การสร้างแรงจูงใจและการโน้มน้าว...

18
การสร้างแรงจูงใจและการโน้มน้าว (Influence and Motivation ) โดย นายแพทย์เกรียงไกร ประเสริฐ นาย ธี ระพล เห มะธุ ลิ นทร์

Upload: others

Post on 02-Sep-2019

5 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

การสร้างแรงจูงใจและการโน้มน้าว (Influence and Motivation)

โดย

นายแพทย์เกรียงไกร ประเสริฐ

นายธีระพล เหมะธลุินทร์

แรงจูงใจและการโน้มน้าว (Influence and Motivation)

ปัจจัยหรือสิ่งต่างๆที่เป็นแรงผลักดัน กระตุ้นพฤติกรรมในตัวบุคคลแสดงออกซึ่งความต้องการ หรือโน้มน้าวโดยสิ่งจูงใจเพื่อให้บุคลากรในองค์การให้ความร่วมมือ ความเต็มใจในการปฏิบัติงาน ซึ่งจะส่งผลต่อประสิทธิภาพและประสิทธิผลให้องค์การประสบความส าเร็จต่อไป

ความส าคัญของแรงจูงใจและการโน้มน้าว

พลัง (Energy) เป็นแรงขับเคลื่อนที่ส าคัญต่อการกระท า หรือ พฤติกรรมของมนุษย์

ความพยายาม (Persistence) ท าให้บุคคลมีความมานะ อดทน บากบั่น คิดหาวิธีการน า ความรู้ความสามารถ และ ประสบการณ์ของตน มาใช้ให้เป็นประโยชน์ต่องานให้มากที่สุด

การเปลี่ยนแปลง (Variability) รูปแบบการท างานหรือวิธีท างานในบางครั้ง ก่อให้เกิดการค้นพบช่องทางด าเนินงาน ที่ดีกว่า หรือประสบ ผลส าเร็จมากกว่า

บุคคลที่มีแรงจูงใจในการท างาน จะเป็นบุคคลที่มุ่งมั่นท างานให้เกิดความเจริญก้าวหน้า และการมุ่งมั่นท างานที่ตนรับผิดชอบ ให้เจริญก้าวหน้า จัดว่าบุคคลผู้นั้นมี จรรยาบรรณในการท างาน (Work ethics)

ทฤษฎีแรงจูงใจ (Theories of motivation)

แนวคิดทฤษฎีของ อับราฮัม มาสโลว์1. มีความต้องการทางด้านร่างกาย

2. มีความต้องการความปลอดภัย

3. มีความต้องการทางสังคม

4. การอยากได้รับการยกยอ่งนับถือในการท างาน

5. มีความต้องการที่จะประสบความส าเร็จในชีวิตการท างาน

ทฤษฎีแรงจูงใจ (Theories of motivation)

ทฤษฎขีองเดวิด แมคเคลแลนด์การที่จะมีแรงจูงใจในการท างานนั้น เราจะต้องมีแรงผลักดันอยู่ 3 อย่าง

1. ความรักใครกลมเกลียวกันในองค์กร

2. มีความก้าวหน้าในการท างาน

3. อ านาจในการควบคุมดูแลองค์กรให้เกิดความมั่นคง

ทฤษฎีแรงจูงใจ (Theories of motivation)

แนวคิดของเฟรด เดอริก เฮอร์ซเบร์กหลักแนวคิดที่จะสร้างแรงจูงใจในการท างานให้แก่พนักงานในองค์กร

- ปัจจัยที่เก่ียวข้องกับตัวบุคคล เป็นแรงจูงใจที่มาจากภายในตัวของเราเอง

- ปัจจัยภายนอกท่ีเกี่ยวข้องกับสถานการณ์ในที่ท างาน ซึ่งได้แก่ ความส าเร็จในการท างาน สภาพแวดล้อมในการท างานจะต้องมีความน่าอยู่

ทฤษฎีแรงจูงใจ (Theories of motivation)

แนวคิดของเฟรด เดอริก เฮอร์ซเบร์กหลักแนวคิดที่จะสร้างแรงจูงใจในการท างานให้แก่พนักงานในองค์กร

- ปัจจัยที่เก่ียวข้องกับตัวบุคคล เป็นแรงจูงใจที่มาจากภายในตัวของเราเอง

- ปัจจัยภายนอกท่ีเกี่ยวข้องกับสถานการณ์ในที่ท างาน ซึ่งได้แก่ ความส าเร็จในการท างาน สภาพแวดล้อมในการท างานจะต้องมีความน่าอยู่

ทฤษฎีแรงจูงใจ (Theories of motivation)

