aseandev.pdf

270
รายงานการวิจัย เรื่อง การวิจัยเปรียบเทียบการปฏิรูปการศึกษาของประเทศในกลุมอาเซียน สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

Upload: tony-san-tosompark

Post on 03-Jan-2016

51 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

รายงานการวิจัย

เร่ือง

การวิจัยเปรียบเทียบการปฏิรูปการศึกษาของประเทศในกลุมอาเซียน

สํานักงานเลขาธิการสภาการศกึษา กระทรวงศึกษาธกิาร

379.5.1 สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ส 691 ก การวิจัยเปรียบเทียบการปฏิรูปการศึกษาของประเทศในกลุมอาเซียน กรุงเทพฯ : 2549.

273 หนา ISBN 974-559-832-1 1. การวิจัยเปรียบเทียบ 2. การปฏิรูปการศึกษาของประเทศในกลุมอาเซียน

การวิจัยเปรียบเทียบการปฏิรูปการศึกษาของประเทศในกลุมอาเซียน

สิ่งพิมพ สกศ. อันดับที่ 15/2549

พิมพคร้ังท่ี 1 กุมภาพันธ 2549

จํานวน 1,000 เลม

จัดพิมพเผยแพร สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ถนนสุโขทัย เขตดุสิต กรุงเทพฯ 10300 โทรศัพท 0-2668-7123 ตอ 2526, 2527, 2529 โทรสาร 0-2668-7329 Website : http://www.onec.go.th E-mail : [email protected]

พิมพท่ี

คํานํา ความเจริญกาวหนาอยางรวดเร็วในดานตาง ๆ ของโลกยุคปจจุบัน ทําใหทุกประเทศตองเผชิญกับภาวะความทาทายตอการเรงรัดพัฒนาประเทศใหสอดคลองกับทิศทางความกาวหนาของโลก และประเทศเพื่อนบานที่อยูในภูมิภาคเดียวกัน ประเทศตาง ๆ ตระหนักดีวา การศึกษาคือรากฐานสําคัญในการพัฒนาประเทศ จึงทําการปฏิรูปการศึกษาและพยายามสรางความรวมมือระหวางประเทศใหมากขึ้น

ประเทศไทยเปนหนึ่งในสมาชิกของประเทศกลุมอาเซียนหรือสมาคมประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต ซึ่งประกอบดวย ประเทศไทย บรูไนดารุสซาลาม สหพันธรัฐมาเลเซีย สาธารณรัฐฟลิปปนส สาธารณรัฐสิงคโปร สาธารณรัฐอินโดนีเซีย กัมพูชา สหภาพพมา สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม รวมจํานวน 10 ประเทศ ทุกประเทศมีความกาวหนาในการปฏิรูปการศึกษาเพิ่มข้ึนเปนลําดับเพื่อเรงพัฒนาประเทศใหทันตอ ความเจริญกาวหนาของโลก โดยที่รัฐบาลในสมัย พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร เปนนายกรัฐมนตรี มีนโยบายที่จะพัฒนาประเทศไทยใหเปนศูนยกลางการศึกษาของประเทศเพื่อนบาน ดังนั้น สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ในฐานะหนวยงานดานการกําหนดนโยบายและวางแผนการศึกษาของชาติ จึงไดจัดทําโครงการวิจัยเปรียบเทียบการปฏิรูปการศึกษาของประเทศในกลุมอาเซียน เพื่อศึกษาความกาวหนาในการปฏิรูปการศึกษาของประเทศในกลุมอาเซียนและสํารวจแนวทางความรวมมือระหวางประเทศดานการศึกษา เพื่อจัดทําขอเสนอเชิงนโยบายใหประเทศไทยมีแนวทางการสรางยุทธศาสตรความรวมมือระหวางประเทศดานการศึกษาและพัฒนา ความเขมแข็งทางการศึกษาของประเทศในกลุมอาเซียน จากรายงานการวิจัย พบวา ประเทศอาเซียนทุกประเทศใหความสําคัญกับการพัฒนาการศึกษา โดยเฉพาะเพื่อใหประเทศมีพัฒนาการทางเศรษฐกิจที่กาวหนามากขึ้น โดยใหความสําคัญกับบทบาทของการศึกษาในการขจัดความยากจนและการกาวพนจากความดอยพัฒนาทางเศรษฐกิจและมุงหวังใหการศึกษาเปนเครื่องมือในการยกระดับศักยภาพการแขงขันของประเทศในระดับสากล โดยมีแนวโนมท่ีสําคัญ 2 ประการ คือ การขยายการศึกษาใหท่ัวถึงและการยกระดับคุณภาพของการศึกษา ท้ังนี้ รายงานการวิจัยไดช้ีใหเห็นถึงจุดเดนและจุดรวมท่ีสําคัญของการปฏิรูปการศึกษาของประเทศในกลุมอาเซียนและแนวทางความ รวมมือระหวางประเทศเพื่อพัฒนาความเขมแข็งทางการศึกษาของประเทศในกลุมอาเซียน สํานักงาน ฯ ขอขอบคุณ ดร.พัชราวลัย วงศบุญสิน และคณะวิจัยของสถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ท่ีไดใชความพยายามคนควาศึกษาวิจัยใหไดรายงานการวิจัยและขอเสนอเชิงนโยบายตามสาระที่คาดหวังไว และหวังวาเอกสารรายงานฉบับนี้ จะเปนประโยชนตอการพัฒนานโยบายการศึกษาของประเทศ ตลอดจนเปนประโยชนตอหนวยงานทางการศึกษา หนวยงานที่เกี่ยวของและผูสนใจตอไป (นายอํารุง จันทวานิช)

เลขาธิการสภาการศึกษา

คําชี้แจง

รายงานการวิจัย เร่ือง การวิจัยเปรียบเทียบการปฏิรูปการศึกษาของประเทศในกลุมอาเซียน ฉบับนี้ เปนการรายงานผลการวิจัยเกี่ยวกับความกาวหนาของการปฏิรูปการศึกษาของประเทศในกลุมอาเซียน 10 ประเทศ ประกอบดวย บรูไนดารุสซาลาม กัมพูชา อินโดนีเซีย มาเลเซีย พมา ฟลิปปนส สิงคโปร ส.ป.ป. ลาว ไทย และเวียดนาม ซ่ึงดําเนินมาในชวง 27 มิถุนายน – 26 สิงหาคม 2548 นํา เสนอตอศูนยพัฒนาการศึกษาระหว างประเทศ สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

ทั้งนี้ โดยการศึกษาเปรียบเทียบใหเห็นถึงแนวทางและแผนพัฒนาการศึกษาของประเทศสมาชิกอาเซียนทั้ง 10 ประเทศ ยุทธศาสตรการปฏิรูปการศึกษาสูศตวรรษที่ 21 จุดรวมที่เปนจุดเดนของการปฏิรูปการศึกษา ทิศทางความรวมมือระหวางประเทศดานการศึกษา ตลอดจนขอเสนอแนะเชิงนโยบายของไทยในการสงเสริมความรวมมืออาเซียนดานการศึกษาเพื่อพัฒนาความเขมแข็งทางการศึกษาของประเทศในกลุม

รายงานฉบับนี้แบงออกเปน 2 สวน โดยสวนแรกประกอบดวย บทที่ 1 บทนํา ซ่ึงเนนถึงความเปนมา หลักการ และเหตุผล ประสงคของการวิจัย วิธีการวิจัย ผลผลิต และผลลัพธที่คาดวาจะไดรับ บทที่ 2 เปนการนําเสนอการศึกษาเปรียบเทียบแนวทางและแผนพัฒนาการศึกษาของประเทศสมาชิก โดยแบงออกเปน 2 กลุม คือ กลุมประเทศสมาชิกดั้งเดิม และกลุมประเทศสมาชิกใหม บทที่ 3 เปนการนําเสนอการเปรียบเทียบยุทธศาสตรการปฏิรูปการศึกษาของประเทศในกลุมอาเซียน โดยแบงออกเปน 2 กลุมดังกลาว ตามดวยการวิเคราะหยุทธศาสตรรวม และจุดเดนรวมของการปฏิรูปการศึกษา ตลอดจนความกาวหนา/ตัวช้ีวัดความสําเร็จ บทที่ 4 นําเสนอผลการวิจัยเกี่ยวกับทิศทางความรวมมือระหวางประเทศดานการศึกษาของประเทศสมาชิกอาเซียน ทิศทางความรวมมืออาเซียนดานการศึกษา และขอเสนอแนะตอบทบาทของไทยในการสงเสริมความรวมมืออาเซียนดานการศกึษาเพื่อพัฒนาความเขมแข็งทางการศึกษาของประเทศในกลุมอาเซียนตอไป สวนที่ 2 ไดแก ภาคผนวก 1 ซ่ึงประกอบดวยแนวทางการปฏิรูปการศึกษา รายประเทศสมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ และภาคผนวก 2 ซ่ึงเปนแบบสอบถามเกี่ยวกับความรวมมือดานการศึกษาของประเทศสมาชกอาเซียน และบรรณานุกรม

ดร. พัชราวลัย วงศบุญสิน และคณะ สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

กันยายน 2548

สารบัญ

หนา บทสรุปผูบริหาร ก - ง สวนท่ี 1 บทท่ี 1 บทนํา 1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา 1 วัตถุประสงคของการวิจัย 3 ระเบียบวิธีวิจัย 3 ผลผลิตของการศึกษาวิจัย 3 ผลลัพธที่คาดวาจะไดรับ 11 บทท่ี 2 แนวทางและแผนพัฒนาการศึกษาของประเทศ 12

ในกลุมอาเซียน แนวทางและแผนพัฒนาการศึกษาของกลุมประเทศ 12 สมาชิกดั้งเดิมของอาเซียน - ไทย 12 - บรูไน ดารุสซาลาม 16 - สหพันธรัฐมาเลเซีย 17 - สาธารณรัฐฟลิปปนส 19 - สาธารณรัฐสิงคโปร 21 - สาธารณรัฐอินโดนีเซีย 22 แนวทางและแผนพัฒนาการศึกษาของกลุมประเทศ 23 สมาชิกใหมของอาเซียน - กัมพูชา 23 - สหภาพพมา 24 - สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 27 - สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม 31 การเปรียบเทียบจุดเดนรวมในดานแนวทาง 33 และแผนการพัฒนาการศึกษา

สารบัญ (ตอ) หนา

บทท่ี 3 ยุทธศาสตรการปฏิรูปการศึกษาของประเทศในกลุมอาเซียน 34 ยุทธศาสตรการปฏิรูปการศึกษาของกลุมประเทศ 34 สมาชิกดั้งเดิมของอาเซียน - ไทย 34 - บรูไน ดารุสซาลาม 44 - สหพันธรัฐมาเลเซีย 47 - สาธารณรัฐฟลิปปนส 54 - สาธารณรัฐสิงคโปร 56 - สาธารณรัฐอินโดนีเซีย 65

กลุมประเทศสมาชิกใหมของอาเซียน 68 - กัมพูชา 68

- สหภาพพมา 76 - สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 78 - สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม 82 การเปรียบเทียบยุทธศาสตรการผลิตและการพัฒนาครู 94 การเปรียบเทียบยุทธศาสตรดานกลไกและแนวทางดําเนินการ 96 จุดเดนรวมดานการปฏิรูปการศึกษา 102 ความกาวหนา/ดัชนีวัดความสําเร็จ 110 บทท่ี 4 ความรวมมือระหวางประเทศดานการศึกษา : 121 นัยตอบทบาทของไทยในความรวมมืออาเซียนดานการศึกษา ความรวมมือระหวางประเทศดานการศึกษา 121 ความรวมมืออาเซียนดานการศึกษา 124 ขอเสนอแนะ: บทบาทไทยในความรวมมืออาเซียนดานการศึกษา 130 สวนท่ี 2 ภาคผนวก 1 : ขอมูลรายประเทศ ไทย 134 บรูไน 144

สารบัญ (ตอ)

หนา สวนท่ี 2 ภาคผนวก 1 : ขอมูลรายประเทศ

มาเลเซีย 155 ฟลิปปนส 169 สิงคโปร 178 อินโดนีเซีย 193 กัมพูชา 205 สหภาพพมา 223 ส.ป.ป. ลาว 232 สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม 242 ภาคผนวก 2 : แบบสอบถาม แบบสอบถามความรวมมือระหวางประเทศดานการศึกษา 254 บรรณานุกรม

บทสรุปผูบรหิาร โครงการวิจัยเปรียบเทียบการปฏิรูปการศึกษาของประเทศในกลุมอาเซียนนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาความกาวหนาของการปฏิรูปการศึกษาของประเทศในกลุมอาเซียน เพื่อสํารวจแนวทางการสรางความรวมมือระหวางประเทศดานการศึกษาเพื่อพัฒนาความเข็มแข็งทางการศึกษาของประเทศในกลุมอาเซียน และเพื่อจัดทําขอเสนอเชิงนโยบายใหประเทศไทยมีแนวทางการสรางยุทธศาสตรความรวมมือระหวางประเทศดานการศึกษา และพัฒนาความเขมแข็งทางการศึกษาของประเทศในกลุมอาเซียน โครงการวิจัยนี้ เนนการวิจัยเอกสารประกอบดวยเอกสารงานวิจัย บทความ หนังสือ ตํารา บันทึก จากสื่อส่ิงพิมพ ส่ืออิเล็กทรอนิกส ประกอบกับการสัมภาษณ สอบถามผูทรงคุณวุฒิที่เกี่ยวของซึ่งรวมถึงสถานทูต จากนั้นเปนการวิเคราะห สังเคราะหขอมูลเพื่อจัดทําขอเสนอแนวทางของไทยในการสรางเสริมยุทธศาสตรความรวมมืออาเซียนดานการศึกษา จากการที่คณะวิจัยไดใชเวลาในการดําเนินการศึกษาเปนเวลา 3 เดือนไดขอสรุปเปนผลการศึกษาดังนี้

ประเทศอาเซียนทุกประเทศใหความสําคัญกับการพัฒนาการศึกษาของประเทศ โดยเฉพาะอยางยิ่งในการที่จะทําใหการศึกษานั้นมีสวนสําคัญในการทําใหประเทศมีพัฒนาการทางเศรฐกิจที่กาวหนามากขึ้น หลายประเทศทั้งที่เปนสมาชิกดั้งเดิมและสมาชิกใหมยังคงใหความสําคัญกับบทบาทของการศึกษาในการขจัดความยากจนและการกาวพนจากความดอยพัฒนาทางเศรษฐกิจ ในขณะเดียวกันไดมุงหวังใหการศึกษาเปนเครื่องมือในการยกระดับศักยภาพการแขงขันของประเทศในระดับสากล โดยมีบางประเทศสมาชิกใหมของอาเซียนปรารถนาใหตนมีศักยภาพทัดเทียมกับประเทศอ่ืน ๆ ภายในอาเซียนดวยกันเอง

ทั้งนี้ ทุกประเทศอาเซียนมีฐานการปรับปรุงและพัฒนาการศึกษาของประเทศตั้งแตระดับกฎหมายสูงสุดของประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ โดยมีการจัดทํากฎหมายวาดวยการศึกษา สอดคลองรองรับ ซ่ึงประเทศสวนใหญมีการจัดทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนาการศึกษาแหงชาติ ถึงแมวาจะมีเพียงไมกี่ประเทศที่ใหแผนดังกลาวอยูในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติก็ตาม โดยแผนดังกลาวมีความสําคัญในลักษณะของแผนยุทธศาสตรช้ีนําในการจัดทําและดําเนินการแผนตางๆ อยางตอเนื่องสอดคลองกันทั้งประเทศ ซ่ึงอาจแบงออกไดเปน แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน แผนพัฒนาการอาชีวศึกษา แผนพัฒนาการอุดมศึกษา ตลอดจนแผนปฏิบัติการในระดับเขตพื้นที่การศึกษาและในระดับสถานศึกษา ในการพัฒนาสังคมใหเปนสังคมแหงความรู นําพาไปสูระบบเศรษฐกิจฐานความรู ใหประชาชนพลเมืองในแตละประเทศไดรับโอกาสเทาเทียมกันในการเรียนรู และมีปญญาเปนทุนไวสรางงานสรางรายได พาประเทศสูเปาหมายที่วางไว กระนั้นก็ตาม หลายประเทศอาเซียนยังคงหางไกลจากขั้นตอนในการกาวถึงแผนเฉพาะแยกยอยขางตน

การเปรียบเทียบยุทธศาสตรในการปฏิรูปการศึกษาระดับตาง ๆ พบวา ในการศึกษาระดับปฐมวัยและขั้นพื้นฐาน เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศอื่น ๆ ในอาเซียน ยกเวน สิงคโปร แลว การศึกษาปฐมวัยและการศึกษาขั้นพื้นฐานของไทยมีความกาวหนาในการดําเนินการปฏิรูปในระดับหนึ่ง

สําหรับการสงเสริมความยืดหยุนและความหลากหลายในกระบวนการเรียนรู เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศสมาชิกอื่นของอาเซียน การปฏิรูปแนวทางการจัดการศึกษาของสิงคโปรคอนขางกาวไกลในดานการเปดชองทางหลายสวนในการสงเสริมความยืดหยุนและความหลากหลายในกระบวนการเรียนรู ถึงแมวามีบางสวนที่เปนแนวทางรวมกับประเทศอาเซียนอื่น ๆ รวมทั้งไทยดวย

การปฏิรูปการอุดมศึกษาในอาเซียนมีแนวโนมที่สอดรับกันดังนี้ คือ 1) การกระจายโอกาสทางการศึกษา 2) การเนนคุณภาพทางการศึกษา ทั้งในแงของการยกระดับคุณภาพการเรียนการสอนสูระดับสากล การพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัย และการขยายการศึกษาเฉพาะทางใหสอดคลองกับความตองการของตลาดในระบบเศรษฐกิจฐานความรูที่มีความหลากหลาย ความยืดหยุนในการปรับตัวของทรัพยากรมนุษย และ 3) การเปดเสรีทางการศึกษา ตลอดจนการเพิ่มมูลคาทางการศึกษาในการนํารายไดเขาประเทศและการสงวนเงินตราในการเรียนตอตางประเทศ การพัฒนาครูเพื่อใหตอบสนองกับการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน เปนสิ่งที่ทุกประเทศอาเซียนอยูระหวางการดําเนินการและปรับปรุงใหเหมาะสมยิ่งขึ้นดวยสาระความครอบคลุมที่แตกตางกันไป โดยสวนที่เดนชัด ไดแก ไทย มาเลเซีย สปป. ลาว กัมพูชา ในการเปรียบเทียบยุทธศาสตรดานกลไกและแนวทางดําเนินการนั้น การบริหารจัดการทางการศึกษาของประเทศสมาชิกอาเซียนแบงออกได 2 แนวทาง คือ 1) การรวมศูนยอํานาจอยูที่สวนกลาง และ 2) การกระจายอํานาจ

ทั้งนี้ อาจพิจารณาไดวา การกระจายอํานาจจากสวนกลางเปนกระแสหลักของอาเซียนในปจจุบัน ถึงแมวามีบางประเทศที่เคยมีการเปลี่ยนแปลงสลับกันไปเนือง ๆ ระหวางการบริหารจัดการจากสวนกลางและการกระจายอํานาจจากสวนกลาง แตในปจจุบันเปนการเนนที่การกระจายอํานาจ

ในสวนของจุดเดนรวมดานการปฏิรูปการศึกษานั้น ประเทศสมาชิกอาเซียนทุกประเทศใหความสําคัญแกการศึกษาในฐานะสวนหนึ่งของแนวทางการในการพัฒนาประเทศใหเจริญกาวหนา โดยแนวทางปฏิรูปการศึกษาของประเทศอาเซียนในปจจุบันมีจุดเดนในแงของการมีวิสัยทัศนและปรัชญา อุดมคติทางการศึกษาทั้งในลักษณะที่สอดคลองไปในทํานองเดียวกันและในลักษณะที่สอดคลองกับแนวโนมการแขงขันในระดับสากลในศตวรรษที่ 21 ดวยสังคมเศรษฐกิจฐานความรู

แนวทางการปฏิรูปการศึกษาในอาเซียนนั้น มีแนวโนมของการดําเนินแนวทาง 2 ประการ คือ การขยายการศึกษาใหทั่วถึง และการยกระดับคุณภาพของการศึกษา ดวยน้ําหนักและสมดุลที่แตกตางกันไป ซ่ึงการยกระดับคุณภาพของการศึกษานั้น จุดรวมของประเทศสมาชิกอาเซียนแบงออกได 5 ประการ

1) การมุงสูสังคมฐานความรู 2) เปาหมายการยกระดับคุณภาพทางการศึกษาสูระดับสากล 3) การตอบสนองตอการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคมทั้งในระดับประเทศและระดับ

ทองถ่ิน 4) การศึกษาเปนแนวทางไปในการยกระดับศักยภาพและความสามารถในการแขงขันทาง

เศรษฐกิจ 5) การศึกษาเพื่อพัฒนาทุนมนุษยอยางรอบดาน

สําหรับยุทธศาสตรดานแนวทางที่เปนจุดเดนรวม เปนที่นาสังเกตวา ทุกประเทศสมาชิก

อาเซียนมีจุดรวมในแนวทางดําเนินการ 5 ประการตอไปนี้โดยสวนใหญเปนไปในแนวทางที่สอดรับกัน

1) Education for All 2) Community-Based Education 3) e-Education/ ICT 4) การศึกษาเอกชนในการกํากับควบคุมของรัฐ 5) การศึกษานานาชาติ

ทุกประเทศสมาชิกอาเซียนมีพัฒนาการดานดัชนีการพัฒนามนุษยตามแนวทางของ UNDPเพิ่มสูงขึ้นอยางมากเปนที่คาดการณไดวา ดัชนกีารพัฒนามนุษยหลังจากป 2545 นาจะสูงเพิ่มขึ้นในทุกประเทศอาเซียนเมื่อพิจารณาพัฒนาการของดัชนีดานการศึกษาตอไปนี้ คือ การขยายโอกาสทางการศึกษา อัตราการรูหนังสือของผูใหญ อัตราการรูหนังสือของเยาวชนเพศชายและหญิง สัดสวนการเขาเรียนมวลรวมของนักเรียนในระดับประถมศึกษาของเพศชายและหญิง สัดสวนการเขาเรียนมวลรวมในระดับมัธยมศึกษาของเพศชายและหญิง จํานวนผูเขาเรียนในระดับอุดมศึกษา ความรวมมือระหวางประเทศในดานการศึกษาเปนไปในทิศทางที่สอดคลองกับแนวทางการปฏิรูปการศึกษาของประเทศสมาชิกอาเซียน ซ่ึงประกอบดวยการปรับปรุงในเชิงปริมาณ โดยเฉพาะอยางยิ่งการขยายโอกาสทางการศึกษา การยกระดับคุณภาพทางการศึกษา การนําโครงสรางพื้นฐานสิ่งอํานวยความสะดวกและเทคโนโลยีการสื่อสารเขามารองรับการขยายโอกาสและการยกระดับคุณภาพทางการศึกษา ตลอดจนการบริหารจัดการทางการศึกษาในเชิงคุณภาพ และการจัดทําแผนทางการศึกษา

ขอเสนอแนะตอบทบาทของไทยในความรวมมืออาเซียนดานการศึกษา แบงออกไดเปน 2 ประการคือ

1) แนวทางในการดําเนินการ ประเทศไทยควรผลักดันในการยกระดับความรวมมือดานการศึกษาระหวางประเทศสมาชิกอาเซียนใหสอดรับกับวิสัยทัศนอาเซียนและแผนปฏิบัติการตาง ๆ ที่รองรับ โดยเฉพาะอยางยิ่งแผนปฏิบัติการเวียงจันทน ในการสงเสริม “ใหประชาชนทุกคนไดรับการศึกษาดวยมาตรฐานสูง” โดยอาศัยความรวมมือในลักษณะเครือขาย ตลอดจนรวมมือในลักษณะหุนสวน (Partnership) กับองคกรอื่น ๆ ดานการศึกษาในระดับภูมิภาค เชน SEAMEO และในระดับสากล เชน UNESCO เพื่อใหเกิดเปนความพยายามที่สอดรับกันในการจัดการศึกษาใหแกประชาชนในภมูิภาค 2) สาระในการดําเนินการดานความรวมมือทางการศึกษาของอาเซียนสูการเปนประชาคมฐานความรูและประชาคมผูนําในการสรางองคความรูบนฐานของการวิจัยและพัฒนาที่เหมาะสมกับอัตลักษณของประเทศสมาชิกอาเซียน โดยลักษณะของการเสริมตอและยกระดับการพัฒนาทางการศึกษาใหชัดเจนสอดรับกับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจสังคมในศตวรรษที่ 21 มากขึ้นดวยการขยายโอกาสและยกระดับคุณภาพทางการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาใหเปนปจจัยสําคัญและเปนฐานสงตอนักเรียนสูระดับอุดมศึกษาเพิ่มมากขึ้น การยกระดับคุณภาพของมหาวิทยาลัยทั้งที่เนนดานการเรียนการสอนและการยกระดับคุณภาพของมหาวิทยาลัยสูการเปนมหาวิทยาลัยวิจัย ความรวมมือในเชิงนโยบาย การวางแผน การวิจัยและพัฒนา การจัดทําและยกระดบัมาตรฐานการศึกษาในระดบัตาง ๆ ระหวางหนวยงานที่เกี่ยวของในกระทรวงศึกษาธิการ การสงเสริมการพัฒนาสถานศึกษาใยแกว ทั้งในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานและระดับอุดมศึกษา

ความจําเปนเรงดวนที่มีความสําคัญลําดับตนและนาจะจัดใหอยูในแผนระยะสั้นและระยะกลางของภูมิภาค คือ

1) ความรวมมือในการเรงยกระดับการอาชีวศึกษา และการศึกษานอกระบบที่มีชุมชนเปนฐานทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพดวยน้ําหนักที่ทัดเทียมกับความพยายามดาน Education for All สําหรับการศึกษาขั้นพื้นฐานในระบบโรงเรียนและการอุดมศึกษา ดวยความตระหนักในดานมาตรฐานภูมิภาคที่ทัดเทียมกับระดับสากล เพื่อเปนฐานในการสงตอความรวมมือไปยังการจัดทํา Mutual Recognition Arrangement ซ่ึงเปนความทาทายที่ไมอาจหลีกเลี่ยงไดในระดับภูมิภาค ระดับสากลภายใตองคกรการคาโลก และการจัดทําเขตการคาเสรีทวิภาคีกับประเทศตาง ๆ ทั้งที่พัฒนาแลวและที่กําลังพัฒนา

2) การขยายโอกาสดานแกนสมองในระดับทองถ่ินและระดับชาติดวยรอยตอที่เหมาะสมระหวางการศึกษาในระบบกับนอกระบบ

สวนที่ 1

บทที่ 1 บทนํา

ความเปนมาและความสําคัญของปญหา

อาเซียน หรือ สมาคมประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต เปนองคกรความรวมมือระดับภูมิภาค ซ่ึงกอตั้งมาตั้งแตป 2510 ในปจจุบัน อาเซียนไดมีการขยายจํานวนประเทศสมาชิกจากเดิมเพียง 6 ประเทศ เปน 10 ประเทศ อันประกอบดวย ประเทศไทย บรูไนดารุสซาลาม สหพันธรัฐมาเลเซีย สาธารณรัฐฟลิปปนส สาธารณรัฐสิงคโปร และสาธารณรัฐอินโดนีเซีย ในฐานะประเทศสมาชิกเดิม และกัมพูชา สหภาพพมา สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ในฐานะประเทศสมาชิกใหมของอาเซียน ประเทศสมาชิกอาเซียนนั้น มีความคลายคลึงกันเชิงภูมิรัฐศาสตรซ่ึงอาจจําแนกออกไดคราวๆ เปนประเทศหมูเกาะ กับประเทศบนผืนแผนดินใหญของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต โดยที่ประเทศสมาชิกอาเซียนทุกประเทศมีความหลากหลายดานสังคมวัฒนธรรมภายในแตละประเทศเอง ซ่ึงเปนปจจัยสวนหนึ่งในการผลักดันใหประเทศสมาชิกอาเซียนมีความเจริญกาวหนาทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะอยางยิ่งประเทศที่มีขนาดใหญอยางสาธารณรัฐอินโดนีเซีย สหภาพพมา ปจจัยดังกลาวสงผลในเชิงลบตอการยกระดับศักยภาพทางเศรษฐกิจมากยิ่งขึ้นเมื่อพิจารณาถึงขนาดของประชากร

ทั้งนี้ การเปรียบเทียบขอมูลของ United Nations (2002) ช้ีใหเห็นวาสามารถเรียงลําดับจากประเทศที่มีจํานวนประชากรมากที่สุดไปยังประเทศที่มีจํานวนประชากรนอยที่สุดในป 2543 ไดดังนี้ คือ อินโดนีเซีย (211.6 ลานคน) เวียดนาม (78.1 ลานคน) ฟลิปปนส (75.1 ลานคน) ไทย (60.9 ลานคน) พมา (47.5 ลานคน) มาเลเซีย ( 23.0 ลานคน) กัมพูชา (13.1 ลานคน) ลาว (5.3 ลานคน) สิงคโปร (4.0 ลานคน) และ บรูไนดารุสซาลาม (0.3 ลาน คน) งานศึกษาของพัชราวลัย (2547) แสดงใหเห็นวา แนวโนมดังกลาวยังคงดําเนินตอไปถึงป 2558 และ 2568 ดวยชองวางที่ขยายตัวมากขึ้นตามอัตราการขยายตัวทางประชากรในอาเซียนนั้นแตกตางกันอยางมากระหวางประเทศสมาชิกทั้ง 10 ประเทศ ตั้งแตการขยายตัวสูงสุดในระดับรอยละ 40 ในกรณีของประเทศกัมพูชาไปจนถึงการขยายตัวต่ําสุดที่รอยละ 14.2 ในกรณีของไทย ในทางเศรษฐกิจนั้น การเปรียบเทียบประเทศสมาชิกอาเซียนในเชิงระดับพัฒนาการทางเศรษฐกิจ จากมุมมองดานรายไดจากขอมูลของ World Bank (2003) สะทอนใหเห็นวา ระดับพัฒนาการทางเศรษฐกิจในอาเซียนนั้นอาจแบงออกไดเปน 3 ระดับคือ 1) ประเทศที่มีรายไดต่ํา ไดแก ประเทศกัมพูชา ลาว พมา และเวียดนาม 2) ประเทศที่มีรายไดปานกลาง ไดแก ฟลิปปนส มาเลเซีย อินโดนีเซีย และไทย และ3) ประเทศที่มีรายไดสูง ไดแก สิงคโปร นอกจากนี้ งานศึกษาของพัชราวลัย (2547) แสดงใหเห็นวาประเทศสมาชิกอาเซียนมีศักยภาพทางเศรษฐกิจในระดับที่แตกตางกันมาก โดยประเทศที่มีศักยภาพสูงไดแกสิงคโปร มาเลเซีย ไทย และเวียดนาม ซ่ึงถึงแมวาจะมีตลาดเศรษฐกิจที่

ไมใหญนัก แตลวนมีความไดเปรียบโดยเปรียบเทียบในดานตําแหนงที่ตั้งทางภูมิศาสตร คุณภาพของทรัพยากรมนุษย ตลอดจนวิสัยทัศนและแผนพัฒนาประเทศที่แนวแนมุงมั่น คุณภาพของทรัพยากรมนุษยไดทวีบทบาทมากขึ้นตอการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศใหเจริญกาวหนา เปนปกแผน และแขงขันไดในระดับสากล โดยเฉพาะอยางยิ่งในยุคปจจุบันซ่ึงมีความเคลื่อนไหวเกิดขึ้นอยางรวดเร็วและตอเนื่องในหลากหลายดาน รวมทั้งการพัฒนาความเจริญกาวหนาทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการ ส่ือสารและสารสนเทศ (ICT-Information and Communication Technology) ที่สงผลใหโลกเขาสูยุคโลกาภิวัตนอันเปนยุคของสังคมฐานความรู (Knowledge-based Society) ประเทศตาง ๆ ในโลกจึงเห็นความสําคัญของการปฏิรูปการศึกษาและไดทําการปฏิรูป การศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพของพลเมืองในประเทศเพื่อนําไปสูการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ของประเทศตอไป ประเทศที่พัฒนาแลว อาทิ สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา แคนาดา ญ่ีปุน และออสเตรเลียซ่ึงทําการปฏิรูปการศึกษามาเปนเวลานานจึงกลายเปนประเทศมหาอํานาจทางดานเศรษฐกิจและดานอื่น ๆ ของโลก ประเทศกําลังพัฒนาหลายประเทศในโลกก็ไดเร่ิมทําการปฏิรูปการศึกษาเพื่อยกระดับคุณภาพและศักยภาพของพลเมืองในประเทศเฉกเชนประเทศที่พัฒนาแลว หลายประเทศไดใชยุทธศาสตรการสรางเครือขายและความรวมมือระหวางประเทศ ทั้งในระดับทวิภาคี ไตรภาคี อนุภูมิภาค ภูมิภาค และระดับโลกเพื่อหาแนวรวมในการพัฒนาความเขมแข็งของประเทศของตนหรือประเทศในกลุมเดียวกัน

ประเทศไทยเปนหนึ่งในกลุมประเทศในภูมิภาคอาเซียน ซ่ึงไดรวมกอตั้งสมาคมอาเซียนหรือสมาคมประชาชาติแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต(Association of Southeast Asian Nations–ASEAN) โดยปฏิญญากรุงเทพฯ (Bangkok Declaration) เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510 มีวัตถุประสงคสําคัญประการหนึ่ง คือ เพื่อใหความชวยเหลือซ่ึงกันและกันในรูปของการฝกอบรมและการวิจัยและสงเสริมการศึกษา ทั้งนี้ รัฐบาลไทยภายใตการนําของ พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร ไดใหความสําคัญกับการปฏิรูปการศึกษา ไดกําหนดนโยบายใหประเทศไทยเปนศูนยกลางทางการศึกษาของประเทศเพื่อนบาน นโยบายดังกลาวจะเกิดขึ้นและประสบความสําเร็จไดนั้น จําเปนอยางยิ่งที่ไทยจะตองทําการศึกษาและติดตามความเคลื่อนไหวของการปฏิรูปการศึกษาในกลุมประเทศอาเซียนในเชิงเปรียบเทียบความกาวหนาในการปฏิรูปการศึกษา และความรวมมือระหวางประเทศ และหาแนวทางบทบาทของไทยในการเสริมสรางความเขมแข็งทางการศึกษาของอาเซียนตอไป

วัตถุประสงคของการวิจัย 1) เพื่อศึกษาความกาวหนาของการปฏิรูปการศึกษาของประเทศในกลุมอาเซียน 2) เพื่อสํารวจแนวทางการสรางความรวมมือระหวางประเทศดานการศึกษาเพื่อพัฒนาความ

เขมแข็งทางการศึกษาของประเทศในกลุมอาเซียน

3) เพื่อจัดทําขอเสนอเชิงนโยบายใหประเทศไทยมีแนวทางการสรางยุทธศาสตรความรวมมือระหวางประเทศดานการศึกษา และพัฒนาความเขมแข็งทางการศึกษาของประเทศในกลุมอาเซียน

ระเบียบวิธีวิจัย

คําถามในการวิจัย 1) ประเทศในกลุมอาเซียนมีความกาวหนาในการปฏิรูปการศึกษาอยางไร 2) ประเทศในกลุมอาเซียนมีความตองการพัฒนาความรวมมือระหวางประเทศในดานการศึกษา

อยางไร 3) ประเทศในกลุมอาเซียนมีจุดเดนหรือจุดรวมในดานใดบางที่สามารถนําไปสูการพัฒนาความ

เขมแข็งทางการศึกษา

วิธีดําเนินการ โครงการวิจัยนี้ เนนการวิจัยเอกสารประกอบดวยเอกสารงานวิจัย บทความ หนังสือ ตํารา

บันทึก จากสื่อส่ิงพิมพ ส่ืออิเล็กทรอนิกส ประกอบกับการสัมภาษณ สอบถามผูทรงคุณวุฒิที่เกี่ยวของซึ่งรวมถึงสถานทูต จากนั้นเปนการวิเคราะห สังเคราะหขอมูลเพื่อจัดทําขอเสนอแนวทางของไทยในการสรางเสริมยุทธศาสตรความรวมมืออาเซียนดานการศึกษา ผลผลิตของการศึกษาวิจัย ผลผลิตของการศึกษาวิจัยในสวนนี้ คือ รายงานผลการวิจัยซ่ึงชี้ใหเห็นถึงประเด็นตางๆ ดังนี้

1) แนวทางความกาวหนาในการปฏิรูปการศึกษาของประเทศตาง ๆ ในอาเซียน โดยจําแนกออกเปน 2 สวนคือ 1.1) แนวทางและแผนการพัฒนาการศึกษาของประเทศในกลุมอาเซียน 1.2) ยุทธศาสตรการปฏิรูปการศึกษาของของประเทศในกลุมอาเซียน 1.3) จุดเดนรวมในการปฏิรูปการศึกษา 1.4) ความกาวหนาหรือตัวช้ีวัดดานความสําเร็จในการปฏิรูปการศึกษา

2) แนวทางการสรางความรวมมือระหวางประเทศดานการศึกษาเพื่อพัฒนาความเขมแข็งทางการศึกษาของประเทศในกลุมอาเซียน

3) ขอเสนอแนะเกี่ยวกับบทบาทของไทยในการสงเสริมความรวมมือดานการศึกษาและพัฒนาความเขมแข็งทางการศึกษาของประเทศในกลุมอาเซียน

จากการที่คณะวิจัยไดใชเวลาในการดําเนินการศึกษาเปนเวลา 3 เดือนจึงไดขอสรุปเปนผลการศึกษาซึ่งมีจํานวนทั้งสิ้น 4 บท สรุปการศึกษาที่สําคัญแตละบทไดดังนี้

บทท่ี 2 แนวทางและแผนพัฒนาการศึกษาในกลุมประเทศอาเซียน ประเทศอาเซียนทุกประเทศใหความสําคัญกับการพัฒนาการศึกษาของประเทศ โดยเฉพาะ

อยางยิ่งในการที่จะทําใหการศึกษานั้นมีสวนสําคัญในการทําใหประเทศมีพัฒนาการทางเศรฐกิจที่กาวหนามากขึ้น หลายประเทศทั้งที่เปนสมาชิกดั้งเดิมและสมาชิกใหมยังคงใหความสําคัญกับบทบาทของการศึกษาในการขจัดความยากจนและการกาวพนจากความดอยพัฒนาทางเศรษฐกิจ ในขณะเดียวกันไดมุงหวังใหการศึกษาเปนเครื่องมือในการยกระดับศักยภาพการแขงขันของประเทศในระดับสากล โดยมีบางประเทศสมาชิกใหมของอาเซียนปรารถนาใหตนมีศักยภาพทัดเทียมกับประเทศอ่ืน ๆ ภายในอาเซียนดวยกันเอง

ทั้งนี้ ทุกประเทศอาเซียนมีฐานการปรับปรุงและพัฒนาการศึกษาของประเทศตั้งแตระดับกฎหมายสูงสุดของประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ โดยมีการจัดทํากฎหมายวาดวยการศึกษา สอดคลองรองรับ ซ่ึงประเทศสวนใหญมีการจัดทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนาการศึกษาแหงชาติ ถึงแมวาจะมีเพียงไมกี่ประเทศที่ใหแผนดังกลาวอยูในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติก็ตาม โดยแผนดังกลาวมีความสําคัญในลักษณะของแผนยุทธศาสตรช้ีนําในการจัดทําและดําเนินการแผนตาง ๆ อยางตอเนื่องสอดคลองกันทั้งประเทศ ซ่ึงอาจแบงออกไดเปน แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน แผนพัฒนาการอาชีวศึกษา แผนพัฒนาการอุดมศึกษา ตลอดจนแผนปฏิบัติการในระดับเขตพื้นที่การศึกษาและในระดับสถานศึกษา ในการพัฒนาสังคมใหเปนสังคมแหงความรู นําพาไปสูระบบเศรษฐกิจฐานความรู ใหประชาชนพลเมืองในแตละประเทศไดรับโอกาสเทาเทียมกันในการเรียนรู และมีปญญาเปนทุนไวสรางงานสรางรายได พาประเทศสูเปาหมายที่วางไว กระนั้นก็ตาม หลายประเทศอาเซียนยังคงหางไกลจากขั้นตอนในการกาวถึงแผนเฉพาะแยกยอยขางตน

บทท่ี 3 ยุทธศาสตรการปฏิรูปการศึกษาของประเทศในกลุมอาเซียน การเปรียบเทียบยุทธศาสตรในการปฏิรูปการศึกษาระดับตาง ๆ พบวา ในการศึกษาระดับ

ปฐมวัยและขั้นพื้นฐาน เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศอื่น ๆ ในอาเซียน ยกเวน สิงคโปร แลว การศึกษาปฐมวัยและการศึกษาขั้นพื้นฐานของไทยมีความกาวหนาในการดําเนินการปฏิรูปในระดับหนึ่ง ดวยการประกาศใชหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ. 2546 และคูมือการใชหลักสูตรและมาตรฐานการเลี้ยงดูเด็กอายุต่ํากวา 3 ป เพื่อใหสถานศึกษา สถานเลี้ยงดูเด็ก และศูนยเด็กเล็กใชเปนแนวทางจัดประสบการณใหเปนแนวทางเดียวกัน ตามแนวนโยบายในการพัฒนาทุกคนตั้งแตแรกเกิดจนตลอดชีวิตใหมีโอกาสเขาถึงการเรียนรู ซ่ึงแผนการศึกษาแหงชาติ (พ.ศ. 2545-2549) มีเปาหมายใหเด็กปฐมวัยอายุ 0-5 ปทุกคนไดรับการพัฒนาและเตรียมความพรอมทุกดานกอนเขาสูระบบการศึกษา อีกทั้งมีการประกาศใช “หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544 เปนหลักสูตรแกนกลางนํารอง โดยเริ่มใชในทุกโรงเรียนตั้งแตปการศึกษา 2546 โดยสถานศึกษาสามารถจัดทําสาระการเรียนรูของตนเอง

นอกจากนี้ยังมีการเตรียมการดานหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานสําหรับผูพิการทุกประเภท ทั้งในลักษณะของหลักสูตรลดระยะเวลาเรียนและหลักสูตรเพิ่มพูนประสบการณ การจัดทําแผนแมบทระยะสั้นและระยะยาวสําหรับปรับปรุงการเรียนการสอนผูมีความสามารถพิเศษ โดยในระยะส้ันนั้น เนนลักษณะการเรียนรวมทั้งระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาเปนแนวทางนํารอง พรอมกับการจัดทําเอกสารคูมือและสื่อเพื่อการพัฒนาบุคลากรที่เกี่ยวของกับการเรียนการสอนผูมีความสามารถพิเศษ

ในขณะเดียวกัน ไดมีการปรับปรุงการดําเนินการใหสามารถเทียบโอนผลการเรียนรูระหวางกันระหวางสถานศึกษาในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานได โดยกระทรวงศึกษาธิการไดออกประกาศกระทรวงเกี่ยวกับการประเมินเทียบระดับและการเทียบโอนผลการเรียน ตลอดจนการสงเสริมการศึกษาเฉพาะทาง โดยในสวนแรกนั้นสงผลใหสถานศึกษาตาง ๆ ในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีการปรับตัวใหสอดรับการแนวทางในการเทียบระดับและโอนผลการเรียนจากการศึกษา โดยเฉพาะอยางยิ่งการศึกษาในระบบ สวนการจัดการศึกษาเฉพาะทางนั้น มีการประกาศใชกฎกระทรวงวาดวยการจัดการศึกษาเฉพาะทาง พ.ศ. 2547

สําหรับการสงเสริมความยืดหยุนและความหลากหลายในกระบวนการเรียนรู เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศสมาชิกอื่นของอาเซียน การปฏิรูปแนวทางการจัดการศึกษาของสิงคโปรคอนขางกาวไกลในดานการเปดชองทางหลายสวนในการสงเสริมความยืดหยุนและความหลากหลายในกระบวนการเรียนรู ถึงแมวามีบางสวนที่เปนแนวทางรวมกับประเทศอาเซียนอื่น ๆ รวมทั้งไทยดวย

สําหรับระดับการอาชีวศึกษานั้น ประเทศสมาชิกอาเซียนทุกประเทศมีการเนนหลักการสนองความตองการของตลาด (Demand-side approach) ประกอบกับหลักการมีสวนรวมอยางแข็งขันในลักษณะหุนสวนของภาคเอกชน ตลอดจนการประสานงานในการจัดการทางนโยบายและการดําเนินโครงการตาง ๆ ในการปฏิรูปอาชีวศึกษา กระนั้นก็ตาม อาจกลาวไดวา ประเทศสมาชิกดั้งเดิมของอาเซียนสวนใหญใหความสําคัญกับการพัฒนาและปฏิรูปการอาชีวศึกษามากกวาประเทศสมาชิกใหมของอาเซียน การปฏิรูปการอุดมศึกษาในอาเซียนมีแนวโนมที่สอดรับกันดังนี้ คือ 1) การกระจายโอกาสทางการศึกษา 2) การเนนคุณภาพทางการศึกษา ทั้งในแงของการยกระดับคุณภาพการเรียนการสอนสูระดับสากล การพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัย และการขยายการศึกษาเฉพาะทางใหสอดคลองกับความตองการของตลาดในระบบเศรษฐกิจฐานความรูที่มีความหลากหลาย ความยืดหยุนในการปรับตัวของทรัพยากรมนุษย และ 3) การเปดเสรีทางการศึกษา ตลอดจนการเพิ่มมูลคาทางการศึกษาในการนํารายไดเขาประเทศและการสงวนเงินตราในการเรียนตอตางประเทศ ในการเปรียบเทียบยุทธศาสตรการผลิตและการพัฒนาครูนั้น การพัฒนาครูเพื่อใหตอบสนองกับการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน เปนสิ่งที่ทุกประเทศอาเซียนอยูระหวางการดําเนินการและ

ปรับปรุงใหเหมาะสมยิ่งขึ้นดวยสาระความครอบคลุมที่แตกตางกันไป โดยสวนที่เดนชัด ไดแก ไทย มาเลเซีย ส.ป.ป. ลาว กัมพูชา ในการเปรียบเทียบยุทธศาสตรดานกลไกและแนวทางดําเนินการนั้น การบริหารจัดการทางการศึกษาของประเทศสมาชิกอาเซียนแบงออกได 2 แนวทาง คือ 1) การรวมศูนยอํานาจอยูที่สวนกลาง และ 2) การกระจายอํานาจ

ทั้งนี้ อาจพิจารณาไดวา การกระจายอํานาจจากสวนกลางเปนกระแสหลักของอาเซียนในปจจุบัน ถึงแมวามีบางประเทศที่เคยมีการเปลี่ยนแปลงสลับกันไปเนืองๆ ระหวางการบริหารจัดการจากสวนกลางและการกระจายอํานาจจากสวนกลาง แตในปจจุบันเปนการเนนที่การกระจายอํานาจ

ในบรรดาประเทศสมาชิกอาเซียนทั้งหลายนั้น ประเทศไทยนับเปนประเทศที่มีการปฏิรูปกลไกและแนวทางดําเนินการในการบริหารการศึกษาคอนขางมาก ประกอบดวยสวนหลักตอไปนี้ คือ 1) การปรับระบบการบริหารและการจัดการศึกษาในสวนกลาง 2) การกระจายอํานาจการบริหารจัดการศึกษาไปยังสวนทองถิ่น ประกอบดวย การกระจายอํานาจการบริหารจัดการศึกษาไปยังเขตพื้นที่การศึกษา การกระจายอํานาจการบริหารจัดการศึกษาไปยังสถานศึกษา การถายโอนอํานาจในการบริหารจัดการศึกษาจากกระทรวงศึกษาไปยังองคกรปกครองสวนทองถ่ิน กระทรวงมหาดไทย 3) การปรับระบบบริหารจัดการของสถานศึกษาเอกชน โดยใหภาคเอกชนไดรับการสงเสริมและสนับสนุนใหมีสวนรวมในการจัดการศึกษาและบริหารงานอยางเปนอิสระทุกระดับและทุกประเภท

ในสวนของจุดเดนรวมดานการปฏิรูปการศึกษานั้น ประเทศสมาชิกอาเซียนทุกประเทศใหความสําคัญแกการศึกษาในฐานะสวนหนึ่งของแนวทางการในการพัฒนาประเทศใหเจริญกาวหนา โดยแนวทางปฏิรูปการศึกษาของประเทศอาเซียนในปจจุบันมีจุดเดนในแงของการมีวิสัยทัศนและปรัชญา อุดมคติทางการศึกษาทั้งในลักษณะที่สอดคลองไปในทํานองเดียวกันและในลักษณะที่สอดคลองกับแนวโนมการแขงขันในระดับสากลในศตวรรษที่ 21 ดวยสังคมเศรษฐกิจฐานความรู

แนวทางการปฏิรูปการศึกษาในอาเซียนนั้น มีแนวโนมของการดําเนินแนวทาง 2 ประการ คือ การขยายการศึกษาใหทั่วถึง และการยกระดับคุณภาพของการศึกษา ดวยน้ําหนักและสมดุลที่แตกตางกันไป ซ่ึงการยกระดับคุณภาพของการศึกษานั้น จุดรวมของประเทศสมาชิกอาเซียนแบงออกได 5 ประการ

1) การมุงสูสังคมฐานความรู 2) เปาหมายการยกระดับคุณภาพทางการศึกษาสูระดับสากล โดยบางประเทศไดกําหนด

เปนเปาหมายหลักไวอยางชัดเจน เชน สิงคโปร และเวียดนาม ในขณะที่ไมไดระบุชัดเจนเชนนั้น เชน การที่พมามุงที่ความทัดเทียมทางการศึกษากับประเทศอาเซียน เปนตนนั้นก็ตาม ทวาโดยนัยแลวหมายถึงการยกระดับคุณภาพทางการศึกษาสูระดับสากลเชนกันในเมื่อการศึกษาของประเทศอาเซียนหลายประเทศมีเปาหมายอยูที่คุณภาพระดับสากล

3) การตอบสนองตอการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคมทั้งในระดับประเทศและระดับทองถ่ิน

4) การศึกษาเปนแนวทางไปในการยกระดับศักยภาพและความสามารถในการแขงขันทางเศรษฐกิจ

5) การศึกษาเพื่อพัฒนาทุนมนุษยอยางรอบดาน 5.1) การปลูกฝงและสรางเสริมความรูคูคุณธรรม ศีลธรรม จริยธรรม 5.2) การปลูกฝงคุณลักษณะที่เหมาะสมของเยาชนในยุคศตวรรษที่ 21 ควบคูไปกับ

การใหความสําคัญกับอัตลักษณวิถีชีวิตปฏิบัติของคนในชาติ 5.3) การใหความสําคัญกับความหลากหลายขององคความรูและความเชี่ยวชาญเฉพาะ

ทาง สําหรับยุทธศาสตรดานแนวทางที่เปนจุดเดนรวม เปนที่นาสังเกตวา ทุกประเทศสมาชิก

อาเซียนมีจุดรวมในแนวทางดําเนินการ 5 ประการตอไปนี้โดยสวนใหญเปนไปในแนวทางที่สอดรับกัน

1) Education for All 2) Community-Based Education 3) e-Education/ ICT 4) การศึกษาเอกชนในการกํากับควบคุมของรัฐ 5) การศึกษานานาชาติ

ทุกประเทศสมาชิกอาเซียนมีพัฒนาการดานดัชนีการพัฒนามนุษยตามแนวทางของ UNDPเพิ่มสูงขึ้นอยางมากเปนที่คาดการณไดวา ดัชนีการพัฒนามนุษยหลังจากป 2545 นาจะสูงเพิ่มขึ้นในทุกประเทศอาเซียนเมื่อพิจารณาพัฒนาการของดัชนีดานการศึกษาตอไปนี้ คือ การขยายโอกาสทางการศึกษา อัตราการรูหนังสือของผูใหญ อัตราการรูหนังสือของเยาวชนเพศชายและหญิง สัดสวนการเขาเรียนมวลรวมของนักเรียนในระดับประถมศึกษาของเพศชายและหญิง สัดสวนการเขาเรียนมวลรวมในระดับมัธยมศึกษาของเพศชายและหญิง จํานวนผูเขาเรียนในระดับอุดมศึกษา บทท่ี 4 ความรวมมือระหวางประเทศดานการศึกษา: นัยตอบทบาทของไทยในความรวมมืออาเซียนดานการศึกษา ความรวมมือระหวางประเทศในดานการศึกษาเปนไปในทิศทางที่สอดคลองกับแนวทางการปฏิรูปการศึกษาของประเทศสมาชิกอาเซียน ซ่ึงประกอบดวยการปรับปรุงในเชิงปริมาณ โดยเฉพาะอยางยิ่งการขยายโอกาสทางการศึกษา การยกระดับคุณภาพทางการศึกษา การนําโครงสรางพื้นฐานสิ่งอํานวยความสะดวกและเทคโนโลยีการสื่อสารเขามารองรับการขยายโอกาสและการยกระดับคุณภาพ

ทางการศึกษา ตลอดจนการบริหารจัดการทางการศึกษาในเชิงคุณภาพ และการจัดทําแผนทางการศึกษา การยกระดับคุณภาพทางการศึกษาในระดับอุดมศึกษาเปนจุดเนนของประเทศไทย สิงคโปร มาเลเซีย และเวียดนาม ซ่ึ งมีแนวโนมการมุ งพัฒนายกระดับนักศึกษาและบุคลากรของสถาบันอุดมศึกษาสูมาตรฐานสากล ดวยความสามารถเชิงวิชาการเทียบเคียงกับนานาชาติ มีความพยายามในการปรับตัวตอการเปลี่ยนแปลงในโลกไรพรมแดนและกระแสการเปดเสรีทางการศึกษา

ความรวมมือทางวิชาการระหวางสถาบันอุดมศึกษา ในลักษณะขอตกลงที่ทํารวมกันในระดับสถาบันตอสถาบัน มีทั้งในสวนของมหาวิทยาลัยของรัฐและมหาวิทยาลัยของภาคเอกชน ทั้งนี้ สวนใหญเปนความรวมมือกับสถาบันอุดมศึกษาของประเทศที่พัฒนาแลวและมีความกาวหนาทางการศึกษา โดยมีกิจกรรมครอบคลุมตั้งแตการแลกเปลี่ยนขอมูลความรู ขาวสาร และผลงานทางวิชาการ การแลกเปลี่ยนบุคลากรดานการศึกษาวิจัย การแลกเปลี่ยนนักศึกษา การใหทุนการศึกษาและฝกอบรมบุคลากรดานการศึกษาวิจัย การสนับสนุนทางการเงินในกิจกรรมการเรียนการสอนการวิจัย การจัดทําหลักสูตรนานาชาติเพื่อพัฒนาสูความเปนเลิศทางวิชาการในระดับสากล ทั้งในแบบ e-Learning, virtual universities และในแบบธรรมดาที่นิยมกันทั่วไป ตลอดจนการสอนรวมกันผานระบบการเรียนการสอนที่ใชการสื่อสารผานดาวเทียม ทั้งนี้ เห็นไดชัดในกรณีของไทย สิงคโปร และมาเลเซีย โดยความรวมมือนั้นครอบคลุมในหลายสาขาวิชา ทั้งในลักษณะที่สนองตามความตองการของตลาด และการสรางเสริมศักยภาพทางลึกของสาขาวิชา ทั้งในสาขาสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี วิทยาศาสตรสุขภาพ ตลอดจนสหสาขาวิชา ความรวมมืออาเซียนดานการศึกษา เปนสวนหนึ่งของความรวมมือเฉพาะดานของอาเซียน (ASEAN Functional Cooperation) โดยเริ่มดําเนินการมาตั้งแตทศวรรษแรกของการกอตั้งอาเซียน เมื่อ ASEAN Permanent Committee on Socio-Cultural Activities จัดการประชุมดานการศึกษาครั้งแรกในชวงเดือนตุลาคม 2518

ความรวมมือมีพัฒนาการเปนลําดับอยางชา ๆ ทั้งในเชิงกลไกการบริหารจัดการและในเชิงสาระความรวมมือ โดยในเชิงกลไกการบริหารจัดการนั้น มีความพยายามในการผลักดันใหความรวมมือดานการศึกษาของอาเซียนมีลักษณะทางการและมีผลในเชิงนโยบายและในเชิงปฏิบัติมากขึ้นดวยการยกระดับความรวมมือนี้สูระดับรัฐมนตรีอาเซียนดานการศึกษา โดยการประชุมระดับรัฐมนตรีอาเซียนดานการศึกษา หรือที่เรียกวา Meeting of ASEAN Ministers of Education จัดขึ้นเปนครั้งแรกในเดือนธันวาคม 2520 หลังจากที่ประชุมดานการศึกษาครั้งที่ 2 จัดขึ้นไมนานนักภายใต ASEAN Permanent Committee on Socio-Cultural Activities ตอมาเมื่ออาเซียนมีการปรับตัวในเชิงโครงสรางเพื่อใหความรวมมือในดานตาง ๆ ของอาเซียนเขมแข็งขึ้น มีการจัดตั้ง ASEAN Committee on Education (ASCOE) เปนกลไกการบริหารความรวมมืออาเซียนดานการศึกษาตั้งแตป 2532

ในแงสาระความรวมมือนั้น เนนการดําเนินการในลักษณะที่ไมซํ้าซอนกับการดําเนินการขององคกรความรวมมือระหวางประเทศที่มีอยูแลวไดแก UNESCO และSEAMEO เปนตน หากแตใหสอดรับกับความพยายามขององคกรความรวมมือดานการศึกษาที่มีแลวนั้น ๆ และเพื่อหาทางทําใหความรวมมือดานการศึกษาในภูมิภาคแข็งแกรงมากขึ้น เร่ิมจากการเนนความรวมมือดานการศึกษาเพื่อการพัฒนา (Development Education) ดวยความพยายามในการจัดตั้งเครือขายอาเซียนดานการพัฒนาการศึกษาตามมติที่ประชุมดานการศึกษาครั้งแรกภายใต ASEAN Permanent Committee on Socio-Cultural Activities นั้น

เทาที่ผานมานั้น จัดไดวา เครือขายมหาวิทยาลัยอาเซียนเปนเครือขายที่แข็งขันมากที่สุดในการสงเสริมการพัฒนาทรัพยากรมนุษยในอาเซียน ประกอบดวยมหาวิทยาลัยสมาชิก 17 แหงทั่วอาเซียน

ขอเสนอแนะตอบทบาทของไทยในความรวมมืออาเซียนดานการศึกษา แบงออกไดเปน 2 ประการคือ

1) แนวทางในการดําเนินการ ประเทศไทยควรผลักดันในการยกระดับความรวมมือดานการศึกษาระหวางประเทศสมาชิกอาเซียนใหสอดรับกับวิสัยทัศนอาเซียนและแผนปฏิบัติการตาง ๆ ที่รองรับ โดยเฉพาะอยางยิ่งแผนปฏิบัติการเวียงจันทน ในการสงเสริม “ใหประชาชนทุกคนไดรับการศึกษาดวยมาตรฐานสูง” โดยอาศัยความรวมมือในลักษณะเครือขาย ตลอดจนรวมมือในลักษณะหุนสวน (Partnership) กับองคกรอื่น ๆ ดานการศึกษาในระดับภูมิภาค เชน SEAMEO และในระดับสากล เชน UNESCO เพื่อใหเกิดเปนความพยายามที่สอดรับกันในการจัดการศึกษาใหแกประชาชนในภูมิภาค 2) สาระในการดําเนินการดานความรวมมือทางการศึกษาของอาเซียนสูการเปนประชาคมฐานความรูและประชาคมผูนําในการสรางองคความรูบนฐานของการวิจัยและพัฒนาที่เหมาะสมกับอัตลักษณของประเทศสมาชิกอาเซียน โดยลักษณะของการเสริมตอและยกระดับการพัฒนาทางการศึกษาใหชัดเจนสอดรับกับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจสังคมในศตวรรษที่ 21 มากขึ้น ดังนี้

2.1) การพัฒนาทรัพยากรมนุษยในวัยเรียนสู Knowledge Workers ซ่ึงสามารถยกระดับตัวเองสูการเปน Knowledge Entrepreneurs ตลอดจนการเปน Knowledge and Productive Elder Citizens ของภูมิภาคไดตอไป1 ทั้งนี้ ความจําเปนเรงดวนที่มีความสําคัญลําดับตนและนาจะจัดใหอยูในแผนระยะสั้นและระยะกลางของภูมิภาค คือ

2.1.1) ความรวมมือในการเรงยกระดับการอาชีวศึกษา และการศึกษานอกระบบที่มีชุมชนเปนฐานทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพดวยน้ําหนักที่ทัดเทียมกับความพยายามดาน Education for All สําหรับการศึกษาขั้นพื้นฐานในระบบโรงเรียนและการอุดมศึกษา ดวยความตระหนักในดานมาตรฐาน 1 งานศึกษาของ Wongboonsin and Wongboonsin (2005) ชี้ประชากรของภูมิภาคอาเซยีนกําลังกาวเขาสูสังคมผูสูงอายุ เร่ิมจากในประเทศสิงคโปร ไทย และเวียดนาม และชี้ใหเห็นวา Demographic Onus จะสงผลกระทบถึงครอบครัวและภาระดานงบประมาณในการจัดสวัสดิการแกประชากรทั้งในวัยเรียน วัยทํางาน และวัยสูงอาย ุ

ภูมิภาคที่ทัดเทียมกับระดับสากล เพื่อเปนฐานในการสงตอความรวมมือไปยังการจัดทํา Mutual Recognition Arrangement ซ่ึงเปนความทาทายที่ไมอาจหลีกเลี่ยงไดในระดับภูมิภาค ระดับสากลภายใตองคกรการคาโลก และการจัดทําเขตการคาเสรีทวิภาคีกับประเทศตาง ๆ ทั้งที่พัฒนาแลวและที่กําลังพัฒนา

2.1.2) การขยายโอกาสดานแกนสมองในระดับทองถ่ินและระดับชาติดวยรอยตอที่เหมาะสมระหวางการศึกษาในระบบกับนอกระบบ 2.2) การขยายโอกาสและยกระดับคุณภาพทางการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาใหเปนปจจัยสําคัญและเปนฐานสงตอนักเรียนสูระดับอุดมศึกษาเพิ่มมากขึ้น ในฐานะแผนระยะกลางของภูมิภาค 2.3) ความรวมมือในการยกระดับคุณภาพของมหาวิทยาลัยทั้งที่เนนดานการเรียนการสอนและการยกระดับคุณภาพของมหาวิทยาลัยสูการเปนมหาวิทยาลัยวิจัย ดวยการอุดหนุนทรัพยากรอยางเพียงพอเพื่อการลงทุนดานการวิจัย ตลอดจนการพัฒนาบุคลากรใหมีขีดความสามารถในระดับนานาชาติ เพื่อความเชี่ยวชาญเฉพาะทางหลากหลายสาขาวิชา โดยสามารถเชื่อมตอและบูรณาการกันไดในลักษณะที่สอดรับกับแนวทางการยกระดับศักยภาพทางเศรษฐกิจสังคมของประเทศและภูมิภาคในศตวรรษที่ 21 อีกทั้งเพื่อสรางองคความรูและเปนหุนสวนในประชาคมวิชาการระดับนานาชาติมากขึ้น ทั้งนี้ ควรผลักดันให ASEAN University Network มีบทบาทมากขึ้นในดานการวางแผนการพฒันาอุดมศึกษาของภูมิภาคในอนาคตในการพัฒนาเครือขายมหาวิทยาลัยวิจัย และมหาวิทยาลัยที่เนนการเรียนการสอนของภูมิภาค ใหการอุดมศึกษาของอาเซียนมีบทบาทมากขึ้นในการสงเสริมสังคมแหงการเรียนรูและการวิจัยในอาเซียน ในลักษณะที่สอดรับกัน ยกระดับศักยภาพการแขงขันของประเทศสมาชิก และการลดผลกระทบของโลกาภิวัตนตอวิถีชีวิตและอัตลักษณของประเทศสมาชิกซึ่งเปนสังคมพหุลักษณที่มีคุณคาในฐานะทุนทางสังคมและทุนทางวัฒนธรรม ในฐานะแผนระยะกลางของภูมิภาค 2.4) ความรวมมือในเชิงนโยบาย การวางแผน การวิจัยและพัฒนา การจัดทําและยกระดับมาตรฐานการศึกษาในระดับตาง ๆ ระหวางหนวยงานที่เกี่ยวของในกระทรวงศึกษาธิการของประเทศสมาชิก ในฐานะกลไกหลักที่รับผิดชอบดานการศึกษา ตลอดจนแนวทางที่เหมาะสมสอดคลองรวมกันของสถานศึกษาในภูมิภาคบนถนนนานาชาติ ในฐานะแผนระยะสั้นและระยะกลางของภูมิภาค 2.5) การสงเสริมการพัฒนาสถานศึกษาใยแกว ทั้งในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานและระดับอุดมศึกษา โดยจัดลําดับความสําคัญของการพัฒนาและการปรับตัวของครูและบุคลากรทางการศึกษาในการรองรับสถานศึกษาใยแกวใหทัดเทียมกับการพัฒนาเชิงโครงสรางใยแกว ในฐานะแผนระยะกลางของภูมิภาค

ผลลัพธท่ีคาดวาจะไดรับ ประเทศไทยมีแนวทางการสรางยุทธศาสตรความรวมมืออาเซียนในการพัฒนาความเขมแข็งทางการศึกษาของไทยอันจะนําไปสูการสรางความเปนเอกภาพและพัฒนาความเขมแข็งทางการศึกษาของประเทศในกลุมอาเซียน

บทที่ 2 แนวทางและแผนพัฒนาการศึกษาของประเทศในกลุมอาเซียน

การนําเสนอรายงานผลการวิจัยในบทนี้ เปนการนําเสนอในสวนของการเปรียบเทียบแนวทางและแผนพัฒนาการศึกษาของประเทศในกลุมอาเซียน โดยแบงออกเปน 2 สวนคือ แนวทางและแผนพัฒนาการศึกษาของกลุมประเทศดั้งเดิมของอาเซียน แนวทางและแผนพัฒนาการศึกษาของกลุมประเทศใหมของอาเซียน และการเปรียบเทียบจุดเดนรวมในดานดังกลาว

แนวทางและแผนพัฒนาการศึกษาของกลุมประเทศสมาชิกดั้งเดิมของอาเซียน

ไทย รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 ไดกําหนดแนวนโยบายพื้นฐานแหงรัฐ

ในสวนที่เกี่ยวกับการศึกษาไวในมาตรา 81 ใหรัฐจัดการปรับปรุงการศึกษาใหสอดคลองกับความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม โดยจัดใหมีกฎหมายเกี่ยวกับการศึกษาแหงชาติ จึงไดมีการตราพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 เปนกฎหมายแมบทเชื่อมตอกับบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญและเปนกรอบแนวทางในการปฏิรูปการศึกษาของประเทศ พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 กําหนดใหคนไทยทุกคนมีสิทธิและโอกาสในการไดรับการศึกษาขั้นพื้นฐานไมนอยกวา 12 ปจากรัฐอยางทั่วถึงและมีคุณภาพโดยไมเก็บคาใชจาย โดยรัฐตองจัดบริการเปนพิเศษใหแกผูพิการ ผูดอยโอกาส และผูมีความสามารถพิเศษ ทั้งนี้ มาตรา 8 แหงพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ กําหนดใหการจัดการศึกษายึดหลักการศึกษาตลอดชีวิตสําหรับประชาชน ใหสังคมมีสวนรวมในการจัดการศึกษา ตลอดจนการพัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรูที่เปนไปอยางตอเนื่อง พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ หมวด 4 วาดวยแนวทางการจัดการศึกษามีเจตนารมณใหมีการปฏิรูปการเรียนรู โดยยึดหลักใหผูเรียนทุกคนสามารถเรียนรูและพัฒนาตนเองได และถือวาผูเรียนมีความสําคัญที่สุด โดยเนนทั้งความรู คุณธรรม กระบวนการเรียนรู และการบูรณาการความรู ดวยหลักสูตรที่หลากหลายเหมาะสมกับวัยและศักยภาพของผูเรียน มุงพัฒนาคนใหมีความสมดุล ทั้งดานความรู ความคิด ความสามารถ ความดีงาม และความรับผิดชอบตอสังคม มีหลักสูตรแกนกลางและหลักสูตรทองถ่ินสําหรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน สําหรับระดับอุดมศึกษานั้นมีสวนเนนเพิ่มเติมดานการพัฒนาวิชาการ วิชาชีพช้ันสูงและการคนควาวิจัยเพื่อพัฒนาความรูและพัฒนาสังคม ทั้งนี้ ไดมีการจัดทําแผนการศึกษาแหงชาติ (พ.ศ. 2545-2559) เปนแผนระยะยาว 15 ป โดยการนําสาระตามบทบัญญัติที่กําหนดไวในรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ และนโยบายรัฐบาล โดยเปนแผนยุทธศาสตรช้ีนําในการจัดทําและดําเนินการแผนตาง ๆ อยางตอเนื่องสอดคลองกันทั้งประเทศ ไดแก แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน แผนพัฒนาการอาชีวศึกษา

แผนพัฒนาการอุดมศึกษา ตลอดจนแผนปฏิบัติการในระดับเขตพื้นที่การศึกษาและในระดับสถานศึกษา ในการพัฒนาสังคมใหเปนสังคมแหงความรู นําพาไปสูระบบเศรษฐกิจฐานความรู ใหคนไทยทั้งปวงไดรับโอกาสเทาเทียมกันในการเรียนรู ฝกอบรมไดตลอดชีวิต และมีปญญาเปนทุนไวสรางงานสรางรายได พาประเทศใหรอดพนจากวิกฤตเศรษฐกิจและสังคม พรอมทั้งสอดรับกับวิสัยทัศนการพัฒนาระยะยาว 20 ปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 9 กับพระราชบัญญัติกําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถ่ิน พ.ศ. 2542 รวมทั้งพระราชบัญญัติและระเบียบอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ การดําเนินการจัดทําแผนการศึกษาแหงชาติฉบับนี้ อยูบนพื้นฐานของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดํารัสองคสมเด็จพระเจาอยูหัวในรัชกาลปจจุบัน ที่ยึดทางสายกลางบนพื้นฐานของความสมดุลพอดี รูจักประมาณอยางมีเหตุผล มีความรอบรูเทาทันโลก เปนแนวทางในการดําเนินชีวิตเพื่อมุงใหเกิดการพัฒนาที่ยั่งยืนและความอยูดีมีสุขของคนไทย โดยยึด “คน” เปนศนูยกลางการพัฒนา เพื่อใหคนไทยมีความสุข พึ่งตนเองและกาวทันโลก โดยยังรักษาเอกลักษณความเปนไทยไว สามารถเลือกใชความรูและเทคโนโลยีไดอยางคุมคา เหมาะสม มีระบบภูมิคุมกันที่ดี มีความยืดหยุนพรอมรับการเปลี่ยนแปลง ควบคูไปกับการมีคุณธรรมและความซื่อสัตยสุจริต แผนการศึกษาแหงชาติ (พ.ศ. 2545-2559) อาศัยกรอบแนวคิดในการเปนแผนบูรณาการแบบองครวม การพัฒนาชีวิตใหเปนมนุษยที่สมบูรณ ตลอดจนการพัฒนาสังคมใหเขมแข็งและมีดุลยภาพ ซ่ึงการเปนมนุษยที่สมบูรณนั้น หมายถึง การเปนคนดีและมีความสุข สมบูรณทั้งรางกาย จิตใจ สติปญญา ความรู คุณธรรม มีจริยธรรมในการดํารงชีวิต สามารถอยูรวมกับผูอ่ืนไดอยางมีความสุข ในขณะที่การพัฒนาสังคมใหเขมแข็งและมีดุลยภาพนั้น หมายถึง การพัฒนาสังคมใหมีลักษณะ 3 ประการตอไปนี้ คือ

1) สังคมคุณภาพ ที่มีความเที่ยงธรรม มั่นคงโปรงใส ประชาชนมีสิทธิเสรีภาพสมบูรณ 2) สังคมแหงภมูิปญญาและการเรียนรู ที่ทุกคนและทุกสวนในสังคมมีความใฝรูและพรอมที่

จะเรียนรูอยูเสมอ 3) สังคมแหงความสมานฉันทและเอื้ออาทรตอกัน เปนสังคมที่มุงฟนฟูสืบสานและธํารงไว

ซ่ึงเอกลักษณ ศิลปะและวัฒนธรรมไทย

แผนการศึกษาแหงชาติ ไดกําหนดวัตถุประสงคในการดําเนินการไว 3 ประการคือ 1) การพัฒนาคนอยางรอบดานและสมดุล 2) การสรางสังคมไทยใหเปนสังคมคุณธรรม ภูมิปญญา และการเรียนรู 3) การพัฒนาสภาพแวดลอมของสังคมเพื่อเปนฐานในการพัฒนาคนและสรางสังคม

คุณธรรม ภูมิปญญาและการเรียนรู

อนึ่งในดําเนินการใหเปนไปตามวัตถุประสงคในการพัฒนาคนอยางรอบดานและสมดุลนั้น แผนการศึกษาแหงชาติ ไดกําหนดแนวนโยบายเพื่อการดําเนินการรองรับ 4 ประการ คือ

1) การพัฒนาทุกคนตั้งแตแรกเกิดจนตลอดชีวิตใหมีโอกาสเขาถึงการเรียนรู 2) การปฏิรูปการเรียนรูเพื่อพัฒนาผูเรียนตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ 3) การปลูกฝงและเสริมสรางศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรม คานิยม และคุณลักษณะที่พึง

ประสงคในระบบวิถีชีวิตที่ดีงาม 4) การพัฒนากําลังคนดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเพื่อการพึ่งพาตนเอง และเพิ่ม

สมรรถนะการแขงขันในระดับนานาชาติ

สําหรับวัตถุประสงคในการสรางสังคมไทยใหเปนสังคมคุณธรรม ภูมิปญญา และการเรียนรูนั้น แผนการศึกษาแหงชาติ ไดกําหนดแนวนโยบายเพื่อการดําเนนิการ 3 ประการ คือ

1) การพัฒนาสังคมแหงการเรียนรูเพื่อสรางความรู ความคิด ความประพฤติและคุณธรรมของคน

2) การสงเสริมการวิจัยและพัฒนา และ 3) การสรางสรรค ประยุกตใชและเผยแพรความรูและการเรียนรู

สําหรับวัตถุประสงคในการพัฒนาสภาพแวดลอมของสังคม แผนการศึกษาแหงชาติมี

แนวนโยบายเพื่อการดําเนินการ 4 ประการคือ 1) การสงเสริมและสรางสรรคทุนทางสังคม วัฒนธรรม ธรรมชาติและสิ่งแวดลอม บนฐาน

ของศาสนา ภูมิปญญาทองถ่ินและภูมิปญญาไทย 2) การจํากัด ลด ขจัดปญหาทางโครงสรางที่กอใหเกิด และ/หรือ คงไวซ่ึงความยากจนขัด

สน ดอยทั้งโอกาสและศักดิ์ศรีของคนและสังคมไทย เพื่อสรางความเปนธรรมในสังคม 3) การพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาและการพัฒนาประเทศ 4) การจัดระบบทรัพยากรและการลงทุนทางการศึกษา ศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรมเพื่อ

พัฒนาคนและสังคมไทย

ทั้งนี้ นอกจากการกําหนดเปาหมายและกรอบการดําเนินงานสําหรับแตละแนวนโยบายในแตละวัตถุประสงคขางตนแลว แผนการศึกษาแหงชาติ ยังกําหนดใหมียุทธศาสตรการดําเนินงานที่มีหลักการกําหนดโครงสรางการบริหารแผน เพื่อใหการดําเนินงานตามแผนเปนไปอยางสมบูรณ สัมพันธเปนกระบวนการเชื่อมโยงโดยรวมทั้งหมดภายใตแนวนโยบายขางตน โดยใหหนวยงานและองคกรทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน องคกรปกครองสวนทองถ่ิน สถานศึกษา ประชาชน องคกรประชาคม ตลอดจนองคกรอิสระและองคกรวิชาชีพ เขามามีสวนรวมอยางจริงจังในการนําวัตถุประสงค

แนวนโยบาย เปาหมายและกรอบการดําเนินงานนั้น มากําหนดเปนแผนพัฒนาฯ 5 ป และแผนปฏิบัติการของหนวยงานในระดับพื้นที่ โดยใหมีแผนงานหรือโครงการรองรับ ตามสมรรถนะและสถานภาพแหงความรับผิดชอบแหงตน

ตัวอยางประการหนึ่งของความกาวหนาในดานแผนพัฒนาการศึกษาซึ่งตอเนื่องจากการมีแผนการศึกษาแหงชาตินั้น เห็นไดจากการจัดทําแผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา ฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2545-2549) ซ่ึงเปนการวางแผนในบริบทที่เปลี่ยนแปลงไปจากการวางแผนการพัฒนาการศึกษาระดับอุมศึกษาฉบับกอน ๆ อันเนื่องมาจากบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญ ฉบับ พ.ศ. 2540 และพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 นั่นคือ การวางแผนในระบบเปดที่จัดใหมีการระดมความคิดและรับฟงความคิดเห็นของประชาชนอยางกวางขวางซึ่งไมเคยปรากฏมากอนในอดีต บนหลักการสําคัญ 4 ประการ คือ การเปนแผนยุทธศาสตรที่สอดคลองสนองตอบตอนโยบายของรัฐบาลและแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ การเปนแผนปฏิรูปอุดมศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ โดยนําหลักการและแนวปฏิบัติในการพัฒนาอุดมศึกษาที่กําหนดไวมาเปนกรอบนโยบายและยุทธศาสตรการพัฒนา การเปนแผนที่ใหสถาบันอุดมศึกษายึดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและมีเปาหมายการพัฒนาอุดมศึกษารวมกัน มีการพัฒนาระบบการวางแผน การบริหารแผนและการติดตามประเมินผลแผนที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ตลอดจนการเปนแผนที่สอดคลองกับหลักการของมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐ ที่มุงใหมหาวิทยาลัยและสถาบันทุกแหงมีระบบการบริหารที่คลองตัว มีอิสระสมบูรณ

แผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา ฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2545-2549) มีการกําหนดวัตถุประสงค เปาหมาย และยุทธศาสตรการพัฒนาอุดมศึกษา ในการบรรลุวิสัยทัศน 4 ประการดังนี้

1) การผลิตผูที่มีความรูคูคุณธรรม มีความเปนผูนํามีจิตสํานึกในการสรางงานของตนเอง มีความคิดและวิจารณญาณ มีความริเร่ิมสรางสรรค มีวินัย มีความรับผิดชอบสูง นําไปสูการพัฒนาประเทศได

2) การเปนการศึกษาของปวงชน กระจายโอกาสสูปวงชนทุกระดับทุกอาชีพ ใหสามารถเขาศึกษาในหลักสูตรทั้งเพื่อรับปริญญาและไมรับปริญญา จากการจัดการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย

3) การมีเอกภาพเชิงนโยบายและมาตรฐาน สถาบันอุดมศึกษาระดับปริญญาเปนนิติบุคคล สามารถพัฒนาระบบบริหารและการจัดการที่เปนของตนเองอยางมีประสิทธิภาพและสามารถตรวจสอบได ภายใตกลไกการประกันคุณภาพภายในที่เหมาะสม และสามารถพัฒนายกระดับใหทัดเทียมกับสากลและเปนศูนยการศึกษาในกลุมประเทศเพื่อนบาน

4) การมีพันธกิจในการใหการศึกษาชั้นสูงทางวิชาการและวิชาชีพ จัดฝกอบรมและพัฒนาทักษะที่เปนความตองการในการพัฒนาทองถ่ิน ชุมชนและประเทศชาติ มีการวิจัยและพัฒนาองคความรูที่กอใหเกิดการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม พัฒนาและถายทอดเทคโนโลยี จัดบริการวิชาการและทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม

ในขณะเดียวกัน ไดมีการจัดทําแผนยุทธศาสตรระดับกระทรวงที่เกี่ยวของ ซ่ึงในที่นี้ คือ กระทรวงศึกษาธิการ ไดแก แผนยุทธศาสตรกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2548-2551 ดวยวิสัยทัศนในการเปนองคกรหลักในการจัดและสงเสริมการศึกษาใหประชาชนมีความรูคูคุณธรรม มีคุณภาพ มีศักยภาพในการพัฒนาตนเอง พัฒนาเศรษฐกิจ พัฒนาสังคมฐานความรู และเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศ ดวยพันธกิจในการสรางเสริมโอกาสในการศึกษาใหแกประชาชนทุกคน การสรางระบบการศึกษาที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพ ตลอดจนการพัฒนามาตรฐานการศึกษาเพื่อเพิ่มศักยภาพการแขงขันของประเทศ โดยอาศัยยุทธศาสตร 3 ประการคือ การสรางโอกาสทางการศึกษา การพัฒนาการจัดการและพัฒนาคุณภาพการเรียนรู และการเพิ่มมาตรฐานการศึกษาและเพิ่มความสามารถในการแขงขันของประเทศ ตลอดจนการพัฒนาตัวช้ีวัดผลการปฏิบัติราชการตามแผนยุทธศาสตรนั้น

บรูไน ดารุสซาลาม บรูไน ดารุสซาลาม เปนประเทศสมาชิกอาเซียนแตดั้งเดิมซึ่งมีขนาดเล็กที่สุดทั้งในดาน

ขอบเขตทางภูมิศาสตรและจํานวนประชากร แตมีความมั่งคั่งดวยระบบเศรษฐกิจแบบตลาดเสรีภายใตการกํากับดูแลของรัฐ และเปนประเทศเดียวในกลุมอาเซียนที่อยูภายใตระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยอยางเต็มรูปแบบ ดวยระบบรัฐสวัสดิการ โดยเริ่มมีการศึกษาอยางเปนทางการในป 2459 ดวยการเปดโรงเรียนภาษาพื้นเมืองมาเลยในเมืองหลวง คือ กรุงบันดาเสรีเบกาวัน ดวยขอจํากัดในลักษณะของการรับเฉพาะเด็กนักเรียนชาย อายุระหวาง 7 -14 ป

บรูไนไมมีการจัดทําแผนการพัฒนาการศึกษาแหงชาติ หากแตใหเปนสวนหนึ่งในแผนพัฒนาประเทศระยะ 5 ป ซ่ึงในแผนพัฒนาประเทศฉบับแรกเมื่อป 2497 นั้นสาระที่เกี่ยวของเปนการมุงเนนสรางสิ่งอํานวยความสะดวกและโครงสรางพื้นฐานตาง ๆ จนเปนที่มาของการจัดตั้งกระทรวงการศึกษาของประเทศ ตอมาในป 2528 ไดมีการพัฒนานโยบายและระบบการศึกษาแหงชาติในลักษณะที่อํานวยให ประชาชนและผูที่พํานักอาศัยอยูในประเทศบรูไนอยางถาวรสามารถเขาศึกษาเลาเรียนในโรงเรียนระดับประถมของรัฐโดยไมตองเสียคาใชจายใด ๆ ทั้งสิ้น

ในปจจุบัน บรูไนอยูระหวางการใชแผนพัฒนาแหงชาติฉบับที่ 8 (The Eighth National Development Plan in 2001 - 2005 ) โดยมีสวนที่เกี่ยวกับการศึกษา ซ่ึงไดระบุวา “มุงเนนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย (human resource development) และการใชประโยชนของเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) นอกจากนี้ยังใหความสําคัญในเรื่อง e- Learning โดยไดดึงเขามาเปนสวนหนึ่งของยุทธศาสตรการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศแหงชาติ” ในการสรางสังคมใหมีความแข็งแกรงบนพื้นฐานของหลักไตรลักษณ คือ พระมหากษัตริย เชื้อชาติมาเลย และอิสลาม หลักคัมภีรอัลกุรอาน (holy Quran) หะดิษ (Hadith) และหลักเหตุผล (Aqli) ตลอดจนแนวนโยบายดานการศึกษา 8 ประการดังนี้

1) ดําเนินการใหระบบการศึกษาแหงชาติ มุงใหความสําคัญตอการใชภาษามาเลยเปนภาษาทางการประจําชาติ ควบคูไปกับการใชภาษาสําคัญอื่น ๆ เชนภาษาอังกฤษ และ ภาษาอาหรับ เปนภาษาที่สอง

2) จัดการศึกษาใหกับนักเรียนทุกคนเปนระยะเวลา 12 ป โดยแบงเปนการศึกษาระดับประถม (primary education) 7 ป (รวมกอนวัยเรียนดวย 1 ป ) ระดับมัธยมตน (lower secondary) 3 ป และระดับมัธยมปลาย (upper education) หรือในสายอาชีวะ (vocational / technical education) อีก 2 ป

3) จัดหาหลักสูตรบูรณาการ เชนเดียวกับการทดสอบรวมใหเปนรูปแบบเดียวกันและมีความเหมาะสมตอระดับการศึกษาและความตองการพิเศษในทุกโรงเรียน

4) จัดการศึกษาศาสนาอิสลามในหลักสูตรการเรียนการสอนใหสอดคลองกับหลัก Ahli Sunnah Wal-Jamaah

5) จัดหาวัสดุอุปกรณ เครื่องอํานวยความสะดวกตาง ๆ สําหรับการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร วิทยาศาสตร เทคโนโลยีการติดตอส่ือสารทางการศึกษา เพื่อใหเด็กนักเรียนไดรับความรู และความชํานาญตามความจําเปนอยางตอเนื่องในโลกแหงการเปลี่ยนแปลงของการจางงาน

6) พัฒนาตนเอง และจัดหาโปรแกรมการเรียนรูที่หลากหลายผานกิจกรรมและหลักสูตรรวมตาง ๆ ใหสอดคลองกับหลักปรัชญาแหงชาติ

7) สรางโอกาสในการศึกษาระดับอุดมศึกษาดวยคุณวุฒิและประสบการณที่เหมาะสม 8) จัดหาโครงสรางพื้นฐานตาง ๆ ทางการศึกษาใหดีที่สุดเทาที่จะเปนไปได เพื่อเติมเต็ม

ความตองการแหงชาติ

สหพันธรัฐมาเลเซีย สหพันธรัฐมาเลเซียใหความสําคัญกับการศึกษาและการคนควาวิจัยตาง ๆ เปนอยางมาก โดยจะเห็นไดจากนโยบายเศรษฐกิจปจจุบัน ที่มุงพัฒนาศักยภาพในดานตาง ๆ อยูบนฐานความรู นอกจากนี้ รัฐบาลยังไดกําหนดนโยบายวิสัยทัศนแหงชาติ ซ่ึงมีเปาหมายในการสรางมาเลเซียใหเปน “ประเทศที่มีความยืดหยุนคงทนและมีความสามารถในการแขงขัน” โดยจะลดความสําคัญของการลงทุนที่ทําใหเกิดการเจริญเติบโตที่ไมยั่งยืนและขาดประสิทธิภาพ และใหความสําคัญตอประเด็นใหมคือ การเติบโตที่ตั้งอยูบนพื้นฐานของประสิทธิภาพการผลิตโดยรวม โดยจะเนนการลงทุนที่มีการคนควาและวิจัย ดวยเทคโนโลยีระดับสูง ทั้งนี้ เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจบนฐานความรู กระตุนและเพิ่มพลวัตรของภาคการเกษตร การผลิต และการบริการโดยการใชความรูและเทคโนโลยีวิทยาการ เพิ่มการมีสวนรวมของภูมิบุตรในภาคเศรษฐกิจชั้นนํา และปรับใหมีการพัฒนาการทรัพยากรมนุษยเพื่อรองรับสังคมบนฐานความรู

นับตั้งแตเร่ิมตนศตวรรษที่ 21 เปนตนมา รัฐบาลมาเลเซียดานตอแนวนโยบายในการกําหนดใหการพัฒนาการศึกษาของคนในชาติเปนพันธกิจสําคัญประการหนึ่ง โดยมีเปาหมายใหนําการศึกษาเขาถึงประชากรทุกระดับ โดยเฉพาะอยางยิ่งในระดับประถมและมัธยมศึกษาซึ่งถือเปนการศึกษาภาคบังคับ พระราชบัญญัติการศกึษาแหงชาติฉบับ พ.ศ. 2539 (Education Act 1996) ไดกําหนดแผนการศึกษาแหงชาติไวดังนี้

1) ระบบการศึกษาแหงชาติตองเปนระบบการศึกษาที่มีคุณภาพระดับสากล และสามารถตอบสนองตออุดมการณแหงชาติ

2) ยึดถือนโยบายการศึกษาแหงชาติเปนนโยบายพื้นฐานสําหรับพัฒนาการศึกษา 3) ระยะเวลาของการศึกษาระดับประถมศึกษาคือ 5 ถึง 7 ป 4) ใหการศึกษากอนวัยเรียนบรรจุอยูในการศึกษาสายสามัญแหงชาติ 5) พัฒนาและยกระดับการศึกษาดานอาชีวะและเทคนิค 6) ใชหลักการจัดสรรเพื่อควบคุมการศึกษาภาคเอกชน

แนวทางการพัฒนาการศึกษาของมาเลเซีย เปนสวนที่กําหนดอยูในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ

สังคมแหงชาติเปนหลัก โดยในปจจุบันเปนแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2544-2549) ซ่ึงกําหนด 9 ยุทธศาสตรในการทําใหเศรษฐกิจของประเทศเติบโตอยางยั่งยืนและแขงขันไดในระดับสากลโดยสามารถเผชิญกับภาวะทาทายดานโลกาภิวัตนและการเปดเสรีทางเศรษฐกิจ ประกอบดวย 1) การธํารงรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจระดับมหภาค 2) การขจัดความยากจนใหหมดส้ินไปและการปรับโครงสรางของสังคม 3) การยกระดับการเติบโตทางเศรษฐกิจโดยอาศัยประสิทธิภาพการผลิตเปนปจจัยผลักดัน 4) การยกระดับความสามารถในการแขงขันในภาคเศรษฐกิจหลัก 5) การขยายการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ 6) การยกระดับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย 7) การพัฒนาอยางยั่งยืน 8) การสรางหลักประกันดานคุณภาพชีวิต และ 9) การสรางความเขมแข็งใหเกิดขึ้นในดานคุณธรรมและจรรยาบรรณ

ทั้งนี้ การพัฒนาการศึกษาเปนสวนที่กําหนดอยูในยุทธศาสตรขอที่ 6 ซ่ึงวาดวยการยกระดับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย เพื่อใหประชาชนทุกภาคสวนในประเทศเปนฐานที่เขมแข็งในการยกระดับประสิทธิภาพการผลิตและความสามารถในการแขงขันของระบบเศรษฐกิจฐานความรู โดยการเนนระบบการศึกษาที่มีคุณภาพและสามารถตอบสนองตอความตองการในตลาดแรงงานซึ่งตองการกําลังคนที่มีความรูและทักษะสูงพรอมดวยคานิยมและทัศนคติทาทีในลักษณะสรางสรรค (Positive) โดยกําหนดใหมีการสรางสถานศึกษามากขึ้นในทุกระดับ อาศัยหลักสูตรกลางและแนวคิดในการบูรณาการโรงเรียนตาง ๆ เขาดวยกันเพื่อใหเยาชนเขาถึงการศึกษาเพิ่มมากขึ้น อีกทั้งสงเสริม

การมีสวนรวมของภาคเอกชนใหมากขึ้น โดยเฉพาะอยางยิ่งในระดับอุดมศึกษา ในลักษณะที่สอดรับกับแนวนโยบายของประเทศในการเปดเสรีดานการศึกษาและการฝกอบรม

ในปจจุบัน ยังมีการจัดทําแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2549-2553) ในลักษณะของการกระชับความพยายามที่ผานมาใหเขมแข็งมากขึ้น ซ่ึงนอกจากการมุงเนนการพัฒนาเศรษฐกิจใหมีความเขมแข็ง ยืดหยุนและเปนธรรม โดยการบริหารการจัดการทางการเงินจะตองเปนไปอยางรอบคอบและมีวินัยแลว ยังกําหนดวัตถุประสงคทางดานการศึกษาสอดคลองกับปรัชญาการศึกษาแหงชาติ โดยเฉพาะอยางยิ่งในเรื่องการพัฒนากําลังคนใหมีความรูความสามารถ มีทักษะเพียงพอตอความตองการของประเทศซึ่งกําลังเติบโตทางเศรษฐกิจอยางรวดเร็ว นอกจากนี้ การพัฒนาประเทศทุก ๆ มิติจําเปนตองพึ่งพาเอกชนดวย เชนเดียวกับการศึกษาที่รัฐบาลมีแผนสนับสนุนใหภาคเอกชนเขามาลงทุนทางดานนี้ รวมไปถึงการฝกฝนทักษะตาง ๆ นอกเหนือจากที่รัฐบาลเปนผูริเร่ิม เพื่อเปนการขยายโอกาสทางการศึกษาใหเทาเทียมกันทั่วประเทศ

ทั้งนี้ กระบวนการที่จะนําไปสูความสําเร็จดังที่ระบุในแผนพัฒนาฯ ไมวาจะเปนดานใดก็ตามจะตองยึดหลักอุดมการณแหงชาติ “ Rukunegara” 5 ประการอันไดแก

1. เชื่อมั่นในพระผูเปนเจา 2. จงรักภักดีตอกษัตริยและชาติ 3. ยึดมั่นในรัฐธรรมนูญ 4. ปฏิบัติตามหลักกฎหมาย และ 5. ประพฤติตนอยางมีศีลธรรมและคุณธรรม สาธารณรัฐฟลิปปนส กอนที่จะเขามาเปนสมาชิกอาเซียนนั้น ฟลิปปนส เคยเปนประเทศที่เนนการศึกษาในลักษณะ

ไมเปนทางการแบบสเปน โดยปราศจากโครงสรางที่ชัดเจนรองรับ และขาดแคลนระเบียบวิธีการตาง ๆ ในการเรียนการสอน ตราบจนมีการตรากฎหมายเกี่ยวกับการศึกษา พ.ศ. 2406 ซ่ึงอนุญาตใหมีการจัดตั้งโรงเรียนประถมศึกษาสําหรับเด็กชายและหญิงในเมืองตาง ๆ ภายใตความรับผิดชอบของรัฐบาลทองถ่ิน กฎหมายดังกลาวกําหนดใหชาวฟลิปปนสทุกคนไดรับเสรีภาพในการเขารับการศึกษาโดยเสรีไมเสียคาใชจายใด ๆ การสานตอแนวคิดและหลักการวาดวยเสรีภาพในการเขารับการศึกษาโดยเสรีไมเสียคาใชจายใด ๆ นี้ ยังคงสานตอมาจนถึงปจจุบัน

การสรางความแข็งแกรงในดานการศึกษา เปนภาระผูกพันตอรัฐบาลตามที่ระบุไว ในรัฐธรรมนูญ ป1987 (พ.ศ. 2530) ซ่ึงในมาตรา 17 วรรค 11 กําหนดเปนหนาที่ของรัฐในการใหความสําคัญตอการศึกษา วิทยาศาสตร เทคโนโลยี ศิลปวัฒนธรรม และกีฬา เพื่อที่จะสนับสนุนใหเกิดความรักชาติ และชาตินิยม พรอมกับเรงใหเกิดความกาวหนาทางสังคม และสงเสริมใหมนุษยมีเสรีภาพและการพัฒนา โดยในมาตรา 1 วรรค XIV กําหนดใหรัฐมีหนาที่ปกปองและสงเสริมสิทธิ

ของพลเมืองทุกคนใหไดรับการศึกษาทุกระดับอยางมีคุณภาพและเหมาะสม นอกจากนี้ ในมาตราที่ 5 ยังกําหนดเปนหนาที่ของรัฐในการจัดงบประมาณสูงสุดใหกับงานดานการศึกษา โดยรัฐจะตองติดตามการสอนวาดึงดูดและรักษาไวซ่ึงความสามารถพิเศษอยางเหมาะสมและเปนประโยชน

กลาวไดวา รัฐธรรมนูญฉบับนี้ไดสะทอนใหเห็นถึงการใหความสําคัญตอเยาวชนของประเทศโดยผานทางการศึกษาทั้งในและนอกระบบ นั่นคือ การที่รัฐจัดการศึกษาตั้งแตระดับขั้นพื้นฐานไปจนถึงระดับอุดมศึกษาใหแกประชาชนโดยไมตองเสียคาใชจาย โดยการศึกษาระดับประถมเปนการศึกษาภาคบังคับสําหรับเด็กที่มีอายุถึงเกณฑตองเขาเรียน รวมถึงการที่รัฐสนับสนุนบทบาทของภาคเอกชน ชุมชน และครอบครัวในการจัดศึกษา การเรียนรูนอกระบบ การเรียนรูตามอัธยาศัย และการเรียนรูฐานชุมชนและภูมิปญญาทองถ่ิน

ในการรองรับบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญนั้น ไดมีการตราพระราชบัญญัติการศึกษาโดยไมตองเสียคาใชจายในระดับมัธยม ฉบับ ค.ศ. 1988 (พ.ศ. 2531) ตามดวยคําประกาศประธานาธิบดีในป 2532 ซ่ึงกําหนดใหคริสตทศวรรษที่ 1990 เปน “ทศวรรษแหงการศึกษาสําหรับทุกคน” ตอมาในยุคศตวรรษที่ 21 แนวทางการพัฒนาการศึกษาของฟลิปปนส มีลักษณะของการสานตัวและขยายตอการศึกษาสําหรับหรับทุกคนซึ่งเปนแนวทางหลักในทศวรรษกอนใหครอบคลุมมากขึ้นสูการพัฒนาทุนมนุษยระดับสากล แนวทางดังกลาวเปนไปตามแผนพัฒนาประเทศระยะกลาง 5 ป ตั้งแตป 2544 ที่เรียกวา Medium Term Phillippines Development Plan ซ่ึงกลาวถึงการเนนการพัฒนามนุษยในลักษณะครอบคลุม (Comprehensive Human Development) และใหความสําคัญตอการเพิ่มทุนทั้งหมดไปที่มนุษย (human capital investment) โดยเฉพาะอยางยิ่งในดานการศึกษา โดยแผนพัฒนาประเทศระยะกลางดังกลาวกําหนดใหรัฐบาลมีบทบาทสําคัญในการสนับสนุนใหการศึกษาขั้นพื้นฐานอยางมีคุณภาพ โดยมีเปาหมายเพื่อสงเสริมกาวหนาทางวิทยาศาสตร การสรางทักษะความเชี่ยวชาญทางคณิตศาสตร และเทคโนโลยีขอมูลขาวสาร(IT) พรอมทั้งขยายชองทางใหกับผูมีรายไดนอยในเร่ืองการศึกษานอกระบบและการฝกอบรมดานเทคนิคและวิชาชีพ

ทั้งนี้ ฟลิปปนสไดมีการจัดทําแผนระยะยาวรองรับ 3 แผน เร่ิมจากระดับแผนปฏิบัติการ ตามดวยระดับแผนหลัก ดังนี้

1) Plan of Action of Education for All ในฐานะแผนปฏิบัติการระยะยาว 10 ปเร่ิมมาตั้งแตป 2534 โดยเนนหลักการเรียนรูตลอดชีวิต ใหเขาถึงประชาชนในพื้นที่ตาง ๆ ตลอดจนผูพิการและผูที่เสียเปรียบในสังคม

2) Master Plan for Basic Education (1996-2005) ในฐานะแผนระยะยาว 10 ปสําหรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยเริ่มตั้งแตป 2539 ดวยการเนนใหมีการพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐานของฟลิปปนสใหทันสมัย (Modernizing Philippines Education) ดวยส่ือการเรียนการสอนที่ทันสมัย การยกระดับหลักสูตรและเทคนิคในการฝกอบรมครูผูสอน ทักษะและกระบวนการบริหารจัดการ

วางแผนและกํากับดูแลโครงการตาง ๆ โดยอาศัยการมีสวนรวมจากชุมชน ระบบสารสนเทศและโทรคมนาคม

3) National Technical Education and Skills Development Plan ในฐานะแผน 5 ป ดานการอาชีวศึกษาและการพัฒนาทักษะวิชาชีพรองรับ 3 แนวทางหลัก (The Three-Pronged Direction)ในการพัฒนาประเทศ คือ ความสามารถในการแขงขันระดับโลก (Global Competitiveness) การพัฒนาชนบท (Rural Development) และการบูรณาการทางสังคม (Social Integration) นับเปนแผนระดับชาติในลักษณะครอบคลุมฉบับแรกสําหรับการพัฒนาทุนมนุษยสูความสามารถในการแขงขันในยุคเศรษฐกิจสังคมฐานทักษะความรูดวยทักษะระดับกลางแหงศตวรรษที่ 21 นี้ในลักษณะที่สอดรับกับแผนระยะกลางสําหรับการพัฒนาเยาวชน (Medium Term Youth Development Plan 1994-2004) แผนการจางงานระดับชาติ (National Employment Plan) และแผนพัฒนาประเทศระยะกลาง

สาธารณรัฐสิงคโปร สิงคโปรเปนประเทศที่ใหความสําคัญกับการพัฒนาระบบการศึกษามาตั้งแตเร่ิมไดรับ

อิสรภาพจากระบอบการปกครองแบบอาณานิคมของอังกฤษเมื่อป 2508 นับถึงปจจุบัน สิงคโปรทุมเทการลงทุนในการจัดระบบการศึกษาและระดับประสิทธิภาพทางการศึกษาในทุกระดับในลักษณะที่พยายามสรางความเปนธรรมและความเปนอันหนึ่งอันเดียวกันทางสังคม เศรษฐกิจและการเมือง เพื่อปองกันปญหาความแตกแยกในสังคม และดวยความปรารถนาใหสิงคโปรเปนศูนยกลางอุดมศึกษาระดับสากลแหงภาคพื้นเอเชียแปซิฟกภายในป 2543

ในป 2548 แผนพัฒนาทางการศึกษาของสิงคโปรไดขยายขอบเขตของเปาหมายใหกาวไกลไปสูการเปน ผูนําแหงเอเชียดานศูนยกลางการศึกษาระดับมาตรฐานโลก (Asia’s Premier World-Class Education Hub) ในการดึงดูดนักเรียนนักศึกษาจากประเทศตาง ๆ เขามาศึกษาในสถานศึกษาตาง ๆ ตั้งแตระดับประถมศึกษาถึงอุดมศึกษาในสิงคโปรจํานวน 66,000 คนในป 2555 และการยกระดับมาตรฐานการศึกษาของคนในชาติสูระดับสากล โดยอาศัยแนวทางดําเนินการที่ครอบคลุมและสอดรับตอกัน ไดแก

1) กระบวนการเรียนการสอนควบคูไปกับผลลัพธทางการศึกษาทั้งดานคุณภาพ และสมรรถภาพ (Qualities and Competencies Model) เพื่อใหสามารถตอบสนองตอความสามารถอันหลากหลายของผูเรียนมากยิ่งขึ้น

2) การเนนจิตสํานึกและแรงจูงใจในการใฝเรียนรูดวยสัมฤทธิผลหรือความสําเร็จทางการศึกษาของผูเรียนแตละคน

3) การทุมทรัพยากรดานเงินทุนทางการศึกษามากขึ้น 4) การเนนการบริหารจัดการแบบรวมศูนย 5) การมีหลักสูตรการเรียนการสอนที่เขมขน

6) การเปลี่ยนจากการประเมินจากภายนอกสูการเนนประเมินจากภายในแตละโรงเรียนและสถาบันการศึกษาดวยความถี่มากขึ้นเพื่อใหสถานศึกษารูจักตนเองมากขึ้น

7) การสงเสริมแรงสนับสนุนอยางแข็งขันจากครอบครัวของผูเรียน 8) การพัฒนากําลังคนดานบุคลากรทางการสอนโดยเนนการฝกอบรม เพื่อใหพัฒนาการทาง

การศึกษากาวไปอยางมั่นคงมากขึ้น สาธารณรัฐอินโดนีเซีย

แนวทางในการพัฒนาการศึกษาของอินโดนีเซียในปจจุบัน มีรากฐานมาจากรัฐธรรมนูญ ป 1945 (พ.ศ. 2488) เมื่ออินโดนีเซียไดประกาศอิสรภาพจัดตั้งสาธารณรัฐ เพื่อใหบรรลุเปาหมายของรัฐดังที่ปรากฏในหลักปญจศีล ในการรวมศูนยอํานาจ กับการคงเอกลักษณทางวัฒนธรรมตามความตองการของกลุมชนที่หลากหลายในสังคมและความตองการรวมกัน ในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมดานตาง ๆ ซ่ึงปฏิสัมพันธหลักระหวางศาสนากับการจัดการศึกษานั้นเปนลักษณะเดนเฉพาะของอินโดนีเซีย ในการรักษาปฏิสัมพันธระหวางการศึกษากับศาสนาแบบดั้งเดิมของศาสนาอิสลาม ซ่ึงกลายมาเปนศาสนาของชนสวนใหญในประเทศ หลังจากสิ้นอาณาจักรมัชปาหิตในคริสตศตวรรษที่ 16 ที่มีตอรัฐชาติที่เกิดจากการปลดปลอยตนเองจากลัทธิลาอาณานิคม และเปนรัฐชาติที่มีลักษณะเปนพหุสังคมขนาดใหญดวยอาณาบริเวณทางภูมิศาสตรที่กระจายกินอยางกวางขวาง ซ่ึงพยายามปรับตัวอยูในโลกปจจุบัน ทั้งนี้ รัฐธรรมนูญ ป 2488 บทที่ 2 มาตรา 31 ระบุวา “(1) พลเมืองทุกคนมีสิทธิที่จะไดรับการศึกษา และ (2) รัฐบาลจะตองจัดตั้งและดําเนินการระบบการศึกษาของชาติ ซ่ึงอยูภายใตพระราชบัญญัติ” โดยพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติป 2546 ไดกําหนดเปาหมาย นโยบายและแผนการดําเนินงาน ซ่ึงครอบคลุมการขยายโอกาสทางการศึกษาและความเสมอภาคทางการศึกษา สงเสริมใหประชากรทุกคนเขาถึงการศึกษาทุกระบบและทุกระดับ และปรับปรุงคุณภาพเกี่ยวกับการศึกษาตลอดเวลา เพื่อใหสอดคลองกับความตองการของสังคม และเพื่อพัฒนาการศึกษาที่ใชชุมชนเปนพื้นฐาน

แผนการพัฒนาการศึกษาของอินโดนีเซีย เปนสวนที่กําหนดอยูในแผนพัฒนาหาป ที่เรียกวา Rencana Pembangunan Lima Tahun หรือ เรียกโดยยอวา REPELITA ซ่ึงกําหนดเปนแนวทางกวาง ๆ ในลักษณะที่คํานึงถึงความเสมอภาคโอกาสทางการศึกษา การตอบสนองความจําเปนทางการศึกษา คุณภาพของการศึกษา และประสิทธิภาพของการศึกษา ทั้งในระบบและนอกระบบของการศึกษา ดวยเนื้อหาสาระที่ตองการมุงเนนการสรางบุคลิกภาพและองคประกอบของความสามารถในดานตาง ๆ ของทรัพยากรมนุษย โดยในปจจุบันไดเร่ิมมีการจัดทําแผนปฏิบัติการแหงชาติวาดวยนโยบาย “Education for All” ในป พ.ศ. 2545 ขึ้นมาเปนการเฉพาะ โดยมีจุดมุงหมายเพื่อสรางความเสมอภาค

ทางการศึกษา และเพื่อสรางความมั่นใจวาคนอินโดนีเซียทุกคนไมวาจะเปนเพศใด จะมีฐานะยากจน อยูหางไกลความเจริญหรือเปนผูดอยโอกาสทางสังคม ตองไดรับการศึกษาขั้นพื้นฐานภาคบังคับ

แนวทางและแผนพัฒนาการศึกษาของกลุมประเทศสมาชิกใหมของอาเซียน

กัมพูชา กัมพูชาใหความสําคัญกับการพัฒนาการศึกษาตั้งแตไดรับเอกราชเมื่อป 2496 รัฐบาลกัมพูชาภายหลังการเลือกตั้งทั่วไปในป 2536 ตามขอตกลงปารีสไดใหความสําคัญแกการพัฒนาการศึกษามากขึ้น มีความพยายามในการสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาภาคเอกชนในตางจังหวัดเสมือนประเทศเสรีนิยมทั้งหลาย โดยกําหนดใหการศึกษา เปนสวนสําคัญสวนหนึ่งของเปาหมายในการลดปญหาความยากจนของประเทศเพื่อยกระดับศักยภาพการแขงขันทางเศรษฐกิจของประเทศสูระดับสากลซึ่งมีทรัพยากรมนุษยเปนฐาน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 1 (2539-2543) ไดกําหนดแนวทางกวาง ๆ ในเชิงนโยบาย ยุทธศาสตรและเปาหมายในการพัฒนาการศึกษา 3 ประการคือ การที่ประชาชนไดรับการศึกษาอยางเทาเทียมกันโดยทั่ว การยกระดับคุณภาพทางการศึกษา และการปรับปรุงการวางแผนบริหารจัดการดานการศึกษาใหเขมแข็งมากขึ้น โดยมีแผนการลงทุนดานการศึกษารองรับในชวงป 2538-2543 จากการปรึกษาหารือกับองคการระหวางประเทศที่เกี่ยวของในระดับหนึ่ง แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 2 (2544-2548) เปนการสานตอแนวทางการพัฒนาการศึกษาที่เนนถึงระดับแผนปฏิบัติมากขึ้น แผนยุทธศาสตรระดับชาติในการขยายโอกาสทางการศึกษาคุณภาพอยางทั่วถึงประกอบดวยแผนระยะสั้น 2544-2545 แผนระยะยาว 2546-2558 และแผนระยะกลาง 2547-2551 โดยแผนระยะยาว 2546-2558 และแผนระยะกลาง 2547-2551 เปนการปรับปรุงจากแผนระยะสั้น 2544-2545 ประกอบกับแผนยุทธศาสตรในการลดภาวะความยากจน (Poverty Reduction Strategic Plan: PRSP) เมื่อป 2545 เปนฐาน โดยใหสอดรับกับแนวโนมการเปลี่ยนแปลงทางประชากรและเศรษฐกิจระดับมหภาคในชวง 10-15 ปขางหนาของกัมพูชา รวมกับแนวทางในการประชุม World Education Forum และ Millennium Development Goals ซ่ึงเนน Education for All แผนระยะยาว 2546-2558 นั้น กําหนดใหกัมพูชาบรรลุเปาหมายตอไปนี้ภายในป 2558

