด มีอากาศถายเทไดดี สามารถปองกันการปนเปอนจากวัตถุแปลกปลอม วัตถุอันตราย และสัตวพาหะนําโรค อุปกรณและพาหนะในการขนยายตองสะอาดปราศจากการปนเปอนส่ิงอันตรายท่ีมีผลตอความปลอดภัยในการบริโภค ตองขนยายผลิตผลอยางระมัดระวัง

ตรวจพินิจสถานท่ี อุปกรณ ภาชนะบรรจุขั้นตอน และวิธีการขนยายผลิตผล

5. การบันทึกขอมูล ตองมีการบันทึกขอมูลท่ีเกี่ยวกับการใชวัตถุอันตรายทางการเกษตร และการสํารวจศัตรูพืช ตองมีการบันทึกขอมูลการคัดเลือกหนอพันธุ วิธีปฏิบัติเพ่ือบังคับดอก

ตรวจบันทึกขอมูลของเกษตรกรตามแบบบันทึกขอมูล

Page 23: ระบบการจัดการคุณภาพ GAP พืช ...oard1.doa.go.th/GAP/pdf/สับปะรด... · 2013-06-03 · no. ขั้นตอนการผลิต

ลําดับขอกําหนด เกณฑที่กําหนด วิธีตรวจประเมิน การใหปุยและน้ํา และการเก็บเกี่ยวและการคัดแยก

6. ผลิตผลปลอดจากศัตรูพืช

สํารวจการเขาทําลายของเพล้ียแปง ถาพบมากกวาหรือเทากับ 10 ตัวตอตน พบอาการโรครากเนาหรือตนเนา และโรคผลแกนตองปองกันกําจัด ผลิตผลท่ีเก็บเกี่ยวแลว ตองไมมี เพล้ียแปงโรคผลแกน และศัตรูอ่ืน ถาพบตองคัดแยกไวตางหาก

ตรวจบันทึกขอมูลการใชวัตถุอันตรายทางการเกษตร ตรวจพินิจผลการคัดแยก

7. การจัดการกระบวนการผลิตใหไดผลิตผลที่มีขนาดผลสมํ่าเสมอตามมาตรฐานและมีสาร ไนเตรทตกคางในผลไมเกิน 15 มิลลิกรัมตอน้ําหนักผล 1 กิโลกรัม

คัดหนอพันธุท่ีมีความสมํ่าเสมอและมีน้ําหนักตามคําแนะนํา ใชระยะปลูกท่ีเหมาะสมตามคําแนะนํา บังคับใหตนสับปะรดออกดอกพรอมกันโดยใชสารเอทธิฟอนหรือถานแกส ตามคําแนะนํา เม่ือน้ําหนักตนปลูกไมนอยกวา 2.5 กิโลกรัม หรือน้ําหนัก ตนตอไมนอยกวา 2 กิโลกรัมหรือ จัดการน้ํา ปุย และเขตกรรมตามคําแนะนํา

ตรวจบันทึกขอมูลการคัดเลือกหนอพันธุปลูก ตรวจบันทึกขอมูลวิธีปฏิบัติเพ่ือบังคับดอก ตรวจบันทึกขอมูลการใหปุยและน้ํา

8. การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว

เก็บเกี่ยวเม่ือผลมีอายุไมนอยกวา 5 เดือนหลังวันบังคับดอก สีเปลือกผลเปล่ียนจากสีเขียวเปนสีเหลือง กลีบเล้ียงเปล่ียนเปนสีสม หรือน้ําตาลแดง ตาของผลยอยแบนราบรองตาตึงเต็มท่ี กานผลเห่ียวเล็กนอย ใบเล็กท่ีรองดอกยอยเห่ียวแหง ตาดานลางของผลเริ่มเปด 2-3 แถว เปนสับปะรดสุกปาดเหลือง ไมมีกล่ินโอ กล่ินบูด หรือกล่ินเหม็นเปรี้ยว อุปกรณท่ีใชในการเก็บเกี่ยว ภาชนะบรรจุ และวิธีการเก็บเกี่ยวจะตองไม

ตรวจบันทึกขอมูลการเก็บเกี่ยวและการคัดบรรจ ุ ตรวจพินิจอุปกรณ ภาชนะบรรจุ ขั้นตอนและวิธีการเก็บเกี่ยว

Page 24: ระบบการจัดการคุณภาพ GAP พืช ...oard1.doa.go.th/GAP/pdf/สับปะรด... · 2013-06-03 · no. ขั้นตอนการผลิต

29

ลําดับขอกําหนด เกณฑที่กําหนด วิธีตรวจประเมิน กอใหเกิดอันตรายตอคุณภาพผล และปนเปอนส่ิงอันตรายท่ีมีผลตอการบริโภค เปนสับปะรดท้ังผลไมมีจุกและกาน ไมมีรอยชํ้า ไมมีลักษณะแดดเผา ผลแกน และไมมีสับปะรดออนคละปนกับสับปะรดคุณภาพ

4. คําแนะนําหลักการปฏิบัติตามระบบการผลิตสับปะรดโรงงาน 4.1 คําแนะนําหลักการปฏิบัติตามระบบการผลิตนี้มีไว เพ่ือใชแนะนําเกษตรกรใหผลิตสับปะรด

โรงงานตามระบบการผลิตท้ังหมดทุกขั้นตอนท่ีดําเนินการในระดับเกษตรกร ซ่ึงมีรายละเอียดอธิบายไวในภาคผนวก ก.

Page 25: ระบบการจัดการคุณภาพ GAP พืช ...oard1.doa.go.th/GAP/pdf/สับปะรด... · 2013-06-03 · no. ขั้นตอนการผลิต

แผนภูมิ 1 Decision tree ความเส่ียงในการปนเปอนจุลินทรียในน้ําใชในระหวางกระบวนการผลิต

น้ําใชในระหวางกระบวนการผลิตสัมผัสกับผลิตผลโดยตรง

ใช ไมใช

มีการใชน้ําภายใน 2 วัน กอนการเก็บเกี่ยว หรือมีสวนใดของพืชท่ีไดรับน้ําแลวเก็บความช้ืนไวจนอาจเปนบอเกิดของจุลินทรีย

ไมใช ความเส่ียงตํ่า

ไมใช ใช น้ําใชไหลผาน หรือมาจากแหลง

น้ําท่ีอาจปนเปอนจากมูลสัตว

ใช หรือไมแนใจ

ไมใช ใช วิเคราะหคุณภาพน้ํา และตรวจพบ

ปริมาณจุลินทรียโคลิฟอรมมากกวา 1,000 ตัว/100 มิลลิลิตร

ไมใช สุมตัวอยางผลิตผลและตรวจ พบ E. coli มากกวา 20 ซีเอฟย/ูกรัม (CFU/g)

