รายงานผล โครงการฝึกอบรมหลักสูตร...

Post on 15-Jan-2020

7 Views

Category:

Documents

0 Downloads

Preview:

Click to see full reader

TRANSCRIPT

0

รายงานผล

โครงการฝึกอบรมหลักสูตร: การเขียนผลงานวิชาการและบทความ

จัดโดย สํานักการศึกษาต่อเนื่อง มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช วันที่ 27-29 กรกฎาคม 2559

โดย

อาจารย์ ดร.พลสราญ สราญรมย์

สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์

โครงการนี้ได้รับการสนับสนนุจากกองทุน มสธ. 12 ปี

ประจําปีงบประมาณ 2558

1

คํานํา

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชมีนโยบายส่งเสริมให้คณาจารย์มีการเสริมเพ่ิมพูนความรู้ และประสบการณ์ เพ่ือน ามาใช้ประโยชน์ในการพัฒนางานด้านการเรียนการสอน โดยจัดสรรงบประมาณผ่านกองทุนทุน มสธ. 12 ป ี

โครงการฝึกอบรมหลักสูตรการเขียนผลงานวิชาการและบทความ ได้จัดขึ้นโดย ส านักการศึกษาต่อเนื่อง มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช วันที ่ วันที่ 27-29 กรกฎาคม 2559 โดยมีวัตถุประสงค์ให้ผู้เข้ารับการอบรมมเีพ่ือให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ ความสามารถในการเขียนผลงานวิชาการและบทความ ฝึกปฏิบัติการเขียนจนสามารถสร้างผลงานวิชาการได้ และได้อภิปรายแลกเปลี่ยนความรู้ในการเขียน นอกจากความรู้ และประสบการณ์ที่ได้จากการเข้าร่วมการอบรมที่จะน าไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนของหลักสูตรทางด้านการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร รายงานผลโครงการ ฝึกอบรมเพ่ือเพ่ิมพูนความรู้และทักษะทางวิชาการท่ีเกี่ยวข้องยังได้จัดท าขึ้นเพ่ือเป็นข้อมูลสารสนเทศแก่ผู้สนใจและผู้ทีเ่กี่ยวข้องสามารถศึกษาเรียนรู้และน าไปใช้ประโยชน์ต่อไป

อาจารย์ ดร.พลสราญ สราญรมย์

2

สารบัญ หน้า ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของโครงการ 3

1. ชื่อโครงการ 3 2. ผู้รับทุน 3 3. ระยะเวลาด าเนินโครงการ 3 4. สถานที่ด าเนินการ 3 5. งบประมาณ 3 6. ความส าคัญของโครงการ 3 7. วัตถุประสงค์ของโครงการ 4 8. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากโครงการ 4 9. วิธีการด าเนินงาน 4

ตอนที่ 2 รายงานผลการศึกษา 5

1. เนื้อหาสาระที่ได้จากการด าเนินโครงการ 5 2. ข้อเสนอแนะ 5

ภาคผนวก

ภาคผนวก ก เอกสารประกอบการฝึกอบรม 6

3

รายงานผล

โครงการการเขียนผลงานวิชาการและบทความ

ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของโครงการ

1. ชื่อโครงการ โครงการการเขียนผลงานวิชาการและบทความ 2. ผู้รับทุน อาจารย์ ดร.พลสราญ สราญรมย์

สาขาวิชาส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์

3. ระยะเวลาดําเนินโครงการ ตั้งแตว่ันที่ 27-29 กรกฎาคม 2559

4. สถานทีด่ําเนินการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 5. งบประมาณ งบประมาณที่ได้รับ จ านวน 3,500 บาท (สามพันห้าร้อยบาท)

6. ความสําคัญของโครงการ แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร สาขาวิชาส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์ ได้เปิดสอนหลักสูตรปริญญาตรี 1 หลักสูตร คือ หลักสูตรเกษตรศาสตรบัณฑิต และหลักสูตรบัณฑิตศึกษา 2 หลักสูตร คือ หลักสูตรเกษตรศาสตรมหาบัณฑิต แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร วิชาเอกส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร และหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร วิชาเอกส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร โดยทั้ง 3 หลักสูตรได้ก าหนดให้มีการเรียนการสอนในชุดวิชาที่เก่ียวข้องกับการถ่ายทอดความรู้ให้แก่เกษตรกร โดยฝึกฝนให้นักศึกษามีทักษะในการถ่ายทอดความรู้จากการเขียน เพ่ือน าองค์ความรู้ที่ได้ถอดมาจากเกษตรกร แหล่งวิชาการ และแหล่งอ่ืนๆ มาเขียนเป็นบทความเพ่ือการเผยแพร่ความรู้ จึงมีความจ าเป็นที่คณาจารย์จะต้องมีองค์ความรู้เรื่องการเขียนผลงานวิชาการและบทความ เพ่ือน าความรู้ไปจัดการเรียนการสอนให้แก่นักศึกษา นอกจากนั้น คณาจารย์แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ยังต้องเป็นผู้มีความรู้และทักษะการเขียน เนื่องจากในการพิจารณาความดีความชอบหรือการปรับต าแหน่งจะต้องพิจารณาจากผลงานทางวิชาการเป็นหลัก นอกจากนั้น ผลงานวิชาการท่ีคณาจารย์เขียนขึ้นจะเป็นประโยชน์