1) การเขารับการศึกษาขั้นพื้นฐานเพิ่มสูงขึ้นเปน 3.8 ลานคน 2) การเพิ่มชั่วโมงการเรียนการสอนในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา 3) การเพิ่มหองเรียนและสถานที่เรียนในพื้นที่ขาดแคลน 4) การเพิ่มปริมาณและคุณภาพครูและการฝกหัดครู โดยเนนสําหรับระดับมัธยมศึกษามาก

ขึ้นปละประมาณ 10,000 คน ดวยอัตราเงินเดือนเพิ่มสูงขึ้นรอยละ 3-5 ตอป

สําหรับแผนยุทธศาสตรทางศึกษาที่เรียกวา Educational Strategic Plan 2004/08 (พ.ศ. 2547-2551) หรือที่เรียกโดยยอวา ESP 2004/08 มีเปาหมายระยะยาวในการทําใหเด็กและเยาวชนชาวกัมพูชาทุกคนไดรับโอกาสทางการศึกษาที่มีคุณภาพอยางทั่วถึง ทุกระดับสถานะทางเศรษฐกิจ ทุกเพศ ทุกพื้นที่ ทุกเชื้อชาติ แมผูพิการทางรางกาย เพื่อใหสอดรับกับรัฐธรรมนูญของประเทศและความผูกพันที่ทางรัฐบาลมีตอ U.N. Convention on the Rights of the Child คําวา การศึกษาที่มีคุณภาพนั้น กัมพูชามุงใหผูสําเร็จการศึกษามีคุณภาพตามมาตรฐานสากลและภูมิภาค ในลักษณะที่สามารถแขงขันไดในตลาดแรงงานโลกและตลาดแรงงานตาง ๆ ในภูมิภาค ตลอดจนสามารถเปนกลไกขับเคลื่อนใหสังคมและเศรษฐกิจพัฒนาตอไป

สหภาพพมา ตั้งแตในสมัยโบราณ สังคมพมาใหความสําคัญกับการศึกษาอยางมาก โดยเฉพาะในสมัยกอน

การศึกษาในวัดเปนสิ่งที่นิยมและทําใหอัตราการรูหนังสือของประชาชนอยูในระดับดี แตเมื่อเขาถึงสมัยการปกครองโดยอังกฤษ อัตราการรูหนังสือลดต่ําลงเนื่องจากผูปกครองไมใหความสนใจมากนัก แตก็ยังมีความพยายามในหมูผูรูหนังสือโดยเฉพาะหลังจากป 2491

ในแนวทางการสงเสริมดานการศึกษาของพมานั้น เด็กพมาตั้งแตอายุ 5-10 ปตองเขาโรงเรียนซ่ึงเปนบริการที่รัฐมีใหโดยไมตองเสียคาใชจาย ทั้งนี้ เปนไปตามกฎหมายการศึกษาพื้นฐานป 2509 (Basic Education Law) และกฎหมายการศึกษาของสหภาพพมาป 2516 (Union of Burma Education Law) ทั้งนี้ ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การเรียนการสอนในวัดยังเปนแหลงความรูสําคัญสําหรับประชาชนในพื้นที่หางไกล ซ่ึงรัฐบาลพมาก็ยังใหการยอมรับการศึกษาในลักษณะนี้

การพัฒนาทางการศึกษาในสหภาพพมาไดวางเวนไปในระยะเวลาหนึ่ง จนกระทั่งเมื่อเดือนพฤษภาคม 2541 ที่มีการทบทวนหลักสูตรและกระบวนการเรียนการสอน โดยเนนในระดับประถมศึกษา มีการกําหนดปการศึกษาอยางเปนทางการเพื่อใหโรงเรียนทุกแหงดําเนินกิจกรรมตาง ๆ โดยพรอมเพรียงกัน เมื่อเดือนมีนาคม 2542 ตลอดจนมีการริเร่ิมจัดทําแผนการศึกษาอยางเปนทางการในระดับชาติ แบงออกเปนระยะยาว ระยะกลาง และระยะสั้น เพื่อรองรับศตวรรษที่ 21 ดังนี้

1) แผนระยะยาว 30 ป เรียกวา Thirty-Year Long-Term Education Development Plan 2001-02 FY – 2030-31FY ซ่ึงแบงออกเปน 6 ระยะ ๆ ละ 5 ป ในการทําระบบการศึกษาใหเอื้อตอการสรางสังคมแหงการเรียนรูในการพัฒนาชาติใหทันสมัยสูการเปนประเทศที่พัฒนาแลวในที่สุด ดวยเนนสาระสําคัญ 6 ดาน คือ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย การใชเทคโนโลยี การขยายขอบเขตดานการวิจัย การพัฒนาสังคมแหงการเรียนรูตลอดชีวิต การสงเสริมการศึกษาคุณภาพ และการรักษาเอกลักษณและคานิยมแหงชาติใหคงอยู ประกอบดวย 46 โครงการ โดยแบงออกเปน 2 ระดับ คือ

1.1) โครงการสําหรับพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน 10 โครงการ

1.1.1) การปรับปรุงระบบการศึกษาใหเอื้อตอการพัฒนาประเทศใหทันสมัยและเจริญกาวหนา

1.1.2) การศึกษาขั้นพื้นฐานสําหรับทุกคน 1.1.3) การยกระดับคุณภาพของการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1.1.4) การอํานวยใหนักเรียนเขาถึงการศึกษาทั้งในระดับกอนอาชีวศึกษาและ

ระดับอาชีวศึกษาในการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1.1.5) การปรับปรุงการเขาถึงเทคโนโลยีสารสนเทศในการเรียนรูเกี่ยวกับการ

สอนซึ่งจะนําไปสูระบบการศึกษาทางอิเลคทรอนิกส (e-education) 1.1.6) การผลิตพลเมืองที่มีการพัฒนารอบดาน 1.1.7) การยกระดับความสามารถดานการบริหารจัดการทางการศึกษา 1.1.8) การดําเนินกิจกรรมดานการศึกษาขั้นพื้นฐานรวมกับชุมชน 1.1.9) การปรับปรุงกิจกรรมเกี่ยวกับการศึกษานอกระบบ 1.1.10) การยกระดับการวิจัยทางการศึกษา

1.2) โครงการสําหรับพัฒนาอุดมศึกษา 36 โครงการ ครอบคลุมดานการพัฒนาทรัพยากรมนุษย การใชเทคโนโลยี การวิจัย การสรางสังคมแหงการเรียนรูตลอดชีวิต การปรับปรุงการศึกษาในเชิงคุณภาพ การรักษาอัตลักษณแหงชาติและคานิยมประจําชาติ

2) แผนระยะกลาง 4 ป เรียกวา Special Four-Year Plan for Education (2000-01 FY to 2003-04) ประกอบดวยโครงการตาง ๆ รวมทั้งสิ้น 27 โครงการโดยแบงออกเปน 2 ระดับ คือ

2.1) โครงการสําหรับพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน 6 โครงการ 2.1.1) การทบทวนและปฏิรูปหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2.1.2) การนําระบบประเมินผลแบบใหมมาใช การกําหนดระยะเวลาการศึกษาขั้น

พื้นฐานใหม และการปรับโครงสรางการสอบเขาศึกษาในระดับอุดมศึกษา 2.1.3) การนําระบบชั้นเรียนแบบมัลติมีเดียมาใชเพื่อยกระดับกระบวนการเรียนการ

สอน 2.1.4) การยกระดับคุณภาพการศึกษาของครู 2.1.5) การสนับสนุนกิจกรรมการพัฒนาแบบครบวงจร 2.1.6) การอํานวยใหประชาชนไดรับการศึกษาในระดับประถมศึกษาอยางทั่วถึง

2.2) โครงการสําหรับพัฒนาระดับอุดมศึกษา ซ่ึงเปนการเนนเกี่ยวกับการยกระดบัคณุภาพทางการศึกษา การนําเทคโนโลยีสารสนเทศเขามาใชในระบบการศึกษา การพัฒนาการวิจัยใหรุดหนา การพัฒนาสังคมแหงการเรียนรูตลอดชีวิต และการสงเสริมความรวมมือระหวางประเทศ จํานวนทั้งสิ้น 21 โครงการดังตอไปนี้

2.2.1) การทบทวนและปฏิรูปหลักสูตรการเรียนการสอนในมหาวิทยาลัย และสถานศึกษาอื่น ๆ ในระดับปริญญาใหไดมาตรฐานสากล ตลอดจนการสงเสริมลักษณะสหสาขาวิชา

2.2.2) การทบทวนระบบการประเมินผลใหสอดรับการเปลี่ยนแปลงดานหลักสูตรการเรียนการสอนตามมาตรฐานสากล

2.2.3) การสงเสริมทักษะการคิดวิเคราะห การสรางสรรคความคิดใหมๆ ดวยตนเองโดยไมลอกเลียนแบบใคร ความสามารถในการใชและพัฒนาเทคโนโลยีทันสมัยโดยอาศัยการเปล่ียนแปลงดานหลักสูตรการเรียนการสอน

2.2.4) การลดอุปสรรคตอระบบการศึกษาในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย 2.2.5) การพัฒนาระบบการศึกษาที่สามารถสงเสริมใหเกิดการเรียนรูตลอดชีวิต

และการศึกษาอยางตอเนื่อง 2.2.6) การแสวงหาแนวทางและวิธีการในการแปลงระบบอุดมศึกษาทางไกลสู

ระบบมหาวิทยาลัยเปด 2.2.7) การศึกษาวิจัยทั้งในสวนที่สงเสริมวิชาการและในสวนที่สงเสริมความ

ตองการของภาคเอกชนผูประกอบการ ตลอดจนองคกรตาง ๆ ในการแสวงหาเทคโนโลยีอันทันสมัยที่เหมาะสมและเปนประโยชนโดยตรงตอประเทศชาติ

2.2.8) การสรางเครือขายความรวมมือกับมหาวิทยาลัยตาง ๆ ทั้งในระดับเอเชียตะวันออกเฉียงใตและในระดับสากล

2.2.9) การสรางระบบบริหารจัดการทางการศึกษาใหมหาวิทยาลัยและสถานศึกษาอ่ืน ๆ ในระดับปริญญา ธํารงอยูไดดวยตนเอง

2.2.10) การจัดทําโครงการทางการศึกษาในลักษณะที่ตอบสนองตอความตองการและความจําเปนของชุมชน

2.2.11) การยกระดับหองปฏิบัติการทางวิทยาศาสตรเพื่อใหการศึกษาวิจัยดําเนินไปไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยอาศัยเทคโนโลยีและเครื่องมือตาง ๆ อันทันสมัย ตั้งแตระดับปริญญาตรีไปจนถึงระดับปริญญาเอก

2.2.12) การจัดตั้งระบบสารสนเทศทางการศึกษาที่สามารถใชส่ือสารถึงกันระหวางสถานศึกษาและหนวยงานตาง ๆ ที่เกี่ยวของ (Intranet)

2.2.13) การใชเทคโนโลยีสารสนเทศในศูนยขอมูลระบบมัลติมีเดียตามสถานศึกษาตาง ๆ ในระดับอุดมศึกษาเพื่อประโยชนดานการเรียนการสอนและการวิจัย

2.2.14) การใชเทคโนโลยีสารสนเทศในศูนยการเรียนรูระบบมัลติมี เดียตามมหาวิทยาลัยเปดเพื่อสงเสริมการเรียนรู

2.2.15) การจัดตั้งหองปฏิบัติการทางภาษาในสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา

2.2.16) การยกระดับหอสมุดกลางของมหาวิทยาลัยตาง ๆ และในสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาทั้งหลายที่ใชเทคโนโลยีสารสนเทศ ในการอํานวยความสะดวกตอการใชหองสมุดโดยไมตองมาที่หองสมุด

2.2.17) การมีโครงสรางตาง ๆ ที่จําเปนตอการจัดทําระบบการศึกษาแบบเปด 2.2.18) การตอบสนองความตองจําเปนของสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาในการ

ปรับปรุงสิ่งอํานวยความสะดวกตาง ๆ 2.2.19) การผลิตและเผยแพรส่ือประเภทโสตทัศนวัสดุเพื่อการเรียนการสอน โดยใช

เทคโนโลยีและอุปกรณทันสมัยซ่ึงเหมาะตอเงื่อนไขและความจําเปนในระดับทองถ่ิน 2.2.20) การผลิตและเผยแพรส่ือประเภทโสตทัศนวัสดุเพื่อการเรียนรูและการฝก

ปฏิบัติตามบทเรียนของหลักสูตรตาง ๆ ในชั้นเรียนที่ใชระบบมัลติมีเดียตามโรงเรียนที่เปดสอนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

2.2.21) การผลิตสื่อประเภทโสตทัศนวัสดุที่สอดรับในระดับรายวิชาเพื่ออํานวยความสะดวกตอนักศึกษามหาวิทยาลัยในการเรียนรูผานระบบการสอนทางไกล

3) แผนระยะสั้น 2 ป เรียกวา Short-Term Education Development Plan 2001-2002 เนนการพัฒนาความเชี่ยวชาญดานเทคโนโลยีทั้งในระดับพื้นฐานและระดับสูง เพื่อสรางกลุมคนที่มีคุณภาพและทักษะทางดาน ICT ซ่ึงจําเปนสําหรับการทํางานในยุคนี้

สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว นับตั้งแตที่ไดสถาปนาเปนประเทศเอกราชในป 2518 ส.ป.ป.ลาว ใหความสําคัญกับการศึกษา

เร่ือยมา โดยเฉพาะอยางยิ่งการประถมศึกษา เทคนิคศึกษา และการรูหนังสือของประชาชนที่มีอายุ 14-15 ป แนวทางดังกลาวยังสานตอ แมเมื่อ ส.ป.ป.ลาวไดเร่ิมการปฏิรูปเศรษฐกิจภายในประเทศ จากระบบที่มีการวางแผนจากสวนกลางมาเปนการดําเนินนโยบายตลาดเสรี ในป 2529 ทวาดวยจุดเนนที่แตกตางไปจากอดีต คือ เปนการเนนการศึกษาเพื่อพัฒนาทุนมนุษยและแกปญหาความยากจนเพื่อกอใหเกิดความเจริญอยางยั่งยืนและพัฒนาอยางรวดเร็ว โดยมีการจัดทําแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติเปนแนวทางในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ซ่ึงกําหนดใหการศึกษาเปนความจําเปนทางสังคมที่จะตองฝกใหประชาชนพัฒนาไปในลักษณะที่สอดรับกับการปรับตัวสูระบบเศรษฐกิจที่อิงกลไกตลาด ทั้งนี้ แนวทางการพัฒนาการศึกษาของ ส.ป.ป. ลาว มีการปรับปรุงเปนลําดับ

ในการยกระดับการศึกษาแหงชาติใหสูงขึ้นเปนแนวทางหลักประการหนึ่งในการพัฒนาและทรัพยากรมนุษยเพื่อการผลิต ใหสอดรับกับเปาหมายในการมุงยกระดับความกาวหนาทางเศรษฐกิจและสังคมนั้น ในป 2536 มีการกําหนดแนวทางในการพัฒนาการศึกษา 3 แนวทางคือ

4) การพัฒนาในแนวทางที่เรียกวา การศึกษาสําหรับทุกคน (Education For All) และใหการศึกษาไดรับความสําคัญในเชิงนโยบายเปนลําดับตน เพื่อรองรับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม

5) การยกระดับคุณภาพการศึกษาอยางจริงจังและการสรางความรวมมือระหวางการศึกษาในระบบโรงเรียนกับการศึกษาในสังคมและครอบครัว และ

6) การปรับปรุงและพัฒนาการศึกษาใหทันสมัยในทุกระดับทั้งสามัญศึกษาและอาชีวศึกษา ทั้งในสวนของภาครัฐและในสวนของภาคเอกชน ทั้งในและนอกระบบโรงเรียน ในลักษณะที่สอดรับความกาวหนาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

ตอมา ในป 2540 คณะกรรมการวางแผนรัฐแหง ส.ป.ป.ลาว (State Planning Committee of Lao PDR) ไดจัดทําโครงการพัฒนาทรัพยากรมนุษยระยะกลาง 2540-2543 ขึ้นเพื่อเปนกรอบแนวทางกวาง ๆ ในการจัดลําดับความสําคัญการดําเนินการตางๆ ในการพัฒนาการศึกษาใหสอดรับกับแนวทางการปฏิรูปเศรษฐกิจภายในประเทศ โดยมีปรัชญาวา “จะสงเสริมการพัฒนาอยางเปนองครวมและบูรณาการซึ่งครอบคลุมวิธีการตาง ๆ หลากหลายในลักษณะที่สอดรับกันระหวางภาคสวนตาง ๆ” โครงการพัฒนาทรัพยากรมนุษยกําหนดแนวทางใหภาคการศึกษาเนนความสนใจและแนวทางการปรับปรุงไปที่ 3 สวนหลัก คือ

1) ความสามารถของผูบริหารในทุกระดับ 2) คุณภาพของครูในทุกระดับ โดยเฉพาะอยางยิ่งในระดับจังหวัด และ 3) แรงจูงใจจากชุมชน โดยเฉพาะอยางในพื้นที่หางไกลความเจริญและในบรรดาชนกลุม

นอยตาง ๆ ในปจจุบันเมื่อเขาสูศตวรรษที่ 21 แนวทางการพัฒนาการศึกษาของ ส.ป.ป. ลาว เปนการ

ดําเนินการตามกรอบนโยบายทางการศึกษาชวง 5 ปตั้งแตป 2544 ถึง 2548 ซ่ึงแบงวัตถุประสงคออกไดเปน 4 สวนหลัก ดังนี้

1) การเขาถึงการศึกษาอยางเทาเทียมกัน ประกอบดวย 1.1) การขยายโรงเรียนใหเพิ่มมากขึ้น 1.2) การฟนฟูและบูรณะโรงเรียนที่มีอยูแลว 1.3) การยกระดับบทบาทของภาคเอกชน 1.4) การจัดทําโครงการเฉพาะซึ่งมุงใหกลุมประชาชนที่เสียเปรียบทางสังคมเขาถึง

การศึกษามากขึ้น 1.5) การศึกษาความเปนไปไดสําหรับการศึกษาแบบเปด 1.6) การขยายโอกาสสําหรับการศึกษานอกระบบ

2) การยกระดับคุณภาพทางการศึกษา ประกอบดวย 2.1) การยกระดับคุณภาพครูทุกระดับผานโครงการฝกอบรมทั้งกอนที่จะเปนครูและ

เมื่อเปนครูแลว

2.2) การยกระดับคุณภาพหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานหรือการศึกษาทั่วไป และอาชีวศึกษา

2.3) การพัฒนาเครื่องมืออุปกรณการเรียนการสอนใหมีคุณภาพและใหสามารถผลิตไดเองในระดับจังหวัด

3) การปรับปรุงความเชื่อมโยงสวนตาง ๆ ในระบบการศึกษาใหสอดคลองกัน 3.1) การศึกษาความเปนไปไดสําหรับการศึกษาทางไกลและการทําใหการศึกษาสอดรับ

กับสังคมมากขึ้น 3.2) การปรับปรุงหลักสูตรใหสอดรับกับการเปลี่ยนแปลงตาง ๆ 3.3) การจัดตั้งกองทุนในการสงเสริมใหภาคเอกชนมีสวนรวมในการศึกษามากขึ้น 3.4) การนําการแนะแนวมาใชในการใหความชวยเหลือตาง ๆ แกนักเรียน 3.5) การกระชับความเชื่อมโยงระหวางสถาบันการศึกษา ภาคอุตสาหกรรมและ

ภาคเอกชน 4) การทําใหการบริหารจัดการและการวางแผนแข็งแกรงมากขึ้น

4.1) การเพิ่มความแข็งแกรงในการวางแผนปฏิบัติการและการวางแผนพัฒนาทรัพยากรมนุษย

4.2) การกระชับเครือขายทางการศึกษาที่มีอยูแลวในระดับกลางและระดับจังหวัดใหเขมแข็งมากขึ้น

4.3) การยกระดับความสามารถดานงบประมาณและการคลัง 4.4) การบริหารจัดการโครงการลงทุน การกํากับดูแลและการยกระดับความสามารถใน

การประสานงานภายในกระทรวงศึกษาฯ

ทั้งนี้ ส.ป.ป. ลาว ไดมีการจัดทําแผนพัฒนาการศึกษา 2544-2548 โดยกําหนดเปาหมายดําเนินการไว 15 ประการดังนี้

1) การขยายการดูแลเด็กกอนวัยเรียน โดยการสงเสริมการประสานงานระหวางภาครัฐ ชุมชน และภาคเอกชนในการจัดตั้งโรงเรียนสําหรับเด็กกอนวัยเรียนใหเพิ่มมากขึ้นอยางนอยรอยละ 5 ตอป

2) การบังคับใชการศึกษาภาคบังคับระดับประถมศึกษา โดยตั้งเปาใหอัตราการเขาเรียนสุทธิ เพิ่มจากรอยละ 77 ในป 2543 เปนรอยละ 85 ในป 2548

3) การดําเนินการอยางตอเนื่องในการขยายจํานวนโรงเรียนระดับประถมศึกษาในพื้นที่ชนกลุมนอยและพื้นที่ชนบทหางไกลความเจริญ โดยอาศัยการสอนคละระดับชั้นและการจัดกลุมโรงเรียนใหสอดรับกับความจําเปนขั้นพื้นฐาน

4) การสรางเงื่อนไขที่เหมาะสมตอการลดอัตราการเรียนซ้ําชั้นและการลาออกกลางคันใหเหลืออยางนอยรอยละ 2 และรอยละ 3 ตอปตามลําดับ

5) การปรับเครือขายมัธยมศึกษาโดยการขยายจํานวนโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนตนทั่วประเทศและทําใหการเขาเรียนโดยรวมเพิ่มขึ้นจากรอยละ 45 ในป 2543 เปนรอยละ 52 ในป 2548 ขยายจํานวนโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายพรอมกับการพัฒนาหลักสูตรและกลุมวิชาแกนตางๆ ตลอดจนการเพิ่มอัตราการเขาเรียนโดยรวมจากรอยละ 22 ในป 2543 เปนรอยละ 24 ในป 2548

6) การเพิ่มอัตราการรูหนังสือ ในกลุมประชากรวัย 15-40 ป จากรอยละ 80 ในป ในป 2543 เปนรอยละ 85 ในป 2548 และเพิ่มอัตราการรูหนังสือ ในกลุมประชากรวัย 15 ปขึ้นไป จากรอยละ 74 ในป ในป 2543 เปนรอยละ 80 ในป 2548

7) การดําเนินการอยางตอเนื่องในการยกระดับผูรูหนังสือรายใหม ๆ อยางนอยรอยละ 30 ใหเรียนจบชั้นประถมศึกษา สําหรับการยกระดับสูมัธยมศึกษาตอนตนและตอนปลายนั้น ยังคงเนนที่การตอบสนองตอความจําเปนที่แทจริงและเงื่อนไขตาง ๆ ทางเศรษฐกิจสังคมตอไป

8) การปรับปรุงคุณภาพการฝกครูระดับประถมและมัธยมศึกษา ยกระดับครูที่ไมเคยผานการฝกอบรมใหมีคุณสมบัติขั้นพื้นฐานที่จําเปน อีกทั้งจัดใหมีวิชาบังคับและวิชาเลือกตาง ๆ เพิ่มมากขึ้นในหลักสูตรการฝกอบรมครู

9) การปรับปรุงสมรรถนะของผูฝกอบรมครูตั้งแตระดับวิทยาลัยครู โรงเรียนฝกอบรมครู ไปจนถึงสถาบันการศึกษาระดับปริญญาตรี โดยเฉพาะอยางยิ่งในระดับวิทยาลัยครู และโรงเรียนฝกอบรมครูนั้น เนนดานภาษาอังกฤษ ทักษะทางคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีทางการศึกษาขั้นสูง

10) การสงเสริมและขยายโรงเรียนระดับอาชีวศึกษาและโรงเรียนเทคนิคตาง ๆ ของภาคเอกชนใหสามารถรับนักเรียนไดเพิ่มมากขึ้นอยางตอเนื่องและสอดคลองกับระบบของภาครัฐ

11) การสงเสริมโรงเรียนอาชีวศึกษาที่มีอยูตามภูมิภาคตาง ๆ ทั่วประเทศใหแข็งแกรงมากขึ้น

12) การสงเสริมใหเด็กนักเรียนหญิงและชนกลุมนอยตาง ๆ เขาเรียนในระดับอุดมศึกษามากขึ้น และเพิ่มสัดสวนนักเรียนตอจํานวนประชากรทั้งหมดจาก 350/100,000 คน ในป 2543 เปน 450/100,000 คน ในป 2548

13) การกําหนดภาระงานของผูบริหารทางการศึกษาและที่ปรึกษาตาง ๆ 14) การทําใหระบบสารสนเทศดานการบริหารจัดการทางการศึกษาบูรณาการกันอยาง

กระชับแนนมากขึ้น 15) การพยายามเพิ่มสัดสวนงบประมาณของภาครัฐดานการศึกษาจากรอยละ 13 ในป 2543

เปนรอยละ 14 ภายในป 2548

สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม จากการเปนประเทศที่มีประชากรอยูกันอยางหนาแนน ผานการทําสงครามภายในประเทศ

เปนเวลานาน ดวยความแข็งตัวของระบบเศรษฐกิจแบบควบคุมอยูที่ศูนยกลาง ทําใหเวียดนามตองใชเวลานานในการฟนตัวและเปลี่ยนจากระบบเศรษฐกิจแบบควบคุมเขมงวด มาเปนระบบตลาดเพื่อกาวพนจากปญหาความยากจนและเพื่อเพิ่มศักยภาพทางเศรษฐกิจ โดยมีการศึกษาเปนยุทธศาสตรสําคัญสวนหนึ่งของประเทศ

กฎหมายแรกเกี่ยวกับการเผยแพรการศึกษาขั้นประถมไดผานรัฐสภาในวันที่ 12 สิงหาคม 2543 เปนกฎหมายที่กําหนดวาจะจัดการศึกษาขั้นประถมศึกษาฟรีใหแกชาวเวียดนาม ในปจจุบันนี้ การศึกษาไดกาวไปถึงขั้นมัธยมตนใน 16 จังหวัด คาดวาภายในป 2548 การศึกษาในระดับมัธยมตนจะครอบคลุมถึง 30 จังหวัด เวียดนามมีการจัดทําแผนยุทธศาสตรในการพัฒนาการศึกษาแหงชาติระยะยาวสําหรับป 2544 - 2553 โดยมีสาระสําคัญดังนี้คือ

1) การปรับปรุงคุณภาพของการศึกษาไปในทิศทางที่เขาถึงการศึกษาระดับสูงของโลก เหมาะกับวิธีปฏิบัติของชาวเวียดนาม ตอบสนองตอการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชาติ ภูมิภาค และทองถ่ิน และมุงสูสังคมการเรียนรู เพื่อนําการศึกษาของประเทศออกไปใหหางจากความดอยพัฒนา

2) การใหความสําคัญกับการอบรมบุคลากรทางดานวิทยาศาสตรเทคโนโลยีขั้นสูง และความสามารถทางการจัดการธุรกิจซึ่งจะนําไปสูความสามารถในการแขงขันทางเศรษฐกิจ นอกจากนี้ ยังใหความสําคัญกับการจัดการศึกษาระดับมัธยมตน

3) การรเิร่ิมจัดทําเปาหมาย วิธีการ และหลักสูตรในทุกระดับ พัฒนาครูเพื่อใหตอบสนองกับการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน ริเร่ิมการจัดการทางการศึกษาและริเร่ิมพื้นฐานทางกฎหมายเพื่อสรางพลังในการพัฒนาการศึกษา

การศึกษานอกระบบเปนแนวทางที่สําคัญสวนหนึ่งของเวียดนาม โดยอาศัยหลักการเรียนรูตลอดชีวิต ทั้งนี้ เวียดนามการกําหนดเปาหมายการพัฒนาการศึกษาใหมีลักษณะตอไปนี้ภายในป 2553

1) การพัฒนาการศึกษานอกระบบใหเปนการขับเคลื่อนชุมชนไปสูสังคมการเรียนรู เปดโอกาสใหประชาชนทุกคนไดมีการเรียนรูอยางตอเนื่องตามสถานภาพของแตละคนเพื่อเปนการสงเสริมคุณภาพของทรัพยากรมนุษย

2) การลดอัตราการไมรูหนังสือในกลุมผูใหญโดยเฉพาะในทองถ่ินที่หางไกลและตามภูเขาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการศึกษาตอเนื่องซึ่งจะนําไปสูการมีความรูในระดับมัธยมตนอยางทั่วถึง

3) การเปดโอกาสใหผูที่ทํางานแลวไดรับการอบรมเรียนรูจากหลักสูตรสั้นเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต เพิ่มรายได และโอกาสในการเปลี่ยนงาน

ในปจจุบัน เวียดนามยังไดจัดทําแผนปฏิบัติแหงชาติระยะยาวดานการศึกษา เรียกวา National Education for All Action Plan 2003-2015 โดยไดรับความรวมมือจาก UNESCO ในฐานะเครื่องมือของรัฐบาลในการปรับตัวเชิงนโยบายในระดับมหภาคใหสอดคลองกับแนวทาง Education for All ตลอดจนแนวนโยบายของรัฐบาลในการปรับปรุงภาคการศึกษาใหทันสมัยตามที่ไดที่ไดลงนามรับรอง Daka Framework for Action, Education for All: Meeting our Collective Commitments รวมกับประเทศอื่น ๆ อีกกวา 150 ประเทศที่รวมประชุมใน World Education Forum ที่เมือง Dakar ประเทศเซเนกัลเมื่อเดือนเมษายน 2543 อีกทั้งเปนกรอบปฏิบัติสําหรับระดับจังหวัดและเมืองในการพัฒนาแผนการดําเนินงานของตน หรือที่เรียกวา Provincial Education for All Plans ตอไป

National Education for All Action Plan 2003-2015 (พ.ศ. 2546 - 2558) ของเวียดนามมีกรอบแนวทางที่สรางความสอดคลองกันระหวางเปาหมายทางการศึกษา 3 ดานหลัก คือ การเขาถึงการศึกษา คุณภาพทางการศึกษา และการบริหารจัดการทางการศึกษา ในการพัฒนากลุมเปาหมาย 4 กลุมหลัก คือ กลุมการดูแลและการศึกษาปฐมวัย กลุมประถมศึกษา กลุมมัธยมศึกษาตอนตน และกลุมการศึกษานอกระบบ ซ่ึงเวียดนามหวังวา จะอํานวยใหระบบการศึกษาของเวียดนามกาวหนาอยางมีนัยสําคัญดังนี้หากแผนปฏิบัติการดังกลาวประสบความสําเร็จในภาคปฏิบัติจริง

1) เด็กปฐมวัยทุกคนจะไดรับการดูแลและเตรียมความพรอมดานการศึกษาเปนเวลาหนึ่งปกอนเขาเรียนในชั้นประถมปที่ 1

2) เด็กนักเรียนจะไดรับการศึกษาขั้นพื้นฐานอยางทั่วถึงเปนเวลา 9 ป โดยเด็กทุกคนที่มีอายุ 6 ป จะไดเขาเรียนในชั้นประถมศึกษาปที่ 1 และสามารถเรียนตอตามขั้นตอนไปจนตลอดการศึกษาขั้นพื้นฐาน 9 ป

3) เด็กนักเรียนทุกคนจะไดรับการศึกษาโดยไมตองเสียคาใชจาย ตามมาตรฐานการศึกษาระดับนานาชาติ 900 ช่ัวโมงตอปการศึกษา และดวยมาตรฐานการศึกษาที่ปรับปรุงใหดีขึ้นเรื่อย ๆ

4) ทองถ่ินตาง ๆ จะไดรับการจัดสรรโครงการศึกษาและสิ่งอํานวยความสะดวกในการเรียนรูและฝกทักษะในการดํารงชีวิตที่ทันสมัย (Modern Life Skills)

5) คุณภาพของกระบวนการเรียนการสอนจะกาวสูระดับมาตรฐานสากลอันทันสมัย ผานกระบวนการปรับปรุงหลักสูตรการเรียนการสอนอยางตอเนื่อง โครงการพัฒนาครูทั้งกอนและระหวางประจําการ ตลอดจนการนํามาตรฐานขั้นต่ําดานการเรียนรูอยางมีคุณภาพมาประยุกตใชในทุกโรงเรียน

6) ผลลัพธทางการศึกษาจะสอดรับโดยตรงตอเศรษฐกิจและสังคมที่ทันสมัย สงผลใหเวียดนามมีความเจริญกาวหนาทางเศรษฐกิจและสังคมอยางมั่นคงมากยิ่งขึ้น

7) การบริหารจัดการทางการศึกษาจะมีโครงสรางและกระบวนการกระจายอํานาจที่ทันสมัย

การเปรียบเทียบจุดเดนรวมในดานแนวทางและแผนการพัฒนาการศึกษา

ขอคนพบหลักของงานวิจัยในสวนนี้ คือ การที่ประเทศอาเซียนทุกประเทศใหความสําคัญกับการพัฒนาการศึกษาของประเทศ โดยเฉพาะอยางยิ่งในการที่จะทําใหการศึกษานั้นมีสวนสําคัญในการทําใหประเทศมีพัฒนาการทางเศรษฐกิจที่กาวหนามากขึ้น หลายประเทศทั้งที่เปนสมาชิกดั้งเดิมและสมาชิกใหมยังคงใหความสําคัญกับบทบาทของการศึกษาในการขจัดความยากจนและการกาวพนจากความดอยพัฒนาทางเศรษฐกิจ ในขณะเดียวกันไดมุงหวังใหการศึกษาเปนเครื่องมือในการยกระดับศักยภาพการแขงขันของประเทศในระดับสากล โดยมีบางประเทศสมาชิกใหมของอาเซียนปรารถนาใหตนมีศักยภาพทัดเทียมกับประเทศอื่น ๆ ภายในอาเซียนดวยกันเอง

ทั้งนี้ ทุกประเทศอาเซียนมีฐานการปรับปรุงและพัฒนาการศึกษาของประเทศตั้งแตระดับกฎหมายสูงสุดของประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ โดยมีการจัดทํากฎหมายวาดวยการศึกษา สอดคลองรองรับ ซ่ึงประเทศสวนใหญมีการจัดทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนาการศึกษาแหงชาติ ถึงแมวาจะมีเพียงไมกี่ประเทศที่ใหแผนดังกลาวอยูในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติก็ตาม โดยแผนดังกลาวมีความสําคัญในลักษณะของแผนยุทธศาสตรช้ีนําในการจัดทําและดําเนินการแผนตางๆ อยางตอเนื่องสอดคลองกันทั้งประเทศ ซ่ึงอาจแบงออกไดเปน แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน แผนพัฒนาการอาชีวศึกษา แผนพัฒนาการอุดมศึกษา ตลอดจนแผนปฏิบัติการในระดับเขตพื้นที่การศึกษาและในระดับสถานศึกษา ในการพัฒนาสังคมใหเปนสังคมแหงความรู นําพาไปสูระบบเศรษฐกิจฐานความรู ใหประชาชนพลเมืองในแตละประเทศไดรับโอกาสเทาเทียมกันในการเรียนรู และมีปญญาเปนทุนไวสรางงานสรางรายได พาประเทศสูเปาหมายที่วางไว กระนั้นก็ตาม หลายประเทศอาเซียนยังคงหางไกลจากขั้นตอนในการกาวถึงแผนเฉพาะแยกยอยขางตน

บทที่ 3 ยุทธศาสตรการปฏิรูปการศึกษาของประเทศในกลุมอาเซียน

บทนี้เปนการรายงานผลการวิจัยในลักษณะของการเปรียบเทียบดานยุทธศาสตรการปฏิรูปการศึกษาของประเทศในกลุมอาเซียน ซ่ึงงานวิจัยนี้แบงออกเปน 2 กลุมยอย คือ กลุมประเทศสมาชิกดั้งเดิมของอาเซียน 6 ประเทศ และกลุมประเทศสมาชิกใหมของอาเซียน 4 ประเทศ โดยเรียงตามลําดับตัวอักษรของชื่อประเทศ

ทั้งนี้ การนําเสนอรายงานแบงออกเปน 7 สวน คือ ยุทธศาสตรการปฏิรูปการศึกษาของกลุมประเทศสมาชิกดั้งเดิมของอาเซียน ยุทธศาสตรการปฏิรูปการศึกษาของกลุมประเทศสมาชิกใหมของอาเซียน การเปรียบเทียบยุทธศาสตรในการปฏิรูปการศึกษาระดับตางๆ การเปรียบเทียบยุทธศาสตรการผลิตและการพัฒนาครู การเปรียบเทียบยุทธศาสตรดานกลไกและการบริหารจัดการ จุดเดนรวมดานการปฏิรูปการศึกษา และความกาวหนา/ดัชนีความสําเร็จ ยุทธศาสตรการปฏิรูปการศึกษาของกลุมประเทศสมาชิกด้ังเดิมของอาเซียน ไทย

การปฏิรูปการศึกษา เปนวาระแหงชาติของไทย หลังจากที่ไดมีการประกาศใชรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2540 และการประกาศใชพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 รัฐบาลปจจุบันไดแถลงนโยบายตอรัฐสภาเมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ พ.ศ. 2544 แสดงเจตนารมณที่จะปฏิรูปการศึกษาของประเทศ เพื่อพัฒนาคุณภาพของประชากรไทย โดยเนนการสรางคน สรางงานและสรางชาติ ในการจัดการศึกษาซึ่ง อาจจัดได 3 รูปแบบ คือ การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยซ่ึงสามารถเทียบโอนผลการเรียนรูได การศึกษาในระบบซึ่งแบงออกไดเปน 2 ระดับคือ การศึกษาขั้นพื้นฐาน และการศึกษาระดับอุดมศึกษานั้น สามารถจัดไดในสถานศึกษาที่มีลักษณะหลากหลาย ทั้งในสถานศึกษาของรัฐและเอกชน รวมทั้งในสถานประกอบการ หนวยงานอื่นของรัฐอาจจัดการศึกษาเฉพาะทางได ทั้งนี้ มาตรา 17 แหงพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ กําหนดใหมีการศึกษาภาคบังคับจํานวน 9 ป โดยใหเด็กซึ่งมีอายุยางเขาปที่เจ็ด เขาเรียนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานจนอายุยางเขาปที่สิบหก เวนแตสอบไดช้ันปที่เกาของการศึกษาภาคบังคับ

ยุทธศาสตรและวิสัยทัศน ในการดําเนินงานเพื่อการปฏิรูปการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 คณะกรรมการอํานวยการปฏิรูปการศึกษา ไดจัดทําขอเสนอยุทธศาสตรการปฏิรูปการศึกษาในดานตางๆ 7 ดาน คือ (สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2547)

1) ยุทธศาสตรดานหลักสูตรการเรียนการสอนของการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประกอบดวย 1.1) การสรางความพรอมและความเขาใจใหแกครูและผูบริหาร 1.2) การทบทวน

โครงสราง สาระของหลักสูตร และมาตรฐานการเรียนรู 1.3) การปรับระบบการรับบุคคลเขาศึกษาใน

สถาบันอุดมศึกษาใหเกื้อกูลกับการเรียนการสอนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ 1.4) การเชือ่มโยงเร่ืองหลักสูตร การจัดการเรียนการสอนกับการประกันภายในและการจัดการภายในสถานศึกษาเพื่อพรอมรับการประเมินภายนอก

2) ยุทธศาสตรการปฏิรูปการผลิตและการพัฒนาครู ประกอบดวย 2.1) การฟนศรัทธาวิชาชีพครู 2.2) การพัฒนาศักยภาพครูประจําการ 2.3) การผลิตครูแนว

ใหม และ 2.4) ยุทธศาสตรเชิงบริบทและเงื่อนไข ซ่ึงครอบคลุมการผลักดันการทํางานของเขตพื้นที่การศึกษาและระบบบริหารจากฐานโรงเรียนใหเปนรูปธรรมโดยเร็ว การพัฒนาโครงสรางพื้นฐานดานเครือขาย ICT ในโรงเรียนและทองถ่ินชนบท การพัฒนาประสิทธิภาพระบบงบประมาณใหมที่เนนผลงาน และการเรงรัดจัดตั้งสถาบันพัฒนาและสงเสริมครู คณาจารย และบุคลากรทางการศึกษา

3) ยุทธศาสตรการปฏิรูปอาชีวศึกษาและฝกอบรม ประกอบดวย 3.1) การปรับทิศทางและแนวทางการจัดการอาชีวศึกษาแนวใหม ดวยการเรงรัดการจดัทาํ

นโยบายและแผนการพัฒนากําลังคนของชาติ การสงเสริมการพัฒนาระบบคุณวุฒิวิชาชีพและการปฏิรูปการเรียนรู และการเรงรัดการปฏิรูประบบการเรียนรูใหสอดคลองกับความตองการของตลาดแรงงาน รวมถึงอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดยอม 3.2) การปรับระบบบริหารและการจัดการ ดวยการปฏิรูประบบบริหารและการจัดการ การพัฒนาระบบความรวมมือ การพัฒนาระบบคุณภาพมาตรฐาน และ 3.3) การปรับระบบการเงินและทรัพยากร

4) ยุทธศาสตรการปฏิรูปอุดมศึกษา ประกอบดวย 4.1) การปฏิรูปโครงสรางและระบบบริหารจัดการอุดมศึกษา ทั้งในระดับประเทศและ

ระดับสถาบัน 4.2) การปฏิรูปการเงินอุดมศึกษา เพื่อใหการจัดสรรงบประมาณเปนกลไกในการกํากับการดําเนินภารกิจของสถาบันอุดมศึกษาใหเปนไปอยางมีคุณภาพ มาตรฐานและมีการบริหารจัดการอยางมีประสิทธิภาพ สอดคลองกับนโยบายและทิศทางการพัฒนาประเทศ 4.3) การผลิตกําลังคนและการกระจายโอกาสอุดมศึกษา เพื่อขยายปริมาณการผลิตกําลังคน โดยเฉพาะสาขาที่ขาดแคลน และการกระจายโอกาสการเขาถึงอุดมศึกษาแกประชาชน ตามความรู ความสามารถ อยางทั่วถึงและเปนธรรม 4.4) การปฏิรูปการเรียนการสอนและการวิจัย โดยมีเกณฑมาตรฐาน (Benchmark) และแนวปฏิบัติที่ดี (Best Practice) ตลอดจนการจัดอันดับสถาบันอุดมศึกษาเพื่อกระตุนการพัฒนาคุณภาพ 4.5) การปฏรูิประบบการพัฒนาคณาจารยและบุคลากรอุดมศึกษา เพื่อจูงใจบุคลากรที่มีความรู ความสามารถเขาสูระบบอุดมศึกษา และพัฒนาผูบริหาร คณาจารย และบุคลากรที่มีอยูในระบบใหมีคุณธรรม จริยธรรม มีจรรยาบรรณในวิชาชีพ สามารถปรับตัวใหกาวทันการเปลี่ยนแปลง 4.6) การมีสวนรวมของเอกชนในการบริหาร และการจัดการอุดมศึกษา

5) ยุทธศาสตรการปฏิรูปการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเพื่อสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิต ประกอบดวย

5.1) การจําแนกกลุมเปาหมายใหชัดเจน และการจัดกิจกรรมที่หลากหลาย เหมาะสมและสอดคลองกับความตองการของกลุมเปาหมาย 5.2) การจัดการความรูและแหลงเรียนรู 5.3) การสงเสริมใหชุมชนเปนศูนยกลางของการเรียนรูตลอดชีวิต 5.4) การจัดสรรงบประมาณที่มุงกระจายอํานาจใหถึงกลุมเปาหมายโดยตรง 5.5) การบริหารจัดการที่มุงเนนการสงเสริม ประสานงาน และอํานวยความสะดวก โดยใหการปรับบทบาทหนวยงานการศึกษานอกโรงเรียน (กศน.) เปนมาตรการเรงดวน

6) ยุทธศาสตรการปฏิรูปการมีสวนรวมของพอแม ผูปกครอง ประชาชน ชุมชนและเอกชนในการจัดการศึกษา ประกอบดวย

6.1) การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศนในการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ภาครัฐ 6.2) การทบทวน ปรับปรุง แกไขการออกนโยบาย กฎหมาย และระเบียบปฏิบัติ 6.3) การสงเสริมองคกรทางสังคมตางๆ ในการจัดการศึกษา 6.4) การใหภาคประชาชน เอกชน และธุรกิจเอกชนมีสวนรวมในกระบวนการกําหนดนโยบาย ติดตาม ตรวจสอบและประเมินผล และ 6.5) การสรางความพรอมในการมีสวนรวม

7) ยุทธศาสตรการปฏิรูปทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา ทั้งนี้ โดยเนนการบริหารจัดการกองทุนเงินใหกูยืมเพื่อการศึกษา 7 มาตรการ ประกอบดวย

การจัดตั้งกองทุนเงินใหกูยืมเพื่อการศึกษาระดับอุดมศึกษา กลุมเปาหมายผูมีสิทธิไดรับเงินกูยืม คาธรรมเนียมการเรียนที่สถานศึกษาเรียกเก็บจากผูเรียน ประเภทของเงินกู การใชคืนเงินกู อัตราดอกเบี้ยเงินใหกูยืม และการชําระหนี้คืนเงินกูของกองทุน

ตอมา กระทรวงศึกษาธิการ ในฐานะองคกรหลักในการจัดการและสงเสริมการศึกษาของประเทศ ไดกําหนดวิสัยทัศนสูการสงเสริมการศึกษาใหประชาชนมีความรู มีคุณภาพ มีศักยภาพในการพัฒนาตนเอง พัฒนาเศรษฐกิจ พัฒนาสังคมฐานความรู และเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศ ดวยภารกิจ 3 ประการคือ 1) การสรางเสริมโอกาสในการศึกษาใหแกประชาชนทุกคน 2) การสรางระบบการศึกษาที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพ และ 3) การพัฒนามาตรฐานการศึกษา เพื่อเพิ่มศักยภาพการแขงขันของประเทศ ในการบรรลุเปาหมาย 3 ประการคือ

1) ประชาชนไดรับการศึกษาทั่วถึง เทาเทียมและตอเนื่อง 2) ประชาชนมีคุณภาพ คุณธรรม รวมพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมฐานความรู 3) ประเทศมีศักยภาพในการแขงขันเพิ่มขึ้น นอกจากนี้ กระทรวงศึกษาธิการ มีการกําหนดยุทธศาสตรสูการปฏิบัติ ซ่ึงแบงออกได 3

ยุทธศาสตรและจุดเนนในการดําเนินงานดังนี้

ยุทธศาสตรที่ 1: การสรางโอกาสทางการศึกษา ในสวนที่เกี่ยวกับการสรางโอกาสทางการศึกษานี้ เปนการเนนการดําเนินการ 4 ประการ

ตอไปนี้ คือ 1) การสรางความเสมอภาคและเพิ่มโอกาสเขาถึงบริการดานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ซ่ึงรวมถึง

การประกันโอกาสและสรางความเสมอภาคทางการศึกษา ตลอดจนการสงเสริม สนับสนุนใหทุกภาคสวนของสังคมมีสวนรวมในการจัดการศึกษา

การดําเนินการในสวนนี้ ครอบคลุมถึงการขยายการบริการใหครอบคลุมทุกพื้นที่และกลุมเปาหมาย ดวยรูปแบบที่เหมาะสมกับผูเรียนและพื้นที่เฉพาะ การจัดการศึกษาสําหรับผูพิการและผูดอยโอกาส การสงเสริมการศึกษาปฐมวัยและการเรียนตอมัธยมศึกษาตอนปลาย การจัดทําแผนสถานที่ตั้งโรงเรียนและขอมูลทางภูมิศาสตรในทุกเขตพื้นที่การศึกษา การใหทุนการศึกษาและความตองการจําเปนอื่นๆ การจัดระบบการรับและการสงตอผูเรียนใหมีประสิทธิภาพ การรณรงคใหพอแมผูปกครองสงเสริมบุตรหลานใหเรียนจบภาคบังคับ 9 ปเปนอยางนอย การยกเลิก ปรับปรุง กฎ ระเบียบ ที่เปนขอจํากัดในการเขาเรียน การอุดหนุนการศึกษาขั้นพื้นฐาน 14 ป รวมทั้งการสงเสริม สนับสนุนใหทุกภาคสวนของสังคมมีสวนรวมในการจัดการศึกษา ไดแก การถายโอนโรงเรียนใหองคกรปกครองสวนทองถ่ินที่พรอม การเตรียมความพรอมใหองคกรปกครองสวนทองถ่ินจัดและรวมจัดการศึกษา การเตรียมการจัดการรองรับการจัดการศึกษาโดยครอบครัว การสนับสนุนการจัดการศึกษาเอกชน การสนับสนุนการดําเนินงานของเครือขายจัด ทั้งดานวิชาการ เงินอุดหนุน และการจัดครูสาขาขาดแคลนไปชวยสอน การสนับสนุนโครงสรางพื้นฐานใหแกหนวยที่จัดการศึกษาใหไดมาตรฐาน การสรางความมั่นใจและแรงจูงใจใหเอกชนจัดการศึกษา การจัดเทียบโอนความรูและประสบการณ และการสงเสริมการศึกษานอกระบบ

2) การสงเสริมการอาชีวศึกษา โดยเนนการสรางและสงเสริมคานิยมการศึกษาวิชาชีพ การจัดและขยายโอกาสการศึกษาวิชาชีพใหกวางขวางตอเนื่อง การสงเสริม สนับสนุนใหภาคเอกชนลงทุนจัดการอาชีวศึกษา และการเปดสอนปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ

การดําเนินการในสวนนี้ มีหลายประการ เชน การสรางเสนทางอาชีพสําหรับผูจบอาชีวศึกษาและประกันการมีงานทํา การแนะแนวการศึกษาเพื่ออาชีพ การรณรงคประชาสัมพันธเพื่อปรับเปลี่ยนทัศนคติการศึกษาวิชาชีพ การสงเสริมความเชื่อมโยงระบบการจัดการศึกษาระหวางการศึกษาขั้นพื้นฐาน อาชีวศึกษาและอุดมศึกษา การขยายการศึกษาระบบทวิภาคี การสนับสนุนใหเอกชนจัดการอาชีวศึกษาเพิ่มมากขึ้น การปรับปรุงกฎ ระเบียบใหเอื้อตอการลงทุนของเอกชน เปนตน

3) การสงเสริมการอุดมศึกษา ดวยการเนนที่การสรางโอกาสการศึกษาในระดับอุดมศึกษา การจัดตั้งและขยายวิทยาเขตของมหาวิทยาลัยสูภูมิภาค การผลิตกําลังคนใหสอดคลองกับการพัฒนาประเทศ การสงเสริมการศึกษาวิจัย การสรางความเชื่อมั่นและแรงจูงใจใหเอกชนจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา ดวยการสงเสริมเครือขายสถาบันอุดมศึกษาเอกชนใหมีความเขมแข็ง

การดําเนินการในสวนนี้ ไดแก การปรับปรุงระบบคัดเลือกเขาเรียน การพัฒนาสถาบันราชภัฏให เปนสถาบันการศึกษาของทองถ่ิน การดําเนินงานวิทยาลัยชุมชน การสรางเครือขายสถาบันอุดมศึกษา การผลิตกําลังคนในสายที่สนับสนุนการพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศในการเพิ่มสินคาเปาหมายไมนอยกวา 10 สาขา (ช้ินสวนยานยนต ส่ิงทอ อัญมณี เครื่องประดับ ซอฟตแวร อุตสาหกรรมการทองเที่ยว อาหารและผลิตภัณฑเกษตร ยางและผลิตภัณฑยาง เครื่องเรือนจากไม ศูนยบริการทางการแพทย ผลิตภัณฑสุขภาพ เปนตน) และสาขาอื่นๆ ที่สนองตอบตอการพัฒนาประเทศ

ยุทธศาสตรที่ 2: การพฒันาการจัดการและพัฒนาคุณภาพการเรียนรู ในสวนที่เกี่ยวกับการพัฒนาการจัดการและพัฒนาคุณภาพการเรียนรูนี้ มีจุดเนนในการ

ดําเนินการ 5 ประการคือ 1) การสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิตใหแกประชาชน ซ่ึงเนนที่การพัฒนาการศึกษาตอ

เนื่องและการเรียนรูตลอดชีวิต การบริการทางวิชาการแกสังคม 2) การปฏิรูปการเรียนรูสูการใชความรูเปนฐานในการดํารงชีวิต โดยเนนการปฏิรูปการ

เรียนรูสูการใชความรูเปนฐานในการดํารงชีพ การพัฒนาการจัดการเรียนรูและมาตรฐานการเรียนรู การสงเสริมคุณธรรม จริยธรรม การพัฒนานวัตกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการเรียนรู

3) การเพิ่มศักยภาพครู คณาจารยและบุคลากรทางการศึกษา โดยเนนการยกระดับมาตร ฐานวิชาชีพครูและบุคลากรทางการศึกษา การพัฒนาระบบบริหารงานบุคคล การสงเสริม สนับสนุนการพัฒนาครู คณาจารยและบุคลากรทางการศึกษา การสรางและพัฒนาระบบคาตอบแทน สวัสดิการและสิทธิประโยชนเกื้อกูล การพัฒนาคุณภาพชีวิตครูและบุคลากรทางการศึกษา ตลอดจนการแกไขปญหาขาดแคลนครู

4) การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อการเรียนรูที่มีคุณภาพ โดยเนนการพัฒนากฎหมาย กฎ ระเบียบ ขอบังคับตางๆ การพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษา การพัฒนาโรงเรียนในโครงการตามพระราชดําริ การพัฒนามหาวิทยาลัยสูสถาบันอุดมศึกษาในกํากับของรัฐ การโอนกิจการโรงเรียนของรัฐใหเอกชน การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการบริหารจัดการ การพัฒนาระบบการวางแผน ตรวจติดตาม ประเมินผล การสงเสริมสนับสนุนใหทุกหนวยงานบริหารราชการตามหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี

5) การจัดการทรัพยากรเพื่อการศึกษา โดยเนนการสงเสริมการใชทรัพยากรรวมกันเพื่อ พัฒนาประสิทธิภาพการศึกษา การพัฒนาและยกระดับมาตรฐานสถานศึกษา โดยในสวนนี้ครอบคลุมถึงการปฏิรูปวัฒนธรรมการทํางานภายในกระทรวง การพัฒนาเครือขายการบริหารจัดการองคการและการบริหารจัดการศึกษาที่ใชโรงเรียนเปนฐาน การพัฒนาการบริหารจัดการโรงเรียนรูปแบบใหม เชน

โรงเรียนสองภาษา โรงเรียนตนแบบ ICT โรงเรียนวิถีพุทธ โรงเรียนผูมีความสามารถพิเศษ เปนตน นอกจากนี้ในการพัฒนาและยกระดับมาตรฐานสถานศึกษานั้น มีการกําหนดการจัดสรรคอมพิวเตอรใหสถานศึกษาโดยเรงดวนและทั่วถึงประมาณรอยละ 30 ของนักเรียน การปรับปรุงวิธีการประเมิน และประเมินคุณภาพสถานศึกษา สถาบันการศึกษาทกุระดับ เปนตน

ยุทธศาสตรที่ 3: การเพิ่มมาตรฐานการศึกษา และเพิ่มความสามารถในการแขงขันของประเทศ ซ่ึงในสวนนี้ประกอบดวยจุดเนนในการดําเนินการ 3 ประการคือ

1) การพัฒนามาตรฐานการศึกษาใหทัดเทียมกับประเทศที่พัฒนาแลว โดยเนนการสง เสริมความรวมมือดานการศึกษากับองคกรภายในประเทศและตางประเทศ การอุดหนุนทุนการศึกษา อบรม ดูงานในประเทศ การสรางความรวมมือกับตางประเทศในการผลิตกําลังคนเพื่อตอบสนองตลาดเฉพาะ การแลกเปลี่ยนทางวิชาการระดับนานาชาติ การแขงขันทางวิชาการระดับนานาชาติ การสงเสริมหลักสูตรนานาชาติ การผลิตสื่อ ตําราเรียนสองภาษา การสงเสริม สนับสนุนใหประเทศไทยเปนศูนยกลางการศึกษาของประเทศเพื่อนบาน การสงเสริมความเปนเลิศและพัฒนาอัจฉริยภาพ การพฒันาการศึกษาดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี การพัฒนาบุคลากรดานเศรษฐกิจ และความสัมพันธระหวางประเทศ

2) การเพิ่มขีดความสามารถในการวิจัยและพัฒนา เปนการเนนพัฒนาและสงเสริมการ วิจัยสูสากล การสรางนักวิจัยมืออาชีพและสนับสนุนทรัพยากรเพื่อการวิจัย การยกระดับการวิจัยรัฐรวมเอกชนเชิงพาณิชย และการสรางความเปนเลิศในศูนยพัฒนาบัณฑิตศึกษาและวิจัยตางๆ

3) การพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยี เปนการเนนพัฒนานวัตกรรมและองคกรความรู การสงเสริมและพัฒนาเทคโนโลยีส่ิงประดิษฐคนรุนใหม การพัฒนาตอยอดภูมิปญญาทองถ่ินสูมาตรฐานสากล

ทั้งนี้ ประเทศไทยยังอยูในสวนของการดําเนินการในภาคปฏิบัติเพื่อบรรลุตามยุทธศาสตรการปฏิรูปการศึกษาที่กําหนดไวตอไป ความกาวหนาในภาคปฏิบัติแบงออกไดดังนี้

หลักสูตรการเรียนการสอนการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการไดมีการประกาศใชหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ. 2546 และคูมือการใชหลักสูตรเพื่อใหสถานศึกษา สถานเลี้ยงดูเด็ก และศูนยเด็กเล็กใชเปนแนวทางจัดประสบการณใหเปนแนวทางเดียวกัน รวมทั้งมีการประกาศใช “หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544 เปนหลักสูตรแกนกลางนํารอง โดยเริ่มใชในทุกโรงเรียนตั้งแตปการศึกษา 2546 โดยสถานศึกษาสามารถจัดทําสาระการเรียนรูของตนเองได ตามยุทธศาสตรการปฏิรูปการศึกษาดานหลักสูตรการเรียนการสอนของการศึกษาขั้นพื้นฐาน ซ่ึงกําหนดยุทธศาสตรดานการสรางความพรอมและความเขาใจแกครูและผูบริหาร นอกจากนี้ยังมีการเตรียมการดานหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานสําหรับผูพิการทุกประเภท ทั้งในลักษณะของหลักสูตรลดระยะเวลาเรียนและหลักสูตรเพิ่มพูนประสบการณ การจัดทําแผนแมบทระยะสั้นและระยะยาวสําหรับปรับปรุง

การเรียนการสอนผูมีความสามารถพิเศษ โดยในระยะสั้นนั้น เนนลักษณะการเรียนรวมทั้งระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาเปนแนวทางนํารอง พรอมกับการจัดทําเอกสารคูมือและสื่อเพื่อการพัฒนาบุคลากรที่เกี่ยวของกับการเรียนการสอนผูมีความสามารถพิเศษ

กระทรวงศึกษาธิการยังไดมีการออกประกาศกระทรวงเกี่ยวกับการประเมินเทียบระดับและการเทียบโอนผลการเรียน ตลอดจนการสงเสริมการศึกษาเฉพาะทาง โดยในสวนแรกนั้นสงผลใหสถานศึกษาตางๆ ในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีการปรับตัวใหสอดรับกับแนวทางในการเทียบระดับและโอนผลการเรียนจากการศึกษา โดยเฉพาะอยางยิ่งการศึกษาในระบบ สวนการจัดการศึกษาเฉพาะทางนั้น มีการประกาศใชกฎกระทรวงวาดวยการจัดการศึกษาเฉพาะทาง พ.ศ. 2547 อาชีวศึกษาและฝกอบรม สําหรับความกาวหนาในภาคปฏิบัติดานการปฏิรูปอาชีวศึกษาและฝกอบรมนั้น แบงออกได 3 สวน คือ

1) การปรับระบบการบริหารการอาชีวศึกษาในลักษณะการกระจายอํานาจการบริหารจัดการไปยังสถาบันและมีการใชทรัพยากรรวมกัน โดยการรวมกลุมวิทยาลัยในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษาจัดตั้งเปนสถาบันการอาชีวศึกษา ทั้งนี้ อยูระหวางการยกรางพระราชบัญญัติการอาชีวศึกษาเพื่อเอื้อตอแนวทางดังกลาว

2) ความพยายามในดานการฝกอบรมเพิ่มผลิตภาพของแรงงาน สงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิต โดยสามารถเทียบโอนความรูและประสบการณเปนคุณวุฒิ ตลอดจนการปรับคานิยมในลักษณะเนนคุณคาของการทํางาน ทั้งนี้ อยูระหวางการยกรางพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องคการมหาชน) เชนกัน

3) การเพิ่มโอกาสทางการศึกษา ดวยนโยบายเปดโอกาสใหผูที่ตองการเรียนอาชีวศึกษาทุกคนเขาเรียนไดโดยไมมีการสอบคัดเลือก หลักสูตรและกระบวนการเรียนการสอน การปรับตัวขางตนดําเนินควบคูไปกับการปฏิรูปหลักสูตรและกระบวนการเรียนการสอน โดยอาศัยการดําเนินการ 3 สวน คือ

1) การปรับหลักสูตรและกระบวนการเรียนการสอนระดับ ปวช. และ ปวส. ใหเนนการบูรณาการระหวางภาคทฤษฎีกับภาคปฏิบัติ มีการปฏิบัติจริงในสถานประกอบการมากขึ้น โดยเริ่มตั้งแตปการศึกษา 2546

2) การจัดทําแผนและยุทธศาสตรการผลิตและพัฒนากําลังคนดานอาชีวศึกษาแบงเปน 5 กลุมอาชีพเปาหมาย คือ อาหาร การทองเที่ยว ยานยนต ส่ิงทอและอัญมณี และเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยรวมมือกับสถานประกอบการในการจัดทําหลักสูตรและจัดการเรียนการสอน

3) การจัดทํามาตรฐานสงเสริมการพัฒนาระบบคุณวุฒิวิชาชีพและการปฏิรูปการเรียนรู เพื่อปรับคานิยมและเจตคติของสังคมใหเห็นคุณคาของการทํางาน โดยเนนการพัฒนามาตรฐานวิชาชีพรองรับภาคการผลิตเบื้องตน คือ เครื่องประดับ อัญมณี การโรงแรม การคาปลีก และสิ่งทอ

การอุดมศึกษา สําหรับความกาวหนาในภาคปฏิบัติดานการปฏิรูปอุดมศึกษานั้น นอกจากการสงเสริมการศึกษาเฉพาะทาง และการดําเนินการใหสามารถเทียบโอนผลการเรียนรูระหวางกันไดดังเชนการศึกษาระดับขั้นพื้นฐาน ซ่ึงสงผลใหสถานศึกษาตางๆ ในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา มีการปรับตัวใหสอดรับการแนวทางในการเทียบระดับและโอนผลการเรียนจากการศึกษาแลว ระดับอุดมศึกษายังไดมีการจัดทํายุทธศาสตรและแนวทางการปฏิรูปอุดมศึกษาไทย การอํานวยใหสถาบันอุดมศึกษาของรัฐมีความคลองตัวในการบริหารจัดการ ในลักษณะสถาบันในกํากับของรัฐ การกําหนดยุทธศาสตรดานการผลิตกําลังคนและกระจายโอกาสอุดมศึกษาในลักษณะที่สอดคลองกับการพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะอยางยิ่งมาตรการสนับสนุนของรัฐตอการผลิตกําลังคนในสาขาที่ขาดแคลนและจําเปนตอการพัฒนาเศรษฐกิจและเทคโนโลยี รวมทั้งการปฏิรูปการเรียนการสอน ใหการวิจัยเปนสวนหนึ่งของกระบวนการเรียนการสอนในระดับอุดมศึกษา การปรับระบบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาตอในสถาบันอุดมศึกษา และการปรับปรุงรูปแบบการจัดอุดมศึกษาใหมีลักษณะยืดหยุนและหลากหลายเพื่อการพัฒนาความรูเพิ่มเติมอยางตอเนื่องดวยการจัดตั้งวิทยาลัยชุมชน 17 แหงในฐานะสถาบันอุดมศึกษาประจําทองถ่ิน รวมทั้งการเรงรัดการดําเนินการเกี่ยวกับรางพระราชบัญญัติสถาบันอุดมศึกษาในกํากับของรัฐ รางพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ในการปฏิรูปการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเพื่อสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิตนั้น มีการจัดทํากลยุทธการจัดการความรูและแหลงเรียนรู พัฒนาศูนยการเรียนชุมชนใหเปนศูนยกลางการเรียนรูตลอดชีวิต พัฒนาแหลงเรียนรูตางๆ จัดทําขอเสนอนโยบาย แผนและหลักสูตรการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จัดการศึกษาตอเนื่อง การผลิตและการพัฒนาครู ความกาวหนาในภาคปฏิบัติแบงออกเปนการกําหนดนโยบายและแผนการผลิตครู การผลิตครูแนวใหมหลักสูตร 5 ป การผลิตครู ผูบริหารและบุคลากรทางการศึกษา การปฏิรูปคุณภาพคณาจารยในสถาบันผลิตครู การวิจัยและพัฒนาเพื่อยกระดับความเปนเลิศทางครุศาสตร ศึกษาศาสตร การปฏิรูปโครงสรางการบริหารงานและประกันคุณภาพสถาบันผลิตครู โดยกระทรวงศึกษาธิการไดจัดทํากรอบแผนยุทธศาสตรการปฏิรูปครูและบุคลากรทางการศึกษา (พ.ศ. 2547-2556) การปรับปรุงโครงการพัฒนาบุคลากรเพื่อการปฏิรูปการศึกษา (พ.ศ. 2548-2553) การจัดทําโครงการสงเสริมการผลิตครูที่มีความสามารถทางวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร ซ่ึงในปจจุบันเปนโครงการตอเนื่องระยะที่ 2 (พ.ศ. 2548-2549) ตลอดจนการจัดทํากฎหมายปฏิรูประบบบริหารงานบุคคล ไดแก พระราชบัญญัติระเบียบขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547 พระราชบัญญัติเงินเดือน เงินวิทยฐานะ และเงินประจําตําแหนงขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547 พระราชบัญญัติเงินเดือน และเงินประจําตําแหนง (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2547 และพระราชบัญญัติระเบียบขาราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 2547

นอกจากนี้ยังมีการพัฒนามาตรฐานวิชาชีพและควบคุมการประกอบวิชาชีพ โดยการจัดตั้งองคกรวิชาชีพครู การกําหนดกรอบการพัฒนาวิชาชีพครู การเตรียมการในการจัดทําขอบังคับวาดวยมาตรฐานวิชาชีพ ขอบังคับวาดวยจรรยาบรรณวิชาชีพ ขอบังคับคุรุสภาเกี่ยวกับการพัฒนาวิชาชีพครู ขอบังคับวาดวยการพัฒนาและการสงเสริมยกยองวิชาชีพทางการศึกษา เปนตน กลไกการบริหารจัดการ นับตั้งแตกลางป 2546 เปนตนมา ไดมีการปรับโครงสรางระบบการบริหารการศึกษา ในลักษณะการหลอมรวมหนวยงานตอไปนี้ คือ กระทรวงศึกษาธิการ ทบวงมหาวิทยาลัย และสํานักงานคระกรรมการศึกษาแหงชาติในสังกัดสํานักนายกรัฐมนตรี เขามาอยูดวยกันเปนกระทรวงศึกษาธิการ ซ่ึงปรับบทบาทใหเปนกระทรวงอํานวยการตามเจตนารมณของพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ที่กําหนดใหกระทรวงศึกษาธิการมีอํานาจหนาที่เกี่ยวกับการสงเสริมและกํากับดูแลการศึกษาทุกระดับและทุกประเภท รวมถึงการกําหนดนโยบาย แผนและมาตรฐานการศึกษา สนับสนุนทรัพยากรเพื่อการศึกษา ติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการจัดการศึกษา โดยมีการปฏิรูปการจัดระเบียบบริหารราชการ ใหประกอบดวย 4 องคกรหลัก คือ

- สภาการศึกษา มีหนาที่เสนอตอคณะรัฐมนตรีในสวนของแผนการศึกษาแหงชาติ นโยบาย แผนและมาตรฐานการศึกษา นโยบายและแผนในการสนับสนุนทรัพยากรเพื่อการศึกษา ตลอดจนดําเนินการประเมินผลการจัดการศึกษา และใหความเห็นหรือคําแนะนําเกี่ยวกับกฎหมายและกฎกระทรวงที่ออกตามความในพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ

- คณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีหนาที่เสนอนโยบาย แผนพัฒนา มาตรฐานและหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานที่สอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ และแผนการศึกษาแหงชาติ การสนับสนุนทรัพยากร การติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน

- คณะกรรมการอาชีวศึกษา มีหนาที่เสนอนโยบาย แผนพัฒนา มาตรฐานและหลักสูตรการอาชีวศึกษาทุกระดับที่สอดคลองกับความตองการตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ และแผนการศึกษาแหงชาติ การสนับสนุนทรัพยากร การติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการจัดการอาชีวศึกษา โดยคํานึงถึงคุณภาพและความเปนเลิศทางวิชาชีพ

- คณะกรรมการอุดมศึกษา มีหนาที่เสนอนโยบาย แผนพัฒนา มาตรฐานและหลักสูตรการอุดมศึกษาทุกระดับที่สอดคลองกับความตองการตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ และแผนการศึกษาแหงชาติ การสนับสนุนทรัพยากร การติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการจัดการอุดมศึกษา โดยคํานึงถึงความเปนอิสระและความเปนเลิศทางวิชาการของสถานศึกษาระดับปริญญา ตามกฎหมายวาดวยการจัดตั้งสถานศึกษาแตละแหงและกฎหมายที่เกี่ยวของ

สําหรับกระจายอํานาจการบริหารจัดการศึกษาไปยังสวนทองถ่ินนั้น เขตพื้นที่การศึกษา 175 เขต เปนกลไกหลักของการปฏิรูปการศึกษาขั้นพื้นฐานในระดับพื้นที่ ตามทิศทางการกระจายอํานาจสู

ทองถ่ินโดยอาศัยรูปแบบการบริหารที่มีสถานศึกษาเปนฐาน ในการจัดการศึกษานั้น เนนบทบาทของคณะกรรมการสถานศึกษา การมีสวนรวมของชุมชน และการขยายบทบาทขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน ไดแก อบต. และเทศบาลตางๆ ในฐานะกลไกใหมและกลไกหลักในระยะยาวในหนุนเสริมการจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนาของทองถ่ิน

ในแตละพื้นที่การศึกษานั้น คณะกรรมการและสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาทําหนาที่กํากับดูแล จัดตั้ง ยุบ รวม หรือเลิกสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในเขต ประสาน สงเสริมและสนับสนุนสถานศึกษาเอกชน ประสานและสงเสริมองคกรปกครองสวนทองถ่ินใหสามารถจัดการศึกษาสอดคลองกับนโยบายและมาตรฐานการศึกษา ตลอดจนทําหนาที่สงเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาของบุคคล ครอบครัว องคกรชุมชน องคกรเอกชน องคกรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่นที่จัดการศึกษาในรูปแบบที่หลากหลายในแตละเขตพื้นที่การศึกษาที่รับผิดชอบ

ทั้งนี้ กระทรวงศึกษาฯ สามารถจัดใหมีการศึกษาขั้นพื้นฐานในลักษณะอื่นในกรณีเขตพื้นที่การศึกษาไมอาจบริหารและจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานตามเขตการศึกษา เพื่อเสริมการบริหารและการจัดการของเขตพื้นที่การศึกษา แบงออกได 4 ลักษณะคือ 1) การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานสําหรับบุคคลที่มีความบกพรองทางรางกาย จิตใจ สติปญญา อารมณ สังคม การสื่อสาร และการเรียนรู หรือมีรางกายพิการหรือทุพพลภาพ 2) การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานในรูปแบบการศึกษานอกระบบหรือการศึกษาตามอัธยาศัย 3) การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานสําหรับบุคคลที่มีความสามารถพิเศษ และ 4) การจัดการศึกษาทางไกลและการจัดการศึกษาที่ใหบริการในหลายเขตพื้นที่การศึกษา

นอกจากนี้ การปฏิรูปการศึกษาในปจจุบันยังใหความสําคัญกับระบบการประกันคุณภาพการศึกษาทุกระดับทั้งภายในและภายนอกตามหมวด 6 ของพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ ในฐานะสวนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาซึ่งใชสถานศึกษาเปนฐาน โดยสภาการศึกษาทําหนาที่พัฒนาและนําเสนอมาตรฐานการศึกษาแหงชาติ จากนั้นองคกรหลัก และกระทรวงตางๆ รวมทั้งหนวยงานที่เกี่ยวของ ไดแก คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการอาชีวศึกษาและคณะกรรมการอุดมศึกษา กระทรวงที่เกี่ยวของ ภาคเอกชน องคกรปกครองสวนทองถ่ิน เปนตน ทําหนาที่พัฒนามาตรฐานการศึกษาของแตละระดับและประเภทการศึกษา เพื่อใหสถานศึกษาใชเปนแนวทางในการจัดการศึกษา และดําเนินการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา เพื่อเตรียมความพรอมในการประเมินคุณภาพภายนอกจากสํานักงานรับรองมาตรฐาน และประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) ทั้งนี้ สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษาไดดําเนินการจัดมาตรฐานการศึกษาของชาติอยางตอเนื่องตั้งแต ป 2545-2547 รวมกับหนวยงาน องคกรหลัก และบุคคลที่เกี่ยวของในฐานะแนวทางในการพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษาของประเทศใหดียิ่งขึ้น

บรูไน ดารุสซาลาม การปฏิรูปการศึกษาของบรูไน ดารุสซาลาม ในปจจุบัน เปนการดําเนินการตามแผนพัฒนา

แหงชาติฉบับที่ 8 ในการมุงเนนการพัฒนาทรัพยากรมนุษยและการใชประโยชนของเทคโนโลยีสารสนเทศ ประกอบกับนโยบายดานการศึกษาในการดําเนินการใหระบบการศึกษาแหงชาติ มุงใหความสําคัญตอการใชภาษามาเลยเปนภาษาทางการประจําชาติ ควบคูไปกับการใชภาษาสําคัญอื่นๆ เชนภาษาอังกฤษ และ ภาษาอาหรับ เปนภาษาที่สอง การจัดการศึกษาใหกับนักเรียนทุกคนเปนระยะเวลา 12 ป โดยแบงเปนการศึกษาระดับประถม 7 ป (รวมกอนวัยเรียนดวย 1 ป) ระดับมัธยมตน 3 ป และระดับมัธยม หรือในสายอาชีวะอีก 2 ป การจัดหลักสูตรบูรณาการ เชนเดียวกับ การทดสอบรวมใหเปนรูปแบบเดียวกันและมีความเหมาะสมตอระดับการศึกษา และความตองการพิเศษในทุกโรงเรียน การจัดการศึกษาศาสนาอิสลามในหลักสูตรการเรียนการสอนใหสอดคลองกับหลัก Ahli Sunnah Wal-Jamaah การจัดหาวัสดุอุปกรณ เครื่องอํานวยความสะดวกตางๆ สําหรับการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร วิทยาศาสตร เทคโนโลยีการติดตอส่ือสารทางการศึกษา เพื่อใหเด็กนักเรียนไดรับความรู และความชํานาญตามความจําเปนอยางตอเนื่องในโลกแหงการเปลี่ยนแปลงของการจางงาน การใหผูเรียนสามารถพัฒนาตนเอง การจัดโปรแกรมการเรียนรูที่หลากหลายผานกิจกรรมและหลักสูตรรวมตางๆ ใหสอดคลองกับหลักปรัชญาแหงชาติ การสรางโอกาสในการศึกษาระดับอุดมศึกษาดวยคุณวุฒิและประสบการณที่เหมาะสม ตลอดจนการจัดหาโครงสรางพื้นฐานตางๆ ทางการศึกษาใหดีที่สุดเทาที่จะเปนไปได เพื่อเติมเต็มความตองการแหงชาติ

ยุทธศาสตรและวิสัยทัศน ยุทธศาสตรในการปฏิรูปการศึกษานั้น มีความเปนระบบมากขึ้น เห็นไดจากการกําหนดวิสัยทัศน ปรัชญาทางการศึกษา ตลอดจนจุดมุงหมาย ตลอดจนภารกิจของกลไกที่รับผิดชอบ โดยในสวนของวิสัยทัศนนั้นมุงไปที่การสรางความสามารถหลายดานใหกับชาวบรูไนเชื้อชาติตาง ๆ เพื่อนํามาซึ่งความสมานฉันทและความสงบสุขในการดําเนินชีวิตบนโลกนี้และโลกหนา (arkhairat) ดวยปรัชญาทางการศึกษาที่เนนหลักไตรลักษณ 3 ประการ คือ เชื้อชาติมาเลย ศาสนาอิสลาม และพระมหากษัตริย โดยเฉพาะอยางยิ่งยึดตามหลักคัมภีรอัลกุรอาน (holy Quran) หะดิษ (Hadith) และหลักเหตุผล (Aqli) เพราะจะนํามาซึ่งการพัฒนาบุคคลใหเกิดศักยภาพเต็มเปยม รวมทั้งกอใหเกิดความรู ความเชี่ยวชาญ ความศรัทธา ความจงรักภักดี ความซื่อสัตย และบุคลิกลักษณะที่เปนเลิศ อันจะเปนพื้นฐานในการนําไปสูความเปนอันหนึ่งอันเดียวกันภายในชาติ

การปฏิรูปการศึกษาในภาพรวมนั้นมีจุดมุงเหมายเพื่อเพิ่มศักยภาพทางสติปญญา จิตใจ อารมณ การอยูรวมกันในสังคม และศักยภาพทางรางกายสําหรับทุกคน อันจะเปนการสรางสังคมใหมีความแข็งแกรงบนพื้นฐานของหลักไตรลักษณขางตน

สําหรับการศึกษาขั้นพื้นฐานในระดับประถมศึกษาของบรูไน มีจุดมุงหมายใหเด็กนักเรียนมีพื้นฐานที่แนนในทักษะดานการเขียน การอาน และการคิดคํานวณทางคณิตศาสตร ตลอดจนจัดหาและสนับสนุนโอกาสตางๆ เพื่อสรางพัฒนาการการเติบโตทางรางกายและจิตใจของแตละคน สวนใน

ระดับมัธยมศึกษานั้น เปดโอกาสใหผูเรียนสามารถตัดสินใจเลือกทํางาน หรือเขารับการศึกษาที่สถาบันการศึกษาตางๆ ทั้งภายในประเทศ อาทิ มหาวิทยาลัยบรูไนดารุสซาลาม วิทยาลัยพยาบาล หรือไปเรียนตางประเทศ ซ่ึงการศึกษาตอในระดับอุดมศึกษานั้น เปนการศึกษาตอจากระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยสถาบันการศึกษาระดับนี้จะอนุมัติวุฒิบัตร ตั้งแตระดับปริญญาตรี โท และเอก ใหแกผูจบการศึกษา แตก็จะอนุมัติในระดับอนุปริญญา ประกาศนียบัตรตางๆ ดวยในประเทศบรูไนมีมหาวิทยาลัยของรัฐ คือ มหาวิทยาลัยแหงบรูไนดารุสซาลาม ซ่ึงเปดอยางเปนทางการในป 1985 อยางไรก็ดี ถึงแมวาการศึกษาในระดับอุดมศึกษาอยูภายใตหลักกฎเกณฑของกระทรวงการศึกษา ซ่ึงเปนไปตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 83 รวมทั้งมีการเชื่อมโยงการทํางานระหวางกัน แตการจัดการศึกษาในระดับนี้ยังคงมีอิสระ และสามารถดําเนินการไดเองโดยไมตองอยูใน การควบคุมของกระทรวงการศึกษา

ทั้งนี้ เพื่อใหเปนไปตามจุดประสงคทางการศึกษา (Educational Objectives) 14 ประการ คือ 1) การจัดหลักสูตรการเรียนการสอนแบบบูรณาการรวมกันเพื่อใหศักยภาพทางกาย จิตใจ

สติปญญาและอารมณของแตละคนไดรับการพัฒนาไปพรอมกันอยางมีดุลยภาพ 2) การจัดหลักสูตรการเรียนการสอนสําหรับทุกคนใหสอดคลองกับระดับและความตองการ

รวมถึงการศึกษาแบบพิเศษดวย 3) การจัดใหมีรายวิชาที่ศึกษาศาสนาอิสลามเพื่อจะสงเสริมใหเกิดความเขาใจและสนับสนุน

คานิยมอิสลามใหแกประชาชนในประเทศ อันจะนํามาซึ่งความสมานฉันทในสังคม รวมทั้งยังจะเปนการสรางศรัทธาและความเครงครัดในหลักศาสนาใหเกิดแกมุสลิมทุกคนตลอดไปยกระดับความชํานาญ และความคลองแคลวในการใชภาษามาเลย ภาษาอังกฤษและภาษาอาหรับ

4) การจัดหารายวิชาการเรียนรูภาษาตางประเทศ เพื่อใหสอดคลองตามความตองการตางๆ 5) การสงเสริมทักษะการเรียนรูทางดานคณิตศาสตร วิทยาศาสตร เทคโนโลยีการ

ติดตอส่ือสาร 6) การจัดหารายวิชาทางการศึกษาสําหรับการพัฒนาความไวใจตนเอง การริเร่ิมและความ

กลาใหเกิดขึ้นในแตละคน 7) การจัดหารายวิชาการศึกษาเชิงเทคนิค กลวิธี ที่ตอบสนอง ตรงตาม และยืดหยุนตอการ

พัฒนาเศรษฐกิจโลก เพื่อใหบรรลุความตองการในการพัฒนาประเทศ 8) การจัดหารายวิชาการเรียนการสอนใหอยูบนพื้นฐานทางสังคม วัฒนธรรม และความเปน

ชาตินิยม เพื่อพัฒนาประชาชนชาวบรูไน 9) การสรางโอกาสในทักษะการฝกฝนทางวิชาชีพและกึ่งวิชาชีพ 10) การจัดหารายวิชาสําหรับการรักษาไวซ่ึงสันติสุขและความสมานฉันทภายในสังคม

11) การจัดหารายวิชาที่มุงเนนใหความสําคัญตอครอบครัวเพื่อเปนแบบอยางในการสรางทัศนคติที่ดีแกบุคคล อันจะเปนการสรางความเอื้อเฟอเผ่ือแผ ความรักและความหวงใยดูแลใหเกิดขึ้นในสังคม

12) การสรางความเขาใจและความตระหนักรูใหเกิดแกประชาชนเกี่ยวกับสถานะทางการเมือง เศรษฐกิจและสังคมของประเทศ

13) การจัดหารายวิชาที่เพิ่มพูนคานิยมอันดีงาม และการฝกหัดดานอุตสาหกรรมเพื่อเปนการสงเสริมคุณภาพใหแตละคนทั้งชายและหญิงสามารถตอสูแขงขันในระดับระหวางประเทศได

กลไกการบริการจัดการ กระทรวงศึกษาธิการยังคงยึดหลักในการกํากับดูแลการศึกษาใน

ภาพรวมของบรูไนทั้งประเทศ โดยในแงนโยบายนั้น มีรัฐมนตรีวาการ (Minister) เปนผูบริหารสูงสุด และมีรัฐมนตรีชวย (Deputy Minister) เปนผูบริหารรวม รวมทั้งมี ปลัดกระทรวง (Permanent Secretary) ทําหนาที่เปนผูบังคับบัญชาสูงสุดของขาราชการประจํา และมีรองปลัดกระทรวง (Deputy Permanent Secretary) 3 คน เปนผูชวย โดยมีหนวยงานที่อยูภายใตการกํากับดูแลของกระทรวงการศึกษาโดยตรง ไดแก กรมการโรงเรียน (Department of Schools) กรมการอาชีวะ (Department of Technical Education) กรมหลักสูตรรวม (Department of Co-Curriculum) กรมการอิสลามศึกษา (Department of Islamic Studies) ศูนยภาคีทางวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และส่ิงแวดลอม (Science , Technology and Environment Partnership Center -STEP ) กรมการสอบ (Department of Examination) กรมการพัฒนาหลักสูตร (Department of Curriculum Development) กองการศึกษาพิเศษ (Special Education Unit) สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษาแหงชาติบรูไนดารุสซาลาม (Brunei Darussalam National Education Council Secretariat) กองการสาธารณะสัมพันธ (Public Relations Unit) กองการโรงเรียนเอกชน (Non – Government School Section) กองการฝกหัดและทุนการศึกษา (Scholarship and Training Unit) สํานักงานเลขาธิการรับรองวิทยฐานะแหงชาติบรูไน (Brunei Darussalam National Accreditation Secretariat) กรมการเทคโนโลยีขอมูล และขาวสาร (Department of Information and Communication Technology) กลุมงานซีเมียว (SEAMEO VOCTECH) เปนตน

ทั้งนี้ การดําเนินงานดานนโยบายการศึกษาเปนการประสานการทํางานกับอีกหลายหนวยงานนอกกระทรวงศึกษาฯ ไดแก สภาโรงเรียนกีฬาแหงอาเซียน (ASEAN Schools Sports Council) คณะกรรมการการจัดการวิทยาลัยการพยาบาล (College of Nursing Managing Board) คณะกรรมการพัฒนาทรัพยากรมนุษย (Human Resource Development National Committee) คณะกรรมการจัดการโรงเรียนกีฬา (Sport School Managing Board) สภามหาวิทยาลัยแหงบรูไนดารุสซาลาม (University Brunei Darussalam Council) สภาการศึกษาแหงชาติบรูไนดารุสซาลาม (Brunei Darussalam National

Education Council) สภารับรองวิทยฐานะแหงชาติบรูไนดารุสซาลาม (Brunei Darussalam National Accreditation Council) สภามาเลย อิสลาม และระบอบกษัตริย (Malay Islamic Monarchy Council) สหพันธรัฐมาเลเซีย

ถึงแมวาไมไดมีการระบุไวเปนทางการอยางชัดเจน แตอาจกลาวในที่นี้ไดวา การปฏิรูปการศึกษาของสหพันธรัฐมาเลเซียมีแนวทางใกลเคียงกับไทยมาก กลาวคือ มีการเนนสรางเสริมโอกาสในการศึกษาใหแกประชาชนทุกคน การสรางระบบการศึกษาที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพ การพัฒนามาตรฐานการศึกษา เพื่อเพิ่มศักยภาพการแขงขันของประเทศ โดยเห็นความสําคัญของการดําเนินการในการอํานวยใหประชาชนไดรับการศึกษาทั่วถึง เทาเทียมและตอเนื่อง ประชาชนมีคุณภาพ คุณธรรม รวมพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมฐานความรู ประเทศมีศักยภาพในการแขงขันเพิ่มขึ้น

ยุทธศาสตรและวิสัยทัศน ดังไดกลาวมาแลว รัฐบาลมาเลเซียในปจจุบันไดกําหนดใหการพัฒนาการศึกษาของคนในชาติเปนพันธกิจสําคัญประการหนึ่ง โดยมีเปาหมายใหนําการศึกษาเขาถึงประชากรทั้งมวลในทุกระดับการศึกษา ดวยนโยบาย Education for All ในการเสริมสรางโอกาสทางการศึกษาใหแกประชาชนทุกคนนั้น ครอบคลุมทุกระดับการศึกษาซึ่งแบงเปน 4 ระดับ คือ

1) ระดับการศึกษากอนวัยเรียน (Pre-school Education) เปนหลักสูตรการเรียนการสอนในช้ันอนุบาลสําหรับเด็กอายุตั้งแต 4-6 ป

2) ระดับประถมศึกษา (Primary Education) เปนหลักสูตรการเรียนการสอนที่มีระยะเวลา 6 ป สําหรับเด็กที่มีอายุตั้งแต 6 ปขึ้นไป แบงเปนโรงเรียนของรัฐบาล และของเอกชน การเรียนการสอนใชภาษาประจําชาติ คือ ภาษามลายูและภาษาอังกฤษ

3) ระดับมัธยมศึกษา (Secondary Education) แบงเปนมัธยมตนและมัธยมปลาย เปนหลักสูตรการเรียนการสอนสําหรับผูที่จบการศึกษาระดับประถมแลว มีทั้งโรงเรียนมัธยมที่เปนของรัฐบาล และที่รัฐบาลใหการสนับสนุนเพียงบางสวน รวมทั้งโรงเรียนมัธยมที่เปนของเอกชน อนึ่ง ในการศึกษาระดับนี้ยังแบงเปน 3 ประเภท ไดแก โรงเรียนที่สอนดานวิชาการ ดานวิชาชีพ และโรงเรียนสอนศาสนา

4) ระดับอุดมศึกษา (Post-Secondary Education) เปนหลักสูตรการเรียนการสอนสําหรับเด็กนักเรียนที่เรียนจบในระดับมัธยมศึกษาแลว แบงออกเปน 2 ระดับ ไดแก

4.1) ระดับประกาศนียบัตร 4.1.1) โรงเรียนวิชาชีพพิเศษเฉพาะดาน (Special Education) เปนการเรียนการ

สอนตามความตองการของผูเรียน เชน วิชาศิลปะ ดนตรี เปนตน 4.1.2) โรงเรียนอาชีวะศึกษา (Technical Education) 4.1.3) โรงเรียนวิชาชีพครู (Teacher Education)

4.2) ระดับปริญญาบัตร ไดแก มหาวิทยาลัยที่มีการเรียนการสอนทั้งระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก

สถานศึกษาในมาเลเซียแบงออกเปน 3 ประเภท ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2539 มาตราที่ 15 ดังนี้

1) สถานศึกษาหรือโรงเรียนที่เปนของรัฐบาล 2) สถานศึกษาหรือโรงเรียนที่ไดรับการสนับสนุนจากรัฐบาล 3) สถานศึกษาหรือโรงเรียนที่เปนของเอกชน ในการปฏิรูปการศึกษานั้น กระทรวงศึกษาธิการมีวิสัยทัศนซ่ึงแบงออกได 4 ประการคือ 1) การสรางพลเมืองมาเลเซียใหเปนคนรักชาติและมีความเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน 2) การสรางคนมาเลเซียซ่ึงเปนผูศรัทธาในศาสนา ผูมีความรูและมีวิสัยทัศน ใหเปนผูมี

มารยาทดีงามและมีความสุขในการดําเนินชีวิต 3) การเตรียมทรัพยากรมนุษยที่มีประสิทธิภาพสําหรับความจําเปนในการพัฒนาของชาติ 4) การจัดโอกาสทางการศึกษาใหแกพลเมืองมาเลเซียทุกคน วิสัยทัศนทั้งหมดอยูภายใตพันธกิจเดียวกันคือ การพัฒนาระบบการศึกษาที่มีคุณภาพระดับ

สากล โดยใหความสําคัญกับศักยภาพสูงสุดของปจเจกบุคคลและการตอบสนองตออุดมการณแหงชาติ

ทั้งนี้ จากปรัชญาทางการศึกษาที่วาดวยการพัฒนาศักยภาพของทรพัยากรบุคคล ใหเปนคนทีม่ีความรู มีสติปญญาไตรตรอง รูจักวิเคราะหดวยเหตุและผล มีความเชื่อมั่นและศรัทธาในพระเจา การปฏิรูปการศึกษาในมาเลเซียจึงมุงใหระบบการศึกษาสามารถผลิตบุคลากรซ่ึงเปนพลเมืองแหงมาเลเซียใหมีความรูและสมบูรณพรอมในทุกๆ ดาน มีมาตรฐานทางศีลธรรมสูง มีความรับผิดชอบ และมีประสิทธิภาพในการทํางานใหประสบความสําเร็จทั้งเพื่อตนเอง เพื่อครอบครัว สังคม และเพื่อชาติ

ในการปฏิรูประบบการศึกษาและการบริหารจัดการเพื่อใหพลเมืองมาเลเซียในสวนตางๆ ของประเทศไดรับการศึกษาคุณภาพอยางทั่วถึงนั้น มาเลเซียอาศัยยุทธศาสตรดานการจัดทํากรอบกติกาทางกฎหมายที่เกี่ยวของ โดยการศึกษาของมาเลเซียอยูภายใตกรอบทางกฎหมาย 6 กรอบซึ่งถูกบัญญัติขึ้นตามนโยบายประชาธิปไตยทางการศึกษาของรัฐบาล กรอบทั้งหกประกอบดวย

1) พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ 2539 (Education Act, 1996) 2) พระราชบัญญัติสถาบันอุดมศึกษาเอกชน 2539 (Private Higher Educational Institutions

Act, 1996) 3) พระราชบัญญัติสภาการอุดมศึกษาแหงชาติ 2539 (National Council on Higher

Education Act, 1996)

4) พระราชบัญญัติคณะกรรมการประกันคุณภาพแหงชาติ 2539 (National Accreditation Board Act, 1996)

5) พระราชบัญญัติ(ปรับปรุง)วิทยาลัยและมหาวิทยาลัย 2539 (Universities and University Colleges [Amendment] Act, 1996)

6) พระราชบัญญัติคณะกรรมการกองทุนอุดมศึกษาแหงชาติ 2540 (National Higher Education Fund Board Act, 1997)

พระราชบัญญัติ 5 ฉบับแรกเปนกรอบสําหรับการศึกษาในระดับอุดมศึกษา สวนพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ 2539 นั้นเปนกรอบสําหรับการศึกษาที่เหลืออีก 3 ระดับคือกอนวัยเรียน ประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ซ่ึงฉบับนี้เองที่กระทรวงศึกษาธิการไดทําการทบทวนปรับปรุงบางสวนเพื่อใหสอดรับกับนโยบายปฏิรูปการศึกษาของรัฐบาล ที่ตองการใหเด็กมาเลเซียทุกคนที่มีอายุครบ 6 ป ทั้งนี้โดยไมคํานึงถึงพื้นฐานทางเศรษฐกิจ สังคมและเพศ ใหมีสิทธิที่จะเขาเรียนหนังสือในระดับประถม โดยใน พ.ศ. 2545 ไดมีการบัญญัติเพิ่มเติมใหการศึกษาในระดับประถมศึกษาเปนการศึกษาภาคบังคับ มีระยะเวลา 6 ป นอกเหนือไปจากระดับมัธยมตนที่บังคับอยูแลว 3 ป โดยใหมีผลบังคับใชตั้งแต พ.ศ. 2546 ดังนั้น ปจจุบันการศึกษาภาคบังคับของมาเลเซียจึงมีระยะเวลาทั้งสิ้น 9 ป

หลักสูตรการเรียนการสอนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาเลเซียยังมีการปฏิรูปดานการเรียนการสอน ซ่ึงแบงออกไดเปน 5 ดานคือ

1) การปฏิรูปการเรียนการสอนดานคณิตศาสตรและวิทยาศาสตร ในระดับประถมและมัธยมศึกษา รัฐบาลมาเลเซียถือวาคณิตศาสตรและวิทยาศาสตรเปรียบเสมือนประตูไปสูโลกแหงการสรางสรรค นวัตกรรมและการคนพบ กระทรวงศึกษาฯจึงไดพยายามเนนใหมีการเรียนในวิชานี้ เพราะตระหนักดีวาในอนาคตอันใกลนี้ โลกกําลังจะกาวผานไปสูเทคโนโลยีใหมๆ กระทรวงฯ ไดพยายามคิดคนวิธีการใหมในการสอนสองวิชานี้ในโรงเรียนประถมและมัธยม เพื่อกระตุนและดึงดูดใหนักเรียนหันมาสนใจเรียนมากขึ้น ดวยเหตุผลที่วาโรงเรียนนั้นถือเปนกาวแรกในการเตรียมนักคณิตศาสตรและวิทยาศาสตรของชาติ กอน พ.ศ. 2545 การสอนวิชาคณิตศาสตรและวิทยาศาสตรจะใชภาษามลายูเทานั้น แตในปจจุบันไดใชภาษาอังกฤษมาเปนสื่อการสอน เนื่องมาจากการตระหนักวาความสามารถทางดานภาษาอังกฤษจะสงเสริมนักเรียนใหเขาถึงขอมูลทางอินเตอรเน็ต บทความ รายงานวิจัยและสิ่งพิมพตางๆที่เปนภาษาอังกฤษ สวนครูผูสอนในสองวิชานี้ที่ไมชํานาญการใชภาษาอังกฤษ จะตองเขาอบรมในโครงการเพิ่มพูนประสิทธิภาพซึ่งประกอบไปดวยการฝกฝนแบบตัวตอตัว และการเรียนรูจากชุดฝกภาษาดวยตนเอง สําหรับครูอาวุโสที่สอนสองวิชานี้ที่ไมมีอุปสรรคเรื่องภาษาจะไดรับการอบรมใหมาเปนครูพี่เล้ียงแกครูคนอื่นๆภายในโรงเรียนเดียวกัน

2) การใชเทคโนโลยีเปนเครื่องมือในการเรียนการสอน กระทรวงศึกษาฯ มีความมุงหวังใหการเรียนการสอนที่ใชเทคโนโลยีสารสนเทศ การเรียนทางไกล การประชุมผานวิดีโอและการเชื่อมระบบอินเตอรเน็ต เปนเรื่องธรรมดาในโรงเรียนทั่วไป โรงเรียนตองไมจํากัดการเขาถึงแหลงขอมูลที่กวางใหญเหลานี้ นักเรียนทุกคนควรมีโอกาสไดใชอินเตอรเน็ตเพื่อแลกเปลี่ยนหรือแบงปนความคิดกับผูอ่ืน และเพื่อทันตอเหตุการณที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลาของโลก กระทรวงฯเชื่อมั่นวาเทคโนโลยีสารสนเทศเหลานี้จะทําใหการศึกษามีความหมายมากกวาแคการเรียนแบบเดิมๆ ดังนั้น ในปจจุบันนี้โรงเรียนประถมและมัธยมสวนใหญจึงเพียบพรอมดวยหองคอมพิวเตอรและบริการการเชื่อมตออินเตอรเน็ต ทั้งนี้ รัฐไดวางแผนปฏิรูปเรื่องการใชเทคโนโลยีสารสนเทศในการเรียนการสอนใหประสบผลสําเร็จภายใน 10 ป ในขณะเดียวกัน แผนปฏิรูปดังกลาวยังมีเปาหมายอื่นๆนอกเหนือจากเรื่องการศึกษา ไดแก เพื่อใหสอดรับกับโครงสรางพื้นฐานดานเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต เพื่อใหทุกคนมีโอกาสเขาถึงการใชเทคโนโลยีฯอยางเทาเทียมกัน และเพื่อสนับสนุนการขยายหลักสูตรการเรียนโดยมีเทคโนโลยีฯเปนพื้นฐาน

3) โครงการ “Smart School” (Malaysian Smart School Project – SSP) โครงการ “Smart School” หรือ SSP เปนโครงการอันเนื่องมาจากแผนปฏิรูปเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศดังกลาวขางตน SSP แสดงใหเห็นวารัฐบาลมาเลเซียสนใจเรื่องนี้อยางจริงจัง กรอบของโครงการจะครอบคลุมถึงการวิจัยและทฤษฎีเกี่ยวกับความรูที่หลากหลาย ปรัชญาการสอนของ SSP ไมไดรวมศูนยไวที่นักเรียนเพียงอยางเดียว แตตองเปนการผสมผสานที่พอเหมาะระหวางยุทธศาสตรการเรียนรูเพื่อสรางความสามารถพื้นฐานกับการสงเสริมการพัฒนาโดยรวมของประเทศ การเรียนการสอนในโครงการ “Smart School” จะเนนที่เนื้อหาใน 4 วิชาหลัก ไดแก ภาษามลายู ภาษาอังกฤษ วิทยาศาสตรและคณิตศาสตร โดยที่เนื้อหาทั้งหมดไดรับการออกแบบใหรองรับกับความตองการและความสามารถที่แตกตางกันของผูเรียน นอกจากนี้ SSP ยังไดกระตุนใหเกิดการพัฒนาวัสดุและสื่อการเรียนการสอนภายในชั้นเรียน ซ่ึงทั้งหมดจะถูกออกแบบใหสามารถรวมเขาไปใน SSP ภายใตระบบบูรณาการ (Smart School Integrated System – SSIS)

4) การเสริมการเรียนวิชาชีพในโรงเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายที่เนนวิชาการ การปฏิรูปในแนวนี้ เปนความประสงคของกระทรวงศึกษาฯที่ตองการใหนักเรียนมัธยมตอนปลายไดมีวิชาเลือกที่กวางและหลากหลายมากขึ้น คือสามารถเลือกเรียนวิชาเลือกที่เปนวิชาชีพตามความสนใจและความถนัดของตนไดอยางเต็มที่ จากที่แตกอนจะมีแตวิชาการซึ่งเต็มไปดวยทฤษฎีเพียงอยางเดียว ปจจุบันจึงมีวิชาเลือกที่เนนการปฏิบัติจริงเพิ่มเขามา โดยวิชาชีพที่คัดมานั้นมีทั้งหมด 5 อาชีพ ไดแก กอสราง การผลิต เศรษฐกิจในบาน เทคโนโลยีการเกษตร และคอมพิวเตอร การปฏิรูปดังกลาวสงผลถึงวิธีการประเมินดวย กลาวคือ จากการประเมินดวยวิธีทดสอบขอเขียน (paper-and pencil tests) มาเปนการประเมินจากความสามารถพื้นฐานของแตละคน (competency-based system)

ทั้งนี้ นักเรียนสวนใหญคอนขางพอใจกับการเปลี่ยนแปลงในเรื่องนี้เนื่องจากวิชาชีพที่เรียนสามารถนําไปใชในการทํางานได 5) การสงเสริมการเรียนการสอนในภาษาอังกฤษและภาษาตางประเทศอยางจริงจัง กระทรวงศึกษาฯไดจัดโครงการตางๆเกี่ยวกับภาษาอังกฤษเพื่อสนับสนุนแผนปฏิรูปนี้ อัน ไดแก

- โครงการเนนบทอานและวรรณกรรมรวมสมัยที่เปนภาษาอังกฤษ - โครงการสงเสริมการรักการอานตั้งแตเล็กๆ - โครงการพัฒนาสื่อการสอน - โครงการภาษาอังกฤษเพื่อวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี - โครงการสรรหาครูผูสอนที่มาจากประเทศที่ใชภาษาอังกฤษเปนภาษาแม

นอกจากภาษาอังกฤษแลว ยังมีภาษาตางประเทศอื่นๆที่สอนในโรงเรียนโดยจัดใหเปนวิชาเลือก ไดแก สเปน ฝร่ังเศส อารบิก ญ่ีปุน และเยอรมัน

การผลิตและการพัฒนาครู เพื่อใหสอดรับกับเปาหมายในเชิงคุณภาพดานการเรียนการสอน

มาเลเซียใหความสําคัญกับการปฏิรูปดานครูผูสอนดวยเชนกัน ซ่ึงแบงออกไดเปน 1) การยกระดับสถานภาพครู การยกระดับสถานภาพครูไดแก การเพิ่มคุณสมบัติผูที่จะมาเปนครู และการเพิ่มอัตรา

เงินเดือน มีการกอตั้งมหาวิทยาลัยครูโดยเฉพาะ นอกจากนี้ คุณวุฒิขั้นต่ําของผูที่จะมาเปนครูถูกปรับใหสูงขึ้นจากประกาศนียบัตร (certificate) มาเปนอนุปริญญา (diploma)

2) การเสริมสรางการศึกษาของครู จากนโยบายการศึกษาแหงชาติ ค.ศ. 1979 ที่ระบุวานอกจากคุณสมบัติสวนบุคคลที่เหมาะสม

กับการเปนครูแลว ยังตองมีความสามารถทางวิชาการดวยนั้น ทําใหกระทรวงศึกษาธิการเริ่มสนับสนุนใหผูที่เรียนครูไดจบการศึกษาระดับปริญญาเปนอยางต่ําเรื่อยมา

3) การยกระดับคุณสมบัติครูในระดับชั้นประถม ในค.ศ. 1996 กระทรวงศึกษาฯไดปรับคุณสมบัติของครูที่สอนในระดับชั้นประถมตองจบ

การศึกษาระดับปริญญาพรอมกับปรับขึ้นอัตราเงินเดือนให ในขณะเดียวกัน ยังไดสงเสริมใหครูที่กําลังสอนอยูมีโอกาสศึกษาเพิ่มเติม ทั้งแบบการศึกษาทางไกลและแบบหลักสูตรเฉพาะในมหาวิทยาลัยในประเทศและตางประเทศ

4) สงเสริมและใหกําลังใจแกครูที่มีผลงานดี กระทรวงศึกษาฯมีการมอบรางวัลใหแกครูผูสอนและอาจารยใหญที่มีผลงานดีเดน เพื่อเปน

การใหกําลังใจและรักษาบุคคลที่มีความสามารถใหทํางานอยูในโรงเรียนนานๆ นอกจากนี้ ยังมีการเพิ่มเงินเดือนใหตามความสามารถโดยไมจําเปนตองพิจารณาที่อาวุโสอยางเดียว ดังนั้น จึงเปนไปไดที่

ครูบางคนอาจมีเงินเดือนสูงกวาอาจารยใหญ คาตอบแทนที่จูงใจเชนนี้ยังไดถูกนําไปใชกับครูที่สอนวิชาภาษาอังกฤษ วิทยาศาสตร คณิตศาสตรและวิชาที่ใชเทคนิคเฉพาะ รวมถึงครูที่สอนในพื้นที่หางไกลความเจริญจะไดรับเบี้ยกันดารดวยเชนกัน

5) การเพิ่มพูนความสามารถทางภาษาอังกฤษ เดือนพฤษภาคม ค.ศ. 2002 คณะรัฐมนตรีไดประกาศใหใชภาษาอังกฤษเปนสื่อการสอน

สําหรับวิชาวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร เพื่อพัฒนาเยาวชนรุนใหมใหกาวทันกับยุคเทคโนโลยีสารสนเทศ ดังนั้น ครูที่สอนในสองวิชานี้ซ่ึงมีประมาณ 50,000 คนจึงตองเขารับการอบรมในหลักสูตรการใชภาษาอังกฤษใหมีประสิทธิภาพพอที่จะนําไปสอนได และไดเร่ิมสอนจริงๆในค.ศ. 2003 ครูผูสอนจะไดรับการสนับสนุนคอมพิวเตอรพกพา พจนานุกรม หนังสือไวยากรณ และอุปกรณการเรียนการสอนที่เกี่ยวของ

6) โครงการเสริมสรางบุคลิกภาพ โครงการนอกสถานที่นี้เปนกิจกรรมเสริมสรางรางกายทั้งทางกายภาพ ความคิดและจิตใจ

โดยกิจกรรมจะมีลักษณะเปนกระบวนการเรียนรูเชิงบูรณาการ เพื่อผลิตทรัพยากรบุคคลที่มีความสมดุลทางอารมณ มีความสามารถและความมั่นใจในตัวเอง ตัวอยางกิจกรรม ไดแก การเขาคาย ทํางานกลุม ฝกสอนเชิงปฏิบัติการ พายเรือแคนู ปนเขา และดําน้ํา

7) การใหทุนการศึกษา เพื่อพัฒนาและสงเสริมใหครูทุกคนมีความกาวหนาในวิชาชีพ การใหทุนการศึกษาตอใน

ระดับปริญญาโทและเอกจึงเปนมาตรการสําคัญที่รัฐนํามาใช ทุนการศึกษานี้รวมคาใชจายทุกอยางไมวาจะเปนคาลงทะเบียน คาใชจายในชีวิตประจําวันและคาวัสดุการศึกษา

กลไกการบริหารจัดการ ในการบริหารจัดการใหเปนไปตามแนวทางการปฏิรูปการศึกษาใหพลเมืองมาเลเซียในสวนตางๆ ของประเทศไดรับการศึกษาคุณภาพอยางทั่วถึงนั้น มาเลเซียอาศัยยุทธศาสตรดานกลไกการบริหารจัดการในลักษณะที่เนนหลักการรวมอํานาจไวที่สวนกลาง โดยแบงโครงสรางการบริหารจัดการตามระดับการบังคับบัญชาออกเปน 4 ระดับคือ ระดับรัฐบาลกลาง ระดับรัฐ ระดับเขตและระดับโรงเรียน แตละระดับจะมีองคกรทําหนาที่กํากับดูแลตามลําดับดังนี้ กระทรวงศึกษาธิการ กรมการศึกษาประจํารัฐ สํานักงานการศึกษาประจําเขต และโรงเรียนแตละแหง สวนการจัดการในรัฐซาบาหและซาราวัคซึ่งตั้งอยูบนเกาะบอรเนียวนั้น เนื่องจากมีพื้นที่กวางมาก ลําพังการบริหารจัดการโดยกรมการศึกษาประจํารัฐยังไมสามารถดูแลไดทั่วถึง จึงไดมีการเพิ่มหนวยงานขึ้นมาเพื่อชวยเหลือภารกิจของกรมฯ นั่นคือสํานักงานการศึกษาประจําภาค การบริหารจัดการในระดับรัฐบาลกลาง มีกระทรวงศึกษาธิการโดยรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการเปนผูรับผิดชอบการบริหารระบบการศึกษาของชาติ และการนํานโยบายการศึกษาไปปฏิบัติ ภารกิจหลักคือการกําหนดแนวนโยบายการศึกษาแหงชาติ การแปรนโยบายใหเปนแผนงาน โครงการ และกิจกรรมตางๆ รวมทั้งการกําหนดหลักสูตร ประมวลวิชาและการสอบของ