ความเสี่ยงตํ่า แตควรมีการ ตรวจสอบซ้ําอยางสมํ่าเสมอ

ตรวจสอบแหลงท่ีมาของการปนเปอน ลดความเสี่ยงโดยการบําบัดน้ํากอนนํามาใช หรือปองกันมิใหน้ําใชสัมผัสกับผลิตผลโดยตรง หรือเปลี่ยนไปใชน้ําจากแหลงอื่น

ใช

Page 26: ระบบการจัดการคุณภาพ GAP พืช ...oard1.doa.go.th/GAP/pdf/สับปะรด... · 2013-06-03 · no. ขั้นตอนการผลิต

31

แผนภูมิ 2 Decision tree ความเส่ียงในการปนเปอนจุลินทรียในน้ําใชในการปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว

น้ําท่ีใชกับผลิตผลในการปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยวเปนน้ําท่ี

ใชบริโภคได ไมใช

หรือไมแนใจ ใช

ไมใช ความเสี่ยงตํ่า

ใช ความเส่ียงตํ่าแตควรมีการ

ตรวจสอบซ้ําอยางสมํ่าเสมอ

บําบัดน้ํากอนนํามาใช หรือเปลี่ยนไปใชน้ําจากแหลงอื่น

ตรวจสอบคุณภาพน้ํา และพบ E. coli มากกวา

20 ซีเอฟยู/กรัม (CFU/g)

Page 27: ระบบการจัดการคุณภาพ GAP พืช ...oard1.doa.go.th/GAP/pdf/สับปะรด... · 2013-06-03 · no. ขั้นตอนการผลิต

แผนภูมิ 3 Decision tree ความเส่ียงเนื่องจากสารพิษตกคางในดิน สารพิษกลุม OC คือ กลุมออรแกโนคลอรีน (organochlorine) OP คือ กลุมออรแกโนฟอสเฟต (organophosphate)

มีการใชสารเคมีปองกันกําจัด ศัตรูพืชตอเนื่องเปนเวลานาน

ใช หรือไมแนใจ

ไมใช

ไมใช ไมมีความเส่ียง

ใช

มีการปลูกพืชลงในแปลงแลว

ผลิตผลอยูใกลผิวดิน หรือสัมผัสกับดิน

โดยตรง

ไมใช

ไมใช ตรวจสอบหาสารพิษ ตกคางในดิน

ใช ใช

ตรวจสอบพบสารพิษกลุม OC และ OP เกินคาความปลอดภัยมาตรฐาน

เปลี่ยนพื้นท่ีปลูก หรือเลือกปลูกพืช ท่ีผลิตผลไมสัมผัสกับดินโดยตรง

ไมใช ใช ไมมีความเส่ียง

กักกันพืช โดย จัดการหลังการเก็บเกี่ยว เพื่อลดสารพิษตกคาหรือ กําจัดผลิตผล และหามจําหนายผลิตผลท่ีมีสารพิษตกคางเกินคาความปลอดภัยมาตรฐาน หรือนําไปเลี้ยงสัตว

Page 28: ระบบการจัดการคุณภาพ GAP พืช ...oard1.doa.go.th/GAP/pdf/สับปะรด... · 2013-06-03 · no. ขั้นตอนการผลิต

33

แผนภูมิ 4 Decision tree ความเส่ียงในการปนเปอนจุลินทรียเนื่องจากปุยและสารเสริมประสิทธิภาพปุย

ใชปุย และสารเสริมประสิทธิภาพปุยประเภทใด

เปนผลิตภัณฑจากสวนตาง ๆ ของสัตวท่ียังสดอยู

แรธาตุตาง ๆ ปุยเคมี และผลิตภัณฑท่ีไมมีสวนตาง ๆ ของสัตวเปนองคประกอบ

หรือหากมีก็ผานการบําบัด และตรวจสอบ ตามมาตรฐานแลว

ไมใช ไมมีความเส่ียง หรือความเส่ียงตํ่า

ใช หรือไมแนใจ

ตองมีการจัดการ เพื่อลดความเสี่ยง

ผลิตผลสัมผัสกับผลิตภัณฑ โดยตรง หรือสัมผัสผานทางดิน

Page 29: ระบบการจัดการคุณภาพ GAP พืช ...oard1.doa.go.th/GAP/pdf/สับปะรด... · 2013-06-03 · no. ขั้นตอนการผลิต

ภาคผนวก ก.

คําแนะนําหลักการปฏิบัติตามระบบการผลิต สับปะรดโรงงาน

Page 30: ระบบการจัดการคุณภาพ GAP พืช ...oard1.doa.go.th/GAP/pdf/สับปะรด... · 2013-06-03 · no. ขั้นตอนการผลิต

37

ภาคผนวก ก. คําแนะนําหลักการปฏิบัติตามระบบการผลิตสับปะรดโรงงาน

1. การจัดการสุขลักษณะแปลง 1.1 จัดทําประวัติแปลงและการใชประโยชนที่ดินในแปลง 1.1.1 มีการจัดทําขอมูลประจําแปลง โดยรวมช่ือเจาของแปลง ผูดูแลแปลง ท่ีตั้งแปลง แผนท่ีภายในแปลง ชนิดพืชและพันธุท่ีปลูก ประวัติการใชท่ีดินยอนหลังอยางนอย 3 ป และรายละเอียดอ่ืน ๆ ตามแบบบันทึกขอมูลประจําแปลง 1.1.2 ในกรณีท่ีสถานท่ีผลิตอยูใกล หรืออยูในแหลงอุตสาหกรรม หรือพ้ืนท่ีท่ีมีความเส่ียง ควรมีการวิเคราะหดิน เพ่ือตรวจสอบคุณภาพดิน และการปนเปอนจากส่ิงท่ีเปนอันตรายอยางนอย 1 ครั้งในระยะเริ่มระบบการจัดการคุณภาพ : GAP สับปะรดโรงงาน โดยดําเนินการตามคําแนะนําในเอกสารสนับสนุนวิธีเก็บตัวอยางดินเพ่ือการวิเคราะห บันทึกรายละเอียดการเก็บตัวอยางดินลงในแบบบันทึก รวมท้ังเก็บใบแจงผลการวิเคราะหดินไวเปนหลักฐาน