แนวคิดทฤษฎีของเดล คาร์เนกี

การจูงใจผู้อื่นอยู่ที่การเอาชนะใจคนอื่นแล้วท าให้เกิดความไวว้างใจ ต้องมีความเห็นอกเห็นใจผู้อื่นก่อน เราจะต้องแสดงความรู้สึกแบบนี้ออกไปเพื่อให้คนอื่นได้รับรู้ ถึงการท างานภายในองค์กรให้มีความเจริญก้าวหน้าและพนักงานก็จะเกิดความมั่นใจในการท างาน

ทฤษฎีแรงจูงใจ (Theories of motivation)

ทฤษฎีของแดเนียล โกลแมน

การรู้จักและเข้าใจตนเองควบคุมตนเอง คือจะมีความสามารถควบคุมอารมณ์ และความคิดให้ถี่ถ้วน มีความคิดที่รอบคอบ มีแรงจูงใจ คือรักงานที่ท ามากกว่าเรื่องของเงินทองและสถานะ มีความเห็นอกเห็นใจผู้อื่น และมีทักษะในการเข้าสังคม มีความสามารถสร้างความสัมพันธ์กับคนอื่นได้ ผู้น าที่มีประสิทธิภาพต่างก็มีแรงผลักดันอยากที่จะประสบความส าเร็จให้เกินกว่าที่ตัวเองและทุกๆคน คาดหวังเอาไว้ การเป็นผู้น า จะมีความฉลาดทางอารมณ์มากอยากจะท างานต่างๆให้ส าเร็จ คือจะต้องพาคนอื่นไปพร้อมๆกับเขาด้วย และท าให้ลูกน้องมีความสนใจ และเกิดแรงจูงใจในการท างานให้ประสบความส าเร็จด้วย

ทฤษฎีแรงจูงใจ (Theories of motivation)

ทฤษฎีของวิคเตอร์ วรูม

แรงจูงใจเป็นผลลัพธ์ของปัจจัย 3 ประการ ได้แก่ ความคาดหวัง การมีส่วนร่วมต่อผลงาน และความส าคัญของสิ่งตอบแทน

ทฤษฎีความคาดหวังของ วิคเตอร์ วรูม นั้นเป็นรากฐานส าคัญของการจ่ายค่าตอบแทนและจ่ายเงินโบนัส ซึ่งหลักการมีอยู่ว่าเมื่อท างานเต็มที่แล้วคุณจะได้รับสิ่งตอบแทนนั้น

ทฤษฎีแรงจูงใจ (Theories of motivation)

ทฤษฎีแรงจูงใจของ Frederick Herzberg ปัจจัยจูงใจ (Motivation Factor)

ความส าเร็จในการท างานของบุคคล (Achievement) การได้รับการยอมรับนับถือ (Recognition) ลักษณะของงานที่ปฏิบัติ (Work itself) ความรับผิดชอบ (Responsibility) และความก้าวหน้า (Advancement)

ปัจจัยค้ าจุน (Maintenance Factor)

เงินเดือน (Salary) โอกาสที่จะได้รับความก้าวหน้าในอนาคต (Possibility of Growth) ความสัมพันธ์กับผู้บังคับบัญชา ผู้ใต้บังคับบัญชา เพื่อนร่วมงาน (Interpersonal Relation Superior, subordinate, Peers) สถานะของอาชีพ (Status) นโยบายและการบริหารงาน (Policy and Administration) สภาพการท างาน (Work Conditions) ความเป็นอยู่ส่วนตัว (Personal Life) ความมั่นคงในการท างาน (Job Security) วิธีการปกครองของผู้บังคับบัญชา (Supervision)

วิธีการ/แนวทางการสร้างแรงจูงใจและโน้มนา้วใจ

การมีผู้น าที่เป็นแบบอย่างที่ดี เพื่อสร้างแรงจูงใจในการท างานภายในองค์กร

การสร้างความกระตือรือร้นในการท างาน

การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพในการท างานในองค์กร

การสร้างความท้าทายในการท างานภายในองค์กร

การให้การสนับสนุนในองค์กร

การสอนงานในองค์กร

การให้การยอมรับบุคคลในองค์กร

การเสียสละของคนในองค์กร

การสร้างแรงบันดาลใจในองค์กร

การประยุกต์ใช้แรงจูงใจและการโน้มน้าวใจส าหรับผู้บริหารในองค์กร

การจูงใจและโน้มน้าวใจ คือ การใช้ความพยายามที่จะเปลี่ยนความเชื่อ ทัศนคติ ค่านิยม และการกระท าของบุคคลอื่นด้วยกลวิธีที่เหมาะสม ให้มีผลกระทบใจบุคคลนั้นจนเกิดการยอมรับ และยอม เปลี่ยนตามที่ผู้โน้มน้าวใจต้องการ