โรงเรียนทั่วประเทศ โดยมีผูชวยอีก 3 ตําแหนงคือ รัฐมนตรีชวยวาการฯ 2 คนและปลัดกระทรวงฯ 1 คน อนึ่ง การบริหารจัดการในกระทรวงยังแบงออกเปนงานดานการบริหารและงานบริการการศึกษา งานบริหารทั้งหมดจะอยูภายใตความรับผิดชอบของเลขาธิการซึ่งมีรองเลขาธิการเปนผูชวยอีก 2 คน สวนงานบริการการศึกษามีอธิบดีเปนผูรับผิดชอบพรอมดวยรองอธิบดีจํานวน 5 คน ทั้งเลขาธิการและอธิบดีขึ้นตรงตอรัฐมนตรีวาการฯ กระบวนการกําหนดนโยบายของรัฐบาลกลางโดยกระทรวงศึกษาธิการใชระบบของคณะกรรมการ กลาวคือมีคณะกรรมการวางแผนการศึกษา (Education Planning Committee – EPC) ซ่ึงมีรัฐมนตรีวาการฯเปนประธาน เปนองคกรที่มีอํานาจตัดสินใจสูงสุด โดยมีกองวิจัยและวางแผนเปนหนวยงานสนับสนุน อยางไรก็ดี อํานาจการประกาศใชนโยบายขั้นสุดทายจะอยูที่รัฐสภา ซ่ึงตองมีการแถลงตอคณะรัฐมนตรีกอนเสมอ การบริหารจัดการระดับรัฐเปนการนํานโยบายจากสวนกลางไปปฏิบัติ โดยผานกรมการศึกษาประจํารัฐทั้ง 14 กรม ในขณะเดียวกันตองนําผลที่ไดจากนโยบายนั้นรายงานกลับขึ้นไปยังสวนกลางดวย สําหรับในระดับเขตนั้น มีสํานักงานการศึกษาอยูทุกรัฐยกเวนรัฐเปอรลิสและเมอละกา ภารกิจของสํานักงานการศึกษาเสมือนเปนตัวเชื่อมที่มีประสิทธิภาพระหวางโรงเรียนและกรมการศึกษาฯ สวนการบริหารในระดับโรงเรียนนั้นจะอยูภายใตการควบคุมดูแลของอาจารยใหญแตละโรงเรียน ซ่ึงอาจารยใหญไมเพียงแตรับผิดชอบงานบริการเทานั้น แตยังรวมถึงงานดานการสอนดวย นอกจากนี้ยังตองมีสมาคมผูปกครองและครูในทุกโรงเรียนอีกดวย สาธารณรัฐฟลิปปนส ยุทธศาสตรและวิสัยทัศน การปฏิรูปการศึกษาของสาธารณรัฐฟลิปปนส เปนไปตามวิสัยทัศนทางการศึกษาที่วา มนุษยเปนทรัพยากรที่สําคัญที่สุด การใหการศึกษาแกเด็กฟลิปปนสเปนการชวย ใหเด็กคนพบตัวเองในแบบที่เด็กเปนศูนยกลาง และใหเกิดคุณคาจากสภาพแวดลอมในเรื่องการเรียนการสอน ทําใหเด็กกําหนดเปาหมายของตนเองในชุมชนโลก นอกจากนี้ยังเปนการเตรียมใหเขาเปนประชาชนที่มีความรับผิดชอบและเปนผูนําที่รอบรู เปนผูรักชาติ และภูมิใจที่เกิดเปนชาวฟลิปปนส วิสัยทัศนดังกลาวตระหนักวา การจัดใหมีระบบโรงเรียน เปนสิ่งที่ครูและครูใหญปราถนาใหเกิดผลการเรียนรูไมเฉพาะการใหอํานาจ การมีความสามารถ และความนาเชื่อถือ แตเพราะวาเขาเอาใจใส และเปนสิ่งที่ผูบริหารตอบสนองผูนําที่มีวิสัยทัศนตอการเรียนรูที่จําเปนตอชาติ มีทรัพยากรที่เพียงพอ มีเทคโนโลยีที่เหมาะสม สรางบรรยากาศที่สงเสริมการเรียนรู รวมถึงเปนสิ่งที่ครอบครัว ชุมชน และสถาบันอื่นๆ ทั้งนี้ โดยรับรองสิทธิของเด็กทุกคน โดยเฉพาะเด็กดอยโอกาส

จากวิสัยทัศนขางตน กระทรวงศึกษาธิการของฟลิปปนสไดกําหนดเปนภารกิจในใหการศึกษาขั้นพื้นฐานอยางมีคุณภาพและเทาเทียมกัน รวมทั้งวางรากฐานการเรียนรูแบบตลอดชีวิต (life - long learning) พรอมไปกับการใหบริการทั่วไป ในการสนองตอบตอจุดมุงหมายทางการศึกษา

ซ่ึงประกอบดวย 1) การขยายการศึกษาโดยทั่วไป เพื่อชวยใหบุคคลในสังคมไดรับการพัฒนาศักยภาพในตัวเอง อันจะเปนการสงเสริมและยกระดับบุคคลและสังคม 2) การชวยใหบุคคลมีสวนรวมในหนาที่เบื้องตนของสังคม และเรียนรูความจําเปนของการสรางรากฐานการศึกษา อันจะนําไปสูการพัฒนาใหเปนประชากรของประเทศที่มีความสามารถรอบตัวและมีคุณภาพ 3) การฝกอบรมกําลังแรงงานของประเทศในทักษะความชํานาญระดับกลางอันจะนําไปสูการพัฒนาประเทศ 4) การพัฒนาวิชาชีพระดับสูงเพื่อใหเกิดภาวะผูนํา สําหรับประเทศชาติ สรางความองคความรูใหกาวหนาผานการคนควาวิจัย และประยุกตองคความรูใหม เพื่อปรับปรุงคุณภาพชีวิต และ 5) การตอบสนองอยางมีประสิทธิภาพตอการเปลี่ยนแปลงความตองการและเงื่อนไขผานระบบการวางแผนและประเมินผลทางการศึกษา สําหรับระบบการศึกษาแบบ 6-4-4 ดังตอไปนี้

1) การศึกษาขั้นตนในระดับประถม (Primary Education) ซ่ึงใชเวลาศึกษาเลาเรียน 6 ป (มีบางโรงเรียนเอกชนที่ใชเวลาเรียนในระดับนี้ 7 ป) โดยมีการกําหนดใหเด็กที่มีอายุ 6 ป เขาศึกษาเลาเรียนในระดับประถม สวนการศึกษาเลาเรียนในชวงกอนระดับประถม ถือเปนทางเลือกใหกับพอแมผูปกครองที่จะใหเรียนหรือไมก็ได

2) การศึกษาในระดับมัธยม (Secondary Education) ซ่ึงใชเวลาศึกษาเลาเรียน 4 ป สําหรับเด็กอายุระหวาง 12 - 15 ป โดยแบงออกเปน 2 ประเภท คือ การศึกษาสายสามัญ (General High Education) และการศึกษาสายวิชาชีพ (Vocational High Education) ซ่ึงใชระยะเวลาศึกษาเลาเรียน 4 ป ทั้งนี้ในหลักสูตรของการศึกษาระดับมัธยมจะตองมีเรียนวิชาถูกกําหนดใหมีการเรียนวิทยาศาสตร คณิตศาสตร และภาษาอังกฤษดวย

3) การศึกษาระดับอุดมศึกษา (Higher Education) สําหรับผูเขารับการศึกษาจะมีอายุระหวาง 16 - 19 ป ใชเวลาศึกษาเลาเรียน 4 ป (ยกเวนหลักสูตรวิศวกรรม กฎหมาย แพทย และวิทยาศาสตร ที่ตองใชระยะเวลาศึกษาเลาเรียน 5 ปหรือมากกวานั้น) โดยแบงระดับการศึกษาออกเปน ปริญญาตรี โท และเอก ในหลากหลายหลักสูตรวิชา นอกจากนี้นักศึกษาตางชาติยังสามารถเขาศึกษาไดในจํานวน 150 วิทยาลัย และมหาวิทยาลัยตาง ๆ อีกมากในประเทศฟลิปปนส

กลไกการบริหารจัดการ ยุทธศาสตรในการบริหารจัดการใหเปนไปตามแนวทางการปฏิรูป

การศึกษาขางตนนั้น สาธารณรัฐฟลิปปนสยังคงเนนกลไก 3 สวนประกอบกัน คือ 1) กระทรวงการศึกษา (Department of Education -DepED) ซ่ึงจะรับผิดชอบในการกํากับ

ดูแลโดยตรงตอการศึกษาในระดับประถม (รวมถึงกอนระดับประถมดวย) มัธยม และการศึกษาอยางไมเปนทางการ โดยมีหนวยงานในสังกัด ประกอบดวยสํานักงานเลขาธิการ (Office of the Secretary) ฝายบริการธุรการ (Administrative Service) ฝายบริการดานการเงินและการจัดการ (Finacial and Management Service) ฝายบริการทรัพยากรมนุษย (Human Resource Development Service) ฝายวางแผน (Planing Service) ฝายเทคนิค (Technical Service) สํานักงานการประถมศึกษา (Bureau of

Elementary Education) สํานักงานการมัธยมศึกษา (Bureau of Secondary Education) สํานักงานการศึกษาไมเปนทางการ (Bureau of Non-Formal Education) สํานักงานการศึกษาทางกายภาพ และโรงเรียนกีฬา (Bereau of Physical Education & School Sports) ศูนยทดสอบและวิจัยทางการศึกษาแหงชาติ (National Educational Testing and Research Center) คณะกรรมการเฉพาะกิจในการปฏิบัติการตามโครงการพัฒนาการศึกษา (Educational Development Project Implementing Task Force) สถาบันนักการศึกษาแหงชาติฟลิปปนส (National Educators Academy of the Philippines) ศูนยกิจการหลักสูตรรวมสําหรับนักเรียน (Center for Students & Co-Curricular Affairs) ศูนยโภชนาการและสุขภาพของโรงเรียน (School Health and Nutrition Center)

2) คณะกรรมการการอุดมศึกษา (Commission on Higher Education-CHED) ทําหนาที่กํากับดูแลการศึกษาในระดับอุดมศึกษา (วิทยาลัยและมหาวิทยาลัย) สําหรับผูที่จบการศึกษาในระดับมัธยมแลว

3) กลุมการศึกษาดานวิชาชีพและการพัฒนาทักษะ (Technical Education and Skills Development Authority - TESDA) ทําหนาที่กําหนด และกํากับดูแลหลักสูตร รายวิชาตาง ๆ ในการศึกษาสายวิชาชีพ

สาธารณรัฐสิงคโปร

ยุทธศาสตรและวิสัยทัศน สิงคโปรเปนประเทศที่ใหความสําคัญกับการพัฒนาระบบการศึกษามาตั้งแตเร่ิมไดรับอิสรภาพจากระบอบการปกครองแบบอาณานิคมของอังกฤษเมื่อป 2508 นับถึงปจจุบันนั้น สิงคโปรปฏิรูประบบการศึกษามาไดประมาณ 4 คร้ัง เร่ิมจากนโยบาย Education for All ซ่ึงมีลักษณะของการศึกษาระบบมาตรฐานเดียวและหลักสูตรเดียวซ่ึงกําหนดใหนักเรียนทุกคนตองเรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานภาคบังคับเปนเวลา 10 ป ประกอบดวยระดับประถมศึกษา 6 ป และระดับมัธยมศึกษา 4 ป สวนการเรียนในระดับสูงขึ้นหลังจากนั้นขึ้นกับความสามารถของนักเรียนแตละคน ประกอบกับความสามารถในการรับนักศึกษาและสาขาวิชาที่เปดสอนในสถาบันการศึกษาช้ันสูง แนวนโยบายดังกลาวเปนแนวทางเพื่อความอยูรอด (Survival-driven) และการแกไขปญหาความไมเปนระบบ คานิยม และภาษาที่แตกตางกันไปตั้งแตสมัยอาณานิคม จากการมีโรงเรียนเอกชนจํานวนมากรองรับประชากรหลัก 4 ชาติพันธุที่มีอยูในประเทศ คือ จีน มาเลย อินเดีย และเอเชียเชื้อสายยุโรป (Eurasians)

ตอมาในชวงตนทศวรรษที่ 2520 ระหวางที่สิงคโปรมีเศรษฐกิจเจริญกาวหนากวารอยละ 9 ตอป กอนที่จะเขายุคเศรษฐกิจถดถอยในป 2528 นั้น มีการปฏิรูปการศึกษาอีกครั้งอยางเปนระบบมากขึ้น โดยเริ่มเปลี่ยนจากการเนนในเชิงปริมาณสูเชิงคุณภาพ ซ่ึงการเนนในเชิงคุณภาพชวงนี้เปนการเนนในเชิงประสิทธิผล (Efficiency-driven) ซ่ึงมีลักษณะที่เรียกวา ระบบการศึกษาตามความสามารถอันหลากหลายของผูเรียน (Ability-Driven Education System) เนนประสิทธิผลทางการศึกษาดวยตนทุน

ที่เหมาะสม มีโครงการทางการศึกษาที่ทาทายความสามารถ ศักยภาพและความสนใจซึ่งแตกตางกันไปของผูเรียน มีการลดขนาดชั้นเรียนในการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน เปดโอกาสใหนักเรียนไดเรียนรูและพัฒนากาวไปตามความสามารถทางการศึกษาของตนเอง โครงการศึกษาสําหรับนักเรียนผูมีพรสวรรค (Gifted Education Program) ซ่ึงเริ่มดําเนินการอยางเปนรูปธรรมในป 2527 เปนสวนหนึ่งของแนวทางการศึกษาตามแนวปฏิรูปตั้งแตชวงนั้น

การปฏิรูประบบการศึกษาในระยะที่ 3 อยูในชวงทศวรรษที่ 2535 ถึงกอนกาวเขาสูศตวรรษที่ 21 ดวยแผนพัฒนาทางการศึกษาซึ่งเนนในเชิงกระบวนการเรียนการสอนควบคูไปกับผลลัพธทางการศึกษา เพื่อใหสามารถตอบสนองตอความสามารถอันหลากหลายของผูเรียนมากยิ่งขึ้น ประกอบกับการเนนจิตสํานึกและแรงจูงใจในการใฝเรียนรูดวยสัมฤทธิผลหรือความสําเร็จทางการศึกษาของผูเรียนแตละคน ดวยการทุมทรัพยากรดานเงินทุนทางการศึกษามากขึ้น มีการเนนการบริหารจัดการแบบรวมศูนย มีหลักสูตรการเรียนการสอนที่เขมขน และมีการเปลี่ยนจากการประเมินจากภายนอกสูการเนนประเมินจากภายในแตละโรงเรียนและสถาบันการศึกษาดวยความถี่มากขึ้นเพื่อใหสถานศึกษารูจักตนเองมากขึ้น ดวยแรงสนับสนุนอยางแข็งขันจากครอบครัวของผูเรียน การพัฒนากําลังคนดานบุคลากรทางการสอนโดยเนนการฝกอบรม เพื่อใหพัฒนาการทางการศึกษากาวไปอยางมั่นคงมากขึ้น

สําหรับในปจจุบัน เปนการปฏิรูประยะที่ 4 ซ่ึงมุงสูความเปนผูนําทางดานการผลิตทรัพยากรมนุษยรองรับศตวรรษที่ 21 ซึ่งไดกาวสูการประเทศพัฒนาแลว ที่เนนทั้งภาคการผลิตดานอุตสาหกรรมและภาคการบริการที่ใชเทคโนโลยีระดับสูง ทั้งในการยกระดับความเชี่ยวชาญการผลิต และการบริการ ดวยแนวคิดเรื่องเสนทางเดินของเทคโนโลยี (Technology Corridor) การเปนเกาะแหงขาวสารขอมูล (Intelligent Island) ในการสรางความหลากหลายทางเศรษฐกิจดวยแผนพัฒนานวัตกรรมสําหรับศตวรรษที่ 21 เพื่อความพรอมในการแขงขันในตลาดโลก ในการบรรลุเปาหมายที่กําหนดไว สิงคโปรใหความสําคัญกับการลงทุนดานกําลังคนหรือการพัฒนาทุนมนุษยของประเทศเปนอยางมากมาโดยตลอด มีการทุมเทการลงทุนในการจัดระบบการศึกษาและระดับประสิทธิภาพทางการศึกษาในทุกระดับในลักษณะที่พยายามสรางความเปนธรรมและความเปนอันหนึ่งอันเดียวกันทางสังคม เศรษฐกิจและการเมือง เพื่อปองกันปญหาความแตกแยกในสังคม และดวยความปรารถนาใหสิงคโปรเปนศูนยกลางอุดมศึกษาระดับสากลแหงภาคพื้นเอเชียแปซิฟกภายในป 2543 แนวทางการปฏิรูปการศึกษาในปจจุบันของสิงคโปร เปนการเนนทําใหระบบการศึกษาอํานวยใหนักเรียนทุกคนคนพบปฏิภาณความสามารถของตนเอง กาวสูศักยภาพเต็มขั้นของตน และเกิดเปนความหลงใหลฝกใฝในการเรียนรูซ่ึงฝงตัวไปตลอดชั่วชีวิตในยุคศตวรรษที่ 21 ในปจจุบัน สิงคโปรไดกําหนดให “Thinking Schools, Learning Nation” เปนวิสัยทัศนทางการศึกษาสําหรับศตวรรษที่ 21 ซ่ึงหมายถึง การที่สิงคโปรตองการฟูมฟกใหเด็กรุนใหมมีเจตนารมณที่จะคิดในวิถีใหมๆ แกปญหาใหมๆ และสรางโอกาสใหมแกอนาคต

ทั้งนี้ ดวยปรัชญาทางการศึกษาที่วา การศึกษาทําหนาที่ 2 ประการ คือ พัฒนาปจเจกชน และใหพลเมืองมีการศึกษา ทั้งนี้ ความคิดสรางสรรค ทักษะในการคิดวิเคราะห ความรับผิดชอบและสายสัมพันธอันแข็งแกรงตอครอบครัว ชุมชน และประเทศชาติ เปนหัวใจสําคัญของอนาคตในยุคศตวรรษที่ 21

จากวิสัยทัศนและปรัชญาทางการศึกษายุคศตวรรษที่ 21 ขางตน สิงคโปรเห็นวาเปนความทาทายของประเทศในการที่จะพัฒนาและสรางเสริมใหเด็กนักเรียนมีศักยภาพในการคิดสรางสรรคและในการปลูกฝงความฝกใฝในการเรียนรูอยางตอเนื่อง คนพบความสามารถและปฏิภาณของตนเองได และสามารถเปนทรัพยากรสําคัญของประเทศชาติดวยความมั่นใจในความสามารถของตนเอง ดวยการปฏิรูประบบการศึกษาใหมีลักษณะแนวทางดําเนินการดังนี้

1) การสานตอแนวทางเดิมในการเปดโอกาสใหเด็กทุกคนในสิงคโปรไดรับการศึกษาทั่วไป (General education) เปนเวลาอยางนอย 10 ป โดยมีหลักสูตรระดับชาติและการสอบวัดผลระดับชาติเมื่อจบการศึกษาในระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาและเตรียมอุดมศึกษา (Junior college) ตามระบบการศึกษาซึ่งมุงสรางทุนมนุษยคุณภาพสูตลาดการจางงาน

2) การริเร่ิมแนวทางใหมโดยการบูรณาการเสริมตอเขาไปในแนวทางเดิมขางตน เพื่อเปดโอกาสใหเด็กนักเรียนสามารถเลือกสถาบันการศึกษาตามจุดแข็งและความสนใจที่แตกตางกันหลังจากที่จบการศึกษาในระดับประถมศึกษาแลว ดังนี้

2.1) ระบบการศึกษาที่มีความยืดหยุน (Flexible) และหลากหลาย (Diverse) มากขึ้น ซ่ึงมุงใหนักเรียนมีทางเลือก (Choice) มากขึ้นและมีความเปนเจาของ (Ownership) กระบวนการเรียนรูของตนเองมากขึ้น

2.2) โครงการบูรณาการทางการศึกษา (Integrated Programme) เปนโครงการที่ริเร่ิมขึ้นในป 2548 ในลักษณะของการศึกษาไรขอบ (Seamless) หรือลดข้ันตอนเชิงโครงสรางทางการศึกษาสําหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาที่ตองการมุงสูมหาวิทยาลัยโดยเฉพาะ โดยนักเรียนในโครงการนี้สามารถกาวสูระดับเตรียมอุดมศึกษาไดโดยไมตองผานขั้นตอนปกติ คือ การสอบรับประกาศนียบัตรการศึกษาทั่วไป (Singapore-Cambridge General Certificate of Education: GCE) ระดับ O

2.3) ใหมีการจัดตั้งโรงเรียนเชี่ยวชาญเฉพาะดานอยางเปนอิสระ เพื่อพัฒนานักเรียนที่มีความสามารถพิเศษเฉพาะดานการกีฬา คณิตศาสตร วิทยาศาสตร ศิลปะ ใหมีพัฒนาการเต็มความสามารถ โรงเรียนเหลานี้อยูในสังกัดของกระทรวงอื่นนอกจากกระทรวงศึกษาฯ หรือเปนสวนหนึ่งของสถาบันการศึกษาระดับสูงที่มีอยูแลว เชน การจัดตั้งโรงเรียนกีฬา (Singapore Sports School) ในป 2547 ในสังกัดของ Ministry of Community Development and Sports การที่ National University of Singapore (NUS) จัดตั้งโรงเรียนที่เนนสอนดานคณิตศาสตรและวิทยาศาสตรโดยเฉพาะ เรียกวา NUS High School for Maths and Science และการที่ Ministry of Information, Communication and the Arts จะจัดตั้งโรงเรียนศิลปะ (Arts School) สําหรับนักเรียนวัย 13-18 ปในป 2550

2.4) เปดโอกาสใหโรงเรียนเปดสอนวิชาใหมสําหรับระดับ O โมดูลการเรียนการสอนที่เปนวิชาเลือก ตลอดจนวิชาที่เปนการเรียนการสอนทางเลือก (Alternatives) จากระบบหลักสูตรและการสอบที่มีอยูทั่วไป

2.5) เปดโอกาสใหมีโครงการใหมๆ ในโรงเรียน เชน โครงการสูความเปนเลิศในโรงเรียนระดับประถมศึกษา เปนตน

2.6) ใหมีความยืดหยุนตอการศึกษาเลาเรียน โดยในระดับประถมศึกษานั้น เปดโอกาสใหมีการบูรณาการวิชาตางๆ เขาดวยกัน สวนในระดับมัธยมศึกษานั้น นักเรียนจะเรียนบางวิชาที่มีการเปดสอนในระดับที่สูงกวาที่เรียนอยู หรือ ขอกาวขามไปเรียนวิชาในชั้นที่สูงกวาเดิม

2.7) ใหมีความยืดหยุนในการเรียนการสอนดวยภาษาแม เพื่อเปดโอกาสใหนักเรียนซึ่งมีความสามารถหลากหลายพัฒนาไปไดไกลที่สุดตามความสามารถของตน

2.8) การจัดตั้งโรงเรียนเอกชนระดับมัธยมศึกษาและเตรียมอุดมศึกษา กลาวคือ ภาคเอกชนสามารถใชเงินทุนของตนจัดตั้งสถานศึกษาของตนเองได หากแตตองปฏิบัติตามขอบังคับและนโยบายทางการศึกษาที่สําคัญบางประการ เชน นโยบายการสอนสองภาษา การนําวิชาการศึกษาเกี่ยวกับประเทศชาติ (National Education) เขามาใสไวในหลักสูตรการเรียนการสอน ทั้งนี้ กระทรวงศึกษาธิการคาดหมายวาจะมีนักเรียนอยางนอยรอยละ 50 เขาศึกษาในโรงเรียนเอกชน

2.9) นับตั้งแตป 2550 เปนตนไป นักเรียนมีอิสระในการเรียนภาษาใดภาษาหนึ่งที่ไมใชภาษาทองถ่ินเปนภาษาที่สาม

2.10) ระบบการศึกษาที่มีฐานกวาง (Broad-based education) มากขึ้น เพื่อพัฒนานักเรียนอยางเปนองครวม (Holistic) ทั้งในและนอกชั้นเรียน

2.11) โรงเรียนตั้งแตระดับประถมศึกษาถึงอุดมศึกษามีความยืดหยุนมากขึ้นในการรับนักเรียนโดยตรงตามเกณฑที่โรงเรียนกําหนดขึ้นเอง ซ่ึงอาจหลากหลายแตกตางกันไป

2.12) ตั้งแตป 2551เปนตนไป จะมีการใชระบบประกาศนียบัตรจบการศึกษาของโรงเรียน (School Graduation Certification) โดยใหสะทอนถึงสัมฤทธิผลทั้งการเรียนเชิงวิชากรและที่ไมเกี่ยวกับการเรียนเชิงวิชากร

2.13) การยอมรับกิจกรรมที่เปนความคิดริเร่ิมของนักเรียน และกิจกรรมการเรียนรูในลักษณะที่มีชุมชนเปนฐาน

นอกจากนี้ ในแตละระดับขั้นของการศึกษา ยังมีการกําหนดผลลัพธเชิงคุณภาพไวอยางชดัเจน โดยเฉพาะอยางยิ่งในระดับเตรียมอุดมศึกษาและระดับอุดมศึกษานั้นมีการกําหนดผลลัพธเชิงคุณภาพในลักษณะที่สอดรับกับคุณสมบัติของทุนมนุษยช้ันแนวหนาหรือผูที่มีศักยภาพเปนผูนําดังนี้

ผูจบประถมศึกษา ผูจบมัธยมศึกษา ผูจบ Junior

College ผูจบอุดมศึกษา ผูท่ีมีศักยภาพเปนผูนํา

แยกถูก-ผิดได มีคุณธรรม มีพลานุภาพและตัดสินใจไดอยางแนวแน

เทิดทูนคุณธรรม ผูกพันตอวัฒนธรรมรากเหงา โดยสามารถเขาใจและเคารพในความแตกตาง มีความรับผิดชอบตอครอบครัว ชุมชนและประเทศชาต ิ

มุงมั่นที่จะยกระดับสังคมใหดีขึ้น

เรียนรูที่จะแบงปนและใหโอกาสแกผูอ่ืนกอน

ใสใจและหวงใยผูอ่ืน

มีความรับผิดชอบตอสังคม

เชื่อในหลักการของประเทศดานพหุวัฒนธรรมและระบบความกาวหนาตางมีขีดความสามารถ พึงพอใจในขอจํากัด

มีเชิงรุกในการเอาชนะขอจํากัดตางๆ

ตางๆ ของประเทศ โดยยังคงสามารถเล็งเห็นโอกาสตางๆ ได

ผูจบประถมศึกษา ผูจบมัธยมศึกษา ผูจบ Junior

College ผูจบอุดมศึกษา ผูท่ีมีศักยภาพเปนผูนํา

สามารถสรางมิตรภาพกับผูอ่ืน

ทํางานเปนทีมและเหน็คุณคาของการทํางานรวมกันในแตละสวน

เขาใจวาในสิ่งที่กระตุนจูงใจผูอ่ืน

เปนสวนหนึ่งของสังคมที่มีความเมตตากรุณา

มีความเมตตากรุณาตอผูอ่ืน

กระตือรือรนที่จะเรียนรูอยางมีชีวิตชีวา

บริหารจัดการไดอยางมีความคดิริเร่ิม

มีจิตวิญญาณเปนผูประกอบการอยางสรางสรรค

ยินดีทีจ่ะตอสู แลวภาคภูมิใจในผลงานของตน โดยเหน็คุณคาในการทํางานรวมกับผูอ่ืน

สามารถกระตุน จูงใจและดึงสวนที่ดีที่สุดออกมาจากผูอ่ืน

สามารถคิดเพื่อตนเองและแสดงออกมาได

มีฐานกวางและมั่นคงสําหรับการเรียนรูเพิ่มเติม

สามารถคิดอยางเปนอิสระและสรางสรรค

สามารถคิด ใชเหตุผล และเผชิญกับอนาคตอยางมีความมั่นใจในตัวเอง มีความกลาและความมั่นใจที่จะเผชญิกับศัตรู

สามารถกําหนดอนาคตของตนและนําพาชวีิตไปสูเปาหมายที่วางไว

ภูมิใจในงานของตน

เชื่อในความสามารถของตน

ฝาฟนเพื่อความเปนเลิศ

สามารถแสวงหาความรู มีกระบวนการในการสรางสรรคความรู

สามารถฟนฝาและกาวหนาในเศรษฐกิจฐานความรู

ผูจบประถมศึกษา ผูจบมัธยมศึกษา ผูจบ Junior

College ผูจบอุดมศึกษา ผูท่ีมีศักยภาพเปนผูนํา

และนําความรูมาใชใหเกิดประโยชน

มีพฤติกรรมการแสดงออกและดํารงชีวิตอยางมีสุขภาพดีจนเปนนิสัย

ช่ืนชอบความงาม กระตือรือรนที่จะดํารงชีวิตอยางมีรสชาติ

มีความคิดสรางสรรคในเชิงนวัตกรรม ดวยจิตวิญญาณทีจ่ะปรับปรุงใหดขีึ้นอยางตอเนื่อง มีนิสัยในการเรียนรูตลอดชวีิต และมีความรับผิดชอบปลุกฝงในจิตวิญญาณ

มีความคิดสรางสรรคและมีจินตนาการ

รักสิงคโปร รูจักและเชื่อในความเปนสิงคโปร

เขาใจวาอะไรที่จะสามารถนําสิงคโปรสูระดับแนวหนา

คิดในระดับโลกแตฝงรากลึกลงในสิงคโปร

มุงมั่นที่จะเอาชนะสิ่งที่ไมปกติโดยไมลดละ

ที่มา: Ministry of Education, 2004. หลักสูตรและการเรียนการสอน ในปจจุบัน การปฏิรูปในสวนนี้ แบงออกไดเปน 3 สวน คือ

1) สวนหลัก: การสอนใหนอยลง เรียนใหมากขึ้น ทั้งนี้ เปนการเนนที่ระดับประถมศึกษามัธยมศึกษา และเตรียมอุดมศึกษา ดังนี้

1.1) การทําใหหลักสูตรการเรียนการสอนวิชาตางๆ กระชับขึ้นโดยไมทําใหความแข็งแกรงของวิชาตางๆ สูญเสียไป เพื่อใหนักเรียนมีอิสระที่จะเนนความสนใจไปที่ความรูและทักษะหลัก

1.2) โรงเรียนตองเปดโอกาสใหนักเรียนพัฒนาทักษะในการรังสรรคนวัตกรรม และพัฒนาเอกลักษณของตนเอง

1.3) การทบทวนวิธีการสอบและประเมินวัดผลตางๆ ในลักษณะที่กระตุนใหมีการศึกษาและทดลองดวยตนเองอยางเปนอิสระ

2) การเพิ่มความเขมขนในแนวนโยบายบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศเขาไปในกระบวนการเรียนรูและหลักสูตรการเรียนการสอน โรงเรียนทุกแหงไดรับงบประมาณสนับสนุนดานคอมพิวเตอรและการนําเทคโนโลยีสารสนเทศเขาไปในกระบวนการเรียนรูและหลักสูตรการเรียนการสอน กวา 1.2 พันลานเหรียญสหรัฐฯ มาตั้งแตป 2540

3) หลักสูตรและการวัดผลทั่วไปใหมระดับ A ทั้งนี้ จะเริ่มขึ้นในป 2549 เปนตนไป สําหรับนักเรียนในระดับเตรียมอุดมศึกษาประเภท Junior College (JC) และ Centralised Institute (CI) เพื่อใหสอดรับกับระบบการศึกษาใหมที่เนนความยืดหยุน หลากหลายและฐานกวางทางการศึกษา เพื่อเตรียมนักเรียนเขาสูโลกในศตวรรษที่ 21 ซ่ึงมีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วดานอาชีพการงานดวยความรูและประสบการณหลากหลายสาขาวิชา โดยมีสาระสําคัญแบงออกได 3 ประการคือ

ก) การอิงความรูสหสาขาวิชา (Multi-disciplinary) รองรับเศรษฐกิจฐานความรูที่กวางขวางมากขึ้น (More Breadth) และมีทางเลือกมากขึ้น (More Options)

ข) การเนนทักษะในการคิด(Thinking Skills) และการสื่อสาร (Communication Skills) ค) การศึกษาแบบรอบรูองครวม (Holistic Education) ผสานทักษะแหงการดําเนินชีวิต

(Life Skills) ทักษะดานความรู (Knowledge Skills) และสาระวิชาตางๆ (Content-based Subjects) 3 ดาน คือ ภาษา มนุษยศาสตร-ศิลปศาสตร และคณิตศาสตร-วิทยาศาสตร เขาดวยกัน เชน นักเรียนในสายมนุษยศาสตร-ศิลปศาสตรจะตองเรียนวิชาในสายคณิตศาสตร-วิทยาศาสตร อยางนอยหนึ่งวิชา และนักเรียนในสายคณิตศาสตร - วิทยาศาสตร จะตองเรียนวิชาในสายมนุษยศาสตร-ศิลปศาสตรอยางนอยหนึ่งวิชา เปนตน

4) สวนที่เปนทางเลือกใหม (Alternative) กอนเขาสูระดับอุดมศึกษา โดยโรงเรียนในระดับมัธยมศึกษาและเตรียมอุดมศึกษาสามารถเลือกที่จะไมใชหลักสูตรและการวัดผลทั่วไป ที่เรียกวา GCE ระดับ O โดยโรงเรียนออกประกาศนียบัตรหรืออนุปริญญาของตนเองโดยอิงการวัดประเมินผลทางการศึกษาแบบสากล เชน Scholastic Assessment Test (SAT) หรือของสถาบันหลักทางการศึกษาชั้นนําของประเทศที่เปนแนวหนาในดานการศึกษา เชน การสอบที่เรียกวา Advanced Placement ของ College Board ของสหรัฐอเมริกา ทั้งนี้ มักเปนในสวนของโรงเรียนเอกชน เชน Anglo-Chinese School ในโครงการบูรณาการ (IP) และโรงเรียนที่เนนความเชี่ยวชาญเฉพาะดาน เชน NUS High School for Mathematics and Science

นอกจากนี้ รัฐบาลสิงคโปรในปจจุบันยังไดหันมาใหความสําคัญกับการเปดเสรีใหสถาบันอุดมศึกษาชั้นนําจากตางประเทศ เชน มหาวิทยาลัย John Hopkins มหาวิทยาลัยชิคาโก Wharton School ของมหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนีย เปนตน เขามาจัดการเรียนการสอนในสิงคโปร เพื่อยกระดับคุณภาพทางการศึกษาในระดับอุดมศึกษาโดยผูเรียนไมตองจากบานเมืองไปไหน

การผลิตและพัฒนาครู สิงคโปรเนนการฝกอบรมครูมากกวาการเรียนการสอนวิชาชีพครู โดยเห็นวา ครูมีบทบาทสําคัญอยางมากตอการบรรลุเปาหมายตางๆ ในการปฏิรูปทางดานการศึกษา ในศตวรรษที่ 21 นี้จึงมีแนวคิดที่จะดําเนินการตอไปนี้

1) ภายในระยะเวลา 5 ปนับแตป 2547 เปนตนไป โรงเรียนตางๆ จะไดรับเงินอุดหนุนประเภทใหเปลาในการเพิ่มบุคลากรครู โดยใหโรงเรียนมีอํานาจมากขึ้นในการบริหารจัดการเงินอุดหนุนดวยตนเอง

2) ครูจะมีโอกาสในการพัฒนาวิชาชีพของตนใหแข็งแกรงและกาวหนามากขึ้น โดยคาดหวงัใหครูในทุกโรงเรียนไดรับการฝกอบรมเพิ่มเติม 30-50 ช่ัวโมง ซ่ึงสูงกวามาตรฐานในระดับสากล

การปฏิรูปทักษะสมรรถนะดานการสอนสําหรับผูที่จะเขาสูวิชาชีพครู หรือการฝกอบรมและสอนเพิ่มเติมบุคลากรครูนั้น เปนความรับผิดชอบหลักของ National Institute of Education (NIE) ซ่ึงเปนสวนหนึ่งของ Nanyang Technological University ประกอบดวยระดับประกาศนียบัตร 2 ป ระดับปริญญาตรี 4 ป และระดับ Postgraduate Diploma in Education/Physical Education

กลไกทางสถาบัน Ministry of Education เปนกลไกหลักในการบริหารจัดการเชิงนโยบาย และกํากับดูแลการนํานโยบายสูภาคปฏิบัติโดยอาศัยกลไกรองรับหลายสวนทั้งในเชิงนโยบาย แผน การพัฒนาหลักสูตร การพัฒนาบุคลากร การบริการตางๆ ตอสถาบันการศึกษา ตลอดจนการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา โดยเฉพาะอยางยิ่งในสวนหลังนี้เปนความรับผิดชอบของ Educational Technology Division ซ่ึงมีหนาที่หลักแบงออกได 2 สวนคือ 1) การพัฒนาตนแบบและใหคําปรึกษาหารือในการบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศเขาไปใหสอดรับกับหลักสูตรการเรียนการสอนในแตละสถาบันการศึกษาตางๆ และ 2) การเปนกําลังขับเคลื่อนสงเสริมเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู ซ่ึงรวมถึงการสรางพันธมิตรยุทธศาสตรกับหนวยงานตางๆ ที่เกี่ยวของ การสงเสริมวัฒนธรรมในการวิจัยประยุกตเกี่ยวกับการใชเทคโนโลยีในระบบการศึกษา ตลอดจนการทดลองนวัตกรรมทางเทคโนโลยีและสื่อตางๆ ทั้งนี้ โดยมีการประสานงานอยางใกลชิดกับ Planning Division ซ่ึงมีหนาที่ในการกําหนดและทบทวนนโยบายดานการศึกษา การบริหารจัดการและวิเคราะหขอมูลตางๆ ตลอดจนความรวมมือระหวางประเทศ เพื่อรองรับการตัดสินใจเชิงนโยบายของกระทรวงศึกษาฯ สาธารณรัฐอินโดนีเซีย การเปลี่ยนแปลงที่สําคัญในการจัดระบบการศึกษาของประเทศอินโดนีเซียไดเกิดขึ้นเมื่ออินโดนีเซียไดประกาศอิสรภาพจัดตั้งสาธารณรัฐ พรอมรัฐธรรมนูญในป ค.ศ.1945 (พ.ศ. 2488) หลังจากนั้นรัฐบาลก็ไดดําเนินการปฏิรูปการศึกษา จนมีระบบการศึกษาที่มั่นคง และเปนแบบแผนการศึกษาของรัฐในปจจุบัน โดยพระราชปญญัติการศึกษา ค.ศ. 1989 (พ.ศ. 2523)

ยุทธศาสตรและวิสัยทัศน วิสัยทัศนทางการศึกษาของอินโดนีเซีย แทรกอยูในวิสัยทัศนของประเทศตามแนวนโยบายแหงรัฐ ใหสังคมอินโดนีเซียดํารงอยูอยางสงบสุข เปนประชาธิปไตย มีความยุติธรรม มีความสามารถในการแขงขันกับนานาชาติ มีความเจริญรุงเรืองบนพื้นฐานเอกภาพของสาธารณรัฐอินโดนีเซีย ดวยการมีสวนรวมของประชาชนที่มีความสมบูรณ ความสามารถพึ่งตนเอง ศรัทธาความยําเกรงตอพระเจา คุณธรรม จริยธรรม ความรักในประเทศชาติจงรักภักดีตอกฎหมายและแผนดิน มีความรูและวิทยาการ มีความพากเพียรและระเบียบวินัย ยุทธศาสตรในการปฏิรูปการศึกษาในปจจุบันของมาเลเซีย เปนไปตามที่กําหนดไวในพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติป 2003 ไดกําหนดเปาหมาย นโยบายและแผนการดําเนินงาน ซ่ึงครอบคลุมการขยายโอกาสทางการศึกษาและความเสมอภาคทางการศึกษา สงเสริมใหประชากรทุกคนเขาถึงการศึกษาทุกระบบและทุกระดับ และปรับปรุงคุณภาพเกี่ยวกับการศึกษาตลอดเวลา ตามแผนปฏิบัติการแหงชาติวาดวยนโยบาย “Education for All” ในค.ศ. 2002 ทั้งนี้ เพื่อใหสอดคลองกับกับความตองการของสังคม และเพื่อพัฒนาการศึกษาที่ใชชุมชนเปนพื้นฐานโดยมีจุดมุงหมายเพื่อสรางความเสมอภาคทางการศึกษา และเพื่อสรางความมั่นใจวาคนอินโดนีเซียทุกคนไมวาจะเปนเพศใด จะมีฐานะยากจน อยูหางไกลความเจริญหรือเปนผูดอยโอกาสทางสังคม ตองไดรับการศึกษาขั้นพื้นฐานภาคบังคับ เพื่อใหบรรลุจุดมุงหมายของนโยบาย Education for All รัฐบาลไดกําหนดยุทธศาสตรแหงชาติไวดังนี้

1) การนําทรัพยากรที่มีอยูมาใชใหเกิดประโยชนทางการศึกษา และเพิ่มงบประมาณสําหรับสนับสนุนการศึกษาขั้นพื้นฐาน

2) การใหความสําคัญกับโครงการเรงดวนคือ การจัดหาที่เรียนอยางทั่วถึง และปรับปรุงคุณภาพการเรียนการสอน

3) การประสานความรวมมือระหวางรัฐบาลกับผูมีสวนไดสวนเสียทางการศึกษาทุกกลุม รวมถึงเรื่องงบประมาณที่รัฐบาลทองถ่ินกับสมาชิกชุมชนตองเขามาจัดการรวมกัน ยุทธศาสตรการปฏิรูปการศึกษาตามแนว Education for All นั้น สาธารณรัฐอินโดนีเซียเนนที่การศึกษาขั้นพื้นฐานใน การศึกษาในโรงเรียนและนอกโรงเรียน ซ่ึงประกอบดวยรูปแบบการจัดการศึกษา 7 ประเภท ไดแก

1) การศึกษาทั่วไป หลักในการจัดการศึกษาทั่วไปคือ การจัดการศึกษาเพื่อมุงเนนใหผูเรียนมีความรูทั่วๆ ไป และพัฒนาทักษะในดานตางๆ ของผูเรียนไปจนตลอดหลักสูตรการศึกษาภาคบังคับ

2) อาชีวศึกษา การอาชีวศึกษาเปนการจัดการศึกษาเพื่อเตรียมผู เ รียนใหมีความรูความสามารถ มีทักษะในการประกอบอาชีพ มวลประสบการณตางๆ ในหลักสูตรจัดขึ้นอยาง

สอดคลองกับความตองการของตลาดแรงงาน เมื่อผูเรียนศึกษาจบหลักสูตรอาชีวศึกษาแลวสามารถทํางานไดจริง

3) การศึกษาพิเศษ เปนการจัดการศึกษาสําหรับผูพิการ โดยมีหลักการจัดการศึกษาคือใหผูเรียนมีทักษะความสามารถทางดานรางกายและจิตใจที่ชวยเหลือตัวเองได และสามารถดํารงชีวิตอยูไดในสังคมอยางมีความสุข

4) การบริการศึกษาเฉพาะทาง เปนการจัดการบริการการศึกษาที่มีเปาหมายเพื่อเพิ่มความสามารถเฉพาะงานหรืองานเฉพาะอยาง เพื่อใหบุคคลสามารถทํางานในสํานักงาน หรือการเตรียมเปนเจาหนาที่ทั้งสวนงานภาครัฐ และภาคเอกชน

5) ศาสนศึกษา เปนการจัดการศึกษาที่เตรียมผูเรียนใหมีความรูสึกเกี่ยวกับศาสนาและวิชาอ่ืนๆ ที่เกี่ยวของ และสามารถแสดงบทบาทของผูมีความรูดานศาสนาเปนอยางดี

6) วิชาการศึกษา เปนการจัดการศึกษาที่มีเปาหมายมุงเนนใหผูเรียนมีความสามารถดานวิทยาศาสตร

7) การศึกษาระดับวิชาชีพ เปนการจัดการศึกษาที่มุงเนนใหผูเรียนมีความรูความสามารถระดับมืออาชีพ ที่มีความสามารถเชื่อมโยงความรูและทักษะเขาดวยกัน และปฏิบัติงานไดอยางมืออาชีพในวิชาชีพช้ันสูง นอกจากรูปแบบการจัดการศึกษาดังกลาวขางตน ซ่ึงประกอบดวยการศึกษาทั่วไปสําหรับเด็กปกติ และการศึกษาพิเศษสําหรับเด็กพิการแลว ก็ยังมีการจัดการศึกษาระดับชั้นประถมศึกษาซึ่งเปนโรงเรียนศาสนาอิสลาม จัดการศึกษาโดยกระทรวงศาสนาโดยใชช่ือเรียกวา Madrasah Ibtidaiyah หรือ MI วุฒิที่ไดรับจะเทียบเทากับวุฒิที่ไดจากโรงเรียนประถมศึกษาทั่วไป และมีโรงเรียนศาสนาอิสลามระดับมัธยมศึกษาตอนตนดวย ซ่ึงใชช่ือเรียกวา Madrasah Tsanawlyah หรือ MTs วุฒิที่ไดก็เทียบเทากับวุฒิที่ไดจากโรงเรียนมัธยมศึกษาตอนตนทั่วไปเชนเดียวกัน หลักสูตรการเรียนการสอนการศึกษาขั้นพื้นฐาน เนื้อหาวิชาแกนของการศึกษาขั้นพื้นฐานทุกหลักสูตรทุกสถานศึกษาจะประกอบดวย เนื้อหาที่เกี่ยวของกับวิชาปญจศีล (การศึกษาระบบความคิด หรือมโนคติวิทยา) วิชาศาสนา วิชาพลเมือง วิชาภาษาอินโดนีเซีย วิชาการอานและการเขียน วิชาคณิตศาสตร วิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเบื้องตน วิชาภูมิศาสตร วิชาประวัติศาสตรชาติและประวัติศาสตรโลก วิชาหัตถกรรมและศิลปะ วิชาวิทยาศาสตรกายภาพและสุขศึกษา วิชาวาดเขียน วิชาภาษาอังกฤษ และวิชาทองถ่ินศึกษา เนื้อหาเหลานี้ไมไดบงบอกเพียงชื่อวิชาเทานั้น ส่ิงที่มากกวานั้นก็คือ บงชี้วาเปนการศึกษาเนื้อหาสาระที่ตองการมุงเนนการสรางบุคลิกภาพและองคประกอบของความสามารถในดานตางๆ ของทรัพยากรมนุษย ซ่ึงผูเรียนจะไดรับการสอนในโรงเรียนผานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ทั้งนี้การจัด

การศึกษาจัดแนวบูรณาการหลากหลายวิชาเชื่อมโยงเนื้อหาซึ่งกันและกัน ไมเนนการสอนเนื้อหารายวิชาใดวิชาหนึ่งอยางเดี่ยวๆ โดยไมมีการเชื่อมโยงกับวิชาใด อินโดนีเซียมีการจัดการศึกษาระดับปฐมวัยดวย โดยมีเปาหมายหลักของการศึกษาปฐมวัยคือ การพัฒนาดานรางกายและจิตใจของนักเรียน เมื่อเด็กตองออกมาจากบานจากครอบครัวมาเขาสังคมที่โรงเรียน การจัดการศึกษาระดับนี้มีวัตถุประสงคเพื่อเตรียมความพรอมของผูเรียนกอนเขาเรียนระดับประถมศึกษา เปนการเตรียมการพัฒนาการขั้นพื้นฐาน พัฒนาทัศนคติ ความรู ทักษะ และความคิดริเร่ิม รูปแบบของการศึกษาปฐมวัยที่ไดผลดี ไดแก การจัดการศึกษาในโรงเรียนอนุบาล หรือสถานอบรมเด็กเล็ก และการเลนเปนกลุม เราจะเห็นไดวา การเรียนในโรงเรียนอนุบาลนั้นเปนสวนหนึ่งของการศึกษาในระบบ ขณะที่การเรียนรูจากการเลนเปนกลุมนั้นจะเปนสวนหนึ่งของการศึกษานอกระบบ การจัดการศึกษากอนวัยเรียนนี้เปนการจัดการศึกษาใหกับเด็กอายุระหวาง 4-6 ขวบ ระยะเวลาเรียน 1-2 ป ขณะที่การเรียนรูโดย “การเลนเปนกลุม” จัดใหกับเด็กอายุ 3 ขวบและต่ํากวา 3 ขวบ การอาชีวศึกษา ในฐานะการศึกษาระดับเตรียมอุดมศึกษา เปนการศึกษาสายอาชีวศึกษา ประกอบดวยการศึกษาในโรงเรียนสามัญ โรงเรียนอาชีวศึกษา โรงเรียนศาสนา โรงเรียนการศึกษาเพื่อบริการเฉพาะ และโรงเรียนการศึกษาพิเศษ โรงเรียนอาชีวศึกษา มีหลักสูตร 3 ป และ 4 ป แบงเปน 6 กลุมวิชาคือ 1. การเกษตรกรรม และการปาไม 2. เทคโนโลยี และอุตสาหกรรม 3. ธุรกิจ และการจัดการ 4. สวัสดิการสังคม 5. การทองเที่ยว 6. ศิลปะ และหัตถกรรม การศึกษาระดับเตรียมอุดมศึกษาเนนการขยายความรู การพัฒนาทักษะ และการเตรียมนักเรียนสําหรับศึกษาขั้นสูง หรือมีความสามารถในการประกอบอาชีพ และมีทัศนคติที่ดีตอวิชาชีพ กระทรวงศึกษาฯ ไดจัดตั้ง “โปรแกรมการฝกอบรมผูฝกงานระบบทวิภาคี” ซ่ึงมีลักษณะเปนการศึกษาในระบบทวิภาคี หมายถึง การจัดมวลประสบการณตามหลักสูตรรวมกันระหวางสวนฝกอบรมหรือสถานศึกษากับสถานประกอบการ เพื่อฝกฝนใหผูเรียนหรือผูฝกงานมีความรูในเชิงทฤษฎี และมีทักษะที่จะปฏิบัติงานไดจริง อันเปนปรัชญาของการจัดการศึกษาอาชีวศึกษาอยางแทจริง อยางไรก็ตาม ความสําเร็จในการจัดหลักสูตรการเรียนรูในระบบนี้ตองอาศัยความรวมมือและความเขาใจในปรัชญาทวิภาคีของทั้งสองฝายคือ สถานประกอบการและสถาบันการศึกษา เพื่อจัดการศึกษาใหบรรลุเปาหมายสมตามเจตนารมณที่ตั้งไว การอุดมศึกษา ในฐานะการศึกษาขั้นสูงตอจากการศึกษาระดับเตรียมอุดมศึกษา อินโดนีเซียแบงการศึกษาในสวนนี้ออกเปนระดับประกาศนียบัตร 3 ป ระดับปริญญาตรี 4 ป ระดับปริญญาโท 2

ป ระดับปริญญาเอก 3 ป โดยสถาบันระดับอุดมศึกษานั้นมีหลายแบบ เชน สถาบันโพลีเทคนิค โรงเรียนการศึกษาขั้นสูง สถาบัน และมหาวิทยาลัย การศึกษาขั้นสูงในสายวิชาการมีวัตถุประสงคหลัก เพื่อสรางความเชี่ยวชาญทางดานวิชาการ เทคโนโลยี และการวิจัยการศึกษาทางสายอาชีพมุงพัฒนาความสามารถในเชิงปฏิบัติการ การศึกษานอกระบบ การศึกษานอกโรงเรียน เปนกิจกรรมการสอนและการเรียนรูซ่ึงยืดหยุน อาจจะมีหรือไมมีระดับชั้นและความตอเนื่อง มีทั้งการศึกษาวิชาทั่วไป ศาสนศึกษา การศึกษาเพื่อการบริการเฉพาะ อาชีวศึกษา รวมทั้งกลุมการศึกษาทั้งชุด A และชุด B (Paket A,B) หลักสูตรเสริมรายไดหรืออ่ืนๆ ที่สามารถศึกษาได เชน การฝกงาน อินโดนีเซียใหความสําคัญกับการศึกษาเรียนรูในครอบครัวดวย โดยถือวาเปนการศึกษานอกระบบโรงเรียน ซ่ึงไดปลูกฝงคานิยมทางศาสนา วัฒนธรรม ศีลธรรม และทักษะ การศึกษาเชนนี้เกิดขึ้นนอกระบบโรงเรียนแตอยูในระบบการศึกษาของชาติโดยรวม ซ่ึงรัฐมีแนวโนมที่จะใหความสําคัญมากขึ้น กลุมประเทศสมาชิกใหมของอาเซียน กัมพูชา

ยุทธศาสตรและวิสัยทัศน รัฐบาลกัมพูชาภายหลังการเลือกตั้งทั่วไปในป 2536 ตามขอตกลงปารีสไดใหความสําคัญแกการพัฒนาการศึกษามากขึ้น มีความพยายามในการสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาภาคเอกชนในตางจังหวัดเสมือนประเทศเสรีนิยมทั้งหลาย โดยกําหนดใหการศึกษา เปนสวนสําคัญสวนหนึ่งของเปาหมายในการลดปญหาความยากจนของประเทศเพื่อยกระดับศักยภาพการแขงขันทางเศรษฐกิจของประเทศสูระดับสากลซึ่งมีทรัพยากรมนุษยเปนฐาน

ในการดําเนินการดังกลาว แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 1 (2539-2543) ไดกําหนดแนวทางกวางๆ ในเชิงนโยบาย ยุทธศาสตรและเปาหมายในการพัฒนาการศึกษา 3 ประการคือ การประชาชนไดรับการศึกษาอยางเทาเทียมกันโดยทั่ว การยกระดับคุณภาพทางการศึกษา และการปรับปรุงการวางแผนบริหารจัดการดานการศึกษาใหเขมแข็งมากขึ้น โดยมีแผนการลงทุนดานการศึกษารองรับในชวงป 2538-2543 จากการปรึกษาหารือกับองคการระหวางประเทศที่เกี่ยวของในระดับหนึ่ง แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 2 (2544-2548) เปนการสานตอแนวทางการพัฒนาการศึกษาที่เนนถึงระดับแผนปฏิบัติมากขึ้น เปนที่นาสังเกตวา การปฏิรูปการศึกษาที่รัฐบาลกัมพูชาใหความสําคัญมากที่สุดในปจจุบัน คือ การปฏิรูปการศึกษาในแนวทางที่เรียกวา Education for All ซ่ึงเปนแนวทางในการรองรับนโยบายของรัฐบาลที่เนนคนจนเปนศูนยกลาง

ในการปฏิรูปการศึกษาแนวทางที่เรียกวา Education for All ดังกลาวนั้น มิใชเพียงการขยายการศึกษาใหทั่วถึงแกประชาชนทุกคน หากแตยังเนนการยกระดับคุณภาพของการศึกษาสูระดับ

มาตรฐานสากลและภูมิภาคสําหรับประชาชนทุกเพศ ทุกวัย ทุกระดับสถานะทางเศรษฐกิจ ทุกพื้นที่ ทุกเชื้อชาติ แมผูพิการทางรางกาย แนวทางดังกลาวใชควบคูกับแนวทางการมีสวนรวมในลักษณะหุนสวน (Partnership) จากสวนทั้งในและนอกภาครัฐ การสงเสริมการศึกษาภาคเอกชน ตลอดจนการสงเสริมการศึกษานอกระบบแนวทางการเรียนรูตลอดชีวิตที่มีชุมชนเปนฐาน (Community-based Lifelong Learning) ทั้งนี้ เพื่อใหสอดรับเปาหมายระยะยาว 2 ประการคือ 1) เปาหมายแหงชาติ: การลดจํานวนคนยากจนภายในประเทศลงไปใหไดรอยละ 50 ภายในป 2558 และ 2) เปาหมายที่กัมพูชาไดผูกพันไวกับระดับพหุภาคี คือ Millennium Development Goals: การศึกษาขั้นประถมอยางทั่วถึง และความเทาเทียมกันดานการศึกษาระหวางเพศชายและเพศหญิงภายในป 2558 การปฏิรูปทางการศึกษาดังกลาว เปนการนํามาใชกับระบบการศึกษา 12 ป (6+3+3) โดยระบบดังกลาวเปนการปรับเปล่ียนจากเดิมซึ่งเปนระบบการศึกษาแบบฝรั่งเศสซึ่งกําหนดระยะเวลาในการศึกษา 13 ป (6+4+2+1) ในชวงกอนป 2518 กัมพูชาไดนําระบบการศึกษา 10 ป (4+3+3) มาใชในป 2522 ตามดวยการขยายเปน 11 ปในชวงป 2529-2539

วิสัยทัศนทางการศึกษาของกัมพูชาในปจจุบัน คือ การพัฒนาทรัพยากรมนุษยใหมีคุณภาพสูงสุดเพื่อทําใหกัมพูชาเปนสังคมฐานความรู ทั้งนี้ โดยอาศัยปรัชญาทางการศึกษาในการทําใหประชากรวัยเยาวชาวกัมพูชามีพัฒนาการอยางเปนองครวม (Holistic) ดวยการศึกษาและทักษะทางเทคนิคที่ดีขึ้น ดวยความรูสึกภาคภูมิใจในชาติ ดวยคุณธรรมและจริยธรรมในระดับมาตรฐานสูง และดวยความเชื่อมั่นอยางแรงกลาในความรับผิดชอบตออนาคตของตน

การศึกษาขั้นพื้นฐานและหลักสูตรการเรียนการสอน การปฏิรูปทางการศึกษาแนวทาง Education for All ขางตนนั้น เปนการนํามาใชควบคูกับการปฏิรูปหลักสูตร การปรับปรุงตําราการเรียนการสอน ทักษะการสอน ซ่ึงในปการศึกษาหนึ่งๆ มีระยะเวลาการเรียน 38 สัปดาหๆ ละ 5 วันๆ ละ 6 คาบ ซ่ึงนับไดวาเปนการเพิ่มชวงระยะเวลาแหงการเรียนรูแกนักเรียนเมื่อเปรียบเทียบกับระบบเกาซึ่งมีระยะเวลาการเรียนเพียง 32-33 สัปดาห แบงออกเปนวันละ 4 ช่ัวโมง โดยในระยะหลังไดมีการเนนปรับปรุงเรื่องชั่วโมงการเรียนการสอนใหเหลือเพียง 5 คาบๆ ละ 40 นาที เพื่อใหรองรับกับปญหาการขาดแคลนหองเรียน

เพื่ออํานวยใหประชาชนชาวกัมพูชาทุกคนไดรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน (Education for All) กัมพูชาไดมีการปรับปรุงในเชิงนโยบาย กลยุทธและกลุมเปาหมายทั้งในเชิงปริมาณการเขารับการศึกษาและในเชิงคุณภาพหรือประสิทธิภาพของการศึกษาดังนี้

1) การศึกษาระดับประถมศึกษาใน (Primary) และมัธยมศึกษาตอนตน (Lower Secondary) การปฏิรูปการศึกษาระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาตอนตนครอบคลุมทั้งในเชิงปริมาณการเขารับการศึกษาและในเชิงคุณภาพ 6 ประการ คือ

1.1) การเพิ่มจํานวนนักเรียนที่เขารับการศึกษาระดับเกรด 1-6 และเกรด 7-9 โดยกําหนดเปาหมายดังนี้ คือ

- 2.4 ลานคนสําหรับการศึกษาระดับเกรด 1-6 ดวย net enrolment rates รอยละ 96 - 1.0 ลานคนการศึกษาระดับเกรด 7-9 ดวย net enrolment rates รอยละ 50

1.2) การจัดการศึกษาใหไดรับอยางเทาเทียมกันและมีดุลยภาพทั้งดานเพศ ฐานะทางเศรษฐกิจสังคม และถ่ินที่อยูระหวางเขตชนบทกับเขตเมือง โดยมีเปาหมายดังนี้ คือ

- สําหรับการศึกษาระดับเกรด 1-6 เนนการจัดการศึกษาใหไดรับอยางเทาเทียมกันดานเพศ ฐานะทางเศรษฐกิจสังคม และถ่ินที่อยูระหวางเขตชนบทกับเขตเมือง

- สําหรับการศึกษาระดับเกรด 7-9 รอยละ 45 เปนเพศหญิง รอยละ 80 จากเขตชนบท และรอยละ 15 จากครอบครัวที่ยากจนที่สุด

1.3) การเพิ่มจํานวนเด็กวัย 6 ปใหเขารับการศึกษาระดับเกรด 1 โดยมีเปาหมาย Net intake rate ที่รอยละ 95 อยางเทาเทียมกันทั้งเพศหญิงและเพศชาย

1.4) การกําหนดขอบเขตอายุสําหรับชั้นอนุบาลไวที่อายุ 5 ป ดวยเปาหมายในการเพิ่มจํานวนใหไดถึง 88,000 คน และจํานวน 20,000 คนอยางเทาเทียมกันทั้งเพศหญิงและเพศชายสําหรับเด็กในโครงการที่ชุมชนจัดขึ้น(Community-based approach)

1.5) การยกระดับอัตรา Survival rate ทั้งในระดับเกรด 1-6 และระดับเกรด 7-9 โดยกําหนดเปาหมายดังนี้ คือ

- รอยละ 60 สําหรับการศึกษาในระดับเกรด 1-6 อยางเทาเทียมกันทั้งเพศหญิงและเพศชาย

- รอยละ 90 สําหรับการศึกษาในระดับเกรด 7-9 อยางเทาเทียมกันทั้งเพศหญิงและเพศชาย

1.6) การเพิ่มอัตราการเรียนตอสําหรับการศึกษาในระดับเกรด 1-6 และระดับเกรด 7-9 ใหอยูที่อัตรารอยละ 95 อยางเทาเทียมกันทั้งหญิงและชาย

สําหรับระดับมัธยมศึกษาในการศึกษาขั้นพื้นฐานนั้น เนนการดําเนินการสําหรับการศึกษาระดับมัธยมปลาย (Upper Secondary) โดยการปฏิรูปการศึกษาในระดับมัธยมปลายนี้เปนการเนนที่การริเร่ิมโรงเรียนตนแบบสําหรับระดับเกรด 10-12 จํานวน 30 แหง และการขยายโอกาสทางการศึกษาในระดับดังกลาวไปยังพื้นที่ดอยพัฒนา ดังนี้

- การเพิ่มจํานวนผูเขารับการศึกษา (Enrolment) ระดับเกรด 10-12 โดยใหเพศหญิงมีสัดสวนเพิ่มสูงขึ้น โดยมีเปาหมายใหมีผูเขารับการศึกษาทั้งหมดเพิ่มขึ้นเปน 300,000 คนภายในป 2551 และใหมีสัดสวนของเพศหญิงถึงรอยละ 40 คิดเปน net enrolment rate รอยละ 25

- การริเร่ิมเครือขายโรงเรียนตนแบบที่ไดรับการสนับสนุนทางการเงินใหดํารงอยูไดอยางยั่งยืนตามระบบการคัดสรร ทั้งนี้มีเปาหมายใหไดโรงเรียนตนแบบจํานวน 30 แหงภายในป 2549 (อยางนอยจังหวัดละหนึ่งแหง) โดยมีเปาหมายดานผูเขารับการศึกษาทั้งหมดจํานวน 40,000 คน ภายในป 2551 คิดเปนเพศหญิงรอยละ 40 และผูที่มาจากครอบครัวยากจนรอยละ 20

- การริเร่ิมโครงการทุนการศึกษาที่มีเงินทุนสูงสําหรับผูยากจนที่สอบผานระดับเกรด 9 และผูที่ผานเกณฑการคัดเลือกของโรงเรียนตนแบบ ทั้งนี้ ไดตั้งเปาหมายสําหรับทุนการศึกษาไวที่จํานวน 1,000 ทุนตอป ดวยสัดสวนของเพศหญิงที่รอยละ 40

- การริเร่ิมโครงการทุนการศึกษาที่มีเงินทุนต่ําสําหรับผูยากจนที่สอบผานระดับเกรด 9 ในโรงเรียนมัธยมอื่น จํานวน 3,500 ทุนตอป ดวยสัดสวนของเพศหญิงที่รอยละ 40

การอาชีวศึกษา การปฏิรูปการศึกษาในสวนนี้ เนนหลักการสนองความตองการของตลาด (Demand-side approach) ประกอบกับหลักการมีสวนรวมอยางแข็งขันในลักษณะหุนสวนของภาคเอกชน ตลอดจนการประสานงานในการจัดการทางนโยบายและการดําเนินโครงการตางๆ กับกระทรวงอื่นที่เกี่ยวของ ซ่ึงในกรณีนี้ คือ Ministry of Labour and Vocational Training โดยขยายตอโครงการที่มีอยูแลว เชน โครงการฝกทักษะโดยผูฝกไดรับคาตอบแทนจากบรรษัทเอกชน โครงการความรวมมือกับองคกรพัฒนาเอกชน และโครงการของภาครัฐดังนี้

1) การเพิ่มจํานวนเยาวชนผูเขารับการฝกทักษะในสถานประกอบการและองคกรพัฒนาเอกชนที่เกี่ยวของ 250,000 คนตอป นับตั้งแตป 2549 โดยใหเพศหญิงมีสัดสวนรอยละ 40 และผูที่มาจากครอบครัวยากจนมีสัดสวนรอยละ 50

2) การเพิ่มจํานวนเยาวชนผูเขารับการฝกทักษะ และ community-based informal education ตามศูนยตางๆ ในหมูบานที่เครือขาย Community Lifelong Learning Centres (CLLC) 250,000 คนตอปนับตั้งแตป 2549 โดยใหเพศหญิงมีสัดสวนรอยละ 40 และผูที่มาจากครอบครัวยากจนมีสัดสวนรอยละ 50

3) การรักษาอัตราการเขารับการศึกษาระดับเทคนิคในสถานศึกษาระดับอาชีวศึกษาของภาครัฐ 2 แหงไมใหลดต่ําลงไปกวาเดิมดวยเปาหมายผูเขารับการศึกษาจํานวน 2,000 คนตอปนับตั้งแตป 2547 โดยใหเพศหญิงมีสัดสวนรอยละ 40 และผูที่มาจากครอบครัวยากจนมีสัดสวนรอยละ 30

การอุดมศึกษา การปฏิรูปการศึกษาในสวนนี้เปนไปตามนโยบายของประเทศกัมพูชาซึ่ง

ตองการใหมีการขยายการศึกษาคุณภาพระดับอุดมศึกษาใหสามารถตอบสนองตอเปาหมายของชาติ ความจําเปนในการจางงาน (Employment needs) และความตองการของตลาด (Market demands) ตลอดจนการกระชับความรวมมือในลักษณะหุนสวนระหวางภาครัฐกับภาคเอกชนใหมีความแข็งแกรงมากขึ้น โดยอาศัยแนวทาง 7 ประการตอไปนี้คือ

1) การสงเสริมการสนับสนุนนโยบายของรัฐบาลดานการขยายและยกระดับคุณภาพของอุดมศึกษาควบคูกับนโยบายการเนนคนจนเปนศูนยกลางเพื่อพัฒนาจังหวัดตางๆ ใหมีความเจริญกาวหนา

2) การริเร่ิมกลไกทางสถาบันและกลไกทางการเงิน ตลอดจนโครงการตางๆ ในการทําใหการศึกษาในระดับอุดมศึกษาสอดรับกับความตองการของตลาดไดมากขึ้น

3) การนํามาตรฐานที่แข็งแกรงและโปรงใสมาใชในการจัดทําและประเมินโครงการตางๆ ในระดับอุดมศึกษา โดยสงเสริมใหสถานศึกษาในระดับอุดมศึกษาของภาครัฐออกจากระบบราชการไดในที่สุด

4) การสงเสริมใหเยาวชนยากจนที่มีคุณภาพและมุงมั่นดานการศึกษาไดรับการศึกษาในระดับอุดมศึกษาอยางทั่วถึงเทาเทียมกัน

5) การยกระดับความสามารถของกลไกตางๆ ที่เกี่ยวของในการกํากับดูแล วิเคราะหและจัดทํานโยบายอยางเปนระบบ ทั้งในลักษณะที่เอื้อตอการยกระดับคุณภาพทางการศึกษาใหสูงขึ้นทั่วถึงประชาชนในสวนตางๆ อยางเทาเทียมกัน และในการบริหารจัดการกลไกสถาบันที่เหมาะสม

6) การยกระดับคุณภาพทรัพยากรมนุษยในสถาบันอุดมศึกษาอยางเปนระบบ โดยเฉพาะอยางยิ่ง บุคลากรทางวิชาการ วิชาชีพ ผูเชี่ยวชาญ และผูบริหารระดับสูง

7) การปรับปรุงคุณภาพหลักสูตร รูปแบบการเรียนการสอน ตลอดจนสิ่งอํานวยความสะดวกตางๆ เชน หองสมุด คอมพิวเตอร และหองทดลอง เปนตน

ในการดําเนินการขางตนนั้น ประเทศกัมพูชาไดตั้งเปาหมายสําหรับใหลุลวงภายในป 2551 ไว 3 ประการคือ

1) การเพิ่มจํานวนผูเขารับการศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาเปน 90,000 คน โดยในจํานวนดังกลาวนั้นคิดเปนผูเขารับการศึกษาในสถานศึกษาเอกชนจํานวน 54,000 คน (รอยละ 60) และมีสัดสวนของเพศหญิงรอยละ 40

2) การปรับปรุงใหเยาวชนที่สําเร็จการศึกษาในระดับเกรด 12 จากทั้ง 24 จังหวัดไดรับการศึกษาในระดับอุดมศึกษาอยางทั่วถึง ทั้งนี้โดยตั้งเปาหมายไวใหเยาวชนจากนอกกรุงพนมเปญเขารับการศึกษาในระดับอุดมศึกษาเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 30 ภายในป 2551

3) การขยายโครงการศึกษาดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและคณิตศาสตรในสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาทั้งภาครัฐและภาคเอกชน โดยมีเปาหมายใหมีผูเขารับการศึกษาในระดับตางๆ ในดานนี้จํานวน 15,000 คน คิดเปนสัดสวนของเพศหญิงรอยละ 30 ภายในป 2551

การศึกษานอกระบบ การปฏิรูปการศึกษาในสวนนี้เปนการเนนใหผูที่ออกจากระบบการศึกษาขั้นพื้นฐานไปแลวกลับเขารับการศึกษาไดตั้งแตระดับเกรด 3 ถึงเกรด 9 ดวยแนวทางและเปาหมายดังนี้

1) การเพิ่มจํานวนผูที่ออกจากการศึกษาไปแลวไมถึง 3 ปใหกลับเขารับการศึกษาใหมใหไดถึง 120,000 คนตอป ตั้งแตป 2548 เปนตนไป ประกอบดวยระดับเกรด 3-6 จํานวน 80,000 คน และเกรด 7-9 จํานวน 40,000 คนตอป โดยใหมีสัดสวนของเพศหญิงรอยละ 60 และจากครอบครัวยากจนรอยละ 60

2) การเพิ่มจํานวนผูที่ออกจากการศึกษาไปแลวเกินกวา 3 ปใหกลับเขารับการศึกษาใหมใหไดถึง 150,000 คนตอป ตั้งแตป 2548 เปนตนไป ประกอบดวยระดับเกรด 3-6 จํานวน 25,000 คน เกรด 7-9 จํานวน 75,000 คน และเกรด 10-12 จํานวน 50,000 คนตอป โดยใหมีสัดสวนของเพศหญิงรอยละ 60 และผูที่มาจากครอบครัวยากจนรอยละ 60

3) การขยายการมีสวนรวมในลักษณะหุนสวน (Partnership) ของประชาชน ชุมชน และองคกรพัฒนาเอกชนในโครงการรูหนังสือของผูใหญ บริเวณชายแดนและพื้นที่หางไกลความเจริญ ใหมีจํานวนเพิ่มขึ้นถึง 120,000 คนตอปนับตั้งแตป 2548 โดยใหมีสัดสวนของเพศหญิงรอยละ 60 และจากครอบครัวยากจนรอยละ 60

การผลิตและพัฒนาครู กัมพูชามีนโยบายที่จะยกระดับความรับผิดชอบของสถาบันการศึกษาในการผลิตบุคลากรผูสอน ซ่ึงไดแก วิทยาลัยครูตางๆ ทั้งในระดับจังหวัดและระดับภูมิภาค รวมทั้งกลไกทางสถาบันที่เพิ่งจัดตั้งขึ้นเรียกวา สถาบันแหงชาติเพื่อการศึกษา (National Institute for Education: NIE) ดังนี้

1) การสงเสริมใหครูที่ผานการฝกอบรมจากวิทยาลัยครูตางๆ ทั้งในระดับจังหวัดและระดับภูมิภาคออกไปทําการสอนในพื้นที่ดอยพัฒนาและพื้นที่หางไกลความเจริญ ตลอดจนการสงเสริมใหคนในพื้นที่นั้นเขารับการฝกอบรมเปนครูและกลับไปสอนในพื้นที่ดังกลาวมากขึ้น โดยตั้งเปาหมายใหมีครูเขาไปสอนในพื้นที่ดังกลาวถึงรอยละ 95 ของผูที่ผานการฝกอบรมจากวิทยาลัยครูตางๆ ทั่วประเทศ ดวยสัดสวนที่เทาเทียมกันระหวางเพศหญิงและเพศชายภายในป 2551

2) การขยายโครงการพัฒนาระดับวิชาชีพที่ NIE จัดขึ้นใหครอบคลุมระดับผูอํานวยการ รองผูอํานวยการ บุคลากรฝายวางแผน บุคลากรดานการบริหารจัดการ ตลอดจนบุคลากรดานเทคนิคของโรงเรียนตางๆ ดวยเปาหมายที่จะรับผูเขารับการฝกอบรมพัฒนาในสวนนี้ปละ 1,500 คนทั้งในระยะส้ันและระยะยาว

3) การขยายโอกาสใหผูมีสวนรวมในการจัดการชุมชนไดเขารับการฝกฝนทักษะดานการเรียนการสอนตามสถานศึกษาอบรมที่มีอยูใหมากขึ้นถึง 5,000 คนภายในป 2551 โดยมุงใหสัดสวนของเพศชายอยูที่รอยละ 25 ของผูเขารับการอบรมจากชุมชนทั้งหมด

กลไกการบริหารจัดการ กระทรวงศึกษา เยาวชนและการกีฬา (Ministry of Education, Youth and Sport) เปนกลไกหลักดานการศึกษาของกัมพูชา ไดรับอํานาจหนาที่ในการพัฒนาฐานทรัพยากรมนุษย (Human resource base) ใหมีประสิทธิภาพ โดยการเปดโอกาสใหชาวกัมพูชาทุกคนไดรับการศึกษา เพื่อยกระดับการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ วิถีชีวิตความเปนอยูของประชาชน และทําใหประชาชนชาวกัมพูชาเปนกําลังแรงงานที่มีการศึกษาและไดรับการฝกอบรมอยางดี

1) นโยบาย Education Decentralization ดวยรัฐบาลกัมพูชามีนโยบายระยะยาวในการเพิ่มการกระจายขอบเขตอํานาจความรับผิดชอบไปยังหนวยงานตางๆ ของกระทรวงศึกษาฯ ระดับจังหวัด ตําบล หมูบาน (Commune) รวมทั้งระดับโรงเรียน โดยหนวยงานตางๆ ที่สวนกลางของกระทรวง

ศึกษาฯ จะเนนหนาที่ไปที่การเปนแกนนําในกระบวนการพัฒนานโยบาย กลยุทธ กลไกทางกฎหมาย ตลอดจนหลักการในการบริหารจัดการในลักษณะธรรมาภิบาลโดยอาศัยกระบวนการปรึกษาหารือกับหนวยงานตางๆ ที่เกี่ยวของทั้งในภาครัฐและภาคประชาสังคม (Civil society) อยางกวางขวาง (Extensive consultative process) ตลอดจนการกํากับดูแลการดําเนินการโครงการตางๆ ในลักษณะเครือขายความเชื่อมโยงในการดําเนินการ ทั้งนี้ เพื่ออํานวยใหยุทธศาสตรดานการศึกษาสอดรับและเกื้อหนุนกับการปฏิรูปอื่นๆ ของทางรัฐบาล

ในชวงป 2547-2551 รัฐบาลกัมพูชาจึงกําหนดเปาหมายการปฏิรูปที่จะดําเนินการ ไวดังนี้ - การแสวงหาแนวทางในการออกกฎหมายฉบับใหมและกฎระเบียบหลักตางๆ ที่

เกี่ยวของกับการศึกษา โดยเฉพาะอยางยิ่งในการรองรับนโยบายดานการกระจายอํานาจการบริหารจัดการศึกษาภายในป 2548

- การแสวงหาแนวทางในการอํานวยใหสถาบันการศึกษาในระดับอุดมศึกษามีการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล (Governance) โดยเฉพาะอยางยิ่งความโปรงใสในการบริหารจัดการดานการเงินการคลัง การบัญชีและการตรวจสอบบัญชี ทั้งนี้โดยตั้งเปาหมายที่จะจัดตั้งหนวยงานที่เรียกวา Public Administration Institutions ภายในป 2549 โดยคัดสรรจากสถาบันตางๆ ที่มีอยูแลว

- การสงเสริมให Budget Management Centres (BMC) ที่มีอยูทั้งหมดทั่วประเทศปฏิบัติงานไดอยางเต็มที่และมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะอยางยิ่งในการบริหารจัดการดานการเงินการคลัง และการบัญชี

2) ธรรมาภิบาลและการประกันคุณภาพ เปาหมายหลักของการปฏิรูปในสวนนี้ประกอบดวย

- การจัดตั้งสํานักงานมาตรฐานการศึกษาและการกําหนดมาตรฐานภายในป 2549เพื่อใหไดแนวทางที่เหมาะสมในการกํากับดูแลผลการศึกษาของนักเรียนทั่วประเทศ ตลอดจนเงื่อนไขตางๆ ทั้งในดานการศึกษาตอและในดานการจางงาน

- การนําระบบความตกลงทางการดานผลการศึกษา และการนําระบบจัดทําใบรายงาน (Report cards) มาใชในระดับสถานศึกษากับชุมชนภายในป 2549 และระดับอื่นๆ ภายในป 2550

- การนําระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรทางการศึกษามาใชในทุกระดับของระบบการศึกษา โดยเริ่มเนนที่ระดับผูอํานวยการโรงเรียนและครูผูสอนกอนเปนเบื้องตนนับตั้งแตป 2548 เปนตนไป สวนบุคลากรในระดับอื่นๆ นั้นใหเร่ิมตั้งแตป 2549-2550

- การขยายระบบตรวจสอบภายในใหครอบคลุมสวนตางๆ ของกระทรวงศึกษาฯ ตั้งแตสวนกลาง ลงไปถึงหนวยงานระดับจังหวัด หนวยงานระดับตําบล โรงเรียน และโครงการตางๆ ที่เกี่ยวของ ทั้งนี้ ในป 2548 นั้นยังไมกําหนดใหดําเนินการเปนการทั่วไปหากแตเนนสวนที่คัดเลือกแลวเทานั้น

- การขยายเครือขายผูเขามามีสวนรวมในการกํากับดูแลการดําเนินการตางๆ ที่เกี่ยวของ โดยเฉพาะอยางยิ่ง ใหครอบคลุมผูที่มาจาก National Assembly, National Audit Authority, รัฐบาล กระทรวงศึกษาฯ ผูวาการ (Governors) donors ภาคประชาสังคม และภาคเอกชน

3) การปฏิรูปสูการจัดสรรทรัพยากรดานเงินทุนในวงกวาง ในฐานะเปาหมายสําคัญประการหนึ่งในการปฏิรูปการศึกษา ซ่ึงแบงออกไดเปนเปาหมายระยะยาวและระยะกลาง สําหรับเปาหมายระยะยาวนั้นกัมพูชาหวังวาจะไมมีเด็กนักเรียนคนใดไมไดรับโอกาสทางการศึกษาและการฝกอบรมเพราะปญหาดานคาเลาเรียนหรือคาใชจายอื่นๆ กัมพูชาเล็งเห็นวาการไดรับเงินทุนเพื่อการศึกษาอยางทั่วถึงและเปนธรรม จําเปนตองอาศัยกลไกในลักษณะความรวมมือในวงกวางจากภาครัฐรวมกับบรรดาผูปกครองและแหลงเงินทุนตางๆ ทั้งนี้ กัมพูชาใหความสําคัญกับดานขอมูลเกี่ยวกับตนทุนทางการศึกษาเปนอยางมาก เพื่อใหไดรับความรวมมืออยางจริงจัง

ทั้งนี้ การเพิ่มสัดสวนดานงบประมาณทางการศึกษาและลดการสนับสนุนอยางไมเปนทางการตอการศึกษาเปนเปาหมายระยะกลางที่กัมพูชาใหความสําคัญเปนอยางมาก โดยมีเปาหมายที่สอดคลองสืบเนื่องอยูที่การสงเสริมความเปนหุนสวน (Partnership) ระหวางภาครัฐ ผูปกครอง และผูประกอบการภาคเอกชนในการใหเงินทุนทางการศึกษาตั้งแตระดับอนุบาลไปจนถึงระดับมหาวิทยาลัย รวมถึงดานอาชีวศึกษา กระนั้นก็ตาม ในความเปนหุนสวนนั้น กัมพูชามีแนวนโยบายที่จะลดสัดสวนภาระความรับผิดชอบดานการเงินของผูปกครองลดนอยลง พรอมไปกับการเพิ่มสัดสวนของภาครัฐและการสนับสนุนเงินทุนจากภายนอกใหมากขึ้นเปนลําดับ โดยบทบาทของภาครัฐนั้นจะเนนไปที่การเพิ่มอัตราเงินเดือนของบุคลากรครู ทั้งนี้ภายในป 2551 งบประมาณดานเงินทุนรอยละ 75 จะเนนไปที่การศึกษาขั้นพื้นฐาน สวนที่เหลือนั้นจัดใหไวสําหรับการศึกษาที่สูงขึ้นไปจากนั้น สหภาพพมา ยุทธศาสตรและวิสัยทัศน ยุทธศาสตรในการปฏิรูปการศึกษาในปจจุบันของสหภาพพมา เปนไปตามกฎหมายการศึกษาพื้นฐานป 2509 (Basic Education Law) และกฎหมายการศึกษาของสหภาพพมาป 2516 (Union of Burma Education Law) เด็กพมาตั้งแตอายุ 5-10 ปตองเขาโรงเรียนซึ่งเปนบริการที่รัฐมีใหโดยไมตองเสียคาใชจาย ประกอบกับความพยายามในการทําใหเกิดสอดคลองกับคําประกาศในการประชุมระหวางประเทศที่ประเทศไทยในป 2533 เกี่ยวกับการศึกษาเพื่อคนทั่วไป (Education for All) ทั้งนี้ รัฐบาลสหภาพพมาไดกําหนดวิสัยทัศนสูการสรางระบบการศึกษาที่สรางสรรคสังคมการเรียนรูที่จะสามารถกาวใหทันกับการทาทายในยุคแหงความรู ดวยอุดมคติ ที่วาดวยการ ส ร า งชาติใหพัฒนาทันสมัยดวยการศึกษา การศึกษาขั้นพื้นฐาน เปนการยึดหลักการ Education for All เชนเดียวกับประเทศอื่นๆ สวนใหญในอาเซียน รัฐบาลพมาไดตั้งเปาหมายที่จะจัดการศึกษาพื้นฐานใหแกชาวพมาทุกคนภายในป

2543 และลดจํานวนการไมรูหนังสือในกลุมประชากรผูใหญลงไปอีกครึ่งหนึ่ง เพื่อใหการศึกษาของประเทศมีความทัดเทียมกับประเทศอื่นๆ ในกลุมอาเซียน การศึกษานอกระบบ โครงการการศึกษาเพื่อคนทั่วไปไดเร่ิมขึ้นตั้งแตป 2539 - 2540 ใน 30 เมือง และขยายออกไปอีก 80 เมืองในชวงป 2540 - 2541 หลังจากนี้ยังไดขยายผลออกโดยตั้งเปาวาจะดําเนินโครงการในทุกๆเมืองภายในป 2543 ในเดือนมีนาคม 2543 รัฐบาลไดจัดตั้งศูนยแหลงการรูหนังสือแหงพมา เพื่อสงเสริมกิจกรรมเพื่อการรูหนังสือ และพัฒนาสื่อการเรียนการสอนสําหรับการศึกษานอกโรงเรียนในระดับมัธยมและอุดมศึกษา โดยความรวมมือกับหนวยงานของสหประชาชาติตางๆ เพื่อใหบรรลุเปาหมาย “Free Education for All” การจัดการเรียนการสอน ไดมีการเรงพัฒนาการใชเทคโนโลยีขาวสารอยางกวางขวาง แผนแมบทเกี่ยวกับเทคโนโลยีขอมูลขาวสาร (IT Master Plan) ตั้งแตป 2544 - 2553 ไดแถลงเปาหมายในการจัดตั้งโครงสรางพื้นฐานในการจัดเก็บขอมูลและริเร่ิมการใชอุตสาหกรรมเทคโนโลยีขอมูลขาวสารอยางเขมขนในการเปลี่ยนสังคมชาติใหเปนชุมชนที่ใชเทคโนโลยีขาวสาร กลไกการบริหารจัดการ การบริหารการศึกษาพื้นฐานของประเทศดําเนินการโดยสํานักงานการศึกษา 3 แหง ไดแก สภาการศึกษาพื้นฐาน (Basic Education Council) คณะกรรมการหลักสูตร รายวิชา และแบบเรียนสําหรับการศึกษาพื้นฐาน (Basic Education Curriculum, Syllabus and Textbook Committee) และคณะกรรมการกํากับดูแลการศึกษาของครู (Teacher Education Supervisory Committee) สํานักงานทั้ง 3 แหงนี้ดูแลรับผิดชอบกิจการทั้งหมดที่เกี่ยวกับการศึกษาในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา การนิเทศและตรวจตราโรงเรียน การวางแผน การบริหารจัดการโครงการตางๆ และกิจการนักเรียน หนวยงานที่ดูแลการศึกษาในระดับอุดมศึกษาคือกรมการอุดมศึกษา (Department of Higher Education) ซ่ึงแบงออกเปนสวนพมาตอนบนและพมาตอนลาง ทั้งสองสวนนี้ถือเปนฝายบริหารของกระทรวงศึกษาธิการในการกํากับดูแลการศึกษาระดับอุดมศึกษา สวนวิชาการถูกควบคุมดูแลโดยสภามหาวิทยาลัยสวนกลาง (Universities Central Counci) และสภาวิชาการของมหาวิทยาลัยตางๆ (Council of University Academic Bodies) ในปจจุบันมีสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา 58 แหงที่อยูภายใตกระทรวงศึกษาธิการ และอีก 47 แหงที่อยูภายใตการกํากับดูแลของหนวยราชการอื่นที่เกี่ยวของกับกิจการนั้นๆ เชน กระทรวงสาธารณสุขรับผิดชอบดูแลการศึกษาเกี่ยวกับแพทยศาสตร และการสาธารณสุขอื่นๆ กระทรวงเกษตรและการชลประทานรับผิดชอบสถาบันการเกษตรกรรม กระทรวงกลาโหมรับผิดชอบดูแลวิทยาลัยการปองกันประเทศ กระทรวงการปาไมรับผิดชอบกิจการของสถาบันการปาไม มหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาชนเผาตางๆ อยูภายใตการดูแลของคณะกรรมการคัดเลือกการบริการ

สาธารณะและการฝกอบรม และเริ่มตั้งแตป 1994 ยังมีวิทยาลัยสหกรณและวิทยาลัยในภูมิภาคตางๆ เร่ิมเปดบริการภายใตการดูแลของกระทรวงการสหกรณ

ในการกํากับดูแลดานการศึกษาแหงชาตินั้น อยูภายใตการดูแลของเลขาธิการคนที่หนึ่งของสภาเพื่อการพัฒนาและสันติภาพแหงชาติ (State Peace and Development Council : SPDC) โดยผานกระทรวงศึกษาธิการซึ่งรับผิดชอบการศึกษาและการอบรมในดานการศึกษาพื้นฐาน การศึกษาของครู และอุดมศึกษา ทั้งนี้ กระทรวงศึกษาธิการประกอบดวยกรมตางๆ ดังนี้ กรมการศึกษาพื้นฐาน (1) (Department of Basic Education No.(1)) กรมการศึกษาพื้นฐาน (2) (Department of Basic Education No.(2)) กรมการศึกษาพื้นฐาน (3) (Department of Basic Education No.(3)) กรมการวางแผนการศึกษาและการอบรม (Department of Education Planning and Training) กรมการอุดมศึกษา (พมาตอนลาง) (Department of Higher Education (Lower Myanmar)) กรมการอุดมศึกษา (พมาตอนบน) (Department of Higher Education (Upper Myanmar)) คณะกรรมการสอบแหงพมา (Myanmar Board of Examinations) สํานักงานวิจัยทางการศึกษา (Myanmar Education Research Bureau : MERB) สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาภาษาแหงพมา (Department of Myanmar Language Commission) มหาวิทยาลัยศูนยการศึกษาประวัติศาสตร (Universities Historical Research Centre)

นอกจากนี้ยังมีหนวยงานดังตอไปนี้ที่ถูกจัดตั้งขึ้นตามกฎหมายเพื่อประสานงานกับกรมและสํานักงานขางตน ไดแก สภาการศึกษาพื้นฐาน สภาการศึกษาพื้นฐาน (Basic Education Council) คณะกรรมการหลักสูตร รายวิชา และแบบเรียนสําหรับการศึกษาพื้นฐาน (Basic Education Curriculum, Syllabus and Textbook Committee) คณะกรรมการกํากับดูแลการศึกษาของครู (Teacher Education Supervisory Committee) สภามหาวิทยาลัยสวนกลาง (Universities Central Council) สภาวิชาการของมหาวิทยาลัย (Council of Universities Academic Bodies) สํานักงานวิจัยทางการศึกษาซึ่งริเร่ิมขึ้นในป 1966 ตอมาในป 1973 ไดมีกฏหมายจัดตั้งขึ้นเปนสํานักงานอยางเต็มรูปแบบเพื่อสนับสนุนและสงเสริมการวิจัยทางการศึกษา มีศักยภาพที่จะรวมมือกับหนวยงานทั้งในและนอกกระทรวงศึกษาธิการ

ในการบริหารงานของกระทรวง ไดมีการจัดตั้งเปนคณะกรรมการประสานงานขึ้นเรียกเปนคณะกรรมการบริหาร ประกอบดวยอธิบดีและหัวหนาหนวยงานของทั้ง 10 สํานักงาน รวมกับรัฐมนตรีวาการและรัฐมนตรีชวยวาการอีก 2 ทาน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ยุทธศาสตรและวิสัยทัศน นับตั้งแตที่ไดสถาปนาเปนประเทศเอกราชในป 2518 ส.ป.ป.ลาว ใหความสําคัญกับการศึกษาเรื่อยมา โดยเฉพาะอยางยิ่งการประถมศึกษา เทคนิคศึกษา และการรูหนังสือของประชาชนที่มีอายุ 14-15 ป แนวทางดังกลาวยังสานตอแมเมื่อ ส.ป.ป.ลาวไดเร่ิมการปฏิรูปเศรษฐกิจภายในประเทศ จากระบบที่มีการวางแผนจากสวนกลางมาเปนการดําเนินนโยบายตลาดเสรี

ในป 2529 ทวาดวยจุดเนนที่แตกตางไปจากอดีต คือ เปนการเนนการศึกษาเพื่อพัฒนาทุนมนุษยและแกปญหาความยากจนเพื่อกอใหเกิดความเจริญอยางยั่งยืนและพัฒนาอยางรวดเร็ว โดยมีการจัดทําแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติเปนแนวทางในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ซ่ึงกําหนดใหการศึกษาเปนความจําเปนทางสังคมที่จะตองฝกใหประชาชนพัฒนาไปในลักษณะที่สอดรับกับการปรับตัวสูระบบเศรษฐกิจที่อิงกลไกตลาด

ในปจจุบัน วิสัยทัศนทางการศึกษา เรียกวา วิสัยทัศน พ.ศ. 2563 ทางการศึกษาของ ส.ป.ป.ลาว ซ่ึงมีจุดเนน 5 ประเด็นตอไปนี้ คือ

1) การจัดใหมีการศึกษาภาคบังคับอยางทั่วถึงในระดับประถมศึกษา โดยยังคงทําใหการมีสวนรวมในการศึกษาระดับมัธยมศึกษาเพิ่มมากขึ้นตอไป เพื่อใหประชาชนทุกคนไดรับโอกาสในการสมัครเขารับการศึกษาในลักษณะที่สนองตอบตอสถานการณทางเศรษฐกิจของประเทศ

2) การพยายามขจัดความไมรูหนังสือใหหมดไปอยางสิ้นเชิงในกลุมประชากรเปาหมาย ซ่ึงเปนการอํานวยใหประชากรที่ตกอยูในภาวะความยากจนสุทธิไดมีแนวทางในการยกระดับคุณภาพชีวิต

3) การขยายการศึกษาในระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษาในลักษณะที่สอดรับกับความจําเปนของตลาดแรงงานสมัยใหม และเอื้อตอการปรับปรุงผลตอบแทนทางเศรษฐกิจตอภาคการเกษตรใหเพิ่มสูงขึ้น

4) การฝกอบรมแรงงานฝมือ ชางเทคนิค วิชาชีพ และปญญาชนใหมีความสามารถในการนําวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีสมัยใหมมาใชในลักษณะที่สนองตอบตอความจําเปนในการพัฒนาเศรษฐกิจสังคมได

5) การยกระดับการศึกษาชาติใหใกลมาตรฐานสากลมากขึ้นเปนลําดับ 6) การใหการศึกษาเปนแกนสําหรับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย โดยใหมีการลงทุนดาน

การศึกษาในสัดสวนที่เหมาะสม วิสัยทัศนดังกลาวมีฐานแนวคิดที่วา การพัฒนาทรัพยากรมนุษยใหพรอมดวยความรูและ

ความสามารถที่เหมาะสมตอการอํานวยใหประเทศกาวพนจากการเปนประเทศดอยพัฒนาโดยรักษาอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจในระดับปานกลางและคงที่ เปนวิสัยทัศนทางการศึกษาของ ส.ป.ป.ลาว ในชวงตนศตวรรษที่ 21 นี้ ซ่ึง ส.ป.ป.ลาว เล็งเห็นความจําเปนของทุนมนุษยที่มีทักษะพรอมในดานคณิตศาสตร ความสามารถในการอานและสื่อสารดวยลายลักษณอักษร วิทยาศาสตรขั้นพื้นฐาน ความสามารถในการเขาถึงแหลงขอมูลความรูทางอิเลคทรอนิคสและสิ่งตีพิมพตางๆ เปนฐานสําคัญสําหรับการนําเทคโนโลยีช้ันสูงมาใช และการสงเสริมใหสังคมมีสวนรวมในการพัฒนาประเทศ ทั้งนี้ โดยอาศัยปรัชญาทางการศึกษาที่วา การศึกษานั้น เปนการพัฒนาทางดานรางกาย สติปญญา และคุณสมบัติของมนุษยทั้งในและนอกโรงเรียน

ในการผลักดันการพัฒนาทางการศึกษาใหสอดรับกับแนวทางการปฏิรูปเศรษฐกิจใหมของประเทศตามนโยบายตลาดเสรีนั้น คณะบริหารงานศูนยกลางพรรคประชาชนปฏิวัติลาวและสภารัฐมนตรีไดมีมติใหจัดทํายุทธศาสตรทางการศึกษา เมื่อวันที่ 9 มิถุนายน 2530 เปนยุทธศาสตรที่ครอบคลุมตั้งแตป 2530 ถึงป 2543 ครอบคลุมถึงการพัฒนาการศึกษาทั้งในเชิงปริมาณและในเชิงคุณภาพในทุกระดับทั้งในและนอกระบบโรงเรียน การพัฒนาครู การลงทุนเพื่อการศึกษา ความรวมมือจากตางประเทศ และการบริหารจัดการทางการศึกษา โดยในระยะแรกนั้นมีการกําหนดทิศทางและแผนดําเนินการถึงป 2533 ซ่ึงมีลักษณะที่เปนระบบแบบแผนในการปฏิรูปการศึกษาอยางเปนขั้นตอนมากขึ้น

ในการยกระดับการศึกษาแหงชาติใหสูงขึ้น ในป 2536 คณะบริหารศูนยกลางพรรค ไดมีมติเกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษยของ ส.ป.ป.ลาว จากการที่เล็งเห็นวา การพัฒนาทรัพยากรมนุษย เปนการใหการศึกษา พัฒนาคนและการใชทรัพยากรมนุษยเพื่อการผลิต ใหสอดรับกับเปาหมายในการมุงยกระดับความกาวหนาทางเศรษฐกิจและสังคม โดยกําหนดแนวทางในการพัฒนาการศึกษา 3 แนวทางคือ 1) การพัฒนาในแนวทางที่เรียกวา การศึกษาสําหรับทุกคน (Education For All) และใหการศึกษาไดรับความสําคัญในเชิงนโยบายเปนลําดับตนเพื่อรองรับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม 2) การยกระดับคุณภาพการศึกษาอยางจริงจังและการสรางความรวมมือระหวางการศึกษาในระบบโรงเรียนกับการศึกษาในสังคมและครอบครัว และ 3) การปรับปรุงและพัฒนาการศึกษาใหทันสมัยในทุกระดับทั้งสามัญศึกษาและอาชีวศึกษา ทั้งในสวนของภาครัฐและในสวนของภาคเอกชน ทั้งในและนอกระบบโรงเรียน ในลักษณะที่สอดรับความกาวหนาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

ตอมา ในป 2540 คณะกรรมการวางแผนรัฐแหง ส.ป.ป.ลาว (State Planning Committee of Lao PDR) ไดจัดทําโครงการพัฒนาทรัพยากรมนุษยระยะกลาง 2540-2543 ขึ้นเพื่อเปนกรอบแนวทางกวางๆ ในการจัดลําดับความสําคัญการดําเนินการตางๆ ในการพัฒนาการศึกษาใหสอดรับกับแนวทางการปฏิรูปเศรษฐกิจภายในประเทศ โดยมีปรัชญาวา “จะสงเสริมการพัฒนาอยางเปนองครวมและบูรณาการซึ่งครอบคลุมวิธีการตางๆ หลากหลายในลักษณะที่สอดรับกันระหวางภาคสวนตางๆ” โครงการพัฒนาทรัพยากรมนุษยกําหนดแนวทางใหภาคการศึกษาเนนความสนใจและแนวทางการปรับปรุงไปที่ 3 สวนหลัก คือ 1) ความสามารถของผูบริหารในทุกระดับ 2) คุณภาพของครูในทุกระดับ โดยเฉพาะอยางยิ่งในระดับจังหวัด และ 3) แรงจูงใจจากชุมชน โดยเฉพาะอยางในพืน้ทีห่างไกลความเจริญและในบรรดาชนกลุมนอยตางๆ เมื่อยางเขาศตวรรษใหม การปฏิรูปการศึกษายังคงดําเนินตอไปในแนวทางขางตน สวนระบบการศึกษาของ ส.ป.ป. ลาว ยังไมมีการปฏิรูปนัก หากแตยังคงเนนในแนวทางที่ผานมา คือ เปนระบบการศึกษาที่ประกอบดวย การศึกษากอนประถมศึกษา ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนตน มัธยมศึกษาตอนปลาย อาชีวศึกษา เทคนิคศึกษา และอุดมศึกษา

อาจกลาวไดวา แนวทางหลักในการปฏิรูปการศึกษาสําหรับศตวรรษใหมของ ส.ป.ป.ลาว นั้นเปนการเนนตามกรอบนโยบายทางการศึกษาชวง 5 ปตั้งแตป 2544 ถึง 2548 ซ่ึงแบงวัตถุประสงคออกไดเปน 4 สวนหลัก ดังนี้

5) การเขาถึงการศึกษาอยางเทาเทียมกัน ประกอบดวย 5.1) การขยายโรงเรียนใหเพิ่มมากขึ้น 5.2) การฟนฟูและบูรณะโรงเรียนที่มีอยูแลว 5.3) การยกระดับบทบาทของภาคเอกชน 5.4) การจัดทําโครงการเฉพาะซึ่งมุงใหกลุมประชาชนที่เสียเปรียบทางสังคมเขาถึง

การศึกษามากขึ้น 5.5) การศึกษาความเปนไปไดสําหรับการศึกษาแบบเปด 5.6) การขยายโอกาสสําหรับการศึกษานอกระบบ

6) การยกระดับคุณภาพทางการศึกษา ประกอบดวย 6.1) การยกระดับคุณภาพครูทุกระดับผานโครงการฝกอบรมทั้งกอนที่จะเปนครูและเมื่อ

เปนครูแลว 6.2) การยกระดับคุณภาพหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานหรือการศึกษาทั่วไป และ

อาชีวศึกษา 6.3) การพัฒนาเครื่องมืออุปกรณการเรียนการสอนใหมีคุณภาพและใหสามารถผลิตได

เองในระดับจังหวัด 7) การปรับปรุงความเชื่อมโยงสวนตางๆ ในระบบการศึกษาใหสอดคลองกัน

7.1) การศึกษาความเปนไปไดสําหรับการศึกษาทางไกลและการทําใหการศึกษาสอดรับกับสังคมมากขึ้น

7.2) การปรับปรุงหลักสูตรใหสอดรับกับการเปลี่ยนแปลงตางๆ 7.3) การจัดตั้งกองทุนในการสงเสริมใหภาคเอกชนมีสวนรวมในการศึกษามากขึ้น 7.4) การนําการแนะแนวมาใชในการใหความชวยเหลือตางๆ แกนักเรียน 7.5) การกระชับความเชื่อมโยงระหวางสถาบันการศึกษา ภาคอุตสาหกรรมและ

ภาคเอกชน 8) การทําใหการบริหารจัดการและการวางแผนแข็งแกรงมากขึ้น

8.1) การเพิ่มความแข็งแกรงในการวางแผนปฏิบัติการและการวางแผนพัฒนาทรัพยากรมนุษย

8.2) การกระชับเครือขายทางการศึกษาที่มีอยูแลวในระดับกลางและระดับจังหวัดใหเขมแข็งมากขึ้น

8.3) การยกระดับความสามารถดานงบประมาณและการคลัง

8.4) การบริหารจัดการโครงการลงทุน การกํากับดูแลและการยกระดับความสามารถในการประสานงานภายในกระทรวงศึกษาฯ

กลไกสถาบันและโครงสรางองคกร การบริหารจัดการทางการศึกษานั้น แบงออกเปนการบริหารสวนกลาง และสวนทองถ่ินโดยกระทรวงศึกษาธิการ (Ministry of Education) ซ่ึงไดจัดตั้งขึ้นอยางเปนทางการเมื่อป 2536 มีหนาที่รับผิดชอบในการวางแผนและบริหารจัดการดานการศึกษาในทุกสวนของประเทศ ดวยรูปแบบการตัดสินใจและการวางแผนนั้นมักเปลี่ยนแปลงสลับกันไปเนืองๆ ระหวางการบริหารจัดการจากสวนกลางและการกระจายอํานาจจากสวนกลาง โดยในระยะหลังนี้เปนการเนนที่การกระจายอํานาจจากสวนกลาง ซ่ึงยังคงไมชัดเจนนักและจําเปนตองมีการปรับปรุงตอไปดวยรูปแบบที่เหมาะสม โดยเฉพาะอยางยิ่งในสวนที่เปนความรับผิดชอบระดับจังหวัดและระดับอําเภอ

ในปจจุบัน กระทรวงศึกษาฯ ไดจัดตั้งระบบสารสนเทศในการบริหารจัดการทางการศึกษาดวยระบบคอมพิวเตอร แบงออกเปน 4 สวน คือ 1) ระบบสารสนเทศในการบริหารจัดการทางการศึกษา 2) ระบบสารสนเทศในการบริหารจัดการดานบุคลากร 3) ระบบสารสนเทศในการบริหารจัดการดานการกอสราง และ 4) ระบบสารสนเทศในการบริหารจัดการทางการคลัง ซ่ึงในสวนหลังนี้อยูระหวางการพัฒนา ทั้งนี้ กระทรวงศึกษาฯ มีแผนที่จะบูรณาการทั้ง 4 สวนดังกลาวเขาดวยกันเพื่อปรับปรุงคุณภาพทางเทคนิคในการวางแผนและการบริหารจัดการตางๆ

สําหรับการบริหารการศึกษาสวนทองถ่ิน แบงออกเปน 2 ระดับ คือ ระดับจังหวัด (แขวง) และระดับอําเภอ (เมือง) สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม

ยุทธศาสตรและวิสัยทัศน พรรคคอมมิวนิสตและรัฐบาลเองก็ใหความสนใจเปนพิเศษตอการศึกษา ในปณิธานของการประชุมวาระที่ 2 ของคณะกรรมการกลางพรรคในการประชุมสมัยที่ 8 กลาวถึงการศึกษาวาพรรคคอมมิวนิสตถือวาการศึกษาและการพัฒนาทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเปนยุทธศาสตรที่สําคัญของประเทศ งบประมาณดานการศึกษาก็ไดรับการเพิ่มขึ้น ในระบบการศึกษาของประเทศซึ่งเปนระบบการศึกษาแบบ 5-4-3 ประกอบดวยประถมศึกษา 5 ป มัธยมตน 4 ป และมัธยมปลาย 3 ป ระดับอุดมศึกษาอาจใชเวลา 2-6 ป

ทั้งนี้ เวียดนามไดรับเอาโครงการ Education for All หรือ การศึกษาเพื่อคนทั่วไป ซ่ึงเปนการมติของการประชุมนานาชาติที่กรุงดาการในเดือนเมษายน 2000 ดวยความรวมมือกับ UNESCO ซ่ึงจะใหความชวยเหลือทางดานเทคนิค เวียดนามไดเร่ิมวางแผนแหงชาติเพื่อการศึกษาของคนทั่วไประหวางป 2003-2015

การศึกษาขั้นพื้นฐาน เปนการเนนใหการศึกษาขั้นประถมศึกษาฟรีใหแกชาวเวียดนาม โดยในปจจุบันนี้ การศึกษาในลักษณะนี้ไดกาวไปถึงขั้นมัธยมตนใน 16 จังหวัด คาดวาภายในป 2005 การศึกษาในระดับมัธยมตนจะครอบคลุมถึง 30 จังหวัด

ทั้งนี้ ไดมีการยกเลิกกฎระเบียบที่ควบคุมบทบาทของเอกชนในดานการศึกษา สงเสริมใหเอกชนเขามาจัดการศึกษาแบบกึ่งรัฐและการศึกษาโดยประชาชน ทําใหเกิดสถานศึกษาของเอกชนเพิ่มขึ้น สถานศึกษาโดยเอกชนเพิ่มจํานวนขึ้นอยางมากโดยเฉพาะในระดับอนุบาล สถานฝกวิชาชีพ และระดับอุดมศึกษา ซ่ึงสถานศึกษาเอกชนเหลานี้มีรายไดจากคาเลาเรียนของนักเรียนโดยตรง อีกทั้งยังไดมีการปรับนโยบายที่อนุญาตใหสถานศึกษาเอกชนสามารถเก็บคาเลาเรียนไดเอง แมจะอยูในการควบคุมอยางเขมงวดโดยรัฐ แตสถานศึกษาเอกชนสามารถเรียกเก็บคาบริการอื่นๆไดดวย

การอุดมศึกษา การศึกษาในสวนนี้ยังคงคลายคลึงกับระบบของอดีตประเทศโซเวียตรัสเซีย ซ่ึงมีสถาบันการศึกษาเฉพาะทางเปนจํานวนมาก ในหลากหลายสาขาความรู และยังตองพัฒนาใหมีการเชื่อมโยงระหวางการวิจัยกับการเรียนการสอนมากขึ้น ระบบนี้เปนผลมาจากยุคที่การศึกษายังถูกควบคุมโดยสวนกลาง ซ่ึงสถาบันการศึกษาจะถูกแบงออกตามภาคสวนตางๆของระบบเศรษฐกิจ โดยมีสถาบันเฉพาะทางที่หลากหลายตางๆขึ้นตรงตอกระทรวงที่รับผิดชอบ

ในปจจุบันมีความพยายามในการดําเนินการใหการศึกษาในสวนนี้ ใหตอบสนองตอความตองการของตลาด ดวยการเพิ่มปริมาณสถานศึกษา การเพิ่มประสิทธิภาพและคุณภาพทางการศึกษา มหาวิทยาลัยในเวียดนามแบงออกเปน 3 ประเภท สองประเภทแรกเปนการเรียนการสอนแบบปด คือ มีการเขาหองเรียนตามปกติ ประกอบดวย 1) มหาวิทยาลัยที่เนนวิชาเฉพาะ เชน เศรษฐศาสตร ศิลปะ วิศวกรรมและกฎหมาย 2) มหาวิทยาลัยแบบสหสาขาวิชา เปนมหาวิทยาลัยที่ตั้งขึ้นใหม 5 แหงซึ่งเปนทั้งมหาวิทยาลัยระดับชาติและระดับทองถ่ิน สวนมหาวิทยาลัยซ่ึงเพิ่งเปดใหมในเวียดนามเปนมหาวิทยาลัยเปด ทั้งที่ฮานอยและโฮจิมินห กลไกการบริหารจัดการ เวียดนามยังคงกําหนดใหกระทรวงการศึกษาและการอบรม (Ministry of Education and Training : MOET) เปนกลไกหลัก โดยแบงออกเปนกรมตางๆ มากมาย ไดแก กรมการวางแผนและการคลัง (Planning and Financing Department) กรมการบุคลากร (Personnel Department) กรมการรวมมือกับนานาประเทศ (International Cooperation Department) คณะกรรมการตรวจควบคุมการศึกษา (Educational Inspection Board) กรมกิจการนักเรียน (Student Affairs Department) กรมวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (Science and Technology Department) กรมการปองกันการศึกษาแหงชาติ (National Defense Education Department) กรมการอนุบาลศึกษา (Pre-school Education Department) กรมการประถมศึกษา (Primary Education Department) กรมการมัธยมศึกษา (Secondary Education Department) กรมการศึกษาตอเนื่อง (Continuing Education Department) กรมการศึกษาสายอาชีพ (Vocational Education Department) ก ร ม ก า รอุดมศึกษา (Higher Education Department) และกรมนิติการ (Legal Department)