1.2 แหลงน้ําและคุณภาพน้ํา 1.2.1 น้ําท่ีใชในกระบวนการผลิตและน้ําท่ีใชลางผลิตผลหลังการเก็บเกี่ยว ควรเปนน้ําท่ีมีคุณภาพเหมาะสมกับการใชในการเกษตร ตองไมใชน้ําเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม หรือกิจกรรมอ่ืน ๆ ท่ีกอใหเกิดการปนเปอนส่ิงท่ีเปนอันตราย กรณีจําเปนตองใช ตองมีหลักฐานหรือขอพิสูจนท่ีชัดเจนวาน้ํานั้นไดผานการบําบัดน้ําเสียมาแลว และสามารถนํามาใชในกระบวนการผลิตได 1.2.2 ควรมีการเก็บตัวอยางน้ําอยางนอย 1 ครั้ง ในระยะเริ่มระบบการจัดการคุณภาพ : GAP สับปะรดโรงงาน ตามคําแนะนําในเอกสารสนับสนุนวิธีเก็บตัวอยางน้ําเพ่ือการวิเคราะห สงหองปฏิบัติการท่ีเช่ือถือได เพ่ือวิเคราะหการปนเปอนเนื่องจากสารเคมี แรธาต ุ บันทึกรายละเอียดการเก็บตัวอยางน้ําลงในแบบบันทึก รวมท้ังเก็บใบแจงผลการวิเคราะหน้ําไวเปนหลักฐาน 1.2.3 แหลงน้ําสําหรับการเกษตรไมควรเปนแหลงน้ําท่ีเกิดขึ้นเนื่องจากการทําลายส่ิงแวดลอม

1.3 การเก็บรักษาสารเคมีทางการเกษตร 1.3.1 จัดเก็บสารเคมีชนิดตาง ๆ ท่ีใชในกระบวนการผลิตในสถานท่ีมิดชิด ปลอดภัย ปองกันแดดและฝนได และมีอากาศถายเทไดสะดวก 1.3.2 แยกสถานท่ีเก็บสารเคมีไมใหอยูใกลท่ีพักอาศัย และสถานท่ีประกอบอาหาร ไมอยูในบริเวณตนน้ํา หรือบริเวณท่ีมีน้ําไหลผาน เพ่ือปองกันสารเคมีปนเปอนในแหลงน้ํา 1.3.3 สารเคมีแตละชนิดตองจัดเก็บในภาชนะปดมิดชิด สารเคมีท่ีเปดใชแลวหามถายออกจากภาชนะบรรจุเดิม ใหปดปายแสดงชัดเจน และแยกเก็บเปนหมวดหมู ไมปะปนกันระหวางปุย สารควบคุม

Page 31: ระบบการจัดการคุณภาพ GAP พืช ...oard1.doa.go.th/GAP/pdf/สับปะรด... · 2013-06-03 · no. ขั้นตอนการผลิต

38

การเจริญเติบโตพืช สารเคมีปองกันกําจัดโรค สารเคมีปองกันกําจัดแมลง สารเคมีปองกันกําจัดวัชพืช และอาหารเสริมตาง ๆ 1.3.4 โรงเก็บสารเคมีตองมีเครื่องมือและวัสดุปองกันอุบัติเหตุอยางครบถวน เชน น้ํายาลางตา น้ําสะอาด ทราย และอุปกรณดับเพลิง เปนตน 1.3.5 ตองไมมีสารเคมีท่ีไมไดขึ้นทะเบียนวัตถุอันตรายตามพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ.2535 เก็บรักษาอยูในสถานท่ีเก็บสารเคมี หรือภายในแปลง

1.4 การใชสารเคมีทางการเกษตรอยางถูกตองและเหมาะสม 1.4.1 หามใชสารเคมีท่ีไมไดขึ้นทะเบียนวัตถุอันตรายตามพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 ตามเอกสารสนับสนุน รายช่ือวัตถุอันตรายหามใชในการเกษตร และตองใชสารเคมีใหสอดคลองกับรายการสารเคมีท่ีประเทศคูคาอนุญาตใหใช 1.4.2 อานฉลากคําแนะนํา เพ่ือใหทราบคุณสมบัติ และวิธีการใชสารปองกันกําจัดศัตรูพืชกอนปฏิบัติงานทุกครั้ง 1.4.3 ผูประกอบการและแรงงานท่ีปฏิบัติงานดานการปองกันกําจัดศัตรูพืช ควรรูจักศัตรูพืช ชนิดและอัตราการใชสารปองกันกําจัดศัตรูพืช การเลือกใชเครื่องพนและอุปกรณหัวฉีด รวมท้ังวิธีการพนสารเคมีท่ีถูกตอง โดยตองตรวจสอบเครื่องพนสารใหอยูในสภาพพรอมท่ีจะใชงานตลอดเวลา เพ่ือปองกันสารพิษเปอนเส้ือผาและรางกายของผูพน ตองสวมเส้ือผาอุปกรณปองกันสารพิษ ไดแก หนากากหรือผาปดจมูก ถุงมือ หมวก และรองเทาเพ่ือปองกันอันตรายจากสารพิษ 1.4.4 เตรียมสารปองกันกําจัดศัตรูพืช และใชใหหมดในคราวเดียว ไมควรเหลือติดคางในถังพน 1.4.5 ปดฝาภาชนะบรรจุสารปองกันกําจัดศัตรูพืชใหสนิทเม่ือเลิกใช และเก็บในสถานท่ีเก็บสารเคมี 1.4.6 เม่ือใชสารปองกันกําจัดศัตรูพืชหมดแลว ใหลางภาชนะบรรจุสารเคมีดวยน้ํา 2-3 ครั้ง แลวเทลงในถังพนสารเคมี ปรับปริมาณน้ําตามความเขมขนท่ีกําหนด กอนนําไปใชพนปองกันกําจัดศัตรูพืช 1.4.7 ควรพนสารปองกันกําจัดศัตรูพืชในชวงเชาหรือเย็นขณะลมสงบ หลีกเล่ียงการพนในเวลาแดดจัดหรือลมแรง และขณะปฏิบัติงานผูพนตองอยูเหนือลมตลอดเวลา 1.4.8 หลังการพนสารปองกันกําจัดศัตรูพืชทุกครั้ง ผูพนตองอาบน้ํา สระผม และเปล่ียนเส้ือผาทันที เส้ือผาท่ีใสขณะพนสารตองซักใหสะอาดทุกครั้ง

1.4.9 ตองหยุดใชสารปองกันกําจัดศัตรูพืชกอนการเก็บเกี่ยวตามท่ีระบุไวในฉลากกํากับการใชสารปองกันกําจัดศัตรูพืชแตละชนิด

1.4.10 ใหปฏิบัติตามแผนควบคุมการผลิตของสับปะรดโรงงาน

Page 32: ระบบการจัดการคุณภาพ GAP พืช ...oard1.doa.go.th/GAP/pdf/สับปะรด... · 2013-06-03 · no. ขั้นตอนการผลิต