ความน่าเชื่อถือของบุคคลผู้โน้มน้าวใจ ต้องประกอบด้วย คุณลักษณะที่ส าคัญ คือ มีความรู้จริง มีคุณธรรม มีความปรารถนาดีต่อผู้อ่ืน โดยผู้น าต้องแสดงให้ประจักษ์ตามกระบวนการของเหตุผล ผู้โน้มน้าวจะต้องแสดงให้ประจักษ์ว่าเรื่องที่ตนก าลังโน้มน้าวมีเหตุผลหนักแน่น และมีค่าควรแก่การยอมรับอย่างแท้จริง

ผู้บริหารระดับต้น มุ่งเน้นสนใจเกี่ยวกับวิธีการ รักษาแรงจูงใจของพนักงาน เพื่อรักษาระดับการผลิตให้สูง และลดความสูญเปล่าและ การไม่มีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานในแต่ละวันให้หมดส้ินไปใหไ้ด้มากที่สุด

ผู้บริหารระดับสูง เกี่ยวข้องสนใจต่อปัจจัยที่มีผล ต่อการจูงใจในระยะยาว โดยเฉพาะอย่าง ยิ่งส าหรับผู้บริหาร ระดับกลางและสูงขึ้นมา การจูงใจเหล่านี้จะรวมถึงค่านิยม และศีลธรรมจรรยา ขององค์กร ระดับการจ่ายผลตอบแทนทั้งปวง และความเป็นผู้น าของผู้บริหารระดับสูงด้วย

การประยุกต์ใช้แรงจูงใจและการโน้มน้าวใจในงานด้านอาชีวอนามัยและเวชศาสตรส์ิ่งแวดล้อม

ขอบเขตการท างานครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายที่ส าคัญได้แก่

1. ประชากรกลุ่มวัยท างานที่มีการประกอบอาชีพต่างๆในพื้นที่รับผิดชอบ

2. กลุ่มประชากรที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ที่เสี่ยงจากมลพิษจากสิ่งแวดล้อมทุกประเภท เช่น หมอกควัน ฝุ่นละออง สารเคมี น้ าเสีย ขยะมูลฝอย เสียงดัง ความสั่นสะเทือน เหตุร าคาญ และอุบัติภัยจากธรรมชาติ

การประยุกต์ใช้แรงจูงใจและการโน้มน้าวใจในงานด้านอาชีวอนามัยและเวชศาสตรส์ิ่งแวดล้อม

บทบาทและภารกิจที่ส าคัญ การให้บริการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค รักษาพยาบาล และฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ที่มีความเสี่ยง และป่วย

ด้วยโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม ตรวจสุขภาพ และเฝ้าระวังความเสี่ยงด้านสุขภาพในกลุ่มวัยท างานและประชาชนที่มีความเสี่ยงจากมลพิษ

สิ่งแวดล้อม การค้นหา วิเคราะห์และประเมินผลความเสี่ยงด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อมในสถานที่ท างานและชุมชน

เพื่อการควบคุมป้องกันการเกิดโรคและภัยสุขภาพจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมอย่างมีประสิทธิภาพ

การประยุกต์ใช้แรงจูงใจและการโน้มน้าวใจในงานด้านอาชีวอนามัยและเวชศาสตรส์ิ่งแวดล้อม

บทบาทและภารกิจที่ส าคัญ เฝ้าระวัง สอบสวนและป้องกันควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและภัยสุขภาพที่เกิดจากมลพิษ

สิ่งแวดล้อม

การสร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาพและความปลอดภัยในการท างานในกลุ่มบุคลากรวัยท างาน

การเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับภาวะฉุกเฉินด้านพิษวิทยาและภัยสุขภาพในชุมชน

สนับสนุนองค์ความรู้ วิชาการ และอุปกรณ์เครื่องมือตรวจเฝ้าระวัง ในการด าเนินงานด้านอาชีวอนามัยและเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม

การประยุกต์ใช้แรงจูงใจและการโน้มน้าวใจในงานด้านอาชีวอนามัยและเวชศาสตรส์ิ่งแวดล้อม

1. การใช้ภาวะผู้น าขององค์กรเพื่อจูงใจและโน้มน้าวใจ

2. การสร้างรูปแบบการท างานให้เข้าใจง่ายและท้าทายต่อความส าเร็จ

3. การสร้างการมีส่วนร่วมในการเป็นเจ้าของผลงาน

4. การให้ การเสียสละ และการเห็นประโยชน์ส่วนรวมมาเป็นที่หนึ่ง

5. การเป็นผู้น าในการสร้างแรงบันดาลใจ

www.themegal

lery.comCompany Logo