ความรับผิดชอบโดยตรงของกระทรวง MOET คือการกํากับดูแลและวางแผนระบบการศึกษาของเวียดนาม รวมถึงการพัฒนาหลักสูตรและจัดหาอุปกรณการศึกษา นอกจากนี้กระทรวง MOET ยังตองรวมมือกับสํานักงานรัฐบาล (The Office of the Government) ซ่ึงเปนสวนหนึ่งของสํานักนายกรัฐมนตรี กระทรวงการคลัง และกระทรวงการวางแผนและการลงทุน ในการวางแผนการศึกษาในภาพกวางซึ่งตองสอดคลองกับงบประมาณ นาสังเกตวาในระดับอุดมศึกษาและการศึกษาสายอาชีพ (ยกเวนในมหาวิทยาลัย) รัฐบาลทองถ่ินตองมีความรับผิดชอบกํากับดูแลในระดับใกลเคียงกับหนาที่ของรัฐบาลกลาง แตเนื่องจากยังขาดระบบกฎหมายรองรับ ทําใหสถาบันการศึกษาเหลานั้นตองพึ่งพิงตอ MOET ซ่ึงทําใหสถาบันการศึกษาเหลานั้นไมสามารถตอบสนองตอความตองการของตลาดแรงงานในทองถ่ิน อีกประการหนึ่งคือ ขณะนี้เวียดนามมีสถานศึกษาเอกชนเพิ่มขึ้นมาก แตกระทรวง MOET ไมใชหนวยงานที่จะสามารถกํากับดูแลมาตรฐานของสถาบันการศึกษาเอกชน นี่เปนจุดที่กระทรวง MOET กําลังพิจารณาปรับปรุงแกไข การเปรียบเทียบยุทธศาสตรในการปฏิรูปการศึกษาระดับตางๆ

การศึกษาปฐมวัยและขั้นพื้นฐาน เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆ ในอาเซียน ยกเวน สิงคโปร แลว การศึกษาปฐมวัยและการศึกษาขั้นพื้นฐานของไทยมีความกาวหนาในการดําเนินการปฏิรูปในระดับหนึ่ง ดวยการประกาศใชหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ. 2546 และคูมือการใชหลักสูตรและมาตรฐานการเลี้ยงดูเด็กอายุต่ํากวา 3 ป เพื่อใหสถานศึกษา สถานเลี้ยงดูเด็ก และศูนยเด็กเล็กใชเปนแนวทางจัดประสบการณใหเปนแนวทางเดียวกัน ตามแนวนโยบายในการพัฒนาทุกคนตั้งแตแรกเกิดจนตลอดชีวิตใหมีโอกาสเขาถึงการเรียนรู ซ่ึงแผนการศึกษาแหงชาติ (พ.ศ. 2545-2549) มีเปาหมายใหเด็กปฐมวัยอายุ 0-5 ปทุกคนไดรับการพัฒนาและเตรียมความพรอมทุกดานกอนเขาสูระบบการศึกษา อีกทั้งมีการประกาศใช “หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544 เปนหลักสูตรแกนกลางนํารอง โดยเริ่มใชในทุกโรงเรียนตั้งแตปการศึกษา 2546 โดยสถานศึกษาสามารถจัดทําสาระการเรียนรูของตนเอง

นอกจากนี้ยังมีการเตรียมการดานหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานสําหรับผูพิการทุกประเภท ทั้งในลักษณะของหลักสูตรลดระยะเวลาเรียนและหลักสูตรเพิ่มพูนประสบการณ การจัดทําแผนแมบทระยะสั้นและระยะยาวสําหรับปรับปรุงการเรียนการสอนผูมีความสามารถพิเศษ โดยในระยะส้ันนั้น เนนลักษณะการเรียนรวมทั้งระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาเปนแนวทางนํารอง พรอมกับการจัดทําเอกสารคูมือและสื่อเพื่อการพัฒนาบุคลากรที่เกี่ยวของกับการเรียนการสอนผูมีความสามารถพิเศษ

ในขณะเดียวกัน ไดมีการปรับปรุงการการดําเนินการใหสามารถเทียบโอนผลการเรียนรูระหวางกันระหวางสถานศึกษาในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานได โดยกระทรวงศึกษาธิการไดออก

ประกาศกระทรวงเกี่ยวกับการประเมินเทียบระดับและการเทียบโอนผลการเรียน ตลอดจนการสงเสริมการศึกษาเฉพาะทาง โดยในสวนแรกนั้นสงผลใหสถานศึกษาตางๆ ในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีการปรับตัวใหสอดรับการแนวทางในการเทียบระดับและโอนผลการเรียนจากการศึกษา โดยเฉพาะอยางยิ่งการศึกษาในระบบ สวนการจัดการศึกษาเฉพาะทางนั้น มีการประกาศใชกฎกระทรวงวาดวยการจัดการศึกษาเฉพาะทาง พ.ศ. 2547

ในฐานะรัฐสวัสดิการ บรูไนจัดการศึกษาใหกับประชากรวัยเรียนทุกคนเปนเวลาสิบสองปเชนเดียวกับไทย โดยแบงเปนประถมศึกษา 7 ป มัธยมศึกษาตอนตน 3 ป มัธยมศึกษาตอนปลาย หรือสายอาชีวศึกษา 2 ปตามรากฐานระบบการศึกษาของอังกฤษ ทั้งนี้ การศึกษากอนวัยเรียนเปนการศึกษาภาคบังคับสําหรับเด็กอายุ 5 ป และเปนสวนหนึ่งของการศึกษาระดับประถมศึกษา ซ่ึงมีจุดมุงหมายใหเด็กนักเรียนมีพื้นฐานแนนในดานทักษะการเขียน การอาน และการคิดคํานวณทางคณิตศาสตร ควบคูไปกับการสรางพัฒนาการทางรางกายและจิตใจของแตละคน

ดวยพื้นฐานทางวัฒนธรรมที่แตกตางไปจากไทยและประเทศสมาชิกอาเซียนอื่นๆ ที่มีศาสนาพุทธเปนศาสนาประจําชาติ หรือที่มีศาสนาคริสตเปนศาสนาประจําชาติ ในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของบรูไนนั้น อาศัยหลักสูตรการเรียนการสอนแบบบูรณาการดวยภาษามาเลยควบคูกับภาษาสําคัญอื่นๆ มีโปรแกรมการเรียนรูหลากหลายผานกิจกรรมและหลักสูตรรวมตางๆ และโครงสรางพื้นฐานทางการศึกษา ซ่ึงเนนการสงเสริมทักษะการเรียนรูทางดานคณิตศาสตร วิทยาศาสตร และเทคโนโลยีการติดตอส่ือสาร การจัดรายวิชาเพื่อการพัฒนาความไวใจในตนเอง การริเร่ิมและความกลาใหเกิดขึ้นในแตละคน เพื่อใหเด็กนักเรียนไดรับความรูและความชํานาญตามความจําเปนอยางตอเนื่องในโลกแหงการเปลี่ยนแปลงของการจางงาน ควบคูไปกับรายวิชาที่เนนใหความสําคัญกับครอบครัว เพื่อเปนแบบอยางในการสรางทัศนคติที่ดีแกบุคคล อันจะเปนการสรางความเอื้อเฟอเผ่ือแผ ความรัก และความหวงใจดูแลใหเกิดขึ้นในสังคม การสรางความเขาใจและความตระหนักรูเกี่ยวกับสถานะทางการเมือง เศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ในขณะเดียวกันไดใหความสําคัญกับการจัดการศึกษาศาสนาอิสลามในหลักสูตรการเรียนการสอน

เชนเดียวกับบรูไน การศึกษากอนวัยเรียนในประเทศมาเลเซียเปนสวนหนึ่งของการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยเด็กที่มีอายุระหวาง 4-6 ปทุกคนเริ่มเขาศึกษาในโรงเรียนอนุบาลที่มีอยูทั่วประเทศทั้งที่เปนของรัฐและเอกชนโดยไมคํานึงถึงพื้นฐานทางเศรษฐกิจ สังคมและเพศ เมื่ออายุครบ 6 ปขึ้นไปจะเขาเรียนในการศึกษาภาคบังคับ 9 ป ประกอบดวยระดับประถมศึกษา เปนเวลา 6 ป ในสถานศึกษาของรัฐหรือของเอกชนซึ่งมีการเรียนการสอนดวยภาษามลายูและภาษาอังกฤษ และระดับมัธยมศึกษาตอนตนเปนเวลา 3 ป จากนั้นจึงเรียนตอในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายอีก 2 ปในสถานศึกษาของรัฐ เอกชน หรือที่ไดรับการสนับสนุนบางสวนจากรัฐบาล ทั้งที่เปนโรงเรียนที่สอนดานวิชาการ ดานวิชาชีพและโรงเรียนสอนศาสนา

ทั้งนี้ ไมมีจัดทําแผนปฏิรูปการเสริมการเรียนวิชาชีพในโรงเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายจากเดิมที่เนนวิชาชีพเพียงอยางเดียว เรียกวา Vocational Subject in Academic Schools (VSAS) เพื่อใหนักเรียนสามารถเลือกเรียนวิชาเลือกที่เปนวิชาชีพตามความสนใจและความถนัดของตนอยางเต็มที่ ประกอบดวย การกอสราง การผลิต เศรษฐกิจในบาน เทคโนโลยีการเกษตร และคอมพิวเตอร

ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานในสิงคโปรนั้น นักเรียนจะตองผานการเรียนพื้นฐาน 4 ป จากช้ันประถมศึกษาปที่ 1 สูช้ันประถมศึกษาปที่ 4 ตอเนื่องดวยการเรียนตอยอดอีก 2 ป ในชั้นประถมศึกษาปที่ 5-6 โดยในขั้นพื้นฐานนั้น เปนการเนนการอานออกเขียนไดพื้นฐานและทักษะการแจงนับเลข ซ่ึงรอยละ 80 ของเวลาที่ใชในการเรียนการสอนตลอดหลักสูตรเปนการเนนใหนักเรียนมีทักษะความรูดานภาษาอังกฤษในระดับที่ใชงานในชีวิตประจําวันได มีทักษะในการใชภาษาแมและคณิตศาสตรอยางดี มีการเริ่มสอนวิชาวิทยาศาสตรตั้งแตชั้นประถมศึกษาปที่ 3 และเริ่มสอนวิชาทางสังคมศาสตรตั้งแตช้ันประถมศึกษาปที่ 4 ทั้งนี้ เมื่อส้ินสุดการศึกษาในชั้นประถมศึกษาปที่ 6 นักเรียนทุกคนจะตองผานการสอบออกจากโรงเรียนประถมเพื่อประเมินความเหมาะสมในการเขาสูระดับมัธยมศึกษา

ในปจจุบัน สิงคโปรมีการริเร่ิมแนวทางใหมโดยการบูรณาการเสริมตอเขาไปในแนวทางในการเปดการศึกษาอยางทั่วถึง เพื่อเปดโอกาสใหเด็กนักเรียนสามารถเลือกสถาบันการศึกษาตามจุดแข็งและความสนใจที่แตกตางกันหลังจากที่จบการศึกษาในระดับประถมศึกษาแลว ดวยระบบการศึกษาที่มีความยืดหยุน (Flexible) และหลากหลาย (Diverse) มากขึ้น ซ่ึงมุงใหนักเรียนมีทางเลือก (Choice) มากขึ้นและมีความเปนเจาของ (Ownership) กระบวนการเรียนรูของตนเองมากขึ้น

การสงเสริมความยืดหยุนและความหลากหลายในกระบวนการเรียนรู เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศสมาชิกอื่นของอาเซียน การปฏิรูปแนวทางการจัดการศึกษาของ

สิงคโปรคอนขางกาวไกลในดานการเปดชองทางหลายสวนในการสงเสริมความยืดหยุนและความหลากหลายในกระบวนการเรียนรู ถึงแมวามีบางสวนที่เปนแนวทางรวมกับประเทศอาเซีนอื่นๆ รวมทั้งไทยดวย อนึ่งแนวทางของสิงคโปรประกอบดวย

1) โครงการบูรณาการทางการศึกษา (Integrated Programme) เปนโครงการที่ริเร่ิมขึ้นในป 2548 ในลักษณะของการศึกษาไรขอบ (Seamless) หรือลดขั้นตอนเชิงโครงสรางทางการศึกษาสําหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาที่ตองการมุงสูมหาวิทยาลัยโดยเฉพาะ โดยนักเรียนในโครงการนี้สามารถกาวสูระดับเตรียมอุดมศึกษาไดโดยไมตองผานขั้นตอนปกติ คือ การสอบรับประกาศนียบัตรการศึกษาทั่วไป (Singapore-Cambridge General Certificate of Education: GCE) ระดับ O

2) การจัดตั้งโรงเรียนเชี่ยวชาญเฉพาะดานอยางเปนอิสระ เพื่อพัฒนานักเรียนที่มีความสามารถพิเศษเฉพาะดานการกีฬา คณิตศาสตร วิทยาศาสตร ศิลปะ ใหมีพัฒนาการเต็มความสามารถ โรงเรียนเหลานี้อยูในสังกัดของกระทรวงอื่นนอกจากกระทรวงศึกษาฯ หรือเปนสวนหนึ่งของสถาบันการศึกษาระดับสูงที่มีอยูแลว เชน การจัดตั้งโรงเรียนกีฬา (Singapore Sports School)

ในป 2547 ในสังกัดของ Ministry of Community Development and Sports การที่ National University of Singapore (NUS) จัดตั้งโรงเรียนที่เนนสอนดานคณิตศาสตรและวิทยาศาสตรโดยเฉพาะ เรียกวา NUS High School for Maths and Science และการที่ Ministry of Information, Communication and the Arts จะจัดตั้งโรงเรียนศิลปะ (Arts School) สําหรับนักเรียนวัย 13-18 ปในป 2550

3) การเปดโอกาสใหโรงเรียนเปดสอนวิชาใหมสําหรับระดับ O โมดูลการเรียนการสอนที่เปนวิชาเลือก ตลอดจนวิชาที่เปนการเรียนการสอนทางเลือก (Alternatives) จากระบบหลักสูตรและการสอบที่มีอยูทั่วไป

4) การเปดโอกาสใหมีโครงการใหมๆ ในโรงเรียน เชน โครงการสูความเปนเลิศในโรงเรียนระดับประถมศึกษา เปนตน

5) การเปดโอกาสใหมีความยืดหยุนตอการศึกษาเลาเรียน โดยในระดับประถมศึกษานั้น เปดโอกาสใหมีการบูรณาการวิชาตางๆ เขาดวยกัน สวนในระดับมัธยมศึกษานั้น นักเรียนจะเรียนบางวิชาที่มีการเปดสอนในระดับที่สูงกวาที่เรียนอยู หรือ ขอกาวขามไปเรียนวิชาในชั้นที่สูงกวาเดิม

6) การเปดโอกาสใหมีความยืดหยุนในการเรียนการสอนดวยภาษาแม เพื่อเปดโอกาสใหนักเรียนซ่ึงมีความสามารถหลากหลายพัฒนาไปไดไกลที่สุดตามความสามารถของตน

7) การจัดตั้งโรงเรียนเอกชนระดับมัธยมศึกษาและเตรียมอุดมศึกษา กลาวคือ ภาคเอกชนสามารถใชเงินทุนของตนจัดตั้งสถานศึกษาของตนเองได หากแตตองปฏิบัติตามขอบังคับและนโยบายทางการศึกษาที่สําคัญบางประการ เชน นโยบายการสอนสองภาษา การนําวิชาการศึกษาเกี่ยวกับประเทศชาติ (National Education) เขามาใสไวในหลักสูตรการเรียนการสอน ทั้งนี้ กระทรวงศึกษาธิการคาดหมายวาจะมีนักเรียนอยางนอยรอยละ 50 เขาศึกษาในโรงเรียนเอกชน

8) นับตั้งแตป 2550 เปนตนไป นักเรียนมีอิสระในการเรียนภาษาใดภาษาหนึ่งที่ไมใชภาษาทองถ่ินเปนภาษาที่สาม

9) ระบบการศึกษาที่มีฐานกวาง (Broad-based education) มากขึ้น เพื่อพัฒนานักเรียนอยางเปนองครวม (Holistic) ทั้งในและนอกชั้นเรียน

10) โรงเรียนตั้งแตระดับประถมศึกษาถึงอุดมศึกษามีความยืดหยุนมากขึ้นในการรับนักเรียนโดยตรงตามเกณฑที่โรงเรียนกําหนดขึ้นเอง ซ่ึงอาจหลากหลายแตกตางกันไป

11) ตั้งแตป 2551 เปนตนไป จะมีการใชระบบประกาศนียบัตรจบการศึกษาของโรงเรียน (School Graduation Certification) โดยใหสะทอนถึงสัมฤทธิผลทั้งการเรียนเชิงวิชากรและที่ไมเกี่ยวกับการเรียนเชิงวิชากร

12) การยอมรับกิจกรรมที่เปนความคิดริเร่ิมของนักเรียน และกิจกรรมการเรียนรูในลักษณะที่มีชุมชนเปนฐาน

13) การปฏิรูปดานหลักสูตรการเรียนการสอน ซ่ึงแบงออกไดเปน 3 สวน คือ

- การสอนใหนอยลง เรียนใหมากขึ้น ทั้งนี้ เปนการเนนที่ระดับประถมศึกษามัธยมศึกษา และเตรียมอุดมศึกษา

- การเพิ่มความเขมขนในแนวนโยบายบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศเขาไปในกระบวนการเรียนรูและหลักสูตรการเรียนการสอน

- การจัดทําหลักสูตรและการวัดผลทั่วไปใหมระดับ A สําหรับเริ่มใชในป 2549 เปนตนไป สําหรับนักเรียนในระดับเตรียมอุดมศึกษา เพื่อใหสอดรับกับระบบการศึกษาใหมที่เนนความยืดหยุน หลากหลายและฐานกวางทางการศึกษา ในการเตรียมนักเรียนเขาสูโลกในศตวรรษที่ 21 ซ่ึงมีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วดานอาชีพการงานดวยความรูและประสบการณหลากหลายสาขาวิชา โดยมีสาระสําคัญแบงออกได 3 ประการคือ ก) การอิงความรูสหสาขาวิชา (Multi-disciplinary) รองรับเศรษฐกิจฐานความรูที่กวางขวางมากขึ้น (More Breadth) และมีทางเลือกมากขึ้น (More Options) ข) การเนนทักษะในการคิด (Thinking Skills) และการสื่อสาร (Communication Skills) ค) การศึกษาแบบรอบรูองครวม (Holistic Education) ผสานทักษะแหงการดําเนินชีวิต (Life Skills) ทักษะดานความรู (Knowledge Skills) และสาระวิชาตางๆ (Content-based Subjects) 3 ดาน คือ ภาษา มนุษยศาสตร-ศิลปศาสตร และคณิตศาสตร-วิทยาศาสตร เขาดวยกัน

- สวนที่เปนทางเลือกใหม (Alternative) กอนเขาสูระดับอุดมศึกษา โดยโรงเรียนในระดับมัธยมศึกษาและเตรียมอุดมศึกษาสามารถเลือกที่จะไมใชหลักสูตรและการวัดผลทั่วไป แตสามารถออกประกาศนียบัตรหรืออนุปริญญาของตนเองโดยอิงการวัดประเมินผลทางการศึกษาแบบสากล หรือของสถาบันหลักทางการศึกษาชั้นนําของประเทศที่เปนแนวหนาในดานการศึกษา ทั้งนี้ มักเปนในสวนของโรงเรียนเอกชนในโครงการบูรณาการ (IP) และโรงเรียนที่เนนความเชี่ยวชาญเฉพาะดาน

อาชีวศึกษา ประเทศสมาชิกอาเซียนทุกประเทศมีการเนนหลักการสนองความตองการของตลาด (Demand-side approach) ประกอบกับหลักการมีสวนรวมอยางแข็งขันในลักษณะหุนสวนของภาคเอกชน ตลอดจนการประสานงานในการจัดการทางนโยบายและการดําเนินโครงการตางๆ ในการปฏิรูปอาชีวศึกษา

กระนั้นก็ตาม อาจกลาวไดวา ประเทศสมาชิกดั้งเดิมของอาเซียนสวนใหญใหความสําคัญกับการพัฒนาและปฏิรูปการอาชีวศึกษามากกวาประเทศสมาชิกใหมของอาเซียน

ในการพัฒนาคนอยางรอบดานและสมดุลเพื่อเปนฐานหลักของการพัฒนาตาม แผนการศึกษาแหงชาติ (พ.ศ. 2545-2549) ของไทย มีการกําหนดเปาหมายใหมีกําลังคนดานอาชีวศึกษาระดับตางๆ ที่มีคุณภาพ และปริมาณเพียงพอกับความตองการของตลาดแรงงานและการพัฒนาประเทศ ดวยกรอบการดําเนินงานที่เนนการสงเสริมและสนับสนุนการจัดการอาชีวศึกษาและการฝกอบรมวิชาชีพเพื่อ

พัฒนากําลังคนทุกระดับในการผลิตตางๆ และเปดโอกาสใหทุกคนไดยกระดับความรูความสามารถทางวิชาชีพไดอยางตอเนื่อง

ในการนี้ การปฏิรูปการอาชีวศึกษาของไทย มีการดําเนินการใน 3 สวนคือ 1) การปรับระบบการบริหารการอาชีวศึกษาในลักษณะการกระจายอํานาจการบริหารจัดการไปยังสถาบันและมีการใชทรัพยากรรวมกัน โดยการรวมกลุมวิทยาลัยในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษาจัดตั้งเปนสถาบันการอาชีวศึกษา ทั้งนี้ อยูระหวางการยกรางพระราชบัญญัติการอาชีวศึกษาเพื่อเอื้อตอแนวทางดังกลาว 2) ความพยายามในดานการฝกอบรมเพิ่มผลิตภาพของแรงงาน สงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิต โดยสามารถเทียบโอนความรูและประสบการณเปนคุณวุฒิ ตลอดจนการปรับคานิยมในลักษณเนนคุณคาของการทํางาน ทั้งนี้ อยูระหวางการยกรางพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องคการมหาชน) เชนกัน 3) การเพิ่มโอกาสทางการศึกษา ดวยนโยบายเปดโอกาสใหผูที่ตองการเรียนอาชีวศึกษาทุกคนเขาเรียนไดโดยไมมีการสอบคัดเลือก การปรับตัวขางตนดําเนินควบคูไปกับการปฏิรูปหลักสูตรและกระบวนการเรียนการสอน โดยอาศัยการดําเนินการ 3 สวนคือ 1) การปรับหลักสูตรและกระบวนการเรียนการสอนระดับ ปวช. และ ปวส. ใหเนนการบูรณาการระหวางภาคทฤษฎีกับภาคปฏิบัติ มีการปฏิบัติจริงในสถานประกอบการมากขึ้น โดยเริ่มตั้งแตปการศึกษา 2546 2) การจัดทําแผนและยุทธศาสตรการผลิตและพัฒนากําลังคนดานอาชีวศึกษาแบงเปน 5 กลุมอาชีพเปาหมาย คือ อาหาร การทองเที่ยว ยานยนต ส่ิงทอและอัญมณี และเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยรวมมือกับสถานประกอบการในการจัดทําหลักสูตรและจัดการเรียนการสอน 3) การจัดทํามาตรฐานสงเสริมการพัฒนาระบบคุณวุฒิวิชาชีพและการปฏิรูปการเรียนรู เพื่อปรับคานิยมและเจตคติของสังคมใหเห็นคุณคาของการทํางาน โดยเนนการพัฒนามาตรฐานวิชาชีพรองรับ 4 ภาคการผลิตเบื้องตน คือ เครื่องประดับ อัญมณี การโรงแรม การคาปลีก และสิ่งทอ ในทํานองเดียวกัน การพัฒนาและยกระดับการศึกษาดานอาชีวะและเทคนิค เปนสวนหนึ่งของแผนการศึกษาแหงชาติของมาเลเซีย ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติฉบับ พ.ศ. 2539 (Education Act 1996) อาชีวศึกษาในบรูไน เปนทางเลือกสําหรับนักเรียนในระดับมัธยมปลาย ซ่ึงนอกเหนือจากที่จัดโดยภาครัฐแลว ยังมีการศึกษาของเอกชนในกํากับของรัฐในฐานะทางเลือกในการเขารับการศึกษาเชนเดียวกับประเทศอื่นๆ ในอาเซียน ทั้งนี้ รายละเอียดของการปฏิรูปของทั้งสองประเทศนี้ยังคงอยูระหวางการแสวงหาแนวทางการพัฒนาใหชัดเจนตอไป อาชีวศึกษาในสิงคโปรนั้น ถึงแมวายังไมมีการปรับปรุงในเชิงสถาบันการศึกษามากนัก แตมีความพยายามในการสรางความยืดหยุนและความตอเนื่องสูการยกระดับการเรียนรูใหสูงขึ้น แบงออกไดเปน

1) Polytechnics นอกจากบทบาทในการฝกอบรมแรงงานระดับกลางใหทันตอพัฒนาการทางเทคโนโลยีและทางเศรษฐกิจแลว ยังเปนสถานศึกษาสําคัญสําหรับนักเรียนในสายเทคนิคและ

พาณิชยซ่ึงสอบผาน GCE ระดับ O สามารถเขาศึกษาตอที่ Singapore Polytechnic หรือ Ngee Ann Polytechnic หรือ Temasek Polytechnic หรือ Nanyang Polytechnic หรือ Republic Polytechnic ซ่ึงเปดสอนหลากหลายสาขาวิชา เชน วิศวกรรม ธุรกิจ การบัญชี พาณิชยทางทะเล ส่ือสารมวลชน การพยาบาล เทคโนโลยีชีวภาพ วิศวอุตสหกรรม การออกแบบสื่อดวยระบบดิจิตอล วิทยาศาสตรประยุกต การออกแบบผลิตภัณฑ เปนตน นักเรียนที่ไดคะแนนดีๆ นั้น เมื่อเรียนจบมีโอกาสศึกษาตอในระดับอุดมศึกษา

2) Institute of Technical Education (ITE) เปนการศึกษาในสายเทคนิคอาชีวะดานการฝกหดัครู สําหรับนักเรียนทั่วไปที่ผานการสอบระดับ O หรือ N แลว นักเรียนที่ไดคะแนนดีๆ นั้น เมื่อเรียนจบมีโอกาสศึกษาตอในระดับ Polytechnic การอาชีวศึกษาของเวียดนามเปนการศึกษาหลังจากที่จบการศึกษาในระดับประถมศึกษาแลว แบงออกเปน 2 ระดับ เร่ิมจากระดับประกาศนียบัตร ซ่ึงใชเวลาต่ํากวา 1 ปสําหรับผูที่มีอายุ 13-14 ป และระดับประกาศนียบัตรชั้นสูง ใชเวลา 1-2 ป สําหรับผูที่ผานระดับประกาศนียบัตรแลว ซ่ึงมักมีอายุแรกเขาประมาณ 15 ป โดยมีสงเสริมใหเอกชนเขามาจัดการศึกษาแบบกึ่งรัฐ ทําใหเกิดสถานศึกษาของเอกชนเพิ่มขึ้น อีกทั้งมีการอํานวยโอกาสในการยกระดับการเรียนรูสูขั้นสูงในวิทยาลัยสายอาชีวะบางสาขาวิชา เชน เกษตร ศิลปะ การธนาคาร สําหรับประเทศสมาชิกใหมของอาเซียนนั้น สวนใหญยังอยูในชวงของการมีแผนการปรับปรุงอาชีวศึกษา โดยคงยังตองอาศัยเวลาและความรวมมือระหวางประเทศและระดับในภูมิภาคในการกาวสูการนําแผนไปปฏิบัติอยางจริงจัง เชนในชวงตนของศตวรรษใหมนี้ แผนพัฒนาการศึกษา 2544-2548 ของ ส.ป.ป. ลาว กําหนดเปาหมายดําเนินการในสวนที่เกี่ยวกับการอาชีวศึกษาไวในทํานองเดียวกัน ดังนี้

1) การสงเสริมและขยายโรงเรียนระดับอาชีวศึกษาและโรงเรียนเทคนิคตางๆ ของภาคเอกชนใหสามารถรับนักเรียนไดเพิ่มมากขึ้นอยางตอเนื่องและสอดคลองกับระบบของภาครัฐ

2) การสงเสริมโรงเรียนอาชีวศึกษาที่มีอยูตามภูมิภาคตางๆ ทั่วประเทศใหแข็งแกรงมากขึ้น การปฏิรูปอาชีวศึกษาในกัมพูชานั้น เปนการครอบคลุมถึงการศึกษาระดับอาชีวศึกษา

(TVET) และการฝกอบรมดานทักษะแกเยาวชน (Youth Skills Training) การปฏิรูปการศึกษาในสวนนี้ โดยขยายตอโครงการที่มีอยูแลว เชน โครงการฝกทักษะโดยผูฝกไดรับคาตอบแทนจากบรรษัทเอกชน โครงการความรวมมือกับองคกรพัฒนาเอกชน และโครงการของภาครัฐดังนี้

1) การเพิ่มจํานวนเยาวชนผูเขารับการฝกทักษะในสถานประกอบการและองคกรพัฒนาเอกชนที่เกี่ยวของ 250,000 คนตอปนับตั้งแตป 2549 โดยใหเพศหญิงมีสัดสวนรอยละ 40 และผูที่มาจากครอบครัวยากจนมีสัดสวนรอยละ 50

2) การเพิ่มจํานวนเยาวชนผูเขารับการฝกทักษะและการศึกษาตามอัธยาศัยที่มีชุมชนเปนฐานตามศูนยตาง ๆ ในหมูบานที่เครือขายการเรียนรูตลอดชีวิตของชุมชน หรือที่เรียกวา Community

Lifelong Learning Centres (CLLC) 250,000 คนตอปนับตั้งแตป 2549 โดยใหเพศหญิงมีสัดสวนรอยละ 40 และผูที่มาจากครอบครัวยากจนมีสัดสวนรอยละ 50

3) การรักษาอัตราการเขารับการศึกษาระดับเทคนิคในสถานศึกษาระดับอาชีวศึกษาของภาครัฐ 2 แหงไมใหลดต่ําลงไปกวาเดิมดวยเปาหมายผูเขารับการศึกษาจํานวน 2,000 คนตอปนับตั้งแตป 2547 โดยใหเพศหญิงมีสัดสวนรอยละ 40 และผูที่มาจากครอบครัวยากจนมีสัดสวนรอยละ 30

อุดมศึกษา การปฏิรูปการอุดมศึกษาในอาเซียนมีแนวโนมที่สอดรับกันดังนี้ คือ

1) การกระจายโอกาสทางการศึกษา 2) สูการเนนคุณภาพทางการศึกษา ทั้งในแงของการยกระดับคุณภาพการเรียนการสอนสู

ระดับสากล การพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัย และการขยายการศึกษาเฉพาะทางใหสอดคลองกับความตองการของตลาดในระบบเศรษฐกิจฐานความรูที่มีความหลากหลาย ความยืดหยุนในการปรับตัวของทรัพยากรมนุษย

3) การเปดเสรีทางการศึกษา และการเพิ่มมูลคาทางการศึกษาในการนํารายไดเขาประเทศและการสงวนเงินตราในการเรียนตอตางประเทศ

ในประเทศไทยนั้น นอกจากการสงเสริมการศึกษาเฉพาะทาง และการดําเนินการใหสามารถเทียบโอนผลการเรียนรูระหวางกันไดดังเชนการศึกษาระดับขั้นพื้นฐาน ซ่ึงสงผลใหใหสถานศึกษาตางๆ ในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา มีการปรับตัวใหสอดรับการแนวทางในการเทียบระดับและโอนผลการเรียนจากการศึกษาแลว ระดับอุดมศึกษายังไดมีการจัดทํายุทธศาสตรและแนวทางการปฏิรูปอุดมศึกษาไทย การอํานวยใหสถาบันอุดมศึกษาของรัฐมีความคลองตัวในการบริหารจัดการ ในลักษณะสถาบันในกํากับของรัฐ การกําหนดยุทธศาสตรดานการผลิตกําลังคนและกระจายโอกาสอุดมศึกษาในลักษณะที่สอดคลองกับการพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะอยางยิ่งมาตรการสนับสนุนของรัฐตอการผลิตกําลังคนในสาขาที่ขาดแคลนและจําเปนตอการพัฒนาเศรษฐกิจและเทคโนโลยี รวมท้ังการปฏิรูปการเรียนการสอนใหการวิจัยเปนสวนหนึ่งของกระบวนการเรียนการสอนในระดับอุดมศึกษา การปรับระบบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาตอในสถาบันอุดมศึกษา และการปรับปรุงรูปแบบการจัดอุดมศึกษาใหมีลักษณะยืดหยุนและหลากหลายเพื่อการพัฒนาความรูเพิ่มเติมอยางตอเนื่องดวยการจัดตั้งวิทยาลัยชุมชน 17 แหงในฐานะสถาบันอุดมศึกษาประจําทองถ่ิน การอุดมศึกษาในบรูไนครอบคลุมตั้งแตระดับปริญญาตรี ถึงปริญญาเอก เชนเดียวกับประเทศอ่ืนๆ ในอาเซียนหลายประเทศ ถึงแมวาเปนการบริการจากมหาวิทยาลัยของรัฐเพียงแหงเดียวเปนหลัก คือ มหาวิทยาลัยแหงบรูไนดารุสซาลาม ซ่ึงเพิ่งเปดอยางเปนทางการเมื่อป 2528 ทวา มีความเปนอิสระในการดําเนินการ

การอุดมศึกษาในมาเลเซียแบงออกไดเปนระดับประกาศนียบัตร ไดแกโรงเรียนที่เปดสอนดานวิชาชีพพิเศษเฉพาะดาน ดานเทคนิค และวิชาชีพครู และระดับปริญญาบัตร ไดแกมหาวิทยาลัยที่มีการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรี โท และเอก ทั้งนี้ มาเลเซียมีเปาหมายใหการอุดมศึกษาของมาเลเซียเปนสินคาสงออกเพื่อนํารายไดเขามาพัฒนาการอุดมศึกษาของตนอยางตอเนื่อง จึงมีแนวทางใหสามารถรับหรือบริการการศึกษาแกนักศึกษาทั่วโลกได โดยไมจํากัดเฉพาะคนมาเลเซีย โดยลดการศึกษาตอในตางประเทศ ดวยการเรงสรางอาคารเรียนและสนับสนุนการตั้งสถาบันการศึกษาตางๆ

สถาบันอุดมศึกษาในสิงคโปรมีการขยายตัวจาก 2 เปน 3 แหงประกอบดวยสถาบันของรัฐและของภาคเอกชน ดังนี้

1) National University of Singapore (NUS) ประกอบดวยคณะตางๆ ซ่ึงเปดการเรียนการสอนตั้งแตระดับปริญญาตรีขึ้นไป ไดแก Arts and Social Sciences, Business, Computing, Design and Environment, Dentistry, Engineering, Law, Medicine and Science ในขณะที่ Yong Siew Toh Conservatory of Music และ University Scholars Programme เปดสอนเฉพาะระดับปริญญาตรี สําหรับระดับ Postgraduate มีเฉพาะที่ Lee Kuan Yew School of Public Policy และ NUS Graduate School for Integrative Sciences and Engineering

2) Nanyang Technological University (NTU) เปนการเนนในดานวิศวกรรมศาสตรหลายแขนง วิทยาศาสตร ธุรกิจและการบัญชี นิเทศศาสตร และการฝกหัดครู ตั้งแตระดับปริญญาตรีถึงปริญญาเอก

3) Singapore Management Univeristy (SMU) เปนสถานศึกษาเอกชนซึ่งไดรับเงินทุนสนับสนุนจากภาครัฐที่เพิ่งจัดตั้งขึ้นเมื่อป 2543 เปดสอนเฉพาะในดานการบริหารจัดการและธุรกิจตั้งแตระดับปริญญาตรีขึ้นไป

ในปจจุบัน รัฐบาลสิงคโปร ไดหันมาใหความสําคัญกับการเปดเสรีใหสถาบันอุดมศึกษาชั้นนําจากตางประเทศ เชน มหาวิทยาลัย John Hopkins มหาวิทยาลัยชิคาโก Wharton School ของมหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนีย เปนตน เขามาจัดการเรียนการสอนในสิงคโปร เพื่อยกระดับคุณภาพทางการศึกษาในระดับอุดมศึกษาโดยผูเรียนไมตองจากบานเมืองไปไหน ถึงแมวาการอุดมศึกษาประเทศสมาชิกอาเซียนที่เปนสังคมนิยมนั้น มีระบบที่แตกตางจากประเทศอาเซียนอื่น เชน การที่การอุดมศึกษาของเวียดนามใชเวลา 2-6 ป เปนตนนั้น แตการปฏิรูปการศึกษาในกลุมประเทศนี้ก็ เปนไปในทํานองเดียวกันกับประเทศอาเซียนอื่นหลายประการ โดยเฉพาะอยางยิ่งการขยายโอกาสทางการศึกษาและการยกระดับคุณภาพทางการศึกษา ระบบอุดมศึกษาของเวียดนาม มีการปฏิรูปในลักษณะที่ตอบสนองตอความตองการของตลาดดวยการปรับปรุงทั้งในเชิงปริมาณและในเชิงประสิทธิภาพคุณภาพทางการศึกษา ในเชิงปริมาณนั้น เวียดนามมีสถาบันอุดมศึกษาเพิ่มขึ้นจาก 120 แหงในชวงทศวรรษที่ 2530 เปน 157 แหงในชวงตนทศวรรษที่ 2540 เปนวิทยาลัยครู 45 แหง มหาวิทยาลัยเอกชนในกํากับของรัฐ

10 แหง มีมหาวิทยาลัยระดับชาติ และระดับทองถ่ินซึ่งเพิ่งตั้งขึ้นใหม 5 แหง ตลอดจนมีการจัดตั้งมหาวิทยาลัยเปดในศูนยกลางเศรษฐกิจ คือ ฮานอยและโฮจิมินห เปนที่นาสังเกตวา สถานศึกษาระดับอุดมศึกษาสวนใหญยังคงเนนการศึกษาเฉพาะทาง จัดแบงตามภาคสวนตางๆ ของระบบเศรษฐกิจ และเปนสถานศึกษาในกํากับของกระทรวงตางๆ ที่รับผิดชอบ ซ่ึงเปนแนวทางที่ดําเนินเร่ือยมาตั้งแตยุคที่การศึกษาอยูภายใตอํานาจการควบคุมบริหารจัดการจากสวนกลาง คลายคลึงกับระบบอุดมศึกษาของอดีตโซเวียตรัสเซีย

แนวทางดังกลาวนับวาเปลี่ยนไปอยางมากจากอดีต หรือยุคที่การศึกษาอยูภายใตอํานาจการควบคุมบริหารจัดการจากสวนกลาง ซ่ึงเปนระบบที่เนนการประกันการจางงานสําหรับผูสําเร็จการศึกษาซึ่งไดรับการมอบหมายใหทํางานในกระทรวงที่เกี่ยวของกับสายการเรียนรู กระนั้นก็ตาม ในบางสวนนั้นระบบอุดมศึกษาของเวียดนามยังคงรักษาแนวทางที่มีลักษณะคลายคลึงกับระบบอุดมศึกษาของอดีตโซเวียตรัสเซีย ในแงของการมีสถานศึกษาวิชาชีพเฉพาะทางเปนจํานวนมากหลากหลายสาขาความรู เปนสถานศึกษาที่จัดแบงตามภาคสวนตางๆ ของระบบเศรษฐกิจ ขึ้นตรงตอกระทรวงที่รับผิดชอบเฉพาะดาน ทั้งนี้ ระบบอุดมศึกษาของเวียดนามยังตองอาศัยการพัฒนาตอไปใหมีการเชื่อมโยงระหวางการเรียนการสอนกับการวิจัย

ในชวงตนของศตวรรษใหมนี้ แผนพัฒนาการศึกษา 2544-2548 ของ สปป ลาว กําหนดเปาหมายดําเนินการในสวนที่เกี่ยวกับการอุดมศึกษาในลักษณะของการสงเสริมใหเด็กนักเรียนหญิงและชนกลุมนอยตางๆ เขาเรียนในระดับอุดมศึกษามากขึ้น และเพิ่มสัดสวนนักเรียนตอจํานวนประชากรทั้งหมดจาก 350/100,000 คนในป 2543 เปน 450/100,000 คนในป 2548

1) ในกัมพูชานั้น การปฏิรูปอุดมศึกษา เปนไปตามนโยบายของรัฐซึ่งตองการใหมีการขยายการศึกษาคุณภาพระดับอุดมศึกษาใหสามารถตอบสนองตอเปาหมายของชาติ ความจําเปนในการจางงาน (Employment needs) และความตองการของตลาด (Market demands) ตลอดจนการกระชับความรวมมือในลักษณะหุนสวนระหวางภาครัฐกับภาคเอกชนใหมีความแข็งแกรงมากขึ้น ในการดําเนินการขางตนนั้น ประเทศกัมพูชาไดตั้งเปาหมายสําหรับใหลุลวงภายในป 2551 ไว 3 ประการคือ

1) การเพิ่มจํานวนผูเขารับการศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาเปน 90,000 คน โดยในจํานวนดังกลาวนั้นคิดเปนผูเขารับการศึกษาในสถานศึกษาเอกชนจํานวน 54,000 คน (รอยละ 60) และมีสัดสวนของเพศหญิงรอยละ 40

2) การปรับปรุงใหเยาวชนที่สําเร็จการศึกษาในระดับเกรด 12 จากทั้ง 24 จังหวัดไดรับการศึกษาในระดับอุดมศึกษาอยางทั่วถึง ทั้งนี้โดยตั้งเปาหมายไวใหเยาวชนจากนอกกรุงพนมเปญเขารับการศึกษาในระดับอุดมศึกษาเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 30 ภายในป 2551

3) การขยายโครงการศึกษาดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและคณิตศาสตรในสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาทั้งภาครัฐและภาคเอกชน โดยมีเปาหมายใหมีผูเขารับการศึกษาในระดับตางๆ ในดานนี้จํานวน 15,000 คน คิดเปนสัดสวนของเพศหญิงรอยละ 30 ภายในป 2551

สําหรับพมานั้น เด็กที่สําเร็จการศึกษาจากระดับมัธยมศึกษาดวยผลการเรียนดีในวิชาคณิตศาสตร วิทยาศาตร วิศวกรรม และการแพทยสามารถสมัครสอบเขาเรียนในมหาวิทยาลัยของรัฐ การเปรียบเทียบยุทธศาสตรการผลิตและการพัฒนาครู การพัฒนาครูเพื่อใหตอบสนองกับการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน เปนสิ่งที่ทุกประเทศอาเซียนอยูระหวางการดําเนินการและปรับปรุงใหเหมาะสมยิ่งขึ้นดวยสาระความครอบคลุมที่แตกตางกันไป โดยสวนที่เดนชัด ไดแก ไทย มาเลเซีย สปป ลาว กัมพูชา

กลาวคือ การปรับปรุงดานการพัฒนาครูของไทยนั้น แบงออกเปนการกําหนดนโยบายและแผนการผลิตครู การผลิตครูแนวใหมหลักสูตร 5 ป การผลิตครู ผูบริหารและบุคลากรทางการศึกษา การปฏิรูปคุณภาพคณาจารยในสถาบันผลิตครู การวิจัยและพัฒนาเพื่อยกระดับความเปนเลิศทางครุศาสตร ศึกษาศาสตร การปฏิรูปโครงสรางการบริหารงานและประกันคุณภาพสถาบันผลิตครู โดยกระทรวงศึกษาธิการไดจัดทํากรอบแผนยุทธศาสตรการปฏิรูปครูและบุคลากรทางการศึกษา (พ.ศ. 2547-2556) การปรับปรุงโครงการพัฒนาบุคลากรเพื่อการปฏิรูปการศึกษา (พ.ศ. 2548-2553) การจัดทําโครงการสงเสริมการผลิตครูที่มีความสามารถทางวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร ซ่ึงในปจจุบันเปนโครงการตอเนื่องระยะที่ 2 (พ.ศ. 2548-2549) ตลอดจนการจัดทํากฎหมายปฏิรูประบบบริหารงานบุคคล ไดแก พระราชบัญญัติระเบียบขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547 พระราชบัญญัติเงินเดือน เงินวิทยฐานะ และเงินประจําตําแหนงขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547 พระราชบัญญัติเงินเดือน และเงินประจําตําแหนง (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2547 และพระราชบัญญัติระเบียบขาราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 2547

นอกจากนี้ยังมีการพัฒนามาตรฐานวิชาชีพและควบคุมการประกอบวิชาชีพ โดยการจัดตั้งองคกรวิชาชีพครู การกําหนดกรอบการพัฒนาวิชาชีพครู การเตรียมการในการจัดทําขอบังคับวาดวยมาตรฐานวิชาชีพ ขอบังคับวาดวยจรรยาบรรณวิชาชีพ ขอบังคับคุรุสภาเกี่ยวกับการพัฒนาวิชาชีพครู ขอบังคับวาดวยการพัฒนาและการสงเสริมยกยองวิชาชีพทางการศึกษา เปนตน

นับตั้งแตที่มีนโยบายการศึกษาแหงชาติ ป 2522 มาเลเซียไดใหความสําคัญกับการเสริมสรางการศึกษาของครู โดยการสนับสนุนใหผูที่จะเปนครูจบการศึกษาระดับปริญญาตรีเปนอยางต่ํา มีการยกระดับสถานภาพครูดวยการกอตั้งมหาวิทยาลัยครู การเพิ่มอัตราเงินเดือน การศึกษาเพิ่มเติมทั้งแบบการศึกษาทางไกลและแบบหลักสูตรเฉพาะในมหาวิทยาลัยทั้งในและตางประเทศ

ในชวงตนของศตวรรษใหมนี้ แผนพัฒนาการศึกษา 2544-2548 ของ สปป ลาว กําหนดเปาหมายดําเนินการในสวนที่เกี่ยวกับการพัฒนาครูไว ดังนี้

1) การปรับปรุงคุณภาพการฝกครูระดับประถมและมัธยมศึกษา ยกระดับครูที่ไมเคยผานการฝกอบรมใหมีคุณสมบัติขั้นพื้นฐานที่จําเปน อีกทั้งจัดใหมีวิชาบังคับและวิชาเลือกตางๆ เพิ่มมากขึ้นในหลักสูตรการฝกอบรมครู

2) การปรับปรุงสมรรถนะของผูฝกอบรมครูตั้งแตระดับวิทยาลัยครู โรงเรียนฝกอบรมครู ไปจนถึงสถาบันการศึกษาระดับปริญญาตรี โดยเฉพาะอยางยิ่งในระดับวิทยาลัยครูและ โรงเรียนฝกอบรมครู นั้นเนนดานภาษาอังกฤษ ทักษะทางคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีทางการศึกษาขั้นสูง

สิงคโปรเนนการฝกอบรมครูมากกวาการเรียนการสอนวิชาชีพครู โดยเห็นวา ครูมีบทบาทสําคัญอยางมากตอการบรรลุเปาหมายตางๆ ในการปฏิรูปทางดานการศึกษา ในศตวรรษที่ 21 นี้จึงมีแนวคิดที่จะดําเนินการตอไปนี้

3) ภายในระยะเวลา 5 ปนับแตป 2547 เปนตนไป โรงเรียนตางๆ จะไดรับเงินอุดหนุนประเภทใหเปลาในการเพิ่มบุคลากรครู โดยใหโรงเรียนมีอํานาจมากขึ้นในการบริหารจัดการเงินอุดหนุนดวยตนเอง

4) ครูจะมีโอกาสในการพัฒนาวิชาชีพของตนใหแข็งแกรงและกาวหนามากขึ้น โดยคาดหวงัใหครูในทุกโรงเรียนไดรับการฝกอบรมเพิ่มเติม 30-50 ช่ัวโมง ซ่ึงสูงกวามาตรฐานในระดับสากล

การปฏิรูปทักษะสมรรถนะดานการสอนสําหรับผูที่จะเขาสูวิชาชีพครู หรือการฝกอบรมและสอนเพิ่มเติมบุคลากรครูในสิงคโปรนั้น เปนความรับผิดชอบหลักของ National Institute of Education (NIE) ซ่ึงเปนสวนหนึ่งของ Nanyang Technological University ประกอบดวยระดับประกาศนียบัตร 2 ป ระดับปริญญาตรี 4 ป และระดับ Postgraduate Diploma in Education/Physical Education

กัมพูชามีนโยบายที่จะยกระดับความรับผิดชอบของสถาบันการศึกษาในการผลิตบุคลากรผูสอน ซ่ึงไดแก วิทยาลัยครูตางๆ ทั้งในระดับจังหวัดและระดับภูมิภาค รวมทั้งกลไกทางสถาบันที่เพิ่งจัดตั้งขึ้นเรียกวา สถาบันแหงชาติเพื่อการศึกษา (National Institute for Education: NIE) ดังนี้

1) การสงเสริมใหครูที่ผานการฝกอบรมจากวิทยาลัยครูตางๆ ทั้งในระดับจังหวัดและระดับภูมิภาคออกไปทําการสอนในพื้นที่ดอยพัฒนาและพื้นที่หางไกลความเจริญ ตลอดจนการสงเสริมใหคนในพื้นที่นั้นเขารับการฝกอบรมเปนครูและกลับไปสอนในพื้นที่ดังกลาวมากขึ้น โดยตั้งเปาหมายใหมีครูเขาไปสอนในพื้นที่ดังกลาวถึงรอยละ 95 ของผูที่ผานการฝกอบรมจากวิทยาลัยครูตางๆ ทั่วประเทศ ดวยสัดสวนที่เทาเทียมกันระหวางเพศหญิงและเพศชายภายในป 2551

2) การขยายโครงการพัฒนาระดับวิชาชีพที่ NIE จัดขึ้นใหครอบคลุมระดับผูอํานวยการ รองผูอํานวยการ บุคลากรฝายวางแผน บุคลากรดานการบริหารจัดการ ตลอดจนบุคลากรดานเทคนิคของโรงเรียนตางๆ ดวยเปาหมายที่จะรับผูเขารับการฝกอบรมพัฒนาในสวนนี้ปละ 1,500 คนทั้งในระยะส้ันและระยะยาว

3) การขยายโอกาสใหผูมีสวนรวมในการจัดการชุมชนไดเขารับการฝกฝนทักษะดานการเรียนการสอนตามสถานศึกษาอบรมที่มีอยูใหมากขึ้นถึง 5,000 คนภายในป 2551 โดยมุงใหสัดสวนของเพศชายอยูที่รอยละ 25 ของผูเขารับการอบรมจากชุมชนทั้งหมด การเปรียบเทียบยุทธศาสตรดานกลไกและแนวทางดําเนินการ

การบริหารจัดการทางการศึกษาของประเทศสมาชิกอาเซียนนั้น แบงออกได 2 แนวทาง คือ 1) การรวมศูนยอํานาจอยูที่สวนกลาง 2) การกระจายอํานาจ ทั้งนี้ อาจพิจารณาไดวา การกระจายอํานาจจากสวนกลางเปนกระแสหลักของอาเซียนใน

ปจจุบัน ถึงแมวามีบางประเทศที่เคยมีการเปลี่ยนแปลงสลับกันไปเนืองๆ ระหวางการบริหารจัดการจากสวนกลางและการกระจายอํานาจจากสวนกลาง แตในปจจุบันเปนการเนนที่การกระจายอํานาจ

ในบรรดาประเทศสมาชิกอาเซียนทั้งหลายนั้น ประเทศไทยนับเปนประเทศที่มีการปฏิรูปกลไกและแนวทางดําเนินการในการบริหารการศึกษาคอนขางมาก ประกอบดวยสวนหลักตอไปนี้ คือ

1) การปรับระบบการบริหารและการจัดการศึกษาในสวนกลาง 2) การกระจายอํานาจการบริหารจัดการศึกษาไปยังสวนทองถ่ิน ประกอบดวย

2.1) การกระจายอํานาจการบริหารจัดการศึกษาไปยังเขตพื้นที่การศึกษา 2.2) การกระจายอํานาจการบริหารจัดการศึกษาไปยังสถานศึกษา 2.3) การถายโอนอํานาจในการบริหารจัดการศึกษาจากกระทรวงศึกษาไปยังองคกร

ปกครองสวนทองถ่ิน กระทรวงมหาดไทย 3) การปรับระบบบริหารจัดการของสถานศึกษาเอกชน โดยใหภาคเอกชนไดรับการสงเสริม

และสนับสนุนใหมีสวนรวมในการจัดการศึกษาและบริหารงานอยางเปนอิสระทุกระดับและทุกประเภท

สําหรับปรับระบบการบริหารและการจัดการศึกษาในสวนกลางนั้น ตั้งแตกลางป 2546 เปนตนมา ไดมีการปรับโครงสรางระบบการบริหารการศึกษา ในลักษณะการหลอมรวมหนวยงานตอไปนี้ คือ กระทรวงศึกษาธิการ ทบวงมหาวิทยาลัย และสํานักงานคระกรรมการศึกษาแหงชาติในสังกัดสํานักนายกรัฐมนตรี เขามาอยูดวยกันเปนกระทรวงศึกษาธิการซึ่งปรับบทบาทใหเปนกระทรวงอํานวยการตามเจตนารมณของพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ที่กําหนดใหกระทรวงศึกษาธิการมีอํานาจหนาที่เกี่ยวกับการสงเสริมและกํากับดูแลการศึกษาทุกระดับและทุกประเภท รวมถึงการกําหนดนโยบาย แผนและมาตรฐานการศึกษา สนับสนุนทรัพยากรเพื่อการศึกษา ติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการจัดการศึกษา โดยมีการปฏิรูปการจัดระเบียบบริหารราชการ ใหประกอบดวย 4 องคกรหลัก คือ

1) สภาการศึกษา มีหนาที่ เสนอตอคณะรัฐมนตรีในสวนของแผนการศึกษาแหงชาติ นโยบาย แผนและมาตรฐานการศึกษา นโยบายและแผนในการสนับสนุนทรัพยากรเพื่อการศึกษา ตลอดจนดําเนินการประเมินผลการจัดการศึกษา และใหความเห็นหรือคําแนะนําเกี่ยวกับกฎหมายและกฎกระทรวงที่ออกตามความในพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ

2) คณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีหนาที่เสนอนโยบาย แผนพัฒนา มาตรฐานและหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานที่สอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ และแผนการศึกษาแหงชาติ การสนับสนุนทรัพยากร การติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน

3) คณะกรรมการอาชีวศึกษา มีหนาที่เสนอนโยบาย แผนพัฒนา มาตรฐานและหลักสูตรการอาชีวศึกษาทุกระดับที่สอดคลองกับความตองการตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ และแผนการศึกษาแหงชาติ การสนับสนุนทรัพยากร การติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการจัดการอาชีวศึกษา โดยคํานึงถึงคุณภาพและความเปนเลิศทางวิชาชีพ

4) คณะกรรมการอุดมศึกษา มีหนาที่เสนอนโยบาย แผนพัฒนา มาตรฐานและหลักสูตรการอุดมศึกษาทุกระดับที่สอดคลองกับความตองการตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ และแผนการศึกษาแหงชาติ การสนับสนุนทรัพยากร การติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการจัดการอุดมศึกษา โดยคํานึงถึงความเปนอิสระและความเปนเลิศทางวิชาการของสถานศึกษาระดับปริญญา ตามกฎหมายวาดวยการจัดตั้งสถานศึกษาแตละแหงและกฎหมายที่เกี่ยวของ

สําหรับกระจายอํานาจการบริหารจัดการศึกษาไปยังสวนทองถ่ินนั้น เขตพื้นที่การศึกษา 175 เขต เปนกลไกหลักของการปฏิรูปการศึกษาขั้นพื้นฐานในระดับพื้นที่ ตามทิศทางการกระจายอํานาจสูทองถ่ินโดยอาศัยรูปแบบการบริหารที่มีสถานศึกษาเปนฐาน ในการจัดการศึกษานั้น เนนบทบาทของคณะกรรมการสถานศึกษา การมีสวนรวมของชุมชน และการขยายบทบาทขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน ไดแก อบต. และเทศบาลตางๆ ในฐานะกลไกใหมและกลไกหลักในระยะยาวในหนุนเสริมการจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนาของทองถ่ิน

ในแตละพื้นที่การศึกษานั้น คณะกรรมการและสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาทําหนาที่กํากับดูแล จัดตั้ง ยุบ รวม หรือเลิกสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในเขต ประสาน สงเสริมและสนับสนุนสถานศึกษาเอกชน ประสานและสงเสริมองคกรปกครองสวนทองถ่ินใหสามารถจัดการศึกษาสอดคลองกับนโยบายและมาตรฐานการศึกษา ตลอดจนทําหนาที่สงเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาของบุคคล ครอบครัว องคกรชุมชน องคกรเอกชน องคกรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่นที่จัดการศึกษาในรูปแบบที่หลากหลายในแตละเขตพื้นที่การศึกษาที่รับผิดชอบ

ทั้งนี้ กระทรวงศึกษาฯ สามารถจัดใหมีการศึกษาขั้นพื้นฐานในลักษณะอื่นในกรณีเขตพื้นที่การศึกษาไมอาจบริหารและจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานตามเขตการศึกษาเพื่อเสริมการบริหารและการ

จัดการของเขตพื้นที่การศึกษา แบงออกได 4 ลักษณะคือ 1) การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานสําหรับบุคคลที่มีความบกพรองทางรางกาย จิตใจ สติปญญา อารมณ สังคม การสื่อสาร และการเรียนรู หรือมีรางกายพิการหรือทุพพลภาพ 2) การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานในรูปแบบการศึกษานอกระบบหรือการศึกษาตามอัธยาศัย 3) การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานสําหรับบุคคลที่มีความสามารถพิเศษ และ 4) การจัดการศึกษาทางไกลและการจัดการศึกษาที่ใหบริการในหลายเขตพื้นที่การศึกษา

นอกจากนี้ การปฏิรูปการศึกษาในปจจุบันยังใหความสําคัญกับระบบการประกันคุณภาพการศึกษาทุกระดับทั้งภายในและภายนอกตามหมวด 6 ของพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ ในฐานะสวนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาซึ่งใชสถานศึกษาเปนฐาน โดยสภาการศึกษาทําหนาที่พัฒนาและนําเสนอมาตรฐานการศึกษาแหงชาติ จากนั้นองคกรหลัก และกระทรวงตางๆ รวมทั้งหนวยงานที่เกี่ยวของ ไดแก คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการอาชีวศึกษาและคณะกรรมการอุดมศึกษา กระทรวงที่เกี่ยวของ ภาคเอกชน องคกรปกครองสวนทองถ่ิน เปนตน ทําหนาที่พัฒนามาตรฐานการศึกษาของแตละระดับและประเภทการศึกษา เพื่อใหสถานศึกษาใชเปนแนวทางในการจัดการศึกษา และดําเนินการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาเพื่อเตรียมความพรอมในการประเมินคุณภาพภายนอกจากสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) ทั้งนี้ สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษาไดดําเนินการจัดมาตรฐานการศึกษาของชาติอยางตอเนื่องตั้งแต ป 2545-2547 รวมกับหนวยงาน องคกรหลักและบุคคลที่เกี่ยวของในฐานะแนวทางในการพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษาของประเทศใหดียิ่งขึ้น

Ministry of Education ของบรูไน ในฐานะองคกรหลักในการกํากับดูแลการศึกษาในภาพรวมของบรูไนทั้งประเทศ มีการดําเนินงานในลักษณะประสานงานกับหนวยงานระดับสูงในเชิงนโยบายหลายหนวยงาน ไดแก สภาการศึกษาแหงชาติบรูไนดารุสซาลาม สภามหาวิทยาลัยแหงบรูไนดารุสซาลาม คณะกรรมการพัฒนาทรัพยากรมนุษย สภามาเลย อิสลามและระบบกษัตริย เปนตน

การบริหารการศึกษาของมาเลเซียมีลักษณะรวมอํานาจไวที่สวนกลางเชนเดียวกับบรูไน ทวามีความซับซอนกวา โดยแบงออกโครงสรางการบริหารจัดการตามระดับการบังคับบัญชาเปน ระดับรัฐบาลกลาง ระดับรัฐ และระดับเขต โดยมีองคกรกํากับดูแลประกอบดวยกระทรวงศึกษาฯ กรมการศึกษาศึกษาประจํารัฐ และสํานักงานการศึกษาประจําเขต สําหรับการจัดการในรัฐซาบาหและซาราวัคซ่ึงตั้งอยูบนเกาะบอรเนียวและมีพื้นที่กวางมากนั้น มีการเพิ่มหนวยงานขึ้นมาเพื่อชวยเหลือภารกิจของกรมการศึกษาประจํารัฐ คือ สํานักงานการศึกษาประจําภาค

สําหรับกระบวนกําหนดนโยบายของรัฐบาลกลางโดยกระทรวงศึกษาธิการของมาเลเซียนั้น ใชระบบคณะกรรมการเปนหลัก ไดแก คณะกรรมการวางแผนการศึกษา (Education Planning Committee) ซ่ึงมีรัฐมนตรีที่เกี่ยวของเปนประธาน คณะกรรมการดังกลาวมีฐานะเปนองคกรสูงสุดในการตัดสินใจ โดยมีกองวิจัยและวางแผนเปนหนวยงานสนับสนุน

ฟลิปปนสมีการกระจายบทบาทความรับผิดชอบออกไป โดย Department of Education (DepED) เปนกลไกหลักในการรับผิดชอบกํากับดูแลโดยตรงตอการศึกษาในระดับประถมศึกษา (รวมถึงกอนระดับประถมดวย) มัธยมศึกษา และการศึกษาอยางไมเปนทางการ โดยมีสถาบันนักการศึกษาแหงชาติฟลิปปนสรองรับ ในขณะที่ระดับอุดมศึกษาเปนความรับผิดชอบของคณะกรรมการการอุดมศึกษา (Commission on Higher Education-CHED) ในขณะที่การศึกษาสายอาชีพหรืออาชีวศึกษาอยูในความดูแลของกลุมการศึกษาดานวิชาชีพและการพัฒนาทักษะ (Technical Education and Skills Development Authority - TESDA)

ในขณะเดียวกัน กลไกการบริหารจัดการสวนใหญสิงคโปรอยูที่ Ministry of Education ในฐานะกลไกหลักในการบริหารจัดการเชิงนโยบาย และกํากับดูแลการนํานโยบายสูภาคปฏิบัติโดยอาศัยกลไกรองรับหลายสวนทั้งในเชิงนโยบาย แผน การพัฒนาหลักสูตร การพัฒนาบุคลากร การบริการตางๆ ตอสถาบันการศึกษา ตลอดจนการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา โดยเฉพาะอยางยิ่งในสวนหลังนี้เปนความรับผิดชอบของ Educational Technology Division ซ่ึงมีหนาที่หลักแบงออกได 2 สวนคือ 1) การพัฒนาตนแบบและใหคําปรึกษาหารือในการบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศเขาไปใหสอดรับกับหลักสูตรการเรียนการสอนในแตละสถาบันการศึกษาตางๆ และ 2) การเปนกําลังขับเคลื่อนสงเสริมเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู ซ่ึงรวมถึงการสรางพันธมิตรยุทธศาสตรกับหนวยงานตางๆ ที่เกี่ยวของ การสงเสริมวัฒนธรรมในการวิจัยประยุกตเกี่ยวกับการใชเทคโนโลยีในระบบการศึกษา ตลอดจนการทดลองนวัตกรรมทางเทคโนโลยีและสื่อตางๆ ทั้งนี้ โดยมีการประสานงานอยางใกลชิดกับ Planning Division ซ่ึงมีหนาที่ในการกําหนดและทบทวนนโยบายดานการศึกษา การบริหารจัดการและวิเคราะหขอมูลตางๆ ตลอดจนความรวมมือระหวางประเทศ เพื่อรองรับการตัดสินใจเชิงนโยบายของกระทรวงศึกษาฯ เวียดนามมีแนวทางการการบริหารจัดการในลักษณะที่กระทรวงศึกษา (MOET) ของเวียดนามรับผิดชอบโดยตรงในการกํากับดูแลและวางแผนระบบการศึกษาแหงชาติในภาพกวาง ในขณะที่การอุดมศึกษาและการศึกษาสายอาชีพอยูในความรับผิดชอบกํากับดูแลในระดับใกลเคียงกับหนาที่ของรัฐบาลกลาง ทั้งนี้ เวียดนามอยูระหวางการพิจารณาปรับปรุง 2 ประการ คือ การปรับปรุงดานกรอบกติกาทางกฎหมายในการรองรับใหการอุดมศึกษาและการศึกษาสายอาชีพตอบสนองตอความตองการของตลาดแรงงานในทองถ่ินมากขึ้น และการปรับปรุงบทบาทของ MOET ใหสามารถกํากับดูแลมาตรฐานของสถาบันการศึกษาเอกชน

สําหรับ ส.ป.ป. ลาว การบริหารจัดการทางการศึกษานั้น แบงออกเปนการบริหารสวนกลาง และสวนทองถ่ินโดยกระทรวงศึกษาธิการ (Ministry of Education) ซ่ึงไดจัดตั้งขึ้นอยางเปนทางการเมื่อป 2536 มีหนาที่รับผิดชอบในการวางแผนและบริหารจัดการดานการศึกษาในทุกสวนของประเทศ ดวยรูปแบบการตัดสินใจและการวางแผนนั้นมักเปลี่ยนแปลงสลับกันไปเนืองๆ ระหวางการบริหารจัดการจากสวนกลางและการกระจายอํานาจจากสวนกลาง โดยในระยะหลังนี้เปนการเนนที่การ

กระจายอํานาจจากสวนกลาง ซ่ึงยังคงไมชัดเจนนักและจําเปนตองมีการปรับปรุงตอไปดวยรูปแบบที่เหมาะสม โดยเฉพาะอยางยิ่งในสวนที่เปนความรับผิดชอบระดับจังหวัดและระดับอําเภอ

ในปจจุบัน กระทรวงศึกษาฯ ไดจัดตั้งระบบสารสนเทศในการบริหารจัดการทางการศึกษาดวยระบบคอมพิวเตอร แบงออกเปน 4 สวน คือ 1) ระบบสารสนเทศในการบริหารจัดการทางการศึกษา 2) ระบบสารสนเทศในการบริหารจัดการดานบุคลากร 3) ระบบสารสนเทศในการบริหารจัดการดานการกอสราง และ 4) ระบบสารสนเทศในการบริหารจัดการทางการคลัง ซ่ึงในสวนหลังนี้อยูระหวางการพัฒนา ทั้งนี้ กระทรวงศึกษาฯ มีแผนที่จะบูรณาการทั้ง 4 สวนดังกลาวเขาดวยกันเพื่อปรับปรุงคุณภาพทางเทคนิคในการวางแผนและการบริหารจัดการตางๆ

ในชวงตนของศตวรรษใหมนี้ แผนพัฒนาการศึกษา 2544-2548 ของ ส.ป.ป. ลาว กําหนดเปาหมายดําเนินการในสวนที่เกี่ยวกับการบริหารจัดการทางการศึกษาในลักษณะของการกําหนดภาระงานของผูบริหารทางการศึกษาและที่ปรึกษาตางๆ การทําใหระบบสารสนเทศดานการบริหารจัดการทางการศึกษาบูรณาการกันอยางกระชับแนนมากขึ้น และการพยายามเพิ่มสัดสวนงบประมาณของภาครัฐดานการศึกษาจากรอยละ 13 ในป 2543 เปนรอยละ 14 ภายในป 2548

กระทรวงศึกษา เยาวชนและการกีฬา (Ministry of Education, Youth and Sport) เปนกลไกหลักดานการศึกษาของกัมพูชา ไดรับอํานาจหนาที่ในการพัฒนาฐานทรัพยากรมนุษย (Human resource base) ใหมีประสิทธิภาพ โดยการเปดโอกาสใหชาวกัมพูชาทุกคนไดรับการศึกษา เพื่อยกระดับการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ วิถีชีวิตความเปนอยูของประชาชน และทําใหประชาชนชาวกัมพูชาเปนกําลังแรงงานที่มีการศึกษาและไดรับการฝกอบรมอยางดี

ทั้งนี้ กัมพูชาหันมาใชนโยบาย Education Decentralization ซ่ึงเปนนโยบายระยะยาวในการเพิ่มการกระจายขอบเขตอํานาจความรับผิดชอบไปยังหนวยงานตางๆ ของกระทรวงศึกษาฯ ระดับจังหวัด ตําบล หมูบาน (Commune) รวมทั้งระดับโรงเรียน โดยหนวยงานตางๆ ที่สวนกลางของกระทรวงศึกษาฯ จะเนนหนาที่ไปที่การเปนแกนนําในกระบวนการพัฒนานโยบาย กลยุทธ กลไกทางกฎหมาย ตลอดจนหลักการในการบริหารจัดการในลักษณะธรรมาภิบาลโดยอาศัยกระบวนการปรึกษาหารือกับหนวยงานตางๆ ที่เกี่ยวของทั้งในภาครัฐและภาคประชาสังคม (Civil society) อยางกวางขวาง (Extensive consultative process) ตลอดจนการกํากับดูแลการดําเนินการโครงการตางๆ ในลักษณะเครือขายความเชื่อมโยงในการดําเนินการ เพื่ออํานวยใหยุทธศาสตรดานการศึกษาสอดรับและเกื้อหนุนกับการปฏิรูปอื่นๆ ของทางรัฐบาล

นอกจากนี้ กัมพูชายังใหความสําคัญกับหลักธรรมาภิบาลและการประกันคุณภาพ เปาหมายหลักของการปฏิรูปในสวนนี้ประกอบดวย

- การจัดตั้งสํานักงานมาตรฐานการศึกษาและการกําหนดมาตรฐานภายในป 2006เพื่อใหไดแนวทางที่เหมาะสมในการกํากับดูแลการเรียนรูของนักเรียนทั่วประเทศ ตลอดจนเงื่อนไขตางๆ ทั้งในดานการศึกษาตอและในดานการจางงาน

- การนําระบบความตกลงทางการดานการดําเนินงานและการนําระบบจัดทําใบรายงาน (Report cards) มาใชในระดับสถานศึกษากับชุมชนภายในป 2549 และระดับอื่นๆ ภายในป 2550

- การนําระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรทางการศึกษามาใชในทุกระดับของระบบการศึกษา โดยเริ่มเนนที่ระดับผูอํานวยการโรงเรียนและครูผูสอนกอนเปนเบื้องตนนับตั้งแตป 2548 เปนตนไป สวนบุคลากรในระดับอื่นๆ นั้นใหเร่ิมตั้งแตป 2549-2550

- การขยายระบบตรวจสอบภายในใหครอบคลุมสวนตางๆ ของกระทรวงศึกษา ตั้งแตสวนกลาง ลงไปถึงหนวยงานระดับจังหวัด หนวยงานระดับตําบล โรงเรียน และโครงการตางๆ ที่เกี่ยวของ ทั้งนี้ ในป 2548 นั้นยังไมกําหนดใหดําเนินการเปนการทั่วไปหากแตเนนสวนที่คัดเลือกแลวเทานั้น

- การขยายเครือขายผูเขามามีสวนรวมในการกํากับดูแลการดําเนินการตางๆ ที่เกี่ยวของ โดยเฉพาะอยางยิ่ง ใหครอบคลุมผูที่มาจาก National Assembly, National Audit Authority, รัฐบาล กระทรวงศึกษาฯ ผูวาการ (Governors) ผูอุปถัมภตางๆ ภาคประชาสังคม และภาคเอกชน

การจัดงบประมาณดานการศึกษา เปนเปาหมายสําคัญอีกประการหนึ่งในการปฏิรูปการศึกษา ซ่ึงแบงออกไดเปนเปาหมายระยะยาวและระยะกลาง สําหรับเปาหมายระยะยาวนั้นกัมพูชาหวังวาจะไมมีเด็กนักเรียนคนใดไมไดรับโอกาสทางการศึกษาและการฝกอบรมเพราะปญหาดานคาเลาเรียนหรือคาใชจายอื่นๆ กัมพูชาเล็งเห็นวาการไดรับเงินทุนงบประมาณเพื่อการศึกษาอยางทั่วถึงและเปนธรรมจําเปนตองอาศัย กลไกในลักษณะความรวมมือในวงกวางจากภาครัฐรวมกับบรรดาผูปกครองและแหลงเงินทุนตางๆ ทั้งนี้ กัมพูชาใหความสําคัญกับดานขอมูลเกี่ยวกับตนทุนทางการศึกษาเปนอยางมาก เพื่อใหไดรับความรวมมืออยางจริงจัง

อนึ่ง การเพิ่มสัดสวนดานงบประมาณทางการศึกษาและลดการสนับสนุนอยางไมเปนทางการตอการศึกษาเปนเปาหมายระยะกลางที่กัมพูชาใหความสําคัญเปนอยางมาก โดยมีเปาหมายที่สอดคลองสืบเนื่องอยูที่การสงเสริมความเปนหุนสวนระหวางภาครัฐ ผูปกครอง และผูประกอบการภาคเอกชนในการใหเงินทุนทางการศึกษาตั้งแตระดับอนุบาลไปจนถึงระดับมหาวิทยาลัย รวมถึงดานอาชีวศึกษา กระนั้นก็ตาม ในความเปนหุนสวนนั้น กัมพูชามีแนวนโยบายที่จะลดสัดสวนภาระความรับผิดชอบดานการเงินของผูปกครองลดนอยลง พรอมไปกับการเพิ่มสัดสวนของภาครัฐและการสนับสนุนเงินทุนจากภายนอกใหมากขึ้นเปนลําดับ โดยบทบาทของภาครัฐนั้นจะเนนไปที่การเพิ่มอัตราเงินเดือนของบุคลากรครู ทั้งนี้ภายในป 2551 งบประมาณดานเงินทุนรอยละ 75 จะเนนไปที่การศึกษาขั้นพื้นฐาน สวนที่เหลือนั้นจัดใหไวสําหรับการศึกษาที่สูงขึ้นไปจากนั้น การศึกษาแหงชาติของพมาอยูภายใตการกํากับดูแลของเลขาธิการคนที่หนึ่งของสภาเพื่อการพัฒนาและสันติภาพแหงชาติ (State Peace and Development Council: SPDC) โดยผานกระทรวงศึกษาธิการซึ่งรับผิดชอบการศึกษาและการฝกอบรมทั้งในการศึกษาขั้นพื้นฐาน การอุดมศึกษา และการศึกษาของครู โดยมีการจัดตั้งหนวยงานที่เรียกวา สภาการศึกษาพื้นฐาน (Basic

Education Council) ซ่ึงครอบคลุมการวางแผนการบริหารการศึกษาขั้นพื้นฐาน การบริหารจัดการโครงการตางๆ การนิเทศและตรวจตราโรงเรียน ตลอดจนกิจการนักเรียนในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาโดยมีคณะกรรมการหลักสูตรรายวิชาและแบบเรียนสําหรับการศึกษาพื้นฐาน (Basic Education Curriculum, Syllabus and Textbook Committee) และคณะกรรมการกํากับดูแลการศึกษาของครู (Teacher Education Supervisory Committee) ซ่ึงประสานงานกับกรมตางๆ ที่เกี่ยวของภายในกระทรวงศึกษา ไดแก กรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน (1) (Department of Basic Education No. 1) กรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน (2) (Department of Basic Education No. 2) กรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน (3) (Department of Basic Education No. 3)

สวนการอุดมศึกษาของพมานั้น มีกรมการอุดมศึกษา (Department of Higher Education) รับผิดชอบโดยมีการแบงสวนความรับผิดชอบตามพื้นที่ เปน กรมการอุดมศึกษา (พมาตอนบน) (Department of Higher Education (Upper Myanmar) และกรมการอุดมศึกษา (พมาตอนลาง) (Department of Higher Education (Lower Myanmar))โดยประสานงานในเชิงวิชาการกับสภามหาวิทยาลัยสวนกลาง (Universities Central Council) และสภาวิชาการของมหาวิทยาลัยตางๆ (Council of University Academic Bodies)

นอกจากการจัดตั้งหนวยงานขางตนในการยกระดับคุณภาพทางการศึกษา พมายังคงอาศัยสํานักงานวิจัยทางการศึกษา (Myanmar Education Research Bureau) ซ่ึงจัดตั้งมาตั้งแตป 2539 ในฐานะหนวยงานที่ยกระดับมาจากหนวยงานวิจัยทางการศึกษา ซ่ึงจัดตั้งมาตั้งแตป 2509

สวนการศึกษาเฉพาะดานมักอยูภายใตการกํากับดูแลของกระทรวงตางๆ ที่เกี่ยวของนอกกระทรวงศึกษาธิการ เชน มหาวิทยาลัยคอมพิวเตอรศึกษา อยูภายใตกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เปนตน จุดเดนรวมดานการปฏิรูปการศึกษา การใหความสําคัญกับการศึกษา ประเทศสมาชิกอาเซียนทุกประเทศใหความสําคัญแกการศึกษาในฐานะสวนหนึ่งของแนวทางการในการพัฒนาประเทศใหเจริญกาวหนา โดยแนวทางปฏิรูปการศึกษาของประเทศอาเซียนในปจจุบันมีจุดเดนในแงของการมีวิสัยทัศนและปรัชญา อุดมคติทางการศึกษาทั้งในลักษณะที่สอดคลองไปในทํานองเดียวกันและในลักษณะที่สอดคลองกับแนวโนมการแขงขันในระดับสากลในศตวรรษที่ 21 ดวยสังคมเศรษฐกิจฐานความรูดังสะทอนในตารางตอไปนี้

ประเทศ วิสัยทัศนทางการศึกษา ปรัชญา/ปณิธาน/อุดมคต ิไทย การจัดการและสงเสริมการศึกษาให

ประชาชนมีความรู มีคุณภาพ มีศักยภาพในการพัฒนาตนเอง พัฒนาเศรษฐกิจ พัฒนาสังคมฐานความรู และเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศ

ผูเรียนเปนศนูยกลางการเรียนรู การพัฒนาคนอยางรอบดานและสมดุล สรางสังคมคุณธรรม ภูมิปญญาและการเรียนรู พัฒนาสภาพแวดลอมของสังคม

บรูไน การสรางความสามารถหลายดานใหกับชาวบรูไนเชื้อชาติตางๆ เพื่อนํามาซึ่งความสมานฉันทและความสงบสุขในการดําเนินชวีติบนโลกนี้และโลกหนา

การศึกษาบนหลักไตรลักษณ คือ เชื้อชาติมาเลย ศาสนาอิสลาม และพระมหากษัตริย ตามหลักคมัภีรอัลกุรอาน หะดิษ และหลักเหตผุล

มาเลเซีย การพัฒนาระบบการศึกษาที่มีคุณภาพระดับสากล โดยใหความสําคัญกับศักยภาพสูงสุดของปจเจกบคุคลและการตอบสนองตออุดมการณแหงชาติ

การศึกษาตามศักยภาพของบุคลากร เพื่อผลิตคนที่มีความรู มีสติปญญาไตรตรอง รูจักวิเคราะหดวยเหตุและผล สมบูรณเพียบพรอมในทกุดาน มีมาตรฐานสูงทางศีลธรรม เชื่อมั่นและศรัทธาตอพระเจา มีความรับผิดชอบและประสิทธิภาพในการทํางานใหประสบผลสําเร็จเพื่อตนเอง ครอบครัว สังคม และประเทศชาต ิมิไดเนนใหผูเรียนเปนศนูยกลางการเรียนรูเพยีงอยางเดียว หากแตเนนการผสานยุทธศาสตรการเรียนรู

ฟลิปปนส การจัดการศกึษาตองมีทรัพยากรที่เพียงพอ มีเทคโนโลยีที่เหมาะสม สรางบรรยากาศที่สงเสริมการเรียนรู เด็กทกุคนไดรับการรบัรองสิทธิ์ในการเรียนรู โดยเฉพาะอยางยิ่งเด็กดอยโอกาส

มนุษยเปนทรพัยากรที่สําคญัที่สุด การศึกษามีความจําเปนตอประเทศชาติ ชวยใหเด็กคนพบตัวเองในแบบที่เด็กเปนศูนยกลาง ทําใหเดก็กําหนดเปาหมายของตนเองในชุมชนโลก เปนการเตรียมใหเปนประชาชนที่มคีวามรับผิดชอบและเปนผูนําที่รอบรู

ประเทศ วิสัยทัศนทางการศึกษา ปรัชญา/ปณิธาน/อุดมคต ิเปนผูรักชาติ และภูมใิจที่เกดิเปนชาวฟลิปปนส ผูเรียนเปนศนูยกลางของการเรียนรู

สิงคโปร “Thinking Schools, Learning Nation” ซ่ึงหมายถึง การที่สิงคโปรตองการฟูมฟกใหเดก็รุนใหมมีเจตนารมณที่จะคดิในวิถีใหมๆ แกปญหาใหมๆ และสรางโอกาสใหมแกอนาคต

การศึกษาทําหนาที่ 2 ประการ คือ พัฒนาปจเจกชน และใหพลเมืองมีการศึกษา ทั้งนี้ ความคิดสรางสรรค ทักษะในการคิดวิเคราะห ความรับผิดชอบและสายสัมพันธอันแข็งแกรงตอครอบครัว ชุมชน และประเทศชาติ เปนหัวใจสําคญัของอนาคตในยุคศตวรรษที่ 21 ผูเรียนเปนศนูยกลางของการเรียนรู

เวียดนาม การศึกษาที่เขาถึงการศึกษาระดับสูงของโลก เหมาะกบัวิธีปฏิบัติของชาวเวียดนาม ตอบสนองตอการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชาติ ภูมิภาคและทองถ่ิน มุงสูสังคมแหงการเรยีนรู เพื่อนําการศึกษาของประเทศใหหางไกลจากความดอยพัฒนา

การศึกษาและการพัฒนาทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเปนยุทธศาสตรสําคัญของประเทศ

ลาว การศึกษาเปนแกนสําหรับการพัฒนาทรัพยากรมนษุย โดยใหมีการศึกษาภาคบังคับอยางทั่วถึง การขจัดความไมรูหนังสือ การขยายการศกึษาในระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษาในลักษณะที่สอดรับกับความจําเปนของตลาดแรงงานสมัยใหม และเอื้อตอการปรับปรุงผลตอบแทนทางเศรษฐกิจตอภาคการเกษตรใหเพิ่มสูงขึ้น ยกระดับการศึกษาชาตใิหใกลมาตรฐานสากลมากขึ้นเปนลําดับ มีการลงทุนดานการศึกษาในสัดสวนที่เหมาะสม

การศึกษา เปนการพัฒนาทางดานรางกาย สติปญญา และคุณสมบัติของมนุษยทั้งในและนอกโรงเรียน

ประเทศ วิสัยทัศนทางการศึกษา ปรัชญา/ปณิธาน/อุดมคต ิกัมพูชา การพัฒนาทรพัยากรมนษุยใหมีคุณภาพ

สูงสุดเพื่อทําใหกัมพูชาเปนสังคมฐานความรู

การทําใหประชากรวัยเยาวชาวกัมพูชามีพัฒนาการอยางเปนองครวม (Holistic) ดวยการศึกษาและทักษะทางเทคนิคที่ดีขึ้น ดวยความรูสึกภาคภูมิใจในชาติ ดวยคุณธรรมและจริยธรรมในระดับมาตรฐานสูง และดวยความเชื่อมั่นอยางแรงกลาในความรับผิดชอบตออนาคตของตน คนจนเปนศนูยกลางของการปฏิรูปการศึกษา

พมา การสรางระบบการศึกษาทีส่รางสรรคสังคมการเรียนรูที่จะสามารถกาวใหทันกับการทาทายในยุคแหงความรู

สรางชาติใหพฒันาทันสมัยดวยการศึกษา

แนวทางในการปฏิรูปการศึกษา แนวทางการปฏิรูปการศึกษาในอาเซียนนั้น มีแนวโนมของการดําเนินแนวทาง 2 ประการ คือ

การขยายการศึกษาใหทั่วถึง และการยกระดับคุณภาพของการศึกษา ดวยน้ําหนักและสมดุลที่แตกตางกันไป ซ่ึงการยกระดับคุณภาพของการศึกษานั้น จุดรวมของประเทศสมาชิกอาเซียนแบงออกได 5 ประการ

1) การมุงสูสังคมฐานความรู 2) เปาหมายการยกระดับคุณภาพทางการศึกษาสูระดับสากล โดยบางประเทศไดกําหนดเปน

เปาหมายหลักไวอยางชัดเจน เชน สิงคโปร และเวียดนาม ในขณะที่ไมไดระบุชัดเจนเชนนั้น เชน การที่พมามุงที่ความทัดเทียมทางการศึกษากับประเทศอาเซียน เปนตนนั้นก็ตาม ทวาโดยนัยแลวหมายถึงการยกระดับคุณภาพทางการศึกษาสูระดับสากลเชนกันในเมื่อการศึกษาของประเทศอาเซียนหลายประเทศมีเปาหมายอยูที่คุณภาพระดับสากล

3) การตอบสนองตอการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคมทั้งในระดับประเทศและระดับทองถ่ิน

4) การศึกษาเปนแนวทางไปในการยกระดับศักยภาพและความสามารถในการแขงขันทางเศรษฐกิจ

5) การศึกษาเพื่อพัฒนาทุนมนุษยอยางรอบดาน

5.1) การปลูกฝงและสรางเสริมความรูคูคุณธรรม ศีลธรรม จริยธรรม 5.2) การปลูกฝงคุณลักษณะที่เหมาะสมของเยาชนในยุคศตวรรษที่ 21 ควบคูไปกับ

การใหความสําคัญกับอัตลักษณวิถีชีวิตปฏิบัติของคนในชาติ 5.3) การใหความสําคัญกับความหลากหลายขององคความรูและความเชี่ยวชาญเฉพาะ

ทาง

ยุทธศาสตรดานแนวทางที่เปนจุดเดนรวม สําหรับแนวทางในการดําเนินการนั้น เปนที่นาสังเกตวา ทุกประเทศสมาชิกอาเซียนมีจุดรวม

ในแนวทางดําเนินการ 5 ประการตอไปนี้โดยสวนใหญเปนไปในแนวทางที่สอดรับกัน 1) Education for All ประเทศสมาชิกอาเซียนที่มีการพัฒนาทางเศรษฐกิจหรือรายไดในระดับปานกลางและระดับ

ต่ํา ลวนใหความสําคัญกับการขยายโอกาสทางการศึกษาที่มีคุณภาพอยางทั่วถึง โดยหลายประเทศไดยึดถือแนวทางนี้มาเปนเวลานานแลว เชน สิงคโปร ฟลิปปนส ซ่ึงจะไดกลาวเพิ่มเติมตอไป ในขณะที่บางประเทศอยูในระยะเริ่มตนขยายโอกาสทางการศึกษาใหครอบคลุมมากขึ้น กระนั้นก็ตาม อาจแบงแนวทางดําเนินการออกไดเปน 2 สวนคือ

1) การขยายโอกาสทางการศึกษาที่มีคุณภาพอยางทั่วถึงในทุกระดับการศึกษา ซ่ึงรวมถึงอุดมศึกษาดวย ทั้งนี้ มีเพียงประเทศฟลิปปนสประเทศเดียวที่ยึดแนวทางนี้

กลาวคือ การศึกษาสําหรับทุกคนนั้นเปนจุดเนนที่เดนชัดมากของฟลิปปนสตั้งแตทศวรรษที่ผานมา ดังคําประกาศของประธานาธิบดีในป 2532 (ค.ศ. 1989) ที่วา “ใหทศวรรษที่ 1990 เปนทศวรรษแหงการศึกษาสําหรับทุกคน” ทั้งนี้ เปนไปตามรัฐธรรมนูญของประเทศฟลิปปนส ป2530 ซ่ึงใหความสําคัญตอบทบาทของการศึกษาในการพัฒนาเยาวชนของประเทศใหมีคุณภาพอยางทั่วถึงดวยที่กําหนดบทบาทหนาที่ของรัฐในการจัดการศึกษาตั้งแตการศึกษาขั้นพื้นฐานถึงระดับอุดมศึกษาโดยที่ประชาชนไมตองเสียคาใชจาย และใหการศึกษาระดับประถมนั้นเปนการศึกษาภาคบังคับสําหรับเด็กที่มีอายุถึงเกณฑตองเขาเรียน

2) การขยายโอกาสทางการศึกษาที่มีคุณภาพอยางทั่วถึง โดยเนนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ซ่ึงเปนแนวทางของประเทศสมาชิกอาเซียนที่เหลือทั้งหมด รวมทั้งประเทศไทย อันเปนการสะทอนถึงจุดรวมในการรับเอาแนวทางการศึกษาในลักษณะที่เรียกวา Education for All ตามมติสากลในการประชุม World Education Forum และ Millennium Development Goals

เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศสมาชิกใหมของอาเซียนที่กําลังเริ่มดําเนินแนวทางดานการขยายโอกาสดานการศึกษาคุณภาพอยางทั่วถึงนั้น กัมพูชาเปนประเทศที่ใหความสําคัญกับการปฏิรูปการศึกษาในแนวทางที่เรียกวา Education for All นี้เปนอยางมาก โดยคําวา การศึกษาที่มีคุณภาพนั้น กัมพูชามุงใหผูสําเร็จการศึกษามีคุณภาพตามมาตรฐานสากลและภูมิภาค ในลักษณะที่สามารถแขงขัน

ไดในตลาดแรงงานโลกและตลาดแรงงานตางๆ ในภูมิภาค ตลอดจนสามารถเปนกลไกขับเคลื่อนใหสังคมและเศรษฐกิจพัฒนาตอไป

อยางไรก็ตาม สําหรับสิงคโปร นั้นนโยบาย Education for All เปนนโยบายที่ประเทศสิงคโปรไดนํามาใชตั้งแตเร่ิมไดรับอิสรภาพจากระบอบการปกครองแบบอาณานิคมของอังกฤษเมื่อป 2508 ทวา ในขณะนั้นมีลักษณะที่คอนขางแตกตางไปจากแนวทาง Education for All ที่ประเทศอื่นๆ ในอาเซียนใชอยูในปจจุบัน กลาวคือ สําหรับสิงคโปรในชวงนั้นเปนการเนนที่การศึกษาระบบมาตรฐานเดียวและหลักสูตรเดียวซ่ึงกําหนดใหนักเรียนทุกคนตองเรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานภาคบังคับเปนเวลา 10 ป ประกอบดวยระดับประถมศึกษา 6 ป และระดับมัธยมศึกษา 4 ป สวนการเรียนในระดับสูงขึ้นหลังจากนั้นขึ้นกับความสามารถของนักเรียนแตละคน ประกอบกับความสามารถในการรับนักศึกษาและสาขาวิชาที่เปดสอนในสถาบันการศึกษาชั้นสูง แนวนโยบายดังกลาวเปนแนวทางเพื่อความอยูรอด (Survival-driven) ในชวงแรกของการสรางชาติและการแกไขปญหาความไมเปนระบบ คานิยมและภาษาที่แตกตางกันไปตั้งแตสมัยอาณานิคม จากการมีโรงเรียนเอกชนจํานวนมากรองรับประชากรหลัก 4 ชาติพันธที่มีอยูในประเทศ คือ จีน มาเลย อินเดีย และเอเชียเชื้อสายยุโรป (Eurasians)

ในปจจุบัน สิงคโปรยังคงใหความสําคัญกับแนวทางการศึกษาอยางทั่วถึงตอไป ทวาดวยแนวทางที่เปลี่ยนไปมากในลักษณะที่ใกลเคียงกับนานาชาติผสานกับการเนนในเชิงคุณภาพ กลาวคือ เปนการเปดโอกาสใหเด็กทุกคนในสิงคโปรไดรับการศึกษาขั้นพื้นฐานเปนเวลาอยางนอย 10 ป โดยมีหลักสูตรระดับชาติและการสอบวัดผลระดับชาติเมื่อจบการศึกษาในระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาและเตรียมอุดมศึกษา (Junior college) ตามระบบการศึกษาซึ่งมุงสรางทุนมนุษยคุณภาพสูตลาดการจางงาน ริเร่ิมแนวทางใหมโดยการบูรณาการเสริมตอเขาไปในแนวทางเดิมขางตน เพื่อเปดโอกาสใหเด็กนักเรียนสามารถเลือกสถาบันการศึกษาตามจุดแข็งและความสนใจที่แตกตางกันหลังจากที่จบการศึกษาในระดับประถมศึกษาแลว โดยอาศัยหลักการดานนักเรียนเปนศูนยกลาง (Child centered) เชนเดียวกับไทย โดยพยายามปรับปรุงใหระบบการศึกษามีความยืดหยุน (Flexible) และหลากหลาย (Diverse) มากขึ้น ซ่ึงมุงใหนักเรียนมีทางเลือก (Choice) มากขึ้นและมีความเปนเจาของ (Ownership) กระบวนการเรียนรูของตนเองมากขึ้น

2) Community-Based Education ประเทศสมาชิกอาเซียนทุกประเทศใหความสําคัญกับการสงเสริมใหเกิดสังคมฐานความรู

อยางตอเนื่องตลอดชีวิตที่เขาถึงชุมชน ในฐานะแนวทางที่นํามาใชรวมกับ Education for All โดยใหความสําคัญกับการมีสวนรวมของชุมชนในกระบวนการสรางและพัฒนาองคความรู ทั้งในและนอกระบบการศึกษา เชนเดียวกับประเทศไทย ซึ่งมาตรา 8 แหงพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติของไทย กําหนดใหการจัดการศึกษายึดหลักการศึกษาตลอดชีวิตสําหรับประชาชน ใหสังคมมีสวนรวมในการจัดการศึกษา ตลอดจนการพัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรูที่เปนไปอยางตอเนื่อง

ในสวนของการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยนั้น ประเทศไทยมีการจัดทํากลยุทธการจัดการความรูและแหลงเรียนรู พัฒนาศูนยการเรียนชุมชนใหเปนศูนยกลางการเรียนรูตลอดชีวิต พัฒนาแหลงเรียนรูตางๆ จัดทําขอเสนอนโยบาย แผนและหลักสูตรการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จัดการศึกษาตอเนื่อง ทั้งนี้ อยูระหวางการยกรางพระราชบัญญัติการศึกษานอกโรงเรียนเพื่อเอื้อตอแนวทางการจัดและการสงเสริมการศึกษานอกโรงเรียนดังกลาว

ประเทศสมาชิกอาเซียนหลายประเทศมีการจัดโอกาสทางการศึกษาแนวนี้เชนเดียวกับไทยในการใหครอบคลุมทั้งในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และที่สูงกวานั้น เชน ฟลิปปนส ซ่ึงมีการดําเนินตามรัฐธรรมนูญของประเทศในการใหความสําคัญตอบทบาทรัฐในการใหความสําคัญตอครอบครัวและชุมชน มุงเนนคุณภาพการศึกษา บทบาทของสถาบันเอกชนในการศึกษาระดับอุดมศึกษา รวมทั้งการที่รัฐสงเสริมการเรียนรูนอกระบบ การเรียนรูตามอัธยาศัย และการบูรณาการองคความรูของทองถ่ินเขาไปในกระบวนการเรียนรู ในทํานองเดียวกัน รัฐบาลมาเลเซียสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิตของคนมาเลเซีย ใหมีความรูหลากหลายและยืดหยุนเพื่อใหเกิดความตอเนื่องเพื่อยกระดับการศึกษาและทักษะของประชากรในวัยกําลังแรงงาน เปนตน

ทั้งนี้ รวมถึงประเทศพมา ซ่ึงเปนประเทศสมาชิกใหมของอาเซียนดวย ถึงแมวา พมาในปจจุบันนี้ ยังคงใหวัดเปนแหลงความรูและการเรียนการสอนการศึกษาขั้นพื้นฐาน สําหรับประชาชนในพื้นที่หางไกล ทั้งนี้ เพื่อใหบรรลุเปาหมาย Free Education for All ซ่ึงรวมถึงการลดอัตราการไมรูหนังสือในกลุมประชากรผูใหญดวยนั้น รัฐบาลพมาไดจัดตั้งศูนยการเรียนหนังสือแหงพมาขึ้นมาเปนการเพิ่มเติม ในสงเสริมกิจกรรมเพื่อการรูหนังสือ มีการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนสําหรับการศึกษานอกโรงเรียนในระดับมัธยมศึกษาและอุดมศึกษา

ถึงแมวาประเทศสมาชิกใหมของอาเซียนสวนใหญยังคงเนนที่การศึกษาขึ้นพื้นฐาน เพื่อลดความยากจนและขจัดปญหาการไมรูหนังสือของประชาชนในพื้นที่ตางๆ รวมถึงประชากรวัยกําลังแรงงาน แตก็อยูในระหวางการศึกษาความเปนไปไดและความพยายามในการขยายระดับการศึกษาใหสอดรับกับการยกระดับประสิทธิภาพการผลิต การพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศมากขึ้น

3) e-Education/ ICT บรูไนไดเร่ิมใชระบบ ICT ในหลักสูตรการเรียนการสอนแบบบูรณาการในโรงเรียนระดับประถมศึกษาเมื่อป 2544 โดยมุงเนนในวิชาหลัก เชน ภาษามาเลย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร และวิทยาศาสตร ตอมาในป 2545 มีการดําเนินโครงการ Internet for Schools ตามดวยโครงการ Design and Technology สําหรับโรงเรียนระดับประถมศึกษาในป 2546 นอกจากการสงเสริมการศึกษาทางไกลเพื่อยกระดับการศึกษาและทักษะของกําลังแรงงานในมาเลเซียแลว รัฐบาลมาเลเซียยังหวังใหการใชเทคโนโลยีสารสนเทศเปนเรื่องธรรมสําหรับโรงเรียนทั่วไป โดยเชื่อมั่นวา เทคโนโลยีสารสนเทศจะทําใหการศึกษามีความหมายมากกวาการเรียนแบบ เดิม ๆ ในปจจุบัน โรงเรียนประถมและมัธยมสวนใหญเพียบพรอมไปดวยหองคอมพิวเตอรและ

บริการเชื่อมตออินเตอรเน็ต ทั้งนี้ รัฐบาลมาเลเซียไดวางแผนปฏิรูปการใชเทคโนโลยีสารสนเทศในการเรียนการสอนใหประสบผลสําเร็จภายใน 10 ป ในขณะเดียวกันมีโครงการ Smart School ในฐานะโครงการตอเนื่องจากแผนปฏิรูปการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยกรอบของโครงการครอบคลุมถึงการวิจัยและทฤษฎีเกี่ยวกับความรูที่หลากหลาย สําหรับเนื้อหาหลัก 4 วิชา คือ ภาษามลายู ภาษาอังกฤษ วิทยาศาสตร และคณิตศาสตร

การอบรมบุคลากรดานวิทยาศาสตรเทคโนโลยีขั้นสูง เปนสวนหนึ่งของแผนยุทธศาสตร การพัฒนาการศึกษาแหงชาติสําหรับป 2544-2553 ของเวียดนาม สําหรับพมานั้น การพัฒนาความเชี่ยวชาญทางดานเทคโนโลยีทั้งในระดับพื้นฐานและระดับสูง เพื่อสรางกลุมคนที่คุณภาพและทักษะทางดาน ICT เปนจุดเนนที่สําคัญประการหนึ่งของแผนระยะส้ันเพื่อการพัฒนาศึกษาในชวงป 2544-2545 ประกอบกับการเรงพัฒนาการใชเทคโนโลยีขาวสารอยางกวางขวางในการศึกษา ตามแผนแมบทดานเทคโนโลยีขอมูลขาวสารระหวางป 2544-2553 ซ่ึงมุงหมายใหการใชเทคโนโลยีขาวสารในการศึกษานั้นเปนเครื่องมือในการพัฒนามาตรฐานการศึกษา นอกเหนือไปจากการสงเสริมความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคมซึ่งจะนําไปสูประสิทธิภาพทางการคาการลงทุนตอไปในอนาคต ทั้งนี้ พมามีความพยายามที่จะพัฒนาการเรียนการสอนผานสื่ออิเล็คทรอนิคสอยางจริงจัง โดยมีการริเร่ิมการศึกษาผานสื่ออิเล็คทรอนิคสเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2544 ซ่ึงนอกจากการจัดตั้งโรงเรียนเอกชน 70 แหงเพื่อเปดสอนเกี่ยวกับการใชคอมพิวเตอร การจัดตั้งวิทยาลัยเกี่ยวกับคอมพวิเตอรกวา 20 แหง และสถาบันการศึกษาที่ใชส่ืออิเล็คทรอนิคส 164 แหงแลว ยังมีมีการจัดตั้งมหาวิทยาลัยคอมพิวเตอรศึกษา (University of Computer Studies) ขึ้นที่ยางกุงและมัณฑะเลย มีนักศึกษามาลงทะเบียนเรียนเพิ่มปละ 800 คน ตลอดจนการจัดทําระบบ e-education เพื่อสงเสริมการศึกษาทางไกล 4) การศึกษาเอกชนในการกํากับควบคุมของรัฐ เวียดนามมีการยกเลิกกฎระเบียบที่ควบคุมบทบาทของเอกชนในดานการศึกษา สงเสริมใหเอกชนเขามาจัดการศึกษาแบบกึ่งรัฐ และการศึกษาโดยประชาชน ในการกํากับควบคุมของรัฐ ทําใหเกิดสถานศึกษาของเอกชนเพิ่มขึ้นเปนจํานวนมาก โดยเฉพาะอยางยิ่งในระดับอนุบาล สถานฝกวิชาชีพ และระดับอุดมศึกษา มีการปรับนโยบายในลักษณะที่อนุญาตใหสถานศึกษาเอกชนเก็บคาเลาเรียนไดเอง ซ่ึงเปดโอกาสใหสถานศึกษาเอกชนเหลานี้ มีรายไดจากคาเลาเรียนของนักเรียนและคาบริการอื่นๆ ไดโดยตรง

5) การศึกษานานาชาติ การศึกษานานาชาติเปนกระแสการปรับตัวของทุกประเทศสมาชิกอาเซียนตั้งแตระดับอนุบาล

ไปจนถึงระดับอุดมศึกษา ทั้งในประเทศที่ใชภาษาอังกฤษเปนภาษาหลักภาษาหนึ่งในการเรียนการ

สอน เชน ฟลิปปนส สิงคโปร มาเลเซีย ซ่ึงมีลักษณะของการตอยอดจากแนวทางที่ไดดําเนินมากอนแลวโดยใหความสําคัญมากขึ้น และในประเทศที่ใชภาษาทองถ่ินเปนหลัก เชน ไทย ลาว กัมพูชา เวียดนาม ซ่ึงสวนใหญเปนกระแสใหมของการดําเนินการ ทั้งนี้ การเตรียมตัวสูการเปดเสรีทางการศึกษา และการเพิ่มมูลคาทางการศึกษาในการนํารายไดเขาประเทศและการสงวนเงินตราในการเรียนตอตางประเทศ โดยเฉพาะอยางยิ่งในระดับอุดมศึกษานั้น พบไดในทั้งสองกลุมประเทศ

กระนั้นก็ตาม ในการจัดการศึกษานั้น ประเทศสมาชิกอาเซียนมีจุดเนนดานศูนยกลางการเรียนรูที่แตกตางกันไป ในขณะที่ประเทศไทย สิงคโปรและฟลิปปนสเนนนักเรียนเปนศูนยกลางในการปฏิรูปการศึกษา การปฏิรูปการศึกษาในแนวทางที่เรียกวา Education for All ของกัมพูชาเนนคนจนเปนศูนยกลาง ถึงแมวาแนวคิดสวนใหญนั้นใกลเคียงกับของไทย คือ มิใชเพียงการขยายการศึกษาใหทั่วถึงแกประชาชนทุกคน หากแตยังเนนการยกระดับคุณภาพของการศึกษาสูระดับมาตรฐานสากลและภูมิภาคสําหรับประชาชนทุกเพศ ทุกวัย ทุกระดับสถานะทางเศรษฐกิจ ทุกพื้นที่ ทุกเชื้อชาติ แมผูพิการทางรางกาย นอกจากนี้ ประเทศมาเลเซียมิไดรวมศูนยไวที่นักเรียนเพียงอยางเดียว หากแตเนนการผสมผสานอยางเหมาะสมระหวางยุทธศาสตรการเรียนรู เพื่อสรางความสามารถพื้นฐานกับการสงเสริมการพัฒนาโดยรอบของประเทศ โดยเฉพาะอยางยิ่งตามปรัชญาการสอนในโครงการ Smart School ความกาวหนา/ดัชนีวัดความสําเร็จ รายงานของ UNDP ฉบับลาสุด (2005) เร่ือง Southeast Asia Human Development Report: Regional Economic Integration and Regional Cooperation In Southeast Asia: Deepening and Broadening the Benefits for Human Development ดังปรากฏในตารางตอไปนี้ สะทอนใหเห็นวาทุกประเทศสมาชิกอาเซียนมีพัฒนาการดานดัชนีการพัฒนามนุษยเพิ่มสูงขึ้นอยางมาก จากดัชนีการพัฒนามนุษยสูงสุดที่ 0.7 ในป 2518 เปน 0.9 ในกรณีของสิงคโปรในป 2545 โดยประเทศอื่นๆ สวนใหญในป 2545 อยูในระดับสูงกวา 0.5 ซ่ึงสูงกวาที่อินโดนีเซียเคยประสบเมื่อป 2518

แนวโนมดชันกีารพัฒนามนษุยของประเทศสมาชิกอาเซียน 2518-2545

อันดับ ประเทศ 2518 2523 2528 2533 2538 2543 2544 2545 25 สิงคโปร 0.724 0.761 0.784 0.821 0.859 … 0.884 0.902 33 บรูไน … … … … … … 0.872 0.867 59 มาเลเซีย 0.614 0.657 0.693 0.720 0.759 0.789 0.790 0.793 76 ไทย 0.613 0.651 0.676 0.707 0.742 … 0.768 0.768 83 ฟลิปปนส 0.653 0.686 0.692 0.719 0.735 … 0.751 0.753 111 อินโดนีเซีย 0.467 0.529 0.582 0.623 0.662 0.680 0.682 0.692 112 เวียดนาม … … … 0.610 0.649 0.686 0.688 0.691 130 กัมพูชา … … … 0.512 0.540 0.551 0.556 0.568 132 พมา … … … … … … 0.549 0.551 135 ลาว … … … … … … … 0.436 ที่มา: UNDP (2005) Southeast Asia Human Development Report: Regional Economic Integration and Regional Cooperation

In Southeast Asia: Deepening and Broadening the Benefits for Human Development. Preliminary Draft., Table II.3. เปนที่คาดการณไดวา ดัชนีการพัฒนามนุษยหลังจากป 2545 นาจะสูงเพิ่มขึ้นในทุกประเทศอาเซียนเมื่อพิจารณาพัฒนาการของดัชนีดานการศึกษาตอไปนี้ ถึงแมวาจะเปนเพียงในเชิงปริมาณก็ตาม ทั้งนี้ ดัชนีการพัฒนามนุษยดังกลาวของ UNDP เปนดัชนีที่เกิดจากองคประกอบของการมีอายุยืนยาว (วัดจากอายุคาดหมายเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด) ความรู (วัดจากอัตราการรูหนังสือของผูใหญและสัดสวนการลงทะเบียนเรียนในชั้นตาง ๆ รวมกัน) และมาตรฐานการครองชีพ (วัดจากรายไดตอหัวของประชากร) ซ่ึงมีขอบเขตของการตีความกวาง อยางไรก็ตาม ในการพิจารณาใหลึกซึ้งยิ่งขึ้นจําเปนตองพิจารณาประเด็นตางๆ อีกหลายประการดังนี้ การขยายโอกาสทางการศึกษา จํานวนปคาดหมายเฉลี่ยของการเขาเรียนสถานศึกษาของประเทศสมาชิกอาเซียนในชวงป 2542-2548 แตกตางกันไปตั้งแตประมาณ 8 ปในกรณีของลาวไปจนถึง 13 ปในกรณีของบรูไน ทั้งนี้ มีบางประเทศที่การพัฒนาใหเพศหญิงมีสัดสวนในโอกาสทางการศึกษาตามมิตินี้มากกวาชาย เชน

บรูไน มาเลเซีย ในขณะที่อินโดนีเซีย ฟลิปปนส และไทยมีสัดสวนเทากันระหวางชายและหญิง นอกนั้นสามารถปรับสัดสวนของเพศหญิงใหสูงขึ้นกวาเดิม ถึงแมวาจะยังคงต่ํากวาเพศชายอยูบาง

จํานวนปคาดหมายเฉลี่ยของการเขาเรียนในสถานศึกษา

ประเทศ 2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548

บรูไน (*) 13 (*) 13 (*) 13 (*) 13 (*) 13 … … ชาย (*) 13 (*) 13 (*) 13 (*) 13 (*) 13 … … หญิง (*) 14 (*) 14 (*) 14 (*) 14 (*) 14 … … กัมพูชา … (*) 7 (*) 8 9 (*) 9 … … ชาย … (*) 8 (*) 9 10 (*) 10 … … หญิง … (*) 7 (*) 7 8 (*) 8 … … อินโดนีเซีย … … (*) 11 11 11 … … ชาย … … (*) 11 11 11 … … หญิง … … (*) 11 11 11 … … ส .ป .ป . ลาว

(*) 8 (*) 8 (*) 8 (*) 9 (*) 9 … …

ชาย 9 (*) 9 (*) 9 (*) 10 (*) 10 … … หญิง (*) 7 (*) 7 (*) 8 (*) 8 (*) 8 … … มาเลเซีย (*) 12 (*) 12 (*) 12 12 12 … … ชาย (*) 12 (*) 12 (*) 12 … 12 … … หญิง (*) 12 (*) 12 (*) 13 … 13 … … พมา … … (*) 7 (*) 7 … … … ชาย … … (*) 7 … … … … หญิง … … (*) 7 … … … … ฟลิปปนส (*) 12 … (*) 12 (*) 12 (*) 12 … … ชาย (*) 11 … … … (*)12 … … หญิง (*) 12 … … … (*)12 … … สิงคโปร … … (**)12.7 (**)12.6 (**)12.9 (**)12.7 (**)12.6 ชาย … … … … … … … หญิง … … … … … … … ไทย (*) 12 (*) 12 (*) 12 (*) 13 (*) 13 (*) 12 …

ประเทศ 2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548 ชาย (*) 12 (*) 12 (*) 13 (*) 13 (*) 13 (*) 12 … หญิง (*) 12 (*) 12 (*) 12 (*) 13 (*) 13 (*) 12 … เวียดนาม (*) 10 10 (*) 10 (*) 11 (*) 11 … … ชาย (*) 11 11 (*) 11 (*) 11 (*) 11 … … หญิง (*) 10 10 (*) 10 (*) 10 (*) 10 … … ที่มา: (*) UNESCO Institute for Statistics (2005). “School life approximation (years), Both Sexes,” “School

life approximation (years), Male,” “School life approximation (years), Female” May; (**) Ministry of Education, Singapore (2005). Education Statistics Digest 2004.