39

1.5 ความสะอาดปลอดภัยและการกําจัดของเสียและวัสดุเหลือใช 1.5.1 ภาชนะบรรจุสารเคมีท่ีใชหมดและลางสารเคมีออกหมดแลวตามคําแนะนําในขอ 1.4.6 ตองไมนํากลับมาใชอีก และตองทําใหชํารุดเพ่ือปองกันการนํากลับมาใช แลวนําไปท้ิงในสถานท่ีท่ีจัดไวสําหรับท้ิงภาชนะบรรจุสารเคมีโดยเฉพาะ หรือทําลายโดยการฝงดินหางจากแหลงน้ํา และใหมีความลึกมากพอท่ีสัตวไมสามารถคุยขึ้นมาได หามเผาทําลาย 1.5.2 สวนตางๆของพืชท่ีมีโรคและแมลงเขาทําลายตองเผาทําลายนอกแปลง 1.5.3 เศษพืช หรอืกิ่งท่ีตัดแตงจากตนและไมมีโรคเขาทําลาย สามารถนํามาทําเปนปุยหมัก หรือปุยพืชสดได 1.5.4 จําแนก และแยกประเภทของขยะใหชัดเจน เชน กระดาษ กลองกระดาษ พลาสติก แกว น้ํามัน สารเคมี และเศษซากพืช เปนตน รวมท้ังควรมีถังขยะวางใหเปนระเบียบ หรือระบุจุดท้ิงขยะใหชัดเจน

เอกสารที่เกี่ยวของ 1. แบบบันทึก ขอมูลประจําแปลง 2. เอกสารสนับสนุน รายช่ือวัตถุอันตรายท่ีหามใชทางการเกษตร (ไมไดขึ้นทะเบียนวัตถุ อันตรายตามพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535)

2. การจัดการเคร่ืองมือและอุปกรณการเกษตร

2.1 การจัดทํารายการและการจัดเกบ็เคร่ืองมือและอุปกรณ 2.1.1 มีอุปกรณการเกษตรเหมาะสมและเพียงพอตอการปฏิบัติงาน 2.1.2 สถานท่ีเก็บรักษาอุปกรณและเครื่องมือการเกษตร ควรเปนสัดสวน ปลอดภัย งายตอการนําไปใชงาน มีปายแสดงไวชัดเจน พรอมท้ังจัดทํารายการและแผนการตรวจบํารุงรักษาเครื่องมือ/อุปกรณการเกษตรทุกช้ิน ลงในแบบบันทึก

2.2 การตรวจสภาพ และการซอมบํารุง 2.2.1 มีการตรวจสภาพเครื่องมือและอุปกรณการเกษตร เชน เครื่องพนสารปองกันกําจัดศัตรูพืช อุปกรณการเก็บเกี่ยว กอนนําออกไปใชงาน และตองทําความสะอาดทุกครั้งหลังใชงานเสร็จแลว และกอนนําไปเก็บในสถานท่ีเก็บ 2.2.2 มีการตรวจซอมบํารุงรักษาเครื่องมือและอุปกรณการเกษตร ตามแผนการบํารุงรักษาที่กําหนดไว พรอมท้ังบันทึกผลการตรวจซอมทุกครั้ง ลงในแบบบันทึก 2.2.3 เครื่องมือ อุปกรณ และภาชนะที่ใชในการบรรจุ และขนสงผลิตผล ตองมีการทําความสะอาดทุกครั้งกอนการใชงาน และเมื่อใชงานเสร็จแลวตองทําความสะอาดกอนนําไปเก็บ

Page 33: ระบบการจัดการคุณภาพ GAP พืช ...oard1.doa.go.th/GAP/pdf/สับปะรด... · 2013-06-03 · no. ขั้นตอนการผลิต

40

2.2.4 กรณีท่ีมีความจําเปนตองใชเครื่องมือและอุปกรณท่ีตองอาศัยความเท่ียงตรงในการปฏิบัติงาน ตองมีการตรวจสอบความเท่ียงตรงอยางสมํ่าเสมอแลวแตกรณี หากพบวามีความคลาดเคล่ือนตองดําเนินการปรับปรุง ซอมแซม หรือเปล่ียนใหม เพ่ือใหอุปกรณดังกลาวมีประสิทธิภาพตามมาตรฐานเม่ือนํามาใชงาน

3. การจัดการปจจัยการผลิต

3.1 การจัดทํารายการปจจัยการผลิตและแหลงที่มา จัดทํารายการและรายละเอียดเฉพาะของปจจัยการผลิตท่ีสําคัญไดแก พันธุ ปุย สารเคมีปองกัน

กําจัดศัตรูพืช ท่ีใชในการปฏิบัติการผลิต พรอมท้ัง จัดทําบัญชี รายการ ปริมาณ วัน เดือน ป ท่ีจัดซ้ือจัดหาลงในแบบบันทึก

3.2 การตรวจสอบคุณสมบัติของปจจัยการผลิตที่สําคัญ ปจจัยการผลิตท่ีสําคัญ ท่ีไมสามารถตรวจสอบแหลงท่ีมาได หรือไมนาเช่ือถือ ตองสงปจจัยการ

ผลิตนั้นไปยังหนวยงาน หรือหองปฏิบัติการท่ีเช่ือถือไดเพ่ือตรวจวิเคราะห บันทึกรายละเอียดการเก็บตัวอยางปจจัยการผลิตลงในแบบบันทึก รวมท้ังเก็บใบแจงผลการวิเคราะหไวเปนหลักฐาน

4. การปฏิบัติและการควบคุมการผลิต 4.1 การจัดการในกระบวนการผลิต

การจัดการในกระบวนการผลิต จะมีระเบียบปฏิบัติของแตละประเด็นตามความเหมาะสมในแตละพืช การปฏิบัติตองดําเนินการตามระเบียบปฏิบัติตาง ๆ ในแตละพืช 4.1.1 มีขั้นตอนการปฏิบัติเกี่ยวกับการควบคุมกระบวนการผลิตในประเด็นคุณภาพ (quality attributes) ท่ีเกี่ยวของในเชิงการคาเฉพาะเรื่องของพืชนั้น ๆ 4.2.2 มีขั้นตอนการปฏิบัติเกี่ยวกับการควบคุมกระบวนการผลิตในประเด็นความปลอดภัย (safety) ดานสารเคมี (chemical) ดานจุลินทรีย (microbial) และดานกายภาพ (physical) 4.2.3 มีขั้นตอนการปฏิบัติเกี่ยวกับการควบคุมกระบวนการผลิตในประเด็นสุขอนามัยพืช (phytosanitary) ดานโรค แมลง และศัตรูพืช