4

แก่ผู้อ่านทั่วไป ซึ่งสามารถน าไปพัฒนาความรู้ ความสามารถให้ทันแก่ยุคแห่งการเรียนรู้ด้วยการเขียนผลงานวิชาการประเภทต่างๆ ซึ่งจ าเป็นต้องอาศัยหลักทฤษฏีในการเขียนร่วมกับการฝึกปฏิบัติให้เกิดความช านาญ ดังนั้น การสนับสนุนให้คณาจารย์ได้มีโอกาสไปพัฒนาความรู้และทักษะที่ทันสมัยที่เก่ียวข้องกับการเขียนผลงานวิชาการและบทความจะเป็นประโยชน์ต่อการจัดการเรียนการสอนระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก ของสาขาวิชาส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์ ตลอดจนมหาวิทยาลัยเป็นอย่างมาก เพราะจะสามารถน าความรู้ที่ได้รับมาพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอน และการเขียนผลงานงานวิชาการและบทความของคณาจารย์ 7. วัตถุประสงค์ของโครงการ

7.1 เพ่ือได้ศึกษาฝึกอบรมเพ่ิมพูนความรู้และทักษะในการเขียนผลงานงานวิชาการและบทความ 7.2 เพ่ือแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์วิชาการที่เกี่ยวข้องกับการเขียนผลงานงานวิชาการและ

บทความกับหน่วยงานต่างๆ ที่เข้าร่วมการอบรม 7.3 เพ่ือสานสัมพันธ์และสร้างความร่วมมือกับผู้จัดและผู้เข้ารับการอบรมจากหน่วยงานต่างๆ เพ่ือ

สร้างความร่วมมือทางวิชาการในโอกาสต่อไป

8. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ เมื่อเสร็จสิ้นโครงการแล้วจะน าความรู้และประสบการณ์ท่ีได้รับไปใช้ประโยชน์ในกิจกรรมดังนี้

8.1 ความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับนี้มีประโยชน์ต่อมหาวิทยาลัย ดังนี้ 1) บุคลากรในมหาวิทยาลัยสามารถเขียนผลงานทางวิชาการ และบทความที่ดี เพ่ือน าผลงานไป

เผยแพร่ภายนอก สร้างชื่อเสียงให้กับมหาวิทยาลัยได้ 8.2 ผู้ขอรับทุนจะนําประโยชน์ที่ได้รับมาใช้ในการพัฒนางานที่รับผิดชอบในเชิงรูปธรรม ดังนี้

1) สามารถน าความรู้ ทักษะในการเขียนผลงานทางวิชาการและบทความ มาถ่ายทอดให้กับเพ่ือนร่วมงาน โดยจัดวาระการประชุมเพ่ือแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายในสาขาวิชา หรือเผยแพร่ความรู้ที่ได้ในเว๊บไซด์ของสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์

9. วิธีดําเนินการ

ผู้รับผิดชอบโครงการจะประสานกับหน่วยงานต่างๆ ที่จัดหลักสูตรฝึกอบรมในหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับการการเขียนผลงานทางวิชาการและบทความ เพ่ือเข้าร่วมฝึกอบรมจากส านักการศึกษาต่อเนื่อง มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ในโครงการฝึกอบรม หลักสูตร “การเขียนผลงานทางวิชาการและบทความ” จัดโดย ส านักการศึกษาต่อเนื่อง มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ระหว่างวันที่ 27-29 กรกฎาคม 2559

5

ตอนที่ 2 รายงานผลการดําเนินงาน

1. เนื้อหาสาระที่ได้จากการดําเนินโครงการ เนื้อหาสาระจากการเข้าฝึกอบรมหลักสูตรการเขียนผลงานทางวิชาการและบทความประกอบไปด้วย

เนื้อหา 9 ตอนได้แก ่1. หลักการทั่วไปเกี่ยวกับการเขียนงานวิชาการ 2. การใช้ภาษาในงานวิชาการ 3. การเขียนบทความ 4. การเขียนโครงร่างการวิจัย 5. การเขียนบทความวิจัย

6. การจดัท าบทสรุปส าหรับผู้บริหาร 7. การเขียนต ารา 8. การเขียนเอกสารประกอบการสอน 9. การเขียนคู่มือ

2. ประโยชน์ที่ได้รับตามที่ระบุไว้ในโครงการ 1) บุคลากรในมหาวิทยาลัยสามารถเขียนผลงานทางวิชาการและบทความที่ดี เพ่ือน าผลงานไป

เผยแพร่ภายนอก สร้างชื่อเสียงให้กับมหาวิทยาลัยได้ 2) สามารถน าความรู้ ทักษะในการเขียนผลงานทางวิชาการและบทความ มาถ่ายทอดให้กับเพ่ือน

ร่วมงาน โดยจัดวาระการประชุมเพ่ือแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายในสาขาวิชา หรือเผยแพร่ความรู้ที่ได้ในเว๊บไซด์ของสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์

3. ข้อเสนอแนะ 3.1 มหาวิทยาลัยควรให้การสนับสนุนคณาจารย์ได้มีโอกาสฝึกอบรมเพ่ือเพ่ิมพูนความรู้และทักษะ

ทางวิชาการท่ีเกี่ยวข้องกับการเขียนผลงานทางวิชาการและบทความอย่างต่อเนื่อง

6

ภาคผนวก ก

top related