หมายเหตุ … ไมมีขอมูล อัตราการรูหนังสือของผูใหญในชวงป 2543-2547 อยูในชวงแตกตางกันไมมากนัก ถึงแมวาอัตราการรูหนังสือในระดับต่ําสุดอยูที่รอยละ 68.7 ในกรณีของ ส.ป.ป. ลาว ตามดวยกัมพูชาที่อัตรารอยละ 73.6 เมื่อเปรียบเทียบกับอัตราการรูหนังสือในระดับสูงสุดที่รอยละ 92.7 ในกรณีของบรูไน ตามดวยรอยละ 92.6 ในกรณีของฟลิปปนสและไทย และรอยละ 92.5 ในกรณีของสิงคโปร แตประเทศอื่น ๆ ที่เหลือก็มีอัตราการรูหนังสือของผูใหญต่ํากวาเล็กนอย ระหวางรอยละ 87.9 ในกรณีของอินโดนเีซีย ถึงรอยละ 89.7 ในกรณีของพมา อนึ่ง การเปรียบเทียบกับความแตกตางดานอัตราการรูหนังสือของเยาวชนแลว พบชองวางนอยลงเมื่อพิจารณาจากอัตราการรูหนังสือของเยาวชนในระดับต่ําสุดที่รอยละ 78.5 ในกรณีของ ส.ป.ป. ลาว และอัตราการรูหนังสือของเยาวชนในระดับสูงสุดที่รอยละ 99.5 ในกรณีของสิงคโปร ตามดวยรอยละ 98.9 ในกรณีของบรูไน รอยละ 98.0 ในกรณีของไทยและอินโดนีเซีย รอยละ 97.2 ในกรณีของมาเลเซีย ในขณะที่กัมพูชาอยูที่รอยละ 83.4 และพมาอยูที่รอยละ 94.4 เปนที่นาสังเกตวา ความแตกตางระหวางอัตราการรูหนังสือของเยาวชนเพศชายและหญิงในภูมิภาคมีไมมากนัก เมื่อเปรียบเทียบกับความแตกตางระหวางอัตราการรูหนังสือของผูใหญเพศชายและหญิง โดยในกรณีของบรูไนนั้นเยาวชนเพศหญิงมีอัตราการรูหนังสือเทากับเยาวชนชาย ในขณะที่เยาวชนหญิงของมาเลเซีย ฟลิปปนส สิงคโปร มีอัตราการรูหนังสือสูงกวาเยาวชนชาย ในขณะที่ผูใหญเพศหญิงชาวฟลิปปนสมีอัตราการรูหนังสือสูงกวาผูใหญเพศชาย

อัตราการรูหนงัสือของผูใหญในอาเซียน: 2543-2547

ประเทศ อัตราการรูหนงัสือ จํานวนประชากรผูใหญท่ีรูหนังสือ (พันคน)

รวม ชาย หญิง รวม ชาย หญิง บรูไน 92.7 95.2 90.2 17 6 11 กัมพูชา 73.6 84.7 64.1 2,235 620 1,615 อินโดนีเซีย (*)

87.9 92.5 84.3 18,432 5,674 12,758

ลาว 68.7 77.0 60.9 970 353 617 มาเลเซีย 88.7 92.0 85.4 1,723 618 1,105 พมา 89.7 93.7 86.2 3,224 988 2,236 ฟลิปปนส 92.5 92.5 92.7 3,500 1760 1,740 สิงคโปร 92.5 96.6 88.6 232 54 179 ไทย 92.6 94.9 90.5 3,298 1,116 2,182 เวียดนาม 90.3 93.9 86.9 4,887 1,524 3,363 ที่มา: UNESCO Institute for Statisitcs, Literacy and Non Formal Education Section (2005). “Youth (15-24) and Adult (15+) Literacy Rates by Country and by Gender for 2000-2004.” Based on National estimates จาก การสัมมโนประชากรระดับชาติหรือการสํารวจตางๆ ในชวงป 2538-2547 ยกเวนในกรณีอินโดนีเซีย (*) ซึ่งเปนการประมาณการของ UNESCO Institute for Statistics เองในชวงเดือนกรกฎาคม 2545

อัตราการรูหนงัสือของเยาวชนในอาเซียน: 2543-2547

ประเทศ อัตราการรูหนงัสือ จํานวนประชากรเยาชนที่รูหนังสือ รวม ชาย หญิง รวม ชาย หญิง

บรูไน 98.9 98.9 98.9 0.7 0.4 0.4 กัมพูชา 83.4 87.9 78.9 555 203 352 อินโดนีเซีย (*)

98.0 98.5 97.6 834 319 515

ลาว 78.5 82.6 74.7 225 93 132 มาเลเซีย 97.2 97.2 97.3 120 62 58 พมา 94.4 95.6 93.2 531 210 321 ฟลิปปนส 95.1 94.5 95.7 759 434 324 สิงคโปร 99.5 99.4 99.6 2 2 1 ไทย 98.0 98.1 97.8 236 111 125 เวียดนาม … … … … … … ที่มา: UNESCO Institute for Statisitcs, Literacy and Non Formal Education Section (2005). “Youth (15-24)

and Adult (15+) Literacy Rates by Country and by Gender for 2000-2004.” Based on National estimates จากการสัมมโนประชากรระดับชาติหรือการสํารวจตางๆ ในชวงป 2538-2547 ยกเวนในกรณีอินโดนีเซีย (*) ซึ่งเปนการประมาณการของ UNESCO Institute for Statisitcs เองในชวงเดือนกรกฎาคม 2545

หมายเหตุ … ไมมีขอมูล คร่ึงหนึ่งของจํานวนประเทศสมาชิกอาเซียนทั้งหมด มีสัดสวนการเขาเรียนมวลรวมของนักเรียนในระดับประถมศึกษาเพิ่มสูงขึ้นในชวงป 2542-2546 โดยประเทศสมาชิกอาเซียนกวาคร่ึงหนึ่งมีสัดสวนของเพศหญิงเพิ่มสูงขึ้น แมในกรณีของลาวซึ่งสัดสวนการเขาเรียนมวลรวมของนักเรียนในระดับประถมศึกษาลดต่ําลงเล็กนอยแตสัดสวนของเพศหญิงกลับเพิ่มสูงขึ้น

สัดสวนการเขาเรียนมวลรวมระดับประถมศึกษา 2542-2548

ประเทศ 2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548 บรูไน 114 113 109 106 106 … … ชาย 116 115 110 107 106 … … หญิง 113 111 108 106 106 … … กัมพูชา 96 102 111 123 124 … …

ประเทศ 2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548 ชาย 104 110 117 130 130 … … หญิง 89 95 104 116 117 … … อินโดนีเซีย … (*) 108 110 111 112 … … ชาย … (*) 109 111 112 113 … … หญิง … (*) 106 108 110 111 … … ส.ป.ป.ลาว 117 115 113 115 116 … … ชาย 126 124 121 123 124 … … หญิง 107 106 104 106 108 … … มาเลเซีย 97 100 97 95 93 … … ชาย 97 101 97 95 93 … … หญิง 97 99 97 95 93 … … พมา 90 91 89 90 92 … … ชาย 91 92 90 90 91 … … หญิง 89 91 89 90 92 … … ฟลิปปนส 113 … 113 112 112 … … ชาย 113 … 113 113 113 … … หญิง 113 … 112 111 112 … … สิงคโปร … … (**) 97 (**) 95 (**)96 (**) 95 (**) 94 ชาย … … … … … … … หญิง … … … … … … … ไทย 94 95 96 98 (*) 96 … … ชาย 96 97 98 100 (*) 98 … … หญิง 92 92 94 96 (*) 94 95 … เวียดนาม 109 108 106 103 101 … … ชาย 114 111 109 107 105 … … หญิง 105 104 102 100 97 … … ที่มา: (*) UNESCO Institute for Statistics (2005). “Gross Enrolment Ratios, Primary, Both Sexes, ” “Gross Enrolment

Ratios, Primary, Male, ” “Gross Enrolment Ratios, Primadary, Female ”; (**) Ministry of Education, Singapore (2005). Education Statistics Digest 2004.

หมายเหตุ … ไมมีขอมูล

ประเทศสมาชิกอาเซียนแทบทุกประเทศทั้งที่พัฒนาแลวและที่กําลังพัฒนามีสัดสวนการเขาเรียนมวลรวมในระดับมัธยมศึกษาเพิ่มสูงขึ้น ดวยพัฒนาการที่ดีกวาสัดสวนการเขาเรียนมวลรวมในระดับประถมศึกษา ทั้งในภาพรวมและในสัดสวนที่เพิ่มสูงขึ้นของประชากรเพศหญิง ถึงแมวาจะยังคงเปนสัดสวนที่ต่ํากวาประชากรเพศชายบางก็ตาม แสดงใหเห็นถึงการลดชองวางของสัดสวนการเขาเรียนมวลรวมในระดับมัธยมศึกษาระหวางเพศชายและหญิง

สัดสวนการเขาเรียนมวลรวมระดับมัธยมศึกษา 2542-2548

ประเทศ 2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548 บรูไน 82 85 87 88 90 … … ชาย 78 81 85 85 87 … … หญิง 86 89 90 91 92 … … กัมพูชา (*) 16 17 18 21 25 … … ชาย (*) 21 21 23 27 31 … … หญิง (*) 11 12 13 16 20 … … อินโดนีเซีย … (*) 55 57 58 61 … … ชาย … (*) 56 57 58 61 … … หญิง … (*) 53 56 58 60 … … ส.ป.ป.ลาว 33 36 38 41 44 … … ชาย 39 42 44 47 50 … … หญิง 27 29 31 34 … … มาเลเซีย 69 69 69 70 70 … … ชาย 66 66 66 66 67 … … หญิง 73 73 73 73 74 … … พมา 35 38 39 39 39 … … ชาย 35 37 39 41 40 … … หญิง 35 39 38 38 38 … … ฟลิปปนส 76 … 77 82 84 … … ชาย 73 … 74 78 80 … … หญิง 79 … … … … … … สิงคโปร … … (**) 99 (**) 100 (**) 98 (**) 99 (**) 98 ชาย … … … … … … …

ประเทศ 2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548 หญิง … … … … … … … ไทย … … 83 … (*) 81 77 … ชาย … … 85 … (*) 82 77 … หญิง … … … … (*) 81 77 … เวียดนาม 62 65 67 70 72 … … ชาย 65 68 70 72 75 … … หญิง 59 62 64 67 70 … … ที่มา: (*) UNESCO Institute for Statistics (2005). “Gross Enrolment Ratios, Secondary, Both Sexes,” “Gross Enrolment

Ratios, Secondary, Male, ” “Gross Enrolment Ratios, Secondary, Female ”; (**) Ministry of Education, Singapore (2005). Education Statistics Digest 2004.

หมายเหตุ … ไมมีขอมูล นับตั้งแตป 2542 เปนตนมา อาเซียนมีจํานวนผูเขาเรียนในระดับอุดมศึกษาเพิ่มมากขึ้นทั้งชายและหญิงในทุกประเทศ โดยครึ่งหนึ่งของประเทศสมาชิกมีจํานวนผูเขาเรียนเพศหญิงสูงกวาเพศชาย ทั้งนี้เห็นไดชัดในกรณีของบรูไนดารุสซาลาม มาเลเซีย ฟลิปปนส และไทย ถึงแมวาขอมูลของประเทศพมาที่สามารถคํานวณไดนั้นจะมีเพียงสําหรับป 2544 แตก็แสดงใหเห็นถึงมีผูหญิงเขาเรียนในระดับอุดมศึกษามากกวาผูชาย ทั้งนี้มิไดหมายความวาประเทศสมาชิกอาเซียนที่เหลืออีก 5 ประเทศมีผูชายเขาเรียนในระดับอุดมศึกษามากกวาผูหญิง เนื่องจากปญหาความสมบูรณของขอมูลในลักษณะที่เปรียบเทียบกันได โดยเฉพาะอยางยิ่งในกรณีของสิงคโปร

จํานวนผูเขาเรยีนในระดับอุดมศึกษา 2542-2548

ประเทศ 2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548 บรูไน 2,917 3,705 3,984 4,479 4,418 … … ชาย 1,034 1,263 1,404 1,649 1,624 … … หญิง 1,883 2,442 2,580 2,830 2,794 … … กัมพูชา … 22,108 25,416 32,010 43,210 … … ชาย … 16,561 18,466 22,782 30,753 … … หญิง … 5,547 6,950 9,228 (*)

12,457 … …

ประเทศ 2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548 อินโดนีเซีย … … 3,017,887 3,175,833 … … … ชาย … … 1,724,798 1,717,479 … … … หญิง … … 1,293,089 1,458,354 … … … ส.ป.ป.ลาว 12,076 14,149 16,745 28,540 28,117 … … ชาย 8,196 9,351 10,628 17,966 18,064 … … หญิง 3,880 4,798 6,117 10,574 10,053 … … มาเลเซีย 442,625 473,357 549,205 557,118 … … … ชาย 216,246 236,729 269,127 … … … … หญิง 226,379 236,628 280,078 … … … … พมา … … 553,456 (*)

555,118 … … …

ชาย … … 202,352 … … … … หญิง … … (*)

351,104 … … … …

ฟลิปปนส 2,208,635 … 2,432,002 2,467,267 … … … ชาย 995,158 … … 1,096,325 … … … หญิง 1,213,477 … … 1,370,942 … … … สิงคโปร Gross Enrolment Ratio

… (**) 45 (**) 45 (**) 46 (**) 46 (**) 46 (**) 47

ชาย … … … … … … … หญิง … … … … … … … ไทย 1,814,096 1,900,272 2,095,694 2,155,334 (*)

2,205,581 2,251,453 …

ชาย 845,581 872,038 992,732 1,033,102 1,038,586 1,0434,13 … หญิง 968,515 1,028,234 1,102,962 1,122,232 (*)

1,166,995 1,208,040 …

เวียดนาม 810,072 732,187 749,914 784,675 (*) 797,086

… …

ชาย 462,443 427,274 434,647 448,816 456,048 … …

ประเทศ 2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548 หญิง 347,629 304,913 315,267 335,859 (*)

341,038 … …

ที่มา: คํานวณจาก (*) UNESCO Institute for Statistics (2005). “Enrolment in Tertiary Education, Both Sexes,”

“Enrolment in Tertiary Education, Female, ”; (**) Ministry of Education, Singapore (2005). Education Statistics Digest 2004.

หมายเหตุ … ไมมีขอมูล

บทที่ 4 ความรวมมอืระหวางประเทศดานการศึกษา:

นัยตอบทบาทของไทยในความรวมมอือาเซียนดานการศึกษา

ความรวมมือระหวางประเทศดานการศึกษา ความรวมมือระหวางประเทศดานการศึกษาของประเทศตางๆ ในกลุมอาเซียนนั้น มีจุดเนนรวมกัน ลักษณะประกอบดวย ความรวมมือในการปฏิรูปการศึกษา การพัฒนานโยบายและแผนทางการศึกษา การขยายการศึกษาขั้นพื้นฐานสูพื้นที่ชนบทและชุมชนยากจน การนําเทคโนโลยีสารสนเทศ และ ICT มาใชในการพัฒนาการศึกษา การจัดทําเครือขายโรงเรียน การแลกเปลี่ยนนักเรียน ทุนการศึกษาตอในตางประเทศ การศึกษาและฝกอบรมครู แนวทางการศึกษา การจัดการเรียนการสอน การศึกษาสําหรับเด็กปญญาเลิศ ผูบกพรองทางสติปญญาและทางรางกาย การวิจัย และการฝกอบรมวิชาชีพ ทั้งนี้ ประเทศสมาชิกอาเซียนสวนใหญมักใหความสําคัญกับความรวมมือในระดับพหุภาคี โดยประเทศสมาชิกอาเซียนใหมมักรับความรวมมือจากระดับทวิภาคีรวมดวย ดังตารางตอไปนี้

จุดเนนดานความรวมมือระหวางประเทศทางการศึกษาของประเทศสมาชิกอาเซียน 2540-2548

ลักษณะความ

รวมมือ ไทย บรูไน อินโดนีเซีย มาเลเซีย สิงคโปร ฟลิปปนส เวียดนาม ลาว กัมพูชา พมา

การปฏิรูปการศึกษา

พหุภาค ี

พหุภาค ี

พหุภาคี พหุภาคี พหุภาคี ทวิภาค ี

พหุภาคี พหุภาคี พหุภาค ีทวิภาค ี

พหุภาคี พหุภาค ี

การพัฒนานโยบาย แผนทางการศึกษา

พหุภาคี ทวิภาค ี

พหุภาคี ทวิภาค ี

พหุภาค ีทวิภาค ี

พหุภาค ี

การขยายการศึกษาขั้นพื้นฐานสูพื้นที่ชนบทและชุมชนยากจน

พหุภาคี ทวิภาค ี

พหุภาคี พหุภาค ีทวิภาค ี

พหุภาคี ทวิภาค ี

พหุภาคี ทวิภาค ี

การนําเทคโนโลยีสารสนเทศ และ ICT มาใชในการ

พหุภาคี ทวิภาค ี

ทวิภาค ี

ทวิภาค ี ทวิภาค ี พหุภาค ีทวิภาค ี

พหุภาคี ทวิภาค ี

พหุภาคี ทวิภาค ี

ลักษณะความรวมมือ

ไทย บรูไน อินโดนีเซีย มาเลเซีย สิงคโปร ฟลิปปนส เวียดนาม ลาว กัมพูชา พมา

พัฒนาการศึกษา การจัดทําเครือขายโรงเรียน

พหุภาคี ทวิภาค ี

ทวิภาค ี พหุภาคี ทวิภาค ี

การแลกเปลี่ยนนักเรียน ทุนการศึกษาตอในตางประเทศ

พหุภาคี ทวิภาค ี

ทวิภาค ี

ทวิภาค ี ทวิภาค ี พหุภาค ีทวิภาค ี

พหุภาคี ทวิภาค ี

ทวิภาค ี

การศึกษาและฝกอบรมครู

พหุภาคี ทวิภาค ี

ทวิภาค ี

ทวิภาค ี พหุภาค ีทวิภาค ี

พหุภาคี ทวิภาค ี

การปรับปรุงหลักสูตรและแนวทางการศึกษา การจัดการเรียนการสอน

พหุภาคี ทวิภาค ี

ทวิภาค ี

ทวิภาค ี ทวิภาค ี พหุภาค ีทวิภาค ี

พหุภาคี ทวิภาค ี

พหุภาค ี

การศึกษาสําหรับเด็กปญญาเลิศ ผูบกพรองทางสติปญญาและทางรางกาย

พหุภาคี ทวิภาค ี

ทวิภาค ี พหุภาคี ทวิภาค ี

การวิจัย พหุภาคี ทวิภาค ี

ทวิภาค ี

พหุภาคี ทวิภาค ี

ทวิภาค ี พหุภาคี ทวิภาค ี

การฝกอบรมวิชาชีพ

พหุภาคี ทวิภาค ี

ทวิภาค ี

พหุภาคี ทวิภาค ี

ทวิภาค ี พหุภาค ีทวิภาค ี

พหุภาคี ทวิภาค ี

ความรวมมือระหวางประเทศในดานการศึกษาเปนไปในทิศทางที่สอดคลองกับแนวทางการปฏิรูปการศึกษาของประเทศสมาชิกอาเซียน ซ่ึงประกอบดวยการปรับปรุงในเชิงปริมาณ โดยเฉพาะ

อยางยิ่งการขยายโอกาสทางการศึกษา การยกระดับคุณภาพทางการศึกษา การนําโครงสรางพื้นฐานสิ่งอํานวยความสะดวกและเทคโนโลยีการสื่อสารเขามารองรับการขยายโอกาสและการยกระดับคุณภาพทางการศึกษา ตลอดจนการบริหารจัดการทางการศึกษาในเชิงคุณภาพ และการจัดทําแผนทางการศึกษา การยกระดับคุณภาพทางการศึกษาในระดับอุดมศึกษาเปนจุดเนนของประเทศไทย สิงคโปร มาเลเซีย และเวียดนาม ซ่ึ งมีแนวโนมการมุ งพัฒนายกระดับนักศึกษาและบุคลากรของสถาบันอุดมศึกษาสูมาตรฐานสากล ดวยความสามารถเชิงวิชาการเทียบเคียงกับนานาชาติ มีความพยายามในการปรับตัวตอการเปลี่ยนแปลงในโลกไรพรมแดนและกระแสการเปดเสรีทางการศึกษา

ความรวมมือทางวิชาการระหวางสถาบันอุดมศึกษา ในลักษณะขอตกลงที่ทํารวมกันในระดับสถาบันตอสถาบัน มีทั้งในสวนของมหาวิทยาลัยของรัฐและมหาวิทยาลัยของภาคเอกชน ทั้งนี้ สวนใหญเปนความรวมมือกับสถาบันอุดมศึกษาของประเทศที่พัฒนาแลวและมีความกาวหนาทางการศึกษา โดยมีกิจกรรมครอบคลุมตั้งแตการแลกเปลี่ยนขอมูลความรู ขาวสาร และผลงานทางวิชาการ การแลกเปลี่ยนบุคลากรดานการศึกษาวิจัย การแลกเปลี่ยนนักศึกษา การใหทุนการศึกษาและฝกอบรมบุคลากรดานการศึกษาวิจัย การสนับสนุนทางการเงินในกิจกรรมการเรียนการสอนการวิจัย การจัดทําหลักสูตรนานาชาติเพื่อพัฒนาสูความเปนเลิศทางวิชาการในระดับสากล ทั้งในแบบ e-Learning, virtual universities และในแบบธรรมดาที่นิยมกันทั่วไป ตลอดจนการสอนรวมกันผานระบบการเรียนการสอนที่ใชการสื่อสารผานดาวเทียม ทั้งนี้ เห็นไดชัดในกรณีของไทย สิงคโปร และมาเลเซีย โดยความรวมมือนั้นครอบคลุมในหลายสาขาวิชา ทั้งในลักษณะที่สนองตามความตองการของตลาด และการสรางเสริมศักยภาพทางลึกของสาขาวิชา ทั้งในสาขาสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี วิทยาศาสตรสุขภาพ ตลอดจนสหสาขาวิชา

ปจจุบัน ส.ป.ป.ลาว ยังคงตองการความรวมมือและการสนับสนุนในการพัฒนาการศึกษา โดยเนนโครงการความชวยเหลือที่มีระยะยาวมากขึ้นกวาเดิมและในลักษณะที่สอดรับกับแนวทางและเปาหมายในระยะกลางและระยะยาวในการปฏิรูปการศึกษาที่จะดําเนินนับจากนี้ตอไปใหมากขึ้น โดยจะใหความสําคัญกับการลดชองวางที่มีอยูกับประเทศอาเซียนอื่นๆ โดยเฉพาะอยางยิ่ งในระดับอุดมศึกษาเพิ่มเติมจากแนวทางที่ดําเนินอยูแลว

ทั้งนี้ เปาหมายระยะกลางในการปฏิรูปการศึกษาประกอบดวย 1) การขยายและยกระดับคุณภาพประถมศึกษาอยางทั่วถึง 2) การขยายโอกาสทางการศึกษาแกประชากรในพื้นที่ชนบทและพื้นที่ชนกลุมนอยตางๆ 3) การขจัดความไมรูหนังสือใหหมดสิ้นไป 4) การปรับปรุงประสิทธิภาพภายในโรงเรียน 5) การปรับปรุงการฝกอบรมระดับวิชาชีพของครูและการปรับปรุงสถานภาพทางวิชาการ

ของครู

6) การปรับปรุงดานการบริหารจัดการและการควบคุมคุณภาพทางการศึกษา เปาหมายระยะยาวในการปฏิรูปการศึกษา ประกอบดวย 1) พัฒนาการของภาคเอกชนในดานการศึกษา 2) การกระจายอํานาจวางแผนและการบริหารจัดการออกจากสวนกลาง 3) การเพิ่มงบประมาณในการปรับปรุงคุณภาพทางการศึกษา

ทั้งนี้ สิงคโปรมีความประสงคจะมีบทบาทนําในการสงเสริมความรวมมือระดับพหุภาคีมาก

ขึ้น ดังเห็นไดจากความคิดริเร่ิมในการจัดตั้ง ASEM Education Hub Network ตั้งแตป 2542 การมีบทบาทนําใน Southeast Asian Ministers of Education Organization (SEAMEO) ความรวมมืออาเซียนดานการศึกษา ความรวมมืออาเซียนดานการศึกษา เปนสวนหนึ่งของความรวมมือเฉพาะดานของอาเซียน (ASEAN Functional Cooperation) โดยเริ่มดําเนินการมาตั้งแตทศวรรษแรกของการกอตั้งอาเซียน เมื่อ ASEAN Permanent Committee on Socio-Cultural Activities จัดการประชุมดานการศึกษาครั้งแรกในชวงเดือนตุลาคม 2518

ความรวมมือมีพัฒนาการเปนลําดับอยางชา ๆ ทั้งในเชิงกลไกการบริหารจัดการและในเชิงสาระความรวมมือ โดยในเชิงกลไกการบริหารจัดการนั้น มีความพยายามในการผลักดันใหความรวมมือดานการศึกษาของอาเซียนมีลักษณะทางการและมีผลในเชิงนโยบายและในเชิงปฏิบัติมากขึ้น ดวยการยกระดับความรวมมือนี้สูระดับรัฐมนตรีอาเซียนดานการศึกษา โดยการประชุระดับรัฐมนตรีอาเซียนดานการศึกษา หรือที่เรียกวา Meeting of ASEAN Ministers of Education จัดขึ้นเปนครั้งแรกในเดือนธันวาคม 2520 หลังจากที่ประชุมดานการศึกษาครั้งที่ 2 จัดขึ้นไมนานนักภายใต ASEAN Permanent Committee on Socio-Cultural Activities ตอมาเมื่ออาเซียนมีการปรับตัวในเชิงโครงสรางเพื่อใหความรวมมือในดานตางๆ ของอาเซียนเขมแข็งขึ้น มีการจัดตั้ง ASEAN Committee on Education (ASCOE) เปนกลไกการบริหารความรวมมืออาเซียนดานการศึกษาตั้งแตป 2532

ในแงสาระความรวมมือนั้น เนนการดําเนินการในลักษณะที่ไมซํ้าซอนกับการดําเนินการขององคกรความรวมมือระหวางประเทศที่มีอยูแลว ไดแก UNESCO และSEAMEO2 เปนตน หากแตใหสอดรับกับความพยายามขององคกรความรวมมือดานการศึกษาที่มีแลวนั้นๆ และเพื่อหาทางทําให 2 องคการรัฐมนตรีศึกษาแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต (Southeast Asian Ministers of Education Organization: SEAMEO) เปนองคการระหวางประเทศสวนภูมิภาค กอต้ังเมื่อป 2508 ปจจุบันประกอบดวยรัฐสมาชิก 10 ประเทศ คือ อินโดนีเซีย ลาว มาเลเซีย ฟลิปปนส สิงคโปร ไทย กัมพูชา บรูไนดารุสซาลาม เวียดนามและพมา และสมาชิกสมทบ 6 ประเทศ คือ ออสเตรเลีย ฝรั่งเศส นิวซีแลนด คานาดา เยอรมัน และเนเธอรแลนด กับสมาชิกสมทบประเทศองคการอีก 1 องคการ คือ International Council for Open and Distance Education (ICDE)

ความรวมมือดานการศึกษาในภูมิภาคแข็งแกรงมากขึ้น เร่ิมจากการเนนความรวมมือดานการศึกษาเพื่อการพัฒนา (Development Education) ดวยความพยายามในการจัดตั้งเครือขายอาเซียนดานการพัฒนาการศึกษาตามมติที่ประชุมดานการศึกษาครั้งแรกภายใต ASEAN Permanent Committee on Socio-Cultural Activities นั้น ทั้งนี้ ในการประชุมอาเซียนดานการศึกษาครั้งที่ 2 ในเดือนมิถุนายน 2520 ประเทศสมาชิกอาเซียนไดกําหนดประเด็นความรวมมือในการพัฒนาการศึกษา 4 ดานคือ

1) การพัฒนากําลังคน (Manpower) 2) การเรียนการสอน การฝกอบรมครูและบุคลากรดานการศึกษา 3) ระบบการศึกษา 4) การศึกษาพิเศษ ที่ประชุมรัฐมนตรีอาเซียนดานการศึกษาครั้งที่ 1 เมื่อเดือนธันวาคม 2520 มีมติใหจัดตั้ง

เครือขายศูนยการศึกษาเพื่อการพัฒนาอาเซียน (ASEAN Network of Development Education Centres) เพื่อดําเนินโครงการตางๆ ในลักษณะที่สอดรับกับประเด็นขางตน ภายใต ASEAN Development Education Project ในระหวางป 2521-2529 ไดแก การศึกษาเพื่อใหมีทักษะในการทํางานของเยาวชนในและนอกสถานศึกษา การปฏิรูปดานการศึกษาครู การพัฒนาดานการทดสอบ การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการดานการศึกษา และการศึกษาพิเศษสําหรับผูพิการ

ในการประชุมสุดยอดระดับผูนําอาเซียนครั้งที่ 3 เมื่อป 2530 มีมติใหยกระดับความรวมมือดานการศึกษาสูการเปนกลไกในการสรางความตระหนักในความเปนอาเซียน (ASEAN Awareness) โดยอาศัยการกระชับสายสัมพันธระหวางหนวยงานตางๆ ที่เกี่ยวของ การแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสาร เพื่อใหคนในภูมิภาคเห็นคุณคาและมรดกทางเศรษฐกิจสังคมที่มีอยูรวมกัน ตลอดจนสงเสริมความเขาใจซึ่งกันและกันในดานวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี และวิถีชีวิตของประเทศสมาชิกอาเซียน โดยเนนการดําเนินการ 6 ดานคือ

1) การจัดทําหลักสูตรการเรียนการสอนในโรงเรียนตั้งแตระดับมัธยมศึกษา ใหครอบคลุมอาเซียนศึกษาและภาษาตางๆ ของประเทศสมาชิกอาเซียน

2) การจัดตั้งมหาวิทยาลัยอาเซียน (ASEAN University) 3) ความรวมมือในการวิจัยดานศึกษา 4) การศึกษาดานคอมพิวเตอร 5) อาชีวศึกษาและเทคนิค 6) เด็กที่มีความตองการพิเศษ (Special needs) ที่ประชุม ASCOE คร้ังแรกเมื่อเดือนกันยายน 2535 เนนความรวมมือในระดับเจาหนาที่

อาวุโสที่เกี่ยวของในการศึกษาความเปนไปไดในการดําเนินกิจกรรมตางๆ ตอไปนี้ โดยอาศัยการปรึกษาหารืออยางไมเปนทางการกับ SEAMEO

1) การนําสาระเกี่ยวกับเอเชียตะวันออกเฉียงใตเขาไปบรรจุไวในหลักสูตรและตําราการเรียนการสอนในโรงเรียนระดับประถมและมัธยมศึกษา โดยเฉพาะอยางยิ่งในวิชาภูมิศาสตร ประวัติศาสตร วรรณคดี

2) โครงการศึกษาแบบสหสาขาวิชาดานอาเซียนศึกษา ในมหาวิทยาลัยหลักของแตละประเทศสมาชิกอยางนอยหนึ่งแหง

3) โครงการอาเซียนระดับปริญญาโทและปริญญาเอก ในฐานะความรวมมือระหวางสถาบันอุดมศึกษาในประเทศสมาชิก

4) โครงการความรวมมือดานการวิจัยระหวางประเทศสมาชิกอาเซียน 5) การแลกเปลี่ยนบุคลากรประเภทอาจารยระดับอุดมศึกษาระหวางประเทศสมาชิก

ในขณะที่โครงการขางตนยังคงเปนจุดเนนตอไป ASCOE ไดมีการเพิ่มสาระความรวมมือให

ครอบคลุมถึงระดับการศึกษาพื้นฐานทั้งในลักษณะที่สงเสริมความตระหนักในการเปนอาเซียนใหเกิดขึ้นในหมูนักเรียน และการพัฒนาทรัพยากรมนุษยวัยเรียนใหสอดรับกับความตองการในตลาดแรงงาน ตลอดจนพัฒนาการทางเศรษฐกิจสังคมสําหรับยุคศตวรรษที่ 21 มากขึ้น เห็นไดจาก โครงการแลกเปลี่ยนนักเรียนระดับมัธยมศึกษา การศึกษาเปรียบเทียบดานทักษะที่สามารถนําไปใชในการทํางานของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาของประเทศสมาชิกอาเซียน โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการในการฝกอบรมและสงเสริมนักเรียนปญญาเลิศเพื่อใหมีศักยภาพในการเขาแขงขันทางวิชาการในระดับชาติ ระดับภูมิภาคและระดับสากลในสายวิชาคณิตศาสตร ฟสิกส เคมี ชีววิทยา และคอมพิวเตอร ในขณะเดียวกัน เครือขายมหาวิทยาลัยอาเซียน ในฐานะองคกรอิสระซึ่งจัดขึ้นเมื่อเดือนพฤศจิกายน 2538 ภายใตอาเซียนในการกํากับดูแลของรัฐมนตรีของแตละประเทศสมาชิกที่รับผิดชอบดานอุดมศึกษาชอบดานอุดมศึกษารวมมือในลักษณะเครือขายระหวางมหาวิทยาลัยช้ันนําของประเทศสมาชิก ดวยการเนนสงเสริมความรวมมือในการพัฒนาคณาจารย นักวิชาการและนักศึกษาในระดับอุดมศึกษา รวมทั้งการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารทั้งระหวางประเทศสมาชิกดวยกันเองและความรวมมือกับประเทศคูเจรจาอาเซียนบางประเทศ โดยเฉพาะอยางยิ่ง ญ่ีปุน เกาหลี จีน อินเดีย รัสเซีย และสหภาพยุโรป

เทาที่ผานมานั้น จัดไดวา เครือขายมหาวิทยาลัยอาเซียนเปนเครือขายที่แข็งขันมากที่สุดในการสงเสริมการพัฒนาทรัพยากรมนุษยในอาเซียน ประกอบดวยมหาวิทยาลัยสมาชิก 17 แหงทั่วอาเซียนโดยมีสํานักงานเลขาธิการอยูที่จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ภายใตการกํากับดูแลของกระทรวงศกึษาธกิารและความรวมมือกับสํานักงานเลขาธิการอาเซียนในการดําเนินกิจกรรมตางๆ อยางตอเนื่อง แบงออกได 11 สวนดังนี้ คือ

1) โครงการอาเซียนศึกษา มุงใหเปนกลไกในการสงเสริมความตระหนักในความเปนอาเซียน (ASEAN awareness) การทําใหอัตลักษณและความเปนปกแผนของอาเซียนมีความเขมแข็งมากขึ้น

2) โครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษาและคณาจารย ประกอบดวยกิจกรรมในระยะสั้น 2 โครงการ คือ AUN Educational Forum ซ่ึงจัดเปนประจําทุกปตั้งแตป 2541 จนถึงปจจุบัน ASEAN Distinguished Professors an Lecturers Programme และกิจกรรมในระยะยาว 1 โครงการ คือ โครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษา ซ่ึงนอกจากจะเปนการเขามารวมในวิชาอาเซียนศึกษาแลว ยังมีสาขาวิชาอื่นๆ ที่เปนแกนหลักในการยกระดับศักยภาพการแขงขันทางเศรษฐกิจและวิชาการของอาเซียน ไดแก วิทยาศาสตร ส่ิงแวดลอม เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร มนุษยศาสตร สังคมศาสตร บริหารธุรกิจ เปนตน

3) โครงการทุนการศึกษาเพื่อเขาเรียนในระดับฑิตศึกษาในแตละประเทศสมาชิกอาเซียน โดยเฉพาะอยางยิ่งอาเซียนศึกษา และสาขาวิชาอื่นๆ ที่เปนแกนหลักในการยกระดับศักยภาพการแขงขันทางเศรษฐกิจและวิชาการของอาเซียน ไดแก วิทยาศาสตร ส่ิงแวดลอม เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร มนุษยศาสตร สังคมศาสตร บริหารธุรกิจ ดังกลาวแลวขางตน เปนตน

4) โครงการเครือขายดานสารสนเทศระหวางมหาวิทยาลัยตางๆ ในอาเซียน ประสานกับการพัฒนาแนวคิดในการจัดตั้ง ASEAN Virtual University

5) โครงการความรวมมือดานการวิจัย รวมถึงการเปดชองทางอิเลคทรอนิคสในการเขาถึงแหลงขอมูลการคนควาวิจัยที่มีอยูตามหองสมุดในมหาวิทยาลัยตางๆ ของประเทศสมาชิก

6) โครงการประกันคุณภาพทางการศึกษา เปนโครงการที่มีพัฒนาการจากที่ไมมีความพยายามในการจัดการประกันคุณภาพ สูความรวมมือแบบหลวมๆ ไมเปนทางการ และความรวมมือที่เปนรูปธรรม (Organized efforts) ในปจจุบันในการดําเนินที่มีลักษณะสอดคลองกันในเชิงคุณภาพซึ่งครอบคลุมทั้งดานหลักสูตรการเรียนการสอน คุณภาพของบุคลากรผูสอน การประเมินผลนักศึกษา กระบวนการเรียนรู มาตรฐานแวดลอมดานสุขภาพและความปลอดภัย แหลงความรูตางๆ คุณภาพดานการวิจัย ซ่ึงครอบคลุมดานเงินทุน ส่ิงอํานวยความสะดวก และผลการวิจัย การบริการ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย และคุณธรรม ตาม Bangkok Accord on AUN-QA

7) โครงการพัฒนาผูบริหารอาเซียน เพื่อใหผูบริหารในภูมิภาคไดตระหนักรูและเขาใจอยางเต็มที่ตอสภาพแวดลอมทางธุรกิจในเชิง วัฒนธรรม อัตลักษณ และองคความรูทางธุรกิจตางๆ ที่ทันสมัย

8) โครงการความคิดริเร่ิมเพื่อการบูรณาการอาเซียน ซ่ึงเนนการสงเสริมการมีสวนรวมของประเทศสมาชิกใหมของอาเซียนใหกาวเขาสูการบูรณาการทางเศรษฐกิจ การคา การลงทุนกับประเทศสมาชิกเดิมของอาเซียน ตลอดจนลดชองวางดานการพัฒนาระหวางประเทศสมาชิกใหมและประเทศสมาชิกเดิมของอาเซียน

9) โครงการบัณฑิตศึกษาอาเซียนในสายวิชาธุรกิจและเศรษฐศาสตร 10) โครงการความรวมมือกับประเทศคูเจรจาอาเซียน เทาที่ผานมานั้น เปนการดําเนินการกับ

บางประเทศ โดยเฉพาะอยางยิ่ง ญ่ีปุน เกาหลี จีน อินเดีย รัสเซีย และสหภาพยุโรป ดวยกิจกรรมที่มีจุดเนนในทํานองเดียวกับขางตน โดยเฉพาะอยางยิ่งความรวมมือดานการแลกเปลี่ยนบุคลากร คณาจารย นักศึกษา การใหทุนการศึกษา การวิจัยและเครือขายดานสารสนเทศ

11) กิจกรรมอื่นๆ เชน ASEAN Youth Cultural Forum เปนตน ในการประชุมสุดยอดอาเซียน คร้ังที่ 10 เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2547 ที่เวียงจันทน ส.ป.ป. ลาว ไดวางแนวทางใหอาเซียนกาวตอไปในลักษณะของการเปนครอบครัวเดียวกันอยางมั่นคง และมีพลวัตรดวยการกระชับความเปนปกแผน การบูรณาการทางเศรษฐกิจและความกาวหนาทางสังคมมากขึ้นกวาในอดีต ดังสะทอนในหัวใจหลักของการประชุมที่วาดวย “Advancing a Secure and Dynamic ASEAN Family though Greater Solidarity, Economic Integration and Social Progress” ซ่ึงการที่อาเซียนจะกาวตอไปอยางเปนครอบครัวเดียวกันนี้ มีสาระสําคัญอยูที่การบูรณาการอาเซียนอยางครอบคลุมสูการเปนประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ในฐานะเปาหมายประเภทหมุดความกาวหนาในการบูรณาการอาเซียน ซ่ึงกําหนดไวในปฏิญญาสมานฉันทอาเซียนฉบับที่ 2 (Declaration of ASEAN Concord II) เพื่อทําใหวิสัยทัศนอาเซียน 2563 (ASEAN Vision 2020) มคีวามชัดเจนมากขึ้น

การเปนประชาคมอาเซียนนั้นมีลักษณะสําคัญ 3 ประการคือ การเปนประชาคมเปด (Open) มีพลวัตร (Dynamic) และมีพลานุภาพ (Resilient) อยางครอบคลุมทุกมิติที่เปนการดําเนินการของอาเซียนมาตั้งแตเร่ิมแรก นั่นคือ มิติเศรษฐกิจ มิติความมั่นคง และมิติสังคมวัฒนธรรม ดังนั้น การประชาคมอาเซียนในลักษณะดังกลาว จึงประกอบดวยเปาหมายเชิงกลยุทธหลัก 3 ประการคือ การเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) การเปนประชาคมความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Security Community: ASC) และการเปนประชาคมสังคมวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community: ASCC) โดยมีโครงการปฏิบัติการเวียงจันทน เปนกลไกขับเคลื่อน

ความรวมมืออาเซียนดานการศึกษา เปนสวนหนึ่งของการจัดตั้งประชาคมสังคมวัฒนธรรมอาเซียน ซ่ึงพยายามที่จะยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน ทําใหมีการพัฒนาอยางยั่งยืน และทําใหอัตลักษณทางวัฒนธรรมของอาเซียนเขมแข็งมากขึ้นในลักษณะของการมีประชาชนเปนศูนยกลาง (People-centred ASEAN) สอดคลองกับเปาหมายอีก 2 ประการของอาเซียน คือ การเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมความมั่นคงอาเซียน โดยอาศัยยุทธศาสตรหลัก 4 ประการคือ

1) การสรางประชาคมซึ่งประกอบดวยสังคมที่เห็นอกเห็นใจกัน (Building a Community of Caring Societies) เปนสังคมที่มีระบบที่เขมแข็งในการใหความคุมครองทางสังคม (Social Protection)

โดยเนน 3 ประเด็นปญหาหลักของอาเซียน คือ ปญหาความยากจน ปญหาความไมเทาเทียมในการพัฒนา ปญหาสุขภาพของประชาชน

2) การสงเสริมใหภูมิภาคมีสภาพแวดลอมอันเหมาะสมและธํารงอยูไดอยางยั่งยืน มีการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติอยางเหมาะสมสอดคลองกับความจําเปนในปจจุบันและในอนาคต

3) การบริหารจัดการผลกระทบเชิงลบจากการบูรณการทางเศรษฐกิจ โดยเนนที่การมีธรรมาภิบาลทางสังคม (Social governance) ซ่ึงสามารถจัดการกับผลกระทบเชิงลบตางๆ อันเกิดจากการบูรณการทางเศรษฐกิจ

4) การสงเสริมอัตลักษณของอาเซียน โดยเนนที่การอนุรักษและสงเสริมมรดกและอัตลักษณทางวัฒนธรรมของภูมิภาค

ในการที่ความรวมมือทางดานการศึกษาของอาเซียนจะกาวไปในลักษณะที่สอดรับกับการเปนประชาคมสังคมวัฒนธรรมอาเซียนนั้น โครงการปฏิบัติการเวียงจันทนไดเนนในดานการสงเสริม “ใหประชาชนทุกคนไดรับการศึกษาดวยมาตรฐานสูง” โดยอาศัยความรวมมือในลักษณะเครือขาย ตลอดจนรวมมือกับองคกรดานการศึกษาในระดับภูมิภาคอื่นๆและในระดับสากลเพื่อใหเกิดเปนความพยายามที่สอดรับกันในการจัดการศึกษาใหแกประชาชนในภูมิภาค ดังนี้

1) การพัฒนาความรวมมือดานระบบการศึกษาในภูมิภาคโดยอาศัยการศึกษาเปรียบเทียบเพื่อทําใหการศึกษาในภูมิภาคมีคุณภาพ

2) การสงเสริมเครือขายสารสนเทศดานการศึกษาในระดับสถาบันตางๆ ในภูมิภาค 3) การพัฒนาความรวมมือกับองคกรดานการศึกษาอื่นในระดับภูมิภาคและระดับสากล

เพื่อใหเปนความพยายามที่สอดรับกันในการจัดการศึกษาภายในภูมิภาค

นอกจากนี้ ยังมีความรวมมือนอกกรอบอาเซียนระหวางองคกร/สมาคม/ สหภาพครูของประเทศสมาชิกอาเซียน ที่เรียกวา การประชุมสภาครูอาเซียน ซ่ึงการประชุมปรึกษาหารือเปนประจําทุกปตั้งแตป 2522 ครอบคลุมประเด็นตางๆ ที่สอดคลองกับแนวทางความรวมมือดานการศึกษาของอาเซียน ไดแก การทําใหองคกรครูในภูมิภาคพัฒนาสูความเปนปกแผน บทบาททางวัฒนธรรมในการศึกษาในบริบทของอาเซียน บทบาทของครูในฐานะกลไกการพัฒนา การแสวงหาแนวทางความรวมมือที่เหมาะสมดานการศึกษาในอาเซียน การยกระดับวิชาชีพครู บทบาทของการศึกษาตอการสรางชาติ การพัฒนาอยางยั่งยืน บทบาทของการศึกษาตอสันติสุขและความรวมมืออาเซียน บทบาทของการศึกษาตอพลานุภาพของประเทศตางๆ ในอาเซียน การแสวงหาแนวทางในการพัฒนาโรงเรียนสูความเปนเลิศ นัยในเชิงนโยบาย ตลอดจนโอกาสและความทาทายตางๆ ในศตวรรษที่ 21

ขอเสนอแนะ: บทบาทไทยในความรวมมืออาเซียนดานการศึกษา ขอเสนอแนะตอบทบาทของไทยในความรวมมืออาเซียนดานการศึกษา แบงออกไดเปน 2 ประการคือ

1) แนวทางในการดําเนินการ ประเทศไทยควรผลักดันในการยกระดับความรวมมือดานการศึกษาระหวางประเทศสมาชิกอาเซียนใหสอดรับกับวิสัยทัศนอาเซียนและแผนปฏิบัติการตางๆ ที่รองรับ โดยเฉพาะอยางยิ่งแผนปฏิบัติการเวียงจันทน ในการสงเสริม “ใหประชาชนทุกคนไดรับการศึกษาดวยมาตรฐานสูง” โดยอาศัยความรวมมือในลักษณะเครือขาย ตลอดจนรวมมือในลักษณะหุนสวน (Partnership) กับองคกรอื่นๆ ดานการศึกษาในระดับภูมิภาค เชน SEAMEO และในระดับสากล เชน UNESCO เพื่อใหเกิดเปนความพยายามที่สอดรับกันในการจัดการศึกษาใหแกประชาชนในภูมิภาค 2) สาระในการดําเนินการดานความรวมมือทางการศึกษาของอาเซียนสูการเปนประชาคมฐานความรูและประชาคมผูนําในการสรางองคความรูบนฐานของการวิจัยและพัฒนาที่เหมาะสมกับอัตลักษณของประเทศสมาชิกอาเซียน โดยลักษณะของเสริมตอและยกระดับการพัฒนาทางการศึกษาใหชัดเจนสอดรับกับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจสังคมในศตวรรษที่ 21 มากขึ้น ดังนี้

2.1) การพัฒนาทรัพยากรมนุษยในวัยเรียนสู Knowledge Workers ซ่ึงสามารถยกระดับตัวเองสูการเปน Knowledge Entrepreneurs ตลอดจนการเปน Knowledge and Productive Elder Citizens ของภูมิภาคไดตอไป3 ทั้งนี้ ความจําเปนเรงดวนที่มีความสําคัญลําดับตนและนาจะจัดใหอยูในแผนระยะสั้นและระยะกลางของภูมิภาค คือ

2.1.1) ความรวมมือในการเรงยกระดับการอาชีวศึกษา และการศึกษานอกระบบที่มีชุมชนเปนฐานทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพดวยน้ําหนักที่ทัดเทียมกับความพยายามดาน Education for All สําหรับการศึกษาขั้นพื้นฐานในระบบโรงเรียนและการอุดมศึกษา ดวยความตระหนักในดานมาตรฐานภูมิภาคที่ทัดเทียมกับระดับสากล เพื่อเปนฐานในการสงตอความรวมมือไปยังการจัดทํา Mutual Recognition Arrangement ซ่ึงเปนความทาทายที่ไมอาจหลีกเลี่ยงไดในระดับภูมิภาค ระดับสากลภายใตองคกรการคาโลก และการจัดทําเขตการคาเสรีทวิภาคีกับประเทศตางๆ ทั้งที่พัฒนาแลวและที่กําลังพัฒนา

2.1.2) การขยายโอกาสดานแกนสมองในระดับทองถ่ินและระดับชาติดวยรอยตอที่เหมาะสมระหวางการศึกษาในระบบกับนอกระบบ 2.2) การขยายโอกาสและยกระดับคุณภาพทางการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาใหเปนปจจัยสําคัญและเปนฐานสงตอนักเรียนสูระดับอุดมศึกษาเพิ่มมากขึ้น ในฐานะแผนระยะกลางของภูมิภาค 3 งานศึกษาของ Wongboonsin and Wongboonsin (2005) ชี้ประชากรของภูมิภาคอาเซยีนกําลังกาวเขาสูสังคมผูสูงอายุ เร่ิมจากในประเทศสิงคโปร ไทย และเวียดนาม และชี้ใหเห็นวา Demographic Onus จะสงผลกระทบถึงครอบครัวและภาระดานงบประมาณในการจัดสวัสดิการแกประชากรทั้งในวัยเรียน วัยทํางาน และวัยสูงอาย ุ

2.3) ความรวมมือในการยกระดับคุณภาพของมหาวิทยาลัยทั้งที่เนนดานการเรียนการสอนและการยกระดับคุณภาพของมหาวิทยาลัยสูการเปนมหาวิทยาลัยวิจัย ดวยการอุดหนุนทรัพยากรอยางเพียงพอเพื่อการลงทุนดานการวิจัย ตลอดจนการพัฒนาบุคลากรใหมีขีดความสามารถในระดับนานาชาติ เพื่อความเชี่ยวชาญเฉพาะทางหลากหลายสาขาวิชา โดยสามารถเชื่อมตอและบูรณาการกันไดในลักษณะที่สอดรับกับแนวทางการยกระดับศักยภาพทางเศรษฐกิจสังคมของประเทศและภูมิภาคในศตวรรษที่ 21 อีกทั้งเพื่อสรางองคความรูและเปนหุนสวนในประชาคมวิชาการระดับนานาชาติมากขึ้น ทั้งนี้ ควรผลักดันให ASEAN University Network มีบทบาทมากขึ้นในดานการวางแผนการพฒันาอุดมศึกษาของภูมิภาคในอนาคตในการพัฒนาเครือขายมหาวิทยาลัยวิจัย และมหาวิทยาลัยที่เนนการเรียนการสอนของภูมิภาค ใหการอุดมศึกษาของอาเซียนมีบทบาทมากขึ้นในการสงเสริมสังคมแหงการเรียนรูและการวิจัยในอาเซียน ในลักษณะที่สอดรับกัน ยกระดับศักยภาพการแขงขันของประเทศสมาชิก และการลดผลกระทบของโลกาภิวัตนตอวิถีชีวิตและอัตลักษณของประเทศสมาชิกซึ่งเปนสังคมพหุลักษณที่มีคุณคาในฐานะทุนทางสังคมและทุนทางวัฒนธรรม ในฐานะแผนระยะกลางของภูมิภาค 2.4) ความรวมมือในเชิงนโยบาย การวางแผน การวิจัยและพัฒนา การจัดทําและยกระดับมาตรฐานการศึกษาในระดับตางๆ ระหวางหนวยงานที่เกี่ยวของในกระทรวงศึกษาธิการของประเทศสมาชิก ในฐานะกลไกหลักที่รับผิดชอบดานการศึกษา ตลอดจนแนวทางที่เหมาะสมสอดคลองรวมกันของสถานศึกษาในภูมิภาคบนถนนนานาชาติ ในฐานะแผนระยะสั้นและระยะกลางของภูมิภาค 2.5) การสงเสริมการพัฒนาสถานศึกษาใยแกว ทั้งในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานและระดับอุดมศึกษา โดยจัดลําดับความสําคัญของการพัฒนาและการปรับตัวของครูและบุคลากรทางการศึกษาในการรองรับสถานศึกษาใยแกวใหทัดเทียมกับการพัฒนาเชิงโครงสรางใยแกว ในฐานะแผนระยะกลางของภูมิภาค

สวนที่ 2

ภาคผนวก 1 : ขอมูลรายประเทศ

ไทย บทนํา รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 ไดกําหนดแนวนโยบายพื้นฐานแหงรัฐในสวนที่เกี่ยวกับการศึกษาไวในมาตรา 81 ใหรัฐจัดการปรับปรุงการศึกษาใหสอดคลองกับความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม โดยจัดใหมีกฎหมายเกี่ยวกับการศึกษาแหงชาติ จึงไดมีการตราพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 เปนกฎหมายแมบทเชื่อมตอกับบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญและเปนกรอบแนวทางในการปฏิรูปการศึกษาของประเทศ พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 กําหนดใหคนไทยทุกคนมีสิทธิและโอกาสในการไดรับการศึกษาขั้นพื้นฐานไมนอยกวา 12 ปจากรัฐอยางทั่วถึงและมีคุณภาพโดยไมเก็บคาใชจาย โดยรัฐตองจัดบริการเปนพิเศษใหแกผูพิการ ผูดอยโอกาส และผูมีความสามารถพิเศษ ทั้งนี้ มาตรา 8 แหงพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ กําหนดใหการจัดการศึกษายึดหลักการศึกษาตลอดชีวิตสําหรับประชาชน ใหสังคมมีสวนรวมในการจัดการศึกษา ตลอดจนการพัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรูที่เปนไปอยางตอเนื่อง

สําหรับรูปแบบการจัดการศึกษานั้น อาจจัดได 3 รูปแบบ คือ การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยซ่ึงสามารถเทียบโอนผลการเรียนรูได การศึกษาในระบบซึ่งแบงออกไดเปน 2 ระดับคือ การศึกษาขั้นพื้นฐาน และการศึกษาระดับอุดมศึกษานั้น สามารถจัดไดในสถานศึกษาที่มีลักษณะหลากหลาย ทั้งในสถานศึกษาของรัฐและเอกชน รวมทั้งในสถานประกอบการ หนวยงานอื่นของรัฐอาจจัดการศึกษาเฉพาะทางได ทั้งนี้ มาตรา 17 แหงพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ กําหนดใหมีการศึกษาภาคบังคับจํานวน 9 ป โดยใหเด็กซึ่งมีอายุยางเขาปที่เจ็ด เขาเรียนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานจนอายุยางเขาปที่สิบหก เวนแตสอบไดชั้นปที่เกาของการศึกษาภาคบังคับ พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ หมวด 4 วาดวยแนวทางการจัดการศึกษามีเจตนารมณใหมีการปฏิรูปการเรียนรู โดยยึดหลักใหผูเรียนทุกคนสามารถเรียนรูและพัฒนาตนเองได และถือวาผูเรียนมีความสําคัญที่สุด โดยเนนทั้งความรู คุณธรรม กระบวนการเรียนรู และการบูรณาการความรู ดวยหลักสูตรที่หลากหลายเหมาะสมกับวัยและศักยภาพของผูเรียน มุงพัฒนาคนใหมีความสมดุล ทั้งดานความรู ความคิด ความสามารถ ความดีงาม และความรับผิดชอบตอสังคม มีหลักสูตรแกนกลางและหลักสูตรทองถ่ินสําหรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน สําหรับระดับอุดมศึกษานั้นมีสวนเนนเพิ่มเติมดานการพัฒนาวิชาการ วิชาชีพช้ันสูงและการคนควาวิจัยเพื่อพัฒนาความรูและพัฒนาสังคม ทั้งนี้ ไดมีการจัดทําแผนการศึกษาแหงชาติ (พ.ศ. 2545-2559) ตามบทบัญญัติที่กําหนดไวในมาตรา 33 แหงพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ ในฐานะแผนยุทธศาสตรช้ีนําในการจัดทําและดําเนินการอยางตอเนื่องแผนตางๆ อยางตอเนื่องสอดคลองกันทั้งประเทศ ไดแก แผนพัฒนาการศึกษา

ขั้นพื้นฐาน แผนพัฒนาการอาชีวศึกษา แผนพัฒนาการอุดมศึกษา ตลอดจนแผนปฏิบัติการในระดับเขตพื้นที่การศึกษาและในระดับสถานศึกษา ตามรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติและนโยบายรัฐบาล โดยกําหนดวัตถุประสงคและนโยบายเพื่อการดําเนินการรองรับ ดังนี้

1) การพัฒนาคนอยางรอบดานและสมดุล มีแนวนโยบายเพื่อการดําเนินการองรับ คือ 1.1) การพัฒนาทุกคนใหมีโอกาสเขาถึงการเรียนรู 1.2) การปฏิรูปการเรียนรูเพื่อผูเรียน 1.3) การปลูกฝงและสรางเสริมศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรม คานิยม และคุณลักษณะที่

พึงประสงค 1.4) การพัฒนากําลังคนดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเพื่อการพึ่งพาตนเองและเพิ่ม

สมรรถนะในการแขงขัน 2) การสรางสังคมคุณธรรม ภูมิปญญาและการเรียนรู แนวนโยบายเพื่อการดําเนินการองรับ

คือ ก) การพัฒนาสังคมแหงการเรียนรูเพื่อสรางความรู ความคิด ความประพฤติและคุณธรรมของคน ข) การสงเสริมการวิจัยและพัฒนา และ ค) การสรางสรรค ประยุกตใชและเผยแพรความรูและการเรียนรู

3) การพัฒนาสภาพแวดลอมของสังคม โดยมีแนวนโยบายเพื่อการดําเนินการองรับ คือ ก) การสงเสริมและสรางสรรคทุนทางสังคมและวัฒนธรรม ข) การจํากัด ลด ขจัดปญหาทางโครงสรางเพื่อความเปนธรรมในสังคม ค) การพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา และ ง) การจัดระบบทรัพยากรและการลงทุนทางการศึกษา ศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรม แนวทางการปฏิรูปการศึกษา วิสัยทัศนทางการศึกษา

การจัดการและสงเสริมการศึกษาใหประชาชนมีความรู มีคุณภาพ มีศักยภาพในการพัฒนาตนเอง พัฒนาเศรษฐกิจ พัฒนาสังคมฐานความรู และเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศ ปรัชญาทางการศึกษา

ผูเรียนเปนศูนยกลางการเรียนรู การพัฒนาคนอยางรอบดานและสมดุล สรางสังคมคุณธรรม ภูมิปญญาและการเรียนรู พัฒนาสภาพแวดลอมของสังคม ความเคลื่อนไหวทางการศกึษา การศึกษาระดับปฐมวัย กระทรวงศึกษาธิการไดประกาศใชหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ. 2546 และคูมือการใชหลักสูตรเพื่อใหสถานศึกษา สถานเลี้ยงดูเด็ก และศูนยเด็กเล็กใชเปนแนวทางจัดประสบการณใหเปนแนวทางเดียวกัน

การศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาขั้นพื้นฐาน ซ่ึงแบงออกเปน การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยนั้น มีการประกาศใช “หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544 เปนหลักสูตรแกนกลางนํารอง โดยเริ่มใชในทุกโรงเรียนตั้งแตปการศึกษา 2546 โดยสถานศึกษาสามารถจัดทําสาระการเรียนรูของตนเองได ทั้งนี้ เปนไปตามยุทธศาสตรการปฏิรูปการศึกษาดานหลักสูตรการเรียนการสอนของการศึกษาขั้นพื้นฐาน ซ่ึงกําหนดยุทธศาสตรดานการสรางความพรอมและความเขาใจแกครูและผูบริหาร

นอกจากนี้ยังมีการเตรียมการดานหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานสําหรับผูพิการทุกประเภท ทั้งในลักษณะของหลักสูตรลดระยะเวลาเรียนและหลักสูตรเพิ่มพูนประสบการณ การจัดทําแผนแมบทระยะสั้นและระยะยาวสําหรับปรับปรุงการเรียนการสอนผูมีความสามารถพิเศษ โดยในระยะส้ันนั้น เนนลักษณะการเรียนรวมทั้งระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาเปนแนวทางนํารอง พรอมกับการจัดทําเอกสารคูมือและสื่อเพื่อการพัฒนาบุคลากรที่เกี่ยวของกับการเรียนการสอนผูมีความสามารถพิเศษ

ในขณะเดียวกัน ไดมีการปรับปรุงการการดําเนินการใหสามารถเทียบโอนผลการเรียนรูระหวางกันระหวางสถานศึกษาในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานได โดยกระทรวงศึกษาธิการไดออกประกาศกระทรวงเกี่ยวกับการประเมินเทียบระดับและการเทียบโอนผลการเรียน ตลอดจนการสงเสริมการศึกษาเฉพาะทาง โดยในสวนแรกนั้นสงผลใหสถานศึกษาตางๆ ในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีการปรับตัวใหสอดรับการแนวทางในการเทียบระดับและโอนผลการเรียนจากการศึกษา โดยเฉพาะอยางยิ่งการศึกษาในระบบ สวนการจัดการศึกษาเฉพาะทางนั้น มีการประกาศใชกฎกระทรวงวาดวยการจัดการศึกษาเฉพาะทาง พ.ศ. 2547 ในสวนของการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยนั้น มีการจัดทํากลยุทธการจัดการความรูและแหลงเรียนรู พัฒนาศูนยการเรียนชุมชนใหเปนศูนยกลางการเรียนรูตลอดชีวิต พัฒนาแหลงเรียนรูตางๆ จัดทําขอเสนอนโยบาย แผนและหลักสูตรการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จัดการศึกษาตอเนื่อง ทั้งนี้ อยูระหวางการยกรางพระราชบัญญัติการศึกษานอกโรงเรียนเพื่อเอื้อตอแนวทางการจัดและการสงเสริมการศึกษานอกโรงเรียนดังกลาว การอาชีวศึกษา สําหรับการอาชีวศึกษา มีการดําเนินการใน 3 สวนคือ 1) การปรับระบบการบริหารการอาชีวศึกษาในลักษณะการกระจายอํานาจการบริหารจัดการไปยังสถาบันและมีการใชทรัพยากรรวมกัน โดยการรวมกลุมวิทยาลัยในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษาจัดตั้งเปนสถาบันการอาชีวศึกษา ทั้งนี้ อยูระหวางการยกรางพระราชบัญญัติการอาชีวศึกษาเพื่อเอื้อตอแนวทางดังกลาว 2) ความพยายามในดานการฝกอบรมเพิ่มผลิตภาพของแรงงาน สงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิต โดยสามารถเทียบโอนความรูและประสบการณเปนคุณวุฒิ ตลอดจนการปรับคานิยมในลักษณเนนคุณคา

ของการทํางาน ทั้งนี้ อยูระหวางการยกรางพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องคการมหาชน) เชนกัน 3) การเพิ่มโอกาสทางการศึกษา ดวยนโยบายเปดโอกาสใหผูที่ตองการเรียนอาชีวศึกษาทุกคนเขาเรียนไดโดยไมมีการสอบคัดเลือก การปรับตัวขางตนดําเนินควบคูไปกับการปฏิรูปหลักสูตรและกระบวนการเรียนการสอน โดยอาศัยการดําเนินการ 3 สวนคือ 1) การปรับหลักสูตรและกระบวนการเรียนการสอนระดับ ปวช. และ ปวส. ใหเนนการบูรณาการระหวางภาคทฤษฎีกับภาคปฏิบัติ มีการปฏิบัติจริงในสถานประกอบการมากขึ้น โดยเริ่มตั้งแตปการศึกษา 2546 2) การจัดทําแผนและยุทธศาสตรการผลิตและพัฒนากําลังคนดานอาชีวศึกษาแบงเปน 5 กลุมอาชีพเปาหมาย คือ อาหาร การทองเที่ยว ยานยนต ส่ิงทอและอัญมณี และเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยรวมมือกับสถานประกอบการในการจัดทําหลักสูตรและจัดการเรียนการสอน 3) การจัดทํามาตรฐานสงเสริมการพัฒนาระบบคุณวุฒิวิชาชีพและการปฏิรูปการเรียนรู เพื่อปรับคานิยมและเจตคติของสังคมใหเห็นคุณคาของการทํางาน โดยเนนการพัฒนามาตรฐานวิชาชีพรองรับ 4 ภาคการผลิตเบื้องตน คือ เครื่องประดับ อัญมณี การโรงแรม การคาปลีก และสิ่งทอ การศึกษาขั้นอุดมศึกษา นอกจากการสงเสริมการศึกษาเฉพาะทาง และการดําเนินการใหสามารถเทียบโอนผลการเรียนรูระหวางกันไดดังเชนการศึกษาระดับขั้นพื้นฐาน ซ่ึงสงผลใหใหสถานศึกษาตางๆ ในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา มีการปรับตัวใหสอดรับการแนวทางในการเทียบระดับและโอนผลการเรียนจากการศึกษาแลว ระดับอุดมศึกษายังไดมีการจัดทํายุทธศาสตรและแนวทางการปฏิรูปอุดมศึกษาไทย การอํานวยใหสถาบันอุดมศึกษาของรัฐมีความคลองตัวในการบริหารจัดการ ในลักษณะสถาบันในกํากับของรัฐ การกําหนดยุทธศาสตรดานการผลิตกําลังคนและกระจายโอกาสอุดมศึกษาในลักษณะที่สอดคลองกับการพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะอยางยิ่งมาตรการสนับสนุนของรัฐตอการผลิตกําลังคนในสาขาที่ขาดแคลนและจําเปนตอการพัฒนาเศรษฐกิจและเทคโนโลยี รวมทั้งการปฏิรูปการเรียนการสอนใหการวิจัยเปนสวนหนึ่งของกระบวนการเรียนการสอนในระดับอุดมศึกษา การปรับระบบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาตอในสถาบันอุดมศึกษา และการปรับปรุงรูปแบบการจัดอุดมศึกษาใหมีลักษณะยืดหยุนและหลากหลายเพื่อการพัฒนาความรูเพิ่มเติมอยางตอเนื่องดวยการจัดตั้งวิทยาลัยชุมชน 17 แหงในฐานะสถาบันอุดมศึกษาประจําทองถ่ิน การผลิตครูและสถาบันผลิตครู การปรับปรุงในสวนนี้ แบงออกเปนการกําหนดนโยบายและแผนการผลิตครู การผลิตครูแนวใหมหลักสูตร 5 ป การผลิตครู ผูบริหารและบุคลากรทางการศึกษา การปฏิรูปคุณภาพคณาจารยในสถาบันผลิตครู การวิจัยและพัฒนาเพื่อยกระดับความเปนเลิศทางครุศาสตร ศึกษาศาสตร การปฏิรูปโครงสรางการบริหารงานและประกันคุณภาพสถาบันผลิตครู โดยกระทรวงศึกษาธิการไดจัดทํากรอบแผนยุทธศาสตรการปฏิรูปครูและบุคลากรทางการศึกษา (พ.ศ. 2547-2556) การปรับปรุงโครงการ

พัฒนาบุคลากรเพื่อการปฏิรูปการศึกษา (พ.ศ. 2548-2553) การจัดทําโครงการสงเสริมการผลิตครูที่มีความสามารถทางวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร ซ่ึงในปจจุบันเปนโครงการตอเนื่องระยะที่ 2 (พ.ศ. 2548-2549) ตลอดจนการจัดทํากฎหมายปฏิรูประบบบริหารงานบุคคล ไดแก พระราชบัญญัติระเบียบขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547 พระราชบัญญัติเงินเดือน เงินวิทยฐานะ และเงินประจําตําแหนงขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547 พระราชบัญญัติเงินเดือน และเงินประจําตําแหนง (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2547 และพระราชบัญญัติระเบียบขาราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 2547

นอกจากนี้ยังมีการพัฒนามาตรฐานวิชาชีพและควบคุมการประกอบวิชาชีพ โดยการจัดตั้งองคกรวิชาชีพครู การกําหนดกรอบการพัฒนาวิชาชีพครู การเตรียมการในการจัดทําขอบังคับวาดวยมาตรฐานวิชาชีพ ขอบังคับวาดวยจรรยาบรรณวิชาชีพ ขอบังคับคุรุสภาเกี่ยวกับการพัฒนาวิชาชีพครู ขอบังคับวาดวยการพัฒนาและการสงเสริมยกยองวิชาชีพทางการศึกษา เปนตน การปฏิรูปกลไกและแนวทางดําเนินการ

การปฏิรูปกลไกและแนวทางดําเนินการในการบริหารการศึกษาประกอบดวยสวนหลักตอไปนี้ คือ

1) การปรับระบบการบริหารและการจัดการศึกษาในสวนกลาง 2) การกระจายอํานาจการบริหารจัดการศึกษาไปยังสวนทองถ่ิน ประกอบดวย

2.1) การกระจายอํานาจการบริหารจัดการศึกษาไปยังเขตพื้นที่การศึกษา 2.2) การกระจายอํานาจการบริหารจัดการศึกษาไปยังสถานศึกษา 2.3) การถายโอนอํานาจในการบริหารจัดการศึกษาจากกระทรวงศึกษาไปยังองคกร

ปกครองสวนทองถ่ิน กระทรวงมหาดไทย 3) การปรับระบบบริหารจัดการของสถานศึกษาเอกชน โดยใหภาคเอกชนไดรับการสงเสริม

และสนับสนุนใหมีสวนรวมในการจัดการศึกษาและบริหารงานอยางเปนอิสระทุกระดับและทุกประเภท

สําหรับปรับระบบการบริหารและการจัดการศึกษาในสวนกลางนั้น ตั้งแตกลางป 2546 เปนตนมา ไดมีการปรับโครงสรางระบบการบริหารการศึกษา ในลักษณะการหลอมรวมหนวยงานตอไปนี้ คือ กระทรวงศึกษาธิการ ทบวงมหาวิทยาลัย และสํานักงานคระกรรมการศึกษาแหงชาติในสังกัดสํานักนายกรัฐมนตรี เขามาอยูดวยกันเปนกระทรวงศึกษาธิการซึ่งปรับบทบาทใหเปนกระทรวงอํานวยการตามเจตนารมณของพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ที่กําหนดใหกระทรวงศึกษาธิการมีอํานาจหนาที่เกี่ยวกับการสงเสริมและกํากับดูแลการศึกษาทุกระดับและทุกประเภท รวมถึงการกําหนดนโยบาย แผนและมาตรฐานการศึกษา สนับสนุนทรัพยากรเพื่อการศึกษา ติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการจัดการศึกษา โดยมีการปฏิรูปการจัดระเบียบบริหารราชการ ใหประกอบดวย 4 องคกรหลัก คือ

1) สภาการศึกษา มีหนาที่ เสนอตอคณะรัฐมนตรีในสวนของแผนการศึกษาแหงชาติ นโยบาย แผนและมาตรฐานการศึกษา นโยบายและแผนในการสนับสนุนทรัพยากรเพื่อการศึกษา ตลอดจนดําเนินการประเมินผลการจัดการศึกษา และใหความเห็นหรือคําแนะนําเกี่ยวกับกฎหมายและกฎกระทรวงที่ออกตามความในพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ

2) คณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีหนาที่เสนอนโยบาย แผนพัฒนา มาตรฐานและหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานที่สอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ และแผนการศึกษาแหงชาติ การสนับสนุนทรัพยากร การติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน

3) คณะกรรมการอาชีวศึกษา มีหนาที่เสนอนโยบาย แผนพัฒนา มาตรฐานและหลักสูตรการอาชีวศึกษาทุกระดับที่สอดคลองกับความตองการตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ และแผนการศึกษาแหงชาติ การสนับสนุนทรัพยากร การติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการจัดการอาชีวศึกษา โดยคํานึงถึงคุณภาพและความเปนเลิศทางวิชาชีพ

4) คณะกรรมการอุดมศึกษา มีหนาที่เสนอนโยบาย แผนพัฒนา มาตรฐานและหลักสูตรการดอุดมศึกษาทุกระดับที่สอดคลองกับความตองการตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ และแผนการศึกษาแหงชาติ การสนับสนุนทรัพยากร การติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการจัดการอุดมศึกษา โดยคํานึงถึงความเปนอิสระและความเปนเลิศทางวิชาการของสถานศึกษาระดับปริญญา ตามกฎหมายวาดวยการจัดตั้งสถานศึกษาแตละแหงและกฎหมายที่เกี่ยวของ

สําหรับกระจายอํานาจการบริหารจัดการศึกษาไปยังสวนทองถ่ินนั้น เขตพื้นที่การศึกษา 175 เขต เปนกลไกหลักของการปฏิรูปการศึกษาขั้นพื้นฐานในระดับพื้นที่ ตามทิศทางการกระจายอํานาจสูทองถ่ินโดยอาศัยรูปแบบการบริหารที่มีสถานศึกษาเปนฐาน ในการจัดการศึกษานั้น เนนบทบาทของคณะกรรมการสถานศึกษา การมีสวนรวมของชุมชน และการขยายบทบาทขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน ไดแก อบต. และเทศบาลตางๆ ในฐานะกลไกใหมและกลไกหลักในระยะยาวในหนุนเสริมการจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนาของทองถ่ิน

ในแตละพื้นที่การศึกษานั้น คณะกรรมการและสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาทําหนาที่กํากับดูแล จัดตั้ง ยุบ รวม หรือเลิกสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในเขต ประสาน สงเสริมและสนับสนุนสถานศึกษาเอกชน ประสานและสงเสริมองคกรปกครองสวนทองถ่ินใหสามารถจัดการศึกษาสอดคลองกับนโยบายและมาตรฐานการศึกษา ตลอดจนทําหนาที่สงเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาของบุคคล ครอบครัว องคกรชุมชน องคกรเอกชน องคกรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่นที่จัดการศึกษาในรูปแบบที่หลากหลายในแตละเขตพื้นที่การศึกษาที่รับผิดชอบ

ทั้งนี้ กระทรวงศึกษาฯ สามารถจัดใหมีการศึกษาขั้นพื้นฐานในลักษณะอื่นในกรณีเขตพื้นที่การศึกษาไมอาจบริหารและจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานตามเขตการศึกษาเพื่อเสริมการบริหารและการจัดการของเขตพื้นที่การศึกษา แบงออกได 4 ลักณะคือ 1) การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานสําหรับบุคคลที่มีความบกพรองทางรางกาย จิตใจ สติปญญา อารมณ สังคม การสื่อสาร และการเรียนรู หรือมีรางกายพิการหรือทุพพลภาพ 2) การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานในรูปแบบการศึกษานอกระบบหรือการศึกษาตามอัธยาศัย 3) การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานสําหรับบุคคลที่มีความสามารถพิเศษ และ 4) การจัดการศึกษาทางไกลและการจัดการศึกษาที่ใหบริการในหลายเขตพื้นที่การศึกษา

นอกจากนี้ การปฏิรูปการศึกษาในปจจุบันยังใหความสําคัญกับระบบการประกันคุณภาพการศึกษาทุกระดับทั้งภายในและภายนอกตามหมวด 6 ของพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ ในฐานะสวนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาซึ่งใชสถานศึกษาเปนฐาน โดยสภาการศึกษาทําหนาที่พัฒนาและนําเสนอมาตรฐานการศึกษาแหงชาติ จากนั้นองคกรหลัก และกระทรวงตางๆ รวมทั้งหนวยงานที่เกี่ยวของ ไดแก คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการอาชีวศึกษาและคณะกรรมการอุดมศึกษา กระทรวงที่เกี่ยวของ ภาคเอกชน องคกรปกครองสวนทองถ่ิน เปนตน ทําหนาที่พัฒนามาตรฐานการศึกษาของแตละระดับและประเภทการศึกษา เพื่อใหสถานศึกษาใชเปนแนวทางในการจัดการศึกษา และดําเนินการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาเพื่อเตรียมความพรอมในการประเมินคุณภาพภายนอกจากสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) ทั้งนี้ สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษาไดดําเนินการจัดมาตรฐานการศึกษาของชาติอยางตอเนื่องตั้งแต ป 2545-2547 รวมกับหนวยงาน องคกรหลักและบุคคลที่เกี่ยวของในฐานะแนวทางในการพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษาของประเทศใหดียิ่งขึ้น ความรวมมือระหวางประเทศ ความรวมมือระดับพหุภาคี นับตั้งแตที่ไดมีการปรับปรุงการศึกษาตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 และพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 ความรวมมือในระดับพหุภาคีที่ประเทศไทยไดรับเนนในดานตอไปนี้ คือ

1) ความรวมมือดานการปฏิรูปการศึกษา การพัฒนานโยบายทางการศึกษา เชน ความรวมมอืกับ UNESCO

2) การนําเทคโนโลยีสารสนเทศ และ ICT มาใชในการพัฒนาการศึกษา เชน ความรวมมือกับ UNESCO, International Association for the Evaluation of Education Achievement (IEA), Asia-Pacific Economic Cooperation (APEC)

3) การจัดทําเครือขายโรงเรียน เชน ความรวมมือในระดับ APEC 4) ทุนการศึกษา

5) โครงการแลกเปลี่ยนนักเรียนนักศึกษาและบุคลากรทางการศึกษา เชน ความรวมมือในระดับอาเซียน ความรวมมือในกลุมอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง (Greater Mekong Subregion: GMS) ความรวมมือภายใต University Mobility in Asia and the Pacific (UMAP)

6) การปรับปรุงหลักสูตรและแนวทางการศึกษาตั้งแตระดับเด็กกอนวัยเรียนขึ้นไป เชน ความรวมมือในระดับอาเซียน ผาน ASEAN Sub-committee on Education (ASCOE), ASEAN University Network (AUN) ความรวมมือกับ Southeast Asian Ministers of Education Organization (SEAMEO), ความรวมมือในกลุมอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง (Greater Mekong Subregion: GMS)

7) ความรวมมือดานการศึกษาสําหรับเด็กปญญาเลิศ ผูบกพรองทางสติปญญาและทางรางกาย เชน ความรวมมือกับ UNESCO, SEAMEO และในระดับ APEC

8) แนวทางการพัฒนาคุณภาพของครู เชน ความรวมมือกับ SEAMEO เปนตน

ความรวมมือระดับทวิภาคี นับตั้งแตที่ไดมีการปรับปรุงการศึกษาตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 และพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 ความรวมมือในระดับทวิหุภาคีที่ประเทศไทยไดรับเนนในดานตอไปนี้ คือ

1) ความรวมมือดานการปฏิรูปการศึกษา การพัฒนานโยบายทางการศึกษา เชน ความรวมมอืกับ Korean Educational Development Institute (KEDI) แหงสาธารณรัฐเกาหลี Hong Kong Institute of Education (HKIED) แหงเขตการปกครองพิเศษฮองกง Australian Council of Educational Research (ACER), Curriculum Corporation (CC), Victoria Department of Education, Employment and Training of Australia จากออสเตรเลีย เปนตน

2) การยกระดับคุณภาพทางการศึกษาในระดับตางๆ ในสายสามัญ การพัฒนาอาชีวศึกษาและฝกอบรมตางๆ ที่เกี่ยวของอยางเปนระบบมากขึ้น การสรางเครือขายอาชีวศึกษา และการจัดทํา Thai Vocational Qualification (TVQ) เชน ความรวมมือจากประเทศฝรั่งเศส

3) ความรวมมือดานการศึกษาสําหรับเด็กปญญาเลิศ ผูบกพรองทางสติปญญาและทางรางกาย เปนความรวมมือกับหลากหลายประเทศ

4) ความรวมมือดานโรงเรียนและหลักสูตรการศึกษานานาชาติในทุกระดับ เปนความรวมมือกับหลากหลายประเทศ ทั้งในทวีปอเมริกา ยุโรป และเอเชีย

5) ความรวมมือดานทุนการศึกษา ฝกอบรม ทั้งภายในและภายนอกประเทศ เปนความรวมมือกับหลากหลายประเทศในแทบทุกทวีป รวมถึงความรวมมือจากออสเตรเลียภายใต Australian Development Scholarship Scheme (ADS)

ความกาวหนา/ดัชนีวัดความสําเร็จ คนไทยมีแนวโนมไดรับการศึกษาสูงขึ้น ประชากรอายุ 15 ปขึ้นไปมีจํานวนปการศึกษาเฉลี่ย 7.5 ปในป 2547 โดยประชากรชายมีการศึกษาสูงกวาประชากรหญิงเล็กนอย อัตราการเขาเรียนและอัตราการเรียนตอของเด็กไทยในแตละระดับมีอัตราเพิ่มสูงขึ้น โดยเฉพาะอยางยิ่งในระดับอุดมศึกษา ซ่ึงมีอัตราการเรียนตอเพิ่มขึ้นจากรอยละ 16.3 ในป 2545 เปนรอยละ 44.0 ในป 2546 การศึกษานอกโรงเรียนสายอาชีพมีผูไดรับบริการเพิ่มขึ้นจาก 1,079,45 ในป 2545 เปน 3,514,574 คนในป 2546 ถึงแมวาอัตราการเขาเรียนในระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนปลายและการอาชีวศึกษายังคงมีอัตราลดลงเล็กนอย

เอกสารอางอิง กลุมขอมูลและสารสนเทศทางการศึกษา. 2547. สถิติการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

ปการศึกษา 2536-2545. สํานักวิจัยและพัฒนาการศึกษา สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ กรกฎาคม. กทม: บริษัทพริกหวานกราฟฟค จํากัด.

กลุมขอมูลและสารสนเทศทางการศึกษา. 2547. สถิติการศึกษาระดับอุดมศึกษา ปการศึกษา 2536-2545. สํานักวิจัยและพัฒนาการศึกษา สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ กรกฎาคม. กทม: บริษัทพริกหวานกราฟฟค จํากัด.

กลุมงานพัฒนามาตรฐานการศึกษาของชาติ. 2548. มาตรฐานการศึกษาของชาติ. สํานักมาตรฐาน การศึกษาและพัฒนาการเรียนรู สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ มกราคม. กทม: หจก. สหายบล็อกและการพิมพ.

สํานักงานคณะกรรมการศึกษาแหงชาติ. 2545. พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และ ที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2)พ.ศ. 2545. สํานักนายกรัฐมนตรี. กทม: บริษัทพริกหวานกราฟ

ฟค จํากัด. สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. 2545. แผนการศึกษาแหงชาติ (พ.ศ. 2545-2549): ฉบับสรุป. กระทรวงศึกษาธิการ มกราคม. กทม: บริษัทพริกหวานกราฟฟค จํากัด. สํานักงานประเมินผลการจัดการศึกษา. 2548. “รายงานสรุปการติดตามและประเมินผลการปฏิรูป

การศึกษา ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 เมื่อส้ินสุดเดือนกุมภาพันธ พ.ศ. 2548” สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ 14 มีนาคม.

สํานักงานสถิติแหงชาติ. 2548. “สรุปสถานการณสังคมไทย พ.ศ. 2547” โพสททูเดย 26 มกราคม หนา A9.

อมรวิชช นาครทรรพ. 2547. รายงานสภาวะการศึกษาไทยตอประชาชน ป 2546: ผาปมปฏิรูป. สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ เมษายน. กทม: หจก. ภาพพิมพ.

บรูไน บทนํา

ขอมูลพื้นฐาน ในบรรดาประเทศกลุมอาเซียนทั้งหมด 10 ประเทศ บรูไนจัดเปนประเทศที่มีเอกลักษณเฉพาะที่นาสนใจ ไมวาจะเปนขนาดเล็กที่สุดในแงพื้นที่ คือ 5,765 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรนอยที่สุด ประมาณ 372,361 คน (ขอมูลจาก The World Fact Book ป 2005) แตกลับมีความมั่งคั่งมหาศาล อันเนื่องมาจากความอุดมสมบูรณของน้ํามันและกาซธรรมชาติ โดยมีปริมาณน้ํามันสํารองถึง 1.255 พันลานบารเรล (ป2002) และมีปริมาณกาซธรรมชาติสํารองประมาณ 315 พันลานลูกบาศกเมตร (ป 2002) อันทําใหรายไดหลักของประเทศขึ้นกับทรัพยากรทั้งสองประเภทดังกลาว สงผลใหระดับ GDP อยูที่ 6.842 พันลานเหรียญสหรัฐฯ ซ่ึงเฉลี่ยแลวประชากรมีรายไดตอหัว (GDP – per capita) ประมาณ 23,600 เหรียญสหรัฐฯ (ป 2003) และลาสุดมีอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจอยูในระดับรอยละ 3.2 (ป 2003) บรูไนมีนโยบายเศรษฐกิจที่มุงเนนสรางความมั่งคั่งโดยอาศัยรายไดจากน้ํามันเขาไปลงทุนในตางประเทศ หรือไมก็รวมทุนกับตางประเทศ ทั้งนี้ระบบเศรษฐกิจของบรูไนมีลักษณะตลาดเสรีภายใตการกํากับดูแลของรัฐ นอกเหนือไปจากนี้ในดานการเมือง บรูไนยังเปนประเทศเดียวที่อยูภายใตระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยอยางเต็มรูปแบบ (Absolute Monarchy ) ขององคสุลตาน ฮัซซัน บุลกียะห (Sultan Hassanal Bolkiah) ซ่ึงมีแนวทางการบริหารประเทศที่ยึดหลักไตรลักษณ คือ พระมหากษัตริย ( Monarchy ) เชื้อชาติมาเลย ( Malay ) และมุสลิม ( Muslim ) โดยองคสุลตานทรงดํารงตําแหนงทั้งประมุขของประเทศและนายกรัฐมนตรี สวนในดานสังคมและวัฒนธรรม บรูไนจัดเปนประเทศที่มีนโยบายในลักษณะรัฐสวัสดิการ โดยรัฐจะเขามาดูแลและใหหลักประกันดานการศึกษา การรักษาพยาบาล และที่สําคัญไมมีการเก็บภาษีเงินไดจากประชาชนแตอยางใด

สภาพการศึกษาโดยทั่วไป 1. พัฒนาการศึกษาในภาพรวม (The Development of Education) การศึกษาอยางเปนทางการของบรูไนเริ่มตนในป 1912 ดวยการเปดโรงเรียนภาษาพื้นเมืองมาเลยในเมืองหลวง คือ กรุงบันดาเสรีเบกาวัน และตอมาในป 1918 โรงเรียนลักษณะอยางเดียวกันก็ทําการเปดในเมือง Muara , Belait และ Tulong แตทั้งนี้การเรียนการสอนในโรงเรียนภาษาพื้นเมืองมาเลยดังกลาวมีขอจํากัด คือ รับเฉพาะเด็กนักเรียนชาย อายุระหวาง 7 -14 ป ซ่ึงรายวิชาที่เปดสอน ประกอบดวย คณิตศาสตร ภูมิศาสตร ประวัติศาสตร สุขศึกษา วาดเขียน กายวิภาค รวมตลอดถึงวิชาการจัดสวน และการจักสาน ก็ถูกบรรจุในการเรียนการสอนดวย สําหรับในชุมชนชาวจีน ไดมีการจัดตั้งโรงเรียนของพวกเขาเองในป 1916 และตอมาในป 1931 ถือเปนครั้งแรกที่มีการจัดตั้งโรงเรียนภาคภาษาอังกฤษระดับมัธยมศึกษาในเมือง Serial และ

เพื่อเปนการกระตุนใหผูปกครองสงบุตรหลานของตนเขาศึกษาเลาเรียน ทําใหจําเปนตองมีการศึกษาภาคบังคับในป 1929 ตามมา ผลที่ตามมา คือ ในชวงการเกิดสงครามภายในดินแดนป 1941 จํานวนโรงเรียนในบรูไนไดเพิ่มเปน 32 โรงเรียน (ประกอบดวยโรงเรียนภาษามาเลย 24 โรงเรียน โรงเรียนเอกชนภาคภาษาอังกฤษ 3 โรงเรียน และโรงเรียนเอกชนภาษาจีน 5 โรงเรียน โดยมีนักเรียนลงทะเบียนเรียน 1,746 คน (เปนนักเรียนหญิง 312 คน) ตอมาภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติลง บรูไนไดมีการปรับปรุงฟนฟูและเปลี่ยนแปลงประเทศในดานตางๆ มากขึ้น ซ่ึงรวมถึงดานการศึกษาของประเทศ โดยในป 1951 โรงเรียนรัฐภาคภาษาอังกฤษในเขตเมืองไดจัดตั้งมากขึ้นอยางเห็นไดชัด และอาจกลาวไดวาบรูไนใชเวลา 3 ปเปนอยางนอยที่สามารถจัดตั้งโรงเรียนภาคภาษาอังกฤษในระดับชั้นมัธยมศึกษาขึ้นมา สวนโรงเรียนภาคภาษามาเลยระดับชั้นมัธยมศึกษาจัดตั้งขึ้นในป 1966 อยางไรก็ดี ในชวงป 1954 รัฐบาลบรูไนภายใตพระราชอํานาจขององคสุลตานไดจัดทําแผนพัฒนาประเทศ 5 ป ซ่ึงมีรายละเอียดที่มุงเนนสรางสิ่งอํานวยความสะดวกและโครงสรางพื้นฐานตางๆ จนเปนที่มาของการจัดตั้งกระทรวงการศึกษาของประเทศในเวลาตอมาโรงเรียนที่จัดตั้งใหมจะถูกกําหนดเปนไปตามแผนพัฒนาการศึกษาที่วางไว มีจํานวนครูที่ไดรับการฝกหัดเพิ่มขึ้น รวมทั้งมีการจางชาวตางชาติมาสอนในโรงเรียนดวย ซ่ึงตอมาในป 1959 แผนพัฒนาการศึกษาไดเสร็จสมบูรณ มีจํานวนนักเรียนที่ลงทะเบียนในโรงเรียนรัฐบาลถึง 15,006 คน แตมีนักเรียนหญิงเพียงรอยละ 30 แบงเปนโรงเรียนภาคภาษามาเลยในระดับประถม 52 โรงเรียน และโรงเรียนภาคภาษาอังกฤษระดับประถม 3 โรงเรียน กระทั่งในป 1984 ไดกําหนดนโยบายการศึกษาแบบ 2 ภาษา (dwibahasa) เพื่อใหนักเรียนมีทักษะทั้งภาษามาเลยและภาษาอังกฤษ และในปถัดมา ระบบการศึกษาแหงชาติก็ใชทั้งภาษามาเลยและภาษาอังกฤษเปนสื่อการเรียนการสอนที่สําคัญที่สุด คือ ประชาชนและผูที่พํานักอาศัยอยูในประเทศบรูไนอยางถาวรสามารถเขาศึกษาเลาเรียนในโรงเรียนระดับประถมของรัฐโดยไมตองเสียคาใชจายใด ๆ ทั้งสิ้น ดังนั้นจะเห็นไดวาอัตราการอานออกเขียนได (literacy) เพิ่มขึ้นจากรอยละ 69 ในป 1971 เปนรอยละ 92.5 ในป 2001

2. แผนพัฒนาแหงชาติ (National Development Plan) ในปจจุบัน บรูไนอยูระหวางการใชแผนพัฒนาแหงชาติฉบับที่ 8 (The Eighth National

Development Plan in 2001 - 2005) ซ่ึงในสวนที่เกี่ยวกับการศึกษานั้น ไดระบุวา “มุงเนนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย (human resource development) และการใชประโยชนของเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) นอกจากนี้ยังใหความสําคัญในเรื่อง e- Learning โดยไดดึงเขามาเปนสวนหนึ่งของยุทธศาสตรการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศแหงชาติ”

3. นโยบายการศึกษา (Education on Policy) 1. ดําเนินการใหระบบการศึกษาแหงชาติ มุงใหความสําคัญตอการใชภาษามาเลยเปน

ภาษาทางการประจําชาติ ควบคูไปกับการใชภาษาสําคัญอื่นๆ เชนภาษาอังกฤษ และ ภาษาอาหรับ เปนภาษาที่สอง

2. จัดการศึกษาใหกับนักเรียนทุกคนเปนระยะเวลา 12 ป โดยแบงเปนการศึกษาระดับประถม (primary education) 7 ป (รวมกอนวัยเรียนดวย 1 ป) ระดับมัธยมตน (lower secondary) 3 ป และระดับมัธยมปลาย (upper education) หรือในสายอาชีวะ (vocational / technical education) อีก 2 ป

3. จัดหาหลักสูตรบูรณาการ เชนเดียวกับการทดสอบรวมใหเปนรูปแบบเดียวกันและมีความเหมาะสมตอระดับการศึกษาและความตองการพิเศษในทุกโรงเรียน

4. จัดการศึกษาศาสนาอิสลามในหลักสูตรการเรียนการสอนใหสอดคลองกับหลัก Ahli Sunnah Wal-Jamaah

5. จัดหาวัสดุอุปกรณ เครื่องอํานวยความสะดวกตางๆ สําหรับการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร วิทยาศาสตร เทคโนโลยีการติดตอส่ือสารทางการศึกษา เพื่อใหเด็กนักเรียนไดรับความรู และความชํานาญตามความจําเปนอยางตอเนื่องในโลกแหงการเปลี่ยนแปลงของการจางงาน

6. พัฒนาตนเอง และจัดหาโปรแกรมการเรียนรูที่หลากหลายผานกิจกรรมและหลักสูตรรวมตางๆ ใหสอดคลองกับหลักปรัชญาแหงชาติ

7. สรางโอกาสในการศึกษาระดับอุดมศึกษา (higher education) ดวยคุณวุฒิและประสบการณที่เหมาะสม

8. จัดหาโครงสรางพื้นฐานตางๆ ทางการศึกษาใหดีที่สุดเทาที่จะเปนไปได เพื่อเติมเต็มความตองการแหงชาติ

4. ความมุงหมายของการศึกษา (Aim of Education) เพื่อเพิ่มศักยภาพทางสติปญญา จิตใจ อารมณ การอยูรวมกันในสังคม และศักยภาพทาง

รางกายสําหรับทุกคน อันจะเปนการสรางสังคมใหมีความแข็งแกรงบนพื้นฐานของหลักไตรลักษณ 3 ประการ คือ พระมหากษัตริย เชื้อชาติมาเลย และอิสลาม

5. จุดประสงคทางการศึกษา (Educational Objectives) 1. จัดหลักสูตรการเรียนการสอนแบบบูรณาการรวมกันเพื่อใหศักยภาพทางกาย จิตใจ

สติปญญาและอารมณของแตละคนไดรับการพัฒนาไปพรอมกันอยางมีดุลยภาพ 2. จัดหลักสูตรการเรียนการสอนสําหรับทุกคนใหสอดคลองกับระดับ และความ

ตองการ รวมถึงการศึกษาแบบพิเศษดวย 3. จัดใหมีรายวิชาที่ศึกษาศาสนาอิสลาม เพื่อจะสงเสริมใหเกิดความเขาใจและ

สนับสนุนคานิยมอิสลามใหแกประชาชนในประเทศ อันจะนํามาซึ่งความสมานฉันทในสังคม รวมทัง้ยังจะเปนการสรางศรัทธาและความเครงครัดในหลักศาสนาใหเกิดแกมุสลิมทุกคนตลอดไป

4. ยกระดับความชํานาญ และความคลองแคลวในการใชภาษามาเลย ภาษาอังกฤษ และภาษาอาหรับ

5. จัดหารายวิชาการเรียนรูภาษาตางประเทศ เพื่อใหสอดคลองตามความตองการตางๆ

6. สงเสริมทักษะการเรียนรูทางดานคณิตศาสตร วิทยาศาสตร เทคโนโลยีการติดตอส่ือสาร

7. จัดหารายวิชาทางการศึกษาสําหรับการพัฒนาความไวใจตนเอง การริเร่ิมและความกลาใหเกิดขึ้นในแตละคน

8. จัดหารายวิชาการศึกษาเชิงเทคนิค กลวิธี ที่ตอบสนอง ตรงตาม และยืดหยุนตอการพัฒนาเศรษฐกิจโลก เพื่อใหบรรลุความตองการในการพัฒนาประเทศ

9. จัดหารายวิชาการเรียนการสอนใหอยูบนพื้นฐานทางสังคม วัฒนธรรม และความเปนชาตินิยม เพื่อพัฒนาประชาชนชาวบรูไน

10. สรางโอกาสในทักษะการฝกฝนทางวิชาชีพและกึ่งวิชาชีพ 11. จัดหารายวิชาสําหรับการรักษาไวซ่ึงสันติสุขและความสมานฉันทภายในสังคม 12. จัดหารายวิชาที่ที่มุงเนนใหความสําคัญตอครอบครัว เพื่อเปนแบบอยางในการสราง

ทัศนคติที่ดีแกบุคคล อันจะเปนการสรางความเอื้อเฟอเผ่ือแผความรัก และความหวงใยดูแลใหเกิดขึ้นในสังคม

13. สรางความเขาใจและความตระหนักรูใหเกิดแกประชาชนเกี่ยวกับสถานะทางการเมือง เศรษฐกิจและสังคมของประเทศ

14. จัดหารายวิชาที่เพิ่มพูนคานิยมอันดีงาม และการฝกหัดดานอุตสาหกรรมเพื่อเปนการสงเสริมคุณภาพใหแตละคนทั้งชายและหญิงสามารถตอสูแขงขันในระดับระหวางประเทศได

6. ระบบการศึกษา (Education System) ระบบการศึกษาอยางเปนทางการของบรูไนจะมีรูปแบบ 7-3-2-2 โดยอาศัยรากฐานระบบการศึกษาของอังกฤษ แบงออกเปนการศึกษาระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนตนและปลาย และระดับอุดมศึกษา ทั้งนี้ในปจจุบันบรูไนมีโรงเรียนระดับประถมศึกษา 123 โรงเรียน ระดับมัธยมศึกษา 26 โรงเรียน โดยเปนโรงเรียนเอกชน 70 โรงเรียน ซ่ึงตามพระราชบัญญัติการศึกษา ค.ศ. 1984 ไดระบุให โรงเรียนเอกชนทั้งหมด รวมทั้งครูตองมาลงทะเบียนกับกระทรวงการศึกษาดวย

การศึกษาระดับประถม (primary education) การศึกษาระดับประถม หรือการศึกษาขั้นตน แบงออกเปน 3 ระดับ คือ ระดับกอนวัยเรียน

(pre- school) ระดับประถมตน (lower primary) และระดับประถมปลาย (upper primary) โดยใชระยะเวลาในการเรียน 7 ป ทั้งนี้การศึกษาระดับประถมของบรูไน มีจุดมุงหมายใหเด็กนักเรียนมีพื้นฐานที่แนนในทักษะดานการเขียน การอาน และการคิดคํานวณทางคณิตศาสตร ตลอดจนจัดหาและสนับสนุนโอกาสตางๆ เพื่อสรางพัฒนาการการเติบโตทางรางกายและจิตใจของแตละคน

อนึ่ง การศึกษากอนวัยเรียนไดกลายเปนสวนหนึ่งของการศึกษาระดับประถม ในป 1979 ซ่ึงนับตั้งแตนั้นเปนตนมา ไดกลายเปนการบังคับสําหรับเด็กอายุ 5 ป ตองมาลงทะเบียนเขารับการศึกษาเปนเวลา 1 ป กอนเขาสูการศึกษาในระดับประถมตนตอไป

การศึกษาระดับมัธยม (secondary education) 1. ระดับระดับมัธยมตน (lower secondary ) ใชระยะเวลาการศึกษาเลาเรียน 3 ป และเมื่อจบการศึกษาในปที่ 3 แลว นักเรียนสามารถเขา

ไปสอบจบการศึกษาระดับมัธยมตนที่เรียกวา Penilaian Menengah Bawah (PMB) ซ่ึงถาผานการสอบ ก็มีทางเลือก 2 ทาง ดังนี้

1.1 เรียนตออีก 2 –3 ป ในระดับมัธยมปลาย แลวสอบจบที่เรียกวา the Brunei Cambridge General Certificate of Education (GCE ‘O’ level) examination หรือ the GCE ‘N’ level examination

1.2 เรียนตอในหลักสูตรทางศิลปะ เทคนิค ซ่ึงเปนแนวทางวิชาชีพ เพื่อมุงเขาสูตลาดการจางงาน

2. ระดับมัธยมปลาย (upper secondary) ภายหลังผานการสอบ PMB นักเรียนสามารถเขาเลือกศึกษาในสายวิทย ศิลป หรือสาย

เทคนิค โดยใชระยะเวลาศึกษา 2-3 ป ซ่ึงในชวงปลายปที่ 2 ผูที่ประสบความสําเร็จไดรับคะแนนสูง จะไดรับการทดสอบที่เรียกวา GCE ‘O’ level สวนผูที่มีคะแนนรองลงมาจะไดรับการทดสอบที่เรียกวา GCE ‘N’ level ซ่ึงถาสอบผานดวยคะแนนที่ดี ก็อาจมีโอกาสเลื่อนสู ‘O’ level ในปตอมา ทั้งนี้ นักเรียนที่ผาน ‘O’ level ที่ตรงสายวิชาและครบถวน อาจจะเขาสูหลักสูตร Pre – University เปนเวลา 2 ป และจะไดรับประกาศนียบัตร Brunei Cambridge Advanced Level (CCE ‘A’ Level) สวนนักเรียนคนอื่น ๆ อาจจะตัดสินใจเลือกทํางาน เขารับการศึกษาที่สถาบันการศึกษาตาง ๆ ทั้งภายในประเทศ อาทิ มหาวิทยาลัยบรูไนดาลุซาลาม วิทยาลัยพยาบาล หรือไปเรียนตางประเทศ นอกเหนือไปจากการศึกษาในภาครัฐดังกลาวแลวยังมีการศึกษาของภาคเอกชน (Non-Government Schools) ซ่ึงถือเปนทางเลือกใหกับพอแมผูปกครองในการสงบุตรหลานเขาไปศึกษา ทั้งนี้สถาบันการศกึษาของภาคเอกชนทุกแหงจะตองขึ้นทะเบียนกับกระทรวงการศึกษา และยังรวมถึงการศึกษาและการฝกอบรมทางวิชาชีพ (Technical and Vocational Education and Training - TVET) ซ่ึงเปนอยูภายใตการกํากับดูแลของกรมการศึกษาวิชาชีพ (Department of Technical Education - DTE) 3. การศึกษาระดับสูง / ขั้นอุดมศึกษา (Higher Education) เปนการศึกษาตอจากระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยสถาบันการศึกษาระดับนี้จะอนุมัติวุฒิบัตร ตั้งแตระดับปริญญาตรี โท และเอก ใหแกผูจบการศึกษา แตก็จะอนุมัติในระดับอนุปริญญา ประกาศนียบัตรตาง ๆ ดวย ในประเทศบรูไนมีมหาวิทยาลัยของรัฐ คือ มหาวิทยาลัยแหงบรูไนดารุซาลาม ซ่ึงเปดอยางเปนทางการในป 1985 อยางไรก็ดี แมวาการศึกษาในระดับอุดมศึกษาจะอยู

ภายใตหลักกฏเกณฑของกระทรวงการศึกษา ซ่ึงเปนไปตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 83 รวมทั้งมีการเชื่อมโยงการทํางานระหวางกัน แตการจัดการศึกษาในระดับนี้ยังคงมีอิสระ และสามารถดําเนินการไดเองโดยไมตองอยูในการควบคุมของกระทรวงการศึกษา แนวทางปฏิรูปการศึกษา

1. วิสัยทัศน (Vision) สรางความสามารถหลายดานใหกับชาวบรูไนเชื้อชาติตาง ๆ เพื่อนํามาซึ่งความสมานฉันทและความสงบสุขในการดําเนินชีวิตบนโลกนี้และโลกหนา (arkhairat)

2. ปรัชญา (Philosophy) ปรัชญาการศึกษาของบรูไนอยูบนหลักไตรลักษณ 3 ประการ คือ เชื้อชาติมาเลย ศาสนา

อิสลาม และพระมหากษัตริย โดยเฉพาะอยางยิ่งยึดตามหลักคัมภีรอัลกุรอาน (holy Quran) หะดิษ (Hadith) และหลักเหตุผล (Aqli) เพราะจะนํามาซึ่งการพัฒนาบุคคลใหเกิดศักยภาพเต็มเปยม รวมทั้งกอใหเกิดความรู ความเชี่ยวชาญ ความศรัทธา ความจงรักภักดี ความซื่อสัตย และบุคลิกลักษณะที่เปนเลิศ อันจะเปนพื้นฐานในการนําไปสูความเปนอันหนึ่งอันเดียวกันภายในชาติ

3. ภารกิจ (Mission) กระทรวงการศึกษา (Ministry of Education) เปนหนวยงานที่มีภารกิจในการจัดการศึกษา

ใหกับชาวบรูไน โดยดําเนินการปรับปรุงคุณภาพ ความเปนเอกภาพ ความสมดุลของระบบการศึกษาเพื่อใหชาวบรูไนเชื้อชาติตางๆ ไดรับการศึกษาโดยถวนหนาอันจะเปนการพัฒนาอยางครอบคลุมสมบูรณที่สุด 4. โครงสราง / องคกรท่ีรับผิดชอบ (Organization Structure) 4.1 กระทรวงการศึกษา (Ministry of Education) ถือเปนองคกรหลักในการกํากับดูแลการศึกษาในภาพรวมของบรูไนทั้งประเทศ ในแงนโยบาย มีรัฐมนตรีวาการ (Minister) เปนผูบริหารสูงสุด และมีรัฐมนตรีชวย (Deputy Minister) เปนผูบริหารรวม รวมทั้งมี ปลัดกระทรวง (Permanent Secretary) ทําหนาที่เปนผูบังคับบัญชาสูงสุดของขาราชการประจํา และมีรองปลัดกระทรวง (Deputy Permanent Secretary) 3 คน เปนผูชวย โดยมีหนวยงานที่อยูภายใตการกํากับดูแลของกระทรวงการศึกษาโดยตรง ดังนี้

4.1.1 กรมการโรงเรียน (Department of Schools) 4.1.2 กรมการอาชีวะ (Department of Technical Education) 4.1.3 กรมหลักสูตรรวม (Department of Co-Curriculum) 4.1.4 กรมการอิสลามศึกษา (Department of Islamic Studies) 4.1.5 ศูนยภาคีทางวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และสิ่งแวดลอม (Science, Technology

and Environment Partnership Center-STEP )

4.1.6 กรมการวางแผน พัฒนา และวิจัย (Department of Research and Development Planning)

4.1.7 กรมการสอบ (Department of Examination) 4.1.8 กรมการพัฒนาหลักสูตร (Department of Curriculum Development) 4.1.9 กรมการบริหารและใหบริการ (Department of Administration and Service) 4.1.10 กรมการวางแผนและจัดการ (Department of Planning and Estate

Management) 4.1.11 กองการศึกษาพิเศษ (Special Education Unit) 4.1.12 สํ า นั ก ง า น เ ล ข า ธิ ก า รสภ า ก า ร ศึ ก ษ า แห ง ช า ติ บ รู ไ นด า รุ ซ า ล า ม

(BruneiDarussalam National Education Council Secretariat) 4.1.13 กองการสาธารณะสัมพันธ (Public Relations Unit) 4.1.14 กองการโรงเรียนเอกชน (Non – Government School Section) 4.1.15 กองการฝกหัดและทุนการศึกษา (Scholarship and Training Unit) 4.1.16 สํานักงานเลขาธิการรับรองวิทยฐานะแหงชาติบรูไน (BruneiDarussalam

National Accreditation Secretariat) 4.1.17 กรมการเทคโนโลยีขอมูล และขาวสาร (Department of Information and

Communication Technology) 4.1.18 กลุมงานซีเมียว (SEAMEO VOCTECH)

นอกจากนี้ยังมีหนวยงานระดับสูงที่ดําเนินงานดานนโยบายการศึกษาและประสานการทํางานกับกระทรวงการศึกษา อีกหลายหนวยงาน ไดแก - สภาโรงเรียนกีฬาแหงอาเซียน (ASEAN Schools Sports Council) - คณะกรรมการการจัดการวิทยาลัยการพยาบาล (College of Nursing Managing Board) - คณะกรรมการพัฒนาทรัพยากรมนุษย (Human Resource Development National Committee) - คณะกรรมการจัดการโรงเรียนกีฬา (Sport School Managing Board) - สภามหาวิทยาลัยแหงบรูไนดารุซาลาม (Universiti Brunei Darussalam Council) - สภาการศึกษาแหงชาติบรูไนดารุซาลาม (Brunei Darussalam National Education Council) - สภารับรองวิทยฐานะแหงชาติบรูไนดารซุาลาม (Brunei Darussalam National Accreditation Council) - สภามาเลย อิสลาม และระบอบกษัตริย (Malay Islamic Manarchy Council)