4.2 การจัดการประเด็นทั่วไป 4.2.1 ขอพึงปฏิบัติในการเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว

4.2.1.1 ควรใชเครื่องมือหรือวิธีการเฉพาะใหสอดคลองกับธรรมชาติของแตละพืช เพ่ือปองกันการชอกชํ้าของผลิตผลเนื่องจากการเก็บเกี่ยว

Page 34: ระบบการจัดการคุณภาพ GAP พืช ...oard1.doa.go.th/GAP/pdf/สับปะรด... · 2013-06-03 · no. ขั้นตอนการผลิต

41

4.2.1.2 ตองมีวัสดุปูรองพ้ืนในบริเวณพักผลิตผลท่ีเก็บเกี่ยวในแปลง เพ่ือปองกันการปนเปอนของจุลินทรีย ส่ิงปฏิกูล เศษดิน และส่ิงสกปรก หรือส่ิงท่ีเปนอันตรายอ่ืนๆ จากพ้ืนดิน

4.2.1.3 ภาชนะท่ีใชในการบรรจุและการขนสงผลิตผล ตองแยกตางหากจากภาชนะท่ีใชในการขนยาย หรือขนสงสารเคมี หรือปุย เพ่ือปองกันการปนเปอนสารเคมีทางการเกษตรและจุลินทรียท่ีเปนอันตรายตอการบริโภค และความเสียหายของผลิตผล

4.2.1.4 ในกรณีท่ีไมสามารถแยกภาชนะบรรจุผลิตผล และภาชนะขนยายสารเคมีหรือปุยได ตองทําความสะอาดจนแนใจวาไมมีการปนเปอนดังกลาว

4.2.1.5 ภาชนะท่ีใชในการบรรจุขั้นตนเพ่ือการขนถายภายในแปลงไปยังพ้ืนท่ีคัดแยกบรรจุตองเหมาะสม มีรูปแบบภาชนะ มีวัสดุกรุภายในภาชนะเพ่ือปองกันการกระแทกเสียดสี

4.2.1.6 การจัดวางผลิตผลในบริเวณพักผลิตผลท่ีเก็บเกี่ยวในแปลงตองเหมาะสมกับธรรมชาติของแตละพืชเพ่ือปองกันคราบเปอนจากน้ํายางในผล หรือรอยแผลท่ีเกิดจากการขูดขีด หรือกระแทกกันระหวางผล รวมท้ังปญหาการเส่ือมสภาพของผลิตผลอันเนื่องจากความรอน และแสงแดด

4.2.1.7 การเคล่ือนยายผลิตผลภายในแปลง ควรปฏิบัติดวยความระมัดระวัง

4.3 การควบคุมการคละปนของผลิตผลดอยคุณภาพ 4.3.1 มีกระบวนการคัดแยกใหไดผลิตผลท่ีมีคุณภาพและไดมาตรฐานเปนท่ีพึงพอใจของคูคาและผูบริโภค 4.3.2 ตองมีพ้ืนท่ีการจัดวางแยกผลิตผลท่ีดอยคุณภาพเปนสัดสวน 4.3.3 มีแผนการใชประโยชนจากผลิตผลท่ีดอยคุณภาพอยางชัดเจน

4.4 การบงชี้และการสอบกลับ (traceability) 4.4.1 มีการบันทึกการปฏิบัติงาน ตามแบบบันทึก 4.4.2 มีการควบคุมเอกสาร

5. การบันทึกและการควบคุมเอกสาร 5.1 เอกสารที่ใชในการปฏิบัติงานแปลง ไดแก 5.1.1 นโยบายคุณภาพของแปลง 5.1.2 วัตถุประสงคคุณภาพของแปลง 5.1.3 ขอบเขตการปฏิบัติงานตามขอกําหนดของระบบการจัดการคุณภาพ 5.1.4 แผนควบคุมการผลิตเฉพาะพืช 5.1.5 ระเบียบปฏิบัติตาง ๆ ในการปฏิบัติงานแปลง 5.1.6 วิธีการปฏิบัติตาง ๆ ตามระเบียบปฏิบัติ

Page 35: ระบบการจัดการคุณภาพ GAP พืช ...oard1.doa.go.th/GAP/pdf/สับปะรด... · 2013-06-03 · no. ขั้นตอนการผลิต

42

5.1.7 แบบบันทึกการปฏิบัติงานแปลง 5.1.8 เอกสารสนับสนุน 5.1.9 หลักฐานการฝกอบรม การจัดซ้ือ จัดหาปจจัยการผลิต (ถามี) 5.1.10 หลักฐานผลการตรวจวิเคราะห ดิน น้ํา ปจจัยการผลิต และสารตกคางในผลิตผลท่ีแปลงไดมีการดําเนินการเพ่ือใหบรรลุตามวัตถุประสงคคุณภาพ ตามความจําเปน 5.1.11 เอกสารอ่ืน ๆ ท่ีจําเปนในการดําเนินการเพ่ือบรรลุตามวัตถุประสงคคุณภาพ รวมถึงขอสัญญาในการจัดซ้ือผลผลิตกับคูคา 5.1.12 จัดทํารายการเอกสาร และบันทึกท่ีอยูในครอบครอง ลงในแบบบันทึก

5.2 เอกสารหรือแบบบันทึก ตองจัดทําใหเปนปจจุบันสําหรับการผลิตในฤดูกาลนั้น ๆ รวมท้ังตองมีการบันทึกใหครบถวน และลงช่ือผูปฏิบัติงานทุกครั้งท่ีมีการบันทึกขอมูล 5.3 ในกรณีท่ีมีแปลงผลิตมากกวา 1 แปลง ตองแยกบันทึกขอมูลเปนรายแปลง

6. การจัดเก็บและควบคุมเอกสาร 6.1 ใหมีการจัดเก็บเอกสารเปนหมวดหมู แยกเปนฤดูการผลิตแตละฤดูกาล เพ่ือสะดวกตอการตรวจสอบ และการนํามาใช 6.2 เก็บรักษาแบบบันทึกการปฏิบัติงานและเอกสารสําคัญที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติงาน ไวเปนอยางดีอยางนอย 3 ปของการผลิตติดตอกัน หรือตามท่ีผูประกอบการ หรือคูคาตองการ เพ่ือใหสามารถตรวจสอบยอนหลังได 6.3 ในกรณีท่ีมีการแกไขเปล่ียนแปลงเอกสารมาตรฐานระเบียบปฏิบัติ หรือระเบียบปฏิบัติ และเอกสารอ่ืนท่ีเกี่ยวของ ผูประกอบการตองบันทึกการแกไขลงในแบบบันทึกการควบคุมเอกสาร