5. แผนปฏิบัติการ (Implementation) - ค.ศ.1991 มีการศึกษาวิชาเกี่ยวกับคอมพิวเตอรในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา

- ค.ศ.1997 จัดทําระบบขอมูลขาวสารทางการศึกษา (Education Information System-EIS) เขามาแทนที่ระบบ PC-based Educational Statistic

- ค.ศ.1999 จัดทําโครงการ The Primary School Computer เปนครั้งแรกสําหรับโรงเรียนประถมของรัฐที่ไดรับการคัดเลือก

- ค.ศ.2000 ใหบริการทาง Internet และ e-Mail แกเจาหนาที่อาวุโสทางการศึกษาที่ไดรับการคัดเลือก

- ค.ศ. 2001 เร่ิมใชระบบ ICT ในหลักสูตรการเรียนการสอนแบบบูรณาการในโรงเรียนประถม โดยจะมุงเนนใน วิชาหลัก เชน ภาษามาเลย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร และวิทยาศาสตร

- ค.ศ. 2002 ดําเนินการปฏิบัติตาม โครงการ Internet for Schools - ค.ศ. 2003 ดําเนินการปฏิบัติการตาม โครงการ Design and Technology สําหรับโรงเรียน

ระดับประถมศึกษา 4 แหง 6. ความรวมมือระหวางประเทศ (International Cooperation)

บรูไนไดมุงเนนขยายความรวมมือทางการศึกษากับประเทศตางๆ ในหลายระดับทั้งทวิภาคีและพหุภาคี ดังนี้

ทวิภาคี เชน - บรูไนกับเยอรมัน เยอรมันเปนประเทศคูคาสําคัญของบรูไนในกาสงออกสินคาประเภท

ยานพาหนะ เครื่องไฟฟา เครื่องจักร รวมทั้งเครื่องอุปโภคหลายอยาง แตขณะเดียวกันในดานการศึกษาก็มีความรวมมือระหวางกัน ภายใตโครงการความรวมมือระดับอุดมศึกษา รวมท้ังการจัดการเรียนการสอนภาษาเยอรมันใหกับบรูไนในระดับมัธยมศึกษาและอุดมศึกษา

- บรูไนกับออสเตรเลีย ความรวมมือทางการศึกษาและฝกอบรมระหวางประเทศทั้งสองกําลังพัฒนาไปอยางแนบแนน โดยผานระบบการศึกษาระหวางกัน จะเห็นไดวาในป 2004 มีนักศึกษาชาวบรูไนประมาณ 745 คนมาศึกษาตอในออสเตรเลีย โดยเฉพาะอยูในเมืองควีนสแลนดเปนสวนใหญ และคาดวานับวันจะเพิ่มมากขึ้น อยางไรก็ดี ความรวมมือสวนใหญที่ปรากฏจะเปนในลักษณะที่บรูไนอยูในฐานะผูรับการถายทอดเทคโนโลยีความกาวหนาทางการศึกษาและอบรมรดานตางๆ จากออสเตรเลีย เชนในป 2000 มหาวิทยาลัยควีนสแลนดไดรวมมือกับมหาวิทยาลัยแหงชาติบรูไนดารุซาลาม (UBD) จัดตั้งสถาบันการเรียนสอนทางดานการพยาบาลและการแพทยเปนครั้งแรกในมหาวิทยาลัย UBO และตอมาในป 2002 ก็ลงนามในความรวมมือระหวางกันจัดสงนักศึกษาบรูไนไปฝกอบรมเปนครั้งแรกในเมืองบริสเบรน เปนตน สวนในดานการเรียนวิชาชีพ (Vocational Education) เมื่อป 2000 บรูไนไดรับความชวยเหลือจากสถาบันเทคโนโลยีแคนเบอรรา (Canberra Institute of Technology) ในโครงการฝกอบรมชาวบรูไนมากกวา 1,000 คน ในภาคธุรกิจทองเที่ยวและการแพทย/พยาบาล ซ่ึงเปนงบประมาณราว 1.9 ลานเหรียญ

- บรูไนกับอินเดีย ความรวมมือทางการศึกษาระหวางกันที่ปรากฏจะเปนในลักษณะที่รัฐบาลบรูไนจางครู แพทย และวิศวกรชาวอินเดียผานชองทางอยางเปนทางการ เพื่อมาเปนแรงงานตามความตองการของประเทศ ขณะเดียวกันในดาน ICT อินเดียไดเสนอทุนใหกับบรูไนภายใตโครงการทุนทางวัฒนธรรม รวมทั้งไดเสนอโครงการจัดฝกอบรมใหกับ บรูไนผานโครงการฝกอบรม ASEAN – India IT และโครงการ ASEAN – India Human Resource Development โดยที่บรูไนเองก็เสนอทุนใหกับอินเดียภายใตโครงการ Commonweath Scholarship ดวยเชนกัน จึงกลาวไดวาความรวมมือระหวางกันที่ปรากฏนั้นบรูไนอยูในฐานะผูรับเทคโนโลยีดาน ICT จากอินเดียเปนสวนใหญ ควบคูไปกับการเปนตลาดแรงงานในการจางผูมีวิชาชีพทางการศึกษาของอินเดียดวย

- บรูไนกับมาเลเซีย ความรวมมือทางการศึกษาระหวางกันมักเปนในดานการศึกษาศาสนาอิสลาม โดยเฉพาะกับรัฐเคดะหของมาเลเซีย ซ่ึงขอบเขตความรวมมือที่ปรากฏจะเปนในเรื่องการวิจัย การใชหองสมุด และการแลกเปลี่ยนหลักสูตรการเรียนการสอนและครูผูสอนระหวางกัน

- บรูไนกับฟลิปปนส ทั้งสองประเทศมีการพัฒนาความรวมมือทางการศึกษาระหวางกันอยางใกลชิด โดยเฉพาะอาศัยผานกรอบความรวมมือ BIMP-EAGA

พหุภาคี - ASEAN in Education (SEAMEO) - APEC Education Conference - Commonwealth Cooperation in Education - UNESCO 7. จุดเดน (Strength)

7.1 ใหการศึกษาแกทุกคนอยางครอบคลุมท่ัวถึง (Education for All) โดยเปดโอกาสในเด็กทุกคนเขารับการศึกษาโดยถวนหนาอยางนอยที่สุดก็ระดับมัธยมศึกษา หรือสายวิชาชีพ

7.2 มุงเนนการศึกษาดวยระบบ ICT (Information and Communication Technology) ซ่ึงไดแก Edunet , e – Learning , Education Information System – EIS และ Digital Library

7.3 จัดการศึกษาตามความตองการพิเศษ (Special Needs Education) ซ่ึงถือเปนการสรางสภาพแวดลอมในดานการเรียนรูทั้งในดานหลักสูตรและครูผูสอนใหเหมาะสมกับเด็กที่ไมประสบความสําเร็จในระบบการศึกษาทั่วไป อันจะเปนชวยทําใหเด็กเหลานี้มีการเรียนรูที่ดีขึ้น

7.4 ขยายความรวมมือทางการศึกษากับนานาประเทศ ทั้งในระดับทวิภาคีและพหุภาคี 8. ดัชนีชี้วัดความสําเร็จ

8.1 อัตราการอานออกเขียนได ในป 2001 มีอัตราการอานออกเขียนไดรอยละ 92.5 8.2 จํานวนโรงเรียน นักเรียน ครู

ตารางแสดงตวัชี้วัดการศึกษาระดับประถมของรัฐ (ป 2004)

โรงเรียน (แหง) นักเรียน (คน) ครู (คน)

126

32,956

2,510

ตารางแสดงตวัชี้วัดการศึกษาระดับมัธยมของรัฐ (ป 2004)

โรงเรียน (แหง) นักเรียน (คน) ครู (คน)

28

32,189

2,897

8.3 งบประมาณที่จัดสรรมาใหดานการศึกษา พบวา ในดานการศึกษาผานระบบ ICT

ตาง ๆ มีการใชจายงบประมาณกวา 20.7 ลานเหรียญบรูไน

สวนที่ 2

ภาคผนวก 1 : ขอมูลรายประเทศ

มาเลเซีย บทนํา

ขอมูลพื้นฐาน ประเทศมาเลเซียตั้งอยูบนคาบสมุทรมาเลเซีย (11 รัฐ) และมีบางสวนอยูบนเกาะบอรเนียว (รัฐ

ซาบาหและซาราวัค) ทิศเหนือติดกับประเทศไทย ทิศใตติดสิงคโปร เมืองหลวงคือกรุงกัวลาลัมเปอร ใชระบอบการปกครองแบบรัฐสภา คณะรัฐบาลประกอบดวยพรรค UMNO (United Malays National Organization) เปนพรรคการเมืองหลัก โดยเปนแกนนํากลุมแนวรวมแหงชาติ (Barisan Nasional) ซ่ึงประกอบดวยพรรคการเมืองสําคัญ ไดแก MCA (Malaysian Chinese Association), MIC (Malaysian Indian Congress), Gerakan, PPBB (Parti Pesaka Bumiputera Bersatu) และ SNP (Sarawak National Party)

มาเลเซียมีประชากร 23,953,136 คน (กรกฎาคม 2548) รอยละ 83 อาศัยอยูบนคาบสมุทร ขณะที่อีกรอยละ 8 อยูในซาบาห และรอยละ 9 อยูในซาราวัค ดานชาติพันธุประกอบดวยชาวยมลายูและชนพื้นเมืองรอยละ 58 จีนรอยละ 26 อินเดียรอยละ 7 และอ่ืนๆรอยละ 9 ดานภาษาใชภาษามลายูเปนภาษาประจําชาติและภาษาราชการ และใชภาษาอังกฤษเปนภาษาธุรกิจ นอกนั้นมีภาษาจีน (กวางตุง แมนดาริน ฮกเกี้ยน จีนแคะ) และทมิฬ เปนตน คนมาเลเซียนับถือศาสนาอิสลามเปนศาสนาประจําชาติคิดเปนสัดสวนรอยละ 60.4 ของประชากรทั้งหมด ศาสนาพุทธรอยละ 19.2 ศาสนาคริสตรอยละ 11.6 ศาสนาฮินดูรอยละ 6.3 และอื่นๆรอยละ 2.5

อัตราการรูหนังสือของประชากร4คอนขางสูงคือ รอยละ 88.7 ของจํานวนประชากรทั้งหมด (2002) ทั้งนี้ รัฐบาลมาเลเซียใหความสําคัญกับการศึกษาและการคนควาวิจัยตางๆเปนอยางมาก โดยจะเห็นไดจากนโยบายเศรษฐกิจปจจุบัน ที่มุงพัฒนาศักยภาพในดานตางๆอยูบนฐานความรู (knowledge-based economy) นอกจากนี้ รัฐบาลยังไดกําหนดนโยบายวิสัยทัศนแหงชาติ (National Vision Policy: NVP) ซ่ึงมีเปาหมายในการสรางมาเลเซียใหเปน “ประเทศที่มีความยืดหยุนคงทนและมีความสามารถในการแขงขัน” โดยจะลดความสําคัญของการลงทุนที่ทําใหเกิดการเจริญเติบโตที่ไมยั่งยืนและขาดประสิทธิภาพ และใหความสําคัญตอประเด็นใหมคือ การเติบโตที่ตั้งอยูบนพื้นฐานของประสิทธิภาพการผลิตโดยรวม โดยจะเนนการลงทุนที่มีการคนควาและวิจัย (R & D) และเทคโนโลยีสูง ทั้งนี้ เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจบนฐานความรู กระตุนและเพิ่มพลวัตรของภาคการเกษตร การผลิต และการบริการโดยการใชความรูและเทคโนโลยีวิทยาการ เพิ่มการมีสวนรวมของภูมิบุตร5ในภาค 4 หมายถึงคนที่มีอายุ 15 ปขึ้นไปสามารถอานและเขียนได 5 กลุมภูมิบุตรไดแกกลุมคน 3 กลุมตอไปนี้ 1) ชนเผาดั้งเดมิ (โอรัง อัสลิ) 2) ชาวมาเลย และ 3) ผูที่มีเชื้อสายมาเลย

เศรษฐกิจชั้นนํา และปรับใหมีการพัฒนาการทรัพยากรมนุษยเพื่อรองรับสังคมบนฐานความรู (knowledge-based society)

สภาพการศึกษาโดยทั่วไป 1. พัฒนาการทางการศึกษาในภาพรวม

นับตั้งแตเร่ิมตนศตวรรษที่ 21 เปนตนมา รัฐบาลมาเลเซียกําหนดใหการพัฒนาการศึกษาของคนในชาติเปนพันธกิจสําคัญประการหนึ่ง โดยมีเปาหมายใหนําการศึกษาเขาถึงประชากรทุกระดับ โดยเฉพาะอยางยิ่งในระดับประถมและมัธยมศึกษาซึ่งถือเปนการศึกษาภาคบังคับ ประสิทธิผลในเรื่องนี้จะเห็นไดจากอัตราการเขาศึกษาระดับประถมในค.ศ. 2003 นั้นสูงถึงรอยละ 98.46 ในขณะเดียวกันในระดับมัธยมศึกษาตอนตนกลับมีอัตราที่ลดลงคือจากรอยละ 85.9 ใน ค.ศ. 1993 เหลือรอยละ 84.4 ใน ค.ศ.2003 แตอยางไรก็ดี แมจะมีจํานวนลดลงแตรัฐบาลมาเลเซียก็ไมไดกังวลมากนัก เนื่องจากตัวเลขการเขาศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในชวงเวลาเดียวกันใหผลเปนที่นาพอใจโดยเพิ่มขึ้นถึงรอยละ 17.77 (รอยละ 55.7 ใน ค.ศ. 1993 และรอยละ 73.5 ใน ค.ศ. 2003)8 ซ่ึงรัฐบาลเห็นวาเปนผลมาจากการสงเสริมใหมีการศึกษาครบ 11 ปที่ริเร่ิมมาตั้งแต ค.ศ. 1998 ทางดานการศึกษาระดับอุดมศึกษาและระดับวิทยาลัยในชวงเวลาเดียวกันนั้น ไดเพิ่มขึ้นรอยละ 4.7 ขณะที่อัตราการสอบเขามหาวิทยาลัยของรัฐเพิ่มขึ้นถึงรอยละ 12.8 ซ่ึงแสดงใหเห็นถึงความจริงจังของรัฐบาลในความพยายามขยายโอกาส และสรางความเสมอภาคทางการศึกษา รวมถึงการสงเสริมการเรียนรูช่ัวชีวิต (lifelong learning)ของคนมาเลเซีย อันที่จริงรัฐบาลมีความตั้งใจที่จะลดจํานวนการออกไปศึกษาตอในระดับมหาวิทยาลัยยังตางประเทศ แตอยางไรก็ดี แมวารัฐจะพยายามดึงดูดใหคนเขาศึกษาระดับอุดมศึกษาตอภายในประเทศ โดยการเรงสรางอาคารเรียนและสนับสนุนการตั้งสถาบันการศึกษาตางๆ แตก็ยังไมเพียงพอกับความตองการ จึงทําใหมีนักศึกษาราว 54,000 คนเดินทางไปศึกษาตอยังตางประเทศในชวงตนทศวรรษ 1990

นอกจากนี้ รัฐบาลยังไดสงเสริมการศึกษาทางไกล เพื่อยกระดับการศึกษาและทักษะของกําลังแรงงานโดยเฉพาะ ปรับหลักสูตรการศึกษาใหมีความหลากหลายและยืดหยุน เพื่อใหเกิดความตอเนือ่ง โดยมีเปาหมายใหสามารถรับหรือบริการการศึกษาแกนักศึกษาทั่วโลกได โดยไมจํากัดเฉพาะคนมาเลเซีย ดังนั้น จึงอาจกลาวไดวามาเลเซียมุงใหอุดมศึกษาของตนเปนสินคาสงออก เพื่อนํารายไดเขาพัฒนาอุดมศึกษาของตน

6 Educational Statistics 2003. Educational Planning and Research Division. Ministry of Education Malaysia. 7 Educational Statistics 1993. Educational Planning and Research Division. Ministry of Education Malaysia. 8ตัวเลขนี้รวบรวมเฉพาะโรงเรียนในกํากับของรัฐเทานั้น ไมไดรวมโรงเรียนเอกชนซึ่งมีอัตราการเขาศึกษาเพิ่มขึ้นเชนกัน

2. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ปจจุบันมาเลเซียอยูในขั้นตอนของการใชแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 9

(2549-2553) ซ่ึงในการเปดประชุมรัฐสภาสมัยที่ 11 เมื่อวันที่ 22 มีนาคม 2548 สมเด็จพระราชาธิบดีแหงมาเลเซียไดทรงมีพระราชดํารัสเกี่ยวกับเรื่องนี้วา จะมุงเนนการพัฒนาเศรษฐกิจใหมีความเขมแข็ง ยืดหยุนและเปนธรรม โดยการบริหารการจัดการทางการเงินจะตองเปนไปอยางรอบคอบและมีวินัย ทั้งนี้ ในป 2548 นี้มาเลเซียตั้งเปาหมายการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศไวที่รอยละ 6 ใน แผนพัฒนาฯ มีวัตถุประสงคทางดานการศึกษาสอดคลองกับปรัชญาการศึกษาแหงชาติ โดยเฉพาะเร่ืองการพัฒนากําลังคนใหมีความรูความสามารถ มีทักษะเพียงพอตอความตองการของประเทศซึ่งกําลังเติบโตทางเศรษฐกิจอยางรวดเร็ว นอกจากนี้ การพัฒนาประเทศทุกๆ มิติจําเปนตองพึ่งพาเอกชนดวย เชนเดียวกับการศึกษาที่รัฐบาลมีแผนสนับสนุนใหภาคเอกชนเขามาลงทุนทางดานนี้ รวมไปถึงการฝกฝนทักษะตางๆ นอกเหนือจากที่รัฐบาลเปนผูริเร่ิม ทั้งนี้ก็เพื่อเปนการขยายโอกาสทางการศึกษาใหเทาเทียมกันทั่วประเทศ

ทั้งนี้ กระบวนการที่จะนําไปสูความสําเร็จดังที่ระบุในแผนพัฒนาฯไมวาจะเปนดานใดก็ตามจะตองยึดหลักอุดมการณแหงชาติ “Rukunegara” 5 ประการอันไดแก

1. เชื่อมั่นในพระผูเปนเจา 2. จงรักภักดีตอกษัตริยและชาติ 3. ยึดมั่นในรัฐธรรมนูญ 4. ปฏิบัติตามหลักกฎหมาย และ 5. ประพฤติตนอยางมีศีลธรรมและคุณธรรม 3. แผนการศึกษาแหงชาติ

พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติฉบับ ค.ศ. 1996 (Education Act 1996) ไดกําหนดแผนการศึกษาแหงชาติไวดังนี้

- ระบบการศึกษาแหงชาติตองเปนระบบการศึกษาที่มีคุณภาพระดับสากล และสามารถตอบสนองตออุดมการณแหงชาติ

- ยึดถือนโยบายการศึกษาแหงชาติเปนนโยบายพื้นฐานสําหรับพัฒนาการศึกษา - ระยะเวลาของการศึกษาระดับประถมศึกษาคือ 5 ถึง 7 ป - ใหการศึกษากอนวัยเรียนบรรจุอยูในการศึกษาสายสามัญแหงชาติ - พัฒนาและยกระดับการศึกษาดานอาชีวะและเทคนิค - ใชหลักการจัดสรรเพื่อควบคุมการศึกษาภาคเอกชน 4. ระบบการศึกษาแหงชาติ โดยสวนใหญเด็กมาเลเซียที่มีอายุระหวาง 4 – 6 ปเร่ิมเขาศึกษาในโรงเรียนอนุบาลที่มีอยูทั่ว

ประเทศทั้งที่เปนของรัฐและเอกชน เมื่ออายุครบ 6 ปขึ้นไปก็จะเขาเรียนระดับประถมศึกษาเปนเวลา 6

ป หลังจากนั้นจึงศึกษาตอในระดับมัธยมตอนตนเปนเวลา 3 ป ตอดวยระดับมัธยมตอนปลายอีก 2 ป เมื่อจบระดับมัธยมแลวจึงจะเปนระดับอุดมศึกษา (post secondary education หรือ higher education) ซ่ึงแบงออกเปน 2 ระดับคือระดับประกาศนียบัตรและระดับมหาวิทยาลัย ในระดับประกาศนียบัตรจะประกอบดวยการเรียนหลักสูตรเตรียมมหาวิทยาลัย (ช้ัน 6) วิทยาลัย และโรงเรียนโปลีเทคนิค หลังจากจบการศึกษาในระดับนี้แลว นักเรียนจึงจะมีสิทธิศึกษาตอในมหาวิทยาลัย และมีบางสวนที่เร่ิมทํางานเลย

ระบบการศึกษาแหงชาติมาเลเซีย

ประถมศึกษา (ป.1-6)

มัธยมศึกษาตอนตน (ม.1-3)

มัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4-5)

มัธยมสูงสุด อุดมศึกษา (วิทยาลัย & มหาวิทยาลัย)

- National - Technical - Matriculation - National Type (Chinese)

- Academic - Academic - Form 6 - University / College / Employment

- National Type (Tamil)

- Religious - College / Polytechnic

ที่มา: Ministry of Education. National Report of Malaysia. 2004. เพื่อใหเขาใจงายขึ้น พอจะสรุประดับของการศึกษา (Level of Education) ไดเปน 4 ระดับ

ไดแก 1. ระดับการศึกษากอนวัยเรียน (Pre-school Education) เปนหลักสูตรการเรียนการสอนใน

ช้ันอนุบาลสําหรับเด็กอายุตั้งแต 4-6 ป 2. ระดับการศึกษาชั้นประถม (Primary Education) เปนหลักสูตรการเรียนการสอนที่มี

ระยะเวลา 6 ป สําหรับเด็กที่มีอายุตั้งแต 6 ปขึ้นไป แบงเปนโรงเรียนของรัฐบาล และของเอกชน การเรียนการสอนใชภาษาประจําชาติ คือ ภาษามลายูและภาษาอังกฤษ

3. ระดับการศึกษาชั้นมัธยม (Secondary Education) แบงเปนมัธยมตนและมัธยมปลาย เปนหลักสูตรการเรียนการสอนสําหรับผูที่จบการศึกษาระดับประถมแลว มีทั้งโรงเรียนมัธยมที่เปนของรัฐบาล และที่รัฐบาลใหการสนับสนุนเพียงบางสวน รวมทั้งโรงเรียนมัธยมที่เปนของเอกชน อนึ่ง ในการศึกษาระดับนี้ยังแบงเปน 3 ประเภท ไดแก โรงเรียนที่สอนดานวิชาการ ดานวิชาชีพ และโรงเรียนสอนศาสนา

4. ระดับอุดมศึกษา (Post-Secondary Education) เปนหลักสูตรการเรียนการสอนสําหรับเด็กนักเรียนที่เรียนจบในระดับมัธยมศึกษาแลว แบงออกเปน 2 ระดับ ไดแก

4.1 ระดับประกาศนียบัตร

- โรงเรียนวิชาชีพพิเศษเฉพาะดาน (Special Education) เปนการเรียนการสอนตามความตองการของผูเรียน เชน วิชาศิลปะ ดนตรี เปนตน

- โรงเรียนอาชีวะศึกษา (Technical Education) - โรงเรียนวิชาชีพครู (Teacher Education)

4.2 ระดับปริญญาบัตร ซ่ึงไดแก มหาวิทยาลัยที่มีการเรียนการสอนทั้งระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก

สถานศึกษาในมาเลเซียแบงออกเปน 3 ประเภท ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ ค.ศ. 1996 มาตราที่ 15 ดังนี้

1. สถานศึกษาหรือโรงเรียนที่เปนของรัฐบาล (government educational institutions) 2. สถานศึกษาหรือโรงเรียนที่ ได รับการสนับสนุนจากรัฐบาล (government-aided

educational institution) 3. สถานศึกษาหรือโรงเรียนที่เปนของเอกชน (private educational institutions)

แนวทางการปฏิรูปการศึกษา

วิสัยทัศนทางการศึกษา รัฐบาลมาเลเซียโดยกระทรวงศึกษาธิการมีวิสัยทัศนทางดานการศึกษาดังนี้ 1. สรางพลเมืองมาเลเซียใหเปนคนรักชาติและมีความเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน 2. สรางคนมาเลเซียซ่ึงเปนผูศรัทธาในศาสนา ผูมีความรูและมีวิสัยทัศน ใหเปนผูมีมารยาท

ดีงามและมีความสุขในการดําเนินชีวิต 3. เตรียมทรัพยากรมนุษยที่มีประสิทธิภาพสําหรับความจําเปนในการพัฒนาของชาติ 4. จัดหาโอกาสทางการศึกษาใหแกพลเมืองมาเลเซียทุกคน ทั้งนี้ วิสัยทัศนทั้งหมดจะอยู

ภายใตพันธกิจเดียวกันคือ การพัฒนาระบบการศึกษาที่มีคุณภาพระดับสากล โดยใหความสําคัญกับศักยภาพสูงสุดของปจเจกบุคคลและการตอบสนองตออุดมการณแหงชาติ

ปรัชญาทางการศึกษา การศึกษาในมาเลเซีย มีเปาหมายในการพัฒนานโยบายการศึกษาแหงชาติภายใตศักยภาพของ

ทรัพยากรบุคคล ใหเปนคนที่มีความรู มีสติปญญาไตรตรอง รูจักวิเคราะหดวยเหตุและผล ทั้งนี้ ตองมีความเชื่อมั่นและศรัทธาในพระเจา การศึกษาในมาเลเซียจะตองผลิตบุคลากรซึ่งเปนพลเมืองแหงมาเลเซียใหมีความรูและสมบูรณพรอมในทุกๆ ดาน มีมาตรฐานทางศีลธรรมสูง มีความรับผิดชอบ และมีประสิทธิภาพในการทํางานใหประสบความสําเร็จทั้งเพื่อตนเอง เพื่อครอบครัว สังคม และเพื่อชาติ

ความเคลื่อนไหวและการปฏิรูปทางการศึกษา กรอบทางกฎหมาย

การศึกษาของมาเลเซียจะอยูภายใตกรอบทางกฎหมาย 6 กรอบซึ่งถูกบัญญัติขึ้นตามนโยบายประชาธิปไตยทางการศึกษาของรัฐบาล กรอบทั้งหกประกอบดวย

1. พระราชบัญญัติสถาบันอุดมศึกษาเอกชน 1996 (Private Higher Educational Institutions Act, 1996)

2. พระราชบัญญัติสภาการอุดมศึกษาแหงชาติ 1996 (National Council on Higher Education Act, 1996)

3. พระราชบัญญัติคณะกรรมการประกันคุณภาพแหงชาติ 1996 (National Accreditation Board Act, 1996)

4. พระราชบัญญัติ(ปรับปรุง)วิทยาลัยและมหาวิทยาลัย 1996 (Universities and University Colleges [Amendment] Act, 1996)

5. พระราชบัญญัติคณะกรรมการกองทุนอุดมศึกษาแหงชาติ 1997 (National Higher Education Fund Board Act, 1997) และ

6. พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ 1996 (Education Act, 1996) พระราชบัญญัติ 5 ฉบับแรกเปนกรอบสําหรับการศึกษาในระดับอุดมศึกษา สวนพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ 1996 นั้นเปนกรอบสําหรับการศึกษาที่เหลืออีก 3 ระดับคือกอนวัยเรียน ประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ซ่ึงฉบับนี้เองที่กระทรวงศึกษาธิการไดทําการทบทวนปรับปรุงบางสวนเพื่อใหสอดรับกับนโยบายปฏิรูปการศึกษาของรัฐบาล ที่ตองการใหเด็กมาเลเซียทุกคนที่มีอายุครบ 6 ป ทั้งนี้โดยไมคํานึงถึงพื้นฐานทางเศรษฐกิจ สังคมและเพศ ใหมีสิทธิที่จะเขาเรียนหนังสือในระดับประถม โดยใน ค.ศ. 2002 ไดมีการบัญญัติเพิ่มเติมใหการศึกษาในระดับประถมศึกษาเปนการศึกษาภาคบังคับ มีระยะเวลา 6 ป นอกเหนือไปจากระดับมัธยมตนที่บังคับอยูแลว 3 ป โดยใหมีผลบังคับใชตั้งแต ค.ศ. 2003 ดังนั้น ปจจุบันการศึกษาภาคบังคับของมาเลเซียจึงมีระยะเวลาทั้งสิ้น 9 ป การจัดการและโครงสรางระบบการศึกษา การบริหารการศึกษาของมาเลเซียมีลักษณะรวมอํานาจไวที่สวนกลาง โดยแบงโครงสรางการบริหารจัดการตามระดับการบังคับบัญชาออกเปน 4 ระดับคือ ระดับรัฐบาลกลาง ระดับรัฐ ระดับเขตและระดับโรงเรียน แตละระดับจะมีองคกรทําหนาที่กํากับดูแลตามลําดับดังนี้ กระทรวงศึกษาธิการ กรมการศึกษาประจํารัฐ สํานักงานการศึกษาประจําเขต และโรงเรียนแตละแหง

โครงสรางการบริหารจัดการการศึกษา

รัฐบาลกลาง

รัฐ

เขต

โรงเรียน สําหรับการจัดการในรัฐซาบาหและซาราวัคซึ่งตั้งอยูบนเกาะบอรเนียวนั้น เนื่องจากมีพื้นที่กวางมาก ลําพังการบริหารจัดการโดยกรมการศึกษาประจํารัฐยังไมสามารถดูแลไดทั่วถึง จึงไดมีการเพิ่มหนวยงานขึ้นมาเพื่อชวยเหลือภารกิจของกรมฯ นั่นคือสํานักงานการศึกษาประจําภาค การบริหารจัดการในระดับรัฐบาลกลาง มีกระทรวงศึกษาธิการโดยรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการเปนผูรับผิดชอบการบริหารระบบการศึกษาของชาติ และการนํานโยบายการศึกษาไปปฏิบัติ ภารกิจหลักคือการกําหนดแนวนโยบายการศึกษาแหงชาติ การแปรนโยบายใหเปนแผนงาน โครงการ และกิจกรรมตางๆ รวมทั้งการกําหนดหลักสูตร ประมวลวิชาและการสอบของโรงเรียนทั่วประเทศ โดยมีผูชวยอีก 3 ตําแหนงคือ รัฐมนตรีชวยวาการฯ 2 คนและปลัดกระทรวงฯ 1 คน อนึ่ง การบริหารจัดการในกระทรวงยังแบงออกเปนงานดานการบริหารและงานบริการการศึกษา งานบริหารทั้งหมดจะอยูภายใตความรับผิดชอบของเลขาธิการซึ่งมีรองเลขาธิการเปนผูชวยอีก 2 คน สวนงานบริการการศึกษามีอธิบดีเปนผูรับผิดชอบพรอมดวยรองอธิบดีจํานวน 5 คน ทั้งเลขาธิการและอธิบดีขึ้นตรงตอรัฐมนตรีวาการฯ กระบวนการกําหนดนโยบายของรัฐบาลกลางโดยกระทรวงศึกษาธิการใชระบบของคณะกรรมการ กลาวคือมีคณะกรรมการวางแผนการศึกษา (Education Planning Committee – EPC) ซ่ึงมีรัฐมนตรีวาการฯเปนประธาน เปนองคกรที่มีอํานาจตัดสินใจสูงสุด โดยมีกองวิจัยและวางแผนเปนหนวยงานสนับสนุน อยางไรก็ดี อํานาจการประกาศใชนโยบายขั้นสุดทายจะอยูที่รัฐสภา ซ่ึงตองมีการแถลงตอคณะรัฐมนตรีกอนเสมอ

กระทรวงศึกษา

กรมการศึกษาประจํารัฐ

สํานักงานการศึกษา ประจําเขต

โรงเรียน

การบริหารจัดการระดับรัฐเปนการนํานโยบายจากสวนกลางไปปฏิบัติ โดยผานกรมการศึกษาประจํารัฐทั้ง 14 กรม ในขณะเดียวกันตองนําผลที่ไดจากนโยบายนั้นรายงานกลับขึ้นไปยังสวนกลางดวย สําหรับในระดับเขตนั้น มีสํานักงานการศึกษาอยูทุกรัฐยกเวนรัฐเปอรลิสและเมอละกา ภารกิจของสํานักงานการศึกษาเสมือนเปนตัวเชื่อมที่มีประสิทธิภาพระหวางโรงเรียนและกรมการศึกษาฯ สวนการบริหารในระดับโรงเรียนนั้นจะอยูภายใตการควบคุมดูแลของอาจารยใหญแตละโรงเรียน ซ่ึงอาจารยใหญไมเพียงแตรับผิดชอบงานบริการเทานั้น แตยังรวมถึงงานดานการสอนดวย นอกจากนี้ยังตองมีสมาคมผูปกครองและครูในทุกโรงเรียนอีกดวย

การปฏิรูปการศึกษา การปฏิรูปการศึกษาของมาเลเซียคือ การทําใหคนมาเลเซียทุกคนมีโอกาสเขาถึงการศึกษามากที่สุด โดยเฉพาะอยางยิ่งในระดับประถมและมัธยม เรียกวา ‘Education for All’ นโยบายการปฏิรูปที่สําคัญในปจจุบันแบงออกเปนการปฏิรูปดานการเรียนการสอน และการปฏิรูปครูผูสอน ดานการเรียนการสอน 1. การปฏิรูปการเรียนการสอนดานคณิตศาสตรและวิทยาศาสตร ในระดับประถมและมัธยมศึกษา รัฐบาลมาเลเซียถือวาคณิตศาสตรและวิทยาศาสตรเปรียบเสมือนประตูไปสูโลกแหงการสรางสรรค นวัตกรรมและการคนพบ กระทรวงศึกษาฯจึงไดพยายามเนนใหมีการเรียนในวิชานี้ เพราะตระหนักดีวาในอนาคตอันใกลนี้ โลกกําลังจะกาวผานไปสูเทคโนโลยีใหมๆ กระทรวงฯไดพยายามคิดคนวิธีการใหมในการสอนสองวิชานี้ในโรงเรียนประถมและมัธยม เพื่อกระตุนและดึงดูดใหนักเรียนหันมาสนใจเรียนมากขึ้น ดวยเหตุผลที่วาโรงเรียนนั้นถือเปนกาวแรกในการเตรียมนักคณิตศาสตรและวิทยาศาสตรของชาติ กอนค.ศ. 2002 การสอนวิชาคณิตศาสตรและวิทยาศาสตรจะใชภาษามลายูเทานั้น แตในปจจุบันไดใชภาษาอังกฤษมาเปนสื่อการสอน เนื่องมาจากการตระหนักวาความสามารถทางดานภาษาอังกฤษจะสงเสริมนักเรียนใหเขาถึงขอมูลทางอินเตอรเน็ต บทความ รายงานวิจัยและสิ่งพิมพตางๆที่เปนภาษาอังกฤษ สวนครูผูสอนในสองวิชานี้ที่ไมชํานาญการใชภาษาอังกฤษ จะตองเขาอบรมในโครงการเพิ่มพูนประสิทธิภาพซึ่งประกอบไปดวยการฝกฝนแบบตัวตอตัว และการเรียนรูจากชุดฝกภาษาดวยตนเอง สําหรับครูอาวุโสที่สอนสองวิชานี้ที่ไมมีอุปสรรคเรื่องภาษาจะไดรับการอบรมใหมาเปนครูพี่เล้ียงแกครูคนอื่น ๆ ภายในโรงเรียนเดียวกัน แมวาผลตอบรับของการปฏิรูปในชวงแรกจะออกมาในแงบวก แตก็ยังมีปญหาบางประการเกิดขึ้น โดยเฉพาะการตอตานจากผูปกครอง แตในภายหลังเริ่มมีการยอมรับกันมากขึ้น เนื่องจากเห็นความสามารถในการสอนของครู

2. การใชเทคโนโลยีเปนเครื่องมือในการเรียนการสอน กระทรวงศึกษาฯมีความมุงหวังใหการเรียนการสอนที่ใชเทคโนโลยีสารสนเทศ การเรียนทางไกล การประชุมผานวิดีโอและการเชื่อมระบบอินเตอรเน็ต เปนเรื่องธรรมดาในโรงเรียนทั่วไป โรงเรียนตองไมจํากัดการเขาถึงแหลงขอมูลที่กวางใหญเหลานี้ นักเรียนทุกคนควรมีโอกาสไดใชอินเตอรเน็ตเพื่อแลกเปลี่ยนหรือแบงปนความคิดกับผูอ่ืน และเพื่อทันตอเหตุการณที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลาของโลก กระทรวงฯเชื่อมั่นวาเทคโนโลยีสารสนเทศเหลานี้จะทําใหการศึกษามีความหมายมากกวาแคการเรียนแบบเดิม ๆ ดังนั้น ในปจจุบันนี้โรงเรียนประถมและมัธยมสวนใหญจึงเพียบพรอมดวยหองคอมพิวเตอรและบริการการเชื่อมตออินเตอรเน็ต ทั้งนี้ รัฐไดวางแผนปฏิรูปเรื่องการใชเทคโนโลยีสารสนเทศในการเรียนการสอนใหประสบผลสําเร็จภายใน 10 ป ในขณะเดียวกัน แผนปฏิรูปดังกลาวยังมีเปาหมายอื่นๆนอกเหนือจากเรื่องการศึกษา ไดแก เพื่อใหสอดรับกับโครงสรางพื้นฐานดานเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต เพื่อใหทุกคนมีโอกาสเขาถึงการใชเทคโนโลยีฯ อยางเทาเทียมกัน และเพื่อสนับสนุนการขยายหลักสูตรการเรียนโดยมีเทคโนโลยีฯ เปนพื้นฐาน 3. โครงการ “Smart School” (Malaysian Smart School Project – SSP) โครงการ “Smart School” หรือ SSP เปนโครงการอันเนื่องมาจากแผนปฏิรูปเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศดังกลาวขางตน SSP แสดงใหเห็นวารัฐบาลมาเลเซียสนใจเรื่องนี้อยางจริงจัง กรอบของโครงการจะครอบคลุมถึงการวิจัยและทฤษฎีเกี่ยวกับความรูที่หลากหลาย ปรัชญาการสอนของ SSP ไมไดรวมศูนยไวที่นักเรียนเพียงอยางเดียว แตตองเปนการผสมผสานที่พอเหมาะระหวางยุทธศาสตรการเรียนรูเพื่อสรางความสามารถพื้นฐานกับการสงเสริมการพัฒนาโดยรวมของประเทศ การเรียนการสอนในโครงการ “Smart School” จะเนนที่เนื้อหาใน 4 วิชาหลัก ไดแก ภาษามลายู ภาษาอังกฤษ วิทยาศาสตรและคณิตศาสตร โดยที่เนื้อหาทั้งหมดไดรับการออกแบบใหรองรับกับความตองการและความสามารถที่แตกตางกันของผูเรียน นอกจากนี้ SSP ยังไดกระตุนใหเกิดการพัฒนาวัสดุและสื่อการเรียนการสอนภายในชั้นเรียน ซ่ึงทั้งหมดจะถูกออกแบบใหสามารถรวมเขาไปใน SSP ภายใตระบบบูรณาการ (Smart School Integrated System – SSIS) 4. เสริมการเรียนวิชาชีพในโรงเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายที่เนนวิชาการเพียงอยางเดียว (Vocational Subject in Academic Schools – VSAS) แผนปฏิรูป VSAS เปนความประสงคของกระทรวงศึกษาฯที่ตองการใหนักเรียนมัธยมตอนปลายไดมีวิชาเลือกที่กวางและหลากหลายมากขึ้น คือสามารถเลือกเรียนวิชาเลือกที่เปนวิชาชีพตามความสนใจและความถนัดของตนไดอยางเต็มที่ จากที่แตกอนจะมีแตวิชาการซึ่งเต็มไปดวยทฤษฎีเพียงอยางเดียว ปจจุบันจึงมีวิชาเลือกที่เนนการปฏิบัติจริงเพิ่มเขามา โดยวิชาชีพที่คัดมานั้นมีทั้งหมด 5 อาชีพ ไดแก กอสราง การผลิต เศรษฐกิจในบาน เทคโนโลยีการเกษตร และคอมพิวเตอร การปฏิรูปดังกลาวสงผลถึงวิธีการประเมินดวย กลาวคือ จากการประเมินดวยวิธีทดสอบขอเขียน (paper-and

pencil tests) มาเปนการประเมินจากความสามารถพื้นฐานของแตละคน (competency-based system) ทั้งนี้ นักเรียนสวนใหญคอนขางพอใจกับการเปลี่ยนแปลงในเรื่องนี้เนื่องจากวิชาชีพที่เรียนสามารถนําไปใชในการทํางานได

5. สงเสริมการเรียนการสอนในภาษาอังกฤษและภาษาตางประเทศอยางจริงจัง กระทรวงศึกษาฯ ไดจัดโครงการตาง ๆ เกี่ยวกับภาษาอังกฤษเพื่อสนับสนุนแผนปฏิรูปนี้ อัน ไดแก

- โครงการเนนบทอานและวรรณกรรมรวมสมัยที่เปนภาษาอังกฤษ - โครงการสงเสริมการรักการอานตั้งแตเล็กๆ - โครงการพัฒนาสื่อการสอน - โครงการภาษาอังกฤษเพื่อวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี - โครงการสรรหาครูผูสอนที่มาจากประเทศที่ใชภาษาอังกฤษเปนภาษาแม นอกจากภาษาอังกฤษแลว ยังมีภาษาตางประเทศอื่นๆที่สอนในโรงเรียนโดยจัดใหเปนวิชา

เลือก ไดแก สเปน ฝร่ังเศส อารบิก ญ่ีปุนและเยอรมัน ดานครูผูสอน 1. ยกระดับสถานภาพครู การยกระดับสถานภาพครูไดแก การเพิ่มคุณสมบัติผูที่จะมาเปนครู และการเพิ่มอัตรา

เงินเดือน มีการกอตั้งมหาวิทยาลัยครูโดยเฉพาะ นอกจากนี้ คุณวุฒิขั้นต่ําของผูที่จะมาเปนครูถูกปรับใหสูงขึ้นจากประกาศนียบัตร (certificate) มาเปนอนุปริญญา (diploma)

2. เสริมสรางการศึกษาของครู จากนโยบายการศึกษาแหงชาติ ค.ศ. 1979 ที่ระบุวานอกจากคุณสมบัติสวนบุคคลที่เหมาะสม

กับการเปนครูแลว ยังตองมีความสามารถทางวิชาการดวยนั้น ทําใหกระทรวงศึกษาธิการเริ่มสนับสนุนใหผูที่เรียนครูไดจบการศึกษาระดับปริญญาเปนอยางต่ําเรื่อยมา

3. ยกระดับคุณสมบัติครูในระดับชั้นประถม ใน ค.ศ. 1996 กระทรวงศึกษาฯไดปรับคุณสมบัติของครูที่สอนในระดับชั้นประถมตองจบ

การศึกษาระดับปริญญาพรอมกับปรับขึ้นอัตราเงินเดือนให ในขณะเดียวกัน ยังไดสงเสริมใหครูที่กําลังสอนอยูมีโอกาสศึกษาเพิ่มเติม ทั้งแบบการศึกษาทางไกลและแบบหลักสูตรเฉพาะในมหาวิทยาลัยในประเทศและตางประเทศ

4. สงเสริมและใหกําลังใจแกครูท่ีมีผลงานดี กระทรวงศึกษาฯมีการมอบรางวัลใหแกครูผูสอนและอาจารยใหญที่มีผลงานดีเดน เพื่อเปน

การใหกําลังใจและรักษาบุคคลที่มีความสามารถใหทํางานอยูในโรงเรียนนาน ๆ นอกจากนี้ ยังมีการเพิ่มเงินเดือนใหตามความสามารถโดยไมจําเปนตองพิจารณาที่อาวุโสอยางเดียว ดังนั้น จึงเปนไปไดที่ครูบางคนอาจมีเงินเดือนสูงกวาอาจารยใหญ คาตอบแทนที่จูงใจเชนนี้ยังไดถูกนําไปใชกับครูที่สอน

วิชาภาษาอังกฤษ วิทยาศาสตร คณิตศาสตรและวิชาที่ใชเทคนิคเฉพาะ รวมถึงครูที่สอนในพื้นที่หางไกลความเจริญจะไดรับเบี้ยกันดารดวยเชนกัน

5. เพิ่มพูนความสามารถทางภาษาอังกฤษ เดือนพฤษภาคม ค.ศ. 2002 คณะรัฐมนตรีไดประกาศใหใชภาษาอังกฤษเปนสื่อการสอน

สําหรับวิชาวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร เพื่อพัฒนาเยาวชนรุนใหมใหกาวทันกับยุคเทคโนโลยีสารสนเทศ ดังนั้น ครูที่สอนในสองวิชานี้ซ่ึงมีประมาณ 50,000 คนจึงตองเขารับการอบรมในหลักสูตรการใชภาษาอังกฤษใหมีประสิทธิภาพพอที่จะนําไปสอนได และไดเร่ิมสอนจริง ๆ ใน ค.ศ. 2003 ครูผูสอนจะไดรับการสนับสนุนคอมพิวเตอรพกพา พจนานุกรม หนังสือไวยากรณ และอุปกรณการเรียนการสอนที่เกี่ยวของ

6. โครงการเสริมสรางบุคลิกภาพ โครงการนอกสถานที่นี้เปนกิจกรรมเสริมสรางรางกายทั้งทางกายภาพ ความคิดและจิตใจ

โดยกิจกรรมจะมีลักษณะเปนกระบวนการเรียนรูเชิงบูรณาการ เพื่อผลิตทรัพยากรบุคคลที่มีความสมดุลทางอารมณ มีความสามารถและความมั่นใจในตัวเอง ตัวอยางกิจกรรม ไดแก การเขาคาย ทํางานกลุม ฝกสอนเชิงปฏิบัติการ พายเรือแคนู ปนเขา และดําน้ํา

7. การใหทุนการศึกษา เพื่อพัฒนาและสงเสริมใหครูทุกคนมีความกาวหนาในวิชาชีพ การใหทุนการศึกษาตอใน

ระดับปริญญาโทและเอกจึงเปนมาตรการสําคัญที่รัฐนํามาใช ทุนการศึกษานี้รวมคาใชจายทุกอยางไมวาจะเปนคาลงทะเบียน คาใชจายในชีวิตประจําวันและคาวัสดุการศึกษา ดัชนีชี้วัดความสําเร็จ ความกาวหนาหรือความสําเร็จของระบบการศึกษามาเลเซียสวนหนึ่งนั้น เปนผลมาจากแผนพัฒนาและการวางยุทธศาสตรของชาติอยางเปนระบบที่ระบุอยูในแผนระยะยาวของชาติ (Outline Perspective Plan – OPP) ซ่ึงไดใหความสําคัญกับการศึกษามาตั้งแตกลางทศวรรษ 1960 โดยระบุวา “ภาคการศึกษาถือเปนกลไกสําคัญอยางหนึ่งในการนําพาประเทศชาติมุงไปขางหนา” ดวยยุทธศาสตรดังกลาวสงผลใหแผนพัฒนาแหงชาติ 5 ปตองจัดสรรงบประมาณทางการศึกษาใหเพียงพอ ซ่ึงจะมีผลตอเนื่องถึงการพัฒนาทรัพยากรมนุษยของชาติ อันไดแก เด็ก เยาวชนและผูใหญ

กระทรวงศึกษาฯรวมถึงสถาบันการศึกษาทั่วไปตางก็ตระหนักดีถึงเรื่องการพัฒนาทรัพยากรมนุษย เพื่อใหเปนกําลังสําคัญของชาติ ดังนั้น จึงมีการปรับปรุงสาระการเรียนรูและเพิ่มหลักสูตรการอบรมใหกับครูผูสอนมากขึ้น ทั้งในระหวางศึกษาและขณะที่ทํางานอยู ทั้งนี้ การอบรมในระหวางปฏิบัติงานนี้มีเปาหมายสําคัญ คือตองการใหผูที่จะเขามาสอนปรับตัวใหเปนคนที่มีความชํานาญหลายๆดาน และสามารถกาวทันตอเทคโนโลยีที่ทันสมัย และอุตสาหกรรมในยุคโลกาภิวัตน ดังนั้น

ครูมาเลเซียจึงไดรับการฝกฝนทักษะอยูเสมอ จนกระทั่งกลายเปนลูกจางที่มีประสิทธิภาพ และเปนกําลังสวนหนึ่งตอการพัฒนาประเทศตอไป

จํานวนครูในโรงเรียนระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาใน ค.ศ. 1993, 1998 และ 2003 จํานวนและรอยละของครู

ชาย หญิง

ระดับการศึกษา 1993 1998 2003 1993 1998 2003

ประถมศึกษา 55106 41.1

57035 37.1

58138 33.3

78869 58.9

96798 62.9

116563 66.7

มัธยมศึกษา 37880 45.1

40547 39.4

46128 36.1

46072 54.9

62439 60.6

81645 63.9

ที่มา: Educational Planning and Research Division, Ministry of Education Malaysia. 1993, 1998, 2003.

การตระหนักถึงความสัมพันธที่เชื่อมโยงกันอยางใกลชิดระหวางการศึกษากับการพัฒนาทรัพยากรมนุษยที่มีมาเกือบ 40 ปของรัฐบาลมาเลเซีย สงผลใหการศึกษาของมาเลเซียกาวหนาขึ้นอยางเห็นไดชัด อัตราการเรียนรูของคนเพิ่มสูงขึ้น จํานวนนักเรียนเฉลี่ยตอหอง จํานวนนักเรียนเฉลี่ยตอโรงเรียน อัตราสวนครูกับนักเรียนและจํานวนโรงเรียน มีการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดี

อัตราการเขาโรงเรียนในสถาบันการศึกษาของรัฐจําแนกตามระดับการศึกษาใน ค.ศ. 1993, 1998 และ 2003

อัตราการเขาเรียน (%)

ระดับการศึกษา

กลุมอายุ 1993 1998 2003 ประถมศึกษา 6+ - 11+ 98.57 95.06 98.49 มัธยมศึกษาตอนตน 12+ - 14+ 85.97 85.61 84.40 มัธยมศึกษาตอนปลาย 15+ - 16+ 55.74 66.68 73.52 มัธยมสูงสุด & วิทยาลัย 17+ - 18+ 19.27 20.95 24.05 มหาวิทยาลัย 19+ - 24+ 5.9 14.5 18.7

ที่มา: Educational Planning and Research Division, Ministry of Education Malaysia. 1993, 1998, 2003.

เปรียบเทียบจํานวนนักเรียนเฉลี่ยตอหอง จํานวนนักเรียนเฉลี่ยตอโรงเรียน อัตราสวนครูกับนักเรียนและจํานวนโรงเรียนใน ค.ศ. 1998 และ 2003

ระดับประถม ระดับมัธยม

ตัวชี้วัด 1998 2003 1998 2003 1.จํานวนนักเรียนเฉลี่ยตอหอง 32 31 35 33 2.จํานวนนักเรียนเฉลี่ยตอโรงเรียน 405 400 1219 1047 3.อัตราสวนครูกับนักเรียน 1:19 1:17 1:19 1:16 4.จํานวนโรงเรียน 7130 7504 1566 1902

ที่มา: Educational Planning and Research Division, Ministry of Education Malaysia. 1998, 2003.

จุดเดน ระบบการศึกษาของมาเลเซียใหความสําคัญกับเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเปนอยางมาก โดยรัฐบาลเชื่อวา ในอนาคตโลกจะเชื่อมถึงกันดวยความทันสมัยของเทคโนโลยีสารสนเทศ และการพัฒนาประเทศใหเปนประเทศที่พัฒนาแลวจะถูกชี้นําดวยความเจริญทางวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและภาษาอังกฤษ ซ่ึงมีเร่ืองของการใชเทคโนโลยีสารสนเทศเขามาเกี่ยวของดวย ดังนั้น เพื่อใหประเทศมีความเจริญเปนประเทศที่พัฒนาแลวดังที่ตั้งเปาหมายไว และพลเมืองของตนสามารถกาวทันความทันสมัยของโลกในอนาคตไดอยางมีประสิทธิภาพ รัฐบาลมาเลเซียจึงใหความสําคัญกับการศึกษาใน 3 วิชาดังกลาว โดยสงเสริมใหมีการใชอุปกรณการเรียนการสอนที่ทันสมัยและใหใชภาษาอังกฤษซึ่งเปนภาษาสากลเปนหลัก นักเรียนทุกคนที่เรียนใน 3 วิชานี้จะสามารถคนควาขอมูลโดยใชอินเตอรเน็ตไดอยางคลองแคลว และสามารถอานบทความที่เปนภาษาอังกฤษได ในดานครูผูสอนก็เชนเดียวกัน รัฐไดสงเสริมใหเขาอบรมหลักสูตรเฉพาะเพื่อพัฒนาวิชาชีพใหกาวหนา และมีการใหทุนการศึกษาจนถึงระดับปริญญาเอก (โดยเฉพาะวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร) ซ่ึงในประเทศไทยไมมีนโยบายสงเสริมใหครูในระดับประถมหรือมัธยมตองจบการศึกษาถึงปริญญาเอกหรือแมแตปริญญาโทก็ตาม ซ่ึงในความเปนจริงนั้น ความสามารถของครูผูสอนยอมสงผลโดยตรงตอสาระและการเรียนรูที่นักเรียนจะไดรับโดยตรง ดังนั้น หากผูสอนมีความเชี่ยวชาญและมีความสามารถสูง ก็จะทําใหนักเรียนไดรับสาระอยางเต็มที่จนกระทั่งพัฒนาตนเองใหเปนผูรูในเรื่องนั้น ๆ ได และในที่สุดก็จะกลายเปนทรัพยากรบุคคลที่มีคาของชาติตอไป

ฟลิปปนส บทนํา

ขอมูลพื้นฐาน ฟลิปปนสมีลักษณะภูมิประเทศที่เปนหมูเกาะ ประกอบดวยหมูเกาะใหญนอยประมาณ 7,100

เกาะ มีพื้นที่ที่เปนแผนดิน 298,170 ตารางกิโลเมตร และพื้นน้ํา 1,830 ตารางกิโลเมตร (ขอมูลจาก The World Fact Book ป 2005) แบงออกเปน 3 หมูเกาะสําคัญ ไดแก หมูเกาะลูซอน (Luzon) ซ่ึงอยูทางตอนเหนือ หมูเกาะวิซายาส (Visayas) ทางตอนกลาง และหมูเกาะมินดาเนา (Mindanao) ทางตอนใต ฟลิปปนสมีจํานวนประชากร 87,857,473 คน (ป 2005) โดยประชากรมากกวารอยละ 65 อาศัยอยูบนเกาะมินดาเนา และเกาะลูซอน ซ่ึงเปนที่ตั้งของกรุงมะนิลา เมืองหลวงของฟลิปปนส ทั้งนี้ประชากรรอยละ 28.1 เปนชาวฟลิปนโนเชื้อสายตากาล็อค (Tagalog) นอกนั้นก็เปนเชื้อสายชาวพื้นเมืองตามหมูเกาะตางๆ อาทิ เชื้อสาย Cebuano รอยละ 13.1 และเชื้อสาย Llocano รอยละ 9 เปนตน ประชากรสวนใหญจะนับถือศาสนาคริสตนิกายโรมันคาทอลิคถึงรอยละ 80.9 สวนที่เหลือจะมีทั้งผูนับถือนิกายโปรเตสแตนทรอยละ 9 และศาสนาอิสลามอีกราวรอยละ 5 (มักอยูทางตอนใต) สําหรับดานเศรษฐกิจของประเทศ ฟลิปปนสกําลังอยูในชวงเศรษฐกิจขาขึ้น โดยในปที่ผานมา มีอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจสูงถึงรอยละ 5.9 (ขอมูลจาก The World Fact Book ป 2004) เนื่องจากภาคการเกษตรมีการฟนตัว และภาคอุตสาหกรรมเติบโตอยางตอเนื่อง อันเปนผลสงทอดมาจากการใชนโยบายเศรษฐกิจมหภาคของรัฐบาล ซ่ึงมุงเนนการปฏิรูปเพื่อเพิ่มศักยภาพโครงสรางทางเศรษฐกิจ สงผลทําใหระดับ GDP อยูที่ 430.6 พันลานเหรียญสหรัฐฯ ซ่ึงเฉลี่ยแลวประชากรมีรายไดตอหัว (GDP – per capita) ประมาณ 5,000 เหรียญสหรัฐฯ (ป 2004) ทั้งนี้รายไดหลักของฟลิปปนสขึ้นอยูกับผลิตภัณฑทางการเกษตร และเคมีภัณฑรวมทั้ งผลิตภัณฑ อุตสาหกรรมประเภทเครื่องใชไฟฟาและสวนประกอบ

สวนในทางการเมือง นับจากอดีตฟลิปปนสเคยตกเปนอาณานิคมของสเปนในชวงศตวรรษที่ 16 และตอมาในศตวรรษที่ 19 อยูภายใตอิทธิพลของสหรัฐอเมริกา รวมทั้งญี่ปุนในชวงสงครามโลกคร้ังที่ 2 และจนกระทั่งในป 1946 ไดรับการปลดปลอยเปนอิสระ ปจจุบันฟลิปนสอยูภายใตการปกครองระบอบประชาธิปไตยแบบสาธารณรัฐ มีประธานาธิบดีเปนประมุขและหัวหนาฝายบริหาร ซ่ึงในขณะนี้ผูดํารงตําแหนง คือ นางกลอเรีย มาคารปากัล อารโรโย (Gloria Macapagal Arroyo)

สภาพการศึกษาโดยทั่วไป 1. พัฒนาการศึกษาในภาพรวม กอนหนาที่ฟลิปปนสจะตกเปนอาณานิคมของสเปนในศตวรรษที่ 16 ระบบการศึกษาของ

ประเทศยังมีลักษณะไมเปนทางการ ไมมีโครงสรางที่ชัดเจนรองรับ และขาดแคลนระเบียบวิธีการตาง ๆ ในการเรียนการสอน ทั้งนี้โดยสวนใหญแลวเด็กๆ มักไดรับการฝกอบรมทางวิชาชีพมากกวาการเรียนเกี่ยวกับวิชาการ ซ่ึงผูทําหนาที่ฝกอบรมจะเปนพอแมและบุคคลตางๆ ที่อยูภายในชุมชนเดียวกัน แตภายหลังจากที่สเปนเขาครอบครองในป1521 การศึกษาของฟลิปปนสก็ไดรับการพัฒนาขึ้นเปนลําดับ โดยผูทําหนาที่ฝกสอนและอบรมจะเปนมิชช่ันนารี การศึกษาจึงมีการผสมผสานในเรื่องศาสนาดวย นอกจากนี้ในชวงระยะแรกของการเปนอาณานิคมของสเปน ชาวฟลิปปนสทุกคนไดรับเสรีภาพในการเขารับการศึกษาตามกฏหมายเกี่ยวกับการศึกษา ค.ศ. 1863 ซ่ึงอนุญาตใหมีการจัดตั้งโรงเรียนประถมศึกษาสําหรับเด็กชายและหญิงในเมืองตางๆ ภายใตความรับผิดชอบของรัฐบาลทองถ่ินนั้น ๆ รวมทั้งยังใหมีการจัดตั้งโรงเรียนสําหรับครูผูสอนซึ่งมุงเนนในเชิงศาสนา อยางไรก็ดี แมวาการศึกษาของฟลิปปนสในชวงนี้เปนไปโดยเสรีไมเสียคาใชจายใด ๆ แตก็มีไมเพียงพอ ทั้งยังเปนไปอยางกดดันและถูกบังคับอีกดวย เมื่อฟลิปปนสตกอยูภายใตการปกครองของสหรัฐฯ ทําใหระบบการเรียนการสอนตามแนวทางสเปนถูกระงับไวช่ัวคราว แตตอมาก็ไดถูกนํามาใชอีกครั้ง ระบบการศึกษาของฟลิปปนสในชวงที่สหรัฐฯ ปกครองนี้ยังคงเปนไปอยางเสรีไมเสียคาใชจายใด ๆ แตไมมุงเนนในเรื่องศาสนา นอกจากนี้ยังจัดตั้งกลไกและหนวยงานทางการศึกษา รวมทั้งจัดตั้งการศึกษาขั้นตนภาคบังคับ (compulsory elementary education) ซ่ึงการเรียนการสอนจะใชภาษาอังกฤษเปนสื่อกลางใน ถายทอด สวนระบบโรงเรียนของรัฐขั้นสูงไดรับกอตั้งในป 1901 และในปตอมา สถาบันการศึกษาพิเศษ โรงเรียนดานศิลปะและการคา โรงเรียนดานเกษตรกรรม และสถาบันพาณิชยนาวีไดถูกจัดตั้งขึ้น และที่สําคัญในป 1908 ยังไดจัดตั้งมหาวิทยาลัยแหงชาติฟลิปปนส และนับจากป 1916 กระทั่งเร่ือยมาไดมีการปรับโครงสรางหนวยงานทางการศึกษาอีกหลายครั้ง จนมีการจัดตั้งเปนกระทรวงการศึกษา วัฒนธรรมและการกีฬา (Ministry of Education Culture and Sports) ตามกฎหมายการศึกษา ค.ศ. 1982 แตตอมาไดถูกปรับเปลี่ยนเปน Department of Education Culture and Sports ในป 1987 (แตก็ยังเรียกวากระทรวงการศึกษา วัฒนธรรม และกีฬา) โดยมีรัฐมนตรี (secretary) ทําหนาที่เปนผูบังคับบัญชาสูงสุด กระทั่งถึงป 2001 จนถึงปจจุบัน ไดมีการเปลี่ยนแปลงชื่อไปจากเดิมเล็กนอยเปน กระทรวงการศึกษา (Department of Education)

2. แผนพัฒนาแหงชาติ ตามแผนพัฒนาประเทศระยะกลางของฟลิปปนส (The Medium Term Phillippines

Development Plan) ระหวางป 2001-2004 ไดกลาวถึงการพัฒนามนุษยในลักษณะครอบคลุม (Comprehensive Human Development) โดยใหความสําคัญตอการเพิ่มทุนทั้งหมดไปที่มนุษย

(human capital investment) โดยเฉพาะในเรื่องการศึกษา…9 ซ่ึงรัฐบาลจะยังคงมีบทบาทสําคัญในการสนับสนุนใหการศึกษาเบื้องตน (Basic Education) มีคุณภาพ โดยมีเปาหมายเพื่อสงเสริมกาวหนาทางวิทยาศาสตร การสรางทักษะความเชี่ยวชาญทางคณิตศาสตร และเทคโนโลยีขอมูลขาวสาร(IT) พรอมทั้งขยายชองทางใหกับผูมีรายไดนอยในเรื่องการศึกษาอยางไมเปนทางการ (nonformal education) และการฝกอบรมดานเทคนิคและวิชาชีพ (Vocational and Technical Training)

3. นโยบายการศึกษาแหงชาติ (National Education Policy) รัฐบาลฟลิปปนสไดแสดงถึงการมีภาระผูกพันตอการสรางความแข็งแกรงในดานการศึกษา

ตามที่รัฐธรรมนูญไดระบุไว ซ่ึงจะเห็นไดชัดเจนจากการที่งบประมาณดานการศึกษาเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ หรือไมอยางนอยที่สุดก็ไมถูกตัดลด ถึงแมวาจะผานชวงเวลาที่ตองประสบปญหาทางเศรษฐกิจ กต็าม ดังจะเห็นไดวาการจัดสรรงบประมาณดานการศึกษาเพิ่มขึ้นจากรอยละ 13.6 ในป 1995 เปนรอยละ 21.3 ในป 1998

งบประมาณการศึกษาแหงชาติ (Peso billion)

Item 1990 1991 1992 1993 1994 1995 1996 1997 1998 -Total education budget -Total National budget -Educational budget as % of total national budget

32.9 15.1

32.9 13.3

36.7 13.6

38.0 13.5

46.2 14.3

52.8 387.4 13.6

63.6 395.0 16.1

75.7 433.8 17.5

100.2 741.2 21.3

ทั้งนี้ในระยะยาว นโยบายการศึกษา มีเปาหมายที่จะใหการศึกษาในระดับประถมและมัธยม

แกทุกคน โดยไมตองเสียคาใชจาย รวมทั้งลดอัตราการไมรูหนังสือ และพัฒนาทักษะความชํานาญในสายวิชาชีพเพื่อใหเปนไปตามความตองการของภาวะเศรษฐกิจฟลิปปนส โดยมีหนวยงานหลักของรัฐ 3 หนวยงาน คือ กระทรวงการศึกษา (Department of Education -DepED) คณะกรรมการการอุดมศึกษา (Commission on Higher Education-CHED) และกลุมการศึกษาดานวิชาชีพและการพัฒนา

9 The Medium Term Phillippines Development Plan 2001-2004, http://www.logos-net. net/ilo/150_ base/

en/ init /phi _7.html.

ทักษะ (Technical Education and Skills Development Authority – TESDA) ทําหนาที่ในการรวมกันรับผิดชอบในการกําหนด วางแผน และกํากับดูแลการศึกษาระดับเบื้องตน ระดับอุดมศึกษา และในสายวิชาชีพ นอกจากนี้ นโยบายการศึกษาแหงชาติของฟลิปปนสยังมุงเนนประเด็นสําคัญตาง ๆ ในทางการศึกษา คุณภาพของการใหบริการทางการศึกษา และอํานวยความสะดวกในเรื่องตาง ๆ ในพื้นที่การศึกษาที่หางไกลในชนบท อยางไรก็ดีการใหน้ําหนักความสําคัญในดานการศึกษาของรัฐบาลฟลิปปนส จะตองสอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจแหงชาติ แตทั้งนี้และทั้งนั้น หลักสูตรการศึกษาตาง ๆ จะตองมีการสรางความแข็งแกรงใหมากขึ้น เพื่อที่จะใหเกิดคุณภาพทางการศึกษา และทําใหการศึกษาเปนไปตามความตองการตอภาคอุตสาหกรรม

4. ความมุงหมายของการศึกษา 1. ขยายการศึกษาโดยทั่วไป เพื่อชวยใหบุคคลในสังคมไดรับการพัฒนาศักยภาพในตัวเอง

อันจะเปนการสงเสริมและยกระดับบุคคลและสังคม 2. ชวยใหบุคคลมีสวนรวมในหนาที่เบื้องตนของสังคม และเรียนรูความจําเปนของการ

สรางรากฐานการศึกษา อันจะนําไปสูการพัฒนาใหเปนประชากรของประเทศที่มีความสามารถรอบตัว และมีคุณภาพ

3. ฝกอบรมกําลังแรงงานของประเทศในทักษะความชํานาญระดับกลางอันจะนําไปสูการพัฒนาประเทศ

4. พัฒนาวิชาชีพระดับสูงเพื่อใหเกิดภาวะผูนํา สําหรับประเทศชาติ สรางความองคความรูใหกาวหนาผานการคนควาวิจัย และประยุกตองคความรูใหม เพื่อปรับปรุงคุณภาพชีวิต

5. ตอบสนองอยางมีประสิทธิภาพตอการเปลี่ยนแปลงความตองการและเงื่อนไขผานระบบการวางแผนและประเมินผลทางการศึกษา

5. ระบบการศึกษา ในประเทศฟลิปปนส โครงสรางของระบบการศึกษาเปนแบบ 6-4-4 ดังนี้ 1. การศึกษาขั้นตนในระดับประถม (primary education) ใชเวลาศึกษาเลาเรียน 6 ป (มีบางโรงเรียนเอกชนที่ใชเวลาเรียนในระดับนี้ 7 ป) โดยมีการ

กําหนดใหเด็กที่มีอายุ 6 ป เขาศึกษาเลาเรียนในระดับประถม สวนการศึกษาเลาเรียนในชวงกอนระดับประถม ถือเปนทางเลือกใหกับพอแมผูปกครองที่จะใหเรียนหรือไมก็ได

2. การศึกษาในระดับมัธยม (secondary education) ใชเวลาศึกษาเลาเรียน 4 ป สําหรับเด็กอายุระหวาง 12 - 15 ป การศึกษาในระดับ

มัธยมศึกษา แบงออกเปน 2 ประเภท คือ การศึกษาสายสามัญ (general high education) และการศึกษาสายวิชาชีพ (vocational high education) ซ่ึงใชระยะเวลาศึกษาเลาเรียน 4 ป ทั้งนี้ใน

หลักสูตรของการศึกษาระดับมัธยมจะตองมี เ รียนวิชาถูกกําหนดใหมีการเรียนวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและภาษาอังกฤษดวย

3. การศึกษาระดับอุดมศึกษา (higher education) ผูเขารับการศึกษาจะมีอายุระหวาง 16 - 19 ป ใชเวลาศึกษาเลาเรียน 4 ป (ยกเวนหลักสูตร

วิศวกรรม กฎหมาย แพทย และวิทยาศาสตร ที่ตองใชระยะเวลาศึกษาเลาเรียน 5 ปหรือมากกวานั้น) แบงระดับการศึกษาออกเปน ปริญญาตรี โท และเอกในหลากหลายหลักสูตรวิชา นอกจากนี้นักศึกษาตางชาติยังสามารถเขาศึกษาไดในจํานวน 150 วิทยาลัย และมหาวิทยาลัยตาง ๆ อีกมากในประเทศฟลิปปนส แนวทางปฏิรูปการศึกษา

1. วิสัยทัศน (Vision) มนุษยเปนทรัพยากรที่สําคัญที่สุด การใหการศึกษาแกเด็กฟลิปปนสเปนการชวยใหเด็ก

คนพบตัวเองในแบบที่เด็กเปนศูนยกลาง และใหเกิดคุณคาจากสภาพแวดลอมในเรื่องการเรียนการสอน ทําใหเด็กกําหนดเปาหมายของตนเองในชุมชนโลก นอกจากนี้ยังเปนการเตรียมใหเขาเปนประชาชนที่มีความรับผิดชอบและเปนผูนําที่รอบรู เปนผูรักชาติ และภูมิใจที่เกิดเปนชาวฟลิปปนส การจัดใหมีระบบโรงเรียน เปนสิ่งที่ครูและครูใหญปรารถนาใหเกิดผลการเรียนรูไมเฉพาะการใหอํานาจ การมีความสามารถ และความนาเชื่อถือ แตเพราะวาเขาเอาใจใส และเปนสิ่งที่ผูบริหารตอบสนองผูนําที่มีวิสัยทัศนตอการเรียนรูที่จําเปนตอชาติ มีทรัพยากรที่เพียงพอ มีเทคโนโลยีที่เหมาะสม สรางบรรยากาศที่สงเสริมการเรียนรู รวมถึงเปนสิ่งที่ครอบครัว ชุมชน และสถาบันอื่น ๆ ความพยายามตาง ๆ ดังกลาว อยางกระตือรือลน ขอรับรองสิทธิของเด็กทุกคน โดยเฉพาะเด็กดอยโอกาส

2. ภารกิจ (Mission) ใหการศึกษาขั้นพื้นฐานอยางมีคุณภาพและเทาเทียมกัน รวมทั้งวางรากฐานการเรียนรูแบบ

ตลอดชีวิต (life-long learning) พรอมไปกับการใหบริการทั่วไป 3. โครงสรางองคกร (Organization) หนวยงานหลักของรัฐบาลฟลิปปนสที่มีหนาที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการศึกษาของประเทศ

ไดแก 1. กระทรวงการศึกษา (Department of Education -DepED) ซ่ึงจะรับผิดชอบในการกํากับ

ดูแลโดยตรงตอ การศึกษาในระดับประถม (รวมถึงกอนระดับประถมดวย) มัธยม และการศึกษาอยางไมเปนทางการ โดยมีหนวยงานในสังกัด ประกอบดวย - สํานักงานเลขาธิการ (Office of the Secretary) - ฝายบริการธุรการ (Administrative Service)

- ฝายบริการดานการเงินและการจัดการ (Finacial and Management Service) - ฝายบริการทรัพยากรมนุษย (Human Resource Development Service)

- ฝายวางแผน (Planing Service) - ฝายเทคนิค (Technical Service) - สํานักงานการประถมศึกษา (Bureau of Elementary Education) - สํานักงานการมัธยมศึกษา (Bureau of Secondary Education) - สํานักงานการศึกษาไมเปนทางการ (Bureau of Non-Formal Education) - สํานักงานการศึกษาทางกายภาพ และโรงเรียนกีฬา (Bereau of Physical Education & School Sports) - ศูนยทดสอบและวิจัยทางการศึกษาแหงชาติ (National Educational Testing and Research Center) - คณะกรรมการเฉพาะกิจในการปฏิบัติการตามโครงการพัฒนาการศึกษา (Educational Development Project Implementing Task Force) - สถาบันนักการศึกษาแหงชาติฟลิปปนส (National Educators Academy of the Philippines) - ศูนยกิจการหลักสูตรรวมสําหรับนักเรียน (Center for Students & Co-Curricular Affairs) - ศูนยโภชนาการและสุขภาพของโรงเรียน (School Health and Nutrition Center) 2. คณะกรรมการการอุดมศึกษา (Commission on Higher Education-CHED) ทําหนาที่กํากับดูแลการศึกษาในระดับอุดมศึกษา (วิทยาลัยและมหาวิทยาลัย) สําหรับผูที่จบการศึกษาในระดับมัธยมแลว 3. หนวยการศึกษาดานวิชาชีพและการพัฒนาทักษะ (Technical Education and Skills Development Authority - TESDA) ทําหนาที่กําหนด และกํากับดูแลหลักสูตร รายวิชาตาง ๆ ในการศึกษาสายวิชาชีพ

โครงสรางองคกรท่ีรับผิดชอบในงานดานการศึกษา

Pre-School (Optional)

Formal

Elementary (Compulsory)

Secondary

Technical Vocational Courses

(1 to 3 years)

Undergraduate

Graduate

Post Graduate Formal

BAS I C EDUCAT I ON

POST -SECONDARY EDUCAT I ON

Commission on Higher

4. กฎหมายและแผนงานที่เก่ียวของ การปฏิรูปการศึกษาของฟลิปปนสในชวงที่ผานมา เปนผลมาจากการถูกบังคับ และไดรับ

อิทธิพล ตลอดจนแรงกระตุนจากการออกกฏหมาย และบทบาทเชิงรุกของสถาบันที่เกี่ยวของ ดังนี้ 1. รัฐธรรมนูญ ป 1987 โดยในมาตรา 17 วรรค 11 ไดระบุวา “รัฐจะตองใหความสําคัญตอ

การศึกษา วิทยาศาสตร เทคโนโลยี ศิลปวัฒนธรรม และกีฬา เพื่อที่จะสนับสนุนใหเกิดความรักชาติ และชาตินิยม พรอมกับเรงใหเกิดความกาวหนาทางสังคม และสงเสริมใหมนุษยมีเสรีภาพและการพัฒนา” และในมาตรา 1 วรรค XIV ระบุวา “รัฐจะตองปกปองและสงเสริมสิทธิของพลเมืองทุกคนใหไดรับการศึกษาทุกระดับอยางมีคุณภาพ และจะตองมีความเหมาะสม” นอกจากนี้ในมาตราที่ 5 ยังระบุวา “รัฐจะตองจัดงบประมาณสูงสุดใหกับงานดานการศึกษา และจะตองติดตามการสอนวาดึงดูดและรักษาไวซ่ึงความสามารถพิเศษอยางเหมาะสมและเปนประโยชน ”

รัฐธรรมนูญ ป1987 ไดสะทอนใหเห็นถึงการใหความสําคัญตอเยาวชนในประเทศ นั่นคือ การที่รัฐจัดการศึกษาในขั้นตน (ระดับประถมและมัธยม โดยการศึกษาระดับประถมเปนการศึกษาภาคบังคับสําหรับเด็กที่มีอายุถึงเกณฑตองเขาเรียน) และระดับอุดมศึกษาโดยไมตองเสียคาใชจาย รวมถึงการที่รัฐสนับสนุนใหความสําคัญตอครอบครัวและชุมชน มุงเนนคุณภาพการศึกษา บทบาทของสถาบันเอกชนในการศึกษาระดับอุดมศึกษา รวมทั้งการที่รัฐสงเสริมระบบการเรียนรูนอกระบบ (non-formal learning system) ระบบการเรียนรูตามอัธยาศัย (informal learning system) และระบบการเรียนรูในเชิงทองถ่ิน (indigenous learning system) อยางไรก็ดี นอกเหนือจากรัฐธรรมนูญ ป 1987 แลว ยังมีกฏหมาย และการจัดทําแผนงานที่มีผลตอการปฏิรูปการศึกษาของประเทศฟลิปปนสอีกดวย ไดแก

2. พระราชบัญญัติการศึกษาโดยไมตองเสียคาใชจายในระดับมัธยม ฉบับ ค.ศ. 1988 3. คําประกาศของประธานาธิบดีในป 1989 ที่วา “ใหทศวรรษที่ 1990 เปนทศวรรษแหง

การศึกษาสําหรับทุกคน” 4. แผนงานหลักสําหรับการศึกษาเบื้องตน (Master Plan for Basic Education-MPBE) ในป

1996-2005 5. แผนระยะกลางสําหรับการพัฒนาเยาวชน ค.ศ. 1994-2004 (Medium Term Youth

Development Plan 1994-2004) 5. ความรวมมือระหวางประเทศ ในดานการศึกษา ฟลิปปนสไดพัฒนาความรวมมือกับประเทศตางๆ ทั้งในระดับทวิภาคีและ

พหุภาคี ดังนี้ 1. ระดับพหุภาคี

- ASEAN in Education (SEAMEO) - APEC Education Conference

- UNESCO 2. ระดับทวิภาคี ความรวมมือทางการศึกษาระหวางฟลิปปนสกับออสเตรเลีย (มุงเนนในดานทางการเงินผาน

โครงการวิจัยและฝกอบรมตาง ๆ รวมทั้งความรวมมือในระดับสถาบันอุดมศึกษาระหวางกัน) ฟลิปปนสกับเยอรมัน (การพัฒนาความรวมมือเกี่ยวการสงเสริมการเปดสอนภาษาเยอรมัน) ฟลิปปนสกับญี่ปุน (ดานการฝกอบรมในสายวิชาชีพตางๆ) และฟลิปปนสกับอินเดีย โดยเฉพาะในดานการพัฒนาการศึกษาดาน IT ทั้งนี้ความสัมพันธที่เกิดขึ้นดังกลาวสวนใหญฟลิปปนสเปนฝายรับความชวยเหลือ ในขณะที่ความรวมมือกับบรูไนโดยเฉพาะผานกรอบความรวมมือ BIMP-EAGA มักเปนในลักษณะที่ตางฝายตางชวยเหลือซ่ึงกันและกันมากกวา

6. จุดเดน - ใหการศึกษาเกิดขึ้นกับทุกคน (Education for all) - เนนการเรียนรูแบบตลอดชีวิต (Life – Long Learning) - สรางความแข็งแกรงดานเทคโนโลยี ขอมูลสารสนเทศในทางการศึกษา (ICT in

Education) - มุงความสําคัญในดานการวิจัยและพัฒนา (Research & Development – R&D)

สาธารณรัฐสิงคโปร บทนํา สาธารณรัฐสิงคโปร ซ่ึงตอไปนี้จะเรียกสั้นๆ วา สิงคโปรนั้น เปนประเทศที่มีความเจริญกาวหนาทางเศรษฐกิจในระดับแนวหนาของอาเซียนทั้งๆ ที่มีพื้นที่เล็กมากเพียง 647.5 ตารางกิโลเมตร ตั้งอยูบริเวณปากทางเขาชองแคบมะละกา ซ่ึงเพิ่งจัดตั้งเปนสาธารณรัฐที่มีเอกราชโดยสมบูรณไดเพียงประมาณ 30 ป อีกทั้งเปนพหุสังคมซึ่งประกอบดวยประชากรประมาณ 4.42 ลานคน ไมมีวัฒนธรรมประจําชาติ หากแตใหความหลากหลายนั้นเปนคุณคาทางเศรษฐกิจและสังคม สิงคโปรเปนประเทศประชาธิปไตยในลักษณะที่รัฐบาลมีบทบาทนําในการกําหนดและควบคุมกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคม การปรับปรุงโครงสรางพื้นฐาน สูประเทศพัฒนาแลว ที่เนนทั้งภาคการผลิตดานอุตสาหกรรมและภาคการบริการที่ใชเทคโนโลยีระดับสูง ทั้งในการยกระดับความเชี่ยวชาญการผลิต และการบริการ ดวยแนวคิดเรื่องเสนทางเดินของเทคโนโลยี (Technology Corridor) การเปนเกาะแหงขาวสารขอมูล (Intelligent Island) ในการสรางความหลากหลายทางเศรษฐกิจตั้งแตกอนยางเขาสูศตวรรษที่ 21 ตามดวยแผนพัฒนานวัตกรรมสําหรับศตวรรษที่ 21 เพื่อความพรอมในการแขงขันในตลาดโลก ในการบรรลุเปาหมายที่กําหนดไว สิงคโปรใหความสําคัญกับการลงทุนดานกําลังคนหรือการพัฒนาทุนมนุษยของประเทศเปนอยางมากมาโดยตลอด มีการทุมเทการลงทุนในการจัดระบบการศึกษาและระดับประสิทธิภาพทางการศึกษาในทุกระดับในลักษณะที่พยายามสรางความเปนธรรมและความเปนอันหนึ่งอันเดียวกันทางสังคม เศรษฐกิจและการเมือง เพื่อปองกันปญหาความแตกแยกในสังคม และดวยความปรารถนาใหสิงคโปรเปนศูนยกลางอุดมศึกษาระดับสากลแหงภาคพื้นเอเชียแปซิฟกภายในป 2543

แนวทางการปฏิรูปการศึกษา แนวทางการปฏิรูปการศึกษาในปจจุบันของสิงคโปร เปนการเนนทําใหระบบการศึกษาอํานวยใหนักเรียนทุกคนคนพบปฏิภาณความสามารถของตนเอง กาวสูศักยภาพเต็มขั้นของตน และเกิดเปนความหลงใหลฝกใฝในการเรียนรูซ่ึงฝงตัวไปตลอดชั่วชีวิตในยุคศตวรรษที่ 21

วิสัยทัศนทางการศึกษา ในปจจุบัน สิงคโปรไดกําหนดให “Thinking Schools, Learning Nation” เปนวิสัยทัศนทางการศึกษาสําหรับศตวรรษที่ 21 ซ่ึงหมายถึง การที่สิงคโปรตองการฟูมฟกใหเด็กรุนใหมมีเจตนารมณที่จะคิดในวิถีใหมๆ แกปญหาใหมๆ และสรางโอกาสใหมแกอนาคต

ปรัชญาทางการศึกษา การศึกษาทําหนาที่ 2 ประการ คือ พัฒนาปจเจกชน และใหพลเมืองมีการศึกษา ทั้งนี้ ความคิดสรางสรรค ทักษะในการคิดวิเคราะห ความรับผิดชอบและสายสัมพันธอันแข็งแกรงตอครอบครัว ชุมชน และประเทศชาติ เปนหัวใจสําคัญของอนาคตในยุคศตวรรษที่ 21 ความเคลื่อนไหวทางการศึกษา การปฏิรูประบบการศึกษา

สิงคโปรเปนประเทศที่ใหความสําคัญกับการพัฒนาระบบการศึกษามาตั้งแตเร่ิมไดรับอิสรภาพจากระบอบการปกครองแบบอาณานิคมของอังกฤษเมื่อป 2508 นับถึงปจจุบันนั้น สิงคโปรปฏิรูประบบการศึกษามาไดประมาณ 4 คร้ัง เร่ิมจากนโยบาย Education for All ซ่ึงมีลักษณะของการศึกษาระบบมาตรฐานเดียวและหลักสูตรเดียวซ่ึงกําหนดใหนักเรียนทุกคนตองเรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานภาคบังคับเปนเวลา 10 ป ประกอบดวยระดับประถมศึกษา 6 ป และระดับมัธยมศึกษา 4 ป สวนการเรียนในระดับสูงขึ้นหลังจากนั้นขึ้นกับความสามารถของนักเรียนแตละคน ประกอบกับความสามารถในการรับนักศึกษาและสาขาวิชาที่เปดสอนในสถาบันการศึกษาชั้นสูง แนวนโยบายดังกลาวเปนแนวทางเพื่อความอยูรอด (Survival-driven) และการแกไขปญหาความไมเปนระบบ คานิยมและภาษาที่แตกตางกันไปตั้งแตสมัยอาณานิคม จากการมีโรงเรียนเอกชนจํานวนมากรองรับประชากรหลัก 4 ชาติพันธที่มีอยูในประเทศ คือ จีน มาเลย อินเดีย และเอเชียเชื้อสายยุโรป (Eurasians)

ตอมาในชวงตนทศวรรษที่ 2520 ระหวางที่สิงคโปรมีเศรษฐกิจเจริญกาวหนากวารอยละ 9 ตอป กอนที่จะเขายุคเศรษฐกิจถดถอยในป 2528 นั้น มีการปฏิรูปการศึกษาอีกครั้งอยางเปนระบบมากขึ้น โดยเริ่มเปลี่ยนจากการเนนในเชิงปริมาณสูเชิงคุณภาพ ซ่ึงการเนนในเชิงคุณภาพชวงนี้เปนการเนนในเชิงประสิทธิผล (Efficiency-driven) ซ่ึงมีลักษณะที่เรียกวา ระบบการศึกษาตามความสามารถอันหลากหลายของผูเรียน (Ability-Driven Education System) เนนประสิทธิผลทางการศึกษาดวยตนทุนที่เหมาะสม มีโครงการทางการศึกษาที่ทาทายความสามารถ ศักยภาพและความสนใจซึ่งแตกตางกันไปของผูเรียน มีการลดขนาดชั้นเรียนในการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน เปดโอกาสใหนักเรียนไดเรียนรูและพัฒนากาวไปตามความสามารถทางการศึกษาของตนเอง โครงการศึกษาสําหรับนักเรียนผูมีพรสวรรค (Gifted Education Program) ซ่ึงเริ่มดําเนินการอยางเปนรูปธรรมในป 2527 เปนสวนหนึ่งของแนวทางการศึกษาตามแนวปฏิรูปตั้งแตชวงนั้น

การปฏิรูประบบการศึกษาในระยะที่ 3 อยูในชวงทศวรรษที่ 2535 ถึงกอนกาวเขาสูศตวรรษที่ 21 ดวยแผนพัฒนาทางการศึกษาซึ่งเนนในเชิงกระบวนการเรียนการสอนควบคูไปกับผลลัพธทางการศึกษา เพื่อใหสามารถตอบสนองตอความสามารถอันหลากหลายของผูเรียนมากยิ่งขึ้น ประกอบกับการเนนจิตสํานึกและแรงจูงใจในการใฝเรียนรูดวยสัมฤทธิผลหรือความสําเร็จทางการศึกษาของผูเรียนแตละคน ดวยการทุมทรัพยากรดานเงินทุนทางการศึกษามากขึ้น มีการเนนการบริหารจัดการ

แบบรวมศูนย มีหลักสูตรการเรียนการสอนที่เขมขน และมีการเปลี่ยนจากการประเมินจากภายนอกสูการเนนประเมินจากภายในแตละโรงเรียนและสถาบันการศึกษาดวยความถี่มากขึ้นเพื่อใหสถานศึกษารูจักตนเองมากขึ้น ดวยแรงสนับสนุนอยางแข็งขันจากครอบครัวของผูเรียน การพัฒนากําลังคนดานบุคลากรทางการสอนโดยเนนการฝกอบรม เพื่อใหพัฒนาการทางการศึกษากาวไปอยางมั่นคงมากขึ้น

สําหรับในปจจุบัน เปนการปฏิรูประยะที่ 4 ซ่ึงมุงสูความเปนผูนําทางดานการผลิตทรัพยากรมนุษยรองรับศตวรรษที่ 21 จากวิสัยทัศนและปรัชญาทางการศึกษายุคศตวรรษที่ 21 ขางตน สิงคโปรเห็นวาเปนความทาทายของประเทศในการที่จะพัฒนาและสรางเสริมใหเด็กนักเรียนมีศักยภาพในการคิดสรางสรรคและในการปลูกฝงความฝกใฝในการเรียนรูอยางตอเนื่อง คนพบความสามารถและปฏิภาณของตนเองได และสามารถเปนทรัพยากรสําคัญของประเทศชาติดวยความมั่นใจในความสามารถของตนเอง ดวยการปฏิรูประบบการศึกษาใหมีลักษณะแนวทางดําเนินการดังนี้

1. การสานตอแนวทางเดิมในการเปดโอกาสใหเด็กทุกคนในสิงคโปรไดรับการศึกษาทั่วไป (General education) เปนเวลาอยางนอย 10 ป โดยมีหลักสูตรระดับชาติและการสอบวัดผลระดับชาติเมื่อจบการศึกษาในระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาและเตรียมอุดมศึกษา (Junior college) ตามระบบการศึกษาซึ่งมุงสรางทุนมนุษยคุณภาพสูตลาดการจางงานดังภาพตอไปนี้

2. การริเร่ิมแนวทางใหมโดยการบูรณาการเสริมตอเขาไปในแนวทางเดิมขางตน เพื่อเปดโอกาสใหเด็กนักเรียนสามารถเลือกสถาบันการศึกษาตามจุดแข็งและความสนใจที่แตกตางกันหลังจากที่จบการศึกษาในระดับประถมศึกษาแลว ดังนี้

2.1 ระบบการศึกษาที่มีความยืดหยุน (Flexible) และหลากหลาย (Diverse) มากขึ้น ซ่ึงมุงใหนักเรียนมีทางเลือก (Choice) มากขึ้นและมีความเปนเจาของ (Ownership) กระบวนการเรียนรูของตนเองมากขึ้น

2.1.1 โครงการบูรณาการทางการศึกษา (Integrated Programme) เปนโครงการที่ริเร่ิมขึ้นในป 2548 ในลักษณะของการศึกษาไรขอบ (Seamless) หรือลดข้ันตอนเชิงโครงสรางทางการศึกษาสําหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาที่ตองการมุงสูมหาวิทยาลัยโดยเฉพาะ โดยนักเรียนในโครงการนี้สามารถกาวสูระดับเตรียมอุดมศึกษาไดโดยไมตองผานขั้นตอนปกติ คือ การสอบรับประกาศนียบัตรการศึกษาทั่วไป (Singapore-Cambridge General Certificate of Education: GCE) ระดับ O

2.1.2 ใหมีการจัดตั้งโรงเรียนเชี่ยวชาญเฉพาะดานอยางเปนอิสระ เพื่อพัฒนานักเรียนที่มีความสามารถพิเศษเฉพาะดานการกีฬา คณิตศาสตร วิทยาศาสตร ศิลปะ ใหมีพัฒนาการเต็มความสามารถ โรงเรียนเหลานี้อยูในสังกัดของกระทรวงอื่นนอกจากกระทรวงศึกษาฯ หรือเปนสวนหนึ่งของสถาบันการศึกษาระดับสูงที่มีอยูแลว เชน การจัดตั้งโรงเรียนกีฬา (Singapore Sports School) ในป 2547 ในสังกัดของ Ministry of Community Development and Sports การที่ National University of Singapore (NUS) จัดตั้งโรงเรียนที่เนนสอนดานคณิตศาสตรและวิทยาศาสตรโดยเฉพาะ เรียกวา

NUS High School for Maths and Science และการที่ Ministry of Information, Communication and the Arts จะจัดตั้งโรงเรียนศิลปะ (Arts School) สําหรับนักเรียนวัย 13-18 ปในป 2550

2.1.3 เปดโอกาสใหโรงเรียนเปดสอนวิชาใหมสําหรับระดับ O โมดูลการเรียนการสอนที่เปนวิชาเลือก ตลอดจนวิชาที่เปนการเรียนการสอนทางเลือก (Alternatives) จากระบบหลักสูตรและการสอบที่มีอยูทั่วไป

2.1.4 เปดโอกาสใหมีโครงการใหมๆ ในโรงเรียน เชน โครงการสูความเปนเลิศในโรงเรียนระดับประถมศึกษา เปนตน

2.1.5 ใหมีความยืดหยุนตอการศึกษาเลาเรียน โดยในระดับประถมศึกษานั้น เปดโอกาสใหมีการบูรณาการวิชาตางๆ เขาดวยกัน สวนในระดับมัธยมศึกษานั้น นักเรียนจะเรียนบางวิชาที่มีการเปดสอนในระดับที่สูงกวาที่เรียนอยู หรือ ขอกาวขามไปเรียนวิชาในชั้นที่สูงกวาเดิม

2.1.6 ใหมีความยืดหยุนในการเรียนการสอนดวยภาษาแม เพื่อเปดโอกาสใหนักเรียนซ่ึงมีความสามารถหลากหลายพัฒนาไปไดไกลที่สุดตามความสามารถของตน

2.1.7 การจัดตั้งโรงเรียนเอกชนระดับมัธยมศึกษาและเตรียมอุดมศึกษา กลาวคือ ภาคเอกชนสามารถใชเงินทุนของตนจัดตั้งสถานศึกษาของตนเองได หากแตตองปฏิบัติตามขอบังคับและนโยบายทางการศึกษาที่สําคัญบางประการ เชน นโยบายการสอนสองภาษา การนําวิชาการศึกษาเกี่ยวกับประเทศชาติ (National Education) เขามาใสไวในหลักสูตรการเรียนการสอน ทั้งนี้ กระทรวงศึกษาธิการคาดหมายวาจะมีนักเรียนอยางนอยรอยละ 50 เขาศึกษาในโรงเรียนเอกชน

2.1.8 นับตั้งแตป 2550 เปนตนไป นักเรียนมีอิสระในการเรียนภาษาใดภาษาหนึ่งที่ไมใชภาษาทองถ่ินเปนภาษาที่สาม

2.2 ระบบการศึกษาที่มีฐานกวาง (Broad-based education) มากขึ้น เพื่อพัฒนานักเรียนอยางเปนองครวม (Holistic) ทั้งในและนอกชั้นเรียน

2.2.1 โรงเรียนตั้งแตระดับประถมศึกษาถึงอุดมศึกษามีความยืดหยุนมากขึ้นในการรับนักเรียนโดยตรงตามเกณฑที่โรงเรียนกําหนดขึ้นเอง ซ่ึงอาจหลากหลายแตกตางกันไป

2.2.2 ตั้งแตป 2551เปนตนไป จะมีการใชระบบประกาศนียบัตรจบการศึกษาของโรงเรียน (School Graduation Certification) โดยใหสะทอนถึงสัมฤทธิผลทั้งการเรียนเชิงวิชากรและที่ไมเกี่ยวกับการเรียนเชิงวิชากร

2.2.3 การยอมรับกิจกรรมที่เปนความคิดริเร่ิมของนักเรียน และกิจกรรมการเรียนรูในลักษณะที่มีชุมชนเปนฐาน

นอกจากนี้ ในแตละระดับขั้นของการศึกษา ยังมีการกําหนดผลลัพธเชิงคุณภาพไวอยางชดัเจน

โดยเฉพาะอยางยิ่งในระดับเตรียมอุดมศึกษาและระดับอุดมศึกษานั้นมีการกําหนดผลลัพธเชิงคุณภาพในลักษณะที่สอดรับกับคุณสมบัติของทุนมนุษยช้ันแนวหนาหรือผูที่มีศักยภาพเปนผูนําดังนี้

ผลลัพธทางการศึกษา ผูจบประถมศึกษา ผูจบมัธยมศึกษา ผูจบ Junior College ผูจบอุดมศึกษา ผูท่ีมีศักยภาพเปนผูนํา

แยกถูก-ผิดได มีคุณธรรม มีพลานุภาพและตัดสินใจไดอยางแนวแน

เทิดทูนคุณธรรม ผูกพันตอวัฒนธรรมรากเหงา โดยสามารถเขาใจและเคารพในความแตกตาง มีความรับผิดชอบตอครอบครัว ชุมชนและประเทศชาติ

มุงมั่นที่จะยกระดับสังคมใหดีขึ้น

เรียนรูที่จะแบงปนและใหโอกาสแกผูอื่นกอน

ใสใจและหวงใยผูอื่น มีความรับผิดชอบตอสังคม

เชื่อในหลักการของประเทศดานพหุวัฒนธรรมและระบบความกาวหนาตามขีดความสามารถ พึงพอใจในขอจํากัดตางๆ ของประเทศ โดยยังคงสามารถเล็งเห็นโอกาสตางๆ ได

มีเชิงรุกในการเอาชนะขอจํากัดตางๆ

สามารถสรางมิตรภาพกับผูอื่น

ทํางานเปนทีมและเห็นคุณคาของการทํางานรวมกันในแตละสวน

เขาใจวาในสิ่งที่กระตุนจูงใจผูอื่น

เปนสวนหนึ่งของสังคมที่มีความเมตตากรุณา

มีความเมตตากรุณาตอผูอื่น

กระตือรือรนที่จะเรียนรูอยางมีชีวิตชวีา

บริหารจัดการไดอยางมีความคิดริเร่ิม

มีจิตวิญญาณเปนผูประกอบการอยางสรางสรรค

ยินดีที่จะตอสู แลวภาคภูมิใจในผลงานของตน โดยเห็นคณุคาในการทํางานรวมกับผูอื่น

สามารถกระตุน จูงใจและดึงสวนที่ดีที่สุดออกมาจากผูอื่น

สามารถคิดเพื่อตนเองและแสดงออกมาได

มีฐานกวางและมั่นคงสําหรับการเรียนรูเพิ่มเติม

สามารถคิดอยางเปนอิสระและสรางสรรค

สามารถคิด ใชเหตุผล และเผชิญกับอนาคตอยางมีความมั่นใจในตัวเอง มีความกลาและความมั่นใจที่จะเผชิญกับศัตรู

สามารถกําหนดอนาคตสามารถกําหนดอนาคตไปสูเปาหมายที่วางไว

ภูมิใจในงานของตน เชื่อในความสามารถของตน

ฝาฟนเพื่อความเปนเลิศ สามารถแสวงหาความรู มีกระบวนการในการสรางสรรคความรู และนําความรูมาใชใหเกิดประโยชน

ส าม า รถฟ น ฝ า แ ล ะกาวหนาในเศรษฐกิจฐานความรู

ผูจบประถมศึกษา ผูจบมัธยมศึกษา ผูจบ Junior College ผูจบอุดมศึกษา ผูท่ีมีศักยภาพเปนผูนํา มีพฤติกรรมการแสดงออกและดํารงชีวิตอยางมีสุขภาพดีจนเปนนสิัย

ชื่นชอบความงาม กระตือรือรนที่จะดํารงชีวิตอยางมีรสชาติ

มีความคิดสรางสรรคในเชิงนวัตกรรม ดวยจิตวิญญาณที่จะปรับปรุงใหดีขึ้นอยางตอเนื่อง มีนิสัยในการเรียนรูตลอดชีวิต และมีความรับผิดชอบปลุกฝงในจิตวิญญาณ

มีความคิดสรางสรรคและมีจินตนาการ

รักสิงคโปร รูจักและเชื่อในความเปนสิงคโปร

เขาใจวาอะไรที่จะสามารถนําสิงคโปรสูระดับแนวหนา

คิดในระดับโลกแตฝงรากลึกลงในสิงคโปร

มุงมั่นที่จะเอาชนะสิ่งที่ไมปกติโดยไมลดละ

ที่มา: Ministry of Education, 2004. การปฏิรูปหลักสูตรและการเรียนการสอน

ในปจจุบัน การปฏิรูปในสวนนี้ แบงออกไดเปน 3 สวน คือ 1. สวนหลัก การสอนใหนอยลง เรียนใหมากขึ้น ทั้งนี้ เปนการเนนที่ระดับประถมศึกษา

มัธยมศึกษา และเตรียมอุดมศึกษา ดังนี้ 1.1 การทําใหหลักสูตรการเรียนการสอนวิชาตาง ๆ กระชับขึ้นโดยไมทําใหความแข็งแกรง

ของวิชาตางๆ สูญเสียไป เพื่อใหนักเรียนมีอิสระที่จะเนนความสนใจไปที่ความรูและทักษะหลัก 1.2 โรงเรียนตองเปดโอกาสใหนักเรียนพัฒนาทักษะในการรังสรรคนวัตกรรม และพัฒนา

เอกลักษณของตนเอง 1.3 การทบทวนวิธีการสอบและประเมินวัดผลตางๆ ในลักษณะที่กระตุนใหมีการศึกษา

และทดลองดวยตนเองอยางเปนอิสระ 2. การเพิ่มความเขมขนในแนวนโยบายบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศเขาไปใน

กระบวนการเรียนรูและหลักสูตรการเรียนการสอน โรงเรียนทุกแหงไดรับงบประมาณสนับสนุนดานคอมพิวเตอรและการนําเทคโนโลยีสารสนเทศเขาไปในกระบวนการเรียนรูและหลักสูตรการเรียนการสอน กวา 1.2 พันลานเหรียญสหรัฐฯ มาตั้งแตป 2540

3. หลักสูตรและการวัดผลทั่วไปใหมระดับ A ทั้งนี้ จะเริ่มขึ้นในป 2549 เปนตนไป สําหรับนักเรียนในระดับเตรียมอุดมศึกษาประเภท Junior College (JC) และ Centralised Institute (CI) เพื่อใหสอดรับกับระบบการศึกษาใหมที่เนนความยืดหยุน หลากหลายและฐานกวางทางการศึกษา เพื่อเตรียมนักเรียนเขาสูโลกในศตวรรษที่ 21 ซ่ึงมีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วดานอาชีพการงานดวยความรูและประสบการณหลากหลายสาขาวิชา โดยมีสาระสําคัญแบงออกได 3 ประการคือ

3.1 การอิงความรูสหสาขาวิชา (Multi-disciplinary) รองรับเศรษฐกิจฐานความรูที่กวางขวางมากขึ้น (More Breadth) และมีทางเลือกมากขึ้น (More Options)

3.2 การเนนทักษะในการคิด(Thinking Skills) และการสื่อสาร (Communication Skills) 3.3 การศึกษาแบบรอบรูองครวม (Holistic Education) ผสานทักษะแหงการดําเนินชีวิต

(Life Skills) ทักษะดานความรู (Knowledge Skills) และสาระวิชาตางๆ (Content-based Subjects) 3 ดาน คือ ภาษา มนุษยศาสตร-ศิลปศาสตร และคณิตศาสตร-วิทยาศาสตร เขาดวยกัน เชน นักเรียนในสายมนุษยศาสตร-ศิลปศาสตรจะตองเรียนวิชาในสายคณิตศาสตร-วิทยาศาสตร อยางนอยหนึ่งวิชา และนักเรียนในสายคณิตศาสตร-วิทยาศาสตร จะตองเรียนวิชาในสายมนุษยศาสตร-ศิลปศาสตรอยางนอยหนึ่งวิชา เปนตน

4. สวนที่เปนทางเลือกใหม (Alternative) กอนเขาสูระดับอุดมศึกษา โดยโรงเรียนในระดับมัธยมศึกษาและเตรียมอุดมศึกษาสามารถเลือกที่จะไมใชหลักสูตรและการวัดผลทั่วไป ที่เรียกวา GCE ระดับ O โดยโรงเรียนออกประกาศนียบัตรหรืออนุปริญญาของตนเองโดยอิงการวัดประเมินผลทางการศึกษาแบบสากล เชน Scholastic Assessment Test (SAT) หรือของสถาบันหลักทางการศึกษาชั้นนําของประเทศที่เปนแนวหนาในดานการศึกษา เชน การสอบที่เรียกวา Advanced Placement ของ College Board ของสหรัฐอเมริกา ทั้งนี้ มักเปนในสวนของโรงเรียนเอกชน เชน Anglo-Chinese School ในโครงการบูรณาการ (IP) และโรงเรียนที่เนนความเชี่ยวชาญเฉพาะดาน เชน NUS High School for Mathematics and Science

จากที่กลาวมาขางตน หลักสูตรและแนวทางการเรียนการสอนของสิงคโปรในยุคศตวรรษที่ 21 มีลักษณะซึ่งอาจกลาวในภาพรวมกวางได ดังนี้ ระดับประถมศึกษา ในระดับประถมศึกษานั้น นักเรียนจะตองผานการเรียนพื้นฐาน 4 ป จากชั้นประถมศึกษาปที่ 1 สูช้ันประถมศึกษาปที่ 4 ตอเนื่องดวยการเรียนตอยอดอีก 2 ป ในชั้นประถมศึกษาปที่ 5-6 โดยในขั้นพื้นฐานนั้น เปนการเนนการอานออกเขียนไดพื้นฐานและทักษะการแจงนับเลข ซ่ึงรอยละ 80 ของเวลาที่ใชในการเรียนการสอนตลอดหลักสูตรเปนการเนนใหนักเรียนมีทักษะความรูดานภาษาอังกฤษในระดับที่ใชงานในชีวิตประจําวันได มีทักษะในการใชภาษาแมและคณิตศาสตรอยางดี มีการเริ่มสอนวิชาวิทยาศาสตรตั้งแตช้ันประถมศึกษาปที่ 3 และเริ่มสอนวิชาทางสังคมศาสตรตั้งแตช้ันประถมศึกษาปที่ 4 ทั้งนี้ เมื่อส้ินสุดการศึกษาในชั้นประถมศึกษาปที่ 6 นักเรียนทุกคนจะตองผานการสอบออกจากโรงเรียนประถมเพื่อประเมินความเหมาะสมในการเขาสูระดับมัธยมศึกษา ตั้งแตป 2548 เปนตนไป จะมีการเปลี่ยนแปลงปรับปรุงซึ่งแบงออกเปน การลดขนาดชั้นเรียนสําหรับชั้นประถมศึกษาปที่ 1-2 ความยืดหยุนในการที่โรงเรียนจะอํานวยใหนักเรียนบรรลุสูผลลัพททางการศึกษาสูงสุดดวยการปรับเปลี่ยนหรือบูรณาการการเรียนการสอนและจัดสอบการจบการศึกษาของตนเอง การเปดโอกาสใหโรงเรียนยื่นของรับการสนับสนุนจากกระทรวงศึกษาฯ เปนวงเงินถึง 100,000 เหรียญสิงคโปรเพื่อพัฒนาความเปนเลิศเฉพาะดานที่โรงเรียนกําหนดขึ้น

ระดับมัธยมศึกษา ในระดับมัธยมศึกษานั้น นักเรียนมีสิทธิที่จะเลือกเรียนวิชาพิเศษ/เรงรัด หรือวิชาสามัญตามที่เหมาะกับความสามารถในการเรียนรูและความสนใจของตนดวยหลักสูตร 4-5 ปที่มีจุดเนนแตกตางกันออกไปดังนี้

1. วิชาพิเศษ/เรงรัด (Special/Express Course) เปนวิชา 4 ปเรียนภาษาอังกฤษ ภาษาแม มนุษยศาสตร คณิตศาสตร และวิทยาศาสตร สําหรับสอบรับประกาศนียบัตรการศึกษาทั่วไป (GCE) ระดับ O

2. วิชาปกติ (Normal Course) เปนวิชา 4 ป ซ่ึงอาจเรียนวิชาทํานองเดียวกับวิชาพิเศษ หรือที่เนนในทางเทคนิคปฏิบัติสําหรับสมรรถนะในการอานการพูด คณิตศาสตรและการใชคอมพิวเตอร สําหรับสอบ GCE ระดับ N โดยนักเรียนที่ทําคะแนนสอบไดดีสามารถเรียนตอช้ันปที่ 5 เพื่อสอบ GCE ระดับ O

นับตั้งแตป 2548 เปนตนไป นักเรียนในระดับนี้มีสิทธิ์เขาโครงการบูรณาการ (IP) เพื่อมุงตรงสูระดับเตรียมอุดมศึกษาโดยไมตองผานกระบวนการดาน GCE ระดับ O หากแตมีโอกาสในการศึกษาเรียนรูดวยประสบการณที่กวางขวางกวาการเรียนแบบปกติขางตน เพื่อพัฒนาความสามารถในการคิดสรางสรรค การคิดวิเคราะห และความเปนผูนํา ในปจจุบันโรงเรียนที่เปดสอนตามโครงการนี้ยังมีไมมากนัก ไดแก Anglo-Chinese School, National Junior College, Temasek Junior College, Victoria Junior Collegeโรงเรียนในเครือ Raffles เชน Raffles Girls School (Secondary), Raffles Institution, Raffles Junior College และ โรงเรียนในเครือ Hwa Chong คือ The Chinese High School, Nanyang Girls’ High School และ Hwa Chong Junior College

ระดับเตรียมอุดมศึกษา 1. Junior Colleges/Centralised Institutes เปนการศึกษาในสายสามัญสําหรับผูที่มีคุณสมบัติ

ระดับ O แลว โดย junior college เปนการศึกษา 2 ปกอนเขาร้ัวมหาวิทยาลัย (Pre-university education) สวน Centralised institute ใชเวลาการศึกษา 3 ป ผูที่จบการศึกษาใน 2 สวนนี้สามารถสอบ GCE ระดับ A ซ่ึงผูที่สอบไดคะแนนดีสามารถเลือกเขาศึกษาตอในระดับอุดมศึกษาที่ National University of Singapore หรือ Nanyang Technological University หรือ Singapore Management University หรืออาจเลือกเรียนฝกหัดครูที่ National Institute of Education

2. Polytechnics นอกจากบทบาทในการฝกอบรมแรงงานระดับกลางใหทันตอพัฒนาการทางเทคโนโลยีและทางเศรษฐกิจแลว ยังเปนสถานศึกษาสําคัญสําหรับนักเรียนในสายเทคนิคและพาณิชยซ่ึงสอบผาน GCE ระดับ O สามารถเขาศึกษาตอที่ Singapore Polytechnic หรือ Ngee Ann Polytechnic หรือ Temasek Polytechnic หรือ Nanyang Polytechnic หรือ Republic Polytechnic ซ่ึงเปดสอนหลากหลายสาขาวิชา เชน วิศวกรรม ธุรกิจ การบัญชี พาณิชยทางทะเล ส่ือสารมวลชน การพยาบาล เทคโนโลยีชีวภาพ วิศวอุตสหกรรม การออกแบบสื่อดวยระบบดิจิตอล วิทยาศาสตรประยุกต

การออกแบบผลิตภัณฑ เปนตน นักเรียนที่ไดคะแนนดีๆ นั้น เมื่อเรียนจบมีโอกาสศึกษาตอในระดับอุดมศึกษา

3. Institute of Technical Education (ITE) เปนการศึกษาในสายเทคนิคอาชีวะดานการฝกหดัครู สําหรับนักเรียนทั่วไปที่ผานการสอบระดับ O หรือ N แลว นักเรียนที่ไดคะแนนดีๆ นั้น เมื่อเรียนจบมีโอกาสศึกษาตอในระดับ Polytechnic

ระดับอุดมศึกษา สถาบันอุดมศึกษาในสิงคโปรมีการขยายตัวจาก 2 เปน 3 แหงประกอบดวยสถาบันของรัฐ

และของภาคเอกชน ดังนี้ 1. National University of Singapore (NUS) ประกอบดวยคณะตางๆ ซ่ึงเปดการเรียนการ

สอนตั้งแตระดับปริญญาตรีขึ้นไป ไดแก Arts and Social Sciences, Business, Computing, Design and Environment, Dentistry, Engineering, Law, Medicine and Science ในขณะที่ Yong Siew Toh Conservatory of Music และ University Scholars Programme เปดสอนเฉพาะระดับปริญญาตรี สําหรับระดับ Postgraduate มีเฉพาะที่ Lee Kuan Yew School of Public Policy และ NUS Graduate School for Integrative Sciences and Engineering

2. Nanyang Technological University (NTU) เปนการเนนในดานวิศวกรรมศาสตรหลายแขนง วิทยาศาสตร ธุรกิจและการบัญชี นิเทศศาสตร และการฝกหัดครู ตั้งแตระดับปริญญาตรีถึงปริญญาเอก

3. Singapore Management Univeristy (SMU) เปนสถานศึกษาเอกชนซึ่งไดรับเงินทุนสนับสนุนจากภาครัฐที่เพิ่งจัดตั้งขึ้นเมื่อป 2543 เปดสอนเฉพาะในดานการบริหารจัดการและธุรกิจตั้งแตระดับปริญญาตรีขึ้นไป

ในปจจุบัน รัฐบาลสิงคโปร ไดหันมาใหความสําคัญกับการเปดเสรีใหสถาบันอุดมศึกษาชั้นนําจากตางประเทศ เชน มหาวิทยาลัย John Hopkins มหาวิทยาลัยชิคาโก Wharton School ของมหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนีย เปนตน เขามาจัดการเรียนการสอนในสิงคโปร เพื่อยกระดับคุณภาพทางการศึกษาในระดับอุดมศึกษาโดยผูเรียนไมตองจากบานเมืองไปไหน

การปฏิรูปดานครูและการเรียนการสอนในวิชาชีพครู สิงคโปรเนนการฝกอบรมครูมากกวาการเรียนการสอนวิชาชีพครู โดยเห็นวา ครูมีบทบาท

สําคัญอยางมากตอการบรรลุเปาหมายตางๆ ในการปฏิรูปทางดานการศึกษา ในศตวรรษที่ 21 นี้จึงมีแนวคิดที่จะดําเนินการตอไปนี้

1. ภายในระยะเวลา 5 ปนับแตป 2547 เปนตนไป โรงเรียนตางๆ จะไดรับเงินอุดหนุนประเภทใหเปลาในการเพิ่มบุคลากรครู โดยใหโรงเรียนมีอํานาจมากขึ้นในการบริหารจัดการเงินอุดหนุนดวยตนเอง

2. ครูจะมีโอกาสในการพัฒนาวิชาชีพของตนใหแข็งแกรงและกาวหนามากขึ้น โดยคาดหวงัใหครูในทุกโรงเรียนไดรับการฝกอบรมเพิ่มเติม 30-50 ช่ัวโมง ซ่ึงสูงกวามาตรฐานในระดับสากล

การปฏิรูปทักษะสมรรถนะดานการสอนสําหรับผูที่จะเขาสูวิชาชีพครู หรือการฝกอบรมและสอนเพิ่มเติมบุคลากรครูนั้น เปนความรับผิดชอบหลักของ National Institute of Education (NIE) ซ่ึงเปนสวนหนึ่งของ Nanyang Technological University ประกอบดวยระดับประกาศนียบัตร 2 ป ระดับปริญญาตรี 4 ป และระดับ Postgraduate Diploma in Education/Physical Education

กลไกทางสถาบัน Ministry of Education เปนกลไกหลักในการบริหารจัดการเชิงนโยบาย และกํากับดูแลการนํา

นโยบายสูภาคปฏิบัติโดยอาศัยกลไกรองรับหลายสวนทั้งในเชิงนโยบาย แผน การพัฒนาหลักสูตร การพัฒนาบุคลากร การบริการตางๆ ตอสถาบันการศึกษา ตลอดจนการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา โดยเฉพาะอยางยิ่งในสวนหลังนี้เปนความรับผิดชอบของ Educational Technology Division ซ่ึงมีหนาที่หลักแบงออกได 2 สวนคือ 1) การพัฒนาตนแบบและใหคําปรึกษาหารือในการบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศเขาไปใหสอดรับกับหลักสูตรการเรียนการสอนในแตละสถาบันการศึกษาตางๆ และ 2) การเปนกําลังขับเคลื่อนสงเสริมเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู ซ่ึงรวมถึงการสรางพันธมิตรยุทธศาสตรกับหนวยงานตางๆ ที่เกี่ยวของ การสงเสริมวัฒนธรรมในการวิจัยประยุกตเกี่ยวกับการใชเทคโนโลยีในระบบการศึกษา ตลอดจนการทดลองนวัตกรรมทางเทคโนโลยีและสื่อตางๆ ทั้งนี้ โดยมีการประสานงานอยางใกลชิดกับ Planning Division ซ่ึงมีหนาที่ในการกําหนดและทบทวนนโยบายดานการศึกษา การบริหารจัดการและวิเคราะหขอมูลตางๆ ตลอดจนความรวมมือระหวางประเทศ เพื่อรองรับการตัดสินใจเชิงนโยบายของกระทรวงศึกษาฯ ความรวมมือระหวางประเทศ ความรวมมือระดับพหุภาคี สิงคโปรมีความประสงคจะมีบทบาทนําในการสงเสริมความรวมมือระดับพหุภาคีมากขึ้น ดังเห็นไดจากความคิดริเร่ิมในการจัดตั้ง ASEM Education Hub Network ตั้งแตป 2542 การมีบทบาทนําใน Southeast Asian Ministers of Education Organization (SEAMEO) ความรวมมือระดับทวิภาคี สิงคโปรเร่ิมมีการจัดทําบันทึกความเขาใจดานการศึกษาในระดับรัฐบาลเปนครั้งแรกเมื่อป 2545 โดยเปนการทํากับรัฐบาลของสหรัฐอเมริกา เพื่อกระชับความรวมมือในโครงการความรวมมือ

ตางๆ ตลอดจนการแลกเปลี่ยนบุคลากรและนักเรียนนักศึกษาระหวางสองประเทศนี้ โดยเฉพาะอยางยิ่งในกระบวนการเรียนการสอน ตําราเรียน และการฝกอบรมครูทางดานคณิตศาสตรและวิทยาศาสตร

ความรวมมือกับอินโดนีเซีย ความรวมมือทางดานการศึกษาเริ่มชัดเจนขึ้นในป 2548 ทั้งในระดับกระทรวงศึกษาฯและระดับสถาบันการศึกษา โดยในระดับศึกษาฯนั้น กระทรวงศึกษาฯ ของทั้งสองประเทศไดลงนามในบันทึกความเขาใจ (MOU) ที่มีความครอบคลุม (Comprehensive) ตั้งแตระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานถึงอุดมศึกษา โดยมีสาระตั้งแตการแลกเปลี่ยนขอมูลทางดานการศึกษา การสรางความเชื่อมโยงระหวางโรงเรียนระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาประมาณ 15 แหงในโครงการศึกษาคูแฝด การทํากิจกรรมรวมกันระหวางนักเรียนจากทั้งสองประเทศ การทําวิจัยรวมกัน ไปจนถึงการที่ National University of Singapore และ Nanyang Technological University จะใหทุนการทําวิจัยจํานวน 10 ทุนแกนักวิชาการอินโดนีเซีย นอกจากนี้ กระทรวงศึกษาฯ ของสิงคโปรยังจะรวมมือกับ Regional Language Centre และ Nanyang Polytechnic ในโครงการฝกอบรมครูดานภาษาอังกฤษและ ICT ในอะเจห เปนที่คาดวาจะมีบุคลากรครูจากอะเจหประมาณ 80 คนเขารวมในโครงการฝกอบรมนี้ โครงการความรวมมือระดับกระทรวงฯ ดังกลาวนี้ เปนอีกขึ้นหนึ่งซึ่งกาวไปจากความรวมมือระดับสถาบันอุดมศึกษาที่ดําเนินมากอนหนานั้นแลว ดังเห็นไดจาก MOU ระหวาง Nanyang Technological University ของสิงคโปรกับ University of Indonesia และ Institute of Technology Bandung ของอินโดนีเซีย MOU ระหวาง Singapore Polytechnic กับ Del Polytechnic ของอินโดนีเซีย เปนตน นอกจากนี้สิงคโปรยังจะสรางความรวมมือทางการศึกษากับเวียดนามในป 2548 นี้โดยเนนในสวนของเทคโนโลยีสารสนเทศ ซ่ึงครอบคลุมถึงการและเปลี่ยนบุคลากรทางการศึกษา คณาจารยและนักศึกษา ตลอดจนทุนการศึกษาในการเรียนรูผานกระบวนการเรียนการสอนในสิงคโปรดวย ความรวมมือทางการศึกษาขางตนเปนการสานตอความรวมมือระดับทวิภาคีที่มีอยูกับประเทศช้ันนําทางดานวิทยาศาตรและเทคโนโลยี เชน เยอรมนี ดังเห็นจากความรวมมือระหวาง Technical University of Munich และ National University of Singapore (NUS) ในการจัดตั้งบ The German Institute of Science and Technology (GIST) เพื่อสอนวิชา industrial chemistry ในป 2545 และความรวมมือระหวาง Technical University of Munich กับ Nanyang Technological University (NTU) ในการเปดสอนวิชา industrial ecology ในป 2547

ความกาวหนา/ดัชนีชี้วัดความสําเร็จ ระบบการศึกษาของสิงคโปรเปนระบบการศึกษาที่มีความแข็งแกรง มีประสิทธิภาพและมีการปรับตัวในลักษณะมองไปขางหนาอยูเสมอ ประชากรวัยเด็กของสิงคโปรสวนใหญหรือกวา 3.5 ลานคนมีโอกาสไดรับการศึกษาเลาเรียนโดยเฉลี่ยกวา 12 ป ดวยอัตราการเขาเรียนในระดับอุดมศึกษาที่เพิ่มสูงขึ้นทั้งในสวนที่เปนสายสามัญในมหาวิทยาลัยและในสวนเทคนิควิชาชีพ 2543 2544 2545 2546 2547 Net Enrolment Rate (%)

ประถมศึกษา 96 94 95 94 94 มัธยมศึกษา 92 93 92 93 92

Gross Enrolment Ratio (%)

ประถมศึกษา 97 95 96 95 94 มัธยมศึกษา 99 100 98 99 99 เตรียมอุดม 48 48 49 50 49 อุดมศึกษา 45 45 46 46 47 รวม 88 87 87 87 87

Net Entry Rate (%) ระดับอุดมศึกษา

มหาวิทยาลัย 37.7 40.0 41.3 39.9 42.3 เทคนิควิชาชีพ 21.9 22.3 22.5 22.4 23.3

จํานวนป 12.7 12.6 12.9 12.7 12.6 ที่มา: Ministry of Education, Singapore, 2004.

จุดเดน จุดเดนที่สําคัญในการปฏิรูปการศึกษาของสิงคโปรในปจจุบัน คือ การมุงกาวสูความเปนผูนําทางดานการผลิตทรัพยากรมนุษยรองรับศตวรรษที่ 21 ดวยการสรางดุลภาพทางการศึกษาในเชิงปริมาณและในเชิงคุณภาพ การเนนทําใหระบบการศึกษาอํานวยใหนักเรียนทุกคนคนพบปฏิภาณความสามารถของตนเอง กาวสูศักยภาพเต็มขั้นของตน และเกิดเปนความหลงใหลฝกใฝในการเรียนรูซ่ึงฝงตัวไปตลอดชั่วชีวิตในยุคศตวรรษที่ 21 ดวยการบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศเขาไวกับหลักสูตรและกระบวนการเรียนรู ควบคูกับความรับผิดชอบและสายสัมพันธอันแข็งแกรงตอครอบครัว ชุมชน และประเทศชาติ การใชการศึกษาในการสงเสริมความเขาใจอันดีในชาติตลอดจนความตระหนักและความภาคภูมิใจในการเปนคนสิงคโปร ไมวาจะเปนเชื้อชาติใด ดวยการนําหลักสูตรการศึกษาเกี่ยวกับประเทศชาติ (National Education) ซ่ึงสอดประสานกับการกําหนด

คุณลักษณะของผูสําเร็จการศึกษาในแตละระดับชั้นเพื่อปูทางสูการเปนผูมีศักยภาพในการเปนผูนํา บนแนวทางของการศึกษาที่มีความยืดหยุน (Flexible) และหลากหลาย (Diverse) มากขึ้น ซ่ึงมุงใหนักเรียนมีทางเลือก (Choice) มากขึ้นและมีความเปนเจาของ (Ownership) กระบวนการเรียนรูของตนเองมากขึ้น มีฐานกวาง (Broad-based education) มากขึ้น เพื่อพัฒนานักเรียนอยางเปนองครวม (Holistic) ทั้งในและนอกชั้นเรียน

เอกสารอางอิง George, F.J. 1992. Successful Singapore: A Tiny Nation’s Saga from Founder to Accomplisher. Singapore: SSMB Publishing Division. Gopinathan, S.. 1999. “Preparing for Leadership Education: The Singapore Experience.”

National Institute of Education, Nanyang Technological University. Lim, Gary. 2001. “Gifted Education for Economic Survival: The Case of Singapore.” In

www.ualberta.ca. Lee, Michael H. and S. Gopinathan. 2003. “Hong Kong and Singapore’s Reform Agendas.” Centre for International Higher Education, Boston College. Ministry of Education. 2004. Education Statistics Digest 2004. MOE, Singapore. Ministry of Education. 2004. Educational Factsheet 2004. MOE, Singapore. Ministry of Education. 2004. The Education Landscape in 2004 and Beyond: More Choice for

Students. MOE, Singapore. Ministry of Education. 2005. “Moulding the Future of Our Nation.” In www.moe.gov.sg. Pennington, Matthew. 1999. “Asia takes a crash course in educational reform.”

In www.unesco.org/courier/1999_08/uk/apprend/txt1.htm. Bercuson, K. et al. 1995. Singapore: A Case Study in Rapid Development. Washington, D.C.:

International Monetary Fund, February. โคริน เฟองเกษม. 2541. การพัฒนาเศรษฐกิจการเมืองสิงคโปร. โครงการวิจัยชุด

การพัฒนาเศรษฐกิจการเมืองในเอเชียตะวันออกเฉียงใต สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา ในพระราชูปถัมภสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

อินโดนีเซีย บทนํา

ขอมูลพื้นฐาน อินโดนีเซียเปนประเทศที่ประกอบไปดวยหมูเกาะถึง 13,677 เกาะ แตเกาะที่มีคนอยูอาศัยมี

ประมาณ 6,044 เกาะเทานั้น รอยละ 61 อาศัยอยูบนเกาะชวา อินโดนีเซียมีพื้นที่ 5,085,606 ตารางกิโลเมตร เปนแผนดิน 1,919,443 ตารางกิโลเมตร เปนพื้นที่ทะเล 3,166,163 ตารางกิโลเมตร ซึ่งพื้นที่เกาะเหลานี้แบงออกเปน 4 สวน คือ 1. หมูเกาะซุนดาใหญ ประกอบดวยเกาะชวา สมาตรา บอรเนียว และสุลาเวสี 2. หมูเกาะซุนดานอย ประกอบดวยเกาะเล็กๆ ที่ตั้งอยูทางตะวันออกของเกาะชวา คือ เกาะบาหลี ชุมบาวา ชุมบา ฟลอเรส และติมอร 3. หมูเกาะมาลุกุ หรือหมูเกาะเครื่องเทศตั้งอยูระหวางสุลาเวสีกับอิเรียนจายาบนเกาะนิวกินี 4. อิเรียนจายา อยูทางทิศตะวันตกของปาปวนิวกินี อินโดนีเซียอยูบนเสนทางเชื่อมตอระหวางมหาสมุทรแปซิฟกกับมหาสมุทรอินเดีย เปนสะพานเชื่อมระหวางทวีปเอเชียกับออสเตรเลีย

ประชากรของอินโดนีเซีย มีประมาณ 241,973,879 (ขอมูล พ.ศ. 2549) ประกอบดวยชนพื้นเมืองหลากหลายกลุม ซ่ึงพูดภาษาตางกันกวา 583 ภาษาแตภาษาทางราชการคือ ภาษาอินโดนีเซีย (Indonesian) หรือ Bahasa Indonesia สวนภาษาดัตชเคยเปนภาษาราชการจนกระทั่งถึงป ค.ศ. 1942 ภาษา Bahasa Indonesia จะเปนภาษาที่ใชในโรงเรียน และมีหลายภาษาที่ใชเปนภาษาเขียนนอกจากตัวเขียนโรมัน คือ Javanese, Sudanese, Balinese, Minanghabau และ Batak นอกจากนี้ภาษาอังกฤษยังเปนภาษาที่สองที่ใชสอนในโรงเรียนในปจจุบันนี้ รอยละ 90 ของประชากรสามารถอานออกเขียนได อินโดนีเซียมีมหาวิทยาลัยของรัฐ 49 แหง และของเอกชนกวา 950 แหง ดานศาสนา ชาวอินโดนีเซียรอยละ 87 นับถือศาสนาอิสลาม รอยละ 6 นับถือศาสนาคริสตนิกายโปรแตสแตนท รอยละ 3.5 นับถือศาสนาคริสตนิกายแคทอลิก รอยละ 1.8 นับถือศาสนาฮินดู และรอยละ 1.3 นับถือศาสนาพุทธ อินโดนีเซียเปนพหุสังคมใหญ มีความหลากหลายทางวัฒนธรรม และศาสนา ความยาวนานของประวัติศาสตรกลุมวัฒนธรรมและศาสนา แสดงวา วัฒนธรรมแตละวัฒนธรรมมีความสืบเนื่องอยางมั่นคง และยอมหมายถึงการคงสภาพความหลากหลาย ลักษณะดังกลาวนี้ได ผนวกกับความหลากหลายทางสภาพภูมิศาสตรและภาษาของกลุมชนเชื้อสายตางๆ ซ่ึงมีถึง 300 กลุม มีภาษาตางๆ ถึง 583 ภาษา เชน ภาษาอาเจะห บาตัก (Batak) ซันตัน ชวา ซาซัก ดายัก (Dayak) มินาหาสา (Minahasa) โตราจา (Toraja) บูกิน ฮัลมาเหระ (Halmahera) อัมบน (Anbonese) เจอราม (Ceramese) ภาษาทางการ

ของประเทศคือภาษาอินโดนีเซียมีพื้นฐานมาจากภาษามาเลย และใชกันในทางแถบหมูเกาะเรียว (Riau) ตอมาไดแผออกไป และผสมผสานกับภาษาถิ่นอื่นๆ รวมทั้งภาษาตางชาติ คือภาษาสันสกฤต อาหรับ โปรตุเกส ดัตช จีน อังกฤษ ภาษาทองถ่ินตางๆ ยังคงใชกันอยูตราบจนปจจุบันนี้

ทามกลางความหลากหลายเหลานี้ จะพบวาศาสนาเขามามีสวนโดยอาศัยเหตุปจจัยหลายอยางในการแผขยายทั้งโดยตรงและโดยออม ซ่ึงมีทั้งทางเศรษฐกิจและการคา การแลกเปลี่ยนทางศิลปะและวัฒนธรรม ความสัมพันธทางสังคมโดยการแตงงานและเครือญาติ และโดยเฉพาะอยางยิ่งทางการเมืองการปกครองดวยการเปลี่ยนศาสนาและบทบาทของผูปกครอง เหตุปจจัยเหลานี้ยอมผสมผสานกับพื้นเพทางความเชื่อและวัฒนธรรมดานอื่นของชนในดินแดนนี้ ปรากฏการณการแผขยายศาสนาโดยเหตุปจจัยตางๆ ดังกลาวมีอยูในทุกศาสนา ทั้งศาสนาฮินดู พุทธศาสนา ศาสนาอิสลาม และศาสนาคริสต ดังที่ไดกลาวถึงมาแลวในแงประวัติศาสตร

โดยลักษณะพหุสังคมที่ใหญและกระจายกินอาณาบริเวณทางภูมิศาสตรอยางกวางขวาง เห็นไดชัดวา เพื่อใหประเทศเปนรัฐชาติที่ใหมีความเปนปกแผนมั่นคงไมแตกแยกออกเปนรัฐเล็กรัฐนอย รัฐพยายามกําหนดนโยบายที่รอมชอมระหวางความมั่นคงของประเทศ ซ่ึงอาศัยการรวมศูนยอํานาจ กับการคงเอกลักษณทางวัฒนธรรมตามความตองการของกลุมชนที่หลากหลายในสังคมและความตองการรวมกัน ในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมดานตางๆ สภาพการศึกษาโดยทั่วไป

พัฒนาการทางการศึกษาในภาพรวม การเปลี่ยนแปลงที่สําคัญในการจัดระบบการศึกษาของประเทศอินโดนีเซียไดเกิดขึ้นเมื่ออินโดนีเซียไดประกาศอิสรภาพจัดตั้งสาธารณรัฐ พรอมรัฐธรรมนูญในป ค.ศ.1945 หลังจากนั้นรัฐบาลก็ไดดําเนินการปฏิรูปการศึกษา จนมีระบบการศึกษาที่มั่นคง และเปนแบบแผนการศึกษาของรัฐในปจจุบัน โดยพระราชปญญัติการศึกษา ค.ศ. 1989 และพระราชบัญญัติการศึกษา ค.ศ. 2003 การเปลี่ยนแปลงดังกลาวนับวามีผลกระทบตอการศึกษาทางศาสนาตางๆ ในประวัติศาสตรของอินโดนีเซียดวย และในทางกลับกันศาสนาก็มีผลตอการจัดระบบทางการศึกษาของประเทศ ปฏิสัมพันธหลักระหวางศาสนากับการจัดระบบทางการศึกษาอันเปนที่มาของโครงสรางระบบการศึกษาที่ลักษณะเดนเฉพาะของอินโดนีเซีย เปนปฏิสัมพันธระหวางการศึกษาศาสนาแบบดั้งเดิมของศาสนาอิสลาม ซ่ึงกลายมาเปนศาสนาของชนสวนใหญในประเทศ หลังจากสิ้นอาณาจักรมัชปาหิตในคริสตศตวรรษที่ 16 กับรัฐชาติที่เกิดจากการปลดปลอยตนเองจากลัทธิลาอาณานิคม และความพยายามปรับตัวในโลกปจจุบัน

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ การวางแผนพัฒนาประเทศแสดงถึงบทบาทในการปกครองของรัฐที่มีผลกระทบตอประชาชนทั้งหมดอยางกวางขวาง ในทางการเมือง การกําหนดแผนพัฒนาของรัฐจะเปนที่ยอมรับ

ประกาศใชเปนแนวทางในการพัฒนาประเทศ ไดผานกระบวนการกลุมผลประโยชนทางการเมือง และมวลชนตามสถานการณเฉพาะของประเทศ อินโดนีเซียประกาศใชแผนพัฒนาประเทศเปนแผนพัฒนา 5 ป เรียกวา Rencana Pembangunan Lima Tahun หรือแผนพัฒนา 5 ป เรียกโดยยอวา REPELITA แผนแรก (REPELITA I) เร่ิมใชในชวงป ค.ศ. 1969/70-1973/74 ปจจุบันเปนชวงแผนที่ 8 (ค.ศ. 2003/2004-2007/2008) พิจารณาจากแผนเหลานี้จะเห็นวา สาระของแผนแรกเนนการฟนฟูเศรษฐกิจ โดยเฉพาะอยางยิ่งภาคเกษตรกรรมเปนหลัก แผนตอๆ มาใหความสําคัญกับภาคอุตสาหกรรม และคุณภาพชีวิตโดยอาศัยการจัดการดานการศึกษา สาธารณสุข สวัสดิการ และการวางแผนครอบครัว อยางไรก็ตามการพัฒนาเศรษฐกิจยังปรากฏเปนหลักในทุกแผน อันที่จริงรัฐบาลดัตชและรัฐบาลญี่ปุนในชวงหัวเล้ียวหัวตอของการประกาศเอกราชและรัฐธรรมนูญในป 1945 ก็พยายามเสนอแนวทางพัฒนาโดยเนนเศรษฐกิจ แตไมเปนที่ยอมรับของสังคมทั่วไป เนื่องจากเกรงวา การพัฒนาเปนกลวิธีแสวงหาประโยชนของนักลาอาณานิคม แนวการพัฒนาประเทศในระยะตนกอนป 1970 จึงเปนเรื่อง “อิสรภาพ” และ “การปฏิวัติ” ขบวนการหนึ่งที่แสดงอํานาจเขมแข็งและกวางขวางในการตอตานลัทธิลาอาณานิคมมาตั้งแตตนศตวรรษที่ 19 จนถึงชวงหัวเล้ียวหัวตอของการประกาศอิสรภาพในป 1945 คือกลุมสถาบันการศึกษาศาสนาอิสลามแบบดั้งเดิมที่เรียกวาเปอซันเตรน (Pesantren) หรือ ปอเนาะ (Pondok ) กลุมนี้ไดออกคําประกาศตัดสินที่เรียกวา “ฟตวา” ใหมุสลิมลุกขึ้นปฏิบัติการตอสูที่เรียกวา “ญิฮาด” กับนักลาอาณานิคม ตอมามีคําวา “การทําใหทันสมัย” (modernization) เขามาแทนที่ แมจะมีทรรศนะทวงติงวา แผนพัฒนาของรัฐชวงแรกเปนการเติบโตทางเศรษฐกิจเกินไป จนเปนเหตุใหประเทศพึ่งตางชาติเกินไป แตองคกรพัฒนาเอกชนก็เคลื่อนไหวโดยไดแรงหนุนจากมุสลิม คริสเตียน และคาทอลิก ในการพัฒนาเศรษฐกิจระดับชุมชน โดยถือหลักการมีสวนรวม (participation) ความเปนอิสระ (autonomy) และการพึ่งตนเอง (self-

reliance) กลุมเหลานี้บางกลุมไดรับอิทธิพลจากแนวคิดสังคมนิยมคอมมิวนิสตและเทววิทยาแหงการ

ปลดปลอย (Liberation Theology) ของขบวนการชาวคริสตในละตินอเมริกสตในละตินอเมริกยากรมนุษยจัดเปนหนึ่งในยุทธศาสตรสําคัญของการพัฒนาประเทศของรัฐบาลอินโดนีเซีย ดวยความตระหนักถึงการพัฒนาคนใหมีการศึกษาในระดับที่สามารถเปนแรงสนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชาติใหไปดวยกันไดอยางดี รัฐบาลอินโดนีเซียจึงไดกําหนดโครงการการศึกษาภาคบังคับ 9 ป ตั้งแตป 1994 เปนตนมา โดยมีเปาหมายหลักเพื่อเตรียมคนใหพรอมกับระบบการคาเสรีหรือพรอมเขาสูตลาดโลก โดยเฉพาะอยางยิ่งความสามารถในการแขงขันในเวทีเอเปคและเขตการคาเสรีอาเซียนหรืออาฟตา (ASEAN Free Trade Area – AFTA) แตอยางไรก็ดี ในชวงแรกรัฐบาลอินโดนีเซียตองเผชิญกับขอจํากัดตางๆมากมายที่เกี่ยวของกับระบบการศึกษา อาทิ อัตราของเด็กวัย 7 – 15 ปไมไดรับการศึกษาเปนจํานวนที่สูงมาก รวมไปถึงจํานวนนักเรียนสอบตกและนักเรียนที่จบชั้นประถมแลวไมยอมเรียนตอช้ันมัธยมศึกษา แผนการศึกษาแหงชาติ / ระบบการศึกษา

ระบบและการบริหารการศึกษาของอินโดนีเซียมีรากฐานมาจากรัฐธรรมนูญ ป 1945 (พ.ศ. 2488) เพื่อใหบรรลุเปาหมายของรัฐดังที่ปรากฏในหลักปญจศีล รัฐธรรมนูญ ป 1945 บทที่ 2 มาตรา 31 ระบุวา “(1) พลเมืองทุกคนมีสิทธิที่จะไดรับการศึกษา และ (2) รัฐบาลจะตองจัดตั้งและดําเนินการระบบการศึกษาของชาติ ซ่ึงอยูภายใตพระราชบัญญัติ” กฎหมายรัฐธรรมนูญไดเปนที่มาของการปฏิรูป และการปรับปรุงการศึกษาโดยตลอดมาตราบจนปจจุบัน ทั้งในเรื่องหลักการ แนวทางปฏิบัติ และกฎระเบียบปลีกยอยตางๆ ในการจัดการศึกษา นอกจากนั้นการศึกษายังไดปรับไปตามแผนพัฒนาหาป (Repelita) ซ่ึงแผนที่เนนเรื่องการศึกษามากที่สุดคือแผนพัฒนาที่ 3 (1994/95-1998/99) ที่กําหนดยุทธวิธีการพัฒนาการศึกษาไว 4 ประการ ไดแก

1. ความเสมอภาคโอกาสทางการศึกษา 2. การตอบสนองความจําเปนทางการศึกษา 3. คุณภาพของการศึกษา และ 4. ประสิทธิภาพของการศึกษา

ปจจุบัน อินโดนีเซียใชแผนพัฒนาที่ 8 (ค.ศ. 2003/2004-2007/2008) สาระสําคัญเนนไปที่การพัฒนาเศรษฐกิจและทรัพยากรมนุษยในฐานะที่เปนตัวขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจอีกทีหนึ่ง ในแผนพัฒนาประกอบไปดวยเปาหมายการพัฒนาในดานตางๆ แตที่ เกี่ยวของกับการพัฒนาทางการศึกษาจะอยูในโครงการพัฒนาสองสวน คือสวนที่วาดวยการพัฒนาทรัพยากรมนุษย ( Human Resources Development) โดยระบุวา ในยุคที่มีการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจสูง ส่ิงที่ตองเกิดขึ้นไปพรอมๆกันคือการมีทรัพยากรมนุษยที่มีความรูความสามารถ ซ่ึงการพัฒนาเพื่อใหไดทรัพยากรมนุษยที่มีคุณสมบัติดังกลาว จําเปนตองพัฒนาในทุก ๆดาน ไมวาจะเปนดานศาสนา บุคลิกภาพ สุขภาพ สวัสดิการ การศึกษา วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สมุทรศาสตรและการบิน

อีกสวนหนึ่งระบุอยูในสวนของแผนพัฒนา Center for Building the Training and Education of Development Planning ซ่ึงมีใจความสําคัญวา เพื่อที่จะยกระดับการแขงขันและความสามารถของทรัพยากรมนุษยใหสูงขึ้น จึงใหการสนับสนุนบุคคลที่เกี่ยวของกับงานดานการวางแผนเพื่อพัฒนา ใหมีโอกาสไดศึกษาตอในระดับสูงที่สุดเทาที่จะทําได ทั้งในประเทศและตางประเทศ อีกทั้งยังสงเสริมใหมีการฝกอบรมงานดานการพัฒนาควบคูกันไปดวย

ระบบการศึกษาของรัฐ กระบวนการจัดการศึกษาอิงระบบโครงสรางการศึกษาที่กําหนดไวในพระราชบัญญัติการศึกษา ป 1989 และพระราชบัญญัติการศึกษาป 2003 รัฐบาลอินโดนีเซียไดคํานึงถึงความสําคัญของกระบวนการเรียนรูทุกลักษณะครอบคลุมการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย โดยจําแนกเปนการศึกษาในโรงเรียน (school education) กับการศึกษานอกโรงเรียน (out-of-school education) ตามพระราชบัญญัติการศึกษาป 2003 แบงระดับการศึกษาในโรงเรียนออกเปน 3 ระดับ ไดแก 1. การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2. การศึกษาระดับเตรียมอุดมศึกษา และ 3. การศึกษาระดับอุดมศึกษา 1. การศึกษาขั้นพื้นฐาน เปนการศึกษาภาคบังคับมี 3 ระดับ ไดแก 1.1 โรงเรียนประถมศึกษา (Sekolah Dasar) ใหการศึกษาพื้นฐาน 6 ป สําหรับนักเรียนอายุ 7-12 ป 1.2 โรงเรียนมัธยมศึกษาตอนตน จัดการศึกษา 3 ป สําหรับนักเรียนอายุ 13-15 ป 1.3 โรงเรียนพิเศษจัดการศึกษาสําหรับนักเรียนที่มีปญหาความผิดปกติทางดานรางกายและจิตใจ การศึกษาขั้นพื้นฐานมีเปาหมายเพื่อพัฒนานักเรียนใหมีคุณสมบัติเหมาะสมกับการเปนสมาชิกของสังคม พลเมือง และมนุษยชาติโดยรวมทั้งสามารถศึกษาตอในระดับสูงตอไป 2. การศึกษาระดับเตรียมอุดมศึกษา เปนการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 3 ป สําหรับสายสามัญ และ 3-4 ป สําหรับสายอาชีวศึกษา ประกอบดวยการศึกษาในโรงเรียนสามัญ โรงเรียนอาชีวศึกษา โรงเรียนศาสนา โรงเรียนการศึกษาเพื่อบริการเฉพาะ และโรงเรียนการศึกษาพิเศษ โรงเรียนอาชีวศึกษา มีหลักสูตร 3 ป และ 4 ป แบงเปน 6 กลุมวิชาคือ 1. การเกษตรกรรม และการปาไม 2. เทคโนโลยี และอุตสาหกรรม 3. ธุรกิจ และการจัดการ 4. สวัสดิการสังคม 5. การทองเที่ยว 6. ศิลปะ และหัตถกรรม

การศึกษาระดับเตรียมอุดมศึกษาเนนการขยายความรู การพัฒนาทักษะ และการเตรียมนักเรียนสําหรับศึกษาขั้นสูง หรือมีความสามารถในการประกอบอาชีพ และมีทัศนคติที่ดีตอวิชาชีพ 3. การศึกษาระดับอุดมศึกษา เปนการศึกษาขั้นสูงตอจากการศึกษาระดับเตรียมอุดมศึกษาเปนระดับประกาศนียบัตร 3 ป ระดับปริญญาตรี 4 ป ระดับปริญญาโท 2 ป ระดับปริญญาเอก 3 ป สถาบันระดับอุดมศึกษามีหลายแบบ เชน สถาบันโพลีเทคนิค โรงเรียนการศึกษาขั้นสูง สถาบัน และมหาวิทยาลัย การศึกษาขั้นสูงในสายวิชาการมีวัตถุประสงคหลัก เพื่อสรางความเชี่ยวชาญทางดานวิชาการ เทคโนโลยี และการวิจัยการศึกษาทางสายอาชีพมุงพัฒนาความสามารถในเชิงปฏิบัติการ นอกเหนือจากการศึกษาทั้ง 3 ระดับดังกลาวแลวก็ยังมีการจัดการศึกษาระดับปฐมวัยดวย เปาหมายหลักของการศึกษาปฐมวัยคือ การพัฒนาดานรางกายและจิตใจของนักเรียน เมื่อเด็กตองออกมาจากบานจากครอบครัวมาเขาสังคมที่โรงเรียน การจัดการศึกษาระดับนี้มีวัตถุประสงคเพื่อเตรียมความพรอมของผูเรียนกอนเขาเรียนระดับประถมศึกษา เปนการเตรียมการพัฒนาการขั้นพื้นฐาน พัฒนาทัศนคติ ความรู ทักษะ และความคิดริเร่ิม รูปแบบของการศึกษาปฐมวัยที่ไดผลดี ไดแก การจัดการศึกษาในโรงเรียนอนุบาล หรือสถานอบรมเด็กเล็ก และการเลนเปนกลุม เราจะเห็นไดวา การเรียนในโรงเรียนอนุบาลนั้นเปนสวนหนึ่งของการศึกษาในระบบ ขณะที่การเรียนรูจากการเลนเปนกลุมนั้นจะเปนสวนหนึ่งของการศึกษานอกระบบ การจัดการศึกษากอนวัยเรียนนี้เปนการจัดการศึกษาใหกับเด็กอายุระหวาง 4-6 ขวบ ระยะเวลาเรียน 1-2 ป ขณะที่การเรียนรูโดย “การเลนเปนกลุม” จัดใหกับเด็กอายุ 3 ขวบและต่ํากวา 3 ขวบ ทั้งนี้ การศึกษาในโรงเรียน ดําเนินไปโดยสถาบันการศึกษาจัดการเรียนการสอนตามระดับชั้นที่เกี่ยวโยงกัน และเปนไปอยางตอเนื่อง สวนการศึกษานอกโรงเรียน เปนกิจกรรมการสอนและการเรียนรูซ่ึงยืดหยุน อาจจะมีหรือไมมีระดับชั้นและความตอเนื่อง มีทั้งการศึกษาวิชาทั่วไป ศาสนศึกษา การศึกษาเพื่อการบริการเฉพาะ อาชีวศึกษา รวมทั้งกลุมการศึกษาทั้งชุด A และชุด B (Paket A,B) หลักสูตรเสริมรายไดหรืออ่ืนๆ ที่สามารถศึกษาได เชน การฝกงาน การศึกษาเรียนรูในครอบครัวถือวาเปนการศึกษานอกระบบโรงเรียน ซ่ึงไดปลูกฝงคานิยมทางศาสนา วัฒนธรรม ศีลธรรม และทักษะ การศึกษาเชนนี้เกิดขึ้นนอกระบบโรงเรียนแตอยูในระบบการศึกษาของชาติโดยรวม ซ่ึงรัฐมีแนวโนมที่จะใหความสําคัญมากขึ้น

รูปแบบของการจัดการศึกษา การศึกษาในประเทศอินโดนีเซียมีทั้งการศึกษาในโรงเรียนและนอกโรงเรียน หมายถึง การศึกษาทั้งในระบบและนอกระบบ ซ่ึงประกอบดวยรูปแบบการจัดการศึกษา 7 ประเภท ไดแก 1. การศึกษาทั่วไป หลักในการจัดการศึกษาทั่วไปคือ การจัดการศึกษาเพื่อมุงเนนใหผูเรียนมีความรูทั่วๆ ไป และพัฒนาทักษะในดานตางๆ ของผูเรียนไปจนตลอดหลักสูตรการศึกษาภาคบังคับ

2. อาชีวศึกษา การอาชีวศึกษาเปนการจัดการศึกษาเพื่อเตรียมผูเรียนใหมีความรูความสามารถ มีทักษะในการประกอบอาชีพ มวลประสบการณตางๆ ในหลักสูตรจัดขึ้นอยางสอดคลองกับความตองการของตลาดแรงงาน เมื่อผูเรียนศึกษาจบหลักสูตรอาชีวศึกษาแลวสามารถทํางานไดจริง 3. การศึกษาพิเศษ เปนการจัดการศึกษาสําหรับผูพิการ โดยมีหลักการจัดการศึกษาคือใหผูเรียนมีทักษะความสามารถทางดานรางกายและจิตใจที่ชวยเหลือตัวเองได และสามารถดํารงชีวิตอยูไดในสังคมอยางมีความสุข 4. การบริการศึกษาเฉพาะทาง เปนการจัดการบริการการศึกษาที่มีเปาหมายเพื่อเพิ่มความสามารถเฉพาะงานหรืองานเฉพาะอยาง เพื่อใหบุคคลสามารถทํางานในสํานักงาน หรือการเตรียมเปนเจาหนาที่ทั้งสวนงานภาครัฐ และภาคเอกชน 5. ศาสนศึกษา เปนการจัดการศึกษาที่เตรียมผูเรียนใหมีความรูสึกเกี่ยวกับศาสนาและวิชาอ่ืนๆ ที่เกี่ยวของ และสามารถแสดงบทบาทของผูมีความรูดานศาสนาเปนอยางดี 6. วิชาการศึกษา เปนการจัดการศึกษาที่มีเปาหมายมุงเนนใหผูเรียนมีคามสามารถดานวิทยาศาสตร 7. การศึกษาระดับวิชาชีพ เปนการจัดการศึกษาที่มุงเนนใหผูเรียนมีความรูความสามารถระดับมืออาชีพ ที่มีความสามารถเชื่อโยงความรูและทักษะเขาดวยกัน และปฏิบัติงานไดอยางมืออาชีพในวิชาชีพช้ันสูง นอกจากรูปแบบการจัดการศึกษาดังกลาวขางตน ซ่ึงประกอบดวยการศึกษาทั่วไปสําหรับเด็กปกติ และการศึกษาพิเศษสําหรับเด็กพิการแลว ก็ยังมีการจัดการศึกษาระดับชั้นประถมศึกษาซึ่งเปนโรงเรียนศาสนาอิสลาม จัดการศึกษาโดยกระทรวงศาสนาโดยใชช่ือเรียกวา Madrasah Ibtidaiyah หรือ MI วุฒิที่ไดรับจะเทียบเทากับวุฒิที่ไดจากโรงเรียนประถมศึกษาทั่วไป และมีโรงเรียนศาสนาอิสลามระดับมัธยมศึกษาตอนตนดวย ซ่ึงใชช่ือเรียกวา Madrasah Tsanawlyah หรือ MTs วุฒิที่ไดก็เทียบเทากับวุฒิที่ไดจากโรงเรียนมัธยมศึกษาตอนตนทั่วไปเชนเดียวกัน เนื้อหาวิชาแกนของการศึกษาขั้นพื้นฐานทุกหลักสูตรทุกสถานศึกษาจะประกอบดวย เนื้อหาที่เกี่ยวของกับวิชาปญจศีล (การศึกษาระบบความคิด หรือมโนคติวิทยา) วิชาศาสนา วิชาพลเมือง วิชาภาษาอินโดนีเซีย วิชาการอานและการเขียน วิชาคณิตศาสตร วิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเบื้องตน วิชาภูมิศาสตร วิชาประวัติศาสตรชาติและประวัติศาสตรโลก วิชาหัตถกรรมและศิลปะ วิชาวิทยาศาสตรกายภาพและสุขศึกษา วิชาวาดเขียน วิชาภาษาอังกฤษ และวิชาทองถ่ินศึกษา เนื้อหาเหลานี้ไมไดบงบอกเพียงชื่อวิชาเทานั้น ส่ิงที่มากกวานั้นก็คือ บงชี้วาเปนการศึกษาเนื้อหาสาระที่ตองการมุงเนนการสรางบุคลิกภาพและองคประกอบของความสามารถในดานตางๆ ของทรัพยากรมนุษย ซ่ึงผูเรียนจะไดรับการสอนในโรงเรียนผานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ทั้งนี้การจัดการศึกษาจัดแนวบูรณาการหลากหลายวิชาเชื่อมโยงเนื้อหาซึ่งกันและกัน ไมเนนการสอนเนื้อหารายวิชาใดวิชาหนึ่งอยางเดี่ยวๆ โดยไมมีการเชื่อมโยงกับวิชาใด

แนวทางการปฏิรูปการศึกษา

วิสัยทัศนทางการศึกษา วิสัยทัศนทางการศึกษาของอินโดนีเซียมีดังนี้ “สังคมอินโดนีเซียดํารงอยูอยางสงบสุข เปนประชาธิปไตย มีความยุติธรรม มีความสามารถในการแขงขันกับนานาชาติ มีความเจริญรุงเรืองบนพื้นฐานเอกภาพของสาธารณรัฐอินโดนีเซีย ดวยการมีสวนรวมของประชาชนที่มีความสมบูรณ ความสามารถพึ่งตนเอง ศรัทธาความยําเกรงตอพระเจา คุณธรรม จริยธรรม ความรักในประเทศชาติจงรักภักดีตอกฎหมายและแผนดิน มีความรูและวิทยาการ มีความพากเพียรและระเบียบวินัย” นอกจากนี้ ในพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติป 2003 ไดกําหนดเปาหมาย นโยบายและแผนการดําเนินงาน ซ่ึงครอบคลุมการขยายโอกาสทางการศึกษาและความเสมอภาคทางการศึกษา สงเสริมใหประชากรทุกคนเขาถึงการศึกษาทุกระบบและทุกระดับ และปรับปรุงคุณภาพเกี่ยวกับการศึกษาตลอดเวลา ทั้งนี้ เพื่อใหสอดคลองกับกับความตองการของสังคม และเพื่อพัฒนาการศึกษาที่ใชชุมชนเปนพื้นฐาน

ความเคลื่อนไหวและการปฏิรูปทางการศึกษา กาวสําคัญของการปฏิรูปการศึกษาของอินโดนีเซียคือ การประกาศแผนปฏิบัติการแหงชาติวาดวยนโยบาย “Education for All” ในค.ศ. 2002 โดยมีจุดมุงหมายเพื่อสรางความเสมอภาคทางการศึกษา และเพื่อสรางความมั่นใจวาคนอินโดนีเซียทุกคนไมวาจะเปนเพศใด จะมีฐานะยากจน อยูหางไกลความเจริญหรือเปนผูดอยโอกาสทางสังคม ตองไดรับการศึกษาขั้นพื้นฐานภาคบังคับ 9 ป เพื่อใหบรรลุจุดมุงหมายของนโยบาย “Education for All” รัฐบาลไดกําหนดยุทธศาสตรแหงชาติไวดังนี้ นโยบาย

1. เพิ่มโอกาสทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยเฉพาะกับนักเรียนที่ยากจน 2. ปรับปรุงคุณภาพการใหบริการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 3. เสริมสรางขีดความสามารถในระดับชุมชน โรงเรียนและทองถ่ิน ผานการจัดการใน

โรงเรียน และการมีสวนรวมของของชุมชน ยุทธศาสตร 1. นําทรัพยากรที่มีอยูมาใชใหเกิดประโยชนทางการศึกษา และเพิ่มงบประมาณสําหรับ

สนับสนุนการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2. ใหความสําคัญกับโครงการเรงดวนคือ การจัดหาที่เรียนอยางทั่วถึง และปรับปรุงคุณภาพ

การเรียนการสอน

3. ประสานความรวมมือระหวางรัฐบาลกับผูมีสวนไดสวนเสียทางการศึกษาทุกกลุม รวมถึงเร่ืองงบประมาณที่รัฐบาลทองถ่ินกับสมาชิกชุมชนตองเขามาจัดการรวมกัน

นอกจาก “Education for All” แลว กระทรวงศึกษาฯยังไดเนนเรื่องการฝกอบรมมาตลอด โดยมีการจัดตั้ง “โปรแกรมการฝกอบรมผูฝกงานระบบทวิภาคี” ซ่ึงมีลักษณะเปนการศึกษาในระบบทวิภาคี หมายถึง การจัดมวลประสบการณตามหลักสูตรรวมกันระหวางสวนฝกอบรมหรือสถานศึกษากับสถานประกอบการ เพื่อฝกฝนใหผูเรียนหรือผูฝกงานมีความรูในเชิงทฤษฎี และมีทักษะที่จะปฏิบัติงานไดจริง อันเปนปรัชญาของการจัดการศึกษาอาชีวศึกษาอยางแทจริง อยางไรก็ตาม ความสําเร็จในการจัดหลักสูตรการเรียนรูในระบบนี้ตองอาศัยความรวมมือและความเขาใจในปรัชญาทวิภาคีของทั้งสองฝายคือ สถานประกอบการและสถาบันการศึกษา เพื่อจัดการศึกษาใหบรรลุเปาหมายสมตามเจตนารมณที่ตั้งไว

โปรแกรมการฝกอบรมผูฝกงานระบบทวภิาค ี

ชั้นปท่ี 1

4 เดือน 7 เดือน 1 เดือน 2 เดือน 9 เดือน 2 เดือน 8 เดือน 3 เดือน

ชั้นปท่ี 2 –ชั้นปท่ี 3 ท่ีมา: Alto, Romulita and Others. (2000).Training systems in South-East Asia: VTET accreditation and certification in SEAMEO member countries (with an appendix on Australia). National Centre for Vocational Education Research (NCVER).

เริ่มตนเรียนวิชาพื้นฐาน และทฤษฎีในสถาบัน

ฝกอบรม

ผูเรียนเขาฝกปฏิบัติงาน

ในสถานประกอบการ

ผูเรียนกลับสถาบันการฝกอบรม

เพื่อทดสอบทักษะ

กลับสถานฝกงาน

เพื่ออบรม เพิ่มเติมดาน

ฝกงานขั้นสูง

ที่สถาน ประกอบการ

ผูเรียนกลับมา เรียนวิชาช้ันสูง กับสถาบันฝกอบรม

ผูเรียนเขารับ การฝกงานที่

สถาน ประกอบการ

ผูเรียนวิชา ระดับกลางที่ สถาบัน ฝกอบรม

ความกาวหนา / ดัชนีชี้วัดความสําเร็จ การปฏิรูปการศึกษาในชวง4 – 5 ปมานี้ ทําใหรัฐบาลสามารถวางแผนพัฒนาแรงงานของประเทศ วางแผนกําลังคน วางแผนกําหนดอัตราเงินเดือนและคาตอบแทนได สวนผูเรียนก็สามารถวางแผนการศึกษาของตนเองได การศึกษาในระบบโรงเรียนเริ่มเรียนชั้นประถมศึกษาจนกระทั่งสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ใชเวลาโดยประมาณ 21 ป คือ อายุ 7- อายุ 24 ป ทั้งนี้ หากผูเรียนสนใจเรียนมัธยมศึกษาตอนตนจบแลวไมตองการเรียนตอมัธยมศึกษาตอนปลาย ผูเรียนก็สามารถเปลี่ยนมาเรียนสายอาชีพ 3-4 ปได หรือผูเรียนที่เรียนสายอาชีพเมื่อสําเร็จการศึกษาแลวก็สามารถเปล่ียนมาเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายไดหากตองการเรียนตอในระดับอุดมศึกษา ความรูความสามารถและทักษะในอาชีพในแตละระดับชั้นของการศึกษาเปนตัวบงชี้ระดับของกําลังแรงงานของประเทศ การจัดการศึกษาของประเทศอินโดนีเซียมุงเนนการจัดการเรียนรูแบบบูรณาการ ซ่ึงจะเห็นไดวามีความคลายคลึงกับการจัดการศึกษาของไทยอยูพอสมควร นอกจากนี้ ความพยายามที่จะพัฒนาคนในชาติใหมีความรูความสามารถ เพื่อเตรียมพรอมตอโลกยุคโลกาภิวัตน สงผลใหตัวเลขอัตราการรูหนังสือของนักเรียนที่มีอายุ 10 ปขึ้นไปในชวงระหวางป 1971 – 2000 รวมถึงอัตราการเขาเรียนของนักเรียนวัย 7 – 12 ป มีแนวโนมสูงขึ้นเรื่อยๆ ซ่ึงเปนไปตามเปาหมายของแผนการศึกษาแหงชาติที่รัฐบาลไดวางไว

อัตราการเรียนรูของประชากรวัย 10 ปขึน้ไป (1971- 2000)

เขตเมือง เขตชนบท รวมเขตเมืองและชนบท ป ชาย หญิง ช & ญ ชาย หญิง ช & ญ ชาย หญิง ช & ญ

1971 88.34 70.31 79.07 68.49 46.09 56.97 72.09 50.30 60.92 1980 92.05 79.11 85.53 76.13 57.92 66.85 79.83 62.77 71.16 1990 95.91 88.58 92.21 86.65 74.08 80.28 89.61 78.69 84.08 1993 96.27 89.46 92.80 88.05 76.18 88.05 90.83 80.74 85.72 1995 96.18 89.59 92.83 88.48 76.75 85.54 91.26 81.40 86.26 1998 97.36 92.56 94.92 90.99 81.21 86.04 93.40 85.54 89.42 2000 97.33 92.00 94.64 91.07 81.71 86.38 93.74 86.15 86.92

ท่ีมา: Ministry of Education. (2003). National Plan of Action: Indonesia’s Education for All 2003 / 2015.

อัตราการเขาศึกษาในโรงเรียน(School Participation Rates) ของประชากรวัย 7 – 12 ป (2000)

SPR 7 – 12 Years old Lowest Average Highest

Male - Villages 82.6 93.6 96.9 - Cities 87.7 97.2 100.0 Female - Villages - Cities

84.7 94.3

95.0 98.0

100.0 100.0

ท่ีมา : Ministry of Education. (2003). National Plan of Action: Indonesia’s Education for All 2003 / 2015. จุดเดน ความพยายามขยายโอกาสทางการศึกษาใหกับประชาชนทุกกลุม หรือ “Education for All” ถือเปนนโยบายที่รัฐสงเสริมและพัฒนาอยางจริงจัง แมวาจะยังไมประสบความสําเร็จเนื่องจากโครงสรางการจัดการที่ซับซอน จํานวนประชากรมาก รวมถึงพื้นที่ประเทศที่กวางขวางและกระจัดกระจายเปนเกาะตางๆ ทําใหรัฐบาลตองใชความพยายามอยางมาก ในการพัฒนาทรัพยากรมนุษยใหเปนบุคคลที่มีความรูความสามารถ โดยใชวิธีจัดการศึกษาภาคบังคับ 9 ป โดยมุงหวังจะลดอัตราการไมรูหนังสือของประชากร พรอมกับสรางคนที่มีความรู ทั้งหมดนี้รัฐบาลอินโดนีเซียไดกําหนดไววาตองบรรลเุปาหมายภายในป 2008/2009 นี้

กัมพูชา บทนํา กัมพูชา เปนประเทศสมาชิกอาเซียนลําดับที่ 10 เมื่อป 2542 ตั้งอยูทางภาคใตของคาบสมุทรอินโดจีน เปนประเทศที่เล็กที่สุดในคาบสมุทรนี้ โดยมีพื้นที่ทั้งหมด 181,035 ตามรางกิโลเมตร ประกอบดวยประชากรประมาณ 13 ลานคน ถึงแมวา ประชาชนในกัมพูชาแบงออกเปนชนชาติตางๆ ประมาณ 20 เชื้อชาติ แตสวนใหญ (รอยละ 90) เปนชาวเขมร ชนกลุมนอยที่มีจํานวนมากไดแก ชาวญวน ชาวจีน และชาวจาม ซ่ึงมีปญหาความขัดแยงทางการเมืองมากกวาทางวัฒนธรรม สวนใหญ (รอยละ 95) นับถือศาสนาพุทธ นอกนั้นเปนศาสนาอิสลามและคริสต กัมพูชาไมมีปญหาความหลากหลายทางภาษาในทองถ่ิน ภาษาประจําชาติ คือ ภาษาเขมร อีกทั้งเปนภาษาราชการ สวนภาษาที่ใชในการติดตอธุรกิจประกอบดวยภาษาอังกฤษ ภาษาเวียดนาม และภาษาจีน ในทางการเมืองนั้น กัมพูชา เปนประเทศที่ไดเปล่ียนแปลงการปกครองจากระบอบสังคมนิยมสูระบอบประชาธิปไตย เมื่อป 2532 โดยในปจจุบันนั้นประกอบดวย 2 พรรคการเมือง คือ พรรคประชาชนกัมพูชา (Cambodian People’s Party) และพรรคฟุนซินเปค (National United Front for an Independent, Neutral, Peaceful and Cooperative Cambodia: FUNCINPEC) จากการที่กัมพูชาเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสังคมนิยมสูระบอบประชาธิปไตยนั้น ในทางเศรษฐกิจไดมีการปฏิรูปเศรษฐกิจจากระบบสังคมนิยมเปนระบบเศรษฐกิจการตลาดดวย โดยยังคงดํารงฐานะเปนประเทศเกษตรกรรมและมีการเติบโตทางเศรษฐกิจคอนขางชา เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศสมาชิกอื่นๆ ของอาเซียนแลว นับไดวา กัมพูชาเพิ่งใหความสําคัญกับการพัฒนาประเทศมาไดไมนาน หลังจากที่ตองเผชิญกับปญหาความขัดแยงและความไมสงบทางการเมืองนับทศวรรษซึ่งมีผลตอการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศเปนอยางมาก กัมพูชานับเปนประเทศที่ประสบภัยพิบัติจากภาวะสงครามยาวนานที่สุดในคาบสมุทรอินโดจีน

การพัฒนาประเทศเปนสวนหนึ่งของนโยบายการบริหารประเทศใหพนจากปญหาความยากจนไปสูความเจริญรุงเรือง โดยเริ่มตั้งแตการเนนความสนใจไปที่ “ความตองการขั้นพื้นฐาน” ในชวงตนทศวรรษที่ 1990 สูการฟนฟูและพัฒนาประเทศ ทั้งในเชิงกายภาพ และในเชิงคุณภาพ

ในชวงหลังของทศวรรษที่ 1990 โดยการรักษาอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศที่รอยละ 6-7 ตอป การกระจายความเจริญไปสูชนบท การจัดการดานสิ่งแวดลอม และการใชทรัพยากรธรรมชาติอยางเหมาะสมและยั่งยืน ซ่ึงในทางปฏิบัตินั้น การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของกัมพูชายังไมถึงเปาหมายที่กําหนดไวอีกทั้งมีแนวโนมลดลงในชวง 2544-2547 ที่อัตราเฉลี่ยรอยละ 5 ในขณะเดียวกัน กัมพูชายังประสบปญหาทางสังคมที่ซับซอนมากขึ้น โดยมีปญหาสําคัญคือ ความยากจนและการพัฒนาที่เหล่ือมลํ้าระหวางเมืองกับชนบท

เมื่อพิจารณาจากดัชนีการพัฒนามนุษยจาก 174 ประเทศในป 1997 กัมพูชาอยูเพียงลําดับที่ 137 ในป 1999 ประชากรเกือบรอยละ 40 ของประเทศยังคงยากจน โดยเฉพาะอยางยิ่งในแถบชนบทซ่ึงเปนประชากรสวนใหญของประเทศ กลุมประชากรดังกลาวมีแนวโนมทวีตัวมากขึ้น โดยเฉพาะอยางยิ่งในสวนประชากรวัยเรียนจากประมาณรอยละ 45 ในชวงปลายทศวรรษที่ 1990 เปนประมาณ 1-1.5 ลานคนในชวง 10 ป

ปญหาการพัฒนามนุษยดังกลาวเปนผลสวนหนึ่งจากปญหาทางการเมืองและเศรษฐกิจ ถึงแมวาจะเริ่มดวยการใหความสําคัญกับการพัฒนาการศึกษาตั้งแตไดรับเอกราชเมื่อป 2496 ความสําคัญที่ไดรับมีลักษณะลุมๆ ดอนๆ ตามภาวะปญหาทางการเมืองและเศรษฐกิจ รัฐบาลกัมพูชาภายหลังการเลือกตั้งทั่วไปในป 2536 ตามขอตกลงปารีสไดใหความสําคัญแกการพัฒนาการศึกษามากขึ้น มีความพยายามในการสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาภาคเอกชนในตางจังหวัดเสมือนประเทศเสรีนิยมทั้งหลาย โดยกําหนดใหการศึกษา เปนสวนสําคัญสวนหนึ่งของเปาหมายในการลดปญหาความยากจนของประเทศเพื่อยกระดับศักยภาพการแขงขันทางเศรษฐกิจของประเทศสูระดับสากลซึ่งมีทรัพยากรมนุษยเปนฐาน

ในการดําเนินการดังกลาว แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 1 (2539-2543) ไดกําหนดแนวทางกวางๆ ในเชิงนโยบาย ยุทธศาสตรและเปาหมายในการพัฒนาการศึกษา 3 ประการคือ การประชาชนไดรับการศึกษาอยางเทาเทียมกันโดยทั่ว การยกระดับคุณภาพทางการศึกษา และการปรับปรุงการวางแผนบริหารจัดการดานการศึกษาใหเข็มแข็งมากขึ้น โดยมีแผนการลงทุนดานการศึกษารองรับในชวงป 2538-2543 จากการปรึกษาหารือกับองคการระหวางประเทศที่เกี่ยวของในระดับหนึ่ง แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 2 (2544-2548) เปนการสานตอแนวทางการพัฒนาการศึกษาที่เนนถึงระดับแผนปฏิบัติมากขึ้น แนวทางการปฏิรูปการศึกษา

วิสัยทัศนทางการศึกษา วิสัยทัศนทางการศึกษาของกัมพูชาในปจจุบัน คือ การพัฒนาทรัพยากรมนุษยใหมีคุณภาพ

สูงสุดเพื่อทําใหกัมพูชาเปนสังคมฐานความรู ปรัชญาทางการศึกษา

การทําใหประชากรวัยเยาวชาวกัมพูชามีพัฒนาการอยางเปนองครวม (Holistic) ดวยการศึกษาและทักษะทางเทคนิคที่ดีขึ้น ดวยความรูสึกภาคภูมิใจในชาติ ดวยคุณธรรมและจริยธรรมในระดับมาตรฐานสูง และดวยความเชื่อมั่นอยางแรงกลาในความรับผิดชอบตออนาคตของตน

ความเคลื่อนไหวทางการศึกษา การปฏิรูปทางการศึกษาเปนสวนหนึ่งของวิถีชีวิตของชาวกัมพูชาที่เปลี่ยนแปลงไปตามการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง เศรษฐกิจและสังคม จากระบบการศึกษาแบบฝรั่งเศสซึ่งกําหนดระยะเวลาในการศึกษา 13 ป (6+4+2+1) ในชวงกอนป 2518 กัมพูชาไดนําระบบการศึกษา 10 ป (4+3+3) มาใชในป 2522 ตามดวยการขยายเปน 11 ปในชวงป 2529-2539 ตอมาในป 2540 มีการนําระบบการศึกษา 12 ป (6+3+3) มาใชควบคูกับการปฏิรูปหลักสูตร การปรับปรุงตําราการเรียนการสอน ทักษะการสอน ระบบการศึกษา 12 ปดังกลาวยังคงใชตอมาจนถึงปจจุบัน ซ่ึงตามกรอบของระบบการศึกษานี้กําหนดใหปการศึกษาหนึ่งๆ มีระยะเวลาการเรียน 38 สัปดาหๆง ละ 5 วันๆ ละ 6 คาบ ซ่ึงนับไดวาเปนการเพิ่มชวงระยะเวลาแหงการเรียนรูแกนักเรียนเมื่อเปรียบเทียบกับระบบเกาซึ่งมีระยะเวลาการเรียนเพียง 32-33 สัปดาห แบงออกเปนวันละ 4 ช่ัวโมง ถึงแมวาระบบการศึกษา 12 ปดังกลาวยังคงใชตอมาจนถึงปจจุบัน แตไดมีการปรับปรุงเรื่องช่ัวโมงการเรียนการสอนใหเหลือเพียง 5 คาบ ๆ ละ 40 นาที เพื่อใหรองรับกับปญหาการขาดแคลนหองเรียน เปนที่นาสังเกตวา การปฏิรูปการศึกษาที่รัฐบาลกัมพูชาใหความสําคัญมากที่สุดในปจจุบัน คือ การปฏิรูปการศึกษาในแนวทางที่เรียกวา Education for All ซ่ึงเปนแนวทางในการรองรับนโยบายของรัฐบาลที่เนนคนจนเปนศูนยกลาง

ในการปฏิรูปการศึกษาแนวทางที่เรียกวา Education for All ดังกลาวนั้น มิใชเพียงการขยายการศึกษาใหทั่วถึงแกประชาชนทุกคน หากแตยังเนนการยกระดับคุณภาพของการศึกษาสูระดับมาตรฐานสากลและภูมิภาคสําหรับประชาชนทุกเพศ ทุกวัย ทุกระดับสถานะทางเศรษฐกิจ ทุกพื้นที่ ทุกเชื้อชาติ แมผูพิการทางรางกาย แนวทางดังกลาวใชควบคูกับแนวทางการมีสวนรวมในลักษณะหุนสวน (Partnership) จากสวนทั้งในและนอกภาครัฐ การสงเสริมการศึกษาภาคเอกชน ตลอดจนการสงเสริมการศึกษานอกระบบแนวทางการเรียนรูตลอดชีวิตที่มีชุมชนเปนฐาน (Community-based Lifelong Learning) ทั้งนี้ เพื่อใหสอดรับเปาหมายระยะยาว 2 ประการคือ 1) เปาหมายแหงชาติ: การลดจํานวนคนยากจนภายในประเทศลงไปใหไดรอยละ 50 ภายในป 2558 และ 2) เปาหมายที่กัมพูชาได

ผูกพันไวกับระดับพหุภาคี คือ Millennium Development Goals: การศึกษาขั้นประถมอยางทั่วถึง และความเทาเทียมกันดานการศึกษาระหวางเพศชายและเพศหญิงภายในป 2558

แผนยุทธศาสตร แผนยุทธศาสตรระดับชาติในการขยายโอกาสทางการศึกษาคุณภาพอยางทั่วถึงประกอบดวยแผนระยะสั้น 2544-2545 แผนระยะยาว 2546-2558 และแผนระยะกลาง 2547-2551 โดยแผนระยะยาว 2546-2558 และแผนระยะกลาง 2547-2551 เปนการปรับปรุงจากดวยแผนระยะ 2544-2545 ประกอบกับแผนยุทธศาสตรในการลดภาวะความยากจน (Poverty Reduction Strategic Plan: PRSP) เมื่อป 2545 เปนฐาน โดยใหสอดรับกับแนวโนมการเปลี่ยนแปลงทางประชากรและเศรษฐกิจระดับมหภาคในชวง 10-15 ปขางหนาของกัมพูชา รวมกับแนวทางในการประชุม World Education Forum และ Millennium Development Goals ซ่ึงเนน Education for All แผนระยะยาว 2546-2558 นั้น ตั้งกําหนดใหกัมพูชาบรรลุเปาหมายตอไปนี้ภายในป 2558

1. การเขารับการศึกษาขั้นพื้นฐานเพิ่มสูงขึ้นเปน 3.8 ลานคน 2. การเพิ่มชั่วโมงการเรียนการสอนในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา 3. การเพิ่มหองเรียนและสถานที่เรียนในพื้นที่ขาดแคลน 4. การเพิ่มปริมาณและคุณภาพครูและการฝกหัดครู โดยเนนสําหรับระดับมัธยมศึกษามาก

ขึ้นปละประมาณ 10,000 คน ดวยอัตราเงินเดือนเพิ่มสูงขึ้นรอยละ 3-5 ตอป สําหรับแผนยุทธศาสตรทางศึกษาที่เรียกวา Strategic Plan 2004/08 (พ.ศ. 2547-2551) หรือที่

เรียกโดยยอวา ESP 2004/08 มีเปาหมายระยะยาวในการทําใหเด็กและเยาวชนชาวกัมพูชาทุกคนไดรับโอกาสทางการศึกษาที่มีคุณภาพอยางทั่วถึง ทุกระดับสถานะทางเศรษฐกิจ ทุกเพศ ทุกพื้นที่ ทุกเชื้อชาติ แมผูพิการทางรางกาย เพื่อใหสอดรับกับรัฐธรรมนูญของประเทศและความผูกพันที่ทางรัฐบาลมีตอ U.N. Convention on the Rights of the Child คําวา การศึกษาที่มีคุณภาพนั้น กัมพูชามุงใหผูสําเร็จการศึกษามีคุณภาพตามมาตรฐานสากลและภูมิภาค ในลักษณะที่สามารถแขงขันไดในตลาดแรงงานโลกและตลาดแรงงานตางๆ ในภูมิภาค ตลอดจนสามารถเปนกลไกขับเคลื่อนใหสังคมและเศรษฐกิจพัฒนาตอไป ESP 2004/08 เนนการปฏิรูปสวนที่มีความสําคัญสูงสุดในทางนโยบาย 5 สวนคือ การศึกษาขั้นพื้นฐาน (Basic Education) การศึกษาหลังจากขั้นพื้นฐาน (Post Basic Education) การบริหารจัดการในลักษณะกระจายอํานาจ และความรวมมือดานเงินทุนเพื่อการศึกษา

การปฏิรูปการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่ออํานวยใหประชาชนชาวกัมพูชาทุกคนไดรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน (Education for All)

กัมพูชาไดมีการปรับปรุงในเชิงนโยบาย กลยุทธและกลุมเปาหมายทั้งในเชิงปริมาณการเขารับการศึกษาและในเชิงคุณภาพหรือประสิทธิภาพของการศึกษาดังนี้

1. การศึกษาระดับประถมศึกษา (Primary) และมัธยมศึกษาตอนตน (Lower Secondary) การปฏิรูปการศึกษาระดับประถมศึกษาและมธัยมศึกษาตอนตนครอบคลุมทั้งในเชิงปริมาณการเขารับการศึกษาและในเชิงคุณภาพ 6 ประการ คือ

1.1 การเพิ่มจํานวนนักเรียนที่เขารับการศึกษาระดับเกรด 1-6 และเกรด 7-9 โดยกําหนดเปาหมายดังนี้ คือ

- 2.4 ลานคนสําหรับการศึกษาระดับเกรด 1-6 ดวย net enrolment rates รอยละ 96 - 1.0 ลานคนการศึกษาระดับเกรด 7-9 ดวย net enrolment rates รอยละ 50

1.2 การจัดการศึกษาใหไดรับอยางเทาเทียมกันและมีดุลยภาพทั้งดานเพศ ฐานะทางเศรษฐกิจสังคม และถ่ินที่อยูระหวางเขตชนบทกับเขตเมือง โดยมีเปาหมายดังนี้ คือ

- สําหรับการศึกษาระดับเกรด 1-6 เนนการจัดการศึกษาใหไดรับอยางเทาเทียมกันดานเพศ ฐานะทางเศรษฐกิจสังคม และถ่ินที่อยูระหวางเขตชนบทกับเขตเมือง

- สําหรับการศึกษาระดับเกรด 7-9: รอยละ 45 เปนเพศหญิง รอยละ 80 จากเขตชนบท และรอยละ 15 จากครอบครัวที่ยากจนที่สุด

1.3 การเพิ่มจํานวนเด็กวัย 6 ปใหเขารับการศึกษาระดับเกรด 1 โดยมีเปาหมาย Net intake rate ที่รอยละ 95 อยางเทาเทียมกันกันทั้งเพศหญิงและเพศชาย

1.4 การกําหนดขอบเขตอายุสําหรับชั้นอนุบาลไวที่อายุ 5 ป ดวยเปาหมายในการเพิ่มจํานวนใหไดถึง 88,000 คนเด็กอนุบาล และจํานวน 20,000 คนอยางเทาเทียมกันกันทั้งเพศหญิงและเพศชายสําหรับเด็กในโครงการที่ชุมชนจัดขึ้น(Community-based approach)

1.5 การยกระดับอัตรา Survival rate ทั้งในระดับเกรด 1-6 และระดับเกรด 7-9 โดยกําหนดเปาหมายดังนี้ คือ

- รอยละ 60 สําหรับการศึกษาในระดับเกรด 1-6 อยางเทาเทียมกันกันทั้งเพศหญิงและเพศชาย

- รอยละ 90 สําหรับการศึกษาในระดับเกรด 7-9 อยางเทาเทียมกันกันทั้งเพศหญิงและเพศชาย

1.6 การเพิ่มอัตราการเรียนตอสําหรับการศึกษาในระดับเกรด 1-6 และระดับเกรด 7-9 ใหอยูที่อัตรารอยละ 95 อยางเทาเทียมกันกันทั้งหญิงและชาย

2. การศึกษานอกระบบ และการรูหนังสือของผูใหญ การปฏิรูปการศึกษาในสวนนี้เปนการเนนใหผูที่ออกจากระบบการศึกษาขั้นพื้นฐานไปแลวกลับเขารับการศึกษาไดตั้งแตระดับเกรด 3 ถึงเกรด 9 ดวยแนวทางและเปาหมายดังนี้

- การเพิ่มจํานวนผูที่ออกจากการศึกษาไปแลวไมถึง 3 ปใหกลับเขารับการศึกษาใหมใหไดถึง120,000 คนตอปตั้งแตป 2548 เปนตนไปประกอบดวยระดับเกรด 3-6 จํานวน 80,000 คน และเกรด 7-9 จํานวน 40,000 คนตอป โดยใหมีสัดสวนของเพศหญิงรอยละ 60 และจากครอบครัวยากจนรอยละ 60

- การเพิ่มจํานวนผูที่ออกจากการศึกษาไปแลวเกินกวา 3 ปใหกลับเขารับการศึกษาใหมใหไดถึง150,000 คนตอปตั้งแตป 2548 เปนตนไปประกอบดวยระดับเกรด 3-6 จํานวน 25,000 คน เกรด 7-9 จํานวน 75,000 คน และเกรด 10-12 จํานวน 50,000 คนตอป โดยใหมีสัดสวนของเพศหญิงรอยละ 60 และผูที่มาจากครอบครัวยากจนรอยละ 60

- การขยายการมีสวนรวมในลักษณะหุนสวน (Partnership) ของประชาชน ชุมชน และองคการพัฒนาเอกชนในโครงการรูหนังสือของผูใหญ บริเวณชายแดนและพื้นที่หางไกลความเจริญ ใหมีจํานวนเพิ่มขึ้นถึง 120,000 คนตอปนับตั้งแตป 2548 โดยใหมีสัดสวนของเพศหญิงรอยละ 60 และจากครอบครัวยากจนรอยละ 60

การปฏิรูปการศึกษาระดับมัธยมศึกษาและอุดมศึกษา 1. การศึกษาระดับมัธยมปลาย (Upper Secondary) การปฏิรูปการศึกษาในระดับมัธยมปลาย

นี้เปนการเนนที่การริเร่ิมโรงเรียนตนแบบสําหรับระดับเกรด 10-12 จํานวน 30 แหง และการขยายโอกาสทางการศึกษาในระดับดังกลาวไปยังพื้นที่ดอยพัฒนา ดังนี้

- การเพิ่มจํานวนผูเขารับการศึกษา (Enrolment) ระดับเกรด 10-12 โดยใหเพศหญิงมีสัดสวนเพิ่มสูงขึ้น โดยมีเปาหมายใหมีผูเขารับการศึกษาทั้งหมดเพิ่มขึ้นเปน 300,000 คนภายในป 2551 และใหมีสัดสวนของเพศหญิงถึงรอยละ 40 คิดเปน net enrolment rate รอยละ 25

- การริเร่ิมเครือขายโรงเรียนตนแบบที่ไดรับการสนับสนุนทางการเงินใหดํารงอยูไดอยางยั่งยืนตามระบบการคัดสรร ทั้งนี้มีเปาหมายใหไดโรงเรียนตนแบบจํานวน 30 แหงภายในป 2549 (อยางนอยจังหวัดละหนึ่งแหง) โดยมีเปาหมายดานผูเขารับการศึกษาทั้งหมดจํานวน 40,000 คนภายในป 2551 คิดเปนเพศหญิงรอยละ 40 และผูที่มาจากครอบครัวยากจนรอยละ 20

- การริเร่ิมโครงการทุนการศึกษาที่มีเงินทุนสูงสําหรับผูยากจนที่สอบผานระดับเกรด 9 และผูที่ผานเกณฑการคัดเลือกของโรงเรียนตนแบบ ทั้งนี้ ไดตั้งเปาหมายสําหรับทุนการศึกษาไวที่จํานวน 1,000 ทุนตอป ดวยสัดสวนของเพศหญิงที่รอยละ 40

- การริเร่ิมโครงการทุนการศึกษาที่มีเงินทุนต่ําสําหรับผูยากจนที่สอบผานระดับเกรด 9 ในโรงเรียนมัธยมอื่น จํานวน 3,500 ทุนตอป ดวยสัดสวนของเพศหญิงที่รอยละ 40

2. การศึกษาระดับอาชีวศึกษา (TVET) และการฝกอบรมดานทักษะแกเยาวชน (Youth Skills Training) การปฏิรูปการศึกษาในสวนนี้ เนนหลักการสนองความตองการของตลาด (Demand-side approach) ประกอบกับหลักการมีสวนรวมอยางแข็งขันในลักษณะหุนสวนของภาคเอกชน ตลอดจนการประสานงานในการจัดการทางนโยบายและการดําเนินโครงการตางๆ กับกระทรวงอื่นที่เกี่ยวของ ซ่ึงในกรณีนี้ คือ Ministry of Labour and Vocational Training โดยขยายตอโครงการที่มีอยูแลว เชน โครงการฝกทักษะโดยผูฝกไดรับคาตอบแทนจากบรรษัทเอกชน โครงการความรวมมือกับองคกรพัฒนาเอกชน และโครงการของภาครัฐดังนี้

- การเพิ่มจํานวนเยาวชนผูเขารับการฝกทักษะในสถานประกอบการและองคกรพัฒนาเอกชนที่เกี่ยวของ 250,000 คนตอปนับตั้งแตป 2549 โดยใหเพศหญิงมีสัดสวนรอยละ 40 และผูที่มาจากครอบครัวยากจนมีสัดสวนรอยละ 50

- การเพิ่มจํานวนเยาวชนผูเขารับการฝกทักษะและ community-based informal education ตามศูนยตางๆ ในหมูบานที่เครือขาย Community Lifelong Learning Centres (CLLC) 250,000 คนตอปนับตั้งแตป 2549 โดยใหเพศหญิงมีสัดสวนรอยละ 40 และผูที่มาจากครอบครัวยากจนมีสัดสวนรอยละ 50

- การรักษาอัตราการเขารับการศึกษาระดับเทคนิคในสถานศึกษาระดับอาชีวศึกษาของภาครฐั 2 แหงไมใหลดต่ําลงไปกวาเดิมดวยเปาหมายผูเขารับการศึกษาจํานวน 2,000 คนตอปนับตั้งแตป 2547 โดยใหเพศหญิงมีสัดสวนรอยละ 40 และผูที่มาจากครอบครัวยากจนมีสัดสวนรอยละ 30

3. การศึกษาระดับอุดมศึกษา (Higher Education) การปฏิรูปการศึกษาในสวนนี้เปนไปตามนโยบายของประเทศกัมพูชาซึ่งตองการใหมีการขยายการศึกษาคุณภาพระดับอุดมศึกษาใหสามารถตอบสนองตอเปาหมายของชาติ ความจําเปนในการจางงาน (Employment needs) และความตองการของตลาด (Market demands) ตลอดจนการกระชับความรวมมือในลักษณะหุนสวนระหวางภาครัฐกับภาคเอกชนใหมีความแข็งแกรงมากขึ้น โดยอาศัยแนวทาง 7 ประการตอไปนี้คือ

- การสงเสริมการสนับสนุนนโยบายของรัฐบาลดานการขยายและยกระดับคุณภาพของอุดมศึกษาควบคูกับนโยบายการเนนคนจนเปนศูนยกลางเพื่อพัฒนาจังหวัดตางๆ ใหมีความเจริญกาวหนา

- การริเร่ิมกลไกทางสถาบันและกลไกทางการเงิน ตลอดจนโครงการตางๆ ในการทําใหการศึกษาในระดับอุดมศึกษาสอดรับกับความตองการของตลาดไดมากขึ้น

- การนํามาตรฐานที่แข็งแกรงและโปรงใสมาใชในการจัดทําและประเมินโครงการตางๆ ในระดับอุดมศึกษา โดยสงเสริมใหสถานศึกษาในระดับอุดมศึกษาของภาครัฐออกจากระบบราชการไดในที่สุด

- การสงเสริมใหเยาชนยากชนที่มีคุณภาพและมุงมั่นดานการศึกษาไดรับการศึกษาในระดับอุดมศึกษาอยางทั่วถึงเทาเทียมกัน

- การยกระดับความสามารถของกลไกตางๆ ที่เกี่ยวของในการกํากับดูแล วิเคราะหและจัดทํานโยบายอยางเปนระบบ ทั้งในลักษณะที่เอื้อตอการยกระดับคุณภาพทางการศึกษาใหสูงขึ้นทั่วถึงประชาชนในสวนตาง ๆ อยางเทาเทียมกัน และในการบริหารจัดการกลไกสถาบันที่เหมาะสม

- การยกระดับคุณภาพทรัพยากรมนุษยในสถาบันอุดมศึกษาอยางเปนระบบ โดยเฉพาะอยางยิ่ง บุคลากรทางวิชาการ วิชาชีพ ผูเชี่ยวชาญ และผูบริหารระดับสูง

- การปรับปรุงคุณภาพหลักสูตร รูปแบบการเรียนการสอน ตลอดจนสิ่งอํานวยความสะดวกตาง ๆ เชน หองสมุด คอมพิวเตอร และหองทดลอง เปนตน

ในการดําเนินการขางตนนั้น ประเทศกัมพูชาไดตั้งเปาหมายสําหรับใหลุลวงภายในป 2551 ไว 3 ประการคือ

- การเพิ่มจํานวนผูเขารับการศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาเปน 90,000 คน โดยในจํานวนดังกลาวนั้นคิดเปนผูเขารับการศึกษาในสถานศึกษาเอกชนจํานวน 54,000 คน (รอยละ 60) และมีสัดสวนของเพศหญิงรอยละ 40

- การปรับปรุงใหเยาวชนที่สําเร็จการศึกษาในระดับเกรด 12 จากทั้ง 24 จังหวัดไดรับการศึกษาในระดับอุดมศึกษาอยางทั่วถึง ทั้งนี้โดยตั้งเปาหมายไวใหเยาวชนจากนอกกรุงพนมเปญเขารับการศึกษาในระดับอุดมศึกษาเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 30 ภายในป 2551

- การขยายโครงการศึกษาดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและคณิตศาสตรในสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาทั้งภาครัฐและภาคเอกชน โดยมีเปาหมายใหมีผูเขารับการศึกษาในระดับตางๆ ในดานนี้จํานวน 15,000 คน คิดเปนสัดสวนของเพศหญิงรอยละ 30 ภายในป 2551

4. Pre-Service Teacher Training and Staff Development กัมพูชามีนโยบายที่จะยกระดับความรับผิดชอบของสถาบันการศึกษาในการผลิตบุคลากรผูสอน ซ่ึงไดแก วิทยาลัยครูตางๆ ทั้งในระดับจังหวัดและระดับภูมิภาค รวมทั้งกลไกทางสถาบันที่เพิ่งจัดตั้งขึ้นเรียกวา สถาบันแหงชาติเพื่อการศึกษา (National Institute for Education: NIE) ดังนี้

- การสงเสริมใหครูที่ผานการฝกอบรมจากวิทยาลัยครูตางๆ ทั้งในระดับจังหวัดและระดับภูมิภาคออกไปทําการสอนในพื้นที่ดอยพัฒนาและพื้นที่หางไกลความเจริญ ตลอดจนการสงเสริมใหคนในพื้นที่นั้นเขารับการฝกอบรมเปนครูและกลับไปสอนในพื้นที่ดังกลาวมากขึ้น โดยตั้งเปาหมายใหมีครูเขาไปสอนในพื้นที่ดังกลาวถึงรอยละ 95 ของผูที่ผานการฝกอบรมจากวิทยาลัยครูตางๆ ทั่วประเทศ ดวยสัดสวนที่เทาเทียมกันระหวางเพศหญิงและเพศชายภายในป 2551

- การขยายโครงการพัฒนาระดับวิชาชีพที่ NIE จัดขึ้นใหครอบคลุมระดับผูอํานวยการ รองผูอํานวยการ บุคลากรฝายวางแผน บุคลากรดานการบริหารจัดการ ตลอดจนบุคลากรดานเทคนิคของโรงเรียนตางๆ ดวยเปาหมายที่จะรับผูเขารับการฝกอบรมพัฒนาในสวนนี้ปละ 1,500 คนทั้งในระยะส้ันและระยะยาว

- การขยายโอกาสใหผูมีสวนรวมในการจัดการชุมชนไดเขารับการฝกฝนทักษะดานการเรียนการสอนตามสถานศึกษาอบรมที่มีอยูใหมากขึ้นถึง 5,000 คนภายในป 2551 โดยมุงใหสัดสวนของเพศชายอยูที่รอยละ 25 ของผูเขารับการอบรมจากชุมชนทั้งหมด

การปฏิรูปกลไกและแนวทางดําเนินการ กระทรวงศึกษา เยาวชนและการกีฬา (Ministry of Education, Youth and Sport) เปนกลไก

หลักดานการศึกษาของกัมพูชา ไดรับอํานาจหนาที่ในการพัฒนาฐานทรัพยากรมนุษย (Human resource base) ใหมีประสิทธิภาพ โดยการเปดโอกาสใหชาวกัมพูชาทุกคนไดรับการศึกษา เพื่อยกระดับการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ วิถีชีวิตความเปนอยูของประชาชน และทําใหประชาชนชาวกัมพูชาเปนกําลังแรงงานที่มีการศึกษาและไดรับการฝกอบรมอยางดี

นโยบาย Education Decentralization ดวยรัฐบาลกัมพูชามีนโยบายระยะยาวในการเพิ่มการกระจายขอบเขตอํานาจความรับผิดชอบไปยังหนวยงานตางๆ ของกระทรวงศึกษาฯ ระดับจังหวัด ตําบล หมูบาน (Commune) รวมทั้งระดับโรงเรียน โดยหนวยงานตางๆ ที่สวนกลางของกระทรวงศึกษาฯ จะเนนหนาที่ไปที่การเปนแกนนําในกระบวนการพัฒนานโยบาย กลยุทธ กลไกทางกฎหมาย ตลอดจนหลักการในการบริหารจัดการในลักษณะธรรมาภิบาลโดยอาศัยกระบวนการปรึกษาหารือกับหนวยงานตางๆ ที่เกี่ยวของทั้งในภาครัฐและภาคประชาสังคม (Civil society) อยางกวางขวาง (Extensive consultative process) ตลอดจนการกํากับดูแลการดําเนินการโครงการตางๆ ในลักษณะเครือขายความเชื่อมโยงในการดําเนินการ ทั้งนี้ เพื่ออํานวยใหยุทธศาสตรดานการศึกษาสอดรับและเกื้อหนุนกับการปฏิรูปอื่น ๆ ของทางรัฐบาล

กระบวนการบริหารจัดการดานการศึกษา ป 2547-2551

เครือขายความเชื่อมโยงในการกํากับดูแลการดําเนินการดานการศึกษา

วิสัยทศันการพัฒนาประเทศ

กรอบการทาํงานเศรษฐกิจมหาภาคและงบประมาณ

การปฏริูปดานการกระจายอํานาจและธรรมาภิบาล

แผนยุทธศาสตรทางการศึกษา

นโยบายการศึกษาเนนแกปญหาความยากจน

กรอบกติกาทางกฎหมายภาคการศึกษา

โครงการตางๆ

งบประมาณประจําปดานการศึกษา

การปฏริูปเชิงสถาบัน

แผนยุทธศาสตร โครงการสําคัญ

ตนทุน โครงการลงทุน การสรางสมรรถนะ

ในชวงป 2547-2551 รัฐบาลกัมพูชาจึงกําหนดเปาหมายการปฏิรูปที่จะดําเนินการ ไวดังนี้ - การแสวงหาแนวทางในการออกกฎหมายฉบับใหมและกฎระเบียบหลักตางๆ ที่เกี่ยวของ

กับการศึกษา โดยเฉพาะอยางยิ่งในการรองรับนโยบายดานการกระจายอํานาจการบริหารจัดการศึกษาภายในป 2548

- การแสวงหาแนวทางในการอํานวยใหสถาบันการศึกษาในระดับอุดมศึกษามีการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล (Governance) โดยเฉพาะอยางยิ่งความโปรงใสในการบริหารจัดการดานการเงินการคลัง การบัญชีและการตรวจสอบบัญชี ทั้งนี้โดยตั้งเปาหมายที่จะจัดตั้งหนวยงานที่เรียกวา Public Administration Institutions ภายในป 2549 โดยคัดสรรจากสถาบันตางๆ ที่มีอยูแลว

- การสงเสริมให Budget Management Centres (BMC) ที่มีอยูทั้งหมดทั่วประเทศปฏิบัติงานไดอยางเต็มที่และมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะอยางยิ่งในการบริหารจัดการดานการเงินการคลัง และการบัญชี

- Enabling Ministry-wide system of public accounting of Government funds for education, including access to accountancy training. Target: appointment of MoEYS Public Accountants and Sub-Accountants by 2005, 100% of designed staff trained by 2005.

ธรรมาภิบาลและการประกันคุณภาพ เปาหมายหลักของการปฏิรูปในสวนนี้ประกอบดวย

การประชุมปรึกษาหารอืระหวาง

กระทรวงศกึษา องคการระหวาง

ประเทศ องคกรพัฒนาเอกชน

ผูบริจาค

ทวิภาค/ี

พหุภาค ี

กระทรวงตางๆ

จังหวัดตางๆ

คณะทํางานดาน

การศกึษา คณะทํางานการกํากับดูแลนโยบายและการตัดสนิใจเชิง

ยุทธศาสตร คณะทํางานยอย ฝายปฏบิัต ิ

คณะทํางานเทคนิคระดับอาวุโส

คณะทํางานเทคนิคระดับกอง

การปรกึษาหารือ ความ การรายงาน การสนบัสนนุทาง เทคนิค

คณะทํางานฝายสนับสนนุ

คณะทํางานยอยฝายํ ั

ผูมีสวนไดเสีย

- การจัดตั้งสํานักงานมาตรฐานการศึกษาและการกําหนดมาตรฐานภายในป 2006เพื่อใหไดแนวทางที่เหมาะสมในการกํากับดูแล student performance ของนักเรียนทั่วประเทศ ตลอดจนเงื่อนไขตางๆ ทั้งในดานการศึกษาตอและในดานการจางงาน

- การนําระบบความตกลงทางการดานการดําเนินงาน (Performance) และการนําระบบจัดทําใบรายงาน (Report cards) มาใชในระดับสถานศึกษากับชุมชนภายในป 2549 และระดับอื่นๆ ภายในป 2550 - การนําระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรทางการศึกษามาใชในทุกระดับของระบบการศึกษา โดยเริ่มเนนที่ระดับผูอํานวยการโรงเรียนและครูผูสอนกอนเปนเบื้องตนนับตั้งแตป 2548 เปนตนไป สวนบุคลากรในระดับอื่นๆ นั้นใหเร่ิมตั้งแตป 2549-2550

- การขยายระบบตรวจสอบภายในใหครอบคลุมสวนตางๆ ของกระทรวงศึกษา ตั้งแตสวนกลาง ลงไปถึงหนวยงานระดับจังหวัด หนวยงานระดับตําบล โรงเรียน และโครงการตางๆ ที่เกี่ยวของ ทั้งนี้ ในป 2548 นั้นยังไมกําหนดใหดําเนินการเปนการทั่วไปหากแตเนนสวนที่คัดเลือกแลวเทานั้น

- การขยายเครือขายผูเขามามีสวนรวมในการกํากับดูแลการดําเนินการตางๆ ที่เกี่ยวของ โดยเฉพาะอยางยิ่ง ใหครอบคลุมผูที่มาจาก National Assembly, National Audit Authority, รัฐบาล กระทรวงศึกษาฯ ผูวาการ (Governors) donors ภาคประชาสังคม และภาคเอกชน

การปฏิรูปสู Sector-Wide Financing Education financing เปนเปาหมายสําคัญประการหนึ่งในการปฏิรูปการศึกษา ซ่ึงแบงออกได

เปนเปาหมายระยะยาวและระยะกลาง สําหรับเปาหมายระยะยาวนั้นกัมพูชาหวังวาจะไมมีเด็กนักเรียนคนใดไมไดรับโอกาสทางการศึกษาและการฝกอบรมเพราะปญหาดานคาเลาเรียนหรือคาใชจายอื่นๆ กัมพูชาเล็งเห็นวาการไดรับเงินทุนเพื่อการศึกษาอยางทั่วถึงและเปนธรรมจําเปนตองอาศัย กลไกในลักษณะความรวมมือในวงกวางจากภาครัฐรวมกับบรรดาผูปกครองและแหลงเงินทุนตางๆ ทั้งนี้ กัมพูชาใหความสําคัญกับดานขอมูลเกี่ยวกับตนทุนทางการศึกษาเปนอยางมาก เพื่อใหไดรับความรวมมืออยางจริงจัง

ทั้งนี้ การเพิ่มสัดสวนดานงบประมาณทางการศึกษาและลดการสนับสนุนอยางไมเปนทางการตอการศึกษาเปนเปาหมายระยะกลางที่กัมพูชาใหความสําคัญเปนอยางมาก โดยมีเปาหมายที่สอดคลองสืบเนื่องอยูที่การสงเสริมความเปนหุนสวน (Partnership) ระหวางภาครัฐ ผูปกครอง และผูประกอบการภาคเอกชนในการใหเงินทุนทางการศึกษาตั้งแตระดับอนุบาลไปจนถึงระดับมหาวิทยาลัย รวมถึงดานอาชีวศึกษา กระนั้นก็ตาม ในความเปนหุนสวนนั้น กัมพูชามีแนวนโยบายที่จะลดสัดสวนภาระความรับผิดชอบดานการเงินของผูปกครองลดนอยลง พรอมไปกับการเพิ่มสัดสวนของภาครัฐและการสนับสนุนเงินทุนจากภายนอกใหมากขึ้นเปนลําดับ โดยบทบาทของภาครัฐนั้นจะ

เนนไปที่การเพิ่มอัตราเงินเดือนของบุคลากรครู ทั้งนี้ภายในป 2551 งบประมาณดานเงินทุนรอยละ 75 จะเนนไปที่การศึกษาขั้นพื้นฐาน สวนที่เหลือนั้นจัดใหไวสําหรับการศึกษาที่สูงขึ้นไปจากนั้น

ความรวมมือระหวางประเทศ

ความรวมมือระหวางประเทศดานระบบการศึกษาในกัมพูชาเปนในลักษณะของความชวยเหลือระดับพหุภาคีและทวิภาคี ซ่ึงมักพบวาหนวยงานที่ใหความชวยเหลือตางๆ มักเขามามีสวนรวมในการบริหารจัดการโครงการตางๆ ที่เกี่ยวของในสองลักษณะคือ การเขามาบริหารจัดการดวยตนเอง และการมอบหมายใหที่ปรึกษาหรือองคกรใดองคกรหนึ่งที่ไววางใจทําหนาที่บริหารจัดการรวมกับหนวยงานตางๆ ของกระทรวงศึกษาฯ ตั้งแตระดับการวางแผนสวนกลาง ไปจนถึงหนวยงานปฏิบัติระดับจังหวัด และคณะกรรมการกลุมโรงเรียนในระดับทองถ่ิน

ความรวมมือระดับพหุภาคี เทาที่ผานมา ความรวมมือระดับพหุภาคีที่ใหความชวยเหลือดานระบบการศึกษาของกัมพูชา แบงออกไดเปน 4 สวนคือ

1. ความรวมมือจาก Asian Development Bank (ADB) ซ่ึงมักใหความชวยเหลือในการพัฒนาตําราเรียนและการฝกอบรมทางเทคนิคตางๆ

2. ความรวมมือจากองคกรสหประชาชาติ ซ่ึงหนวยงานที่ เขามาใหความชวยเหลือประกอบดวย 4 หนวยงานหลัก UNICEF, UNDP, UNFPA และ UNESCO โดยบางโครงการมีการประสานงานรวมกับองคกรระหวางประเทศอื่นๆ เชน ILO

3. ความรวมมือจากธนาคารโลก (World Bank) ซ่ึงเนนความรวมมือในลักษณะเงินกูแกกัมพูชา

4. ความรวมมือจากสหภาพยุโรป เปนโครงการความรวมมือที่เพิ่งเริ่มเมื่อไมนานมานี้ โดยแบงออกเปนระยะ ๆ ความรวมมือระดับทวิภาคี เทาที่ผานมา ความรวมมือในระดับนี้แบงออกเปนความรวมมือดานทุนการศึกษา ดานภาษา และโครงการเฉพาะตางๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งโครงการเครือขายถายทอดเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาโดยอาศัยศูนยกลางชุมชนในจังหวัดตางๆ เปนฐานตั้งแตระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานถึงอุดมศึกษา เชน ในสาขาบริหารธุรกิจ ซ่ึงสงผลขยายตอถึงการยกระดับคุณภาพของผูประกอบการทางธุรกิจขนาดเล็ก โดยไดรับความรวมมือจากภาครัฐและภาคเอกชนของตางประเทศ สําหรับความรวมมือจากภาครัฐ ไดแก Agence de Cooperation Culturelle et Technique (ACCT) และ Association des Universites Partiellement et Entierement de Langue Francaise et Union des Reseau d’Expression Francaise (AUPELF-UREF) ซ่ึงรวมมือกับสถาบันเทคโนโลยีแหงกัมพูชา (Institute of Technology of Cambodia) ความรวมมือภายใตโครงการความชวยเหลือของ Australian Agency International Development (AusAID) ประเทศออสเตรเลีย ความรวมมือภายใตโครงการความ

ชวยเหลือของ Japan International Cooperation Agency (JICA) ประเทศญี่ปุน ความรวมมือภายใตโครงการความชวยเหลือของ ODA ผาน CfBT-CBC ความรวมมือภายใตโครงการความชวยเหลือของ GTZ-Don Bosco ประเทศเยอรมนี ตลอดจนความชวยเหลือจากประเทศจีน รัสเซีย เวียดนาม รวมถึงองคพัฒนาเอกชนที่ใหความชวยเหลือดานการศึกษาแกกัมพูชาไดแก Redd Barna (นอรเวย) Care International (สหรัฐอเมริกาและออสเตรเลีย) JSRC, JIVC, ASAC (ญ่ีปุน) Taipei Overseas Peace Service (ไตหวัน) ICS (เนเธอรแลนด) เปนตน

จากที่กลาวมาทั้งหมด UNICEF มีบทบาทนําอยูมากในการปฏิรูปการศึกษาของกัมพูชาในปจจุบัน โดยเฉพาะอยางยิ่งในการขยายการศึกษาขั้นพื้นฐาน ซ่ึง UNICEF มีการจัดทํา Master Plan ในการสนับสนุนใหเด็กวัยเรียนชาวกัมพูชาประมาณ 2.5 ลานคนไดเขารับการศึกษาดวยวิธีการและระบบที่เหมาะสมยิ่งกวาเดิม รวมไปถึงการพัฒนาปรับปรุงหลักสูตรการเรียนการสอนในระดับตางๆ ของการศึกษาขั้นพื้นฐาน การฝกอบรมครู การผลิตตําราเรียน ตลอดจนการวางแผนและบริหารจัดการดานการศึกษา ซ่ึงเนนไปที่ระบบกลุมโรงเรียนและการกระจายอํานาจจากสวนกลาง ทั้งนี้ UNICEF มีการประสานงานอยางใกลชิดกับ UNESCO และ UNDP ในการใหความชวยเหลือแกรัฐบาลกัมพูชาดานการจัดทํายุทธศาสตรดานโอกาสทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตลอดจนการกํากับดูแลความกาวหนา

ความกาวหนา/ดัชนีวัดความสําเร็จ การปฏิรูปการศึกษาตามแนวทาง EFA ตั้งแตป 2544 ประสบผลสําเร็จในลักษณะของการเพิ่มโอกาสอยางเทาเทียมกันมากขึ้นในการเขารับการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยเฉพาะอยางยิ่งผูเขารับการศึกษาจากครอบครัวที่ยากจนซึ่งมักอยูในพื้นที่หางไกลความเจริญและพื้นที่ชนบท รวมถึงสัดสวนของเพศหญิงในการเขารับการศึกษาดวย ทั้งนี้พัฒนาการของโอกาสทางการศึกษาดังกลาวขางตนเห็นไดชัดในกรณีของระดับประถมศึกษา ตามดวยระดับมัธยมศึกษาตอนตนและระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ถึงแมวาปญหาการเลิกเรียนกลางคันยังมีพัฒนาการไมทั่วถึงนัก ดังนี้

1. การมีผูเขารับการศึกษาขั้นพื้นฐานในระดับตางๆ เพิ่มมากขึ้น ดังนี้ 1.1 ระดับประถมศึกษาเพิ่มมากขึ้นจาก 2,094,000 คนในป 2541-2542 เปน 2,750,000

คนในป 2545-2546 โดยสวนที่อยูในพื้นที่หางไกลความเจริญเพิ่มขึ้นรอยละ 15 และในพื้นที่ชนบทเพิ่มขึ้นรอยละ 2

1.2 ระดับมัธยมศึกษาตอนตนเพิ่มมากขึ้นถึงรอยละ 84 จาก 226,057 คนในป 2541-2542 เปน 416,000 คนในป 2545-2546

1.3 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายเพิ่มขึ้นรอยละ 56 ในชวงดังกลาวขางตน 2. Net enrolment rate ในระดับตางๆ เพิ่มมากขึ้น ดังนี้

2.1 ระดับประถมศึกษาเพิ่มจากรอยละ 78.3 ในป 2541-2542 เปนรอยละ 88.9 ในป 2545-2546 คิดเปนการเพิ่มขึ้นรอยละ 10.6 โดยมีสัดสวนของเพศหญิงที่เพิ่มขึ้นรอยละ 12.7

2.2 ระดับมัธยมศึกษาตอนตนเพิ่มจากรอยละ 14.2 ในป 2541-2542 เปนรอยละ 19.1 ในป 2545-2546

2.3 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายเพิ่มขึ้นเล็กนอยจากรอยละ 6.4 ในป 2541-2542 เปนรอยละ 6.7 ในป 2545-2546

3. Transition rate เพิ่มสูงขึ้น ดังนี้ 3.1 จากระดับประถมศึกษาสูระดับมัธยมศึกษาตอนตน เพิ่มขึ้นจากรอยละ 74.3 ในป

2541-2542 เปนรอยละ 83.2 ในป 2545-2546 คิดเปนการเพิ่มขึ้นรอยละ 8.9 โดยมีสัดสวนของเพศหญิงที่เพิ่มขึ้นรอยละ 11.2

3.2 จากระดับมัธยมศึกษาตอนตนสูระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เพิ่มขึ้นจากรอยละ 39.4 ในป 2541-2542 เปนรอยละ 59.2 ในป 2545-2546 คิดเปนการเพิ่มขึ้นรอยละ 19.8 โดยมีสัดสวนของเพศหญิงที่เพิ่มขึ้นรอยละ 22.8

4. การเลื่อนชั้นเรียนตอและสัดสวนของเพศหญิงในการเลื่อนชั้นเรียนตอเพิ่มสูงขึ้นในการศึกษาขั้นพื้นฐานระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาตอนตน

5. การเรียนซ้ําชั้นและสัดสวนของเพศหญิงในการเรียนซ้ําชั้นลดต่ําลงในการศึกษาขั้นพื้นฐานระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาตอนตน

6. การเลิกเรียนกลางคันลดต่ําลงในระดับมัธยมศึกษาตอนตน โดยสัดสวนของเพศหญิงในการเลิกเรียนกลางคันลดต่ําลงในระดับประถมศึกษาและระดับมัธยมศึกษาตอนตน การเลื่อนชั้นเรียนตอ การเรียนซ้ําชั้น การลาออกกลางคัน ประถมศึกษา รวม เพศหญิง รวม เพศหญิง รวม เพศหญิง 2541-2542 66.21% 66.1% 23.52% 22.48% 10.28% 11.42% 2545-2546 78.42% 79.49% 10.54% 9.41% 11.04% 11.10% มัธยมศึกษาตอนตน รวม เพศหญิง รวม เพศหญิง 2541-2542 69.96% 68.09% 6.48% 4.14% 23.57% 27.77% 2545-2546 74.96% 74.95% 4.67% 3.13% 20.37% 21.91% มัธยมศึกษาตอนปลาย รวม เพศหญิง รวม เพศหญิง 2541-2542 86.15% 85.48% 3.25% 1.97% 10.60% 12.55% 2545-2546 72.63% 76.37% 6.33% 3.96% 21.04% 19.67% ที่มา: MoEYS (2004), p. 8. 7. ความตองการดานอุดมศึกษาเพิ่มสูงขึ้นสงผลใหมีการจัดตั้งสถาบันอุดมศึกษาภาคเอกชนอยางแพรหลาย โดยนิยมเปดสอนในสาขาบริหารธุรกิจ โดยอาศัยเครือขายทางเทคโนโลยีตามศูนยกลางชุมชนในทุกจังหวัดในการถายทอดการศึกษาไปยังพื้นที่ตางๆ รวมถึงผูประกอบการทางธุรกิจขนาดเล็ก ซ่ึงอาจกลาวไดวาเปนพัฒนาการในลักษณะที่สอดคลองตอการแกปญหาการขาดแคลนทุนมนุษยระดับทักษะหรือทุนมนุษยระดับบนและการยกระดับฐานะทางเศรษฐกิจของประเทศ

จุดเดนในการปฏิรูปการศึกษา จุดเดนในการปฏิรูปการศึกษาของกัมพูชาแบงออกได

1. การประสานนโยบายการปฏิรูปการศึกษาใหสอดรับและเอื้ออํานวยตอการพัฒนาทางเศรษฐกิจสังคมของประเทศ โดยเฉพาะอยางยิ่งในการลดปญหาความยากจน และการยกระดับศักยภาพการแขงขันทางเศรษฐกิจของประเทศสูระดับสากลซึ่งมีทรัพยากรมนุษยเปนฐาน

2. การเนนแนวทาง Education for All ซ่ึงมิใชเพียงการขยายการศึกษาใหทั่วถึงแกประชาชนทุกคน หากแตยังเนนการยกระดับคุณภาพของการศึกษาสําหรับประชาชนทั้งปวงอยางทั่วถึง ทุกระดับสถานะทางเศรษฐกิจ ทุกเพศ ทุกพื้นที่ ทุกเชื้อชาติ แมผูพิการทางรางกาย เพื่อใหสอดรับกับรัฐธรรมนูญของประเทศและความผูกพันที่ทางรัฐบาลมีตอ U.N. Convention on the Rights of the Child และ Millennium Development Goals

3. ความพยายามในการปรับปรุงสวนตางๆ ที่เกี่ยวของในกระบวนการเรียนการสอนตามเปาหมาย อยางครบองค คือ การจัดสถานศึกษาใหทั่วถึงมากขึ้น การปรับปรุงวิธีการเรียนการสอน การฝกหัดครู หลักสูตร ตลอดจนตําราการเรียนการสอน

4. การเนนแนวทางการกระจายอํานาจจากสวนกลางประกอบกับการมีสวนรวมในลักษณะหุนสวน (Partnership) จากสวนทั้งในและนอกภาครัฐ ตลอดจนแนวทางการเรียนรูตลอดชีวิตที่มีชุมชนเปนฐาน

5. ความรวมมือดานเงินทุนเพื่อการศึกษาและความรวมมือจากองคกรระหวางประเทศที่เกี่ยวของกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษยในการยกระดับคุณภาพทรัพยากรมนุษยสูระดับสากล

6. พัฒนาการดานโอกาสทางการศึกษาตั้งแตระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานถึงอุดมศึกษาและบทบาทของการศึกษาภาคเอกชน

7. ความพยายามในการปรับปรุงกลยุทธดวยแผนยุทธศาสตรทางการศึกษาอยางตอเนื่อง หลังการศึกษาขั้นพื้นฐาน และแนวทางการเรียนรูตลอดชีวิตที่มีชุมชนเปนฐานและบทบาทของเครือขายทางเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาตามศูนยกลางชุมชนในจังหวัดตาง ๆ ทั่วประเทศ

เอกสารอางอิง MoEYS (2001). Education Reform in Cambodia, 2001. Ministry of Education, Youth and Sport,

Royal Government of Cambodia, in www.moeys.gov.kh/education_reform_in_Cambodia/strategic_analysis.

MoEYS (2003). Education for All National Plan 2003-2015. Ministry of Education, Youth and Sport, Royal Government of Cambodia.

MoEYS (2003). Education for All National Plan 2003-2015. Ministry of Education, Youth and Sport, in www.moeys.gv.kh/efa/Millennium_Development.html.

MoEYS (2004). Education Strategic Plan 2004/08. Ministry of Education, Youth and Sport, September.