7. การจัดการเพ่ือใหไดผลสับปะรดโรงงานที่ตรงตามพันธุและมีขนาดสมํ่าเสมอตามมาตรฐาน

7.1 การจัดการเพ่ือใหไดสับปะรดมีการเจริญเติบโตและมีขนาดผลสมํ่าเสมอตามมาตรฐาน 7.1.1 การคัดขนาดหนอพันธุ ตองคัดหนอพันธุปลูกใหมีขนาดสมํ่าเสมอกันในแตละแปลง ดังนี ้ กลุม Smooth Cayenne

หนอขนาดใหญ มีน้ําหนักมากกวา 700 กรัม แตไมเกิน 900 กรัม หนอมีขนาดกลาง มีน้ําหนักมากกวา 500 กรัม แตไมเกิน 700 กรัม หนอมีขนาดเล็ก มีน้ําหนักมากกวา 300 กรัม แตไมเกิน 500 กรัม

หนอพันธุท่ีจะใชปลูกไมควรเก็บไวนานเกินไป และไมควรเปนหนอพันธุท่ีมาจากแหลงหรือแปลงท่ีมีการแพรระบาดของโรคเห่ียว และโรครากเนาหรือตนเนาระบาด

Page 36: ระบบการจัดการคุณภาพ GAP พืช ...oard1.doa.go.th/GAP/pdf/สับปะรด... · 2013-06-03 · no. ขั้นตอนการผลิต

43

7.1.2 การจัดการระยะปลูก ใชระยะปลูกใหสมํ่าเสมอในแตละแปลง กลุม Smooth cayenne ใช อัตราปลูก 7,500 -8,000 หนอ/ไร ไมเกิน 12,000 หนอ/ไร กอนปลูกตองชุบหนอพันธุดวยสารเมตาแลกซิล 25% ดับลิวพี อัตรา 20 - 40 กรัม หรือสารฟอสเอทิลอะลูมิเนียม 80% ดับลิวพี อัตรา 80 -100 กรัมตอน้ํา 20 ลิตร เพ่ือปองกันโรครากเนาหรือตนเนา

7.2 การจัดการเพ่ือใหออกดอกผลผลิตสับปะรดมีคุณภาพไดมาตรฐาน

7.2.1 การใสปุย ใสปุยใหสอดคลองกับคาวิเคราะหดินท้ังปุยอินทรียและปุยเคมี ตามความตองพืช หรือใสปุยเคมีท่ีมีสัดสวนของธาตุไนโตรเจน : ฟอสฟอรัส : โปแตสเซียม 2:1:3 หรือ 3:1:4 อัตรา 50 กรัม/ฤด ูแบงใส 2 ครั้ง บริเวณกาบใบลางของตน ครั้งแรกเม่ือตนสับปะรดมีอายุ 1-3 เดือนหลังปลูก และครั้งท่ีสองเม่ือ 2-3 เดือนหลังใหปุยครั้งแรก และเม่ือสํารวจพบใบมีสีซีดจาง พนดวยปุยทางใบโดยใชปุยยูเรีย (46-0-0) + ปุยโพแทสเซียมซัลเฟต (0-0-50) อยางละ 500 กรัมตอน้ํา 20 ลิตร ใหท่ัวตนพอเปยก (75 มิลลิลิตรตอตน) จํานวน 3 ครั้ง คือ 30 และ 5 วันกอนบังคับดอก และ 20 วันหลังบังคับดอก หลังการบังคับดอกแลวไมควรใหปุยไนโตรเจน แตหากจําเปนตองใหปุยตองใหน้ําเต็มท่ีเพ่ือใหตนสับปะรดใชปุยใหหมดกอนเก็บเกี่ยว

7.2.2 การใหน้ํา ประเมินอาการขาดน้ําของตนสับปะรดตลอดชวงการเจริญเติบโตและการพัฒนาการจนกระท่ังเก็บเกี่ยว (เริ่มปลูก การเจริญเติบโตของตน ระยะ 1 เดือนหลังการบังคับดอก ชวงการพัฒนาการของดอกและผล และกอนเก็บเกี่ยว) ถาพบตนไมเจริญเติบโต โตชา แคระแกรน ใบไมกรอบ ใหน้ําตนสับปะรด ในชวง 1-5 เดือนหลังปลูก ใหน้ํา 11,200 ลิตร/ไร/สัปดาห ชวง 5 เดือนหลังปลูก ถึงกอน เก็บเกี่ยว ใหน้ํา 6,700 ลิตร/ไร/สัปดาห และหลังการใชปุยครั้งสุดทายตองใหน้ําเต็มท่ี เพ่ือใหปุยละลายจนหมด และหยุดใหน้ํากอนเก็บเกี่ยว 15-30 วัน 7.2.3 การปองกันการตกคางของไนเตรท มีการจัดการปุยและน้ําตามคําแนะนําอยางเครงครัด และไมทําลายจุก ในแหลงปลูกท่ีเคยพบปริมาณไนเตรทตกคางในผลสูงกวา 15 มิลิลกรัมตอน้ําหนักผล 1 กิโลกรัม ตองเก็บตัวอยางใบในระยะบังคับดอก วิเคราะหปริมาณธาตุโมลิบดินัม หากพบความเขมขนของธาตุต่ํากวา 1 สวนในลานสวน พนธาตุโมลิบดินัม อัตรา 5 มิลลิกรัมตอตน ผสมน้ํา 75 มิลลิลิตร ในระยะดอกแดง หรือโพแทสเซียมคลอไรด อัตรา 8 กรัมตอตนหลังบังคับดอกแลว 75 วัน โดยผสมน้ํา 75 มิลลิลิตร หลัง จากบังคับดอกไมควรใหปุยไนโตรเจน และหลังการใสปุยครั้งสุดทายตองใหน้ําเต็มท่ีเพ่ือใหปุยละลายจนหมด 7.2.4 การกําจัดวัชพืช

วัชพืชฤดูเดียว เปนวัชพืชท่ีครบวงจรชีวิตภายในฤดูเดียว สวนมากขยายพันธุดวยเมล็ด ไดแก วัชพืชใบแคบ เชน หญาตีนนก หญาตีนกา หญานกสีชมพู หญารังนก หญาปากควาย และหญาบุง เปนตน วัชพืชใบกวาง เชน แมงลักปา ผักบุงยาง ผักเบ้ียหิน ผักเบ้ียใหญ ผักโขม สาบแรงสาบกา และน้ํานมราชสีห เปนตน และประเภทกก เชน กกทราย และกกหนวดแมว เปนตน กอนปลูกควรไถแลวตากดิน