เขียน ธีระวิทย และสุนัย ผาสกุ (2543) กัมพชูา: ประวัติศาสตร สังคม เศรษฐกิจ ความมั่นคง การเมือง และการตางประเทศ. ผลงานวิจัยชุดเอเชีย โครงการเมธีวิจยัอาวุโส สกว. สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั และสถาบันเอเชียศกึษา จฬุาลงกรณมหาวิทยาลยั กทม: โรงพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

สหภาพพมา บทนํา ประเทศสหภาพพมาเปนประเทศที่มีอาณาบริเวณใหญที่สุดในพื้นทวีปประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใต มีพื้นที่รวมทั้งสิ้น 261,228 ตารางไมล เมืองหลวง ไดแก รางกุง และศูนยกลางทางวัฒนธรรมอยูที่เมืองมัณฑะเลย ขอมูลพื้นฐาน

การเมือง ในวันที่ 18 กันยายน 1988 กลุมทหารโดยสภาเพื่อการปฏิรูปกฎหมายและระเบียบ (State Law and Order Restoration Council : SLORC) ไดเขามาปกครองประเทศแทนระบบการปกครองเดิม SLORC ประกาศวาจะรางรัฐธรรมนูญขึ้นใหมโดยสมาชิกสมัชชาแหงชาติ 485 คนซึ่งไดรับเลือกขึ้นมาจากการเลือกตั้งทั่วไปในพฤษภาคม 1990 และในป 1993 ไดมีการประชุมแหงชาติโดยกลุมสมาชิก SLORC และผูแทนจากพรรคฝายคาน แตการประชุมนี้ถูกเลื่อนออกไปตั้งแตป 1996 จนถึงปจจุบัน ตอมาในป 1997 SLORC ไดเปลี่ยนรูปไปเปนสภาเพื่อการพัฒนาและสันติภาพ (State Peace and Development Council : SPDC) SPDC ประกาศวาจะรื้อฟนการประชุมแหงชาติเพื่อริเร่ิมการรางรัฐธรรมนูญในป 2004

เศรษฐกิจ การ เ กษตรกรรม เป นภ าคก า รผลิ ตที่ สํ า คัญของประ เทศ นอกจ ากนี้ พม า ยั ง มีทรัพยากรธรรมชาติที่ยังไมไดนํามาใชอีกมากมาย ตั้งแตป 1988 นโยบายทางเศรษฐกิจไดรับการผอนผันไปทางเสรีมากขึ้นจากที่เคยเปนระบบที่ควบคุมโดยรัฐที่สวนกลาง ซ่ึงเมื่อระบบเศรษฐกิจเปล่ียนไปมีการลงทุนมากขึ้น ความตองการในดานทรัพยากรมนุษยก็สูงขึ้น มีงานที่ตองการแรงงานมีฝมือ ซ่ึงนําไปสูความตองการที่จะมีระบบการศึกษาและอบรมที่ดีขึ้น

ประชากร ประชากรของประเทศพมาประกอบดวยชนกลุมตางๆ ถึง 135 กลุม โดยมีกลุมใหญๆ ไดแก คะฉิ่น คะยา คะหยิ่น ฉิน บามา มอญ ยะไข และไทยใหญ ประชากรทั้งประเทศมีประมาณ 52 ลานคนในป 2003 รอยละ 26.6 อาศัยอยูในเขตเมือง เปนชายรอยละ 49.6 และหญิงรอยละ 50.4 ประชากรประมาณรอยละ 64.1 มีอาชีพเกษตรกรรม10

10 “Review on Adult Education in Myanmar,” http://www.unesco.org/education/vie/pdf/country/Myanmar.pdf [June 8, 2005]

ในชวงที่อยูภายใตอาณานิคมของอังกฤษ มีชาวอินเดียเขามามีอิทธิพลอยางมากในธุรกิจตางๆ แตในปจจุบันชาวอินเดียมีจํานวนนอยลง สวนใหญตั้งถ่ินฐานอยูทางตอนกลางของประเทศและในบริเวณชายแดนที่ติดกับประเทศบังกลาเทศ ในปจจุบันชาวจีนที่เกิดในประเทศพมามีมากขึ้น และเขามาทดแทนชาวอินเดียในภาคธุรกิจ สภาพการศึกษาโดยทั่วไป ตั้งแตในสมัยโบราณ สังคมพมาใหความสําคัญกับการศึกษาอยางมาก โดยเฉพาะในสมัยกอนการศึกษาในวัดเปนสิ่งที่นิยมและทําใหอัตราการรูหนังสือของประชาชนอยูในระดับดี แตเมื่อเขาถึงสมัยการปกครองโดยอังกฤษ อัตราการรูหนังสือลดต่ําลงเนื่องจากผูปกครองไมใหความสนใจมากนัก แตก็ยังมีความพยายามในหมูผูรูหนังสือโดยเฉพาะหลังจากป 1948 ซ่ึงพมาไดรับเอกราช ทําใหอัตราการรูหนังสือสูงขึ้นโดยเฉลี่ยรอยละ 91.8 ในป 200211 ปจจุบันนี้ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การเรียนการสอนในวัดก็ยังเปนแหลงความรูสําคัญสําหรับประชาชนในพื้นที่หางไกล ซ่ึงรัฐบาลพมาก็ยังใหการยอมรับการศึกษาในลักษณะนี้

แผนการศึกษาแหงชาติ มีการริเร่ิมแผนระยะสั้นเพื่อการพัฒนาการศึกษาในป 2001-2002 โดยไดรวมแผนนี้ไวกับ

แผน 4 ปดานการศึกษาซึ่งเริ่มขึ้นกอนหนาไปแลว 1 ป โดยจุดเนนของแผนคือการพัฒนาความเชี่ยวชาญดานเทคโนโลยีทั้งในระดับพื้นฐานและระดับสูง เพื่อสรางกลุมคนที่มีคุณภาพและทักษะทางดาน ICT ซ่ึงจําเปนสําหรับการทํางานในยุคนี้

ระบบการศึกษา กฎหมายที่ควบคุมการศึกษาในปจจุบันคือ กฎหมายการศึกษาพื้นฐานป 1966 (Basic Education Law) และกฎหมายการศึกษาของสหภาพพมาป 1973 (Union of Burma Education Law) เด็กพมาตั้งแตอายุ 5-10 ปตองเขาโรงเรียนซึ่งเปนบริการที่รัฐมีใหโดยไมตองเสียคาใชจาย ช้ันประถมศึกษาใชเวลา 5 ปตั้งแตอนุบาล เด็กที่เรียนดีสามารถเรียนตอในระดับมัธยมตนอีก 4 ปและระดับมัธยมปลายอีก 2 ป หลังจากนั้นเด็กที่คะแนนดีในวิชาคณิตศาสตร วิทยาศาสตร วิศวกรรม และการแพทยสามารถสมัครสอบเขาในมหาวิทยาลัยของรัฐได ซ่ึงประมาณกันวารอยละ 3 ของนักเรียนทั้งหมดตั้งแตช้ันประถมและมัธยมเลือกที่จะศึกษาตอในระดับนี้

11 “Review on Adult Education in Myanmar”

สถิติท่ัวไปทางดานการศึกษา

2001-2001 (มกราคม)

โรงเรียน 36,011 แหง ครู 145,677 แหง

ประถมศึกษา

จํานวนนักเรียน 4,587,511 แหง

สัดสวนครู : นักเรียน 1 : 31.49

โรงเรียน 2,112 แหง ครู 56,647 แหง

มัธยมตน

จํานวนนักเรียน 1,795,283 แหง

สัดสวนครู : นักเรียน 1 : 31.69

โรงเรียน 959 แหง ครู 17,785 แหง

มัธยมปลาย

จํานวนนักเรียน 648,650 แหง

สัดสวนครู : นักเรียน 1 : 36.47

จํานวนคร ู

1997-98 1998-99 1999-2000

ประถมศึกษา 152,999 154,801 154,016 มัธยมตน 53,615 53,958 53,210 มัธยมปลาย 14,697 14,400 16,231

21,311 223,159 223,457 ท่ีมา : http://www.modins.net/MyanmarInfo/Health_edu/

จํานวนโรงเรียนในรูปแบบตาง ๆ

จํานวนโรงเรียน

ระดับ โรงเรียนพื้นฐาน โรงเรียนสาขา โรงเรียนสมทบ โรงเรียนวัด รวม ประถมศึกษา 35,852 21 831 923 37,627 มัธยมตน 2,114 420 1,114 47 3,695 มัธยมปลาย 940 350 282 - 1,572

รวม 38,906 791 2,227 970 42,894 ท่ีมา : http://www.modins.net/MyanmarInfo/health_edu

การศึกษาพื้นฐาน การบริหารการศึกษาพื้นฐานของประเทศดําเนินการโดยสํานักงานการศึกษา 3 แหง ไดแก สภาการศึกษาพื้นฐาน (Basic Education Council) คณะกรรมการหลักสูตร รายวิชา และแบบเรียนสําหรับการศึกษาพื้นฐาน (Basic Education Curriculum, Syllabus and Textbook Committee) และคณะกรรมการกํากับดูแลการศึกษาของครู (Teacher Education Supervisory Committee) สํานักงานทั้ง 3 แหงนี้ดูแลรับผิดชอบกิจการทั้งหมดที่เกี่ยวกับการศึกษาในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา การนิเทศและตรวจตราโรงเรียน การวางแผน การบริหารจัดการโครงการตางๆ และกิจการนักเรียน

การศึกษาในระดับอุดมศึกษา หนวยงานที่ดูแลการศึกษาในระดับอุดมศึกษาคือกรมการอุดมศึกษา (Department fo Higher Education) ซ่ึงแบงออกเปนสวนพมาตอนบนและพมาตอนลาง ทั้งสองสวนนี้ถือเปนฝายบริหารของกระทรวงศึกษาธิการในการกํากับดูแลการศึกษาระดับอุดมศึกษา สวนวิชาการถูกควบคุมดูแลโดยสภามหาวิทยาลัยสวนกลาง (Universities Central Counci) และสภาวิชาการของมหาวิทยาลัยตางๆ (Council of University Academic Bodies) ในปจจุบันมีสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา 58 แหงที่อยูภายใตกระทรวงศึกษาธิการ และอีก 47 แหงที่อยูภายใตการกํากับดูแลของหนวยราชการอื่นที่เกี่ยวของกับกิจการนั้นๆ เชน กระทรวงสาธารณสุขรับผิดชอบดูและการศึกษาเกี่ยวกับแพทยศาสตรและการสาธารณสุขอื่นๆ กระทรวงเกษตรและการชลประทานรับผิดชอบสถาบันการเกษตรกรรม กระทรวงกลาโหมรับผิดชอบดูแลวิทยาลัยการปองกันประเทศ กระทรวงการปาไมรับผิดชอบกิจการของสถาบันการปาไม มหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาชนเผาตางๆอยูภายใตการดูแลของคณะกรรมการคัดเลือกการบริการสาธารณะและการฝกอบรม และเริ่มตั้งแตป 1994 ยังมีวิทยาลัยสหกรณและวิทยาลัยในภูมิภาคตางๆเริ่มเปดบริการภายใตการดูแลของกระทรวงการสหกรณ แนวทางการปฏิรูปการศึกษา

ความเคลื่อนไหวทางการศึกษา เพื่อใหสอดคลองกับคําประกาศในการประชุมระหวางประเทศที่ประเทศไทยในป 1990 เกี่ยวกับการศึกษาเพื่อคนทั่วไป (Education for All) รัฐบาลพมาไดตั้งเปาหมายที่จะจัดการศึกษาพื้นฐานใหแกชาวพมาทุกคนภายในป 2000 และลดจํานวนการไมรูหนังสือในกลุมประชากรผูใหญลงไปอีกครึ่งหนึ่ง

โครงการการศึกษาเพื่อคนทั่วไปไดเร่ิมขึ้นตั้งแตป 1996-1997 ใน 30 เมือง และขยายออกไปอีก 80 เมืองในชวงป 1997- 1998 หลังจากนี้ยังไดขยายผลออกโดยตั้งเปาวาจะดําเนินโครงการในทุกๆเมืองภายในป 200012 ในเดือนมีนาคม 2000 รัฐบาลไดจัดตั้งศูนยแหลงการรูหนังสือแหงพมา เพื่อสงเสริมกิจกรรมเพื่อการรูหนังสือ และพัฒนาสื่อการเรียนการสอนสําหรับการศึกษานอกโรงเรียนในระดับมัธยมและอุดมศึกษา โดยความรวมมือกับหนวยงานของสหประชาชาติตางๆเพื่อใหบรรลุเปาหมาย ไดจัดตั้งศูนยแหลงการรูหนังสือแหงพมา เพื่อสงเสริมกิจกรรมเพื่อการรูหนังสือ และพัฒนาสื่อการเรียนการสอนสําหรับการศึกษานอกโรงเรียนในระดับมัธยมและอุดมศึกษา โดยความรวมมือกับหนวยงานของสหประชาชาติตางๆเพื่อใหบรรลุเปาหมาย “Free Education for All” นอกจากนี้ยังไดมีการเรงพัฒนาการใชเทคโนโลยีขาวสาร (IT) อยางกวางขวาง แผนแมบทเกี่ยวกับเทคโนโลยีขอมูลขาวสาร (IT Master Plan) ตั้งแตป 2001-2010 ไดแถลงเปาหมายในการจัดตั้งโครงสรางพื้นฐานในการจัดเก็บขอมูลและริเร่ิมการใชอุตสาหกรรมเทคโนโลยีขอมูลขาวสารอยางเขมขนไวดังนี้13 1. ริเร่ิมการใช IT ในวงการธุรกิจเพื่อเพิ่มผลผลิตและใหบริการลูกคา 2. ริเร่ิมการใช IT เปนโครงสรางพื้นฐาน สงเสริมความมั่นคงทางสังคมและเศรษฐกิจ เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพทางการคาการลงทุน 3. พัฒนา IT เพื่อใหเปนหลักของเศรษฐกิจแหงชาติ 4. ใหมีการใช IT กันอยางกวางขวางในการศึกษา ใหเปนเครื่องมือในการพัฒนามาตรฐานการศึกษา 5. รวบการพัฒนาการใช IT เขาดวยกันเพื่อใหทุกภาคสวนของอุตสาหกรรมสามารถเขาถึงตลาดในตางประเทศ 6. วางแผนและริเร่ิมการพัฒนาทรัพยากรมนุษยเพื่อตอบสนองความตองการของตลาด 7. เปล่ียนสังคมชาติใหเปนชุมชนที่ใช IT

วิสัยทัศนทางการศึกษา สรางระบบการศึกษาที่สรางสรรคสังคมการเรียนรูที่จะสามารถกาวใหทันกับการทาทายในยคุแหงความรู

อุดมคติ สรางชาติใหพัฒนาทันสมัยดวยการศึกษา 12 “Higher Education” http://www.yangoncity.com.mm/education/ [June 24, 2005] 13 “Survey Research on e-Learning in Asian Countries – Fiscal Year 2002” http://www.asia-elearning.net/content/relatedInfo/report/elearning-trend-2002-cambodia.pdf

แผนการปฏิรูปเพื่อใหมีความทัดเทียมกับประเทศ ASEAN ในการประชุมครั้งที่ 3 ในป 2004 ที่สภามหาวิทยาลัยสวนกลาง ในวันที่ 28 กันยายน นายพลขิ่นยุน ประธานคณะกรรมการการศึกษาแหงพมาไดกลาววากระทรวงตางๆตองเรงระดมความรวมมือวางแผนแมบทเพื่อยกระดับการศึกษาของประเทศใหทัดเทียมกับมาตรฐานของประเทศสมาชิก ASEAN การยกระดับดังกลาวนี้ควรทําดวยการแลกเปลี่ยนหลักสูตร ความรวมมือดานหลักสูตร การทัศนศึกษาโดยนักเรียนระหวางมหาวิทยาลัยทั้งในและตางประเทศ นักศึกษาในระดับปริญญาเอกควรจะสามารถเขียนวิทยานิพนธที่เปนที่ยอมรับในระดับนานาชาติ ใหมีทั้งนักวิชาการในประเทศและตางประเทศเปนผูตรวจสอบงานของนักศึกษาเหลานี้ นโยบายการสงเสริมการศึกษาควรจะสอดคลองกับแผนการศึกษาแหงชาติและเปาหมายทางการศึกษาซึ่งรัฐเปนผูกําหนดไว14

กลไกสถาบันและโครงสรางองคกร การศึกษาแหงชาติอยูภายใตการดูแลของเลขาธิการคนที่หนึ่งของสภาเพื่อการพัฒนาและสันติภาพแหงชาติ (State Peace and Development Council : SPDC) โดยผานกระทรวงศึกษาธิการซึ่งรับผิดชอบการศึกษาและการอบรมในดานการศึกษาพื้นฐาน การศึกษาของครู และอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการประกอบดวยกรมตาง ๆ ดังนี้15 - กรมการศึกษาพื้นฐาน (1) (Department of Basic Education Basic Educationศึกษาพื้นฐาน (2) (Department of Basic Education No.(2)) - กรมการศึกษาพื้นฐาน (3) (Department of Basic Education No.(3)) - กรมการวางแผนการศึกษาและการอบรม (Department of Education Planning and Training - กรมการอุดมศึกษา (พมาตอนลาง) (Department of Higher Education (Lower Myanmar)) - กรมการอุดมศึกษา (พมาตอนบน) (Department of Higher Education (Upper Myanmar)) - คณะกรรมการสอบแหงพมา (Myanmar Board of Examinations) - สํานักงานวิจัยทางการศึกษา (Myanmar Education Research Bureau : MERB) - สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาภาษาแหงพมา (Department of Myanmar Language Commission) - มหาวิทยาลัยศูนยการศึกษาประวัติศาสตร (Universities Historical Research Centre)

นอกจากนี้ยังมีหนวยงานดังตอไปนี้ที่ถูกจัดตั้งขึ้นตามกฎหมายเพื่อประสานงานกับกรมและสํานักงานขางตน ไดแก

14 “Perspective ministries to lay down master plans for enabling their institutions to be on a par with other ASEAN members” http:www.myanmardigest.com/eng_md/sep29.html [June 24, 2005] 15 “Organization and Administrative Structure of the Ministry of Education” http://www.myanmar-education.edu.mm/moeChart.htm/ [June 13, 2005]

สภาการศึกษาพื้นฐาน สภาการศึกษาพื้นฐาน (Basic Education Council) - คณะกรรมการหลักสูตร รายวิชา และแบบเรียนสําหรับการศึกษาพื้นฐาน (Basic Education

Curriculum, Syllabus and Textbook Committee) - คณะกรรมการกํากับดูแลการศึกษาของครู (Teacher Education Supervisory Committee) - สภามหาวิทยาลัยสวนกลาง (Universities Central Council) - สภาวิชาการของมหาวิทยาลัย (Council of Universities Academic Bodies)

- สํานักงานวิจัยทางการศึกษา (MERB) ริเร่ิมขึ้นในป 1966 ตอมาในป 1973 ไดมีกฏหมายจัดตั้งขึ้นเปนสํานักงานอยางเต็มรูปแบบเพื่อสนับสนุนและสงเสริมการวิจัยทางการศึกษา มีศักยภาพที่จะรวมมือกับหนวยงานทั้งในและนอกกระทรวงศึกษาธิการ

โครงสรางการบริหารงานของกระทรวงศึกษาธิการ

ที่มา : http://www.myanmar-education.edu.mm/moeChartview.html

ในการบริหารงานของกระทรวง ไดมีการจัดตั้งเปนคณะกรรมการประสานงานขึ้นเรียกเปนคณะกรรมการบริหาร ประกอบดวยอธิบดีและหัวหนาหนวยงานของทั้ง 10 สํานักงาน รวมกับรัฐมนตรีวาการและรัฐมนตรีชวยวาการอีก 2 ทาน ความรวมมือระหวางประเทศ โครงการรวมมือกับ UNDP/UNESCO UNDP และ UNESCO เปนภาคีหลักในการชวยเหลือทางดานการศึกษาระดับประถมศึกษาในพมา กรมการศึกษาพื้นฐานไดรวมมือกับ UNDP และ UNESCO ในการริเร่ิมโครงการ “Strengthening

and Upgrading of Teacher Training Colleges and Teacher Training Schools” และโครงการ The Education Sector Study ในชวงกลางทศวรรษ 1990 โดยมีจุดมุงหมายที่จะปรับปรุงความเทาเทียมกันในการศึกษา ประสิทธิภาพของการศึกษา และความยุติธรรมของระบบการศึกษาในพมา ซ่ึงมุงเนนการสงเสริมการพัฒนาทรัพยากรมนุษยเพื่อใหตอบสนองตอการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ในระหวางป 1994-96 UNDPไดมีการทําโครงการ the Improved Access to Primary Education in Rural Areas Project ภายใตโครงการ The Human Development Initiative (HDI) ซ่ึงไดดําเนินโครงการใน 9 เมือง และในป 1997 โครงการนี้ยังดําเนินการอยางตอเนื่องในอีก 4 เมือง รวมเปน 11 เมือง ซ่ึงในเมืองเหลานี้กําลังมีการดําเนินโครงการอีกโครงการหนึ่งควบคูกันคือ “Improving Access of Children, Women, and Men of Poorest Communities to Primary Education for All Projects” เนื่องจากครูในพื้นที่หางไกลมักจะเขาไมถึงการอบรมวิธีการสอนแบบสมัยใหม ครูมักจะใชวิธีสอนแบบที่ตนเองเคยเรียนมา โครงการเหลานี้จึงมีจุดมุงหมายที่อบรมครูและแนะนําเกี่ยวกับวธีิการเรียนการสอนที่ทันสมัย UNICEF ยังไดรวมประสานงานและริเร่ิมโครงการ “Continuous Assessment and Prograssion System” ตั้งแตป 1991 โดยดําเนินงานกับโรงเรียนประถม 11,967 แหงใน 277 เมืองระหวางป 1998-1999 และโครงการ “All Children in School” ซ่ึงเริ่มในป 1994 ไดดําเนินงานกับโรงเรียนประถม 9,263 แหงใน 70 เมือง นอกจากหนวยงานของสหประชาชาติ พมายังไดรับความชวยเหลือจากรัฐบาลญี่ปุนเปนจํานวนมากเชนกัน มูลนิธิตางๆของญี่ปุนสนับสนุนเงินทุนในหลายๆโครงการ เชน the Grass Roots Grant Assistance Scheme และ Specific Scholarship Programs16

จุดเดน มีความพยายามที่จะพัฒนาการเรียนการสอนผานสื่ออิเล็คโทรนิคสอยางจริงจัง การศึกษาผานส่ืออีเล็คโทรนิคสเร่ิมขึ้นในวันที่ 1 มกราคม 200117 แตการศึกษาเกี่ยวกับคอมพิวเตอรในพมาไดริเร่ิมมาตั้งแตป 1971 เมื่อมีการกอตั้งศูนยคอมพิวเตอรของมหาวิทยาลัยยางกุง เร่ิมมีการศึกษาระดับปริญญาโทในป 1973 แตจํานวนนักศึกษายังคงมีจํากัด สวนหลักสูตรระดับปริญญาตรีเร่ิมเปดในป 1986 ซ่ึงมีนักศึกษามาลงทะเบียนเรียนปละ 90 คนจึงถึงป 1988 ในปจจุบันมีการจัดตั้งมหาวิทยาลัยคอมพิวเตอรศึกษา (University of Computer Studies, Yangon : UCSY) ที่ยางกุง และที่มัณฑะเลย (UCSM) อยูภายใตกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มีนักศึกษามาลงทะเบียนเรียนเพิ่มถึงปละ 800 คน

16 “Burma’s Child in Education” August 2003 http://www.crin.org/docs/resources/treaties/crc.36/myanmar_ABFSU_ngo_report.pdf [June 8, 2005] 17 “Introduction of e-Education in Myanmar” http://www.myanmar-education.edu/mm/e-government%20sector/developedu.htm

นอกจากนี้ยังมีโรงเรียนเอกชนถึง 70 แหงที่เปดสอนเกี่ยวกับการใชโปรแกรมคอมพิวเตอรตางๆ จากขอมูลในป 2001 พมามีวิทยาลัยสอนเกี่ยวกับคอมพิวเตอร 24 แหงและมีสถาบันการศึกษาที่เรียกไดวาเปนโรงเรียนที่ใชส่ืออิเล็คโทรนิคสถึง 164 แหง สถาบันเอกชนที่เปดสอนวิชาคอมพิวเตอรมีบทบาทอยางมากในการพัฒนาทรัพยากรมนุษยในดาน IT ในพมา ในปจจุบันมีสถาบันเชนนี้ถึงกวา 65 แหงในกรุงยางกุง สถาบันเหลานี้เปดสอนหลักสูตรที่ไดรับการยอมรับกันในระดับนานาชาติที่เรียกวา IDCS และ HDCS ดวยความรวมมือกับหนวยงานของประเทศอังกฤษ ซ่ึงหลักสูตรเชนนี้สามารถเทียบเทาไดกับหลักสูตรการสอนของมหาวิทยาลัยคอมพิวเตอรศึกษาที่ยางกุง (UCSY) โดยใชบุคลากรอาจารยจาก UCSY และจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยียางกุง ดัชนีชี้วัด ในการวางระบบการศึกษาผานสื่ออินเตอรเนท กระทรวงศึกษาธิการและกระทรวงขอมูลขาวสารไดพิจารณาที่จะรวมมือกันจัดระบบที่เรียกวา “e-education” เพื่อเปนวิธีการสงเสริมการศึกษาทางไกล โดยวางแผนใหมหาวิทยาลัยและสถาบันตางๆภายใตกระทรวงศึกษาธิการมีการแลกเปลี่ยนขอมูลระหวางกันเปนเปาหมายดังนี้ 1. เพื่อใหประชาชนทั่วไปไดเขาถึงการศึกษาพื้นฐาน 2. เพื่อจัดหาการศึกษาที่ใชเทคโนโลยีใหแกประชาชน เปนการสงเสริมกําลังใจและตอบสนองตอผลประโยชนแหงชาติ 3. เพื่อเปนการฝกอบรมแรงงานมีฝมือ 4. เพื่อสงเสริมใหประชาชนเขาถึงการศึกษาในระดับมหาวิทยาลัย เพื่อสงเสริมความรูความสามารถทางสติปญญา 5. เพื่อเปนการจัดหาการศึกษาระดับอุดมศึกษาใหนักศึกษา และชวยใหผูทํางานทั่วไปสามารถแสวงหาเพิ่มพูนความรูตอไปได

ส.ป.ป.ลาว

บทนํา สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว หรือ ส.ป.ป.ลาว เปนประเทศที่ตั้งอยูในบริเวณลุมแมน้ําโขง มีเนื้อที่ประมาณ 236,800 ตารางกิโลเมตร ซ่ึงสวนใหญเปนภูเขาและที่ราบสูง มีระบบการเมืองแบบสังคมนิยม มีพรรคการเมืองเพียงพรรคเดียว คือ พรรคประชาชนปฏิวัติลาว (Lao People’s Revolutionary Party: LPRP) ประเภทของรัฐบาลเปนรัฐบาลเดี่ยว ระดับการมีสวนรวมของประชาชนมีนอย ส.ป.ป.ลาว มีประชากรทั้งหมด 6.22 ลานคน ถึงแมวาลาวเปนประเทศที่มีความหลากหลายทางชาติพันธสูงถึง 47 ชาติพันธแตประชาชนลาวทั้งประเทศพูดและเขียนภาษาเดียวกัน คือ ภาษาลาว ภาษาอื่นที่ใชในประเทศไดแก ฝร่ังเศส อังกฤษ จีน ไทย และเวียดนาม ทั้งนี้ ภาษาอังกฤษ และภาษาฝรั่งเศส เปนภาษาที่ใชในการติดตอระหวางประเทศ โดยเฉพาะอยางยิ่งในดานการคา ประชาชนประมาณรอยละ 90 นับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาท ซ่ึง เปนศาสนาที่มีลักษณะเฉพาะตอการดํารงชีวิตของประชาชนลาวและมีอิทธิพลที่แข็งแกรงในสังคมลาว จากรายไดตอหัวที่ประมาณ 400 เหรียญสหรัฐในป 2540 ส.ป.ป.ลาว จัดอยูในกลุมประเทศดอยพัฒนาโดยมีประชากรเกือบครึ่งหนึ่งของประเทศตกอยูในภาวะความยากจน ผลิตภัณฑมวลรวมประชาชาติ (Gross Domestic Product: GDP) ในปจจุบันประมาณ 9 พันลานเหรียญสหรัฐฯ ดวยอัตราการขยายตัวที่ยังคงต่ํากวาเปาหมาย คือ ประมาณรอยละ 6 ดวยอัตราคาจางแรงงานต่ํา อัตราการรูหนังสือของประชากรเฉลี่ยประมาณรอยละ 57 และขาดแคลนแรงงานฝมือ ดัชนีทางสังคมตางๆ ยังคงอยูในระดับต่ํา เห็นไดจากการมีอายุคาดหมายเฉลี่ยเพียง 51 ป มีอัตราเจริญพันธุโดยรวม 6.7 ตอสตรีแตละคนและอัตราการเติบโตทางประชากรลดลงเหลือรอยละ 2.4 นับตั้งแตที่ไดสถาปนาเปนประเทศเอกราชในป 2518 ส.ป.ป.ลาว ใหความสําคัญกับการศึกษาเร่ือยมา โดยเฉพาะอยางยิ่งการประถมศึกษา เทคนิคศึกษา และการรูหนังสือของประชาชนที่มีอายุ 14-15 ป แนวทางดังกลาวยังสานตอแมเมื่อส.ป.ป.ลาวไดเร่ิมการปฏิรูปเศรษฐกิจภายในประเทศ จากระบบที่มีการวางแผนจากสวนกลางมาเปนการดําเนินนโยบายตลาดเสรี ในป 2529 ทวาดวยจุดเนนที่แตกตางไปจากอดีต คือ เปนการเนนการศึกษาเพื่อพัฒนาทุนมุนษยและแกปญหาความยากจนเพื่อกอใหเกิดความเจริญอยางยั่งยืนและพัฒนาอยางรวดเร็ว โดยมีการจัดทําแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติเปนแนวทางในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ซ่ึงกําหนดใหการศึกษาเปนความจําเปนทางสังคมที่จะตองฝกใหประชาชนพัฒนาไปในลักษณะที่สอดรับกับการปรับตัวสูระบบเศรษฐกิจที่อิงกลไกตลาด

การยกระดับฐานะของประเทศใหพนจากการเปนประเทศดอยพัฒนาโดยรักษาอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจในระดับปานกลางและคงที่ เปนเปาหมายหลักของการพัฒนาประเทศในชวงตนศตวรรษที่ 21 แนวทางการปฏิรูปการศึกษา

วิสัยทัศนทางการศึกษา ในปจจุบัน วิสัยทัศนทางการศึกษา เรียกวา วิสัยทัศน พ.ศ. 2563 ทางการศึกษาของ ส.ป.ป.ลาว ซ่ึงมีจุดเนน 5 ประเด็นตอไปนี้ คือ

1. การจัดใหมีการศึกษาภาคบังคับอยางทั่วถึงในระดับประถมศึกษา โดยยังคงทําใหการมีสวนรวมในการศึกษาระดับมัธยมศึกษาเพิ่มมากขึ้นตอไป เพื่อใหประชาชนทุกคนไดรับโอกาสในการสมัครเขารับการศึกษาในลักษณะที่สนองตอบตอสถานการณทางเศรษฐกิจของประเทศ

2. การพยายามขจัดความไมรูหนังสือใหหมดไปอยางสิ้นเชิงในกลุมประชากรเปาหมาย ซ่ึงเปนการอํานวยใหประชากรที่ตกอยูในภาวะความยากจนสุทธิไดมีแนวทางในการยกระดับคุณภาพชีวิต

3. การขยายการศึกษาในระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษาในลักษณะที่สอดรับกับความจําเปนของตลาดแรงงานสมัยใหม และเอื้อตอการปรับปรุงผลตอบแทนทางเศรษฐกิจตอภาคการเกษตรใหเพิ่มสูงขึ้น

4. การฝกอบรมแรงงานฝมือ ชางเทคนิค วิชาชีพ และปญญาชนใหมีความสามารถในการนําวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีสมัยใหมมาใชในลักษณะที่สนองตอบตอความจําเปนในการพัฒนาเศรษฐกิจสังคมได

5. การยกระดับการศึกษาชาติใหใกลมาตรฐานสากลมากขึ้นเปนลําดับ 6. การใหการศึกษาเปนแกนสําหรับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย โดยใหมีการลงทุนดาน

การศึกษาในสัดสวนที่เหมาะสม วิสัยทัศนดังกลาวมีฐานแนวคิดที่วา การพัฒนาทรัพยากรมนุษยใหพรอมดวยความรูและ

ความสามารถที่เหมาะสมตอการอํานวยใหประเทศกาวพนจากการเปนประเทศดอยพัฒนาโดยรักษาอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจในระดับปานกลางและคงที่ เปนวิสัยทัศนทางการศึกษาของ ส.ป.ป.ลาว ในชวงตนศตวรรษที่ 21 นี้ ซ่ึง ส.ป.ป.ลาว เล็งเห็นความจําเปนของทุนมนุษยที่มีทักษะพรอมในดานคณิตศาสตร ความสามารถในการอานและสื่อสารดวยลายลักษณอักษร วิทยาศาสตรขั้นพื้นฐาน ความสามารถในการเขาถึงแหลงขอมูลความรูทางอิเลคทรอนิคและสิ่งตีพิมพตางๆ เปนฐานสําคัญสําหรับการนําเทคโนโลยีช้ันสูงมาใช และการสงเสริมใหสังคมมีสวนรวมในการพัฒนาประเทศ

ปรัชญาทางการศึกษา

การศึกษา เปนการพัฒนาทางดานรางกาย สติปญญา และคุณสมบัติของมนุษยทั้งในและนอกโรงเรียน

ความเคลื่อนไหวทางการศึกษา ในการผลักดันการพัฒนาทางการศึกษาใหสอดรับกับแนวทางการปฏิรูปเศรษฐกิจใหมของประเทศตามนโยบายตลาดเสรีนั้น คณะบริหารงานศูนยกลางพรรคประชาชนปฏิวัติลาวและสภารัฐมนตรีไดมีมติใหจัดทํายุทธศาสตรทางการศึกษา เมื่อวันที่ 9 มิถุนายน 2530 เปนยุทธศาสตรที่ครอบคลุมตั้งแตป 2530 ถึงป 2543 ครอบคลุมถึงการพัฒนาการศึกษาทั้งในเชิงปริมาณและในเชิงคุณภาพในทุกระดับทั้งในและนอกระบบโรงเรียน การพัฒนาครู การลงทุนเพื่อการศึกษา ความรวมมือจากตางประเทศ และการบริหารจัดการทางการศึกษา โดยในระยะแรกนั้นมีการกําหนดทิศทางและแผนดําเนินการถึงป 2533 ซ่ึงมีลักษณะที่เปนระบบแบบแผนในการปฏิรูปการศึกษาอยางเปนขั้นตอนมากขึ้น

ในการยกระดับการศึกษาแหงชาติใหสูงขึ้น ในป 2536 คณะบริหารศูนยกลางพรรค ไดมีมติเกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษยของ ส.ป.ป.ลาว จากการที่เล็งเห็นวา การพัฒนาทรัพยากรมนุษยเปนการใหการศึกษา พัฒนาคนและการใชทรัพยากรมนุษยเพื่อการผลิต ใหสอดรับกับเปาหมายในการมุงยกระดับความกาวหนาทางเศรษฐกิจและสังคม โดยกําหนดแนวทางในการพัฒนาการศึกษา 3 แนวทางคือ 1) การพัฒนาในแนวทางที่เรียกวา การศึกษาสําหรับทุกคน (Education For All) และใหการศึกษาไดรับความสําคัญในเชิงนโยบายเปนลําดับตนเพื่อรองรับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม 2) การยกระดับคุณภาพการศึกษาอยางจริงจังและการสรางความรวมมือระหวางการศึกษาในระบบโรงเรียนกับการศึกษาในสังคมและครอบครัว และ 3) การปรับปรุงและพัฒนาการศึกษใหทันสมัยในทุกระดับทั้งสามัญศึกษาและอาชีวศึกษา ทั้งในสวนของภาครัฐและในสวนของภาคเอกชน ทั้งในและนอกระบบโรงเรียน ในลักษณะที่สอดรับความกาวหนาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

ตอมา ในป 2540 คณะกรรมการวางแผนรัฐแหง ส.ป.ป.ลาว (State Planning Committee of Lao PDR) ไดจัดทําโครงการพัฒนาทรัพยากรมนุษยระยะกลาง 2540-2543 ขึ้นเพื่อเปนกรอบแนวทางกวางๆ ในการจัดลําดับความสําคัญการดําเนินการตางๆ ในการพัฒนาการศึกษาใหสอดรับกับแนวทางการปฏิรูปเศรษฐกิจภายในประเทศ โดยมีปรัชญาวา “จะสงเสริมการพัฒนาอยางเปนองครวมและบูรณาการซึ่งครอบคลุมวิธีการตางๆ หลากหลายในลักษณะที่สอดรับกันระหวางภาคสวนตางๆ” โครงการพัฒนาทรัพยากรมนุษยกําหนดแนวทางใหภาคการศึกษาเนนความสนใจและแนวทางการปรับปรุงไปที่ 3 สวนหลัก คือ 1) ความสามารถของผูบริหารในทุกระดับ 2) คุณภาพของครูในทุกระดับ โดยเฉพาะอยางยิ่งในระดับจังหวัด และ 3) แรงจูงใจจากชุมชน โดยเฉพาะอยางในพืน้ทีห่างไกลความเจริญและในบรรดาชนกลุมนอยตางๆ

เมื่อยางเขาศตวรรษใหม การปฏิรูปการศึกษายังคงดําเนินตอไปในแนวทางขางตน สวนระบบการศึกษาของ ส.ป.ป.ลาว ยังไมมีการปฏิรูปนัก หากแตยังคงเนนในแนวทางที่ผานมา คือ เปนระบบการศึกษาที่ประกอบดวย การศึกษากอนประถมศึกษา ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนตน มัธยมศึกษาตอนปลาย อาชีวศึกษา เทคนิคศึกษา และอุดมศึกษา อาจกลาวไดวา แนวทางหลักในการปฏิรูปการศึกษาสําหรับศตวรรษใหมของ ส.ป.ป.ลาว นั้นเปนการเนนตามกรอบนโยบายทางการศึกษาชวง 5 ปตั้งแตป 2544 ถึง 2548 ซ่ึงแบงวัตถุประสงคออกไดเปน 4 สวนหลัก ดังนี้

1. การเขาถึงการศึกษาอยางเทาเทียมกัน ประกอบดวย 1.1 การขยายโรงเรียนใหเพิ่มมากขึ้น 1.2 การฟนฟูและบูรณะโรงเรียนที่มีอยูแลว 1.3 การยกระดับบทบาทของภาคเอกชน 1.4 การจัดทําโครงการเฉพาะซึ่งมุงใหกลุมประชาชนที่ เสียเปรียบทางสังคมเขาถึง

การศึกษามากขึ้น 1.5 การศึกษาความเปนไปไดสําหรับการศึกษาแบบเปด 1.6 การขยายโอกาสสําหรับการศึกษานอกระบบ

2. การยกระดับคุณภาพทางการศึกษา ประกอบดวย 2.1 การยกระดับคุณภาพครูทุกระดับผานโครงการฝกอบรมทั้งกอนที่จะเปนครูและเมือ่เปน

ครูแลว 2.2 การยกระดับคุณภาพหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานหรือการศึกษาทั่วไป และ

อาชีวศึกษา 2.3 การพัฒนาเครื่องมืออุปกรณการเรียนการสอนใหมีคุณภาพและใหสามารถผลิตไดเอง

ในระดับจังหวัด 3. การปรับปรุงความเชื่อมโยงสวนตางๆ ในระบบการศึกษาใหสอดคลองกัน

3.1 การศึกษาความเปนไปไดสําหรับการศึกษาทางไกลและการทําใหการศึกษาสอดรับกับสังคมมากขึ้น

3.2 การปรับปรุงหลักสูตรใหสอดรับกับการเปลี่ยนแปลงตาง ๆ 3.3 การจัดตั้งกองทุนในการสงเสริมใหภาคเอกชนมีสวนรวมในการศึกษามากขึ้น 3.4 การนําการแนะแนวมาใชในการใหความชวยเหลือตาง ๆ แกนักเรียน 3.5 การกระชับความเชื่อมโยงระหวางสถาบันการศึกษา ภาคอุตสาหกรรมและภาคเอกชน

4. การทําใหการบริหารจัดการและการวางแผนแข็งแกรงมากขึ้น 4.1 การเพิ่มความแข็งแกรงในการวางแผนปฏิบัติการและการวางแผนพัฒนาทรัพยากร

มนุษย

4.2 การกระชับเครือขายทางการศึกษาที่มีอยูแลวในระดับกลางและระดับจังหวัดใหเขมแข็งมากขึ้น

4.3 การยกระดับความสามารถดานงบประมาณและการคลัง 4.4 การบริหารจัดการโครงการลงทุน การกํากับดูแลและการยกระดับความสามารถในการ

ประสานงานภายในกระทรวงศึกษาฯ แผนพัฒนาการศึกษา 2544-2548 กําหนดเปาหมายดําเนินการไว 15 ประการดังนี้ 1. ขยายการดูแลเด็กกอนวัยเรียน โดยการสงเสริมการประสานงานระหวางภาครัฐ ชุมชน

และภาคเอกชนในการจัดตั้งโรงเรียนสําหรับเด็กกอนวัยเรียนใหเพิ่มมากขึ้นอยางนอยรอยละ 5 ตอป 2. บังคับใชการศึกษาภาคบังคับระดับประถมศึกษา โดยตั้งเปาใหอัตราการเขาเรียนสุทธิ

เพิ่มจากรอยละ 77 ในป 2543 เปนรอยละ 85 ในป 2548 3. ดําเนินการอยางตอเนื่องในการขยายจํานวนโรงเรียนระดับประถมศึกษาในพื้นที่ชนกลุม

นอยและพื้นที่ชนบทหางไกลความเจริญ โดยอาศัยการสอนคละระดับชั้นและการจัดกลุมโรงเรียนใหสอดรับกับความจําเปนขั้นพื้นฐาน

4. สรางเงื่อนไขที่เหมาะสมตอการลดอัตราการเรียนซ้ําชั้นและการลาออกกลางคันใหเหลืออยางนอยรอยละ 2 และรอยละ 3 ตอปตามลําดับ

5. ปรับเครือขายมัธยมศึกษาโดยการขยายจํานวนโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนตนทั่วประเทศและทําใหการเขาเรียนโดยรวมเพิ่มขึ้นจากรอยละ 45 ในป 2543 เปนรอยละ 52 ในป 2548 ขยายจํานวนโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายพรอมกับการพัฒนาหลักสูตรและกลุมวิชาแกนตางๆ ตลอดจนการเพิ่มอัตราการเขาเรียนโดยรวมจากรอยละ 22 ในป 2543 เปนรอยละ 24 ในป 2548

6. เพิ่มอัตราการรูหนังสือ ในกลุมประชากรวัย 15-40 ป จากรอยละ 80 ในป ในป 2543 เปนรอยละ 85 ในป 2548 และเพิ่มอัตราการรูหนังสือ ในกลุมประชากรวัย 15 ปขึ้นไป จากรอยละ 74 ในป ในป 2543 เปนรอยละ 80 ในป 2548

7. ดําเนินการอยางตอเนื่องในการยกระดับผูรูหนังสือรายใหมๆ อยางนอยรอยละ 30 ใหเรียนจบชั้นประถมศึกษา สําหรับการยกระดับสูมัธยมศึกษาตอนตนและตอนปลายนั้น ยังคงเนนที่การตอบสนองตอความจําเปนที่แทจริงและเงื่อนไขตางๆ ทางเศรษฐกิจสังคมตอไป

8. ปรับปรุงคุณภาพการฝกครูระดับประถมและมัธยมศึกษา ยกระดับครูที่ไมเคยผานการฝกอบรมใหมีคุณสมบัติขั้นพื้นฐานที่จําเปน อีกทั้งจัดใหมีวิชาบังคับและวิชาเลือกตางๆ เพิ่มมากขึ้นในหลักสูตรการฝกอบรมครู

9. ปรับปรุงสมรรถนะของผูฝกอบรมครูตั้งแตระดับวิทยาลัยครู โรงเรียนฝกอบรมครู ไปจนถึงสถาบันการศึกษาระดับปริญญาตรี โดยเฉพาะอยางยิ่งในระดับวิทยาลัยครูและ โรงเรียนฝกอบรมครู นั้นเนนดานภาษาอังกฤษ ทักษะทางคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีทางการศึกษาขั้นสูง

10. สงเสริมและขยายโรงเรียนระดับอาชีวศึกษาและโรงเรียนเทคนิคตางๆ ของภาคเอกชนใหสามารถรับนักเรียนไดเพิ่มมากขึ้นอยางตอเนื่องและสอดคลองกับระบบของภาครัฐ

11. สงเสริมโรงเรียนอาชีวศึกษาที่มีอยูตามภูมิภาคตางๆ ทั่วประเทศใหแข็งแกรงมากขึ้น 12. สงเสริมใหเด็กนักเรียนหญิงและชนกลุมนอยตาง ๆ เขาเรียนในระดับอุดมศึกษามากขึ้น

และเพิ่มสัดสวนนักเรียนตอจํานวนประชากรทั้งหมดจาก 350/100,000 คนในป 2543 เปน 450/100,000 คนในป 2548

13. กําหนดภาระงานของผูบริหารทางการศึกษาและที่ปรึกษาตาง ๆ 14. ทําใหระบบสารสนเทศดานการบริหารจัดการทางการศึกษาบูรณาการกันอยางกระชับ

แนนมากขึ้น 15. พยายามเพิ่มสัดสวนงบประมาณของภาครัฐดานการศึกษาจากรอยละ 13 ในป 2543 เปน

รอยละ 14 ภายในป2548

กลไกสถาบันและโครงสรางองคกร การบริหารจัดการทางการศึกษานั้น แบงออกเปนการบริหารสวนกลาง และสวนทองถ่ินโดย

กระทรวงศึกษาธิการ (Ministry of Education) ซ่ึงไดจัดตั้งขึ้นอยางเปนทางการเมื่อป 2536 มีหนาที่รับผิดชอบในการวางแผนและบริหารจัดการดานการศึกษาในทุกสวนของประเทศ ดวยรูปแบบการตัดสินใจและการวางแผนนั้นมักเปลี่ยนแปลงสลับกันไปเนืองๆ ระหวางการบริหารจัดการจากสวนกลางและการกระจายอํานาจจากสวนกลาง โดยในระยะหลังนี้เปนการเนนที่การกระจายอํานาจจากสวนกลาง ซ่ึงยังคงไมชัดเจนนักและจําเปนตองมีการปรับปรุงตอไปดวยรูปแบบที่เหมาะสม โดยเฉพาะอยางยิ่งในสวนที่เปนความรับผิดชอบระดับจังหวัดและระดับอําเภอ ในปจจุบัน กระทรวงศึกษาฯ ไดจัดตั้งระบบสารสนเทศในการบริหารจัดการทางการศึกษาดวยระบบคอมพิวเตอร แบงออกเปน 4 สวน คือ 1) ระบบสารสนเทศในการบริหารจัดการทางการศึกษา 2) ระบบสารสนเทศในการบริหารจัดการดานบุคลากร 3) ระบบสารสนเทศในการบริหารจัดการดานการกอสราง และ 4) ระบบสารสนเทศในการบริหารจัดการทางการคลัง ซ่ึงในสวนหลังนี้อยูระหวางการพัฒนา ทั้งนี้ กระทรวงศึกษาฯ มีแผนที่จะบูรณาการทั้ง 4 สวนดังกลาวเขาดวยกันเพื่อปรับปรุงคุณภาพทางเทคนิคในการวางแผนและการบริหารจัดการตาง ๆ สําหรับการบริหารการศึกษาสวนทองถ่ิน แบงออกเปน 2 ระดับ คือ ระดับจังหวัด (แขวง) และระดับอําเภอ (เมือง)

ความรวมมือระหวางประเทศ ส.ป.ป.ลาว ไดรับความรวมมือและการสนับสนุนในการพัฒนาการศึกษาจากองคกรระหวางประเทศและมิตรประเทศตาง ๆ เร่ือยมา โดยเฉพาะอยางยิ่งตั้งแตวิกฤตเศรษฐกิจการเงินการคลังที่

แพรกระจายไปตามสวนตาง ๆ ทั่วทวีปเอเชีย ทั้งนี้ สวนใหญเปนโครงการความชวยเหลือแบบระยะส้ัน

ในปจจุบัน ส.ป.ป.ลาว ยังคงตองการความรวมมือและการสนับสนุนในการพัฒนาการศึกษา โดยเนนโครงการความชวยเหลือที่มีระยะยาวมากขึ้นกวาเดิมและในลักษณะที่สอดรับกับแนวทางและเปาหมายในระยะกลางและระยะยาวในการปฏิรูปการศึกษาที่จะดําเนินนับจากนี้ตอไปใหมากขึ้น

ทั้งนี้ เปาหมายระยะกลางในการปฏิรูปการศึกษาประกอบดวย 1. การขยายและยกระดับคุณภาพประถมศึกษาอยางทั่วถึง 2. การขยายโอกาสทางการศึกษาแกประชากรในพื้นที่ชนบทและพื้นที่ชนกลุมนอยตาง ๆ 3. การขจัดความไมรูหนังสือใหหมดสิ้นไป 4. การปรับปรุงประสิทธิภาพภายในโรงเรียน 5. การปรับปรุงการฝกอบรมระดับวิชาชีพของครูและการปรับปรุงสถานภาพทางวิชาการ

ของครู 6. การปรับปรุงดานการบริหารจัดการและการควบคุมคุณภาพทางการศึกษา เปาหมายระยะยาวในการปฏิรูปการศึกษา ประกอบดวย 1. พัฒนาการของภาคเอกชนในดานการศึกษา 2. การกระจายอํานาจวางแผนและการบริหารจัดการออกจากสวนกลาง 3. การเพิ่มงบประมาณในการปรับปรุงคุณภาพทางการศึกษา

ความรวมมือระดับพหุภาคี ในชวงที่ผานมา ส.ป.ป.ลาว ไดรับความรวมมือและการสนับสนุนในการพัฒนาการศึกษาจาก

องคกรระหวางประเทศตาง ๆ เชน 1. ในการจัดทําระบบสารสนเทศในการบริหารจัดการทางการศึกษาดวยระบบคอมพิวเตอร

ไดรับการสนับสนุนและความรวมมือจาก Asian Development Bank, Francophone เปนตน 2. ในการฝกอบรมครูประจําการเพื่อพัฒนาคุณภาพครูนั้น ส.ป.ป.ลาว ไดรับความรวมมือ

และการสนับสนุนจากหลายแหลง เชน UN Special Fund, Colombo Plan, Asian Development Bank ซ่ึงในประการหลังนี้ไดเนนใหการสนับสนุนในโครงการฝกอบรมครู ครูฝก และอาจารยใหญของโรงเรียนตาง ๆ

3. การยกระดับสมรรถนะของชุมชนในการบริหารจัดการระดับประถมศึกษา และการพัฒนาการศึกษานอกระบบตาง ๆ นั้นไดรับความรวมมือและสนับสนุนจาก UNICEF โดยรวมมือกับสหพันธแมหญิงลาว (Lao Women’s Union) นอกจากนี้ UNICEF ยังใหความรวมมือในการจัดตั้งกลุมโรงเรียนตนแบบในการชวยเหลือนักการศึกษาทองถ่ินและชุมชนใหสามารถออกแบบกลุมโรงเรียนและพัฒนาความสามารถในการบริหารจัดการรวมทั้งการประเมินตนเองได การสนับสนุนโครงการจัดทํากรอบแนวทางในการวางแผนและฝกอบรมชาวบานใหมีสวนรวมในการวางแผน

4. การสนับสนุนดานการวางแผนพัฒนาการศึกษา ไดรับการสนับสนุนจาก World Bank โดยเฉพาะอยางยิ่งในสวนของการตรวจสอบทักษะการบริหารจัดการศึกษาทุกระดับ

5. การจัดตั้งมหาวิทยาลัยแหงชาติ ไดรับความรวมมือจาก Asian Development Bank เปนหลัก

ความรวมมือระดับทวิภาคี ความรวมมือระดับทวิภาคีในการพัฒนาการศึกษาใน ส.ป.ป.ลาว นั้นเปนในทํานองเดียวกับความรวมมือระดับพหุภาคี โดยบางโครงการรวมมือระดับทวิภาคีนั้นเปนโครงการรวมที่ ส.ป.ป.ลาว ไดรับความรวมมือจากระดับพหุภาคี เชน ความรวมมือจาก AusAID Basic Education (Girls) ของออสเตรเลีย ในโครงการการจัดทําระบบสารสนเทศในการบริหารจัดการทางการศึกษาดวยระบบคอมพิวเตอร ความรวมมือจาก USAID ของสหรัฐอเมริกา ในโครงการฝกอบรมครูประจําการเพื่อพัฒนาคุณภาพครู เปนตน นอกจากนี้ยังมีโครงการความสนับสนุนเฉพาะรายประเทศ เชน ความรวมมือสนับสนุนจากประเทศสวิตเซอรแลนดในการเปดหลักสูตรปริญญาตรี 5 ปสาขาวิชาวิศวกรรมโยธา วิศวกรรมเครื่องกล และวิศวกรรมไฟฟา

ความกาวหนา/ ดัชนีชี้วัดความสําเร็จ จากเปาหมายในการดําเนินการที่โครงการพัฒนาทรัพยากรมนุษยระยะกลาง 2540-2543 ได

กําหนดไวใหเนนไปที่ 3 สวนหลัก คือ 1) ความสามารถของผูบริหารในทุกระดับ 2) คุณภาพของครูในทุกระดับ โดยเฉพาะอยางยิ่งในระดับจังหวัด และ 3) แรงจูงใจจากชุมชน โดยเฉพาะอยางในพื้นที่หางไกลความเจริญและในบรรดาชนกลุมนอยตางๆ ดังไดกลาวแลวขางตนนั้น รายงานความกาวหนาในการดําเนินการของกระทรวงศึกษา (2543) ช้ีใหเห็นถึงความสําเร็จในระดับหนึ่งในหลายสวน ไดแก

1. พัฒนาการดานปริมาณทางการศึกษา เนนในสวนของการขยายโอกาสทางการศึกษา ดังนี้ 1.1 การเขาเรียนในชั้นประถมศึกษาโดยสุทธิเพิ่มสูงขึ้นจากรอยละ 62 ในป 2534-2535

เปนรอยละ 76.4 ในป 2541-2542 นักเรียนในชั้นมัธยมศึกษาตอนตนมีจํานวนเพิ่มสูงขึ้นอยางรวดเร็วตั้งแตป 2534-2535 จากอัตราการเขาเรียนในในชั้นมัธยมศึกษาตอนตนโดยเฉลี่ยรอยละ 28 เปนรอยละ 43 ในป 2541-2542 เมื่อเปรียบเทียบกับอัตราการเขาเรียนในในชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายโดยเฉลี่ยที่เพิ่มจากรอยละ 11 ในป 2534-2535 เปนรอยละ 18 ในป 2541-2542

1.2 การขยายบริการทางการศึกษาในพื้นที่ชนกลุมนอยดวยการสรางโรงเรียนในถิ่นหางไกลมากขึ้น การศึกษาเอกชนในเมืองใหญขยายตัวอยางตอเนื่อง สําหรับระดับกอนประถมศึกษานั้นเพิ่มจาก 1,655 แหงในป 2534-2535 เปน 8,337 แหงในป 2541-2542 สําหรับระดับประถมศึกษาเพิ่มจาก 6,886 แหงเปน 20,504 แหง สําหรับระดับมัธยมศึกษาตอนตนเพิ่มจาก 165 แหงเปน 2,450

แหง สําหรับระดับอาชีวศึกษาเพิ่มจาก 2,695 แหงเปน 6,791 แหง ทั้งนี้มีนักเรียนในระดับเทคนิคช้ันสูงเพิ่มมากขึ้นจาก 240 คนเปน 4,207 คน ในป 2541-2542

2. พัฒนาการดานคุณภาพทางการศึกษา 2.1 ความพยายามในการขจัดความไมรูหนังสือมีพัฒนาการดีขึ้น เห็นไดจากอัตราการรู

หนังสือของประชากรวัย 15-40 ป เพิ่มจากรอยละ 69.2 ตามขอมูลที่ปรากฏในสํามะโนประชากรป 2538 เปนรอยละ 82 ในป 2541-2542

2.2 อัตราการเรียนซ้ําชั้นในระดับมัธยมศึกษาตอนตนลดต่ําลงเหลือรอยละ 4 ในขณะที่อัตราการเรียนซํ้าชั้นในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายลดต่ําลงเหลือรอยละ 2 ในป 2541-2542

2.3 ปญหาการลาออกจากสถานศึกษากลางคันในระดับมัธยมศึกษาลดต่ําลงจากรอยละ 14 ในป2534-2535 เปนรอยละ 12.7 ในป 2541-2542 สําหรับระดับมัธยมศึกษาตอนตน และจากรอยละ 18 เปนรอยละ 10 สําหรับระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในชวงเวลาเดียวกัน เมื่อเปรียบเทียบกับการลาออกกลางคันในระดับประถมศึกษาซึ่งเพิ่มขึ้นเล็กนอยจากรอยละ 11 เปนรอยละ 11.7 ในชวงดังกลาว

3. การพัฒนาครูและการเรียนการสอนในระดับอุดมศึกษามีความสอดรับกันมากขึ้นอยางมีจุดเนนและแผนงานจากการปฏิรูปหลักสูตรการเรียนการสอน การจัดตั้งมหาวิทยาลัยแหงชาติขึ้นในลักษณะการผนวกรวมสถาบันการสอนในระดับสูงตาง ๆ เขาไวดวยกันและการบริหารจัดการที่เปนเอกภาพ รองรับดวยการจัดตั้งระบบสารนิเทศดานการบริหารจัดการทางการศึกษาในการตอบสนองความตองการของตลาดแรงงาน

เอกสารอางอิง ธีระ รุญเจริญ. 2542. รายงานการปฏิรูปการศึกษาของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว.

สํานักงานคณะกรรมการศึกษาแหงชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี กทม.: ที.พี.พร้ินท จํากัด. Ministry of Education.2005 Vision of Education 2005 Vientiane.

สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม บทนํา เวียดนามมีพื้นที่ทั้งสิ้น 331,700 ตารางกิโลเมตร แบงการปกครองออกเปน 61 จังหวัด มีประชากรประกอบดวยชนเชื้อชาติตางๆ 54 กลุม ประชากรสวนใหญนับถือศาสนาพุทธ คริสตคาทอลิก คาวได และหัวฮาว ขอมูลพื้นฐาน

การเมือง รัฐธรรมนูญแรกของเวียดนามประกาศใชในเดือนพฤศจิกายน 1946 กําหนดใหการปกครองเวียดนามเปนสาธารณรัฐประชาธิปไตย ซ่ึงอํานาจเปนของประชาชน แตหลังจากไดมีการรวมประเทศเวียดนามและใตเขาไวดวยกัน และไดมีการเลือกตั้งสมัชชาใหญ (National Congress) ของเวียดนามในวันที่ 2 กรกฎาคม 1976 เวียดนามเปลี่ยนชื่อเปนสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม และเขาสูยุคของการปรับเปลี่ยนไปเปนระบบสังคมนิยม ตามรัฐธรรมนูญสมัชชาใหญเปนองคกรผูแทนประชาชนที่สูงที่สุด เปนฝายนิติบัญญัติที่จะมีการเลือกตั้งกันใหมทุก 5 ปดวยวิธีการลงคะแนนลับตามแบบสากล หลังจากนั้นสมาชิกสมัชชาใหญ 450 คนจะเลือกประธานและสมาชิกของคณะกรรมาธิการตางๆ สมัชชาใหญจะเปนผูเลือกประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี หัวหนาผูแทนในศาลประชาชนสูงสุด (Chief Procurator of the Supreme People’s Court) และหัวหนาผูแทนสํานักงานกํากับดูแลของประชาชน (Chief Procurator of the Supreme People’s Office of Supervision and Control) ประธานาธิบดีเปนประมุขของประเทศ เปนผูบัญชาการเหลาทัพ และเปนผูแทนของประเทศในกิจการทั้งในและตางประเทศ นายกรัฐมนตรีเปนหัวหนาคณะรัฐบาลซึ่งกํากับดูแลการบริหารประเทศ ในระดับทองถ่ิน ประชาชนสภาประชาชนในระดับจังหวัด เมือง เขต ตําบล ยาน และชุมชน ตามกฎหมายการเลือกตั้งทั่วไป สภาประชาชนเปนผูเลือกฝายบริหารและคณะกรรมาธิการประชาชนในทุกๆระดับ ทั้งยังมีศาลประชาชน และผูดูแลในระดับจังหวัดและตําบลดวย รัฐธรรมนูญกําหนดใหมีพรรคคอมมิวนิสตเวียดนามมีบทบาทนําในประเทศ สมัชชาของพรรคคอมมิวนิสตจะตองมีการประชุมทุก 5 ปเพื่อรางแนวทางสําหรับเปนนโยบายของเวียดนามในอนาคต สมัชชาใหญจะเปนผูเลือกคณะกรรมาธิการกลาง ซ่ึงจะเปนผูเลือกคณะโปลิตบูโร ตําแหนงสูงสุดของพรรคคอมมิวนิสตคือเลขาธิการพรรคซึ่งไดรับเลือกโดยคณะโปลิตบูโร

เศรษฐกิจ เวียดนามเปนประเทศที่มีประชากรอยูกันอยางหนาแนน ผานการทําสงครามภายในประเทศอยูนาน ความสูญเสียจากสงคราม การสูญเสียความสนับสนุนทางการเงินจากสหภาพโซเวียต และความแข็งตัวของระบบเศรษฐกิจแบบควบคุมอยูที่ศูนยกลาง ทําใหเวียดนามตองใชเวลานานในการฟนตัวและเปลี่ยนจากระบบเศรษฐกิจแบบควบคุมเขมงวด มาเปนระบบตลาด ความกาวหนาทางเศรษฐกิจเร่ิมเห็นไดในระหวางป 1986-1997 การเติบโตทางเศรษฐกิจถึงรอยละ 9 ในชวงป 1993-1997 ตั้งแตป 2001 รัฐบาลเวียดนามทุมความพยายามอยางจริงจังที่จะปฎิรูประบบเศรษฐกิจ สงเสริมอุตสาหกรรมเพื่อการสงออก เปดเสรีและนําประเทศเขารวมกับระบบนานาชาติ แตก็มีอุปสรรคมากมายจากการแปรรูปรัฐวิสาหกิจตางๆ การเขาเปนภาคีของการคาเสรีกับ ASEAN และการริเร่ิมการคาแบบทวิภาคีกับสหรัฐอเมริกาเปนประโยชนอยางยิ่งตอเศรษฐกิจของเวียดนาม การสงออกไปยังสหรัฐอเมริกาเพิ่มสูงขึ้นอยางมากในป 2002 และ 2003 ในขณะนี้เวียดนามกําลังพยายามดําเนินการเขาเปนสมาชิกของ WTO ในป 2004 ประมาณการณวาเวียดนามมีปริมาณแรงงาน 42.98 ลานคน รอยละ 63 ประกอบอาชีพเกษตรกรรม และอีกรอยละ 37 ประกอบอาชีพในสาขาอุตสาหกรรมและการบริการ อัตราการวางงานรอยละ 1.9 สัดสวนของ GDP ภาคเกษตรกรรม รอยละ 21.7 ภาคอุตสาหกรรม รอยละ 40.1 ภาคบริการ รอยละ 38.118 ความสําเร็จทางเศรษฐกิจในป 2004ไดแก ความเติบโตของ GDP รอยละ 7.7 แบงเปนภาคอุตสาหกรรมรอยละ 16 ภาคการเกษตรรอยละ 5.4 และภาคบริการรอยละ 8.2 ประชากร ประมาณประชากรของเวียดนามในป 2005 คิดเปน 83,535,576 คน อัตราการเพิ่มของประชากรรอยละ 1.04 โดยประมาณ เวียดนามประกอบดวยชนเชื้อชาติตางดังนี้ ชาวเวียดนาม รอยละ 85-90 นอกนั้นเปนชาวจีน มง ไทย เขมร จาม และชาวเขา โครงสรางประชากร 0-14 ป รอยละ 27.9 15-64 ป รอยละ 66.4 65 ปขึ้นไป รอยละ 5.819 เวียดนามเปนประเทศที่มีประชากรมากจนกอใหเกิดปญหาการขาดแคลนอาหาร รัฐบาลตองรณรงคเพื่อลดการเกิดของประชากรมาตั้งแตทศวรรษ 1960 แมวาจะขัดตอวัฒนธรรมบางประการของ

18 “Economy-overview” http:www.cia.gov/ [June 22, 2005] 19 “People” http:..www.cia.gov/cia/publications/factbook/geos/vm.html

ชาวเวียดนาม เชน ความนิยมมีลูกชายมากกวาลูกสาว และแมวาการรณรงคจะประสบผลสําเร็จ แตจํานวนประชากรก็ยังนับวามีมาก ทั้งในบางกลุมยังมีความเชื่อวาตองเพิ่มจํานวนประชากรเพื่อเพิ่มศักยภาพทางเศรษฐกิ สภาพการศึกษาโดยทั่วไป

พัฒนาการทางการศึกษาในภาพรวม การศึกษาเปนสวนที่สําคัญสวนหนึ่งของสังคมชาวเวียดนาม เปนกิจกรรมที่ไดรับการยกยองและเปนสิ่งทําสําคัญอันดับแรกของการเขารับราชการและการมีอาชีพที่มีเกียรติ ในยุคที่เวียดนามอยูภายใตการปกครองของฝรั่งเศส เฉพาะเด็กในกลุมผูนําชาวเวียดนามเทานั้นที่จะสามารถเขาเรียนในโรงเรียนของรัฐซึ่งอยูภายในตัวเมือง ดวยเหตุนี้จึงมีการตั้งโรงเรียนของเอกชนในพื้นที่อ่ืนๆของประเทศอีกจํานวนหนึ่ง แตคนยากจนบางคนเทานั้นที่จะสามารถสงลูกไปเขาเรียนได อัตราการรูหนังสือในยุคนั้นจึงอยูในระดับต่ํามาก จนกระทั่งในป 1945 โฮจิมินหบุกเบิกใหมีการศึกษาในระดับรากหญาในพื้นที่ที่กองกําลังของเขาสามารถควบคุมได เมื่อสงครามกับฝร่ังเศสสิ้นสุดลง โรงเรียนเอกชนในตอนเหนือของประเทศจึงไดถูกรวมเขาเปนโรงเรียนของรัฐ ซ่ึงวิธีการนี้ถูกนํามาปฏิบัติตอมาอีกถึง 30 ป20 กระนั้นก็ตามยังมีความแตกตางอยางมากในการเขาถึงการศึกษาของประชากรในพื้นที่ตางๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งประชากรในเขตภูเขาจะมีการเขาโรงเรียนในสัดสวนนอยกวาสวนอื่นๆของประเทศ ในป 1997มีนักเรียนชาวเวียดนามถึง 22 ลานคน และมีครูอาจารยประมาณ 500,000 คน พรรคคอมมิวนิสตและรัฐบาลเองก็ใหความสนใจเปนพิเศษตอการศึกษา ในปณิธานของการประชุมวาระที่ 2 ของคณะกรรมการกลางพรรคในการประชุมสมัยที่ 8 กลาวถึงการศึกษาวาพรรคคอมมิวนิสตถือวาการศึกษาและการพัฒนาทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเปนยุทธศาสตรที่สําคัญของประเทศ งบประมาณดานการศึกษาก็ไดรับการเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะอยางยิ่งสําหรับการศึกษาในระดับประถม สัดสวนของงบประมาณดานการศึกษาสูงถึงรอยละ 15 ของงบประมาณในป 200021

ระบบการศึกษา ระบบการศึกษาเปนแบบ 5-4-3 กลาวคือประถมศึกษา 5 ป มัธยมตน 4 ป และมัธยมปลาย 3 ป

ระดับอุดมศึกษาอาจใชเวลา 2-6 ป

20 “The Higher Education System in Vietnam” http://www.wes.org/ewenr/00may/feature.htm [May/June 2000] 21 Ibid

จํานวนนักเรียนและครูในระดับตาง ๆ (หนวย : พันคน)

จํานวนครู จํานวนนักเรียน สัดสวน ครู : นักเรียน ระดับอนุบาล 103.8 2,171.8 1 : 21 ระดับประถม 359.9 9,315.3 1 : 26 ระดับมัธยม 334.2 8,560.3 1 :26 ระดับอุดมศึกษา 31.4 873.0 1 : 28

ที่มา : Europa Yearbook 2004 อางจาก Vietnam Statistics Yearbook 2002

อัตราการรูหนังสือรอยละ 92 ในสวนของผูไมรูหนังสืออีกรอยละ 8 นั้น แบงเปนผูที่อยูในพื้นที่หางไกลรอยละ 80 และเปนหญิงรอยละ 6022 ในป 1989 ไดริเร่ิมมีการปฏิรูประบบเศรษฐกิจของประเทศที่เรียกวา “Doi Moi” ซ่ึงเปนการเปดเสรีใหเอกชนเขามามีสวนรวมไดในทุกภาคสวนของการพัฒนา หลังจากการปฏิรูป “Doi Moi” การศึกษาไดรับผลกระทบอยางสําคัญ กลาวคือ ประการแรกการใชจายของรัฐบาลในดานการศึกษาเพิ่มขึ้นทั้งในปริมาณและโดยสัดสวนของงบประมาณตลอดทศวรรษ 1990

ประการที่สอง มีการยกเลิกกฎระเบียบที่ควบคุมบทบาทของเอกชนในดานการศึกษา สงเสริมใหเอกชนเขามาจัดการศึกษาแบบกึ่งรัฐและการศึกษาโดยประชาชน ทําใหเกิดสถานศึกษาของเอกชนเพิ่มขึ้น สถานศึกษาโดยเอกชนเพิ่มจํานวนขึ้นอยางมากโดยเฉพาะในระดับอนุบาล สถานฝกวิชาชีพ และระดับอุดมศึกษา ซ่ึงสถานศึกษาเอกชนเหลานี้มีรายไดจากคาเลาเรียนของนักเรียนโดยตรง

ประการที่สาม ไดมีการปรับนโยบายที่อนุญาตใหสถานศึกษาเอกชนสามารถเก็บคาเลาเรียนไดเอง แมจะอยูในการควบคุมอยางเขมงวดโดยรัฐ แตสถานศึกษาเอกชนสามารถเรียกเก็บคาบริการอ่ืนๆไดดวย23

ระดับอุดมศึกษา ระบบการอุดมศึกษาในเวียดนามคลายคลึงกับระบบของอดีตประเทศโซเวียตรัสเซีย ซ่ึงมีสถาบันการศึกษาเฉพาะทางเปนจํานวนมาก ในหลากหลายสาขาความรู ไมคอยมีการเชื่อมโยงระหวางการวิจัยกับการเรียนการสอน ระบบนี้เปนผลมาจากยุคที่การศึกษายังถูกควบคุมโดยสวนกลาง ซ่ึงสถาบันการศึกษาจะถูกแบงออกตามภาคสวนตางๆของระบบเศรษฐกิจ โดยมีสถาบันเฉพาะทางที่หลากหลายตางๆขึ้นตรงตอกระทรวงที่รับผิดชอบ และเมื่อนักศึกษาสําเร็จการศึกษา ก็จะไดรับ 22 “Vietnam’s Education : The Current Position and Future Prospects” http:vietnamgateway.org/education/ [June 22, 2005] 23 “The Higher Education System in Vietnam” http://www.wes.org/ewenr/00may/feature.htm [June 13, 2005]

มอบหมายใหทํางาน จึงเปนระบบที่รับประกันการจางงาน แตระบบนี้ถูกยกเลิกไปเพื่อปรับใหตอบสนองตอความตองการของตลาด และเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและคุณภาพทางการศึกษา ในตนทศวรรษ 1990 มีสถาบันอุดมศึกษาเกิดขึ้นมากมายจาก 120 แหงในตนทศวรรษ เปน 157 แหงในป 1998 ทั้ง ๆ ที่มีไดมีการรวมสถานศึกษาหลายๆแหงเขาไวดวยกันใหเปนสถาบันแบบสหสาขาวิชา มหาวิทยาลัยในเวียดนามแบงออกเปน 3 ประเภท สองประเภทแรกเปนการเรียนการสอนแบบปด คือ มีการเขาหองเรียนตามปกติ ประกอบดวย 1) มหาวิทยาลัยที่เนนวิชาเฉพาะ เชน เศรษฐศาสตร ศิลปะ วิศวกรรมและกฎหมาย 2) มหาวิทยาลัยแบบสหสาขาวิชา เปนมหาวิทยาลัยที่ตั้งขึ้นใหม 5 แหงซึ่งเปนทั้งมหาวิทยาลัยระดับชาติและระดับทองถ่ิน สวนมหาวิทยาลัยซ่ึงเพิ่งเปดใหมในเวียดนามเปนมหาวิทยาลัยเปด ทั้งที่ฮานอยและโฮจิมินห หลังจากที่มหาวิทยาลัยเปดไดเพียง 1 ป ในป 1995 มีจํานวนนักศึกษาถึง 52,583 คน คิดเปนสัดสวน 1 ใน 7 ของนักศึกษาเวียดนามทั้งหมด ในป 1998 มีสถาบันระดับอุดมศึกษา 157 แหง 78 แหงสอนในระดับปริญญาตรี (10 แหงเปนมหาวิทยาลัยเอกชน) จํานวนนี้รวมถึง 69 วิทยาลัย (ยกเวนวิทยาลัยในกํากับของกระทรวงกลาโหม และกระทรวงการตางประเทศ) วิทยาลัยประกอบดวยวิทยาลัยครู 45 แหง นอกนั้นเปนวิทยาลัยสายอาชีวะ เชน เกษตร ศิลปะ การธนาคาร

ระบบการศึกษาและการใหประกาศนียบตัร

ระดับของการศึกษา ระยะเวลา อายุเม่ือแรก

เขา คุณสมบัตขิองผูสมัคร คุณสมบัตขิอง

ผูสําเร็จการศึกษา

ระดับอนุบาล

เตรียมอนุบาล 3 ป 3-4 เดือน - -

อนุบาล 3 ป 3 ป - -

การศึกษาพื้นฐาน

ประถมศึกษา 5 ป 6 ป ป ร ะ ก า ศ นี ย บั ต ร ชั้ นประถมศึกษา

ประกาศนียบัตรช้ันประถมศึกษา

มัธยมศึกษา 4 ป 11 ป ป ร ะ ก า ศ นี ย บั ต ร ชั้ นมัธยมศึกษา

ประกาศนียบัตรช้ันมัธยมศึกษา

มัธยมศึกษาชั้นสูง 3 ป 15 ป ป ร ะ ก า ศ นี ย บั ต ร ชั้ นมัธยมศึกษา

ประกาศนียบัตรช้ันสูง

การศึกษาสายอาชีวะ

หลังจากประถมศึกษา

ต่ํากวา 1 ป

13-14 ป ประกาศนยีบตัรชั้นประถมศึกษา

ประกาศนยีบตัรวิชาชีพ

หลังจากมัธยมศึกษา

1-2 ป 15 ป ประกาศนยีบตัรชั้นมัธยมศึกษา

ประกาศนยีบตัรวิชาชีพช้ันตน

การอบรมวิชาชีพ 3-4 ป ปที่ 15 ประกาศนยีบตัรชั้นมัธยมศึกษา

ประกาศนยีบตัรวิชาชีพช้ันสูง

การฝกอบรมสายอาชีพ 3-4 ป ปที่ 15 ประกาศนยีบตัรชั้น

มัธยมศึกษา ประกาศนยีบตัรสายอาชีพ

ระดับอุดมศึกษา

วิทยาลัย 3 ป ปที่ 18 ประกาศนยีบตัรชั้นมัธยมศึกษา

อนุปริญญา

มหาวิทยาลัย 4-6 ป ปที่ 18 ประกาศนยีบตัรชั้นสูง

หรือเทียบเทา ปริญญาตรี

มหาบัณฑิต 2 ป n/a ปริญญาตรี ปริญญามหาบัณฑิต

ดุษฎีบัณฑิต 4 ป n/a ปริญญามหาบัณฑิต ปริญญาดุษฎีบัณฑิต

ที่มา : http://asiareciepe.com/vieteducation.html

แผนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ เปาหมายของการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคมในป 2005 ไดแก 1. GDP สูงขึ้น รอยละ 805 2. ภาคอุตสาหกรรมและการกอสราเพิ่มขึ้นอีกรอยละ 16 และมูลคาเพิ่มสูงขึ้นรอยละ 11 3. ภาคการเกษตร ปาไม และการประมงเพิ่มขึ้นรอยละ 5.2 4. มูลคาเพิ่มของภาคการบริการเพิ่มขึ้นรอยละ 8.2 5. คา CPI จํากัดอยูไมเกินรอยละ 6.5 6. ผลตอบแทนจากการสงออกเพิ่มขึ้นรอยละ 16 7. การลงทุนทางการพัฒนาสังคมมีมูลคารอยละ 36.5 8. มีตําแหนงงานเพิ่มขึ้นใหประชาชน 1.6 ลานคน รวมทั้งอีก 70,000 คนที่ทํางานในตางประเทศ

9. ลดความยากจนลงไปต่ํากวารอยละ 7 10. ลดอัตราความอดอยากของประชากรอายุต่ํากวา 5 ปลงไปอยูที่รอยละ 25 11. ลดอัตราการเกิดลงไปรอยละ 0.424

แผนการศึกษาแหงชาติ กฎหมายแรกเกี่ยวกับการเผยแพรการศึกษาขั้นประถมไดผานรัฐสภาในวันที่ 12 สิงหาคม 1991 เปนกฎหมายที่กําหนดวาจะจัดการศึกษาขั้นประถมศึกษาฟรีใหแกชาวเวียดนาม ในปจจุบันนี้ การศึกษาไดกาวไปถึงขั้นมัธยมตนใน 16 จังหวัด คาดวาภายในป 2005 การศึกษาในระดับมัธยมตนจะครอบคลุมถึง 30 จังหวัด แผนยุทธศาสตรในการพัฒนาการศึกษาแหงชาติสําหรับป 2001-2010 คือ25 1. ปรับปรุงคุณภาพของการศึกษาไปในทิศทางที่เขาถึงการศึกษาระดับสูงของโลก เหมาะกับวิธีปฏิบัติของชาวเวียดนาม ตอบสนองตอการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชาติ ภูมิภาค และทองถ่ิน และมุงสูสังคมการเรียนรู เพื่อนําการศึกษาของประเทศออกไปใหหางจากความดอยพัฒนา 2. ใหความสําคัญกับการอบรมบุคลากรทางดานวิทยาศาสตรเทคโนโลยีขั้นสูง และความสามารถทางการจัดการธุรกิจซึ่งจะนําไปสูความสามารถในการแขงขันทางเศรษฐกิจ นอกจากนี้ ยังใหความสําคัญกับการจัดการศึกษาระดับมัธยมตน

24 “Major news” http://www.vietnamembasy.or.th/major.php?pointer=73 25 “Country report” [On-line] เอกสารประกอบการสัมมนา 2003 ACCU-APPEAL Joint Planning Metingon Regional NFE Programmes in Asia and the Pacific, 2-5 December 2003 http://www.accu.or.jp/litdbase

3. ริเร่ิมทําเปาหมาย วิธีการ และหลักสูตรในทุกระดับ พัฒนาครูเพื่อใหตอบสนองกับการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน ริเร่ิมการจัดการทางการศึกษาและริเร่ิมพื้นฐานทางกฎหมายเพื่อสรางพลังในการพัฒนาการศึกษา สําหรับการศึกษานอกระบบ(การศึกษาตอเนื่อง)มีเปาหมายในป 2010 ดังนี้

1. พัฒนาการศึกษานอกระบบใหเปนการขับเคลื่อนชุมชนไปสูสังคมการเรียนรู เปดโอกาสใหประชาชนทุกคนไดมีการเรียนรูอยางตอเนื่องตามสถานภาพของแตละคนเพื่อเปนการสงเสริมคุณภาพของทรัพยากรมนุษย

2. เพื่อลดอัตราการไมรูหนังสือในกลุมผูใหญโดยเฉพาะในทองถ่ินที่หางไกลและตามภูเขาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการศึกษาตอเนื่องซึ่งจะนําไปสูการมีความรูในระดับมัธยมตนอยางทั่วถึง

3. เพื่อเปดโอกาสใหผู ท่ีทํางานแลวไดรับการอบรมเรียนรูจากหลักสูตรสั้นเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต เพิ่มรายได และโอกาสในการเปลี่ยนงาน แนวทางการปฏิรูปการศึกษา

ความเคลื่อนไหวทางการศึกษา เวียดนามไดรับเอาโครงการ Education for All หรือ การศึกษาเพื่อคนทั่วไป ซ่ึงเปนการมติ

ของการประชุมนานาชาติที่กรุงดาการในเดือนเมษายน 2000 ดวยความรวมมือกับ UNESCO ซ่ึงจะใหความชวยเหลือทางดานเทคนิค เวียดนามไดเร่ิมวางแผนแหงชาติเพื่อการศึกษาของคนทั่วไประหวางป 2003-2015

กลไกสถาบัน/โครงสรางองคกร เวียดนามไดจัดการปฏิรูปโครงสรางของหนวยงานทางการศึกษามาตั้งแตป 1987 ในปจจุบันกระทรวงที่รับผิดชอบดูการศึกษาแหงชาติคือ กระทรวงการศึกษาและการอบรม (Ministry of Education and Training : MOET) ซ่ึงแบงออกเปนกรมตาง ๆ มากมาย ดังนี้26 - กรมการวางแผนและการคลัง (Planning and Financing Department) - กรมการบุคลากร (Personnel Department) - กรมการรวมมือกับนานาประเทศ (International Cooperation Department.) - คณะกรรมการตรวจควบคุมการศึกษา (Educational Inspection Board) - กรมกิจการนักเรียน (Student Affairs Department) - กรมวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (Science and Technology Department)

26 “Country Report” [On-line] เอกสารประกอบการสัมมนา 2003 ACCU-APPEAL Joint Planning Metingon Regional NFE Programmes in Asia and the Pacific, 2-5 December 2003 http://www.accu.or.jp/litdbase

- กรมการปองกันการศึกษาแหงชาติ (National Defense Education Department) - กรมการอนุบาลศึกษา (Pre-school Education Department) - กรมการประถมศึกษา (Primary Education Department) - กรมการมัธยมศึกษา (Secondary Education Department) - กรมการศึกษาตอเนื่อง (Continuing Education Department) - กรมการศึกษาสายอาชีพ (Vocational Education Department) - กรมการอุดมศึกษา (Higher Education Department) - กรมนิติการ (Legal Department) ความรับผิดชอบโดยตรงของกระทรวง MOET คือการกํากับดูแลและวางแผนระบบการศึกษาของเวียดนาม รวมถึงการพัฒนาหลักสูตรและจัดหาอุปกรณการศึกษา นอกจากนี้กระทรวง MOET ยังตองรวมมือกับสํานักงานรัฐบาล (The Office of the Government) ซ่ึงเปนสวนหนึ่งของสํานักนายกรัฐมนตรี กระทรวงการคลัง และกระทรวงการวางแผนและการลงทุน ในการวางแผนการศึกษาในภาพกวางซึ่งตองสอดคลองกับงบประมาณ นาสังเกตวาในระดับอุดมศึกษาและการศึกษาสายอาชีพ (ยกเวนในมหาวิทยาลัย) รัฐบาลทองถ่ินตองมีความรับผิดชอบกํากับดูแลในระดับใกลเคียงกับหนาที่ของรัฐบาลกลาง แตเนื่องจากยังขาดระบบกฎหมายรองรับ ทําใหสถาบันการศึกษาเหลานั้นตองพึ่งพิงตอ MOET ซ่ึงทําใหสถาบันการศึกษาเหลานั้นไมสามารถตอบสนองตอความตองการของตลาดแรงงานในทองถ่ิน อีกประการหนึ่งคือ ขณะนี้เวียดนามมีสถานศึกษาเอกชนเพิ่มขึ้นมาก แตกระทรวง MOET ไมใชหนวยงานที่จะสามารถกํากับดูแลมาตรฐานของสถาบันการศึกษาเอกชน นี่เปนจุดที่กระทรวง MOET กําลังพิจารณาปรับปรุงแกไข

ความรวมมือระหวางประเทศ รัฐบาลเวียดนามใหความสําคัญตอการรวมมือกับตางประเทศในเรื่องตาง ๆ ดังนี้

1. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย เนนการอบรมคนงานใหมีความรูและทักษะ โดยเฉพาะในดานการใชเครื่องมือทันสมัยและการบริหารธุรกิจ

2. สนับสนุนกิจการที่เปนความทันสมัย กระบวนการอุตสาหกรรม และการดําเนินการเพื่อความรวมมือกับตางประเทศ

3. เนนการอบรมคนงานในดานการศึกษาเพื่อการจัดการ การแลกเปลี่ยนนักเรียน ขอมูล และประสบการณทางวิทยาศาสตรและการศึกษา

ระดับพหุภาคี ในระดับพหุภาคีเวียดนามไดรวมมือกับ UNESCO, Oxfam GB, World Vision Plan International, Save the Children UK, และหนวยงานดานการศึกษาสําหรับคนทั่วไป (Education for

All) อีกจํานวนหนึ่ง รวมกันจัดกิจกรรมอยางกวางขวางเพื่อยกระดับสํานึกของประชาชน สงเสริมการศึกษาเพื่อเด็กยากจน และแกไขผลกระทบตอการศึกษาจากโครงการขจัดความยากจน27

ระดับทวิภาคี รัฐบาลนิยมสงนักศึกษาในระดับ post-graduate ไปศึกษาตอในตางประเทศ ผูนําทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมของเวียดนามในปจจุบันลวนไดรับการศึกษาจากตางประเทศ และรัฐบาลก็ยังมีนโยบายจะสงนักศึกษาที่มีความสามารถไปเรียนในตางประเทศตอไป

ความรวมมือกับโซเวียตรัสเซีย ตั้งแตป 1951 เวียดนามเริ่มสงนักศึกษาไปศึกษาตอที่ประเทศโซเวียตเปนครั้งแรก และป ตอ ๆ มา ก็สงนักศึกษาไปยังประเทศอื่น ๆ ในคายสังคมนิยม ประมาณกันวา ชาวเวียดนามไดรับการอบรมจากโซเวียตถึง 30,000 คน ในระดับปริญญาตรี 13,500 คน ในระดับสูงกวาปริญญาตรี 25,000 คน เปนชางเทคนิค และนักวิทยาศาสตรสาขาตาง ๆ อีกนับพันคน แตหลังจากการลมสลายของประเทศโซเวียตในป 1989 นักศึกษาชาวเวียดนามถูกสงกลับมากันหมด และจนถึงปจจุบันนี้ โอกาสที่ชาวเวียดนามจะไดไปศึกษาตอในตางประเทศก็มีนอยลงมาก ทําใหเกิดชองวางถึง 10 ป ระหวางผูที่ไดรับการศึกษาจากตางประเทศรุนเกาและรุนใหม

ความรวมมือกับยุโรป และสหรัฐอเมริกา ปจจุบันการใหทุนการศึกษาอยางเต็มรูปแบบมีจํานวนนอยลงจากประเทศตาง ๆ ดังนี้ รัฐบาลแคนาดา 10 ทุน ออสเตรเลีย 150 ทุน สหราชอาณาจักร 70 ทุน ประเทศไทย 70 ทุนระยะสั้น 10 ทุนระยะยาว ฝร่ังเศส 200 ทุน ญ่ีปุน 60 ทุน สหรัฐอเมริกา 30 ทุนฟุลไบรทสําหรับปริญญาโทเทานั้น นอกจากทุนจากรัฐบาลของประเทศเหลานี้ ยังมีทุนที่ใหโดยตรงจากมหาวิทยาลัย มูลนิธิ และองคกรตาง ๆ อีกเปนจํานวนถึง 2 เทาของทุนรัฐบาล ซ่ึงใหแกนักศึกษาชาวเวียดนามโดยตรง มีการประมาณวา มีนักศึกษาเวียดนามถึงปละ 5,000 คน กําลังศึกษาในตางประเทศทั้งดวยทุนจากแหลงทุนตาง ๆ และโดยทุนสวนตัว ในจํานวนนี้คร่ึงหนึ่งศึกษาอยูในสหรัฐอเมริกา นอกจากนี้ถาเปนไปไดนักศึกษาชาวเวียดนามในประเทศอื่น ๆ ก็ตองการไปศึกษาที่สหรัฐฯ เชนกัน ยิ่งในปจจุบันมีผูที่สําเร็จการศึกษาจากอเมริกากลับมามากขึ้น ชาวเวียดนามไดรับรูและเขาถึงขอมูลขาวสารมากขึ้น ก็ยิ่งมีจํานวนนักศึกษาเวียดนามพยายามสมัครไปเรียนที่สหรัฐฯ กันมากขึ้น อุปสรรคที่สําคัญคือการขอวีซาเขาประเทศ ซ่ึงขณะนี้สถาบันการศึกษาตอตางประเทศของเวียดนาม (Institute of International

27 http:www.unesco.org.vn/PressRelease/Action_Week_2005.pdf

Education in Vietnam) พยายามใหขอมูลตางๆ เพื่อใหชาวเวียดนามสามารถเลือกสมัครเรียนไดอยางถูกตองตามความตองการ และเตรียมความพรอมสําหรับการขอวีซาจากสหรัฐฯ

ดัชนีชี้วัดความสําเร็จ เปาหมายของการจัดการศึกษาสําหรับคนทั่วไประหวางป 2001-2010 แบงออกตามระดับการศึกษาดังนี้ การศึกษาระดับอนุบาล รอยละ 85 ของเด็กอายุ 5 ปเขาเรียนในระดับอนุบาลภายในป 2005 และเพิ่มเปนรอยละ 95 ในป 2010 การศึกษาระดับประถม รอยละ 85-100 เขาเรียนในระดับประถมศึกษาปที่ 1 ภายในป 2005 และรอยละ 80 สําเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษากอนอายุ 12 ป ภายในป 2005 และเพิ่มเปนรอยละ 90-95 ในป 2010 อัตราการจบการศึกษารอยละ 85-95 ในป 2010 การศึกษาระดับมัธยมตน รอยละ 80-85 ของเด็กอายุ 15-18 ปเขาเรียนถึงระดับเกรด 9 ในป 2010 อีกรอยละ 12-20 ยังคงเรียนในระดับประถมในลักษณะตางๆ เพิ่มการอัตราการรูหนังสือ รอยละ 95 ของผูใหญอายุ 15-35 ปสามารถอานออกเขียนได และเพิ่มเปนรอยละ 98 ในป 2010 รอยละ 60-70 ของผูใหญอายุ 15-35 สําเร็จการศึกษาในโครงการหลังจากการอานออกเขียนได หรือเกรด 5 ขึ้นไป ตั้งแตป 2001

จุดเดน ไดมีความพยายามจัดการศึกษาเพื่อคนทั่วไป (Education for All) โดยเฉพาะกับผูดอยโอกาส เชน ชาวเขาที่อยูหางไกล โดยใหสิทธิพิเศษแกคนเหลานี้ เชน ใหทุนการศึกษา และใชเกณฑการพิจารณารับเขาที่ต่ํากวาชาวเมือง เพื่อใหไดเขามาศึกษาในเมืองซึ่งมีโอกาสทางการศึกษาดีกวา28 อยางไรก็ตาม ผลของการปฏิรูปการศึกษาจะดีหรือไมตองแลวแตการมองของแตละคน เพราะการปลอยใหมีการจัดการศึกษาของเอกชนมากขึ้น หรืออนุญาตใหมีการเก็บคาเลาเรียน เปนการชวยใหการศึกษาโดยรวมไดรับการพัฒนา แมวาอาจกอใหเกิดความเหลื่อมลํ้าในการศึกษามากขึ้น

28 จากการสัมภาษณคุณเหงวียน เฟน บิ่น อุปทูตประจําสถานทตูเวียดนาม

ภาคผนวก 2 : แบบสอบถาม

แบบสอบถาม ความรวมมือระหวางประเทศดานการศึกษา

1. ความรวมมือระหวางประเทศดานการศึกษาของประเทศ………………….....เปนเชนไรในชวง 5 ปที่ผานมา

ลักษณะความรวมมือชวยเหลือ แหลงความรวมมือ

ในฐานะผูรับ

ระดับพหุภาคี

ระดับทวิภาคี

ในฐานะผูให

ระดับพหุภาคี

ระดับทวิภาคี

2. ความรวมมือระหวางประเทศดานการศึกษาที่ประเทศ…………………………คาดวา/หวังวา/ตองการจะใหเกิดขึ้นนับจากนี้ไปเปนเชนไร

ลักษณะความรวมมือชวยเหลือ แหลงความรวมมือ

ในฐานะผูรับ

ระดับพหุภาคี

ระดับทวิภาคี

ในฐานะผูให

ระดับพหุภาคี

ระดับทวิภาคี

3. ทานคิดวา/ปรารถนาจะเห็นความรวมมือดานการศึกษาระหวางประเทศ…………………กับไทย นับจากนี้ไปควรเปนเชนไร และควรเนนในจุดใด ทิศทาง……………………………………………………………………………………… จุดเนน……………………………………………………………………………………… 4. ทานคิดวาความรวมมืออาเซียนดานการศึกษามีจุดแข็ง/จุดเดนประการใด ......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 5. ทานเห็นวาพัฒนาการความรวมมืออาเซียนดานการศึกษาเทาที่ผานมาเปนเชนไร ......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 6. ทานเห็นวาพัฒนาการความรวมมืออาเซียนดานการศึกษาจากนี้ไปควรดําเนินไปในทิศทาง เปาหมาย และจุดเนนใด

......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 7. ประเทศ...............................มีบทบาทในความรวมมืออาเซียนดานการศึกษาอยางไรในชวงที่ผานมา และตองการจะมีบทบาทตอความรวมมือนั้นในอนาคตอยางไรตอไป .........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

บรรณานุกรม ACT/EMP (1996). Human Resource Development in Asia and the Pacific in the 21st Century, Issues and Challenges for Employers and Their Organizations. ILO. ADB (2005). “Policy on Education.” In www.adb.org. ASCOE (1999). ASCOE Project Report. September. ASEAN Secretariat (2003). “Progress Report on the Utilization of the ASEAN Foundations Funds for Projects (As of 31 March 2003).” ASEAN Secretariat (2004). ASEAN 2004, Vientiane Action Programme. Jakarta. ASEAN Secretariat (2004). ASEAN Annual Report 2003-2004. Jakarta. ASEAN Secretariat (2004). “Keynote Address Mr Ong Keng Yong Secretary-General of

ASEAN 21st ASEAN Council of Teachers’ (ACT) Convention 12 December 2004, Palau Langkawi, Malaysia.”

ASEAN University Network (2005). ASEAN University Network www.aun.chula.ac.th AUNP (2005). “AUNP Network Initiatives: ASEAN-EU Conferences, Seminars and Workshops On Higher Education Issues.” ASEAN-EU University Network. Ayob, Ahmad Mahdzan and Noran Fauziah Yaakub (2001). “Development of Graduate

Education in Malaysia: Prospects for Internationalization.” Mahdzan.com. Bercuson, K. et al. (1995). Singapore: A Case Study in Rapid Development. Washington,

D.C.: International Monetary Fund, February. Chan, Foong – Mae (2002). ICT in Malaysian Schools: Policy and Strategies. in http://gauge.u-

gakugei.ac.jp/ Chih, Lim Huay (2003). “Policy Making Qualities & Competencies – Singapore’s Experience.”

Tokyo, 6-7 June. CIA (2005). Economy-overview. Central Intelligence Agency, in http:www.cia.gov/ CIA. People. Central Intelligence Agency, in

http:..www.cia.gov/cia/publications/factbook/geos/vm/html Contact Singapore (2005). “Education projects to add 900 more jobs.” 15-21 January. Contact Singapore (2005). “NUS plans to become a leading academic and research institute by

2025.” 2-8 July.

CRIN (2003). Burma’s Child in Education. Child Rights Information Network, in http://www.crin.org /docs/resources/treaties/crc.36/Myanmar_ABFSU_ngo_report.pdf

Damrong Thawesaengsukulthai (n.d.) “The 6th AUN-QA Expectations.” AUN-QA Focal Point. Duhamel, Damien (2004). “Can Singapore become the Boston of Asia?” Singapore Business

Review. October. Education Sector, UNESCO (2005). Policy Review Report: Early Childhood Care and

Education in Indonesia. Paris, in www.unescobkk.org Eight Malaysian Plan (2001-2005). In www.ids.org.my/planpolicy/focus.htm Embassy of the Republic of Indonesia, Tokyo, Japan. Education System in Indonesia. 2003. George, F.J. (1992). Successful Singapore: A Tiny Nation’s Saga from Founder to

Accomplisher. Singapore: SSMB Publishing Division. Gloria, Ricardo T. (1996). “The Development of Education: A National Report of the

Philippines.” National report presented to the 45th session of the International Conference On Education, Geneva, 30 September – 5 October.

Gopinathan, S. (1999). “Preparing for Leadership Education: The Singapore Experience.” National Institute of Education, Nanyang Technological University.

Government of the Union of Myanmar Ministry of Education (2004). Development of Education in Myanmar. September.

Higher Education in http://www.yangoncity.com.mm/education/ Ismail, Azhari, Sadat Rehman, Azizan Asmuni, Khairuddin Idris and Shamsudin Ahmad (2001).

“Distance Education Scenario in ASEAN Countries – Malaysian Experience.” Paper presented at the 1st SEAMEO Education Congress: Challenges in the New Millennium, Central Grand Plaza Hotel, Bangkok, Thailand, 26-29 March 2001. Introduction of e-Education in Myanmar in http://www.myanmar-education.edu/mm/e-

government%20sector/developedu.htm Lim, Gary (2001). “Gifted Education for Economic Survival: The Case of Singapore.” In

www.ualberta.ca. Lee, Michael H. and S. Gopinathan (2003). “Hong Kong and Singapore’s Reform Agendas.” Centre for International Higher Education, Boston College. Major news in http://www.vietnamembasy.or.th/major.php?pointer=73 Ministry of Education (2003). 2003 Corporate Yearbook. MOE, Singapore.

Ministry of Education (2004). The Development of Education: National Report of Malaysia. Ministry of Education (2004). Education Statistics Digest 2004. MOE, Singapore. Ministry of Education (2004). Educational Factsheet 2004. MOE, Singapore. Ministry of Education (2004). The Education Landscape in 2004 and Beyond: More Choice

for Students. MOE, Singapore. Ministry of Education (2005). “Moulding the Future of Our Nation.” In www.moe.gov.sg. Ministry of Education (2005). “ASEAN Scholarships Awards by the Singapore Ministry of Education.” Singapore. Ministry of Foreign Affairs, Myanmar (2003). “Address by Prime Minister Khin Nyunt on the

Occasion of International Literacy Day and the UN Literacy Decade.” In www.mofa.gov.mm/speeches/literacy.html. 13/9/2548.

MoEYS (2001). Education Reform in Cambodia, 2001. Ministry of Education, Youth and Sport, Royal Government of Cambodia, in www.moeys.gov.kh/education_reform_in_Cambodia/strategic_analysis.

MoEYS (2003). Education for All National Plan 2003-2015. Ministry of Education, Youth and Sport, Royal Government of Cambodia.

MoEYS (2003). Education for All National Plan 2003-2015. Ministry of Education, Youth and Sport, in www.moeys.gv.kh/efa/Millennium_Development.html.

MoEYS (2004). Education Strategic Plan 2004/08. Ministry of Education, Youth and Sport, September. Myanmar Information Committee (2001). “Information Sheet No. B-1698 (1).” 1 February. Myanmar Information Committee (2002). “Information Sheet No. C-2192 (1).” 28 April.

Ogura, Izumi (2005). “Asia/Singapore turns to delivery of another kind.” Asahi Shimbun 20 September. Organization and Administrative Structure of the Ministry of Education. in

http://www.myanmar-education.deu.mm/moeChart.htm/ Pennington, Matthew (1999). “Asia takes a crash course in educational reform.”

In www.unesco.org/courier/1999_08/uk/apprend/txt1.htm. “Perspective ministries to lay down master plans for enabling their institutions to be on a par with

other ASEAN members”. in http://www.myanmardigest.com/eng_md/sep29.html Pongpol Adireksarn (2003). “Address at the Opening Ceremony of the 38th SEAMEO Council

Conference, March 5.” Philippines.

SEAMEO Innotech. Profile of SEAMEO Countries: Indonesia – Education Data. 2003. SEAMEO (2004). “Final Report: 39th SEAMEO Council Conference” Negara Brunei Darussalam. Socialist Republic of Vietnam (2003). National Education for All (EFA) Action Plan 2003-2015.

Hanoi. June. Thai Higher Education Review 1/3 (January-March 2003). “The Expansion of Higher Education and the Changing Role of the State in a Market Economy.” The Third Session of the Regional Follow-up Committee for the 1998 World Conference on

Higher Education, Seol, 5-6 July 2005. Tong-in Wongsothorn (n.d.) “Subregional Cooperation in Higher Education in SEAMEO Member Countries.” SEAMEO Regional Centre for Higher Education and Development (RIHED), Bangkok. UNDP (2005). Southeast Asia Human Development Report, Regional Economic Integration

and Regional Cooperation in Southeast Asia: Deepening and Broadening the Benefits for Human Development. Preliminary Draft.

UNESCO (2005). Global Education Digest 2005, Comparing Education Statistics Across The World. UNESCO Institute for Statistics, Montreal. UNESCO (2005). Review on Adult Education in Myanmar. UNESCO, in http://www.unesco.org

/education/vie/pdf/country/Myanmar.pdf United Nations (2002). World Population Prospects: The 2002 Revision. Highlights. Population

Division of the Department of Economic and Social Affairs of the United Nations. New York: United Nations.

Vietnam development Gateway (2005). Vietnam’s Education : The Current Position and Future Prospects. in http:vietnamgateway.org/education/

Villacorta, Wilfrido (2004). “Statement at the 39th SEAMEO Council Conference” ASEAN Deputy Secretary General, March.

WES (2000). The Higher Education System in Vietnam. World Education Service International Academic Credential Evaluation, in http://www.wes.org/ewenr/00may/feature.htm

World Bank (2003). "World Development Indicators 2003 Online." World Bank (2004). Vietnam Development Report 2005 Report No. 30462-VN Poverty

Reduction and Economic Management Unit, East Asia and Pacific Region. World Bank Group (2005). “Vietnam: Targeted Budget Support for a National Education for All Plan Implementation Program.” 13 September.

www.lmu.edu/globaled/wwcu/background/my.rtf www.modins.net/MyanmarInfo/Health_edu/ www.moe.gov.bn www.multilingual-matters.net www.pdk.go.id/pdk-gun_eng.html www.pendidikan.net/eindex.html www.seameo-innotech.org www.seameo.org/about/member/indonesia.htm www.unesco.org.vn/PressRelease/Action_Week_2005.pdf กมล สุดประเสริฐ . (2540). รายงานการสังเคราะหการปฏิรูปการศึกษาของประเทศตาง ๆ และ

วิเคราะหเปรียบเทียบกับการปฏิรูปการศึกษาไทย. พิมพคร้ังที่ 1. กรุงเทพฯ : ที.พี.พร้ินท. กระทรวงศึกษาธิการ. (2548). “การวิเคราะหสภาพอัตราการคงอยูของนักเรียน.” www.moe.go.th กระทรวงศึกษาธิการ. (2548). “คําแถลงรวมของการประชุมรัฐมนตรีดานการศึกษาของอาเซียน วันที่ 19 สิงหาคม 2548.” www.moe.go.th 22/8/2548. เขียน ธีระวิทย และสนุัย ผาสุก (2543). กัมพูชา: ประวัติศาสตร สังคม เศรษฐกิจ ความมั่นคง

การเมือง และการตางประเทศ. ผลงานวิจัยชุดเอเชีย โครงการเมธีวิจัยอาวุโส สกว. สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย และสถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กทม: โรงพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

คณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ, สํานักงาน. (2543). คุณภาพและการประกันคุณภาพในวิถีทรรศนการปฏิรูปอุดมศึกษาไทย. สํานักนายกรัฐมนตรี.

คณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ, สํานักงาน. (ม.ป.ป.) พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และที่แกไขเพิ่ม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ : สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี.

คณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ, สํานักงาน (2541). รายงานการปฏิรูปการศึกษาของสาธารณรัฐสิงคโปร. พิมพคร้ังที่ 1. กรุงเทพฯ : ที. พี. พร้ินท.

โคริน เฟองเกษม. (2541). การพัฒนาเศรษฐกิจการเมืองสิงคโปร. โครงการวิจัยชุด การพัฒนาเศรษฐกิจการเมืองในเอเชียตะวันออกเฉียงใต สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา ในพระราชูปถัมภสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

“เจาะใจ ผูนําการศึกษา ศ. บัมบัง ซูดิบโย รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาแหงชาติของอินโดนีเซีย.” มติชน 22 กันยายน 2548.

ธีระ รุญเจริญ. (2542). รายงานการปฏิรูปการศึกษาของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว. สํานักงานคณะกรรมการศึกษาแหงชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี กทม.: ที.พี.พร้ินท จํากัด.

“เปดเวทีรัฐมนตรีศึกษาอาเซียน... ชู 5 ประเด็น ปรับยุทธศาสตรสูการแขงขันระดับโลก.” มติชน 20 กันยายน 2548. พัชราวลัย วงศบุญสิน. (2547). “การปนผลทางประชากร: ความทาทายอาเซียนในศตวรรษที่ 21” ใน

เกื้อ วงศบุญสิน (บรรณาธิการ). 6 ปทองสุดทายของโอกาสการแขงขันทางเศรษฐกิจ: ผลจากการเปล่ียนแปลงโครงสรางประชากร รวมบทความชุดโครงการทักษะแรงงานระยะที่ 2 (การเตรียมแผนรับชวงปจจุบัน และชวงหลังของโอกาสการรับการปนผลทางประชากร) สํานักงานคณะกรรมการสนับสนุนการวิจัย กรุงเทพฯ : โรงพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

ไพฑูรย สินลารัตน. (2540). รายงานการปฏิรูปการศึกษาของประเทศเวียดนาม. พิมพคร้ังที่ 1. กรุงเทพฯ : ที. พี. พร้ินท.

เลขาธิการสภาการศึกษา, สํานักงาน. (2547). ขอเสนอยุทธศาสตรการปฏิรูป. พิมพคร้ังที่ 2. กรุงเทพฯ : 21 เซ็นจูร่ี.

เลขาธิการสภาการศึกษา, สํานักงาน. (2547). แผนการศึกษาแหงชาติ (พ.ศ. 2545 – 2559) : ฉบับสรุป. พิมพคร้ังที่ 5. กรุงเทพฯ : สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.

เลขาธิการสภาการศึกษา, สํานักงาน (2548). มาตรฐานการเลี้ยงดูเด็ก อายุต่ํากวา 3 ป. กรุงเทพฯ : พริกหวานกราฟฟค.

เลขาธิการสภาการศึกษา, สํานักงาน. (2548). มาตรฐานการศึกษาของชาติ. พิมพคร้ังที่ 1. กรุงเทพฯ :สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ.

เลขาธิการสภาการศึกษา, สํานักงาน. (2548). ยุทธศาสตรการปฏิรูปการศึกษาของประเทศตาง ๆ. พิมพคร้ังที่ 1. กรุงเทพฯ : 21 เซ็นจูร่ี.

เลขาธิการสภาการศึกษา, สํานักงาน. (2548). “รายงานสรุปการติดตามและประเมินผลการปฏิรูป การศึกษา ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 เม่ือสิ้นสุดเดือนกุมภาพันธ พ.ศ. 2548” สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ 14 มีนาคม.

เลขาธิการสภาการศึกษา, สํานักงาน. (2547). สถิติการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปการศึกษา 2536-2545. สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ กรกฎาคม. กทม: พริกหวานกราฟฟค.

เลขาธิการสภาการศึกษา, สํานักงาน. (2547). สถิติการศึกษาระดับอุดมศึกษา ปการศึกษา 2536-2545. สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ กรกฎาคม. กทม. : พริกหวานกราฟฟค.

สถิติแหงชาติ, สํานักงาน. (2548). “สรุปสถานการณสังคมไทย พ.ศ. 2547” โพสททูเดย 26 มกราคม หนา A9.

สุวัฒนา อุทัยรัตน และ สรอยสน สกลรักษ. (2540). รายงานการปฏิรูปการศึกษาของประเทศมาเลเซีย. พิมพคร้ังที่ 1. สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี. กรุงเทพฯ : พิมพลายสือ.

อมรวิชช นาครทรรพ. (2547). รายงานสภาวะการศึกษาไทยตอประชาชน ป 2546 : ผาปมปฏิรูป. กรุงเทพฯ : พริกหวานกราฟฟค.

ผูใหความรวมมือดานขอมูลเอกสารและการสัมภาษณ

Ms. Grace M. Bafiez แทน Ms. Stephanie Beatrizo O. Valera Second Secretary, Embassy of the Philippines, Bangkok Jason C.C. Tan

Second Secretary, Embassy of the Republic of Singapore, Bangkok Sok Chea Second Scretary, Royal Embassy of Cambodia, Bangkok

Mr. Xomphou Keopanya, First Secretary Education Division, Embassy of the Lao P.D.R. Bangkok

ฯพณฯ เอกอัครราชทูต ดร. กฤต ไกรจิตติ สถานเอกอัครราชทูตไทย ประจําประเทศเวียดนาม

คณะผูจัดทํา ท่ีปรึกษา 1. ดร.อํารุง จันทวานิช เลขาธิการสภาการศึกษา 2. ดร.สิริพร บุญญานันต รองเลขาธิการสภาการศึกษา 3. นางนิรมล กิตติวิบูลย ผูอํานวยการศูนยพัฒนาการศึกษาระหวางประเทศ

ผูวิจัย ดําเนินการวิจัยโดยคณะผูวิจัยจากสถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 1. ดร.พัชราวลัย วงศบุญสิน หัวหนาโครงการและนักวิจัย 2. นางดลยา เทียนทอง นักวิจัย 3. นางสุภาคพรรณ ตั้งตรงไพโรจน นักวิจัย 4. นางทรายแกว ทิพากร นักวิจัย 5. นายอดิศร เสมแยม ผูชวยนักวิจัย 6. นางสาววิชชุดา อิสรานุวรรธน ผูชวยนักวิจัย

บรรณาธิการและผูพิจารณาผลงานวิจัย 1. นายนิรมล กิตติวิบูลย 2. นางสาวภัทณิดา พันธุมเสน

หัวหนาโครงการและคณะ 1. นางสาวภัทณิดา พันธุมเสน หัวหนากลุมพัฒนาวิชาการระหวางประเทศ 2. นางสาววิไลลักษณ ผดุงกิตติมาลย นักวิชาการศึกษา กลุมพัฒนาวิชาการระหวางประเทศ 3. นางสาวกาญจนา หงษรัตน นักวิชาการศึกษา กลุมพัฒนาวิชาการระหวางประเทศ

ผูประสานงาน 1. นางสาวกาญจนา หงษรัตน 2. นางกนกพรรณ ปญโญสุข 3. นางสาวลักษมี บุญลํ้า

หนวยงานรับผิดชอบ กลุมพัฒนาวิชาการระหวางประเทศ ศูนยพัฒนาการศึกษาระหวางประเทศ สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