Page 37: ระบบการจัดการคุณภาพ GAP พืช ...oard1.doa.go.th/GAP/pdf/สับปะรด... · 2013-06-03 · no. ขั้นตอนการผลิต

44

ประมาณ 7-10 วัน ไถพรวน 1-2 ครั้ง เก็บเศษซากวัชพืชและสวนตาง ๆ ของวัชพืชออกจากแปลง หลังปลูก 1-2 เดือนควรกําจัดวัชพืชโดยใชจอบดายระหวางแถว หรือถอนดวยมือระหวางตนกอนท่ีวัชพืชจะออกดอก หรือพนดวยสารพาราควอท 27.6% เอสแอล อัตรา 300-600 มิลลิลิตรตอไรกอนการเตรียมดิน หรือกอนปลูกสับปะรด 5-7 วัน หรือสารโบรมาซิล 80% ดับลิวพี อัตรา 500-600 กรัม หรือสารไดยูรอน 80%ดับลิวพี อัตรา 500-600 กรัมตอไร หลังปลูกกอนวัชพืชงอก หรือวัชพืชมี 4-6 ใบ ขณะดินมีความช้ืน หรือสารโบรมาซิล 80% ดับลิวพี + สารอามีทรีน 80% ดับลิวพี อัตราสวน 1:1 อัตรา 400-600 กรัมตอไร พนหลังปลูกตั้งแตวัชพืชงอกจนถึงออกดอกเม่ือดินมีความช้ืน

วัชพืชขามป เปนวัชพืชท่ีมีอายุขามป ขยายพันธุดวยตน ราก เหงา หัวและไหลไดดีกวาการขยายพันธุดวยเมล็ด ไดแก ประเภทใบแคบ เชน หญาคา หญาขน หญาชันกาด หญาตีนติด และหญาขจรจบดอกเหลือง เปนตน ประเภทใบกวาง เชน สาบเสือ ผักปราบ และเถาตอเชือก เปนตน และประเภทกก เชน แหวหมู และกกดอกตุม เปนตน กอนปลูกไถดินและกําจัดดวยวิธีกลเชนเดียวกับวัชพืชฤดูเดียว หรือพนดวยสารไกลโฟเสท 48% เอสแอล อัตรา 600-800 มิลลิลิตรตอไร เม่ือมีวัชพืชขึ้นหนาแนน หรือพนกอนการเตรียมดิน หรือกอนปลูกสับปะรด 10-15 วัน หรือสารโบรมาซิล 80% ดับลิวพี + สารอามีทรีน 80% ดับลิวพี อัตราสวน 1:1 อัตรา 400-600 กรัมตอไร หลังปลูกตั้งแตวัชพืชงอกจนถึงออกดอกเม่ือดินมีความช้ืน

7.2.5 การจัดการเพ่ือใหออกดอก เริ่มบังคับดอกเม่ือตนสับปะรดมีน้ําหนักตนปลูกไมนอยกวา 2.5 กิโลกรัม หรือน้ําหนักตนตอไมนอยกวา 2.0 กิโลกรัม โดยใชสารเอทธิฟอน 48% เอสแอล อัตรา 7 มิลลิลิตร ผสมกับปุยเคมีสูตร 46-0-0 อัตรา 300 กรัมตอน้ํา 20 ลิตร ตนละ 60-75 มิลลิลิตร หรือใชถานแกส (แคลเซียมคารไบด) อัตรา 1-2 กรัมตอตนในขณะมีน้ําขังอยูในยอด

เอกสารที่เกี่ยวของ 1. แบบบันทึก แหลงท่ีมาและคุณภาพของวัสดุปลูก 2. แบบบันทึก การใชปุยในการผลิตสับปะรดโรงงาน 3. แบบบันทึก การใหน้ําในการผลิตสับปะรดโรงาน 4. แบบบันทึก การปองกันกําจัดศัตรูสับปะรดโรงงาน 5. แบบบันทึก การบังคับดอกและการใชสารเคมีบังคับดอก

7.3 การจัดการเพ่ือใหไดผลิตผลสับปะรดโรงงานปลอดภัยจากสารพิษตกคาง 7.3.1 มี ชนิด อัตรา และเวลาตามรายละเอียดในวิธีการแกปญหาในแผนควบคุมการผลิตสับปะรดโรงงาน

Page 38: ระบบการจัดการคุณภาพ GAP พืช ...oard1.doa.go.th/GAP/pdf/สับปะรด... · 2013-06-03 · no. ขั้นตอนการผลิต

45

7.3.2 ตองใชสารเคมีท่ีถูกตองตามกฎหมาย มีเลขทะเบียนวัตถุอันตราย และมีคําแนะนําบนฉลากใหใชกับพืชนั้น ๆ 7.3.3 ตองไมใชสารเคมีท่ีระบุในทะเบียนวัตถุอันตรายท่ีหามใช (รายช่ือวัตถุอันตรายท่ีหามใชทางการเกษตร (ไมไดขึ้นทะเบียนตามพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ.2535)) และท่ีระบุในรายการสารเคมีท่ีประเทศคูคาหามใช ตองหยุดใชสารเคมีกอนการเก็บเกี่ยวตามเวลาท่ีระบุในวิธีการแกปญหาในแผนควบคุมการผลิตสับปะรดโรงงาน

เอกสารที่เกี่ยวของ 1. แบบบันทึก การปองกันกําจัดศัตรูสับปะรดโรงงาน 2. แบบบันทึก การบังคับดอกและการใชสารเคมีบังคับดอก 3. เอกสารสนับสนุน รายช่ือวัตถุอันตรายที่หามใชทางการเกษตร (ไมไดขึ้นทะเบียน วัตถุอันตรายตามพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535)

7.4 การจัดการเพ่ือใหไดผลิตผลสับปะรดโรงงานที่ปลอดจากศัตรูพืช 7.4.1 สํารวจการเขาทําลายของศัตรูสับปะรดโรงงานตลอดชวงการเจริญเติบโตและการพัฒนาการ 7.4.1.1 สํารวจการเขาทําลายของเพล้ียแปง โรครากเนาหรือตนเนา และโรคผลแกน ทุก 5-7 วัน ตลอดชวงการเจริญเติบโตและการพัฒนาการของตนและผล จนถึง 2 สัปดาหกอนเก็บเกี่ยว เพ่ือประเมินจํานวน และ/หรือ ความเสียหายระดับเศรษฐกิจ ดังนี ้ เพล้ียแปง ความเสียหายระดับเศรษฐกิจ มากกวาหรือเทากับ 10 ตัวตอตน โรครากเนาหรือ ความเสียหายระดับเศรษฐกิจ พบอาการโรคตนเนา และโรค ผลแกน

7.4.2 ปองกันกําจัดศัตรูสับปะรดโรงงาน เม่ือสํารวจพบความเสียหายระดับเศรษฐกิจ ตัดสินใจเลือกใชวิธีการปองกันกําจัดใหไดผล 7.4.2.1 เพล้ียแปง รูปรางเปนรูปไขคอนขางกลม ลําตัวยาวประมาณ 2.3-3.0 มิลลิลิตร ผนังลําตัวปกคลุมดวยไขแปงสีขาว ตัวออนและตัวเต็มวัยดูดกินน้ําเล้ียงจากราก ตน ใบ และผลสับปะรด เม่ือพบการระบาดตองปองกันกําจัดมดซ่ึงเปนพาหะในการแพรกระจายเพล้ียแปงไปตามสวนตาง ๆ ของสับปะรดดวยวิธีทางเขตกรรม หรือใชเหยื่อพิษไฮดราเมทิลนอน 0.73% จี อัตรา 275 กรัมตอไร โรยหรือหวานในแปลงปลูกสับปะรดกอนปลูกและหลังปลูก 6 เดือน

Page 39: ระบบการจัดการคุณภาพ GAP พืช ...oard1.doa.go.th/GAP/pdf/สับปะรด... · 2013-06-03 · no. ขั้นตอนการผลิต

46

7.4.2.2 โรคเห่ียว จะมีอาการเริ่มท่ีใบ คือ ใบจะออนนิ่ม มีสีเขียวออน หรือเหลืองออน ปลายใบแหง เปนสีน้ําตาลจนถึงสีแดงลามสูโคนใบ ใบลูลง แผแบนไมตั้ง ในแปลงท่ีมีพาหะของโรคเห่ียว (เพล้ียแปง) ควรจุมหนอพันธุดวยสารไธอะมีโทแซม 25% ดับลิวจี อัตรา 4 กรัมตอน้ํา 20 ลิตร หรือ อิมิดาโคลพริด 70% ดับลิวจี อัตรา 4 กรัมตอน้ํา 20 ลิตร 7.4.2.3 โรครากเนาหรือตนเนา สวนยอดของสับปะรดจะเปล่ียนเปนสีแดง และสีเหลืองซีด ใบยอดลมพับและหลุดงาย ฐานใบมักมีรอยเนาชํ้าสีเหลืองออน ขอบแผลสีน้ําตาลเขมจนถึงดํา เม่ือพบอาการโรคเก็บตนสับปะรดท่ีเปนโรคเผาทําลาย เพ่ือเปนการปองกันกําจัดกอนปลูกควรชุบหรือจุมหนอพันธุดวยสารเมตาแลกซิล 25% ดับลิวพี อัตรา 20-40 กรัม หรือสารฟอสเอทิลอลูมิเนียม 80% ดับลิวพี อัตรา 80-100 กรัม หรือกรดฟอสฟอรัส 40% อัตรา 100 มิลลิลิตรตอน้ํา 20 ลิตร และพนทุก 2 เดือน เฉพาะตนหรือบริเวณท่ีพบอาการโรค หยุดพนสารกอนเก็บเกี่ยว 14 วัน

7.4.2.4 โรคผลแกน เช้ือแบคทีเรียสาเหตุจะเขาทําลายในชวงดอกสับปะรดบาน และตามรอยแตกตามธรรมชาติของผลสับปะรด ทําใหบริเวณตาและเนื้อผลท่ีถูกทําลายเปล่ียนเปนสีน้ําตาลเขมและแข็งกระดาง พบระบาดรุนแรงในชวง 7-10 วันกอนเก็บเกี่ยว การปองกันพนปุยทางใบโปแตสเซียมคลอไรด อัตรา 1 กิโลกรัมตอน้ํา 20 ลิตรหลังการบังคับดอก 90-105 วัน และไมควรปลอยใหตนสับปะรดขาดน้ํา

เอกสารที่เกี่ยวของ 1. แบบบันทึก การใชสารเคมีในการปองกันกําจัดศัตรูสับปะรดโรงงาน 7.5 การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว

7.5.1 อายุการเก็บเกี่ยว เก็บเกี่ยวเม่ือมีความสุกแกไมนอยกวารอยละ 25% (สับปะรดสุกปาดเหลือง)

7.5.2 วิธีการเก็บเกี่ยว 7.5.2.1 เก็บเกี่ยวดวยความระมัดระวัง โดยใชมือสะอาดหักผลจากตนโดยไมตองเหลือกานและหักจุกออก เม่ือผลมีอายุไมนอยกวา 5 เดือนหลังวันบังคับดอก และสีเปลือกผลเปล่ียนจากสีเขียวเปน สีเหลือง กลีบเล้ียงเปนเปนสีน้ําตาลอมแดงหรือสีสม ตาของผลยอยแบนราบ รองตาบนผลยอยตึงเต็มท่ี มีกล่ินหอมเล็กนอย มีรอยเห่ียวตามแนวยาวกานผล ใบเล็กท่ีรองดอกยอยเห่ียวแหง ตาบริเวณดานลางของผลเริ่มเปด 2-3 แถว เม่ือปาดผลตามความยาวผลพบเนื้อสีเหลืองไมนอยกวารอยละ 25 และไมเกินรอยละ 75 ของท้ังผล เนื้อไมเปนโพรงสีขาว ไมมีกล่ินโอหรือกล่ินบูดหรือกล่ินเหม็นเปรี้ยว 7.5.2.2 การขนยาย รวบรวมผลสับปะรดท่ีเก็บเกี่ยวแลวใสตะกราพลาสติก เพ่ือปองกันมิใหผลกระแทกชํ้า จากนั้นขนยายไปยังโรงเรือนภายในแปลง หรือในท่ีรม

Page 40: ระบบการจัดการคุณภาพ GAP พืช ...oard1.doa.go.th/GAP/pdf/สับปะรด... · 2013-06-03 · no. ขั้นตอนการผลิต

47

7.5.3 การปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว

7.5.3.1 การคัดแยกผลิตผลที่มีศัตรูพืช ผลผลิตสับปะรดตองไมเสียหาย หรือเสียหายนอยมากจากการเขาทําลายของศัตรูสับปะรดไมเกิน 5%

7.5.3.2 การคัดขนาด ทําการคัดขนาดผลตามระดับช้ันขนาด โดยมีการคละปนของผลิตผลตางช้ันขนาดไมเกิน 10%

เอกสารที่เกี่ยวของ 1. แบบบันทึก การเก็บเกี่ยวและการคัดบรรจุสับปะรดโรงงาน